Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือทำวิทยานิพนธ์ 2558

คู่มือทำวิทยานิพนธ์ 2558

Published by wittaya.mo, 2021-06-28 03:01:21

Description: คู่มือทำวิทยานิพนธ์2558

Search

Read the Text Version

บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื คมู่ อื การทาํ วทิ ยานพิ นธ์

คมู่ อื การทําวทิ ยานิพนธ์ บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ 1. วิทยานิพนธ์ - คู่มอื . (1) ชอ่ื เร่ือง. LB 2369.ธ45 378.242 ลขิ สิทธ์ิของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ สงวนลิขสทิ ธิ์ พิมพ์ครัง้ ท่ี 1 พุทธศกั ราช 2558 จาํ นวน 2,500 เลม่ พมิ พ์ที่ บรษิ ัท ธนธัชการพมิ พ์ จํากัด 480/1 ซอยแสงสันต์ ถนนประชาอทุ ศิ แขวงราษฎรบ์ รู ณะ เขตราษฎร์บรู ณะ กรงุ เทพมหานคร 10140 50.- ข คู่มอื การทําวิทยานพิ นธ์

คาํ นาํ คู่มือการทาํ วิทยานพิ นธ์ บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนอื ฉบบั น้ีไดป้ รับปรงุ เปลย่ี นแปลงจากฉบับเดิมทบ่ี ณั ฑติ วทิ ยาลยั ไดพ้ มิ พ์ขึน้ ในครงั้ แรกเมื่อ พ.ศ. 2538 เพอื่ ให้ นกั ศึกษาระดับบณั ฑิตศกึ ษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ ไดใ้ ชเ้ ปน็ แนวทางใน การเรยี บเรยี งงานเขียนวทิ ยานพิ นธใ์ หม้ ีรูปแบบที่ถกู ตอ้ ง ตรงกัน เปน็ มาตรฐานเดยี วกัน และสอดคล้อง กับการพิมพ์เอกสารทางวิชาการตามหลกั สากลทว่ั ไป หากคู่มือการทําวิทยานิพนธ์ฉบับน้ีมีข้อบกพร่องประการใด บัณฑิตวิทยาลัยยินดีรับข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะเพือ่ นาํ มาพจิ ารณาปรับปรงุ คูม่ อื การทาํ วิทยานิพนธ์ใหเ้ หมาะสมยง่ิ ขน้ึ ในโอกาสตอ่ ไป โดยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือการทําวิทยานิพนธ์ฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์กับนักศึกษาระดับบัณฑิต ศกึ ษา ในการที่จะชว่ ยให้ทาํ วิทยานพิ นธ์ไดถ้ กู ต้องตามระเบยี บแบบแผนตอ่ ไป บณั ฑติ วทิ ยาลัย กมุ ภาพันธ์ 2558 คู่มอื การทําวิทยานิพนธ์ ค

สารบัญ หนา้ ค คํานํา ง สารบัญ 1 บทที่ 1 ขัน้ ตอนการจัดทําวิทยานพิ นธ์ 1 2 1.1 การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์ 2 1.2 การสอบหวั ข้อวทิ ยานิพนธ์ 3 1.3 การสอบความกา้ วหนา้ วทิ ยานิพนธ์ 3 1.4 การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ 3 1.5 การพิมพ์และการทําสําเนาเล่มวทิ ยานิพนธ์ 5 1.6 การสง่ เลม่ วิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ 8 1.7 ขัน้ ตอนการจดั ทาํ วิทยานิพนธ์ 8 บทท่ี 2 ส่วนประกอบของวทิ ยานิพนธ์ 10 2.1 ส่วนนํา 15 2.2 ส่วนเนือ้ หา 16 2.3 สว่ นอ้างอิงหรือสว่ นทา้ ย 16 บทท่ี 3 การพมิ พว์ ิทยานพิ นธ์ 16 3.1 กระดาษทีใ่ ช้ 16 3.2 การวางรูปหน้ากระดาษพมิ พ์ 19 3.3 การพิมพ์ 19 3.4 การลาํ ดับหนา้ และการพมิ พเ์ ลขหน้า 20 3.5 การพมิ พ์บทท่ี หัวข้อสาํ คัญ และหัวขอ้ ย่อย 21 3.6 การพมิ พต์ าราง 21 3.7 การพิมพภ์ าพประกอบ 22 3.8 การพมิ พ์สมการ 24 3.9 การเขยี นอ้างอิงแบบนาม-ปี 26 3.10 การพิมพ์บรรณานุกรม 27 3.11 การเขยี นอ้างอิงแบบตัวเลข 27 3.12 การพิมพเ์ อกสารอ้างอิง 64 3.13 การเขยี นรายการบรรณานกุ รมหรือเอกสารอ้างองิ ท้ายเลม่ 64 3.14 การพิมพภ์ าคผนวก 65 3.15 การทาํ สาํ เนา 66 ภาคผนวก ก ตวั อย่างการพิมพ์วทิ ยานพิ นธ์ 126 ภาคผนวก ข 127 การแบง่ เนือ้ หาและการตัง้ ชื่อไฟลบ์ นั ทึกขอ้ มลู วทิ ยานพิ นธ์ ง คูม่ ือการทาํ วิทยานิพนธ์

บทท่ี 1 ขั้นตอนการจดั ทําวิทยานิพนธ์ 1.1 การเสนอโครงการวทิ ยานพิ นธ์ ในการเสนอโครงการวทิ ยานิพนธ์ ใหน้ กั ศกึ ษาดําเนินการตามข้อกาํ หนดและข้ันตอนตอ่ ไปน้ี 1.1.1 การจดั ทาํ โครงการวทิ ยานิพนธ์ ประกอบดว้ ย 1.1.1.1 หัวข้อวิทยานิพนธ์ 1.1.1.2 ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา (นิยามปัญหาและความสําคัญของปัญหา ความจําเปน็ ทีค่ ิดใชก้ ารวจิ ยั มาแกป้ ัญหา) 1.1.1.3 วตั ถุประสงค์ (ระบุวตั ถุประสงคท์ ่ีเด่นชัด ถ้ามีการศึกษาตัวแปรให้ระบสุ มมติฐาน ในการวิจยั ไวด้ ว้ ย) 1.1.1.4 ขอบเขตของการวจิ ัย (ระบขุ อบเขตของเนือ้ หา พน้ื ที่ และระยะเวลาในการศกึ ษา) 1.1.1.5 วิธีการวิจัย (ระบุการออกแบบวิจัย ข้ันตอนการวิจัย เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัย วธิ กี ารเก็บรวบรวมข้อมลู และการแปลผล) 1.1.1.6 ประโยชน์ของการวิจัย (ระบุอย่างเด่นชัดว่าผลที่ได้จากการวิจัยคืออะไร จะนาํ เสนอผลการวจิ ัยหรือประโยชนใ์ นการแกป้ ญั หาไดอ้ ย่างไร) 1.1.1.7 รายชื่อเอกสารอา้ งอิง (ระบุช่ือเอกสารตา่ ง ๆ ท่ใี ช้เปน็ หลักในการวจิ ัยตามรูปแบบ ท่ีระบุไว้ในคมู่ อื การจัดทําวทิ ยานิพนธ)์ 1.1.1.8 รายละเอียดอ่ืน ๆ นอกเหนือจากนี้ให้เป็นไปตามความต้องการของแต่ละ หลักสตู รของแตล่ ะภาควิชา 1.1.2 นักศึกษาสามารถจัดทําโครงการวิทยานิพนธ์เป็นภาษาไทยและ/หรือภาษาอังกฤษได้ตาม ความตอ้ งการของแต่ละหลกั สูตรของแตล่ ะภาควชิ า 1.1.3 นักศึกษาจะเสนอโครงการวิทยานิพนธ์ได้ ต้องลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต ในภาคการศึกษาน้ัน นักศึกษาปริญญาโท แผน ก แบบ ก 2 ต้องศึกษารายวิชา ตามแผนการเรียนมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และได้คะแนนเฉล่ียสะสมไม่ต่ํากว่า 3.00 สําหรับ นักศึกษาปริญญาเอกจะต้องสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) และต้อง สอบผ่านภาษาต่างประเทศตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย จึงจะดําเนินการจัดทําโครงการวิทยานิพนธ์ได้ ในการสอบวัดคุณสมบัติให้หัวหน้าภาควิชาเป็นผู้รับผิดชอบในการเสนอรายนามคณะกรรมการสอบ วัดคุณสมบัติต่อบัณฑิตวิทยาลัยเพ่ือแต่งตั้ง รวมทั้งรับผิดชอบในการดําเนินการสอบวัดคุณสมบัติ ตลอดจนการสง่ ผลการสอบให้บณั ฑิตวทิ ยาลัย 1.1.4 นักศึกษาย่ืนคําร้องขอเสนอโครงการวิทยานิพนธ์ (บว.01) พร้อมโครงการวิทยานิพนธ์ (บว.51) และคําร้องขออนุมัติแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ (บว.02) ที่อาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ และหัวหน้าภาควิชาลงนามให้ความเห็นชอบแล้วไปยังบัณฑิตวิทยาลัย บัณฑิตวิทยาลัย จะพจิ ารณาอนุมตั ิภายใน 3 วนั ทําการ คู่มอื การทาํ วทิ ยานิพนธ์ 1

1.2 การสอบหัวขอ้ วทิ ยานพิ นธ์ บณั ฑิตวิทยาลยั มขี อ้ กาํ หนดและขน้ั ตอนการดําเนินการในการสอบหัวข้อวิทยานิพนธ์ ดังน้ี 1.2.1 นกั ศึกษาย่ืนคําร้องขอสอบหัวข้อวิทยานิพนธ์ (บว.03) พร้อมโครงการย่อ (บว.53) ภายใน 30 วัน นับแต่วันท่ีย่ืนขออนุมัติโครงการวิทยานิพนธ์ เสนอต่อบัณฑิตวิทยาลัยก่อนกําหนดวันสอบ อย่างนอ้ ย 1 วันทําการ 1.2.2 เม่ือนักศึกษาได้สอบหัวข้อวิทยานิพนธ์ผ่านเรียบร้อยแล้ว ให้อาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์หลักรายงานผลการสอบผ่านหัวหน้าภาควิชาไปยังบัณฑิตวิทยาลัยภายใน 1 สัปดาห์ นบั จากวันสอบ เพือ่ ใหบ้ ณั ฑติ วิทยาลัยอนุมัตแิ ละประกาศเป็นหัวขอ้ วิทยานิพนธ์ 1.2.3 ในกรณีที่ผลการสอบของนักศึกษาเป็น “ผ่านโดยมีการปรับปรุงแก้ไข” นักศึกษาจะต้อง ดาํ เนนิ การแกไ้ ขปรบั ปรงุ โครงการวิทยานิพนธ์ตามข้อเสนอแนะของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และ ยื่นคําร้องเสนอโครงการวิทยานิพนธ์ฉบับแก้ไข (บว.10) พร้อมโครงการวิทยานิพนธ์ที่ได้ปรับแก้ แล้วน้ัน โดยให้อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ลงนามให้ความเห็นชอบภายใน 30 วัน นับแต่วันท่ีสอบ หวั ขอ้ วทิ ยานิพนธ์ เพ่ือเสนอบณั ฑติ วิทยาลัยอนุมัติและประกาศเปน็ หวั ข้อวทิ ยานิพนธ์ 1.2.4 กรณี “ไม่ผา่ น” ใหเ้ สนอโครงการวทิ ยานิพนธ์ใหม่และสอบหวั ข้อวิทยานิพนธ์ใหม่ 1.2.5 การเปลี่ยนแปลงใด ๆ เก่ียวกับโครงการวิทยานิพนธ์ท่ีได้รับอนุมัติแล้ว หากเป็นการ เปลี่ยนแปลงหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือสาระสําคัญของวิทยานิพนธ์ ให้อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ประเมินผลวิทยานิพนธ์ท่ีลงทะเบียนผ่านมาทั้งหมดเป็นระดับคะแนน U ซึ่งนักศึกษาต้องลงทะเบียน และย่ืนขออนุมัติโครงการวิทยานิพนธ์ใหม่ โดยให้นับเวลาจากวันที่ได้รับอนุมัติหัวข้อและโครงการ วทิ ยานิพนธค์ ร้ังหลงั สดุ 1.3 การสอบความกา้ วหน้าวิทยานพิ นธ์ บัณฑิตวิทยาลยั มีข้อกําหนดและขั้นตอนการดําเนนิ การในการสอบความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ ดังน้ี 1.3.1 นักศึกษาต้องได้รับอนุมัติหัวข้อวิทยานิพนธ์แล้วไม่น้อยกว่าคร่ึงหนึ่งของเวลาสอบป้องกัน วทิ ยานิพนธ์ ตามระยะเวลา ดังน้ี 1.3.1.1 นักศึกษาปริญญาโท แผน ก แบบ ก 1 (ทําเฉพาะวิทยานิพนธ์) ต้องได้รับ อนมุ ตั หิ วั ขอ้ วทิ ยานพิ นธ์แลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 120 วัน 1.3.1.2 นักศึกษาปริญญาโท แผน ก แบบ ก 2 (เรียนรายวิชาและทําวิทยานิพนธ์) ต้องได้รับอนมุ ัติหัวขอ้ วทิ ยานพิ นธแ์ ลว้ ไมน่ ้อยกว่า 60 วัน 1.3.1.3 นักศึกษาปริญญาเอก แบบ 1 (ทําเฉพาะวิทยานิพนธ์) ต้องได้รับอนุมัติหัวข้อ วิทยานิพนธแ์ ล้วไม่นอ้ ยกวา่ 365 วัน 1.3.1.4 นักศึกษาปริญญาเอก แบบ 2 (เรียนรายวิชาและทําวิทยานิพนธ์) ต้องได้รับ อนุมตั หิ วั ข้อวทิ ยานิพนธ์แล้วไมน่ ้อยกว่า 183 วนั 1.3.2 นักศึกษาสามารถย่ืนคําร้องขอสอบความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ (บว.04) พร้อมโครงการย่อ (บว.53) เสนอต่อบณั ฑติ วิทยาลยั กอ่ นกาํ หนดวนั สอบอยา่ งนอ้ ย 1 วันทําการ 1.3.3 เม่ือนักศึกษาสอบความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ผ่านเรียบร้อยแล้ว ให้อาจารย์ท่ีปรึกษา วิทยานิพนธ์หลักรายงานผลการสอบผ่านหัวหน้าภาควิชาไปยังบัณฑิตวิทยาลัยภายใน 1 สัปดาห์ นับจากวนั สอบ 1.3.4 ขอ้ ปฏิบตั อิ น่ื ๆ ใหเ้ ป็นไปตามขอ้ บังคบั ระเบียบและประกาศที่เกี่ยวขอ้ ง 2 คมู่ ือการทาํ วิทยานพิ นธ์

1.4 การสอบปอ้ งกันวิทยานพิ นธ์ นักศึกษามีสิทธ์ิขอสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ได้เม่ือผ่านการสอบความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ ไมน่ ้อยกว่า 30 วัน และเปน็ ไปตามขอ้ กาํ หนด ดงั น้ี 1.4.1 นักศึกษาได้ใช้เวลาในการทําวิทยานิพนธ์ นับจากวันท่ีบัณฑิตวิทยาลัยมีประกาศอนุมัติ หวั ข้อและโครงการวทิ ยานิพนธแ์ ล้ว ตามระยะเวลาดังน้ี 1.4.1.1 นักศึกษาปริญญาโท แผน ก แบบ ก 1 (ทําเฉพาะวิทยานิพนธ์) ได้ใช้เวลาในการทํา วทิ ยานพิ นธไ์ ม่น้อยกวา่ 240 วนั 1.4.1.2 นักศึกษาปริญญาโท แผน ก แบบ ก 2 (เรียนรายวิชาและทําวิทยานิพนธ์) ได้ใช้ เวลาในการทาํ วทิ ยานพิ นธไ์ ม่น้อยกวา่ 120 วนั 1.4.1.3 นักศึกษาปริญญาเอก แบบ 1 (ทําเฉพาะวทิ ยานิพนธ)์ ไดใ้ ช้เวลาในการทาํ วิทยานพิ นธ์ ไมน่ ้อยกว่า 730 วนั 1.4.1.4 นักศึกษาปริญญาเอก แบบ 2 (เรียนรายวิชาและทําวิทยานิพนธ์) ได้ใช้เวลาในการ ทาํ วิทยานพิ นธไ์ มน่ ้อยกวา่ 365 วนั 1.4.2 ได้สอบผ่านรายวิชาต่าง ๆ ครบตามเกณฑ์ท่ีหลักสูตรบัณฑิตศึกษากําหนด และได้คะแนน เฉลย่ี สะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่าํ กว่า 3.00 1.4.3 ได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และหัวหน้าภาควิชา ให้ขอสอบ วิทยานพิ นธไ์ ด้ 1.4.4 นักศึกษาต้องย่ืนคําร้องขอสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ตามแบบฟอร์มของบัณฑิตวิทยาลัย (บว.05) คําร้องขอตรวจสอบสถานภาพการศึกษา (บว.28) โครงการย่อ (บว.53) แผนการเรียน (บว.54) พร้อมวิทยานิพนธ์ฉบับสอบท่ีมีความถูกต้องสมบูรณ์ ทั้งเนื้อหาและรูปแบบการพิมพ์ตามคู่มือการทํา วิทยานิพนธ์ของบัณฑิตวิทยาลัย โดยมีจํานวนเท่ากับกรรมการสอบ เพื่อบัณฑิตวิทยาลัยจะได้จัดส่งให้ กรรมการสอบท่ีมใิ ชอ่ าจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ 1.4.5 นักศึกษายื่นเอกสารตามข้อ 1.4.4 ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ ว่าดว้ ยการศกึ ษาระดับบณั ฑิตศึกษา 1.4.6 เม่ือการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ได้เสร็จส้ินแล้ว ให้ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ รายงานผลการสอบผา่ นหวั หนา้ ภาควชิ าไปยังบัณฑติ วทิ ยาลยั ภายใน 1 สปั ดาหน์ ับจากวนั สอบ 1.4.7 ขอ้ ปฏบิ ัติอื่น ๆ ให้เปน็ ไปตามข้อบงั คบั ระเบียบและประกาศท่ีเกย่ี วขอ้ ง 1.5 การพมิ พ์และการทาํ สาํ เนาเล่มวิทยานิพนธ์ การจัดพิมพ์วิทยานิพนธ์ที่มีเลขหน้าตั้งแต่หน้า 81 ขึ้นไป (นับต้ังแต่บทท่ี 1 ถึงประวัติผู้วิจัย) ให้ดําเนินการจัดพิมพ์ 2 หน้าต่อกระดาษ 1 แผ่น โดยกําหนดให้หน้าเลขค่ีอยู่แผ่นหน้า และหน้าเลขคู่ อยู่ด้านหลงั ของแผน่ กระดาษ สว่ นการขึน้ บทใหมใ่ หเ้ ป็นหน้าเลขค่เี ทา่ น้นั 1.6 การส่งวิทยานพิ นธ์ฉบับสมบรู ณ์ นั ก ศึ ก ษ า ต้ อ งส่ ง วิ ท ย า นิ พ น ธ์ ฉ บั บ ส ม บู ร ณ์ พ ร้ อ ม ใบ รั บ ร อ ง วิ ท ย า นิ พ น ธ์ ที่ มี ล า ย มื อ ชื่ อ คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ครบถ้วนทุกคน จํานวน 1 เล่ม โดยบรรจุวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ ค่มู ือการทําวิทยานิพนธ์ 3

ใส่ซองมาตรฐานขยายข้างสีน้ําตาลและให้สําเนาปกในปะไว้หน้าซองจํานวน 1 ซอง พร้อมแนบ เอกสารคาํ ร้องดงั นี้ 1.6.1 เอกสารผลงานทีไ่ ดร้ ับการตพี มิ พ์หรือการนาํ เสนอ (บว.29) 1.6.2 ขอส่งเล่มวิทยานพิ นธฉ์ บับสมบูรณ์ (บว.30) เมื่อวิทยานิพนธ์ได้รับอนุมัติแล้ว ให้ชําระค่าทําปกและเย็บเล่มตามราคาท่ีบัณฑิตวิทยาลัย กําหนด จํานวน 2 เล่ม ซ่ึงบัณฑิตวิทยาลัยจะจัดทําปกนอกและเย็บเล่มให้ พร้อมบันทึกข้อมูล วิทยานิพนธ์ลงบนแผ่น CD ตามที่กําหนด ทั้งนี้ เพื่อให้วิทยานิพนธ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือมีมาตรฐานเดียวกัน บัณฑิตวิทยาลัยขอสงวนสิทธ์ิที่ไม่รับวิทยานิพนธ์ ท่ีไม่ทาํ ตามมาตรฐานท่กี ําหนด 4 คู่มอื การทําวทิ ยานิพนธ์

1.7 ข้นั ตอนการจดั ทาํ วทิ ยานพิ นธ์ การเสนอโครงการวิทยานิพนธแ์ ละสอบหัวข้อวทิ ยานิพนธ์ - นักศึกษาตอ้ งลงทะเบยี นวิทยานิพนธ์ 3 หน่วยกติ เรยี นรายวิชามาแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ 12 หน่วยกิต และไดค้ ะแนนเฉลย่ี สะสมไมต่ าํ่ กว่า 3.00 - นกั ศึกษายื่นคาํ รอ้ งขอเสนอโครงการวทิ ยานพิ นธ์ (บว.01) พร้อมโครงการวิทยานพิ นธ์ (บว.51) และคาํ ร้องขออนมุ ตั ิแตง่ ตง้ั อาจารยท์ ่ีปรกึ ษาวิทยานพิ นธ์ (บว.02) บณั ฑติ วิทยาลัยตรวจสอบและอนมุ ตั โิ ครงการวิทยานพิ นธ์ นกั ศึกษายื่นคาํ รอ้ งขอสอบหัวขอ้ วิทยานิพนธ์ (บว.03) พร้อมโครงการยอ่ (บว.53) ภายใน 30 วนั และรบั ใบรายงานผลการสอบ (บว.59) บัณฑติ วิทยาลัย - ประชาสมั พันธว์ ัน เวลา และสถานทสี่ อบให้ผสู้ นใจเขา้ ฟงั นักศึกษาดาํ เนินการสอบ อาจารย์ที่ปรกึ ษาวทิ ยานิพนธห์ ลกั รายงานผลการสอบผา่ นหวั หนา้ ภาควชิ าไปยังบณั ฑติ วทิ ยาลยั ไม่ผ่าน ผ่าน ผ่านโดยมีการปรับปรงุ แกไ้ ข เสนอโครงการวทิ ยานพิ นธใ์ หม่ นกั ศึกษายื่นคํารอ้ งขอส่งโครงการ และสอบหวั ข้อวทิ ยานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ฉบับแก้ไข (บว.10) ใหบ้ ณั ฑิตวิทยาลัยภายใน 30 วัน นบั แต่วันท่สี อบหวั ข้อวิทยานพิ นธ์ การเปลย่ี นแปลงใด ๆ เก่ยี วกบั โครงการ บัณฑิตวิทยาลยั ประกาศอนมุ ตั หิ วั ขอ้ วทิ ยานิพนธ์ วิทยานพิ นธท์ ีไ่ ดร้ บั อนมุ ตั แิ ลว้ หากเป็น นกั ศึกษาดาํ เนนิ การจดั ทาํ วทิ ยานพิ นธ์ การเปลีย่ นแปลงหัวข้อวิทยานิพนธห์ รือ สาระสาํ คญั ของวทิ ยานพิ นธใ์ ห้ อาจารย์ท่ีปรึกษาวทิ ยานิพนธ์ประเมนิ ผล วทิ ยานิพนธท์ ีล่ งทะเบยี นผา่ นมาทั้งหมด เป็นระดับคะแนน U ซ่ึงนกั ศึกษาจะต้อง ลงทะเบียน และยนื่ ขออนุมตั โิ ครงการ วิทยานิพนธ์ใหม่ โดยใหน้ บั เวลาจากวันที่ ได้รบั อนุมตั ิหวั ขอ้ และโครงการวทิ ยานิพนธ์ คร้ังหลงั สดุ คู่มอื การทําวิทยานิพนธ์ 5

การสอบความกา้ วหนา้ วิทยานพิ นธ์ - นกั ศึกษายื่นคาํ รอ้ งขอสอบความก้าวหนา้ วิทยานพิ นธ์ (บว.04) โครงการยอ่ (บว.53) พร้อมรับใบรายงานผลการสอบ (บว.60) และตอ้ งไดร้ บั อนมุ ตั หิ ัวข้อวิทยานพิ นธ์แล้ว ไมน่ อ้ ยกวา่ - 120 วนั สาํ หรบั ปรญิ ญาโท แผน ก แบบ ก 1 - 60 วัน สําหรบั ปรญิ ญาโท แผน ก แบบ ก 2 - 365 วนั สาํ หรบั ปรญิ ญาเอก แบบ 1 - 183 วนั สาํ หรบั ปรญิ ญาเอก แบบ 2 บณั ฑิตวทิ ยาลัย - ประชาสมั พันธว์ นั เวลา และสถานทส่ี อบใหผ้ สู้ นใจเขา้ ฟงั นักศึกษาดําเนนิ การสอบ อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาวทิ ยานิพนธห์ ลักรายงานผลการสอบผ่านหวั หนา้ ภาควชิ าไปยังบณั ฑติ วิทยาลยั ผ่าน ผ่านโดยมกี ารปรบั ปรุงแกไ้ ข ดาํ เนินการแกไ้ ขตามความเห็น ของอาจารย์ท่ีปรกึ ษาวิทยานพิ นธ์ นกั ศึกษาดาํ เนินการจดั ทําวทิ ยานพิ นธ์ 6 ค่มู อื การทาํ วิทยานิพนธ์

การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ - นักศึกษาย่ืนคาํ รอ้ งขอสอบป้องกนั วทิ ยานพิ นธ์ (บว.05) คํารอ้ งขอตรวจสอบสถานภาพ การศึกษา (บว.28) โครงการยอ่ (บว.53) แผนการเรยี น (บว.54) พร้อมวิทยานพิ นธฉ์ บบั สอบ - นักศกึ ษาตอ้ งเรยี นรายวิชาครบตามหลกั สูตร เกรดเฉลีย่ สะสมตลอดหลกั สตู รไมต่ ํ่ากว่า 3.00 - ไดร้ บั อนมุ ัตหิ วั ขอ้ วิทยานพิ นธแ์ ลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ - 240 วัน สําหรบั ปรญิ ญาโท แผน ก แบบ ก 1 - 120 วัน สําหรบั ปริญญาโท แผน ก แบบ ก 2 - 730 วนั สาํ หรบั ปริญญาเอก แบบ 1 - 365 วัน สาํ หรบั ปรญิ ญาเอก แบบ 2 - ได้ผา่ นการสอบความก้าวหนา้ วิทยานพิ นธ์แลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ 30 วัน - นักศกึ ษาให้อาจารย์ทป่ี รกึ ษาวิทยานิพนธห์ ลักและหวั หนา้ ภาควิชาลงนามให้ความเหน็ ชอบ พรอ้ มเสนอช่ือกรรมการสอบในนามของผแู้ ทนบณั ฑติ วิทยาลัยกอ่ นเสนอบัณฑิตวิทยาลยั บัณฑิตวทิ ยาลัยตรวจสอบ และแตง่ ตั้งคณะกรรมการสอบวทิ ยานพิ นธ์ บณั ฑิตวิทยาลัย - สง่ ใบประเมนิ ผลการสอบป้องกันวทิ ยานพิ นธใ์ ห้ประธานกรรมการสอบ - ประชาสมั พนั ธว์ นั เวลา และสถานทส่ี อบใหผ้ สู้ นใจเขา้ ฟัง นักศึกษาดําเนนิ การสอบ ประธานกรรมการสอบรายงานผลการสอบผา่ นหวั หนา้ ภาควิชาไปยงั บณั ฑิตวทิ ยาลยั ไม่ผา่ น ผ่าน ผา่ นโดยมกี ารปรบั ปรงุ แก้ไข นักศกึ ษาสอบไม่ผา่ น มสี ทิ ธ์ยิ ืน่ คาํ ร้องขอสอบใหม่ไดอ้ กี นักศึกษาตอ้ งดาํ เนินการแกไ้ ขให้แลว้ เสรจ็ 1 ครงั้ ภายในระยะเวลาทีค่ ณะกรรมการสอบกําหนด ภายใน 60 วันนบั จากวันสอบ มิฉะนน้ั ผลการสอบจะถูกปรบั เปน็ ระดบั คะแนน U นักศกึ ษาตอ้ งดาํ เนินการลงทะเบียนวิทยานิพนธแ์ ละ มิฉะนน้ั จะถอื วา่ การสอบครง้ั น้นั ไมผ่ า่ น จดั ทําวทิ ยานิพนธภ์ ายใตห้ วั ขอ้ ใหม่ พร้อมทง้ั เรมิ่ ข้นั ตอน (หมายเหตุ ตอ้ งเปน็ ไปตามเงอื่ นไขระยะเวลา การทาํ วิทยานพิ นธ์ใหมท่ ั้งหมด (หมายเหตุ ตอ้ งเปน็ ไป ตามเงอ่ื นไขระยะเวลาสถานภาพของนกั ศกึ ษาดว้ ย) สถานภาพของนกั ศกึ ษาดว้ ย) นักศกึ ษาเสนอเลม่ วิทยานิพนธ์ฉบบั สมบูรณ์ตามทีบ่ ณั ฑติ วทิ ยาลยั กาํ หนดภายใน 30 วนั นบั จากวันสอบผา่ น มิฉะน้ัน จะถือวา่ การสอบครงั้ นน้ั ไมผ่ า่ น (หมายเหตุ ตอ้ งเปน็ ไปตามเงอ่ื นไขระยะเวลาสถานภาพของนักศึกษาดว้ ย) คมู่ ือการทาํ วิทยานิพนธ์ 7

บทที่ 2 สว่ นประกอบของวทิ ยานิพนธ์ ส่วนประกอบของวิทยานิพนธป์ ระกอบด้วย 3 สว่ นคอื ส่วนนาํ ส่วนเนือ้ หา ส่วนอ้างอิงหรือสว่ นท้าย 2.1 สว่ นนํา สว่ นนําประกอบด้วย 2.1.1 ปกนอก ปกนอกของเล่มวิทยานิพนธ์เป็นปกแข็งสีดํา ตัวอักษรบนปกนอกพิมพ์ด้วยอักษร สที อง ขอ้ ความในหนา้ ปกนอกให้มขี ้อความเหมอื นปกในทุกประการ 2.1.2 สันปก ใหพ้ มิ พช์ ่อื ผู้แต่ง และปกี ารศกึ ษาท่สี าํ เรจ็ การศึกษา 2.1.3 กระดาษเปล่า ถัดจากปกแข็งด้านหน้าและก่อนปกแข็งด้านหลังให้มีกระดาษสีขาวด้านละ 1 แผน่ (หมายเหตุ ข้อ 2.1.1-2.1.3 บณั ฑติ วทิ ยาลยั จะจัดทําส่วนนี้ให้ตามที่ปรากฏในข้อ 1.6.2 หน้า 4) 2.1.4 ใบรับรองวิทยานิพนธ์ ให้ใช้แบบฟอร์มของบัณฑิตวิทยาลัยโดยพิมพ์ข้อความ การลงนามใน ใบรบั รองให้ลงลายมอื ชอื่ จริงของคณะกรรมการสอบวิทยานพิ นธ์ด้วยหมกึ สีดําเท่าน้นั 2.1.5 ปกใน หมายถึง หัวข้อวิทยานิพนธ์ ข้อความบนปกในให้เขียนเป็นภาษาไทย หรือ ภาษาต่างประเทศที่ใช้เขียนวิทยานิพนธ์เพียงภาษาเดียวบนกระดาษขาวท่ีใช้พิมพ์วิทยานิพนธ์ โดยมี สาระดงั นี้ 2.1.5.1 หวั ขอ้ วทิ ยานพิ นธ์ทไี่ ดร้ บั อนุมัติในการศกึ ษาค้นคว้าวิจยั 2.1.5.2 ชอ่ื ผูแ้ ตง่ หรอื ผูจ้ ัดทํา มคี ํานําหน้าช่ือ นาย นาง หรอื นางสาว ในกรณีท่ผี ู้แตง่ มียศ เชน่ ร้อยตํารวจเอก พนั ตรี หม่อมราชวงศ์ เป็นต้น ให้ใชย้ ศนนั้ ๆ นาํ หน้าชอื่ 2.1.5.3 ระบุว่าวิทยานิพนธ์น้ีเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาในหลักสูตรใด สาขาวิชา และ ภาควชิ าใด ช่ือมหาวิทยาลัย (บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื ) และปกี ารศึกษาทส่ี ําเร็จการศึกษา 2.1.5.4 ระบุคําว่า ลิขสิทธ์ิของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยานิพนธ์ภาษาอังกฤษใช้คําว่า Copyright of King Mongkut's University of Technology North Bangkok 2.1.5.5 ข้อความบนปกในท่ีเขียนเป็นภาษาไทยให้ใช้ขนาดตัวอักษร 16 พอยต์ ตัวอักษร ธรรมดา (Normal) ถ้าเขียนเป็นภาษาอังกฤษให้ใช้ตัวพิมพ์ช่ือ Times New Roman ขนาดตัวอักษร 12 พอยต์ ตวั อกั ษรธรรมดา (Normal) พมิ พต์ วั อักษรภาษาองั กฤษตัวพิมพ์ใหญ่ (Capital Letters) 2.1.6 บทคัดย่อ ถ้าวิทยานิพนธ์เขียนเป็นภาษาไทยให้เขียนบทคัดย่อเป็นภาษาไทยและภาษา อังกฤษ ถ้าวิทยานิพนธ์เขียนเป็นภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศอ่ืนใด ก็ให้เขียนบทคัดย่อเป็น ภาษาทีใ่ ช้เขยี นวิทยานพิ นธ์นน้ั พรอ้ มทัง้ บทคัดยอ่ ภาษาไทย โดยมีสาระในบทคัดย่อดังน้ี 8 คมู่ อื การทาํ วทิ ยานิพนธ์

2.1.6.1 ชื่อ-สกุลผู้วิจัย พร้อมคํานําหน้านามเช่นเดียวกับท่ีปรากฏบนปกใน หัวข้อ วิทยานิพนธ์ สาขาวิชา ช่ือมหาวิทยาลัย รายนามอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และปีการศึกษาที่ สาํ เรจ็ การศึกษา 2.1.6.2 วตั ถปุ ระสงค์ ขอบเขต วธิ ีการศึกษาวิจยั ผลการวิจัยและสรปุ 2.1.6.3 ระบุจํานวนหนา้ รวมของเล่มวทิ ยานพิ นธ์ 2.1.6.4 ระบคุ าํ สําคัญทีเ่ ปน็ คําหลกั เพอื่ ใชใ้ นการค้นหาขอ้ มูลบนอินเทอร์เนต็ 2.1.6.5 อาจารยท์ ่ปี รกึ ษาวทิ ยานิพนธ์หลกั ลงนามอนมุ ตั ิ (ลงนามดว้ ยปากกาหมึกสีดํา) หมายเหตุ บทคดั ยอ่ ทด่ี ี ควรมลี ักษณะดังนี้ 1. ความถูกต้อง โดยระบวุ ัตถปุ ระสงคแ์ ละเนื้อหาของเร่ืองตามทปี่ รากฏในวิทยานิพนธ์ 2. ความสมบูรณ์ เช่น คําย่อ คําท่ีไม่คุ้นเคยให้เขียนเต็มเม่ือกล่าวถึงครั้งแรก ไม่จําเป็นต้องอ้าง เอกสาร ยกตัวอย่าง ยกข้อความ สมการ หรอื ภาพวาด คําท่ีใช้ในบทคัดย่อเปน็ คําสําคญั เพื่อประโยชน์ ในการทาํ ดรรชนสี าํ หรบั การสบื ค้นข้อมลู 3. ความเฉพาะ กระชับ ชัดเจน ประโยคแต่ละประโยคมีความหมาย โดยเฉพาะประโยคนํา พยายามเขยี นใหส้ ั้นท่ีสุด 4. ลักษณะของการรายงานมากกว่าการประเมิน จึงไม่ควรมีคําวิจารณ์ นอกจากรายงานผล ข้อมลู ตัวเลขทส่ี ําคัญทไ่ี ด้จากการวิจัย 5. ความน่าอ่านและราบร่ืน การเขียนข้อความในบทคัดย่อ ควรใช้ประโยคสมบูรณ์ในรูปของ อกรรมกรยิ า (Intransitive Verb) มากกว่าในรูปของสกรรมกริยา (Transitive Verb) 6. ใช้คําท่ีเป็นปัจจุบันกาล (Present Tense) เมื่อสรุปและนําผลการวจิ ัยไปใช้ และใช้คําที่เป็น อดีตกาล (Past Tense) เมือ่ กล่าวถึงวธิ วี จิ ยั และผลการวิจัย 2.1.7 กิตติกรรมประกาศ (ACKNOWLEDGEMENTS) เป็นข้อความแสดงความขอบคุณบุคคล สถาบันและ/หรือหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ ให้ความร่วมมือในการค้นคว้าเพื่อเขียนวิทยานิพนธ์ ตลอดท้ังคณะกรรมการสอบ ผู้สนับสนุนเงินทุนวิจัย ผู้ให้ข้อคิดเห็น ให้ข้อมูล และผู้ท่ีอนุญาตให้ใช้ ข้อเขียนหรือให้ใช้เครอื่ งมือในการวิจัย ซึ่งเป็นการแสดงถึงจรรยาบรรณทางวชิ าการทผ่ี ู้วิจยั ควรถือปฏิบัติ แต่ควรจํากัดการเขียนเฉพาะการได้รับความช่วยเหลือเป็นกรณีพิเศษ ข้อความดังกล่าวควรเขียนเป็น ภาษาทางวิชาการ ไม่ควรใช้ภาษาพูดและใช้คําสแลง การระบุชื่อบุคคลให้ใช้ช่ือจริงพร้อมนามสกุล และคํานําหน้า ห้ามใช้ชื่อเล่น เช่น พี่หมี น้องแมว น้าหมู ถ้าเป็นบุคคลท่ีมียศ/ตําแหน่งทางวิชาการ และมีตําแหน่งหน้าท่ีการงาน ให้ระบุไว้ด้วย มีความยาวไม่เกิน 1 หน้า ท้ายข้อความให้ระบุช่ือ-สกุล ผู้เขียนวิทยานิพนธ์ไว้ด้วย แต่ไม่ต้องระบุคํานําหน้าชื่อ (นาย นาง หรือนางสาว) โดยให้จัดพิมพ์ขนาด ตวั อักษร 16 พอยต์ ตวั หนา (Bold) คําว่า “กิตตกิ รรมประกาศ” อยกู่ ลางหนา้ กระดาษ 2.1.8 สารบญั (TABLE OF CONTENTS) เปน็ รายการท่ีแสดงส่วนประกอบสําคญั ทั้งหมดของ วิทยานิพนธ์ใหเ้ ขยี นเปน็ ภาษาท่ีใช้เขียนวทิ ยานพิ นธ์ ใหจ้ ัดพมิ พข์ นาดตวั อกั ษร 16 พอยต์ ตวั หนา (Bold) ดงั น้ี “สารบญั ” หากสารบัญไม่จบในหน่ึงหน้า โดยใหพ้ ิมพค์ าํ ว่า “สารบญั (ตอ่ )” หรอื “TABLE OF CONTENTS (CONTINUED)” อยกู่ ลางหน้ากระดาษหนา้ ถดั ไป 2.1.9 สารบัญตาราง (LIST OF TABLES) เปน็ สว่ นท่แี จง้ หมายเลขหน้าของตารางทั้งหมดทีม่ อี ยู่ ในวิทยานิพนธ์ (ถ้ามี) ให้จัดพิมพ์ขนาดตัวอักษร 16 พอยต์ ตัวหนา (Bold) ดังน้ี “สารบัญตาราง” คู่มอื การทาํ วทิ ยานิพนธ์ 9

หากสารบัญตารางไม่จบในหนึ่งหน้า โดยให้พิมพ์คําว่า “สารบัญตาราง (ต่อ)” หรือ “LIST OF TABLES (CONTINUED)” อยกู่ ลางหน้ากระดาษหนา้ ถดั ไป 2.1.10 สารบัญภาพ (LIST OF FIGURES) เป็นส่วนที่แจ้งหมายเลขหน้าของภาพ (รูปภาพ แผนที่ แผนภมู ิ กราฟ ฯลฯ) ท้ังหมดทมี่ ีอยู่ในวิทยานพิ นธ์ ให้จัดพิมพข์ นาดตัวอักษร 16 พอยต์ ตวั หนา (Bold) ดังนี้ “สารบัญภาพ” หากสารบัญภาพไม่จบในหนึ่งหน้า โดยให้พิมพ์คําว่า “สารบัญภาพ (ต่อ)” หรือ “LIST OF FIGURES (CONTINUED)” อย่กู ลางหนา้ กระดาษหนา้ ถดั ไป 2.1.11 คําอธิบายสัญลักษณ์และคําย่อ (LIST OF ABBREVIATIONS AND SYMBOLS) เป็นส่วนท่ี อธิบายถึงสัญลักษณ์และคําย่อต่าง ๆ ที่ใช้ในวิทยานิพนธ์ (ถ้ามี) โดยให้จัดพิมพ์ขนาดตัวอักษร 16 พอยต์ ตัวหนา (Bold) คําว่า “คําอธิบายสัญลักษณ์และคําย่อ” ทั้งนี้ ให้สัญลักษณ์และคําย่อมีความหมาย เดยี วกนั ตลอดท้งั เลม่ และให้พิมพเ์ รียงตามลาํ ดับตวั อักษร 2.1.12 สําหรับวิทยานิพนธ์ฉบับภาษาอังกฤษ ให้ใช้ตัวพิมพ์ (Font) Times New Roman ขนาดตัวอกั ษร 12 พอยต์ ตัวหนา (Bold) 2.2 สว่ นเนอ้ื หา ส่วนเนื้อหาวิทยานิพนธ์หรือสารนิพนธ์ โดยทั่วไปที่นิยมกันอย่างแพร่หลาย ประกอบด้วยบทต่าง ๆ จาํ นวน 5 บท ดังน้ี 2.2.1 บทที่ 1 บทนาํ (Introduction) ควรประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดงั น้ี 2.2.1.1 ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา (Statement of the Problems) กล่าวถึง ความเป็นมาของปัญหา ประเด็นสาระสําคัญของหัวเร่ือง กรอบแนวคิดของการวิจัย (Conceptual Framework) ท่ีนําเสนอแนวคิด หลักการสําคัญ จากการประมวลมาจากทฤษฎีและ งานวิจัยทเี่ ก่ียวข้อง และความจําเป็นท่ีจะต้องศึกษาวจิ ัยในปญั หานั้น เพื่อความกา้ วหน้าของวิทยาการ ในแขนงน้ัน รวมถึงการกล่าวถึงประเด็นสําคัญท่ีผู้ทําวิทยานิพนธ์หรือสารนิพนธ์ประสงค์ท่ีจะค้นหา คําตอบ โดยใช้แนวทางการวิจัย ตลอดจนข้อความที่ช้ีให้เห็นว่าเม่ือทําวิจัยแล้วเสร็จ จะสามารถ นาํ ไปใช้ประโยชน์ไดอ้ ย่างไร 2.2.1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Objectives) เป็นข้อความท่ีระบุเป้าหมายที่ผู้ทํา วิทยานิพนธ์หรือสารนิพนธ์ต้องการค้นหาข้อเท็จจริงในประเด็นต่าง ๆ ซ่ึงส่วนใหญ่นิยมเขียนขึ้นต้น ดว้ ยคําวา่ “เพอ่ื ....” เชน่ เพือ่ ศึกษา… เพอื่ พฒั นา... เพอ่ื วิเคราะห…์ เพ่ือสงั เคราะห์... และ เพอื่ ประเมิน… เป็นต้น ส่วนภาษาอังกฤษนิยมขึ้นต้นด้วยคําว่า “to” เช่น to study…, to develop…, to analyze…, to synthesize…, และ to evaluate… เป็นต้น ถ้ามีวัตถุประสงค์หลายข้อ นิยมเขียนเป็นข้อ ๆ โดยเรยี งลาํ ดับตามเปา้ หมายท่จี ะทาํ การวิจยั 2.2.1.3 สมมตฐิ านของการวิจัย (Research Hypothesis) (ถา้ มี) เป็นขอ้ ความท่ีกาํ หนด ขน้ึ เพือ่ คาดคะเนถึงผลการวิจัยท่จี ะเกดิ ขน้ึ วา่ จะเป็นลักษณะใดหรือมีผลอย่างไรทงั้ ในเชิงปรมิ าณหรอื เชิงคุณภาพ ซง่ึ นยิ มเขียนเป็นขอ้ ๆ โดยมสี าระสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย สามารถเขยี น ได้ทัง้ สมมติฐานการวิจยั (Research Hypothesis) และสมมตฐิ านทางสถิติ (Statistical Hypothesis) 2.2.1.4 ขอบเขตของการวิจยั (Scope of Study) เปน็ ข้อความท่กี ําหนดหรือจํากัดวงให้ ชัดเจนลงไปว่าการวิจัยคร้ังน้ีจะกระทําอะไร ปริมาณเท่าใด กระทํากับใคร สิ่งใด และ/หรือกระทํา เมื่อใด เพ่ือให้การวิจัยสามารถกระทําได้สําเร็จภายในเวลา ภายใต้กรอบของปัญหาและความต้องการ 10 คู่มอื การทาํ วิทยานิพนธ์

ท่ีระบุไวใ้ นความเปน็ มาและความสําคัญของปัญหาและครอบคลุมวัตถุประสงค์ของการวิจัย โดยท่ัวไป นิยมกําหนดขอบเขตของการวิจัยใน 3 ประเด็นดังนี้ 1) เน้ือหาสาระ (Content) กล่าวถึง ขอบเขต ของเนื้อหา ปรมิ าณงาน เทคนคิ ทใ่ี ช้ วธิ ีการทใ่ี ช้ ทฤษฎีทใี่ ช้ ลักษณะข้อมูล และเคร่ืองมือและอปุ กรณ์ ที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น 2) พื้นท่ีหรืออาณาเขต (Area) กล่าวถึง พื้นที่ในการวิจัย พ้ืนที่ศึกษาข้อมูล ขอบเขต อาณาเขต พันธะ รวมท้ังประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้เช่ียวชาญ และ จํานวนข้อมูล เป็นต้น และ 3) เวลา (Time) กล่าวถึง ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย เวลาในการศึกษา ข้อมลู เวลาในการดาํ เนินการทดลองหรือการสังเกตผล และเวลาในข้ันตอนต่าง ๆ ที่คาดว่าจะมีผลต่อ การวจิ ัย 2.2.1.5 ข้อตกลงเบื้องต้น (Basic Assumption) (ถ้ามี) เป็นข้อความท่ีกําหนดข้ึน เพ่ือระบุความคิดพ้ืนฐานหรือข้อจํากัดบางประเด็นท่ีผู้ทําวิทยานิพนธ์หรือสารนิพนธ์ต้องการทํา ความเข้าใจกับผู้อ่านว่า การวิจัยคร้ังนน้ั มีข้อจาํ กัด มีขอ้ ยกเว้น หรือมีข้อตกลงอะไรบ้าง ซ่ึงจะตอ้ งเป็น ประเดน็ สาํ คัญทสี่ ่งผลตอ่ การวจิ ยั เทา่ นน้ั มใิ ชป่ ระเดน็ ทวั่ ๆ ไป 2.2.1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ (Definitions) เปน็ ขอ้ ความทีอ่ ธิบายความหมายของคําสําคัญ บางคํา (Keywords) ท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังนั้น ซึ่งคําเหล่านั้นจะมีความหมายเฉพาะในการวิจัยครั้งนั้น เท่าน้ัน ไม่ใช่เป็นความหมายทั่ว ๆ ไป โดยทั่วไปนิยมเขียนเป็นข้อ ๆ หรือเป็นคํา ๆ และมักจะขึ้น ขอ้ ใหมห่ รือยอ่ หน้าใหม่เม่ือเป็นคําสาํ คญั คาํ ใหม่ 2.2.1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ (Expected Outcome) เป็นข้อความที่ร้อยเรียง ถึงผลการวิจัยว่าจะนําไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร ซ่ึงข้ึนอยู่กับวัตถุประสงค์ของการวิจัยคร้ังน้ัน โดยอาจจะนําผลการวิจัยไปใช้ในการวางแผน กําหนดนโยบาย ปรับปรุงกระบวนการทํางาน พัฒนา ระบบงาน ใช้ในการบริหาร ใช้เป็นข้อมูลสําหรับการตัดสินใจ และใช้แก้ปัญหา เป็นต้น ในการเขียน ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับจากการวิจัยน้ันจะต้องสอดคล้องกับประเด็นปัญหาของการวิจัยที่ผู้วิจัย ยกขึ้นมาในความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ไม่ใช่ประโยชน์ที่เป็นข้อความเลื่อนลอย โดยที่ ไม่ทําวิจัยเรื่องนี้กเ็ ขยี นได้ การเขียนประโยชน์ที่คาดว่าจะไดร้ ับ สามารถเขียนเป็นความเรยี งหรอื เขียน เป็นขอ้ ๆ กไ็ ด้ 2.2.2 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง (Literature Review and Related Research) ควรประกอบด้วยสว่ นตา่ ง ๆ ดังนี้ 2.2.2.1 แนวคิดและทฤษฎีที่เก่ียวข้อง (Idea and Theories) เป็นส่วนท่ีผู้ทําวิทยานิพนธ์ หรือสารนพิ นธ์ ได้ทาํ การรวบรวม ทฤษฎี หลกั การ แนวคิด เทคนิค วิธีการ และข้อมูลต่าง ๆ ท่ีเกีย่ วข้อง กับการวิจัยครั้งน้ัน โดยทําการศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินสาระสําคัญดังกล่าวอย่าง ครอบคลุม กว้างขวาง และเจาะลึกในประเด็นท่ีจะศึกษาวิจัย เพ่ือให้เกิดความเข้าใจในเร่ืองที่จะทํา วิจัยอย่างชัดเจน สมบูรณ์ และครอบคลุมตามท่ีระบุไว้ขอบเขตของการวิจัย การเขียนในส่วนน้ีนิยม นาํ เสนอประเด็นสําคัญเป็นขอ้ ๆ ก่อนในตอนต้น หลังจากนั้นจึงนําเสนอรายละเอียดแต่ละข้อ ๆ หรือ แต่ละประเด็น ๆ โดยจะต้องสรุปให้เห็นอย่างชัดเจนว่าผู้วิจัยได้นําแนวคิดและทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องมาใช้ ในการวิจัยของตนอย่างไรและเกี่ยวข้องกับส่วนใด รวมทั้งแต่ละประเด็น ๆ มีความสัมพันธ์หรือ มกี ารเชือ่ มโยงกันอยา่ งไร ไม่ใชน่ ําเสนอแนวคดิ และทฤษฎีแตล่ ะประเดน็ ๆ อยา่ งเล่อื นลอย ปราศจาก การเชอ่ื มโยงเขา้ กับงานวจิ ัยของตน คู่มอื การทาํ วิทยานิพนธ์ 11

2.2.2.2 งานวิจัยที่เก่ียวข้อง (Related Research) เป็นส่วนท่ีนําเสนอผลงานวิจัยที่มี ผู้ทํามาก่อนท้ังงานวิจัยในประเทศและต่างประเทศ ซ่ึงเกี่ยวข้องกับการวิจัยคร้ังนั้น โดยพิจารณา คําสําคัญจากช่ือเร่ืองว่ามีความเกี่ยวข้องหรือใกล้เคียงกับชื่อเร่ืองหรือประเด็นในการวิจัยมากน้อย เพยี งใด รวมทั้งพิจารณาความใหม่หรอื ความเป็นปัจจุบัน โดยพจิ ารณาจากปีของการพมิ พ์ ถา้ มากกว่า 10 ปี ไม่ควรจะนํามาอ้างอิง (ยกเว้นเอกสารท่ีแสดงทฤษฎีที่เป็นจริง) ถ้าเป็นวิทยานิพนธ์ก็ควร พิจารณาระดับการศึกษาของการวิจัยเร่ืองน้ันด้วย เช่น ถ้าเป็นดุษฎีนิพนธ์ก็ควรพิจารณางานวิจัยที่ เกี่ยวข้องในระดับดุษฎีนิพนธ์เช่นกัน ในการเขียนงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นิยมเขียนอ้างอิงจากงานวิจัยใน อดตี มาถึงงานวจิ ยั ที่เปน็ ปัจจุบนั โดยนาํ เสนอเรยี งลําดบั จากปี พ.ศ. จากอดีตมาจนถงึ ปัจจุบัน 2.2.3 บทท่ี 3 วิธดี ําเนินการวิจัย (Research Methodology) เป็นเน้ือหาส่วนสําคัญและถือได้ ว่าเป็นหัวใจสําคัญของวิทยานิพนธ์หรือสารนิพนธ์ ซ่ึงผู้วิจัยจะต้องรายงานเก่ียวกับแผนการและ วิธีดําเนินงานเป็นลําดับ ก่อนลงมือทําการวิจัย รวมถึงประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เคร่ืองมือที่ใช้ใน การวิจัย ขั้นตอนการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อนําไปสู่การสรุปผล อภิปรายผล และ ข้อเสนอแนะต่อไป การเขียนวิธีการดําเนินงานวิจัย มีรูปแบบการเขียนแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับประเภท ของการวิจัย เนื้อเร่ือง และการออกแบบวิธีวิจัย ซ่ึงการเขียนบทท่ี 3 มีสาระสําคัญท่ีจะต้องพิจารณา ดังน้ี 2.2.3.1 ส่วนท่ี 1 กระบวนการรวบรวมข้อมูล เป็นการอธิบายใหเ้ ห็นอยา่ งชดั เจน สมบรู ณ์ และกะทัดรัด เก่ยี วกับวธิ ีการท่ีใช้ในการรวบรวมข้อมูล โดยให้เหตุผลของการเลือกข้อมูลน้ัน ๆ ข้ันตอน โดยละเอียดเก่ียวกับวิธีการรวบรวมข้อมูลน้ัน โดยท่ัวไปจะยึดหลัก 3 ประการ ได้แก่ ประการแรก ข้อมูลท่ีรวบรวมมาจะตอ้ งตอบปัญหาการวิจัยได้ ประการที่สอง ระบุแหล่งท่ีมาของข้อมูลโดยละเอียด และประการทส่ี าม จะต้องสอดรบั ตามวัตถปุ ระสงคข์ องผู้วจิ ัยในการนาํ ข้อมลู มาใช้ 2.2.3.2 ส่วนที่ 2 กระบวนการกระทํากับข้อมูล เป็นกระบวนการที่จะต้องอธิบายถึง แผนงาน ข้ันตอน และวิธีการในการกระทําต่อข้อมูลท่ีรวบรวมมา โดยกําหนดถึงวิธีการจัดหมวดหมู่ ของข้อมูลอย่างชัดเจน มีการชี้แจงข้ันตอนการกระทํากับข้อมูลและการแปลความหมาย เช่น การตรวจสอบข้อมูล วิธีการเก็บข้อมูล ซ่ึงอาจเป็นการสอบถาม การสังเกตการณ์ หรือการสัมภาษณ์ รวมทั้งวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล ตลอดจนค่าสถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยว่ามีวิธีการออกแบบ อย่างไร เพ่ือให้เหมาะสมกับข้อมูลที่รวบรวมมาได้ เพื่อให้สามารถนํามาใช้ยืนยันผลการวิจัยว่าเป็น สิง่ ทีน่ า่ เชือ่ ถอื โดยทวั่ ไปการเขียนเนอื้ หาบทท่ี 3 ควรประกอบดว้ ยส่วนตา่ ง ๆ ดังน้ี 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง (Population and Sample) ประชากร (Population) หมายถึง คน สัตว์ ส่ิงของ หรือข้อมูล เป็นหน่วยข้อมูลทุกหน่วยที่ต้องการศึกษา การกล่าวถึงประชากร จะต้อง ระบุคุณสมบัติหรือคุณลักษณะ ขอบเขต และจํานวนของประชากรให้ชัดเจน ส่วนกลุ่มตัวอย่าง (Sample) หมายถึง ส่วนหน่ึงของประชากรที่จะนํามาศึกษา ซึ่งต้องระบุขนาดของกลุ่มตัวอย่าง วิธีการและขั้นตอนการเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยละเอียดว่าใช้วิธีการใด คัดเลือกอย่างไร และได้ กล่มุ ตวั อยา่ งจํานวนเท่าใด 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย (Research Tools) เป็นการให้รายละเอียดเกี่ยวกับเคร่ืองมือท่ีใช้ ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เช่น แบบสอบถาม (Questionnaire) แบบสังเกตการณ์ (Observation Form) แบบสัมภาษณ์ (Interview Form) แบบทดสอบ (Test Sheet) แบบประเมิน (Evaluation 12 คูม่ อื การทาํ วิทยานพิ นธ์

Form) หรือเคร่ืองมือวิจัยอื่น ๆ โดยจะต้องระบุรายละเอียดของเคร่ืองมือว่ามีก่ีหรือประเภทก่ีฉบับ แต่ละฉบับต้องใช้ภายใต้สภาพแวดล้อมอย่างไร ใช้ในข้ันตอนใด มีวิธีการใช้อย่างไร และนําผลไปใช้ อย่างไร รวมทั้งแจกแจงเก่ียวกับข้ันตอนการสร้างเครื่องมือ ตลอดจนการวิธีหาคุณภาพของเครื่องมือ เพ่ือใหผ้ ู้อ่านมั่นใจว่าเครอ่ื งมอื วิจัยท่ีใชม้ มี าตรฐานเชื่อถือได้ 3. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection) เป็นการอธิบายว่าการเก็บรวบรวมข้อมูล มีขั้นตอนและวิธีการอย่างไร ใช้แบบแผนการดําเนินการอะไร หรืออ้างอิงตามแบบแผนของผู้ใด ซ่ึงจะตอ้ งอธิบายขนั้ ตอนนอ้ี ย่างชัดเจน 4. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ (Data Analysis and Statistics) เป็นการอธิบายถึง วิธีการจัดกระทํากับข้อมูลท่ีได้มา เพ่ือให้ได้คําตอบตามวัตถุประสงค์และสมมติฐานของการวิจัย ซ่งึ ผู้วิจัยอาจแบ่งการวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติท่ีใช้ออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ การวิเคราะหข์ ้อมูลและสถิติ ท่ีใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพเคร่ืองมือวิจัย และการวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ ผลการวิจัย สาํ หรบั การเขียนเน้ือหาในบทที่ 3 อาจนําเสนอดว้ ยแผนภมู ิหรือไดอะแกรมท่ีแสดงขั้นตอนต่าง ๆ ก่อนในตอนต้นบท เช่น เขียนผังไหล (Flowchart) บล็อคไดอะแกรม (Block Diagram) ไดอะแกรม เครือข่าย (Network Diagram) หรือไดอะแกรมข้ันบันได (Ladder Diagram) เป็นต้น แผนภาพหลัง จากน้ันจึงนําเสนอรายละเอียดในแต่ละข้ัน ๆ ท้ังน้ีเพ่ือนําเสนอวิธีดําเนินการวิจัยในภาพรวมเพื่อให้ ผู้อา่ นเขา้ ใจกอ่ นลงสู่รายละเอยี ด 2.2.4 บทที่ 4 ผลการวิจัย (Results) เป็นเนื้อหาท่ีนําเสนอผลการวิจัยท่ีเกิดจากการวิเคราะห์ ข้อมูลในรูปของตารางหรือในรูปอ่ืน ๆ ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย ซึ่งผู้วิจัยจะต้อง นาํ เสนอผลการวิเคราะห์ตามความจริง ในส่วนของการแปลผลน้ันควรแปลผลเฉพาะประเดน็ สําคัญ ๆ เท่าน้ัน ไม่เขียนวกวนซ้ําซ้อน ต้องระมัดระวังการคัดลอกตัวเลขและการแปลความ ส่วนท่ีสําคัญใน บทนก้ี ็คอื ตอ้ งไมน่ าํ ความคดิ เห็นของผ้วู จิ ยั เข้าไปอธิบายประกอบ บางคร้ังในการวิเคราะห์ข้อมูลอาจมีอักษรย่อและสัญลักษณ์จํานวนมาก ผู้วิจัยอาจนําเสนอ อักษรย่อและสัญลักษณ์ก่อนที่จะนําเข้าสู่การนําเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูลก็ได้ ซึ่งโครงสร้างการเขียน เนื้อหาบทที่ 4 จะแบ่งออกเปน็ 3 ส่วนดงั น้ี 1. ส่วนแรก กล่าวถึง ผลงานวิจัยที่เกิดข้ึน โดยพิจารณาตามวัตถุประสงค์การวิจัย ผู้วิจัยจะต้อง นาํ เสนอทลี ะประเดน็ ๆ จนครบตามวตั ถุประสงค์ 2. ส่วนที่สอง กล่าวถึง ผลการศึกษาทางสถิติ นําเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติในรูปของ ตาราง กราฟแทง่ กราฟวงกลม กราฟเส้น หรือรปู แบบอ่นื ๆ ตามทเ่ี หน็ สมควร 3. ส่วนที่สาม กล่าวถึง ผลการทดสอบสมมติฐาน (ถ้ามี) โดยการนําเสนอผลการทดสอบ สมมติฐานทีละข้อ ๆ จนครบ เพ่ือสรุปว่าผลการทดสอบน้ันสอดคล้องตามสมมติฐานหรือไม่ โดยยัง ไม่ตอ้ งอภปิ รายผล 2.2.5 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ (Conclusions, Discussion and Suggestions) ควรประกอบด้วยสว่ นต่าง ๆ ดังน้ี 2.2.5.1 สรุป (Conclusions) เป็นส่วนที่แสดงบทสรุปความสําคัญจากการวิจัย โดยส่วน ใหญ่จะแสดงวัตถุประสงค์งานวิจัย วิธีดําเนินการวิจัย และผลการวิจัยท่ีค้นพบ การเขียนเนื้อหาใน คู่มอื การทําวทิ ยานิพนธ์ 13

บททนี้จะเป็นการเขียนด้วยภาษาท่ีเข้าใจง่าย ไม่นําเสนอตัวเลขทางสถิติท่ีซับซ้อน โดยถือว่าเป็นสรุป สาระสาํ คญั ของการทําวิจัยตามวตั ถุประสงคท์ ีละข้อ ๆ 2.2.5.2 อภิปรายผล (Discussion) เป็นส่วนท่ีแสดงการให้เหตุผลว่า เพราะเหตุใด การวิจัยคร้ังนี้จึงได้ผลเช่นน้ัน ข้อค้นพบท่ีได้เป็นไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว้หรือไม่ มีประเด็นสําคัญ อะไรบ้างท่ีเป็นข้อสังเกต ในการอภิปรายผลส่วนนี้ผู้วิจัยจึงควรอภิปรายผลการวิจัยโดยอาศัยแนวคิด ทฤษฎี และผลการวิจัยต่าง ๆ ท่ีสรุปไว้ในบทท่ี 2 ว่าผลการวิจัยมีความเหมือนหรือแตกต่างจาก แนวคิดทฤษฎีของผู้อ่ืนที่ได้สรุปไว้ในบทท่ี 2 อย่างไร ซ่ึงการอภิปรายผลการวิจัยสามารถทําได้ 2 แนวทาง ได้แก่ ผลการวิจัยดังกล่าวหมายความว่าอย่างไร ทําไมจึงเป็นเช่นน้ัน และผลการวิจัย ดังกล่าวสอดคล้องหรือขัดแย้งกับผลการวิจัยในอดีตของผู้วิจัยใดบ้าง ซ่ึงในการอภิปรายผลส่วนนี้ ผ้วู จิ ัยสามารถเสนอความคิดเหน็ สว่ นตวั ประกอบได้ 2.2.5.3 ข้อเสนอแนะ (Suggestions) เป็นส่วนของเนื้อหาที่นําเสนอความคิดเห็นของ ผู้วิจัย เพ่ือให้ผู้อ่านทราบว่าเม่ือนํางานวิจัยเรื่องน้ีไปใช้ จะมีข้อเสนอแนะสําคัญ ๆ อะไรบ้าง และ ถ้าจะทําวิจัยในคร้ังต่อไปในแนวทางเดียวกันนี้ ผู้วิจัยมีประเด็นสําคัญแนะนําที่จะให้นักวิจัยคนอื่นทํา อย่างไรหรือเตรียมการอย่างไร โดยท่ัวไปการเขียนข้อเสนอแนะจะแบ่งเป็น 2 หัวข้อ ได้แก่ ข้อเสนอแนะสําหรับการนําผลการวิจัยไปใช้ และข้อเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งต่อไป สําหรับ การเขียนข้อเสนอแนะการวิจัย จะต้องเป็นประเด็นที่เกิดขึ้นจากการทําวิจัยครั้งน้ีจริง ๆ เท่าน้ัน ไมค่ วรเสนอแนะประเด็นทไ่ี มเ่ กี่ยวข้องหรือเปน็ ประเดน็ ท่ไี ม่ทําวิจัยเรือ่ งดงั กลา่ วนีก้ ็เสนอแนะได้ หมายเหตุ สําหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เนื้อหาของการวิจัยอาจ ไม่จําเป็นต้องแบ่งออกเป็น 5 บท อาจจะมีมากกว่า 5 บทก็ได้ โดยมีส่วนประกอบที่แบ่งเป็นส่วนนํา สว่ นเน้อื เรอื่ ง และส่วนอ้างองิ เหมอื นรายงานการวิจัยเชิงปรมิ าณ (Quantitative Research) แต่ความแตกต่างอยู่ท่ีรายละเอียดของส่วนเน้ือหา กล่าวคือ เนื้อหาอาจประกอบด้วยบทต่าง ๆ ดังน้ี 1. บทที่ 1 บทนาํ กล่าวถงึ ความเปน็ มาของเรอ่ื งท่วี จิ ยั วัตถปุ ระสงค์ และวธิ กี ารวจิ ยั 2. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กล่าวถึงวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้อง ซ่ึงรวมถึงแนวคิด ทฤษฎี และผลการวจิ ยั ท่เี ก่ยี วขอ้ ง (ซงึ่ อาจจะมีหรือไมม่ กี ไ็ ด้) 3. บทที่ 3 และบทอืน่ ๆ ที่รายงานผลการวิจัย ซ่ึงอาจจะมหี ลายบท 4. บทสดุ ทา้ ย สรปุ และอภิปรายผล ตวั อย่าง การวิจัยเร่อื ง “การรําเพลงหน้าพาทย์ชั้นสูง : เพลงตระ (ตัวพระ)” ของชมนาด (2553) เนอื้ หาแบง่ ออกเปน็ 6 บท ดงั นี้ บทที่ 1 บทนํา บทท่ี 2 บรบิ ทสาํ คญั ของรําหนา้ พาทยช์ น้ั สงู บทที่ 3 จารตี ของรําหนา้ พาทย์ช้ันสงู บทที่ 4 การรําหนา้ พาทยเ์ พลงตระ บทที่ 5 การวเิ คราะห์ทา่ ราํ หนา้ พาทยช์ ั้นสงู เพลงตระ บทที่ 6 สรปุ อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ 14 คู่มอื การทําวิทยานิพนธ์

นอกจากน้ีการวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology Research) ซึ่งเป็นการวิจัยที่เน้นการพัฒนา เพื่อให้เกิดการค้นพบความจริงบางประการ อาจจะนําเสนอเนื้อหา ไดม้ ากกวา่ 5 บทกไ็ ดเ้ ช่นกนั 2.3 สว่ นอ้างองิ หรอื สว่ นทา้ ย ส่วนอ้างอิงซึ่งมีท้ังการอ้างอิงภายในและการอ้างอิงท้ายเร่ือง ประกอบด้วย บรรณานุกรมหรือ เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก (ถ้ามี) ประวัติผู้วิจัย ในส่วนอ้างอิงนี้อาจมีส่วนประกอบอ่ืน ๆ นอกเหนือจากนี้ ได้ตามความเหมาะสมของวิทยานิพนธ์ฉบับนั้น ๆ ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และความต้องการของภาควชิ า โดยมีรายละเอียดดงั น้ี 2.3.1 บรรณานุกรม (BIBLIOGRAPHY) หรือเอกสารอ้างอิง (REFERENCES) เป็นส่วนท่ีแสดง รายชื่อหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์อ่ืน ๆ ที่ใช้สําหรับการค้นคว้าอ้างอิงประกอบการเขียนวิทยานิพนธ์เรื่องน้ัน ๆ โดยอยตู่ อ่ จากสว่ นเน้อื หาและก่อนภาคผนวก ใหจ้ ดั พมิ พ์ขนาดตัวอักษร 20 พอยต์ ตัวหนา (Bold) 2.3.2 ภาคผนวก (APPENDIX) เป็นส่วนที่เพิ่มเติมขึ้นเพื่อช่วยเสริมความเข้าใจในเน้ือหาสาระ ของวทิ ยานิพนธ์เรอ่ื งนั้นอาจมีหรือไมม่ กี ็ได้ตามความเหมาะสมและความจําเป็น ซึ่งไดแ้ ก่ อภธิ านศัพท์ รายการ คํายอ่ ภาพประกอบ การคาํ นวณต่าง ๆ แบบสอบถาม และอื่น ๆ เป็นตน้ 2.3.3 ประวัติผู้วิจัย (BIOGRAPHY) การเขียนประวัติผู้วิจัย ถ้าวิทยานิพนธ์เขียนเป็นภาษาไทย ให้เขียนประวัติผู้วิจัยเป็นภาษาไทย ถ้าวิทยานิพนธ์เขียนเป็นภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศอื่นใด ก็ให้เขียนประวัติผู้วิจัยเป็นภาษาท่ีใช้เขียนวิทยานิพนธ์นั้น ให้จัดพมิ พ์ขนาดตัวอักษร 16 พอยต์ ตัวหนา (Bold) ดงั น้ี “ประวตั ิผ้วู ิจยั ” โดยให้เขียนโดยจําแนกเปน็ หัวขอ้ โดยมีข้อความดังน้ี 2.3.3.1 ประวัติการศึกษา ตั้งแต่ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าเป็นต้นไป โดยระบุช่ือ สถานศึกษา และปีการศึกษาทส่ี ําเรจ็ การศกึ ษาในแตล่ ะระดับดว้ ย 2.3.3.2 ประวัติการทํางาน ให้ระบุประสบการณ์ ผลงานทางวิชาการ รางวัลหรือ ทนุ การศึกษาทส่ี าํ คัญ ตําแหนง่ และสถานทที่ าํ งานของผวู้ ิจัยพร้อมปี พ.ศ. 2.3.3.3 สถานทตี่ ิดต่อปัจจบุ นั คู่มือการทาํ วทิ ยานิพนธ์ 15

บทที่ 3 การพิมพว์ ทิ ยานพิ นธ์ 3.1 กระดาษทีใ่ ช้ กระดาษท่ีใช้พิมพ์วิทยานิพนธ์หรือทําสําเนาวิทยานิพนธ์ต้องเป็นกระดาษปอนด์ขาวพิเศษ หรือ กระดาษถนอมสายตา ไม่มีเส้นบรรทัด ขนาดมาตรฐาน A4 (ขนาด 297x210 มม.) นํ้าหนัก 80 กรัม ต่อตารางเมตร 3.2 การวางรปู หนา้ กระดาษพมิ พ์ การเวน้ ขอบระยะห่างจากริมกระดาษให้เวน้ ระยะห่างดงั นี้ 3.2.1 หัวกระดาษ ให้เว้น 3.81 เซนติเมตร (1.5 น้ิว) ยกเว้นหน้าที่ข้ึนบทใหม่ของแต่ละบทให้เว้น 5.08 เซนติเมตร (2 นิว้ ) 3.2.2 ขอบล่างและขอบขวามอื ให้เวน้ 2.54 เซนตเิ มตร (1 นว้ิ ) 3.2.3 ขอบซา้ ยมือ ให้เวน้ 3.81 เซนติเมตร (1.5 นิว้ ) (ดตู ัวอยา่ งหน้า 112) 3.3 การพิมพ์ 3.3.1 ขนาดและแบบตวั พมิ พ์ วิทยานิพนธ์ภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ให้ใช้ตัวพิมพ์ (Font) ดังต่อไปนี้ ได้แก่ AngsanaUPC หรือ BrowalliaUPC หรือ DilleniaUPC หรือ EucrosiaUPC หรือ CordiaUPC หรือ TH SarabunPSK โดยใช้ขนาดตัวอักษร 16 พอยต์ สําหรับตัวอักษรธรรมดาท่ีเป็นตัวพื้นของการพิมพ์ตลอดทั้งเล่ม และให้ใช้ขนาดตัวอักษร 16 พอยต์ ตัวหนา (Bold) เมื่อใช้พิมพ์หัวข้อสําคัญ โดยใช้หมึกพิมพ์สีดํา ตลอดท้ังเลม่ ส่วนวิทยานิพนธ์ฉบับภาษาอังกฤษ ให้ใช้ตัวพิมพ์ช่ือ Times New Roman ขนาดตัวอักษร 12 พอยต์ สําหรับตัวอักษรธรรมดาท่ีเป็นตัวพื้นของการพิมพ์ตลอดท้ังเล่ม และให้ใช้ขนาดตัวอักษร 12 พอยต์ ตวั หนา (Bold) เมอ่ื ใช้พิมพห์ ัวข้อสาํ คญั 3.3.2 การเว้นระยะระหว่างบรรทัดให้เป็นแบบเดียวกันตลอดท้ังเล่ม บรรทัดระหว่างหัวข้อสําคัญ ให้เว้น 1 บรรทดั (Single Line Spacing) 3.3.3 การย่อหนา้ เวน้ วรรค และการตัดคําเมอื่ สิน้ สุดบรรทัด ใหจ้ ดั พิมพ์ดังนี้ 3.3.3.1 การย่อหน้า ให้เว้นระยะจากกรอบพิมพ์ด้านซ้ายมือ 1 เซนติเมตร (0.39 น้ิว) และควรย่อหน้าในกรณีท่ีส้ินสุดเนื้อความ ถ้ายังไม่สิ้นสุดเนื้อความแต่ย่อหน้ายาวมาก ก็ควรย่อหน้า เม่ือสน้ิ สุดประโยค 3.3.3.2 หลักการเว้นวรรค ตามราชบัณฑิตยสถานกําหนดไว้ว่าการเว้นวรรคแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะดังนี้ 1) การเว้นวรรคเล็ก มีระยะห่างระหว่างวรรคเท่ากับความกว้างของพยัญชนะ (หรือ 1 เคาะ) และ 2) การเวน้ วรรคใหญ่ มีระยะหา่ งระหวา่ งวรรคเท่ากบั ความกว้างของพยญั ชนะ (หรือ 2 เคาะ) 16 คูม่ ือการทําวทิ ยานพิ นธ์

การเว้นวรรคเลก็ ใชใ้ นกรณตี อ่ ไปน้ี 1. เวน้ วรรคเลก็ ระหว่างชื่อกบั นามสกุล 2. เว้นวรรคเล็กหลังคํานําพระนามพระบรมวงศานุวงศ์ พระนาม และฐานันดรศักดิ์ เช่น สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ 3. เวน้ วรรคเล็กระหวา่ งคาํ “ห้างหุน้ ส่วนจาํ กดั ” กบั ชื่อ เช่น ห้างห้นุ ส่วนจํากดั วีระชยั จาํ กดั 4. เว้นวรรคเล็กระหว่างชื่อสถานที่ต่าง ๆ เช่น ถนน ตําบล อําเภอ จังหวัด เช่น แขวงวงศ์ สวา่ ง เขตบางซ่ือ กรงุ เทพมหานคร 5. เวน้ วรรคเล็กระหวา่ งคํานําหน้านามแต่ละชนิด เช่น ศาสตราจารย์ นายแพทย์ยิ่งยศ ย่ิงใหญ่ 6. เวน้ วรรคเลก็ ระหวา่ งยศกับช่ือ เช่น พลเรอื เอก สงัด ชลออยู่ ว่าท่ีรอ้ ยตรี สมชาย คงคา 7. เว้นวรรคเลก็ ระหว่างตวั หนงั สอื กบั ตวั เลข เชน่ แรงดันไฟฟา้ 220 โวลท์ ชุดการสอน 12 เรอ่ื ง 8. เว้นวรรคเล็กหลังข้อความท่ีเป็นหน่วยมาตราต่าง ๆ กับข้อความ โต๊ะขนาดกว้าง 1.20 เมตร ยาว 2.40 เมตร การวิจยั ประกอบดว้ ย 8 ข้ันตอน ประสทิ ธิภาพมคี ่าเทา่ กับ 85.55% 9. เวน้ วรรคเล็กระหว่างตัวหนงั สอื ไทยกับตัวหนังสอื ภาษาอ่ืน เชน่ ไมเ้ ถาชนดิ Smilax China 10. เว้นวรรคเล็กหน้าและหลังเคร่ืองหมายไปยาลใหญ่ (ฯลฯ) ไม้ยมก (ๆ) เท่ากับ (=) ทวิภาค (:) วิภัชภาค (:-) เช่น ส่วนประกอบต่าง ๆ ของรถยนต์ งาน = แรง x ระยะทาง กรณีศึกษา : ชุมชน คลองเตย ได้แก่ :- 10.1 เว้นวรรคเล็กหน้าเครื่องหมายวงเล็บเปิดและวงเล็บปิด เช่น โลภะ (ความโลภ) โทสะ (ความโกรธ) การวิเคราะหก์ ารถดถอย (Regression Analysis) 10.2 เว้นวรรคเล็กหลังเครื่องหมายจุลภาค (,) อัฒภาค (;) ไปยาลน้อย (ฯ) อัญประกาศปิด (”) และวงเล็บปิด เช่น คู่มือนักศึกษาฯ ที่ใช้อยู่ปัจจุบัน ลําต้นมีลักษณะคล้าย “เถาวัลย์” บางทีก็คลา้ ย “กาฝาก” 11. เว้นวรรคเล็กหนา้ คาํ “เช่น” เชน่ ส่วนหน่งึ แห่งจกั รวาล เชน่ มนุษยโลก เทวโลก พรหมโลก 12. เว้นวรรคเล็กหน้าคํา “เป็นต้น” ท่ีอยู่หลังรายการ เช่น ช่ือตําบลต่าง ๆ มีบ้านหม้อ บ้านหม่ี บ้านไร่ บ้านนา บ้านบ่อ เปน็ ตน้ การเวน้ วรรคใหญ่ ใช้ในกรณเี มื่อจบข้อความแตล่ ะประโยค กรณีทีไ่ ม่เว้นวรรค ใชใ้ นกรณตี ่อไปน้ี 1. ไมเ่ ว้นวรรคระหวา่ งคาํ นาํ หน้าช่อื กบั ช่ือ เช่น นายสมศักด์ิ ปนิ่ แก้ว พระมหาสุธี สุทธวิ รรโณ 2. ไม่เว้นวรรคระหว่างคํานําหน้าช่ือท่ีเป็นตําแหน่งหรืออาชีพกับช่ือ เช่น ศาสตราจารย์สมยศ ใจเยน็ 3. ไม่เว้นวรรคระหวา่ งคํานําหน้าชอื่ ทแ่ี สดงฐานะของนิติบุคคล หนว่ ยงาน หรอื กลมุ่ บคุ คลกับช่ือ เช่น โรงเรียนชา่ งกลพระรามเจ็ด วิทยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร มหาวิทยาลัยแมฟ่ า้ หลวง 4. ไม่เว้นวรรคท้ังหน้าและหลังเครื่องหมายยัติภังค์ (-) เช่น ชาวไทย-ชาวลาว ปัจจัยนําเข้า- การประมวลผล-การแสดงผล หมายเหตุ หลักเกณฑ์น้ีเป็นแนวงทางในการปฏิบัติโดยท่ัวไปที่กําหนดขึ้นโดยราชบัณฑิตยสถาน แต่บางคร้ังอาจเว้นวรรคหรือไม่เว้นวรรคก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและดุลยพินิจของ อาจารยท์ ่ีปรกึ ษาวิทยานพิ นธ์ คู่มือการทําวิทยานิพนธ์ 17

3.3.3.3 การตัดคําเมื่อสิ้นสุดบรรทัด ในการตัดคําต้องใส่ยติภังค์ (-) เสมอ แต่ต้อง พิจารณาตัดอย่างรอบคอบ คําท่ีตัดแล้วความหมายเปล่ียนก็ไม่ควรตัด เช่น แม่-น้ํา นักการ-ศึกษา ยกตัว-อย่าง ฯลฯ คําท่ีออกเสียงเช่ือมกันจะตัดคาํ ไม่ได้ เช่น ราช-การ และคําท่ีเป็นหน่วยคําเดียวกัน กไ็ มค่ วรตัด เช่น กระ-ทรวง บัญ-ชี) 3.3.3.4 ไม่ควรฉีกคํา เม่ือพิมพ์คําสุดท้ายไม่จบในบรรทัดนั้น ๆ ให้ยกคําน้ันไปพิมพ์ใน บรรทัดต่อไปท้ังคํา ไม่ควรตัดส่วนท้ายของคําไปพิมพ์ในบรรทัดใหม่ เช่น ผ-สมผสาน รวบร-วม fi-gure, ta-ble เป็นตน้ 3.3.4 การใช้เครื่องหมายจุลภาค (จุดลูกนํ้า ,) ในภาษาไทยไม่ควรใช้ เน่ืองจากมีวรรคตอน เป็นการแบ่งข้อความอยู่แล้ว เครื่องหมายจุลภาคควรใช้เฉพาะท่ีจําเป็น ซึ่งหากไม่ใช้อาจเข้าใจ ผดิ พลาดได้ เช่น ตัวเลขหลายหลัก ช่ือนามสกุลที่อาจปะปนกนั เช่น บัวขาว บญั ชาเมฆ, โสภี พรรณราย, บุษยมาศ, พนมเทียน, โสภาค สวุ รรณ, รัชนก อนิ ทนนท์ เปน็ ตน้ 3.3.5 การขึน้ หนา้ ใหม่ 3.3.5.1 ถ้าพิมพ์มาถึงบรรทัดสุดท้ายของหน้ากระดาษ ให้เว้นขอบล่าง 2.54 เซนติเมตร (1 น้วิ ) 3.3.5.2 หากมีข้อความเหลืออีกเพียงบรรทัดเดียวก็จะจบย่อหน้าเดิม ให้พิมพ์ต่อไปใน หน้าเดิมจนจบแล้วจงึ ขนึ้ ยอ่ หน้าใหมใ่ นหน้าถดั ไป 3.3.5.3 หากมีเน้ือที่เหลือให้พิมพ์ได้อีกเพียงบรรทัดเดียวในหน้าน้ันแล้วจะข้ึนย่อหน้าใหม่ ใหย้ กย่อหนา้ นน้ั ไปตงั้ ตน้ พมิ พ์ในหน้าถัดไป 3.3.6 วิทยานิพนธ์ท่ีเป็นภาษาไทย การพิมพ์คําท่ีเป็นภาษาต่างประเทศ เช่น คําศัพท์เทคนิค (Technical Term) ให้พิมพ์เป็นภาษาไทยตามด้วยวงเล็บภาษาต่างประเทศ ซึ่งคําที่เป็นภาษาไทย ควรพิจารณาจากคาํ ทไ่ี ด้มีการบัญญัติไวแ้ ล้ว โดยราชบัณฑิตยสถาน แต่ถ้ามิได้บัญญัตไิ ว้ใหพ้ ิจารณาใช้ คาํ ตามความเหมาะสม การวงเล็บภาษาต่างประเทศ ให้พิจารณาพิมพ์เฉพาะคําท่ีอาจจะทําให้เข้าใจไขว้เขว ดังนั้น คําที่ส่วนใหญ่เข้าใจความหมายตรงกันแล้ว จึงไม่ควรวงเล็บ เช่น คอมพิวเตอร์ กระแสไฟฟ้า บุคลกิ ภาพ เคร่ืองไส การถ่ายเทความร้อน เปน็ ตน้ การวงเล็บคําภาษาต่างประเทศ ให้พิจารณาเฉพาะ เท่าท่ีจําเป็น โดยทั่วไปควรวงเล็บเฉพาะในคร้ังแรก ๆ ท่ีกล่าวถึงคําน้ี หลังจากนั้นก็ไม่ต้องวงเล็บอีก เม่ือกล่าวถึงคํานี้ในครัง้ ต่อ ๆ ไป การพิมพ์วงเล็บภาษาต่างประเทศ ควรข้ึนต้นด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ (Capital Letters) ตามด้วย ตัวพิมพ์เล็ก เช่น การวิเคราะห์ความแปรปรวน (Variance Analysis) จุดแข็งตัว (Freezing Point) แรงดันพิกัด (Rated Voltage) เป็นต้น ไม่ควรใช้ตัวพิมพ์ใหญ่หรือตัวพิมพ์เล็กทั้งหมด เช่น สายเปลือย (BARE WIRES) โมดูลัสของแรงเฉือน (SHEAR MODULUS) ความเสี่ยงในการลงทุน (investment risk) เปน็ ตน้ นอกจากนีย้ ังควรใช้วิธีการเดียวกันตลอดทั้งเล่ม ตัวอย่าง จากข้อความดังกล่าว แม่พมิ พ์ซ่งึ เป็นส่วนหนึง่ ของอตุ สาหกรรมน้ันมสี ว่ นท่จี ะช่วยเศรษฐกิจของ ประเทศได้เป็นอย่างดี แม่พิมพ์เหล่านี้ได้แก่ โปรเกรสซีฟว์ ดายส์ (Progressive Dies) และคอมบิเนชั่น ดายส์ (Combination Dies) ซงึ่ ปัจจุบันน้ีแมพ่ มิ พ์เหลา่ นีใ้ ชค้ อมพวิ เตอรจ์ ัดการ 18 คู่มอื การทําวทิ ยานพิ นธ์

3.4 การลําดบั หนา้ และการพิมพ์เลขหน้า 3.4.1 การลําดับหน้าในส่วนนําเรื่อง ให้ใช้ตัวอักษรเรียงตามลําดับพยัญชนะในภาษาไทย ก, ข, ค, ... สําหรับวิทยานิพนธ์ภาษาไทย และใช้เลขโรมันตัวเล็กคือ i, ii, iii, iv, ... สําหรับวิทยานิพนธ์ ภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศอื่น โดยพิมพ์ลําดับหน้าไว้กลางหน้ากระดาษด้านล่างห่างจาก ขอบกระดาษข้ึนมา 1.27 เซนติเมตร (0.5 นิ้ว) โดยเร่ิมนับจากหน้าปกใน แต่จะไม่พิมพ์ลําดับหน้าใน หนา้ ปกใน ให้เรมิ่ พิมพล์ ําดับหนา้ จากหนา้ บทคดั ย่อเป็นต้นไป 3.4.2 การลําดับหน้าในส่วนเน้ือหาและส่วนอ้างอิง ให้ใช้ตัวเลขอารบิค 1, 2, 3, ... กํากับหน้า เรียงตามลําดับตลอดท้ังเล่ม โดยพิมพ์ไว้ริมขอบขวาของกรอบกระดาษห่างจากขอบบนและขอบ ขวามือของกระดาษด้านละ 2.54 เซนติเมตร (1 น้ิว) ยกเว้นหน้าแรกของบทที่ข้ึนบทใหม่ หน้าแรก ของบรรณานุกรม และหน้าแรกของภาคผนวกแตล่ ะภาค ไมต่ อ้ งใส่เลขหนา้ กาํ กบั แตใ่ หน้ บั จาํ นวนหน้า รวมไปดว้ ย 3.5 การพมิ พบ์ ทท่ี หัวขอ้ สําคญั และหวั ข้อยอ่ ย 3.5.1 บท (CHAPTERS) เมื่อข้ึนบทใหม่ให้ข้ึนหน้าใหม่เสมอและมีเลขประจําบท โดยให้ใช้เลข อารบิคเท่าน้ัน ท้ังในวิทยานิพนธ์ภาษาไทยและวิทยานิพนธ์ฉบับภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศอ่ืน ให้พิมพ์คําว่า “บทที่” หรือ “CHAPTER” ไว้ตรงกลางตอนบนสุดของหน้ากระดาษ ส่วนช่ือบทให้พิมพ์ ไว้ตรงกลางหน้ากระดาษเช่นกัน โดยให้พิมพ์บรรทัดต่อไปไม่ต้องเว้นบรรทัด ช่ือบทที่ยาวเกิน 1 บรรทัด ให้แบ่งเป็น 2-3 บรรทัดตามความเหมาะสม การพิมพ์บทที่และชื่อบทให้ใช้ขนาดตัวอักษร 20 พอยต์ ตัวหนา (Bold) สําหรับวิทยานิพนธ์ภาษาไทย ส่วนวิทยานิพนธ์ภาษาอังกฤษให้ใช้ขนาดตัวอักษร 14 พอยตต์ ัวหนา (Bold) 3.5.2 หัวข้อสําคัญ หัวข้อสําคัญในแต่ละบทให้พิมพ์ชิดกรอบกระดาษด้านซ้ายมือ วิทยานิพนธ์ ภาษาไทยให้ใช้ขนาดตัวอักษร 16 พอยต์ตัวหนา (Bold) ส่วนวิทยานิพนธ์ภาษาอังกฤษให้ใช้ขนาด ตวั อักษร 12 พอยต์ ตัวหนา (Bold) และไม่ต้องขีดเส้นใต้ ให้ใส่ตัวเลขกํากับตามบท โดยพิมพ์เว้นห่าง จากบรรทัดช่ือบท 1 บรรทดั การพมิ พ์บรรทัดตอ่ ๆ ไปไม่ตอ้ งเวน้ บรรทดั ภาษาอังกฤษ อักษรตัวแรกของคําแรกและของทุก ๆ คําในหัวข้อสําคัญ ๆ เหล่านี้ ต้องพิมพ์ ด้วยอักษรตัวใหญ่เสมอ ส่วนคําบุพบท (Preposition) สันธาน (Conjunction) และคํานําหน้านาม (Article) ไม่ต้องพิมพ์ด้วยอักษรตัวใหญ่ เช่น on, off, at เว้นแต่บุพบท สันธาน และคํานําหน้านาม ดังกล่าวจะเป็นคาํ แรกของหวั ข้อนนั้ 3.5.3 หัวข้อย่อย ให้พิมพ์ย่อหน้าโดยเว้นระยะให้ตรงกับตัวอักษรตัวแรกของชื่อข้อความของ หัวข้อสําคัญนั้น หากหัวข้อย่อยมีการแบ่งมากกว่า 5 ระดับ ให้ใส่ตัวเลขหรือตัวอักษรภาษาไทยคือ ก, ข, ค, ... สําหรับวิทยานิพนธ์ภาษาไทย และใช้อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็กคือ a, b, c, ... สําหรับ วทิ ยานิพนธภ์ าษาตา่ งประเทศ คูม่ อื การทําวิทยานิพนธ์ 19

1.1**หัวขอ้ สาํ คญั (เคร่ืองหมาย ** หมายถงึ เวน้ 2 เคาะ กรณีหวั ข้อยอ่ ยมีถงึ หลักสิบ ให้จัดใหต้ รงกันท้ังหมด) 1.1.1**หัวขอ้ ยอ่ ย…….…..…….………………….………………………………………………………………….…. ………………………………………………………………………………………………………………………….………………… 1.1.2**หัวข้อยอ่ ย……...……….………………….…………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………….……….….. 1.1.2.1**หวั ขอ้ ย่อย…………………………………...………………………………………..……………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….……… 1.1.2.2**หวั ขอ้ ย่อย.……………………………………………………………….…………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….……… 1.1.2.2.1**หวั ขอ้ ยอ่ ย.…………………………………………………………..……………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….……… 1.1.2.2.2**หวั ขอ้ ย่อย…………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ก)**หวั ขอ้ ยอ่ ย…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข)**หวั ข้อย่อย…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………….…… 3.6 การพิมพต์ าราง 3.6.1 ตารางประกอบด้วย เลขที่ของตาราง ช่ือของตาราง ส่วนข้อความและท่ีมาของตาราง โดยปกตใิ หพ้ มิ พ์อยู่หน้าเดียวกนั ท้ังหมด ซงึ่ ตารางอาจมที ้งั แบบแนวต้งั และแบบแนวนอนก็ได้ 3.6.2 ให้พิมพ์คําว่าตารางท่ีชิดริมกรอบกระดาษซ้ายมือ ตามด้วยเลขท่ขี องตารางตามการแบ่งบท และชื่อตาราง กาํ กบั ไว้ดา้ นบนของตารางนน้ั โดยเรียงลําดับหมายเลขตารางตามบทจาก 1 ไปจนจบบท ตารางในภาคผนวกก็ให้พิมพ์ในลักษณะเดียวกัน ให้พิมพ์ตัวอักษรตัวหนา (Bold) คําว่าตารางท่ีและ เลขที่ตาราง เช่น ตารางท่ี 1-1 (อยู่ในบทท่ี 1) ตารางท่ี 2-1 (อยู่ในบทท่ี 2) ตารางที่ ก-1 หรือ TABLE 1-1 (CHAPTER 1) TABLE 2-1 (CHAPTER 2) TABLE A-1 (APPENDIX A) เป็นตน้ 3.6.3 ให้พิมพ์ช่ือตารางต่อจากเลขท่ีของตารางโดยเว้นระยะห่าง 2 เคาะ กรณีชื่อตารางยาว เกนิ กวา่ 1 บรรทดั ให้พิมพ์ตวั อักษรตวั แรกของบรรทัดถัดไปตรงกบั ตวั อกั ษรตวั แรกของชอื่ ตาราง เชน่ ตารางท*ี่ 1-1**ขอ้ มลู แสดงความต้องการวิศวกรอตุ สาหกรรมในรอบ 5 ปี จําแนกตามเพศ อายุ ตารางท*่ี 1-1**ประสบการณ์การทํางานและภมู ลิ าํ เนา 3.6.4 ตารางท่ีอ้างอิงจากแหล่งอื่น ให้เขียนอ้างอิงแหล่งที่มาไว้ท้ายตาราง เช่น ที่มา : บุญเสริม (2551) SOURCE : Yang (2005) 3.6.5 ขนาดของตารางต้องไม่เกินกรอบของหน้าพิมพ์วิทยานิพนธ์ สําหรับตารางขนาดใหญ่ ควรย่อขนาดลง โดยใช้เคร่ืองถ่ายเอกสารเพ่ือย่อส่วนหรือวิธีอื่น ๆ ตามความเหมาะสม แต่จะต้อง 20 คู่มือการทําวิทยานพิ นธ์

ชัดเจนและอ่านได้ง่าย สําหรับตารางที่มีขนาดใหญ่และไม่สามารถย่อขนาดได้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของ อาจารย์ที่ปรกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์ 3.6.6 กรณีที่ตารางมีความยาว หรือกว้างมากจนไม่สามารถบรรจุในหน้ากระดาษเดียวกันได้ให้ ย่อส่วนหรือแยกมากกว่า 1 ตาราง ให้พิมพ์ส่วนท่ีเหลือในหน้าถัดไป โดยจะต้องพิมพ์เลขที่ตารางและ ตามด้วยคําว่าต่อในวงเล็บ เช่น ตารางที่ 1-1 (ต่อ) หรือ TABLE 1-1 (CONTINUED) เป็นต้น โดยไม่ตอ้ งใส่ชอื่ ตารางและคัดลอกหัวตารางมาจัดพมิ พด์ ว้ ย 3.7 การพมิ พ์ภาพประกอบ 3.7.1 ภาพ ประกอบด้วย รูปภาพ แผนที่ แผนภมู ิ กราฟ ฯลฯ 3.7.2 ภาพประกอบแต่ละภาพต้องมีเลขท่ีของภาพ และชื่อหรือคําอธิบายภาพกํากับไว้ใต้ ภาพประกอบกลางหน้ากระดาษ โดยเรียงลําดับหมายเลขของภาพตามบทจาก 1 ไปจนจบบท ภาพที่ ปรากฏในภาคผนวก ก็ให้พิมพ์ในลักษณะเดียวกัน ให้พิมพ์ตัวอักษรตัวหนา (Bold) คําว่าภาพท่ีและ เลขทขี่ องภาพ เชน่ ภาพท่ี 1-1 (อยู่ในบทที่ 1) ภาพท่ี 2-1 (อยู่ในบทท่ี 2) ภาพที่ ก-1 (อยู่ในภาคผนวก ก) หรือ FIGURE 1-1 (CHAPTER 1) FIGURE 2-1 (CHAPTER 2) FIGURE A-1 (APPENDIX A) เป็นตน้ 3.7.3 ให้พิมพ์ชอื่ ภาพตอ่ จากเลขที่ของภาพโดยเว้นระยะห่าง 2 เคาะ กรณชี ื่อตารางยาวเกินกว่า 1 บรรทัด ใหพ้ มิ พต์ วั อักษรตัวแรกของบรรทดั ถัดไปตรงกบั ตัวอักษรตวั แรกของช่ือภาพ เชน่ ภาพท่*ี 1-1**การบรหิ ารงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ของสถาบันอุดมศึกษาไทยตามหลกั การ ประกนั คณุ ภาพการศึกษา (สาํ นักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพ การศกึ ษา (องคก์ ารมหาชน), 2555) 3.7.4 ภาพที่อ้างอิงจากแหล่งอ่ืน ให้เขียนอ้างอิงแหล่งที่มาไว้ท้ายช่ือหรือคําอธิบายภาพ เช่น บญุ เสรมิ (2551) Yang (2005) 3.7.5 กรณีภาพท่ีมีความยาวหรือกว้างมากจนไม่สามารถบรรจุในหน้ากระดาษเดียวกันได้ ให้ย่อส่วน หรือแยกมากกว่า 1 ภาพ ให้พิมพ์ส่วนท่ีเหลือในหน้าถัดไป โดยจะต้องพิมพ์เลขที่ภาพและตามด้วย คําว่าต่อในวงเล็บ เช่น ภาพที่ 1-1 (ต่อ) หรือ FIGURE 1-1 (CONTINUED) เป็นต้น โดยไม่ต้อง ใส่ชื่อภาพ 3.7.6 ภาพใด ๆ ก็ตาม จะต้องพิมพเ์ ปน็ ภาพบนกระดาษให้ชัดเจน ห้ามใช้วธิ ีการติดภาพด้วยกาว หรือวัสดุติดภาพอย่างอื่น และภาพประกอบท่ีเป็นภาพสี จะต้องพิมพ์เป็นภาพสีลงบนกระดาษขาว อย่างชัดเจน 3.8 การพมิ พส์ มการ 3.8.1 สมการแต่ละสมการต้องมีเลขที่กํากับของสมการ โดยพิมพ์เรียงลําดับหมายเลขของ สมการ ตามบทจาก 1 ไปจนจบบท สมการท่ีปรากฏในภาคผนวกให้พิมพ์ในลักษณะเดียวกัน โดยให้ พิมพ์ตัวอักษรธรรมดา (Normal) ชิดขอบด้านขวา เช่น สมการที่ 1 อยู่ในบทที่ 1 ให้พิมพ์ (1-1) สมการท่ี 1 อยู่ในบทที่ 2 ให้พิมพ์ (2-1) สมการที่ 1 อยู่ในภาคผนวก ก ให้พิมพ์ (ก-1) หรือ (1-1) (CHAPTER 1), (2-1) (CHAPTER 2), (A-1) (APPENDIX A) และสมการท่ีปรากฏในเนื้อหาให้พิมพ์ใน ลกั ษณะเดยี วกนั คมู่ อื การทําวทิ ยานิพนธ์ 21

3.9 การเขียนอ้างอิงแบบนาม-ปี 3.9.1 ใช้ระบบการอ้างอิงแบบนาม-ปี ซึ่งประกอบด้วยช่ือผู้แต่ง หรือช่ือกลุ่มผู้แต่ง และปีที่พิมพ์ ของเอกสาร เมอ่ื ช่อื ผ้แู ตง่ ปรากฏในประโยคให้ระบเุ ฉพาะปใี นวงเล็บ เอกสารอ้างอิงภาษาไทย ให้ขน้ึ ต้นชื่อผ้แู ตง่ ด้วยช่อื ต้นเท่านั้น โดยไม่ต้องใส่ชือ่ สกลุ เอกสารอ้างอิงภาษาต่างประเทศ ให้ขึ้นต้นช่ือผู้แต่งด้วยช่ือสกุลเท่านั้นเป็นภาษาอังกฤษ โดยไม่ต้องกํากับช่อื ภาษาไทยในวงเล็บ 3.9.2 การอ้างอิงเอกสารทุกประเภทไว้ในเนื้อหา ให้ใส่ไว้ในวงเล็บแทรกอยู่กับเนื้อหา กรณีท่ีมี เลขหน้า เลขท่ีตารางหรือเลขท่ีภาพของเอกสารที่นํามาอ้างอิงให้ใส่เลขท่ีน้ัน ๆ ตามหลังปีที่พิมพ์โดย คั่นด้วยเครอ่ื งหมายมหัพภาคคู่ (Colon) ตวั อยา่ ง คนเป็นปัจจัยสําคัญท่ีสุดในการบริหารเพราะคนเป็นผู้ผลิตและผู้ใช้ปัจจัยอ่ืน ๆ ไม่ว่าจะเป็นเงิน วัสดุ และวิธีการจดั การ (สมาน, 2523 : 1-2) จากการสํารวจในปี พ.ศ. 2528 ปรากฏว่ามีโรงงานอุตสาหกรรมผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกใน ประเทศ ทั้งรายใหญ่และรายย่อยอยู่ไม่น้อยกว่า 2,000 ราย โรงงานส่วนใหญ่ หรือประมาณร้อยละ 46.3 ผลิตผลิตภัณฑ์ประเภทของใช้ในครัวเรือน อีกร้อยละ 35 ผลิตภาชนะของบรรจุผลิตภัณฑ์ รวมกําลังผลิตทั้งส้ินประมาณปีละ 250,000-300,000 ตัน ซ่ึงคาดหมายได้ว่าในอนาคตอุตสาหกรรม ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกจะเจริญมากขึ้นเป็นเท่าตัว และจะขยายไปได้ตามความต้องการของผู้บริโภค (กมลลักษณ์, 2528 : 18) หลักสูตรประกอบด้วย 3 ส่วน คือ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม กิจกรรมการเรียนการสอน และ การประเมนิ ผล (Tyler, 1970 : 22) 3.9.3 ถา้ ต้องการอ้างเอกสารที่ผู้แต่งได้อ้างถึงในงานของตน การอ้างเช่นน้ีถือว่ามิได้เป็นการอ้าง ถึงเอกสารน้ันโดยตรง ให้ระบุนามผู้แต่งของเอกสารทั้งสองรายการ โดยระบุนามผู้แต่งและปีท่ีพิมพ์ ของเอกสารอันดับแรก ตามดว้ ยคํา อา้ งถึงใน หรอื cited in แล้วระบนุ ามผแู้ ต่งของเอกสารอันดบั รอง และปีทพี่ มิ พ์ ตัวอย่าง ...แท้จริงประโยชน์ที่หอพระสมุดสําหรับพระนครจะทําให้แก่บ้านเมืองได้ ไม่ใช่แต่รวมหนังสือ เก็บไว้เป็นสมบัติของบ้านเมืองอย่างเดียว ถ้าหากสามารถตรวจสอบหนังสืออันเป็นเหตุให้เกิดวิชา ความรพู้ ิมพ์ใหแ้ พร่หลายได้ ยงั เป็นประโยชนย์ ่งิ ขนึ้ เหมอื นกบั แจกจ่ายสมบตั ินัน้ ไปใหถ้ งึ มหาชน อกี ช้ันหน่ึง กรรมการจึงเห็นเปน็ ข้อสําคัญมาแต่แรกตั้งหอพระสมุดสาํ หรบั พระนคร ซ่งึ หอพระสมุด ควรเอาเป็นธรุ ะในเร่ืองพิมพ์หนังสอื ด้วย (สมเดจ็ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ, 2459 : 110 อ้างถงึ ใน แมน้ มาส, 2509) 3.9.4 การคัดลอกข้อความ (Quotations) การพิมพ์ข้อความท่ีคัดลอกมาอ้างอิงโดยตรง ถ้าเป็น ข้อความส้ัน ๆ ท่ีมีความยาวไม่เกิน 3 บรรทัด ให้พิมพ์ต่อไปในเน้ือหาโดยไม่ต้องขึ้นบรรทัดใหม่ให้ เขียนไว้ในเครื่องหมายอัญประกาศ (“ ”) หากข้อความท่ีคัดลอกมานั้นมีความยาวติดต่อกันเกิน 3 บรรทัด ให้พิมพ์แยกจากเนื้อหาโดยข้ึนบรรทัดใหม่ไม่เว้นบรรทัด ไม่ต้องใส่เครื่องหมายอัญประกาศ (“ ”) กาํ กับ แตใ่ หพ้ มิ พต์ ดิ ตอ่ กนั ไปโดยดา้ นซ้ายของข้อความอยใู่ นระดบั เสมอย่อหนา้ 22 คมู่ อื การทําวทิ ยานพิ นธ์

กรณีข้อความท่ีคัดลอกมาไม่ได้เริ่มจากตัวแรกของย่อหน้า และท้ายข้อความที่คัดลอกมาไม่จบ ย่อหน้าของข้อความเดิมให้ใส่เคร่ืองหมายมหัพภาค (.) สามครั้งไว้หน้าและหลังข้อความที่คัดลอกมา กรณตี อ้ งการละข้อความสว่ นกลางใหใ้ สเ่ ครอื่ งหมายมหพั ภาค (.) สามครง้ั แทนขอ้ ความท่ีละไวน้ นั้ ตัวอย่าง “...คนยังนิยมความไม่มีศีลธรรม จะยกตัวอย่างง่าย ๆ เช่น อบายมุขท้ัง 6 ยังเต็มไปในโลก ด่ืมนํ้าเมา เทยี่ วกลางคนื ...” (พทุ ธทาสภกิ ขุ, 2556 : 71) “...อีกวิธีหน่ึงในการลดฟรีแรดิคัลคือ ลดการใช้ออกซิเจนของร่างกายลง การฝึกนั่งสมาธิ สามารถชะลอความแกไ่ ดด้ กี ว่าการกนิ อาหารเสรมิ ...” ไมว่ า่ จะผ่านไปสกั เท่าไร (อรสม, 2556 : 8) 3.9.4.1 ข้อความทค่ี ดั ลอกมาไมเ่ กนิ 3 บรรทดั ตัวอย่าง ประเทศไทยในปัจจุบัน วัว และควาย นอกจากจะยังคงเป็นแรงงานในฟาร์มส่วนใหญ่อยู่แล้ว ยังเป็นแหล่งโปรตีนที่สําคัญอีกด้วย พิจารณาในแง่อาหารสัตว์ “...สัตว์ประเภทนี้สามารถที่จะใช้ ประโยชน์ จากผลิตผลในไร่นา... ซึ่งไม่มีค่าทางเศรษฐกิจให้เปล่ียนมาเป็นพลังงานและเน้ือได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ...” (ณรงค,์ 2522 : 10) 3.9.4.2 ขอ้ ความทีค่ ัดลอกมาเกิน 3 บรรทัด ในการศึกษาเพ่ือค้นคว้าหาความรู้ใหม่ ๆ นั้น ได้มีการวิเคราะห์วิจัยเพ่ือหาวิธีการในการศึกษา และการถ่ายทอดความรู้สึกด้วยวิธีการต่าง ๆ ท่ีแตกต่างกันมาแล้วมากมายหลายวิธี และวิธีการทาง วิทยาศาสตร์ ก็นับเป็นวิธีการหน่ึงท่ีสามารถช่วยในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ใหม่ ๆ เป็นไปอย่าง หน้าเชื่อถือได้มากกว่าวิธีการอื่น ๆ อีกหลายวิธี ดังคํากล่าวของ Cohen and Hagel (1897 : 195) ซง่ึ กลา่ วไวว้ า่ ตวั อย่าง ...วิธีการอ่ืน ๆ น้ันแตกต่างไปจากวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่ว่า วิธีการเหล่านั้นไม่สามารถเอ้ือต่อ การปรับเปล่ียนข้อผิดพลาดท่ีอาจเกิดขึ้นได้จากการค้นพบ จึงเป็นการแตกต่างจากวิธีการทาง วิทยาศาสตร์ เพราะวิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการท่ีเน้นการพัฒนา และช่วยส่งเสริม และกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองของผลลัพธ์ท่ีได้จากกระบวนการศึกษา ไม่ว่าจะเป็น ไปตามสมมติฐานหรือไม่ก็ตาม จะนําไปสู่การค้นคว้าใหม่อย่างต่อเนื่องและก้าวหน้าต่อไปได้อีก เรื่อย ๆ โดยไม่หยุดย้ัง โดยอาศัยข้อค้นพบก่อน ๆ มาเป็นข้อมูลสนับสนุน อีกขั้นหน่ึง เพื่อให้ได้ ขอ้ ค้นพบใหม่ ๆ ต่อไปเรอ่ื ย ๆ... ดังน้ัน วิธีการทางวิทยาศาสตร์ จึงเป็นกระบวนการศึกษาหาความรู้ท่ีน่าเช่ือถือได้เป็นอย่างย่ิง เปรียบเสมือน แสงสว่างนําทางให้กับนักวิจัยหรือนักศึกษา เพื่อไปสู่การค้นพบความรู้ใหม่ ๆ ต่อไป อย่างไมห่ ยุดยั้ง 3.9.5 ในกรณีที่ระบุช่ือผู้แต่งไว้แล้วในเนื้อหาหรือข้อความน้ัน การอ้างอิงไม่ต้องระบุถึงชื่อผู้แต่ง ซํา้ อกี ในวงเล็บ ให้ระบุเฉพาะปีทีพ่ มิ พแ์ ละเลขหนา้ ที่อา้ งอิง (ถ้าม)ี คมู่ ือการทําวิทยานิพนธ์ 23

ตัวอยา่ ง การคํานวณหาค่าการใช้ประโยชน์อาคารสถานท่ีของการศึกษา มักจะพิจารณาจากความจุและ เวลา ซ่ึง Vickery (1979) ไดใ้ หค้ วามเหน็ เกยี่ วกบั การใชอ้ าคารสถานทีเ่ รียนไวว้ า่ ... Bernett (1953 : 55) ได้ให้ความหมายของ “นวัตกรรม” ไวว้ า่ ... นภาภรณ์ (2531 : 1) ได้แบ่งประเภทของส่ือท่ีใช้ในการประชาสมั พันธ์ไว้ 4 ประเภทคอื ... ในการใช้สื่อเป็นเครื่องมือในการประชาสัมพันธ์นั้น จําเป็นที่จะต้องทราบถึงลักษณะและความ แตกตา่ งของส่อื แต่ละชนดิ ซึง่ วิจติ ร (2522 : 116-118) ไดจ้ ําแนกไวด้ ังน้ี ... 3.9.6 ถ้าผู้วิจัยอ้างอิงเอกสารของผู้แต่งคนเดียวกัน ซึ่งได้เขียนเอกสารไว้หลายเล่มในปีเดียวกัน ก็ให้ใส่ตัวอักษร ก, ข, ค, ... กํากับไว้ท่ีปีที่พิมพ์ด้วยสําหรับเอกสารอ้างอิงภาษาไทย หรืออักษร a, b, c, ... สําหรับเอกสารอา้ งองิ ภาษาตา่ งประเทศ เช่น (ศกั ดิ,์ 2512 ก) และ (ศกั ด์,ิ 2512 ข : 12) เป็นตน้ 3.10การพิมพบ์ รรณานุกรม หลักเกณฑก์ ารพมิ พบ์ รรณานุกรม มขี ้อกาํ หนดดงั นี้ 3.10.1 การพิมพ์บรรณานุกรม ให้อยู่ต่อจากส่วนเน้ือหาและก่อนภาคผนวกให้พิมพ์คําว่า “บรรณานุกรม” หรือ “BIBLIOGRAPHY” กลางหน้ากระดาษขนาดตัวอักษร 20 พอยต์ ตัวหนา โดยเว้นขอบกระดาษพิมพ์เช่นเดียวกับการเร่ิมบทใหม่ โดยให้เว้นระยะห่างจากช่ือบรรณานุกรม 1 บรรทัด จงึ เรมิ่ พมิ พ์บรรทดั แรกของแต่ละรายการของเอกสารทีใ่ ชอ้ ้างองิ 3.10.2 ให้เรียงเอกสารที่ใช้อ้างอิงทั้งหมดไว้ด้วยกัน โดยเรียงลําดับตามตัวอักษรตัวแรกของ รายการท่อี ้างองิ โดยยึดวธิ ีการเรียงลําดบั ตามแบบพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน วิทยานิพนธ์ท่ีเขียนด้วยภาษาไทย ให้เรียงลําดับรายการบรรณานุกรมภาษาไทยไว้ก่อน แล้วจึง ตามด้วยรายการบรรณานกุ รมภาษาองั กฤษ วิทยานิพนธ์ท่ีเขียนด้วยภาษาอังกฤษ ให้เรียงลําดับรายการบรรณานุกรมภาษาอังกฤษไว้ก่อน แล้วจงึ ตามด้วยรายการบรรณานกุ รมภาษาไทย 3.10.3 การพิมพ์แต่ละรายการท่ีอ้างอิง ให้พิมพ์ชิดกรอบกระดาษด้านซ้ายมือ หากมีข้อความ ทจ่ี ะตอ้ งพิมพต์ อ่ จากบรรทดั แรก ใหพ้ มิ พ์บรรทดั ตอ่ ไปโดยย่อหน้าเว้นระยะ 1.5 เซนตเิ มตร (0.59 นวิ้ ) 3.10.4 กรณีการอ้างอิงหนังสือหลายเล่มท่ีมีผู้แต่งเป็นชื่อเดียวกัน ให้เขียนช่ือผู้แต่งเฉพาะเล่ม แรกเล่มต่อ ๆ ไป ให้ขีดเส้นใต้ยาว 1.5 เซนติเมตร (0.59 น้ิว) แล้วตามด้วยเคร่ืองหมายมหัพภาค (.) และให้เรียงลําดับงานของผู้แต่งคนเดียวกันตามลําดับเวลาของผลงาน หรือลําดับตัวอักษรของชื่อ ผลงาน 3.10.5 ถ้าผู้แต่งเป็นชาวต่างประเทศ ให้พิมพ์ชื่อสกุลตามด้วยชื่อต้นและช่ือกลาง (ถ้ามี) เช่น Reynolds, F. E., Mullen, N. D., Red, K. P., Muttiko, M., Turabian Kate L., เป็นตน้ 3.10.6 ถ้าผู้แต่งเป็นคนไทย ให้พิมพ์ชื่อต้นก่อน แล้วตามด้วยนามสกุล ถ้าเขียนเอกสารเป็น ภาษาต่างประเทศให้ใช้นามสกุลก่อนแล้วตามด้วยช่ือต้น ในกรณีท่ีผู้แต่งชาวไทยมีฐานันดรศักด์ิ บรรดาศักดิ์ สมณศักดิ์ ให้พิมพ์ช่ือตามด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,) และฐานันดรศักด์ิหรือบรรดาศักด์ิ ตามดว้ ยเครื่องหมายมหัพภาค (.) เช่น ธรรมศักดมิ์ นตรี, เจา้ พระยา. วจิ ติ รวาทการ, หลวง. เปน็ ต้น 24 ค่มู ือการทําวิทยานิพนธ์

3.10.7 ถ้ามีผู้แต่ง 2 คน หรือมากกว่า 2 คน แต่ไม่เกิน 3 คน ให้ลงชื่อผู้แต่งทุกคนโดยใช้คําว่า และ (หรือ and) ก่อนชื่อผู้แต่งคนสุดท้าย แต่ถ้ามีผู้แต่ง 4 คน หรือมากกว่า 4 คน ให้ลงชื่อผู้แต่ง คนแรก ตามด้วยคาํ ว่า และคนอื่น ๆ (หรอื และคณะ หรอื et al. หรือ and others) 3.10.8 ถ้าเอกสารไม่ปรากฏสํานักพิมพ์หรือสถานท่ีพิมพ์ให้ระบุ (ม.ป.ท.) หรือ (n.p.) แล้วแต่ กรณี 3.10.9 ถ้าเอกสารไม่ปรากฏปีทพ่ี มิ พ์ ให้ระบุ (ม.ป.ป.) หรอื (n.d.) แล้วแต่กรณี 3.10.10 ช่ือหนังสือ ช่ือวารสาร ช่ือวิทยานิพนธ์ ฯลฯ ให้เน้นข้อความโดยเลือกพิมพ์ด้วยตัวหนา (Bold) หรอื ขีดเส้นใต้ (Under Line) หรอื ตัวเอน (Italic) ตามความเหมาะสม แต่ให้เป็นแบบเดียวกัน ตลอดทง้ั เล่ม 3.10.11 การเรยี งบรรณานุกรม ใชห้ ลกั เดียวกนั กับการเรียงคําในพจนานุกรมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน โดยคาํ ท่มี ตี วั สะกดจดั เรียงไว้ก่อนคําทม่ี ีรปู สระตามลําดบั ต้งั แต่ กก-กฮ ดงั น้ี กขคตฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดตถทธนบปผฝพ ฟ ภ ม ย ร ฤ ฤา ล ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ คําทีข่ นึ้ ต้นดว้ ยพยัญชนะตวั เดยี วกัน เรยี งลาํ ดับตามรูปสระ ดงั นี้ อะ อวั อัวะ อา อํา อิ อี อื อุ อู เอะ เอ เอาะ เอา เอนิ เอยี เอียะ เออื เออื ะ แอ แอะ โอ โอะ ใอ ไอ 3.10.12 การเว้นระยะในการพิมพ์เครือ่ งหมายวรรคตอน มดี งั น้ี - หลังเครือ่ งหมายมหพั ภาค (.- Period) เวน้ 2 เคาะ ยกเว้นช่ือย่อผู้แตง่ ภาษาอังกฤษ ใหเ้ ว้น 1 เคาะ - หลังเคร่ืองหมายจุลภาค (,- Comma) เวน้ 1 เคาะ - หลังเครือ่ งหมายอฒั ภาค (;- Semi-colon) เว้น 1 เคาะ - หนา้ และหลงั เครอื่ งหมายมหัพภาคคู่ (:- Colon) เวน้ 1 เคาะ 3.10.13 การใช้คําย่อ ควรใชค้ าํ ยอ่ ทเ่ี ปน็ ทีย่ อมรบั ในการเขียนรายการอา้ งอิง ตัวอย่างมีดังนี้ คาํ ย่อ คาํ เตม็ ความหมาย หมายเหตุ comp. compiler ผรู้ วบรวม พหูพจนใ์ ช้ comps. ed. editor บรรณาธิการ, ผจู้ ดั พมิ พ์ พหูพจนใ์ ช้ eds. editor by จัดพมิ พโ์ ดย enl.ed. enlarged edition ฉบับพมิ พ์ใหม่ มีการเพ่ิมเตมิ ภาษาไทยใช้ ม.ป.ป. rev.ed. revised edition ฉบับพิมพ์ใหม่ มกี ารแกไ้ ข ภาษาไทยใช้ ม.ป.ท. 2nd ed. second edition พมิ พค์ รงั้ ที่ 2 พหพู จนใ์ ช้ pp. 3rd ed. third edition พมิ พค์ รัง้ ท่ี 3 ed al. et alii และคณะ หรือ คนอื่น ๆ (and others) ibid ibidem เรือ่ งเดียวกนั (in the same place) n.d. no date ไมป่ รากฎปีทพ่ี มิ พ์ n.p. no place ไม่ปรากฎสถานท่พี ิมพ์ no. number ฉบับท่ี p. page หน้า (หลายหนา้ ) คู่มอื การทาํ วิทยานิพนธ์ 25

คาํ ย่อ คาํ เตม็ ความหมาย หมายเหตุ ความเร็วของแผ่นเสียง r.p.m. revolution per รอบตอ่ นาที ท่ีหมนุ ไป พหพู จนใ์ ช้ trs. minute tr. translator ผูแ้ ปล translated by แปลโดย vol. volume เลม่ ที่ (เชน่ vol. 4) vols. Volumes จาํ นวนเล่ม (เชน่ 4 vols.) 3.11การเขียนอา้ งองิ แบบตัวเลข (กรณกี ารอา้ งอิงในเนื้อหา) การอ้างอิงแบบตัวเลขเป็นการระบุแหล่งท่ีใช้อ้างอิงในการเรียบเรียงวิทยานิพนธ์เป็นหมายเลข เรยี งลําดับกันไป โดยใชว้ ธิ ีการดงั น้ี 3.11.1 ให้ใส่ตัวเลขกํากับไว้ท้ายข้อความ หรือช่ือบุคคลที่อ้างอิงด้วยตัวเลขอารบิคในเครื่องหมาย วงเลบ็ สเ่ี หล่ียม [ ] เช่น [1, 2, 3, 4] หรือ [5, 6], [8] หรอื [9], [11], [20], [35] เปน็ ตน้ 3.11.2 ตวั เลขจะตอ้ งเรียงลาํ ดบั ตง้ั แตเ่ ลข 1 เปน็ ต้นไปจนจบเลม่ 3.11.3 ในกรณที ม่ี ีการอ้างอิงซ้ํา ใหใ้ ชต้ ัวเลขเดิมทเี่ คยใชอ้ า้ งองิ มากอ่ นแล้ว 3.11.4 แหล่งทใ่ี ช้อา้ งอิงทงั้ หมดนนั้ ตอ้ งนาํ ไประบุไวใ้ นเอกสารอา้ งองิ (References) ท้ายเล่ม ตวั อย่าง การเลือกส่ือให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของบทเรียน เป็นปัจจัยท่ีมีความสําคัญมากสําหรับ การจัดกิจกรรมการเรียน พิสิฐและธีระพล [1] ได้ให้หลักเกณฑ์และวิธีการในการเลือกส่ือให้เหมาะสม กบั วัตถุประสงคไ์ ว้เปน็ 2 ตอน ในการพิจารณาบคุ คลเพื่อให้ทาํ หนา้ ที่ผนู้ ําแผนกหรือพัฒนา ผทู้ ําหน้าทห่ี ัวหน้าแผนกอยู่แลว้ ให้ เป็นผู้นําที่ดีน้ัน นอกจากจะทราบบทบาทหน้าท่ีและทักษะของผู้นําแล้ว ยังต้องพิจารณาจากคุณสมบัติ ของตัวบุคคลท่ีจะได้รับการพิจารณาด้วย คุณสมบัติของผ้นู ําที่ดีน้ัน Stogdill [2, 3] ได้สรุปวา่ บุคคลที่ ดาํ รงตําแหนง่ ผนู้ าํ จะมีลักษณะตอ่ ไปนีม้ ากกว่าส่วนเฉล่ยี ของกลุม่ กิติศักด์ิ [4] เคร่ืองมือในการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาเป็นเคร่ืองมือที่ใช้ในการแก้ไขปัญหา ทางด้านคุณภาพในกระบวนการทํางาน ซ่ึงช่วยศึกษาสภาพทั่วไปของปัญหา การเลือกปัญหา การค้นหาและวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาเพ่ือทําการแก้ไขปัญหาอย่างถูกต้อง ตลอดจนช่วยในการ จัดทํามาตรฐาน และการควบคุมติดตามผลอย่างต่อเนื่อง ในที่น้ีจะกล่าวเฉพาะเคร่ืองมือที่ใช้ในการ วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ได้แก่ แผนผังแสดงเหตุและผล และการวิเคราะห์ลักษณะข้อบกพร่อง และผลกระทบ 2.1 เหล็กหลอ่ (Cast Iron) [5, 6, 7] เหล็กหล่อจัดเป็นเหล็กชนิดหนึ่งที่รู้จักกันและใช้งานอย่างแพร่หลายเป็นระยะเวลามานาน สามารถศึกษาโครงสร้างจากแผนภาพสมดุลระหว่างเหล็กกับคาร์บอน (Equilibrium Phase Diagram) ได้เช่นเดียวกันกับเหล็กกล้าคาร์บอน เพียงแต่ว่าปริมาณคาร์บอนในเหล็กหล่อจะมีมากกว่าในเหล็กกล้า คาร์บอนคือ ต้ังแต่ 2% คาร์บอนข้ึนไปจนถึง 6.67% ในอุตสาหกรรมเหล็กหล่อจะผลิตเหล็กหล่อที่มี ปริมาณคาร์บอนระหว่าง 2.5-4% ถ้ามีปริมาณคาร์บอนมากกวา่ นี้เหล็กจะสูญเสยี คุณสมบัติด้านความ 26 คูม่ ือการทาํ วทิ ยานิพนธ์

เหนียว (Ductility) คือ จะเปราะและแตกหักง่ายเม่ือโดนแรงกระแทก โดยปกติเหล็กหล่อส่วนมาก จะขาดคุณสมบัตทิ างด้านความเหนียวเม่ือเปรยี บเทียบกบั เหลก็ กล้า ไมส่ ามารถขึ้นรูปด้วยการรีด หรือ ดึงข้ึนรูปท่ีอุณหภูมิสูง การข้ึนรูปของเหล็กหล่อที่อุณหภูมิสูงนั้นทําได้ยาก วิธีท่ีใช้กันในการข้ึนรูปร่าง ถึงแม้ว่ารูปร่างจะซับซ้อนสามารถทําได้โดยการหลอมเหล็กให้ละลายแล้วเทลงแบบหล่อท่ีทําด้วย ทรายหรือวัสดุท่ีทนความร้อน หลังจากหล่อรูปร่างได้ใกล้เคียงแล้วจึงนํามาทําการกลึง ไส ตัด หรือ เจาะให้ไดร้ ูปร่างสดุ ท้ายตามตอ้ งการ ตวั อย่าง ในหัวข้อนี้ได้อธบิ ายถึงหลักการทํางานของวงจรตรวจหาวีเทอร์บแิ บบทว่ั ไป [15] วงจรตรวจหา วีเทอร์บิแบบ 4 สถานะ 3 เส้นทางสาขา [6], [16] วงจรตรวจหาวีเทอร์บิ สถานะ 8 เส้นทางสาขา [8] และสุดท้ายวงจรตรวจหาวีเทอร์บิแบบ 36 สถานะ 6 เส้นทางสาขา [17] ซ่ึงการใช้งานวงจรตรวจหา วีเทอร์บิแต่ละแบบข้ึนอยู่กับทาร์เก็ตที่ต้องการนํามาใช้งาน โดยท่ีหลักการทํางานของวงจรตรวจหา วีเทอร์บิแตล่ ะแบบมดี งั ต่อไปน้ี 3.12 การพมิ พเ์ อกสารอ้างอิง (กรณกี ารอ้างองิ ท้ายเล่ม) หลกั เกณฑ์การพมิ พเ์ อกสารอ้างอิง (References) มีขอ้ กําหนดดังน้ี 3.12.1 การพิมพ์เอกสารอ้างอิงให้อยู่ต่อจากส่วนเน้ือหา และก่อนภาคผนวกให้พิมพ์คําว่า “เอกสารอ้างอิง” หรือ “REFERENCES” ไว้กลางหน้ากระดาษขนาดตัวอักษร 20 พอยต์ ตัวหนา โดยเว้นขอบกระดาษพิมพ์เช่นเดียวกับการเร่ิมบทใหม่ และให้เว้นระยะห่างจากชื่อเอกสารอ้างอิง 1 บรรทดั จงึ เริม่ พมิ พบ์ รรทดั แรกของแต่ละรายการของเอกสารทใ่ี ชอ้ ้างอิง 3.12.2 ให้เรียงลําดับเอกสารอ้างอิงตามลําดับหมายเลขท่ีได้กํากับไว้ภายในเครื่องหมายวงเล็บ ส่ีเหล่ียม [ ] ที่ได้อ้างถึงในเนื้อหาของวิทยานิพนธ์ (ข้อ 3.11) โดยไม่ต้องเรียงตัวอักษรและไม่ต้องใส่ วงเล็บสีเ่ หลยี่ ม [ ] 3.12.3 การอา้ งองิ ไม่ต้องแยกภาษาและประเภทของเอกสาร 3.12.4 ให้พมิ พห์ มายเลขของเอกสารทุกฉบบั ชดิ กบั ขอบกระดาษด้านซ้าย 3.12.5 ถ้าข้อความในเอกสารอ้างอิงข้อใดข้อหน่ึงมีความยาวมากกว่าหน่ึงบรรทัด ให้พิมพ์ บรรทัดถัดไปโดยยอ่ หนา้ เว้นระยะ 1.5 เซนติเมตร (0.59 นว้ิ ) 3.12.6 กรณีการอ้างอิงหนังสือหลายเล่มท่ีมีผู้แต่งเป็นช่ือเดียวกัน ให้เขียนชื่อผู้แต่งเฉพาะเล่ม แรกเล่มต่อ ๆ ไป ให้ขีดเส้นใต้ยาว 1.5 เซนติเมตร (0.59 นิ้ว) แล้วตามด้วยเครื่องหมายมหัพภาค (.) และใหเ้ รยี งลําดบั งานของผแู้ ต่งคนเดียวกันตามลําดบั เวลาของผลงาน หรือลาํ ดับตัวอักษรของชื่อผลงาน หมายเหตุ เมอ่ื ใช้วธิ ีการเขียนรายการอา้ งอิงวิธีใดแลว้ ใหใ้ ชว้ ิธกี ารนัน้ ตลอดท้ังเลม่ 3.13 การเขียนรายการบรรณานกุ รมหรอื เอกสารอา้ งองิ ทา้ ยเลม่ การเขียนรายการอ้างอิงในส่วนท้ายไม่ว่าในเนื้อหาข้อความที่ผู้วิจัยได้อ้างจากเอกสารต่าง ๆ แบบตัวเลข หรือแบบนาม-ปีให้ใช้วิธีเดียวกัน โดยมีหลักเกณฑ์ในการเขียนรายการจําแนกตาม ประเภทของเอกสารคือ หนังสือ บทความ บทวิจารณ์ วิทยานิพนธ์ บทคัดย่อ เอกสารอัดสําเนา สทิ ธิบตั ร สือ่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ และเอกสารท่ไี ม่ไดต้ พี มิ พ์อ่ืน ๆ ตลอดจนการสัมภาษณ์ โดยมีสาระดงั นี้ ค่มู อื การทําวิทยานิพนธ์ 27

1. การเขียนบรรณานุกรมจะต้องมีการอ้างอิง บอกแหล่งที่มาของข้อมูลซึ่งจะปรากฏอยู่ใน บรรณานกุ รมทา้ ยเล่ม 2. การอ้างอิงบรรณานุกรม เป็นการอ้างอิงแหล่งสารนิเทศซึ่งเป็นทฤษฎี ข้อมูล ความรู้เพ่ือ นํามาประกอบในผลงานทางวิชาการ เพื่อบอกแหล่งท่ีมาของข้อมูล ซ่ึงเป็นการให้เกียรติแก่เจ้าของ ผลงานน้ัน การเขยี นบรรณานกุ รม อาจทาํ ได้ 2 รปู แบบ 1. แบบของสมาคมจิตวิทยาอเมริกัน (American Psychological Association) หรือเรียกว่า “APA Style” เปน็ ท่นี ิยมใชเ้ ขียนกนั ในงานด้านสงั คมศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ 2. แบบของสมาคมภาษาสมัยใหม่ (Modern Language Association) หรือเรียกว่า “MLA Style” เปน็ ที่นยิ มใช้เขยี นกันในงานดา้ นมนุษยศาสตร์ โดยเฉพาะดา้ นภาษาและวรรณคดี การเขียนบรรณานุกรมไม่ว่าจะเขียนเป็นแบบใด มีการกําหนดแบบแผน หลักเกณฑ์การเขียน แตกต่างกนั ไป ดังนั้น เมื่อใชแ้ บบใดแบบหนงึ่ แล้ว ควรใช้แบบเดียวกันตลอดเลม่ การพิมพ์บรรณานุกรมหรอื เอกสารอ้างอิง ใหเ้ วน้ ระยะในการพมิ พเ์ ครื่องหมายวรรคตอน ดังนี้ - หลงั เครอ่ื งหมายมหพั ภาค (.- Period) เว้น 2 เคาะ (ยกเว้นชอื่ ย่อผแู้ ตง่ ภาษาอังกฤษ ให้เว้น 1 เคาะ) - หลงั เครือ่ งหมายจลุ ภาค (,- Comma) เวน้ 1 เคาะ - หลังเครือ่ งหมายอัฒภาค (;- Semi-colon) เว้น 1 เคาะ - หน้าและหลงั เครื่องหมายมหพั ภาคคู่ (:- Colon) เวน้ 1 เคาะ แบบเอพเี อ (American Psychological Association) หนงั สอื ชอ่ื ผแู้ ตง่ . (ปที ี่พิมพ์). ช่อื เรอ่ื ง. ครงั้ ที่พมิ พ์. จาํ นวนเล่ม. (ถ้ามี) สถานทพ่ี ิมพ์ : โรงพมิ พ์. ชอื่ เรื่อง ชื่อหนังสือ ช่อื วารสาร ชือ่ วทิ ยานพิ นธ์ ฯลฯ ใหเ้ นน้ ขอ้ ความโดยเลือกพิมพด์ ้วย ตัวหนา (Bold) หรือขดี เส้นใต้ (Under Line) หรือตวั เอน (Italic) ตามความเหมาะสม แตใ่ ห้เปน็ แบบเดียวกนั ตลอดทง้ั เล่ม (ในค่มู ือฉบับน้ี ใช้วธิ กี ารขีดเส้นใต้) - ผแู้ ตง่ 1 คน กิจคณติ พงศ์ อนิ ทอง. (2552). เทคนคิ การเขยี นบนั ทกึ เสนอ และการเกษยี ณหนังสือ. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. จํานวน 5,000 เลม่ . กรงุ เทพมหานคร : ห้างห้นุ ส่วนจาํ กัดภาพพิมพ์. มนตช์ ัย เทียนทอง. (2555). ระเบียบวธิ ีวิจยั ทางคอมพวิ เตอรศ์ ึกษา. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัท แดเน็กซ์อินเตอรค์ อร์ปอเรชั่น จํากัด. Sedgewick, E. (2004). Touching Feeling: Affect, Pedagogy, Performativity. London : Duke University Press. Moody, J. (2007). Illegitimate Theatre in Lomdon. Cambridge : Cambridge University Press. 28 คู่มอื การทําวทิ ยานิพนธ์

- ผู้แตง่ 2 คน สมวงศ์ พงศ์สถาพร และสุนทร เลาหพัฒนวงศ์. (2551). CRM เกมครองใจลูกคา้ . กรงุ เทพมหานคร : สํานักพมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . นภาลัย สุวรรณธาดา และอดลุ จนั ทรศักด.์ิ (2554). เทคนคิ การเขยี นหนังสอื ราชการ หนังสอื โต้ตอบ และรายงานการประชุม. พมิ พค์ รงั้ ที่ 7 (ปรบั ปรงุ แก้ไข). กรงุ เทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจาํ กัด ภาพพิมพ.์ Gorman Gary, E. and Clayton Peter. (2005). Qualitative Research for the Information Professional: A Practical Handbook. 2nd ed. London : Facet Publishing. Hughes, D. E. P. and Maloney, M. J. (1999). Advanced Theoretical Chemistry. London : Chatto & Windus. - ผแู้ ตง่ 3 คน วฒั นา วริ ิยะดนตร,ี สปุ กติ ประติมากรณ์ และศริ ชิ ัย มงคลสิทธ.ิ์ (2542). คู่มือการเรยี นรู้โปรแกรม Photoshop 5 technic. กรุงเทพมหานคร : Imagination. สรติ า ธรี ะวฒั นส์ กุล, จิราพร สุวรรณธรี างกูล และวราภรณ์ ปญั ณวลี. (2549). การดมื่ และมาตรการ เพือ่ ลดการด่มื สุรา : กรณศี ึกษา 2 ชมุ ชนภาคเหนอื . กรงุ เทพมหานคร : ศูนยว์ ิจัยปัญหา สุรา. Skoog, D. A., West Donald, M. and Holler, F. James. (1990). Analytical Chemistry : An Introduction. 5th ed. Philadelphia : Saunders College. Audesirk, T., Audesirk, G. and Byers, B. E. (2008). Biology : Life on Earth with Physiology. Upper Saddle River, NJ : Pearson Prentice Hall. - ผูแ้ ตง่ 4 คน หรือมากกวา่ 4 คน ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร และคนอ่ืน ๆ. (2546). หลักการจดั การ. กรงุ เทพมหานคร : สถาบนั เทคโนโลยีราชมงคล. กติ ิพงศ์ อรุ พพี ัฒนพงศ์ และคณะ. (2550). การควบรวบกจิ การ โอกาสของธรุ กิจไทย. กรงุ เทพมหานคร : ตลาดหลกั ทรัพยแ์ หง่ ประเทศไทย. Kvaeme Per, et al. (1995). The Bon Religion of Tibet : The Iconography of a Living Tradition. Boston : Shambhala. Coffee, P., et al. (1997). How to Program JavaBeans. California : Ziff-Davis Press. Orchin, M., et al. (2005). The Vocabulary and Concepts of Organic Chemistry. 2nd ed. Hoboken, NJ : Wiley-Interscience. คมู่ ือการทาํ วิทยานิพนธ์ 29

- ผแู้ ตง่ ทเ่ี ปน็ นิตบิ ุคคล ช่อื นิติบคุ คล, ฐานะของหนว่ ยงาน. (ปที พี่ มิ พ)์ . ช่อื หนงั สอื . ครงั้ ทพ่ี มิ พ.์ สถานท่ีพิมพ์ : โรงพิมพ์. การลงชื่อผู้แต่งท่ีเป็นนิติบุคคล ได้แก่ หน่วยราชการ สถาบันการศึกษา รัฐวิสาหกิจ สมาคม เป็นต้น ให้ลงช่ือหน่วยงาน คั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,) และตามด้วยฐานะของหน่วยงาน เช่น การศึกษานอกโรงเรยี น, กรม หรือแรงงานและสวสั ดิการสงั คม, กระทรวง พฒั นาและส่งเสรมิ พลงั งาน, กรม. (2542). กฎกระทรวง ออกตามความในพระราชบัญญตั ิการสง่ เสริม การอนุรกั ษ์พลงั งาน พ.ศ. 2535. กรุงเทพมหานคร : กรมพัฒนาและส่งเสริมพลงั งาน. สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ. (2540). ระบบการประเมนิ คณุ ภาพและมาตรฐาน การศกึ ษาแหง่ ชาต.ิ กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชวนพิมพ์. ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2556). พจนานกุ รม ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พมิ พค์ ร้ังท่ี 1. จํานวน 100,000 เล่ม. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัท ศิรวิ ฒั นาอินเตอรพ์ ริ้นท์ จํากัด. ควบคมุ มลพิษ, กรม. (2548). คมู่ อื แนวปฏบิ ตั ิทีเ่ หมาะสมสาํ หรบั เกษตรกรในการเลย้ี งสัตวน์ า้ํ จดื และการจดั การสิง่ แวดล้อม. กรงุ เทพมหานคร : กรมควบคุมมลพิษ. สถาบันพัฒนาความรตู้ ลาดทนุ ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ ห่งประเทศไทย. (2550). การประเมินมูลค่า ตราสารทนุ . กรงุ เทพมหานคร : ฝา่ ยสอ่ื ความรแู้ ละสิ่งพิมพ์ ตลาดหลกั ทรพั ย์แห่งประเทศไทย. Institution of Civil Engineers and the Faculty and Institute of Actuaries. (2005). RAMP: Risk Analysis and Management for Project. London : Thomas Telford. Institute of Electrical Engineers. (1994). Energy Storage for Power Systems. London : Peter Peregrinus. - ผู้แตง่ คนเดยี วกนั หรอื คณะเดียวกนั ในปเี ดียวกนั อรรถกร เกง่ พล. (2553 ก). การตดั สินใจเกณฑ์พหคุ ูณ เลม่ ท่ี 1. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์ผลิต ตาํ ราเรียน มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ. . (2553 ข). การตดั สนิ ใจเกณฑ์พหคุ ณู เลม่ ท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : ศนู ยผ์ ลติ ตาํ ราเรยี น มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. Ruth Karola Westheimer. (2000 a). Grandparenthood. New York : Routledge. . (2000 b). The Art of Arousal: A Celebration of Erotic Art Throughout History. (n.p.) : Madison Books. - ผแู้ ต่งที่เปน็ พระมหากษัตรยิ ์ พระราชินี พระบรมวงศานุวงศ์ และผู้แต่งทม่ี รี าชทนิ นาม ฐานนั ดรศักดิ์ สมณศักดิ์ ให้ใส่ราชทินนาม ฐานันดรศักด์ิ สมณศักด์ิ น้ัน ไว้ข้างหลังช่ือ โดยหลังช่ือผู้แต่งให้ใส่ เครอ่ื งหมายจลุ ภาค (,) เช่น ดํารงราชานภุ าพ, สมเด็จกรมพระยา ปรมานชุ ิตชิโนรส, สมเดจ็ กรมพระ, เดชาดิศร, สมเด็จกรมพระ และภูวเนตรนรนิ ทรฤทธ์,ิ กรมหลวง. (ร.ศ.124). คําฤษฎี. พระนคร : โรงพิมพบ์ ํารุงนกุ ลู กจิ . 30 คูม่ ือการทาํ วทิ ยานพิ นธ์

เทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี, สมเด็จพระ. (2550). เขาวา่ กนั วา่ หรอื ขอ้ มลู ตามทาง. กรุงเทพมหานคร : โครงการส่งเสริมอาชพี ตามพระราชดําริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมาร.ี พุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช, พระบาทสมเด็จ. (2540). บทละครเรือ่ งรามเกยี รต์ิพระราชนพิ นธ์ ในพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช. 4 เล่ม. พมิ พค์ ร้งั ท่ี 9. กรุงเทพมหานคร : กรมศลิ ปากร. - ส่วนคํานําหน้านาม เช่น นาย นาง นางสาว ตําแหน่งทางวิชาการ อาชีพ หรือยศ ไม่ต้องระบุ เช่น พล.ต.อ.วสิษฐ์ เดชกุญชร ให้เขียนเป็น วสิษฐ์ เดชกุญชร ยกเว้น นามแฝง เช่น ว.วินิจฉัยกุล, ดร.ปอ๊ ป, หลงั ชื่อผูแ้ ต่งให้ใส่เคร่อื งหมายมหพั ภาค (.) สาโรจน์ โอพิทกั ษ์ชีวิน. (2546). แผนธุรกิจที่ประสบความสําเร็จ. กรงุ เทพมหานคร : โนเบ้ิลบคุ๊ . พระธรรมปฎิ ก (ป.อ. ปยตุ โต). (2545). ภยั แห่งพระพทุ ธศาสนาในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : มลู นธิ ิพุทธธรรม. ว.วชิรเมธ.ี ธรรมะตดิ ปีก. (2550). พิมพค์ รงั้ ท่ี 17. กรงุ เทพมหานคร : อมรนิ ทร์. - ไมป่ รากฏชอ่ื ผู้แต่ง มแี ตผ่ ทู้ ําหนา้ ทบ่ี รรณาธิการ ชอื่ บรรณาธิการ. (บรรณาธิการ). (ปีทพ่ี มิ พ์). ช่อื หนังสือ. ครั้งท่พี ิมพ.์ สถานท่พี มิ พ์ : โรงพมิ พ.์ มัทนา หาญวนชิ ย์ และอษุ า ทิสยากร. (บรรณาธิการ). (2535). เอดส์ : การดูแลรักษา. พิมพค์ รัง้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร : ดไี ซร.์ ณัฏฐภทั ร จันทวชิ . (บรรณาธิการ). (2549). พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวกับมรดกของแผ่นดนิ . กรุงเทพมหานคร : สํานกั พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร. Kellner, R. (editor). (1998). Analytical Chemistry: The Approved Text to the FECS Curriculum Analytical Chemistry. Weinheim : Wiley. Bradley Phil. (ed.). (2000). The Business and Economy Internet Resource Handbook. London : Library Association Publishing. - ไม่ปรากฏชอ่ื ผแู้ ตง่ ช่อื หนังสอื . (ปีทีพ่ ิมพ)์ . ครงั้ ทพี่ มิ พ์. สถานทพ่ี ิมพ์ : โรงพมิ พ์. 65 เรื่องน่ารเู้ ทคนิคเคร่อื งกล. (2533). กรงุ เทพมหานคร : ซีเอด็ ยูเคชน่ั . เขือ่ นปา่ สกั ชลสทิ ธ์ิ : บนสน้ ทางการพฒั นาอําเภอทา่ หลวง. (2542). กรุงเทพมหานคร : กลมุ่ วงั ขนาย. 15 ปซี ีไรต.์ (2536). กรงุ เทพมหานคร : สมาคมภาษาและหนังสือแหง่ ประเทศไทย. คมู่ ือการทาํ วทิ ยานิพนธ์ 31

- หนังสือทไ่ี มป่ รากฏสถานท่ีพิมพ์ สาํ นักพิมพ์ ปที ีพ่ ิมพ์ ชอื่ ผแู้ ต่ง. (ปที พี่ ิมพ์). ชอ่ื เรือ่ ง. ครงั้ ที่พิมพ์. จาํ นวนเล่ม. (ม.ป.ท.). ชื่อผ้แู ตง่ . (ปที พ่ี มิ พ)์ . ชือ่ เรือ่ ง. คร้ังที่พิมพ.์ จาํ นวนเล่ม. สถานทพี่ มิ พ์ : (ม.ป.ท.). ชอ่ื ผู้แต่ง. (ม.ป.ป.). ช่ือเรอื่ ง. คร้งั ทพ่ี ิมพ.์ จาํ นวนเล่ม. (ม.ป.ท.) : สํานักพมิ พ.์ ช่อื ผแู้ ตง่ . (ม.ป.ป.). ช่ือเรื่อง. คร้ังทีพ่ มิ พ.์ จาํ นวนเลม่ . (ม.ป.ท.). ภาษาอังกฤษ ไม่ปรากฏสถานทพี่ ิมพ์ สํานักพิมพ์ ให้พมิ พค์ าํ วา่ (n.p.). ไม่ปรากฏปีท่ีพิมพ์ ให้พิมพ์คาํ วา่ (n.d.). บญุ ใจ ศรีสถิตยน์ รากูร. (2545). ระเบยี บวธิ ีการวจิ ยั ทางพยาบาลศาสตร์. (ม.ป.ท.). พฒั นา สุขประเสริฐ. (ม.ป.ป.). กลยทุ ธใ์ นการฝึกอบรม. พมิ พ์คร้งั ที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สาํ นักพิมพม์ หาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. ฐีระ ประวาลพฤกษ.์ (ม.ป.ป.). การพฒั นาบคุ คลและการฝึกอบรม. (ม.ป.ท.). ประคอง กรรณสูต. (2542). สถิตเิ พ่อื การวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร.์ (ม.ป.ท.) : ศูนยห์ นังสอื แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . Tokyo Seimitsu Co. Ltd. (n.d.). Operation manual for roundness and cylindrical profile Measuring instrument rondcom series (roundness analysis edition). Japan : (n.p.). Smith, D. (1989). Welding Skills and Technology. 1st ed. (n.p.). การอ้างอิงสองทอด ในกรณีที่ไม่สามารถสืบค้นจากเอกสารต้นฉบับ แต่ได้สืบค้นจากเอกสารที่ผู้อ่ืนได้อ้างอิงไว้แล้ว (Secondary Source) สามารถเขยี นได้ 2 แบบ ดังนี้ แบบ 1 การอ้างอิงผู้แต่งท่ีนําผลงานผู้อ่ืนมาอ้างอิง ให้ระบุชื่อผู้แต่งเอกสารอันดับรอง ตามด้วยคํา “อ้างถึง” สําหรับเอกสารภาษาไทย หรือใช้คําว่า “cited” สําหรับเอกสารภาษาอังกฤษ แล้วระบุช่ือ ผูแ้ ตง่ เอกสารอนั ดับแรก ซง่ึ รูปแบบการอ้างองิ เอกสารอันดบั แรกและอันดบั รองให้เป็นไปตามประเภท ของเอกสารนัน้ ๆ จนั ทร์พร ช่วงโชติ และนฤมล ศราธพนั ธุ.์ (2549). “การประกอบธรุ กจิ ขนาดยอ่ มของนกั คหกรรมศาสตร์ : กรณศี กึ ษาผสู้ าํ เร็จการศกึ ษาด้านคหกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์ ” วทิ ยาสารเกษตร. 27 (1) : 51-57 อ้างถงึ R. Luis and B. David. (2002). Management. New York : McGraw Hill, Inc. สายจิตต์ เหมนิ ทร์. (2507). การเสียรัฐไทรบรุ ี กลันตัน ตรังกานูและปะลิสของไทยใหแ้ ก่อังกฤษ ในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยูห่ ัว. วิทยานพิ นธ์อกั ษรศาสตรมหาบณั ฑติ แผนกวิชาประวัตศิ าสตร์ คณะอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั อ้างถึง อนมุ านราชธน, พระยา. (2479). แหลมอินโดจนี สมยั โบราณ. พระนคร : สํานกั พิมพ์คลงั วิทยา. Morris, M. Hyman. (1981). Automated Library Circulation System. White Plains, NY : Knowledge Industry Publications cited Wallis, Osborne A. (1977). Introduction to Microcomputers. Berkley, Calif. : Adam Osbarne & Assoc. 32 คู่มือการทาํ วิทยานพิ นธ์

แบบ 2 การอ้างอิงโดยระบุช่ือผู้แต่งต้นฉบับ (Original) ท่ีผู้อ่ืนนํามาอ้างอิงต่อ ให้ระบุช่ือผู้แต่ง เอกสารอันดับแรก ตามด้วยคํา “อ้างถึงใน” สําหรับเอกสารภาษาไทย หรือใช้คําว่า “cited in” สําหรับเอกสารภาษาอังกฤษ แล้วระบุช่ือผู้แต่งเอกสารอันดับรอง ซ่ึงรูปแบบการอ้างอิงเอกสารอันดับ แรกและอนั ดับรองให้เป็นไปตามประเภทของเอกสารนน้ั ๆ R. Luis and B. David. (2002). Management. New York : McGraw Hill, Inc. อ้างถงึ ใน จันทรพ์ ร ชว่ งโชติ และนฤมล ศราธพนั ธุ.์ (2549). “การประกอบธรุ กจิ ขนาดยอ่ มของ นักคหกรรมศาสตร์ : กรณศี ึกษาผู้สาํ เรจ็ การศึกษาด้านคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์.” วิทยาสารเกษตร. 27 (1) : 51-57. อนุมานราชธน, พระยา. (2479). แหลมอนิ โดจีนสมัยโบราณ. พระนคร : สํานกั พิมพ์คลังวทิ ยา อา้ งถงึ ใน สายจติ ต์ เหมินทร.์ (2507). การเสียรัฐไทรบุรี กลนั ตนั ตรงั กานูและปะลิส ของไทยให้แกอ่ งั กฤษในรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั . วิทยานพิ นธ์ อกั ษรศาสตรมหาบณั ฑติ แผนกวชิ าประวัติศาสตร์ คณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . Wallis Osborne, A. (1977). Introduction to Microcomputers. Berkley, Calif. : Adam Osbarne & Assoc. cited in Morris M. Hyman. (1981). Automated Library Circulation System. White Plains, NY : Knowledge Industry Publications. หนงั สือแปล ชอ่ื ผ้แู ตง่ ดง้ั เดิม. (ปีทพี่ ิมพฉ์ บับแปล). ชอ่ื หนังสอื ฉบับแปล. แปลโดย ชือ่ ผแู้ ปล. ครั้งทพ่ี มิ พ.์ สถานท่พี มิ พ์ : โรงพมิ พ์. วิลเลี่ยม สตเี วนสนั . (2539). นายอนิ ทรผ์ ู้ปดิ ทองหลงั พระ. ทรงแปลโดย พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมพิ ลอดลุ ยเดช. กรุงเทพมหานคร : อมรนิ ทรพ์ ริ้นติง้ แอนด์พบั ลิชชง่ิ . บนั คาซมึ ะ. (2546). สู่การเป็นผ้นู ําในการใช้ ERP (Enterprise Resource Planning). แปลโดย อิทธิ ฤทธาภรณ์. กรงุ เทพมหานคร : สํานกั พมิ พ์สมาคมส่งเสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปนุ่ ). คูโดฮาตะ, ชี. (2549). คริ ะ คิระ งามระยบั ด่ังดวงดาว. แปลโดย สดุ ากาญจน์ ปัทมดลิ ก กรงุ เทพมหานคร : มติชน. Frank Skilbeck. (2554). Royal Activities and International Cooperation (พระเมตตาใต้ฟา้ เดียวกัน). แปลโดย งามพรรณ เวชชาชวี ะ. กรงุ เทพมหานคร : มลู นธิ เิ สรมิ สรา้ งเอกลกั ษณ์ ของชาติ สาํ นักงานเสรมิ สร้างเอกลกั ษณ์ของชาติ. Laplace, P. S. (1951). A Philosophical essay on probabilities. Translated by Truscott, F. W. & Emoly, F. L. New York : Dover. Lissuer, Ivar. (1957). The Living Past. Translated by Maxwell, J. New York : G. P. Putnam's Sons. คมู่ ือการทาํ วทิ ยานิพนธ์ 33

Foucault, M. (1972). The Archaeology of Knowledge. Translated by Smith, A. M. S. London : Tavistock Publications. Tolstoy, L. (1991). Childhood, boyhood and youth. Translated by C. J. Hogarth London : Everyman’s Library. หนงั สือรายงานการวจิ ัยหรือรายงานทางเทคนคิ ท่มี ชี อ่ื ชดุ ชอ่ื ผแู้ ตง่ . (ปที ่พี มิ พ)์ . ชอื่ หนงั สอื . (ชือ่ ชดุ ). ครั้งท่พี มิ พ์. สถานทีพ่ ิมพ์ : โรงพมิ พ.์ หนว่ ยศึกษานิเทศก์ กรมการฝกึ หัดครู. (2531). อาหารและโภชนาการ. (เอกสารการนิเทศการศกึ ษา ฉบับที่ 108). พมิ พค์ ร้งั ท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : หนว่ ยศกึ ษานิเทศก.์ Boonchalaksi, W. and Guest, P. (1993). AIDS and children : Prospects for the year 2000. (IPSR publication series no.168). Nakornpathom : Institute for Population and Social Research. ราชกิจจานุเบกษา ราชกจิ จานุเบกษา. (วนั เดอื น ปที ี่ประกาศใช)้ . ชือ่ กฎ, ระเบยี บ, ประกาศ, ขอ้ บงั คบั , คาํ สงั่ . ช่ือเรอื่ ง. เลม่ ตอนที่ : เลขหนา้ . ราชกิจจานุเบกษา. (วนั ท่ี 25 พฤษภาคม 2548). ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ. เกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตรระดบั บณั ฑิตศึกษา พ.ศ. 2548. เลม่ 122 ตอนพิเศษ 39 ง : 20-31. . (วนั ท่ี 5 กมุ ภาพนั ธ์ 2551). กฎกระทรวง. ว่าด้วย การจดั การศกึ ษานอกสถานทต่ี ั้ง ของสถาบันอดุ มศึกษาเอกชน พ.ศ. 2551. เล่ม 125 ตอนพเิ ศษ 28 ก : 134-136. . (วันท่ี 17 พฤศจกิ ายน 2542). พระราชบัญญัตกิ ําหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย อาํ นาจใหแ้ กอ่ งค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ พ.ศ. 2542. เลม่ 116 ตอนท่ี 114 ก : 8-34. วิทยานพิ นธ/์ สารนิพนธ/์ ปรญิ ญานิพนธ์ในสถาบนั อุดมศกึ ษา ชือ่ ผแู้ ต่ง. (ปที พ่ี ิมพ)์ . ช่ือเรอื่ งวิทยานพิ นธ์. ระดบั วิทยานิพนธ์ สาขาวิชา ภาควิชา คณะ มหาวิทยาลัย/สถาบนั . อนิรุทธ์ สตมิ ั่น. (2550). ผลการใช้รูปแบบการจดั การเรยี นรูโ้ ดยใช้กจิ กรรมการเรียนรแู้ บบโครงงาน บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทมี่ ีการเรียนรู้แบบนาํ ตนเองและผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของ นักศึกษาระดบั อดุ มศึกษา. ปริญญานพิ นธ์การศกึ ษาดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยี การศกึ ษา บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ. ธนาพร เพชรกูล. (2557). สายอากาศเรโซเนเตอร์อันดับที่ศนู ยท์ ี่ใช้แพทซเ์ ยรูซาเลมบนพนื้ ฐาน โครงสรา้ งเสมอื นเหด็ . วิทยานพิ นธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาวศิ วกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี พระจอมเกลา้ พระนครเหนอื . 34 คู่มอื การทาํ วิทยานิพนธ์

โกวิทย์ ชนะเคน. (2556). การพฒั นาเกมออนไลนต์ ามแนวทาง ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งโดยใช้ สถานการณ์เสมอื น. วิทยานพิ นธ์ครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรมมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ. ทินกร พรหมเกดิ . (2556). การวิเคราะหแ์ ละออกแบบสรา้ งเครือ่ งมอื สําหรับคายประจหุ ลงั จากการ ทดสอบสายไฟฟ้าใต้ดินแรงสูง. สารนิพนธว์ ศิ วกรรมศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าวศิ วกรรม การจัดการอุตสาหกรรม ภาควิชาวศิ วกรรมอตุ สาหการ บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนอื . วรญั ญา โกศล. (2556). ความพึงพอใจและความจงรกั ภักดีของผู้ประกนั ตนโครงการประกนั สังคม ทมี่ ีตอ่ การใชบ้ ริการของโรงพยาบาลจุฬารตั น์ 3 จงั หวดั สมทุ รปราการ. สารนิพนธบ์ ริหาร ธรุ กจิ มหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการตลาด บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ. ร่งุ ทิพย์ จนั ทรป์ ติ .ิ (2548). กลยุทธก์ ารบรหิ ารจดั การศนู ยค์ อมพิวเตอร์ธุรกิจ BCC. ภาคนิพนธ์ บรหิ ารธรุ กจิ มหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการตลาด บณั ฑติ วิทยาลยั สถาบนั ราชภฏั สวนดุสิต. เกียรติ เขม็ บบุ ผา. (2547). การพัฒนาด้านการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบโครงงาน โรงเรียนวดั บ้าน โคกเหลก็ อําเภอห้วยราช จังหวัดบุรรี ัมย.์ การศึกษาคน้ คว้าอสิ ระศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาหลกั สูตรและการสอน บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ธรี ะเดช ดาํ ขํา, วษิ ณุ บตุ รแวว และดษิ พงษ์ อฉั ริยะศลิ ป.์ (2541). การออกแบบและสรา้ งเคร่ืองอดั เชื้อถุงสาํ หรบั เพาะเหด็ . ปรญิ ญานิพนธอ์ ตุ สาหกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยี เคร่ืองกล (ออกแบบเครื่องกล) ภาควชิ าเครอ่ื งกล วทิ ยาลยั เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ. Kittisak Wichianwat. (2011). Development of Heterogeneous Catalysts for Hydrotreatment of Bio Oil Fuel. Master Thesis. (Industrial Chemistry), Graduate College, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok. Sunantha Sodsee. (2011). Placing Files on the Nodes of Peer-to-Peer Systems. Ph.D. Dissertation, (Information Technology), Graduate College, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok. Baclawski, K. P. (1976). Homology and Cambinatories of Ordered Sets. Ph.D. Dissertation, Faculty of Science, Harward University. Tumnong Dassri. (1972). An Economic Analysis of Maize Supply Response Thailand, 1950-1970. Master Thesis, Faculty of Economics, Thammasat University. Wipoochanan Phanchan. (2011). Cross-Cultural Adaptation in the Workplace. Master Project, Faculty of Applied Arts. (English for Business and Industry Communication), Department of Languages, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok. ค่มู ือการทาํ วทิ ยานิพนธ์ 35

การสมั ภาษณ์ ชื่อผใู้ ห้สมั ภาษณ์. (วนั เดอื น ปีท่สี มั ภาษณ)์ . ตาํ แหน่งผใู้ หส้ มั ภาษณ์.(ถา้ มี) สัมภาษณ์. ปรญิ ญา จินดาประเสรฐิ . (วนั ท่ี 20 สิงหาคม 2542). อธิการบดี มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ . สัมภาษณ.์ แมน้ มาส ชวลติ , คุณหญิง. (วันท่ี 11 มีนาคม 2537). นายกสมาคมห้องสมุดแหง่ ประเทศไทย. สมั ภาษณ์. สวุ รรณ จันทวิ าสารกิจ. (วนั ที่ 28 ตลุ าคม 2548). วิศวกรระบบ บรษิ ัท ทู-บ-ี วัน เทคโนโลยี จาํ กัด. สัมภาษณ์. Chindaprasert P. (20 August 1999). President, Khon Kaen University. Interview. บทความทพ่ี ิมพ์เผยแพร่ - บทความในหนังสือรวบรวมบทความ ชอ่ื ผแู้ ต่ง. (ปที ีพ่ ิมพ์). “ช่อื บทความ.” ชอื่ หนังสือ. เลขหนา้ . ชื่อบรรณาธกิ ารหรือผูร้ วบรวม. สถานท่พี มิ พ์ : โรงพิมพ์. บนุ นาค พยคั เดช. (2506). “พุทธศาสนากบั มรรยาทประจาํ วนั .” พุทธศาสนาก้าวหน้า. 445-448. รวบรวมและจดั พมิ พโ์ ดย ทวน วริ ิยาภรณ์. ธนบรุ ี : ป. พิศนาคะการพมิ พ์. Johnson Bruce, F. and Kilby Peter. (1974). “Interselations between Agricultural and Industrial Growth.” Agricultural Policy in Developing Countries. 41-57. Edited by Nural Islam. New York : Wiley. - บทความจากวารสารและจุลสาร ชือ่ ผ้แู ต่ง. (ปที ี่พิมพ)์ . “ชือ่ บทความ.” ชื่อวารสารและจลุ สาร. ปที หี่ รอื เล่มที่ ฉบับที่ : เลขหน้า. วฒั นา แก้วมณี. (2556). “แบบจาํ ลองเซลล์เชอ้ื เพลงิ ชนิด PEM อย่างงา่ ยสําหรับวิศวกรไฟฟ้า.” วารสารวิชาการครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรมพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ. ปที ี่ 4 ฉบับที่ 1 : 122-129. เอยี น สมทิ และอนงค์ วิเศษสวุ รรณ.์ (2550). “การจดั การเรยี นรทู้ ่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสาํ คญั .” วารสารศกึ ษาศาสตร.์ ปีที่ 18 ฉบบั ท่ี 2 : 1-10. สม สุจรี า. “การทาํ สมาธิตา้ นฟรีแรดิคัล.” (1 สิงหาคม 2556). นิตยสารชีวจิต. ปที ี่ 15 ฉบับที่ 356 : 62-63. ศิริพงศ์ หงั สพฤกษ.์ (2533). “แนวทางการใช้ประโยชนจ์ ากน้ําในลุม่ น้ําทะเลสาบสงขลา.” จลุ สารสภาวะแวดล้อม. ปที ี่ 3 ฉบับที่ 9 : 13-22. Pimapunsri, K. and Tichkiewitch, S. (January 2013). “Integrated Design Approach for Solving Complexity of Design Problem.” American Journal of Operations Research. Vol.3 No.1A : 138-146. 36 คมู่ ือการทําวทิ ยานพิ นธ์

Yoder Robin, N., et al. (2000). “Aerobic Metabolism of Diclosulam on U. S. and South American Soils.” Journal of Agricultural and Food Chemistry. 48 : 4335-4340. Gaylord Nan, M. (2001). “Parenting Classes : Form Birth to 3 Year.” Journal of Pediatric Health Care. Vol.15 No.4 : 179-186. - บทความในหนงั สอื พมิ พ์ ชอื่ ผเู้ ขียน. (วนั เดือน ปีทีพ่ มิ พ)์ . “ช่อื บทความหรอื ช่อื ขา่ ว.” ช่ือหนงั สอื พิมพ์ : เลขหนา้ . พัฒนพ์ งษ์. (วันที่ 10 พฤษภาคม 2519) “อุปสรรคในการรวมเวยี ดนาม.” สยามรฐั : 11. สาธิต บษุ บก. (วันท่ี 22 มถิ นุ ายน 2552). “พบฟอสซลิ เตา่ สกลุ ใหม่ และชนิดใหม่ของโลกในไทย.” ไทยรฐั : 5. โกวทิ วงศ์สุรวัฒน.์ (วันท่ี 18 สงิ หาคม 2547). “Critical Thinking : วธิ ีคดิ ของวญิ ญชู น.” มติชนรายวัน : 12. “นมแพะพาสเจอร์ไรส์ เครื่องดื่มสะอาดท่ีอุดมคณุ ค่าอาหาร.” (วันที่ 17 มีนาคม 2547). ไทยรัฐ : 7. “Amazing Amazon Region.” (January 12, 1969). New York Times : 11. Di Rado, A. (March 15, 1995). “Trekking through college : Classes explore modern society using the world of star trek.” Los Angeles Times : A3. - บทความในสารานุกรม ช่อื ผแู้ ตง่ . (ปที พ่ี ิมพ)์ . “ช่อื บทความ.” ชือ่ สารานุกรม. เล่มท.่ี เลขหน้า. เจริญ อนิ ทรเกษตร. (2515-2516). “ฐานันดร.” สารานกุ รมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน. เลม่ ที่ 11. 6912-6930. วกิ รม เมาลานนท์. (2516-2517). “ทอดตลาด.” สารานกุ รมไทยฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน. เล่มที่ 13. 8453-8460. Lermert Edwin M. (1968). “Social Problems.” International Encyclopedia of the Social Sciences. 14. 452-458. Kaplan, L. (1975). “Library Cooperation in the United States.” Encyclopedia of Library and Information Science. 15. 241-244. บทวิจารณ์หนงั สือ (Book Reviews) ผ้เู ขยี นวจิ ารณ์. (เดือน ปที พ่ี มิ พ์). วจิ ารณ์เรอื่ ง ชอื่ หนงั สือที่วจิ ารณ์. โดย ชอื่ ผู้แตง่ . ชื่อวารสาร. ปีท่ี : เลขหน้า. ชํานาญ นาคประสม. (มถิ นุ ายน-สงิ หาคม 2510). วจิ ารณ์เร่อื ง ลายมือสยาม. โดย สุลักษณ์ ศวิ ลักษณ.์ สงั คมศาสตรป์ ริทัศน.์ ปที ่ี 5 : 139-141. คมู่ ือการทาํ วิทยานิพนธ์ 37

เกศินี หงสนันท์. (กรกฎาคม 2517). วจิ ารณ์เรื่อง การวัดในการจัดงานบคุ คล. โดย สวสั ด์ิ สคุ นธรงั ส.ี วารสารพฒั นบรหิ ารศาสตร์. ปีท่ี 14 : 379-381. Demott Benjamin. (March 1971). Review of Briefing for a Descent into Hell. by Doris Lessing. Saturday Review. 13 : 25-26. Millar, T. B. (Spring 1976). Review of Three and a Half Powers : The New Balance in Asia. by Hinton, H. C. Pacific Affairs. 49 : 114-115. หนงั สือรายงานการประชมุ เอกสารการประชุมวชิ าการ (Conference Proceedings) ช่ือผู้จัดทาํ หรือบรรณาธกิ าร. (ปที ี่พิมพ)์ . ชอ่ื หนังสือ. ชอ่ื การประชมุ . สถานทพี่ ิมพ์ : โรงพมิ พ.์ ชื่อผ้เู ขียนบทความ. (ปที ่ีพมิ พ์). “ช่อื บทความ.” ใน ชื่อหนงั สือ. ชื่อบรรณาธกิ ารหรือผรู้ วบรวม. (ถ้าม)ี ครัง้ ทพ่ี มิ พ.์ (ถ้าม)ี สถานทพ่ี มิ พ์ : สาํ นักพิมพ์, เลขหนา้ . ณรงค์ โฉมเฉลา. (2542). เทคโนโลยสี ารสนเทศสําหรบั บณั ฑติ ศึกษาในศตวรรษที่ 21. การประชุม ประจาํ ปขี องคณบดีบัณฑติ วิทยาลัยแหง่ ประเทศไทยและการสัมมนาทางวิชาการ ครั้งที่ 16. กรงุ เทพมหานคร : สํานกั พมิ พม์ หาวิทยาลยั อสั สมั ชญั . นรินทร์ ทองศริ ิ. (2541). “ระบบ ISO 1900 กับอดุ มศึกษาไทย.” ใน หอ้ งสมดุ สถาบนั อุดมศกึ ษากับ การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา : รายงานการสมั มนาความรว่ มมอื ระหวา่ งหอ้ งสมดุ สถาบนั อุดมศึกษา ครงั้ ที่ 16, 2-4 ธนั วาคม 2541. เชยี งใหม่ : กองห้องสมุด มหาวทิ ยาลยั แม่โจ้ และคณะกรรมการพัฒนาหอ้ งสมุดสถาบนั อุดมศึกษา ทบวงมหาวทิ ยาลัย, 189-192. Fitzroy Felix, R. and Kraft Kornelius. (1991). “Firm Size, Growth and Innovation: Some Evidence from West Germany.” In Innovation and Technological Change: An International Comparison. Zottan J. Aes and David B. Audretsh, eds. New York : Harvester Wheat Sheaf, 152-159. Gross, P. F. and Penny, R. (Eds.). (1993). AIDS in Asia; Meeting the challenge through training education and prevention. Proceedings of the International Symposium on AIDS in Asia. Sydney : Institute of Health Economics and Technology Assessment. บทความ/เอกสารทน่ี าํ เสนอในการประชุมวิชาการ (Conference Papers) - กรณที ่รี วมจดั พมิ พเ์ ป็นเลม่ มีหวั ขอ้ การประชุมหรือชอื่ การประชุม ชอื่ ผู้เขยี น. (ปที ่ีพิมพ)์ . “ชอื่ เรือ่ งบทความ/เอกสาร.” ใน ชอื่ หัวขอ้ การประชุมหรือชือ่ การประชมุ . สถานทีพ่ ิมพ์ : โรงพิมพ,์ (เลขหน้า). วิภา โกยสุโข. (2538). “ระบบหอ้ งสมุดอตั โนมตั ิ.” ใน หอ้ งสมุดอตั โนมัติ : แนวทางการพัฒนา. พษิ ณโุ ลก : งานสง่ เสรมิ การผลิตตํารา กองบรกิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลยั นเรศวร, (20-34). 38 คู่มือการทาํ วิทยานพิ นธ์

Deci, E. L. and Ryan, R. M. (1991). “Amotivational apprch to self : Intergration in personality.” Perspectives on motivation. Lincoln : University of Nebraska Press, (237-288). - กรณที ร่ี วมจดั พิมพเ์ ปน็ เลม่ ไมม่ ีหวั ข้อการประชมุ และมีเฉพาะชื่อการประชมุ ช่ือผเู้ ขียน. (ปที ีพ่ ิมพ์). “ชอื่ เรื่องบทความ/เอกสาร.” ใน ช่อื การประชมุ . สถานทพี่ มิ พ์ : โรงพมิ พ,์ (เลขหน้า). ชชั วรินทร์ ปูชยั . (2553). “Polyacrylonitrile (PAN) nanofilm-coated multiwalled carbon nanotubes (MWCNTs) via admicellar polymerization for improvement mechanical strength of electrospun MWCNTs/PAN nanofiber paper.” ใน การประชมุ วชิ าการวิศวกรรมเคมีและเคมปี ระยกุ ตแ์ ห่งประเทศไทย ครง้ั ที่ 20 (22-23 พฤศจิกายน 2553). (ม.ป.ท.), (84). ธีรวัฒน์ เบ็ญจวิไลกลุ . (2554). “ระบบควบคมุ การแสดงอารมณด์ ้วยภาษาท่าทางของหุ่นยนต์.” ใน การประชุมวชิ าการเครือข่ายวิศวกรรมเคร่อื งกลแหง่ ประเทศไทย คร้งั ที่ 25 (19-21 ตลุ าคม 2554). (ม.ป.ท.), (DRC 8). สมมารถ ขาํ เกลี้ยง. (2552). “การพัฒนารปู แบบการวเิ คราะหค์ ล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า เพอ่ื ประยุกต์ ใช้กบั การศึกษาวงจรคลื่นระนาบไมโครเวฟรว่ มกับการเรยี นการสอนแบบซีเดีย.” ใน การประชุมเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั บัณฑติ ศึกษาแหง่ ชาติ ครง้ั ที่ 14 มหาวทิ ยาลัย เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ วันท่ี 10-11 กนั ยายน 2552. กรงุ เทพมหานคร : หจก. สหพัฒนไพศาล, (27). Edward, P., Pacharaprakiti, C. and Yomjinda, M. (1990). “Direct and indirect reuse of septage for culture of Nite Tilapia Oreochromis Niloticus.” In Proceedings of the Second Asian fisheries Forum. Manila : The Asian Fisheries Society, (165-168). - กรณเี ปน็ เอกสารเสนอในการประชุม/สมั มนา ท่ีไม่ได้จดั พิมพ์เปน็ เลม่ ช่ือผเู้ ขยี น. (ปีทพี่ ิมพ)์ . ชือ่ เรอื่ งเอกสาร. เอกสารประกอบการประชมุ /สมั มนา...... . สถานท่ปี ระชมุ , เดอื น. บัญชร แกว้ ส่อง. (2540). บทบาทและแนวทางสง่ เสริมองคก์ รทอ้ งถ่ินในการจัดการป่าอยา่ งยัง่ ยืน. เอกสารประกอบการสัมมนาทางวชิ าการเรื่อง เขตกันชน : ยุทธวธิ ีสู่การจดั การป่า อยา่ งยงั่ ยนื . กรงุ เทพมหานคร สมาคมอนุรกั ษศ์ ลิ ปกรรมและสิง่ แวดล้อม. Lanktree, C. and Briere, J. (1991). Early data on the trauma symptom checklist for children. Paper presented at the Meeting of the American Professional Society on the Abuse of Children, San Diego, CA., January. คู่มอื การทาํ วิทยานิพนธ์ 39

สื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส์ แฟ้มข้อมูลและโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ (Electronic Document) - บทความวารสารเผยแพรบ่ นอนิ เทอรเ์ นต็ มีฉบบั ที่เปน็ สิ่งพิมพ์ (Printed Version) ช่ือผแู้ ต่ง. (ปีท่อี อนไลน)์ . [วารสารออนไลน์]. “ชือ่ เร่อื ง.” ช่ือวารสาร. ฉบบั ท่ี ปีทห่ี รอื เล่มที่ : เลขหนา้ . จุฑามาส สรปุ ราษฎร.์ (2555). [วารสารออนไลน]์ . “การประยกุ ต์ใช้สถติ ิ MANOVA กับการวิจยั ทางการศกึ ษา.” นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 175 ปที ่ี 40 : 54-57. สาทสิ อนิ ทรกาํ แหง. (2555). [วารสารออนไลน์]. “เกร็ดสขุ ภาพ.” ชีวจิต. ฉบบั ที่ 331 ปที ี่ 14. Ozben, T., Nacitarhan, S. and Tuncer, N. (1995). [serial online]. “Plasma and urine salic acid in non-insulin dependent Diabetes mellitus.” Ann Clin Biochem. Vol.3 No.2 : 303-306. - บทความวารสารเผยแพรบ่ นอินเทอรเ์ นต็ ไมม่ ีฉบบั ทเ่ี ป็นสง่ิ พมิ พ์ ช่ือผแู้ ตง่ . (ปที อี่ อนไลน)์ . [วารสารออนไลน์]. “ชอ่ื เรื่อง.” ชอ่ื วารสาร. [สืบคน้ วัน เดอื น ปที อ่ี ้าง]. จาก URL กนกพร เนยี มศร.ี (2555). [วารสารออนไลน]์ . “การใชง้ านคํานวณด้วย Microsoft Excel (ตอนที่ 6).” KM Lite. [สืบคน้ วนั ท่ี 30 กรกฎาคม 2555]. จาก http://opac.tistr.or.th/ Multimedia/KM/KMLITE/2012-v5i2/2012-v5i2_09_OfficeTips.pdf “เดิมพันคร้ังใหม่ SHISEIDO MEN ตลาดนเ้ี ราจอง.” (2547). [วารสารออนไลน์]. Positioning Magazine. [สืบคน้ วนั ท่ี 11 มีนาคม 2551]. จาก http://www.positioningmag.com/ Magazine/Details.aspx?id=27382 Henkel, J. (1999). [serial online]. “Attacking AIDS with a Cocktail therapy.” FDA Cons Mag. [cited 1999 Sep. 15]. Available from : URL : http://www.fda.gov/ fdav/ features/1999/499_aids.html - บทความหนงั สือพิมพ์เผยแพร่บนอนิ เทอร์เนต็ ช่ือผแู้ ตง่ . (ปที ีอ่ อนไลน์). [วารสารออนไลน์]. “ชอ่ื เรื่อง.” ชอ่ื หนังสอื พิมพ์. [สบื คน้ วัน เดือน ปีท่ีอ้าง]. จาก URL เพญ็ พิชญา เตียว. (24 กรกฎาคม 2545). [วารสารออนไลน]์ . “มีนํ้าใช้ในสวนทั้งปดี ้วยวธิ ีระบบฉดี ฝอย.” ไทยรัฐ. [สืบคน้ วันท่ี 15 มกราคม 2546]. จาก http://www.avantgothai.com/ mazingo/news/thairath/agricult/agr1.html 40 คู่มอื การทําวทิ ยานิพนธ์

- บทคดั ย่อวิทยานพิ นธ/์ สารนิพนธ์/ปริญญานพิ นธเ์ ผยแพร่บนอนิ เทอร์เน็ต ชื่อผู้แตง่ . (ปีที่ออนไลน์). [บทคดั ย่อออนไลน]์ . ชื่อเร่อื งวิทยานพิ นธ/์ สารนพิ นธ์/ปริญญานิพนธ์. ระดบั วิทยานพิ นธ์ สาขาวิชา ภาควชิ า คณะ มหาวิทยาลัย/สถาบนั . [สืบคน้ วัน เดือน ปที ี่อ้าง]. จาก URL สธุ ดิ า ชัยชมชื่น. (2553). [บทคัดยอ่ ออนไลน]์ . การพฒั นาระบบปรับกิจกรรมการเรียนแบบ ออนไลน์บนพนื้ ฐานกระบวนการจดั การความรู้ สาํ หรบั หลักสูตรผลติ ครชู ่างอุตสาหกรรม. วทิ ยานพิ นธป์ รัชญาดุษฎบี ัณฑติ สาขาวชิ าคอมพิวเตอรศ์ กึ ษา ภาควชิ าคอมพิวเตอรศ์ กึ ษา บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ. [สืบค้นวันท่ี 20 สิงหาคม 2555]. จาก http://thailis.or.th/tdc/search_result.php - เอกสารประกอบการสอนเผยแพร่บนอนิ เทอรเ์ นต็ ช่ือผ้แู ตง่ . (ปีทีอ่ อนไลน)์ . [ออนไลน์]. ชอ่ื เรอ่ื ง. (ลักษณะของเอกสาร). [สืบค้นวัน เดือน ปีทอ่ี า้ ง]. จาก URL สุจิตรา สวา่ งโรจน.์ (2551). [ออนไลน์]. ประโยคในภาษาไทย. (บทเรียนวิชาภาษาไทย). [สบื คน้ วนั ที่ 10 มกราคม 2551]. จาก http://www.thaieclass.com/thaiwords/ varee.html หลกั ภาษาไทยในชวี ิตประจาํ วนั . (2551). [ออนไลน์]. (เอกสารประกอบการจดั การเรียนรู้ รายวชิ า ท40105 หลักภาษาไทยในชีวติ ประจําวนั ). [สืบค้นวนั ท่ี 10 มกราคม 2551]. จาก http://61.19.192.212/Digital/mahidol/ภาษาไทย/งานอสมศักด/์ิ สือ่ /ชนิดของคาํ .doc - ขอ้ มูลจาก Website ของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ช่ือผ้แู ตง่ . (ปีที่ออนไลน์). [ออนไลน]์ . ชือ่ เร่อื ง. [สืบคน้ วนั เดือน ปีทอี่ า้ ง]. จาก URL การส่อื สารแหง่ ประเทศไทย. (2542). [ออนไลน]์ . เศรษฐกิจพอเพยี ง. [สบื ค้นวนั ท่ี 18 สงิ หาคม 2542]. จาก http://www.mcot.or.th/king/king_news16.html สาํ นกั งานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ. (2551). [ออนไลน]์ . คมู่ อื การประเมินผลข้อเสนอการวจิ ยั ของหนว่ ยงานภาครฐั ที่เสนอของบประมาณประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2553 ตามมติ คณะรัฐมนตร.ี [สืบค้นวันที่ 8 สิงหาคม 2551]. จาก http://www.npu.ac.th/pdf/ 51/july/NRPM_2553.pdf สถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน). (2551). [ออนไลน์]. ค่าสถิตพิ ื้นฐานของ คะแนนการสอบ O-NET. [สืบคน้ วันที่ 10 มนี าคม 2555]. จาก http://www.niets.or.th Koanantakool, T. (1999). [online]. Getting ready for the new Millennium: What are the Thai Government’sactions toward the year 2000?. [cited 20 Aug. 1999]. Available from : URL : http://www.nectec.or.th/it-projects/ ค่มู อื การทาํ วทิ ยานิพนธ์ 41

- ขอ้ มูลจาก Website ของบุคคล ไมร่ ะบแุ หล่ง/หนว่ ยงานทส่ี ังกดั ช่อื ผู้แตง่ . (ปที ีอ่ อนไลน)์ . [ออนไลน]์ . ช่ือเรอื่ ง. [สืบคน้ วนั เดอื น ปีท่ีอา้ ง]. จาก URL มีชยั ฤชพุ นั ธ.์ุ (8 กรกฎาคม 2545). [ออนไลน์]. ความคดิ เสรีของมชี ัย : การปฏิบตั ติ ามคาํ วนิ จิ ฉยั ของศาลรฐั ธรรมนูญ. [สบื คน้ วนั ที่ 23 กรกฎาคม 2545]. จาก http://www. meechaithailand.com/meechai/shows.html Prizker, T. J. (n.d.). [online]. An Early Fragment from Central Nepal. [cited June 8, 1995]. Available from : http://www.ingress.com/-stanart/pritzker /prizker.html - ขอ้ มูลจาก Website ไมร่ ะบุช่ือผู้เขยี นหรือผจู้ ดั ทาํ ช่ือเรอ่ื ง. (ปที อ่ี อนไลน)์ . [ออนไลน์]. [สืบคน้ วัน เดอื น ปที ีอ่ า้ ง]. จาก URL ไต้หวนั มงุ่ ตลาดกล้องดิจติ อลแทนธรุ กิจผลติ คอมพ์. (2544). [ออนไลน]์ . [สบื คน้ วันท่ี 23 กรกฎาคม 2545]. จาก http://technology.mweb.co.th/hotnews/7078.html FYI on where to start bibliography of internet working information. (1990). [online]. [cited 1990]. Available from E-mail : [email protected] พระราชกฤษฎีกา วา่ ด้วยหลักเกณฑ์และวิธกี ารบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี พ.ศ. 2546 หมวด 3 การบรหิ ารราชการเพ่อื ใหเ้ กิดผลสัมฤทธิต์ อ่ ภารกิจของรัฐ มาตรา 9 เลม่ 120 ตอนที่ 100 ก ราชกจิ จานเุ บกษา วนั ที่ 9 ตุลาคม 2546. (2555). [ออนไลน]์ . [สืบคน้ วนั ท่ี 30 กรกฎาคม 2555]. จาก http://kormor.obec.go.th/act/act501.pdf พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2555 มาตรา 3 เลม่ 127 ตอนท่ี 45 ก ราชกิจจานุเบกษา วนั ที่ 22 กรกฎาคม 2553. (2555). [ออนไลน์]. [สืบค้นวนั ที่ 30 กรกฎาคม 2555]. จาก http://kormor.obec.go.th/act/act081.pdf FYI on where to start bibliography of internet working information. (1990). [online]. [cited 1990]. Available from E-mail: [email protected] สทิ ธบิ ตั ร (Patent) ช่ือผู้จดสิทธิบตั ร. (วนั เดือน ปีทีไ่ ด้รบั การจดสทิ ธิบตั ร). ชือ่ วิธหี รือสิ่งประดษิ ฐ.์ ประเทศท่ี จดสทิ ธบิ ัตร หมายเลขของสทิ ธบิ ัตร. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว. (2 กุมภาพันธ์ 2536). เครอื่ งกลเติมอากาศท่ีผวิ นาํ้ . ประเทศไทย เลขทีส่ ทิ ธิบัตร 3127. ศนู ยเ์ ทคโนโลยีโลหะและวัสดุ สาํ นักงานพัฒนาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแหง่ ชาต.ิ (13 สิงหาคม 2547). กรรมวิธกี ารผลติ วสั ดุตกแตง่ แผลจากอนุพนั ธ์ไคติน/ไคโตซาน. ประเทศไทย เลขท่ีสทิ ธบิ ัตร 17473. 42 ค่มู อื การทําวทิ ยานพิ นธ์

สาํ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแหง่ ชาต.ิ (18 มิถุนายน 2540). กรรมวธิ กี ารตรงึ เซลล์ เอนไซม์หรอื สารเรง่ ปฏกิ ริ ยิ าอน่ื ๆ. ประเทศไทย เลขทีส่ ทิ ธิบตั ร 6846. สําเริง จกั รใจ. (2 มถิ นุ ายน 2542). เตาหุงตม้ ประสทิ ธิภาพสงู . ประเทศไทย เลขท่สี ทิ ธบิ ตั ร 8948. สมชาย วงศ์วิเศษ และวรเชษฐ ภริ มย์ภกั ด.ิ์ (5 มกราคม 2550). วธิ กี ารหาความยาวของทอ่ คาปิลลารี่ ท่ใี ช้ในระบบปรับอากาศและระบบทาํ ความเย็น. ประเทศไทย เลขท่ีสิทธบิ ัตร 21195. มหาวทิ ยาลัยมหิดล. (6 มกราคม 2553). การปรับผิวทางเคมเี พอ่ื เพมิ่ การยึดตดิ ระหว่างยางธรรมชาติ กบั ยางไนไตรล์. ประเทศไทย เลขทีอ่ นุสทิ ธิบัตร 5183. Schena Mark, A. (September 30, 2005). Microarray Method of Genotyping Multiple Samples at Multiple Loci. U.S.A. Patent No. 94899. Mahidol University. (November 14, 2006). Andrographis paniculata gel as an adjunct in the treatment of periodontitis. U.S.A. Patent No. US 7,135,164. . (August 26, 2009). Andrographis paniculata gel as an adjunct in the treatment of periodontitis. EPO. Patent No. EP 1415646B1. ลขิ สิทธิ์ (Copyright) ช่อื ผ้ขู อจดลขิ สทิ ธ์.ิ (วนั เดอื น ปีที่ไดร้ ับการจดลิขสิทธ์)ิ . ช่ือผลงาน. ประเทศทจ่ี ดลิขสทิ ธิ์ ทะเบียนข้อมูลเลขทล่ี ิขสิทธ.ิ์ หา้ งห้นุ สว่ นจาํ กัด แอคครที . (วนั ที่ 4 ตลุ าคม 2548). โปรแกรม WISP-Management. ประเทศไทย ทะเบียนขอ้ มลู เลขที่ ว1.1878. มหาวิทยาลัยมหดิ ล และสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแห่งชาต.ิ (วันที่ 24 มนี าคม 2549). โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ CephSmile. ประเทศไทย ทะเบยี นขอ้ มลู เลขที่ ว1.1421. รอบรู้ ดา่ งเกษ.ี (วันท่ี 3 พฤศจกิ ายน 2551). แบบพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนออนไลน์ (e-pp5 Online). ประเทศไทย ทะเบยี นข้อมลู เลขท่ี ว1.2951. วทิ ยาลยั นานาชาติ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล. (วันท่ี 31 มีนาคม 2554). ภาษาดอกไม.้ ประเทศไทย ทะเบยี นข้อมูลเลขท่ี ศ1.25532. แผนที่ภาพถา่ ยทางอากาศและภาพถา่ ยดาวเทยี ม ชอ่ื ผู้จัดทาํ . (ปที ี่พิมพ)์ . ชอ่ื แผนท.ี่ มาตราส่วน. (ถา้ ม)ี กรมแผนท่ีทหาร. (2517). แผนท่ปี ระเทศไทย ชดุ L 7017. มาตราสว่ น 1 : 50,000. กระทรวงวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีและการพลังงาน, สาํ นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ กองสํารวจ ทรพั ยากรธรรมชาตดิ ว้ ยดาวเทยี ม. (2513). เมอื งพษิ ณุโลกจากอวกาศภาพถา่ ยจาก ดาวเทยี มแลนดแ์ ซทระบบชแี มกดิ แบบเปอร์ (T. M.) (ภาพสผี สม). มาตราส่วน 1 : 50,000. กรมทางหลวง. (2514). แผนทีแ่ สดงทางหลวงภาคใต้. มาตราส่วน 1 : 5,000. . (2519). แผนทแ่ี สดงจุดติดตั้งสญั ญาณไฟจราจร ตามสํานักทางหลวงทว่ั ประเทศ ปี 2549. คู่มือการทาํ วทิ ยานิพนธ์ 43

สูจิบัตร แผ่นพับ โฆษณา แผ่นปลิว และเอกสารประกอบการสอนท่ีไมเ่ ปน็ เลม่ ชอ่ื ผู้แตง่ . (ปที ่พี ิมพ์). ชื่อเร่ือง. (ลักษณะของเอกสาร). สถานท่พี มิ พ์ : ผูร้ ับผดิ ชอบในการพมิ พ์. มหาวิทยาลยั บรู พา สถาบันศลิ ปและวฒั นธรรม. (2545). ความร้เู รือ่ งประเพณีวันสงกรานต.์ (สูจบิ ตั ร). ชลบรุ ี : สถาบนั ศลิ ปและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั บรู พา. เทอดศกั ดิ์ รองวริ ิยะพานชิ . (2547). Special Topic in Transportation Engineering. (เอกสาร ประกอบการสอน วชิ า 185588 Special Topic in Transportation Engineering). กรุงเทพมหานคร : สาขาวิชาวศิ วกรรมโยธา ภาควชิ าวิศวกรรมโยธา คณะวศิ วกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื . มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ ประสานมิตร. (2538). สารนิเทศกับการศกึ ษาค้นควา้ . (เอกสาร ประกอบการเรียนวิชา 202101 สารนิเทศกบั การศกึ ษาค้นคว้า). พมิ พค์ รงั้ ท่ี 3. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาบรรณารกั ษศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ ประสานมติ ร. ประกาศ คาํ สงั่ ชื่อหน่วยงาน. (วัน เดอื น ปที ่ีประกาศ หรอื มคี ําส่ัง). ชอ่ื เอกสาร. สํานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา. (วนั ท่ี 2 กรกฎาคม 2552). ประกาศสํานกั งาน คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาเร่อื ง กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดบั อุดมศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2552. บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ. (วนั ท่ี 17 กรกฎาคม 2557). คําสัง่ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื ท่ี 1118/2557 เรอ่ื ง แตง่ ต้งั คณะกรรมการสอบคดั เลอื กเขา้ ศกึ ษาต่อในระดับบณั ฑิตศกึ ษา ภาคการศึกษาท่ี 1 ปีการศึกษา 2557 (รอบ 3). . (วันที่ 12 กนั ยายน 2557). ประกาศบณั ฑติ วิทยาลยั เรื่อง รายชือ่ ฐานข้อมลู วารสาร วชิ าการ ระดบั ปริญญาดุษฎีบณั ฑิตและระดับปริญญามหาบัณฑติ เพื่อใช้ประกอบการ สําเรจ็ การศึกษา. หนังสอื ท่ีพิมพใ์ นโอกาสพิเศษ (หนงั สืองานศพ งานวนั สถาปนา กฐิน หรืออ่นื ๆ) ช่ือผู้แต่ง. (ปีทพี่ มิ พ)์ . ชื่อเอกสาร. สถานที่พิมพ์ : สํานกั พมิ พ์. (ลกั ษณะเอกสารที่พมิ พ์ในโอกาส พิเศษ). ขจร สขุ พานชิ . (2549). เมอ่ื เซอร์ยอนเบาริงเขา้ มาเจรญิ ทางพระราชไมตรี. พระนคร : โรงพิมพ์ มหามกฎุ ราชวิทยาลยั . (มหามกฎุ ราชวทิ ยาลัย พมิ พถ์ วาย หมอ่ มเจ้าชัชวลติ เกษมสนั ต์ ในมงคลสมัยมพี ระชนม์ 5 รอบ 12 มิถุนายน 2497). ครูไทย. (2520). เมอ่ื คอมมวิ นสิ ต์ครองเมอื ง. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์สํานกั เลขาธิการ คณะรัฐมนตรี. (อนสุ รณง์ านพระราชทานเพลิงศพพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจา้ วภิ าวดี รังสติ ). 44 คู่มือการทําวิทยานิพนธ์

มาตรฐานการทดสอบ ชอื่ มาตรฐานการทดสอบ. ช่ือเรอื่ งการทดสอบ. มยผ. 1223-51. มาตรฐานการทดสอบหาคา่ ความช้ืนของไม.้ มยผ. 1227-51. มาตรฐานการทดสอบหาคา่ ความถว่ งจําเพาะของไม้. มยผ. 8205-51. มาตรฐานการทดสอบการทนไฟวสั ดปุ อ้ งกันการลามไฟ. มยผ. 8206-51. มาตรฐานการทดสอบการเผาไหมข้ องวัสดุตกแต่งผิว. ASTM D1102. Standard Test Method for Ash in Wood. ASTM D2369_04. Standard Test Method for Volatile Content of Coatings. ASTM D5582. Standard Test Method for Determining Formaldehyde Levels from Wood Products Using a Desiccator. ENV 1729-2 : 2001. Furniture. Chairs and tables for educational institutions. Safety requirements and test methods. GB 18583 : 2008. Indoor decorating and refurbishing materials -- Limit of harmful substances of adhesives. ISO 14001 : 2004. Environmental management systems-Requirements with guidance for use. JIS A5905. Fibreboards. JIS S 1017 : 1983. General rule for test method of furniture. TIS 2423 : 2552. ไม้ยางพาราแปรรปู . TAPPI. 1998-1999 Test Methods. USA. : Tappi Press., 1998. มาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม สํานกั งานมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์อตุ สาหกรรม. (ปีท่ีออกประกาศ). ชื่อมาตรฐานผลติ ภัณฑ์ อตุ สาหกรรม. เลขท่ี มอก. สาํ นักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. (2551 ก). รถจักรยานยนตเ์ ฉพาะด้านความปลอดภยั : สารมลพษิ จากเครอื่ งยนต์ ระดับที่ 6. มอก. 2350-2551. . (2551 ข). สายไฟฟา้ หมุ้ ฉนวนพอลิไวนิลคลอไรด์ แรงดันไฟฟา้ ทกี่ ําหนดไม่เกิน 450/750 โวลต์ เล่ม 2 วธิ ที ดสอบ. มอก. 11 เล่ม 2-2553. . (2552). วธิ มี าตรฐานในการวัดอุณหภูมิทเ่ี พม่ิ ข้นึ ของขั้วหลอดไฟฟา้ . มอก.4 เล่ม 2- 2552. Japanese Industrial Standards. (2004). Rolled Steels for General Structure. JIS G3101-2004. . (2008). Rolled Steels for Welded Structure. JIS G3106-2008. Conformite European Mark. (n.d.). Non-alloy Structural Steels. EN 10025-2. คมู่ ือการทาํ วิทยานิพนธ์ 45


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook