Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นายกฤษณพงศ์ จงเทพ 002

นายกฤษณพงศ์ จงเทพ 002

Published by armchin.0000arn, 2022-01-10 15:51:37

Description: นายกฤษณพงศ์ จงเทพ 002

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพละศึกษา รายวิชาสุขศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3 นายกฤษณพงศ์ จงเทพ

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาสขุ ศึกษา ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่3ี จัดทาโดย นายกฤษณพงศ์ จงเทพ เลขที่ 1 เสนอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พชั รภี รณ์ บางเขียว แผนจดั การเรยี นร้เู ล่มนเ้ี ป็นส่วนหนง่ึ ของรายวิชา วิทยาการจัดการเรยี นรู้ (1190301) มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา

ก คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 จัดทําข้ึน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วยเน้ือหาสาระดังต่อไปน้ี แผนการจัดการเรียนรู้รายปีซ่ึงประกอบด้วยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาสุขศึกษา แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วยท้ังหมด 5 แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วยหน่วยท่ี 1 การ เจริญเติบโตและพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย หน่วยท่ี 2 ชีวิตและครอบครัว หน่วยท่ี 3 การกําหนด รายการอาการที่เหมะสมกับวัย หน่วยที่4 การป้องกันโรคภัยและการแก้ไขปัญหาชุมชน และหน่วยที่ 5 การทดสอบสมสมรรถภาพ กลา่ วซ่งึ แตล่ ะแผนการจดั การเรยี นรู้ไดร้ ะบุมาตรฐานตัวช้ีวัดจุดประสงค์ การเรยี นรู้สาระสําคัญสาระการเรียนรู้กิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย อัน ได้แก่ กระบวนการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps มีวิธีการจัดการเรียนการสอนท่ีซ่ึงการบรรลุ จุดประสงค์การเรียนรู้นอกจากน้ียังมีใบงานและเกณฑ์การประเมินผลเพื่อใช้ในการประเมินผลการ เรยี นรขู้ องนกั เรียนแตล่ ะคนวา่ หลังจากเสร็จส้นิ การเรียนนกั เรียนมีความรู้ความเข้าใจเนื้อหาสาระมาก นอ้ ยเพียงใดผา่ นเกณฑ์การประเมินหรือไม่ ผู้จัดทําขอขอบพระคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พัชรีภรณ์ บางเขียว เป็นอย่างยิ่งท่ีให้ คําปรึกษาและแนะนําตลอดระยะเวลาการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้และหวังเป็นอย่างย่ิงว่า แผนการจัดการเรียนรู้เล่มน้ีจะเป็นประโยชน์กับการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนทําให้ผู้เรียนสามารถ พฒั นาการเรียนร้ไู ดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพต่อไป นายกฤษณพงศ์ จงเทพ ผจู้ ดั ทํา

สารบัญ ข เร่อื ง หน้า คํานํา ก สารบญั ข แผนการจดั การเรยี นร้รู ายปี 1 1 1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชว้ี ดั 1 2.จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 5 3.สาระสาํ คัญ 6 4.สาระการเรยี นรู้ 7 5.คําอธบิ ายรายวิชา 8 ตารางโครางสร้างรายวิชา 12 แผนจดั การเรียนรูร้ ายหน่วย หน่วยที่ 1 36 แผนจัดการเรยี นร้รู ายหน่วย หน่วยที่ 2 60 แผนจัดการเรียนรรู้ ายหน่วย หนว่ ยท่ี 3 70 แผนจัดการเรียนร้รู ายหนว่ ย หน่วยที่ 4 101 แผนจัดการเรยี นรรู้ ายหน่วย หนว่ ยที่ 5 128 บรรณานุกรรม

แผนการจัดการเรยี นรู้ 1 สาระการเรยี นรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา รายวิชา สุขศึกษา ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศกึ ษา 2564 ครผู สู้ อน นายกฤษณพงศ์ จงเทพ เวลา 40 ชว่ั โมง 1.มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวช้วี ัด สาระท่ี 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนษุ ย์ มาตรฐาน พ 1.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย์ สาระที่ 2 ชีวติ และครอบครัว มาตรฐาน พ 2.1 เขา้ ใจและเหน็ คุณค่าตนเอง ครอบครวั เพศศกึ ษา และมีทักษะในการดาเนนิ ชวี ิต สาระที่ 3 การเคล่ือนไหว การออกก าลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกฬี าสากล มาตรฐาน พ 3.1 เขา้ ใจ มที กั ษะในการเคลอ่ื นไหวกจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกม และกีฬา มาตรฐาน พ 3.2 รกั การออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏบิ ัตเิ ปน็ ประจาอย่างสม่าเสมอ มี วินัย เคารพสทิ ธิ กฎ กติกา มีน้า ใจนักกีฬา มีจติ วิญญาณในการแข่งขนั และชนื่ ชมใน สุนทรียภาพของการกฬี า สาระท่ี 4 การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ สมรรถภาพและการปอ้ งกันโรค มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การป้องกัน โรคและ การ สรา้ งเสรมิ สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ สาระที่ 5 ความปลอดภยั ในชวี ิต มาตรฐาน พ 5.1 ป้องกันและหลีกเล่ียงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุการใช้ สารเสพติด และความรนุ แรง ตัวชี้วัด พ 1.1 ม.3/1 เปรียบเทยี บการเปลี่ยนแปลงทางด้านรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญา แตล่ ะช่วงของชวี ิต พ 1.1 ม.3/2 วิเคราะห์ อิทธิพลและความ คาดหวงั ของสงั คมต่อการ เปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น พ 1.1 ม.3/3 วเิ คราะห์ สือ่ โฆษณา ท่ีมอี ิทธพิ ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและ พัฒนาการของวัยรุ่น พ 2.1 ม 3/1 อธิบายอนามัยแม่ และเดก็ การวางแผนครอบครัว และวธิ ีการ ปฏบิ ัตติ นท่เี หมาะสม พ 2.1 ม 3/2 วเิ คราะห์ ปัจจยั ทีม่ ีผลกระทบต่อ การต้งั ครรภ์ พ 2.1 ม 3/3 วิเคราะห์ สาเหตุ และเสนอ แนวทางป้องกัน แก้ไขความขัดแย้งใน ครอบครัว สาเหตุความ ขัดแย้งในครอบครวั แนวทางปอ้ งกนั แกไ้ ขความขดั แย้งใน ครอบครัว พ 3.1 ม 3/1 เลนกีฬาไทยและกีฬาสากลไดอยางละ 1 ชนดิ โดยใชเทคนคิ ทเ่ี หมาะสมกบั ตนเองและทมี

2 พ 3.1 ม 3/2 นาหลักการ ความรูและทักษะในการเคล่ือนไหว กจิ กรรมทางกายการเลนเกมและการเล่น กฬี าไปใชสรางเสริมสขุ ภาพอยางตอเนื่องเปนระบบ พ 3.1 ม 3/3 รวมกจิ กรรมนันทนาการอยางนอย 1 กจิ กรรมและนาหลกั ความรูวิธกี ารไปขยายผลการ เรียนรูใหกับผูอืน่ พ 3.2 ม 3/1 มมี ารยาทในการเลนและดูกีฬาดวยความมนี า้ ใจนักกีฬา พ 3.2 ม 3/2 ออกกาลังกายและเลนกีฬาอยางสมา่ เสมอและนาแนวคดิ หลักการจากการเลนไปพัฒนา คุณภาพชวี ิตของตนดวยความภาคภูมิใจ พ 3.2 ม 3/3 ปฏิบัติตนตามกฎ กติกา และขอตกลงในการเลนตามชนิดกีฬาท่เี ลอื กและนาแนวคิดทีไ่ ดไป พัฒนาคุณภาพชีวิต ของตนในสงั คม พ 3.2 ม 3/4 จาแนกกลวธิ กี ารรุก การปองกนั และใชในการเลนกีฬาทเี่ ลือกและตัดสินใจเลือกวิธีท่ี เหมาะสมกับทมี ไปใชไดตามสถานการณของการเลน พ 3.2 ม 3/5 เสนอผลการพฒั นาสุขภาพของตนเองท่เี กดิ จากการออกกาลงั กายและการเลนกีฬาเป็น ประจา พ 4.1 ม 3/1 กาหนดรายการอาหารทเี่ หมาะสมกบั วยั ตาง ๆ โดยคานงึ ถึงความประหยดั และคุณคาทาง โภชนาการ พ 4.1 ม 3/2 เสนอแนวทางปองกนั โรคทีเ่ ปนสาเหตสุ าคัญของการเจบ็ ปวยและการตายของคนไทย พ 4.1 ม 3/3 รวบรวมขอมูลและเสนอแนวทาง แกไขปญหาสุขภาพในชุมชน พ 4.1 ม 3/4 วางแผนและจัดเวลาในการออกกาลังกายการพักผอนและการสรางเสริมสมรรถภาพทางกาย พ 4.1 ม 3/5 พ 5.1 ม 3/1 ทดสอบสมรรถภาพทางกายและพัฒนาไดตามความแตกตางระหวางบคุ คล พ 5.1 ม 3/2 ปจจยั เส่ียง และพฤตกิ รรมเส่ียงท่มี ีผลตอสุขภาพและแนวทางปองกัน พ 5.1 ม 3/3 พ 5.1 ม 3/4 หลกี เลยี่ งการใชความรนุ แรงและชกั ชวนเพือ่ นใหหลีกเลย่ี งการใชความรุนแรงใน พ 5.1 ม 3/5 การแกปญั หา วิเคราะห์ อิทธพิ ลของสอ่ื ตอพฤติกรรมสุขภาพและความรุนแรง วิเคราะห ความสัมพันธของการดื่มเครือ่ งดมื่ ทีม่ แี อลกอฮอล ตอสุขภาพและการเกิดอบุ ัติเหตุ แสดงวธิ กี ารชวยฟนคืนชพี อยางถูกวธิ ี จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1 ความรู้ (k) 1.นักเรยี นสามารถเปรยี บเทียบการเปลี่ยนแปลงทางดา้ นร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และสตปิ ญั ญา แตล่ ะช่วงของชวี ิตได้ 2.นกั เรยี นสามารถอธิบายอิทธพิ ลและความคาดหวงั ของสงั คมต่อการเปลย่ี นแปลงของวัยรุ่นได้ 3.นกั เรยี นบอกเกี่ยวกบั ส่ือโฆษณาทมี่ ีอทิ ธิพลต่อการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของวยั รุ่นได้ 4.นักเรียนสามารอธิบายองค์ประกอบของอนามัยแม่ และเด็ก การวางแผนครอบครัวและวิธีการ ปฏิบัติตนทเ่ี หมาะสม ได้ 5.นักเรียนสามารถอธิบายถงึ ปัจจยั ทมี่ ีผลกระทบตอ่ การต้งั ครรภ์ได้

3 6.นักเรียนอธิบายสาเหตุและเสนอแนวทางป้องกัน แก้ไขความขัดแย้งใน ครอบครัว สาเหตุความ ขัดแย้งในครอบครัว แนวทางป้องกัน แก้ไขความขัดแย้งใน ครอบครัว 7.นักเรียนอธบิ ายความแตกต่างของการเลนกฬี าไทยและกีฬาสากลท่ีเหมาะสมกับตนเองและทีมได้ 8.นกั เรยี นอธิบายลกั ษณะของหลักการ ความรูและทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกายการ เลนกม และการเลนกฬี าไปใชสรางเสริมสุขภาพอยางตอเนื่องเปนระบบ 9.นักเรียนอธิบายความหมายและประโยชน์ของกิจกรรมนันทนาการและนาหลักความรู วิธีการไป ขยายผลการเรยี นรูใหกับผูอื่น 10.นักเรียนบอกวิธีการปฏบิ ัตติ นตามมารยาทในการเล่นและชมกฬี าท่ีดีได้ 11. นักเรียนสามารถบอกวิธีการออกกาลังกายและเลนกีฬาอยางสม่าเสมอและนาแนวคิดหลักการ จากการเลนไปพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตของตนดวยความภาคภมู ใิ จได้ 12.นักเรยี นอธบิ ายการปฏิบตั ติ นตามกฎกตกิ และขอตกลงในการเลนตามชนดิ กีฬาท่เี ลือกและ นาแนวคิดท่ีไดไปพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ของตนในสังคม ได้ 13. .นักเรยี นสามารถบอกความแตกตา่ งของจาแนกกลวิธีการรกุ การปองกนั และใชในการเลนกีฬา ทเี่ ลอื กและตดั สนิ ใจเลอื กวธิ ีท่ีเหมาะสมกับทีมไปใชไดตามสถานการณของการเลนได้ 14.นกั เรยี นบอกวิธีการนาเสนอผลการพฒั นาสขุ ภาพของตนเองทีเ่ กิดจากการออกกาลงั กายและ การเลนกีฬาเปนประจาได้ 15.นกั เรยี นอธบิ ายความสาคัญของการกาหนดรายการอาหารทีเ่ หมาะสมกับวัยตาง ๆ โดยท่คี านงึ ถงึ ความประหยดั และคุณคาทางโภชนาการได้ 16.นกั เรยี นสามรถอธิบายแนวทางปองกันโรคทีเ่ ปนสาเหตุสาคัญของการเจ็บปวยและการตายของ คนไทยได้ 17.นกั เรยี นอธบิ ายวิธกี ารรวบรวมขอมูลและเสนอแนวทาง แกไขปญหาสขุ ภาพในชุมชน 18.นักเรยี นอธิบายหลกั การวางแผนและจัดเวลาในการออกกาลงั กายการพกั ผอนและการ สรางเสริมสมรรถภาพทางกายได้ 19.นกั เรียนสามารถอธบิ ายองคป์ ระกอบของสมรรถภาพทางกายและพัฒนาได้ตามความ แตกต่างระหว่างบคุ คลได้ 20.นกั เรยี นอธิบายปจั จยั เสีย่ ง พฤติกรรมเสีย่ งทมี่ ผี ลตอ่ สุขภาพจากมลพษิ ตา่ ง ๆและแนวทาง ป้องกัน ได้ 21.นกั เรียนอธบิ ายความหมายและพฤตกิ รรมเสี่ยงตอ่ การใช้ความรนุ แรงในสังคมไทย 22.นักเรยี นสามารถระบสุ ื่อท่ีมอี ิทธพิ ลต่อพฤตกิ รรมสุขภาพและความรุนแรง 23.นกั เรยี นอธบิ ายลกั ษณะอาการของผทู้ ่ีดื่มเครื่องดื่มท่ีมแี อลกอฮอล์ตอสขุ ภาพและการเกดิ อุบตั เิ หตุ 24. .นักเรยี นอธบิ ายวตั ถปุ ระสงค์ในการกูช้ ีวติ หรือการชว่ ยฟน้ื คืนชีพได้ 2.2 ทักษะ (P) 1.นกั เรียนสามารถอภปิ รายการเปรยี บเทยี บการเปลีย่ นแปลงทางด้านร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม และสติปญั ญา แตล่ ะชว่ งของชวี ติ ได้ 2.นักเรยี นวิเคราะห์สาเหตขุ องปญั หาและความคาดหวังของสังคมท่มี ีต่อวยั รนุ่ เพอ่ื ป้องกนั ปัญหาได้ 3.นกั เรยี นมีการวิเคราะห์ผลดี ผลเสียของโฆษณาทีม่ ีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวยั รุ่น 4.นักเรยี นวิเคราะหอ์ นามัยแม่ และเดก็ การวางแผนครอบครวั และวิธีการปฏบิ ัติตนที่เหมาะสม ได้

4 5.นกั เรยี นวเิ คราะหค์ วามสาคญั ของการวางแผนครอบครัวในด้านตา่ ง ๆ ได้ 6.นกั เรยี นวเิ คราะหส์ าเหตุ และแนวทางป้องกัน แก้ไขความขดั แยง้ ใน ครอบครัว สาเหตุความ ขัดแยง้ ในครอบครัว แนวทางปอ้ งกนั แกไ้ ขความขดั แย้งใน ครอบครัว ได้ 7.นักเรียนเลนกีฬาไทยและกฬี าสากลไดอยางละ ๑ ชนดิ โดยใชเทคนคิ ทเี่ หมาะสมกับตนเองและทีมได้ 8.นักเรียนปฏิบตั ิตามหลักการความรูและทกั ษะในการเคลอ่ื นไหว กิจกรรมทางกายการเลนกม และการ เลนกฬี าไปใชสรางเสรมิ สุขภาพอยางตอเนือ่ งเปนระบบ 9.นักเรยี นสามารถปฏบิ ตั กิ ิจกรรมนนั ทนาการทม่ี ีประโยชนแ์ ละหลักความรูวิธีการไปขยายผล การเรยี นรูใหกับผูอนื่ 10.นักเรียนแสดงมารยาทของผูเ้ ลน่ ทีด่ ี 11.นักเรียนออกกาลงั กายและเลนกีฬาอยางสมา่ เสมอและนาแนวคิดหลักการจากการเลนไป พฒั นาคณุ ภาพชีวิตของตนดวยความภาคภมู ใิ จได้ 12.นกั เรยี นสามารถ ปฏบิ ัตติ นตามกฎกตกิ และขอตกลงในการเลนตามชนดิ กีฬาท่เี ลือกและนาแนว คดิ ท่ีไดไปพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต ของตนในสงั คม ได้ 13.นกั เรยี นสามารถปฏิบัติตามการจาแนกกลวธิ ีการรุก การปองกนั และใชในการเลนกีฬาท่เี ลือก และตดั สนิ ใจเลอื กวธิ ีทีเ่ หมาะสมกบั ทมี ไปใชไดตามสถานการณของการเลนได้ 14.นักเรียนระบุผลการพฒั นาสขุ ภาพของตนเองทีเ่ กดิ จากการออกกาลังกายและการเลนกีฬา เปนประจาได้ 15.นักเรียนกาหนดปรมิ าณอาหารท่เี หมาะสม และสัดสว่ นของอาหารตามหลักโภชนาการ 16.นักเรยี นเขียนสรปุ แนวทางป้องกนั ขอ้ มลู โรคติดตอ่ ที่เป็นสาเหตุสาคัญของการเจ็บปว่ ยและ การตายของคนไทยได้ 17.นักเรียนเสนอกจิ กรรมหรือโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน 18.นักเรียนทดสอบสมรรถภาพทางกายแบบต่าง ๆ หลงั จากปฏิบัติตามแผนท่วี างไว้ 19.นกั เรยี นทดสอบสมรรถภาพทางกายดว้ ยการวัดค่าดัชนีมวลกายได้ 20.นกั เรยี นเสนอแนวทางการป้องกนั ความเส่ียงต่อสขุ ภาพจากมลพษิ ต่าง ๆและแนวทางปอ้ งกัน 21.นกั เรยี นสามารถยกตวั อย่างสถานการณค์ วามรุนแรงที่เกิดขนึ้ ในสงั คมไทย 22.นักเรยี นวิเคราะห์สาเหตุ และผลทเ่ี กดิ ขึน้ จากการใช้ส่อื ทไ่ี ม่เหมาะสม 23.นักเรียนวิเคราะหค์ วามสัมพันธ์ของการดม่ื เครอื่ งดม่ื ที่มีแอลกอฮอล์ต่อสขุ ภาพตอสขุ ภาพและ การเกดิ อบุ ตั ิเหตุ 24.นกั เรียนสามารถแสดงวิธีการช่วยฟื้นคนื ชีพอยา่ งถกู วิธไี ด้ 2.3 ทัศนคติ (A) 1.นักเรียนตระหนักถงึ ความสาคญั ของการเปล่ียนแปลงทางดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์สังคม และสติปัญญา แตล่ ะช่วงของชีวติ 2.นกั เรยี นตระหนักถงึ อิทธพิ ลและความคาดหวังของสังคมต่อการเปล่ยี นแปลงของวยั ร่นุ 3.นกั เรยี นตระหนักถึงสือ่ โฆษณาทม่ี ีอทิ ธพิ ลต่อการเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของวัยรุน่ 4.นักเรยี นมคี วามเข้าใจวิธีการดแู ลอนามัยแม่ และเดก็ การวางแผนครอบครัว และวธิ ีการปฏิบตั ติ น ท่ีเหมาะสม

5 5.นกั เรยี นตระหนักถึงความสาคญั ของการวางแผนครอบครัวเพ่ือปรบั ใช้ในชวี ิตประจาวัน 6.นักเรยี นให้ความสาคัญกับสาเหตุ และแนวทางปอ้ งกนั แกไ้ ขความขัดแยง้ ใน ครอบครวั สาเหตุความขดั แย้งในครอบครวั แนวทางปอ้ งกัน แก้ไขความขดั แย้งใน ครอบครวั 7.นกั เรยี นเข้าใจถงึ ความแตกต่างและความเหมาะสมของการเลนกิฬาไทยและกีฬาสากลที่ เหมาะสมกับตนเองและทีม 8.นกั เรยี นมีเข้าใจหลักการ ความรูและทักษะในการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกายการเลนกม และการ เลนกฬี าไปใชสรางเสรมิ สุขภาพอยางตอเน่ืองเปนระบบ 9.นักเรียนรับรู้ถึงประโยชน์จากการปฏิบัติกิจกรรมนันทนาการและนาหลักความรู วิธีการไปขยายผล การเรยี นรูใหกับผูอนื่ 10.นักเรยี นเล็งเหน็ ความสาคญั ของการปฏบิ ตั ิตนตามมารยาทในการเลน่ และชมกีฬาทดี่ ี 11.เห็นความสาคญั และประโยชน์จากการออกกาลังกายหรือการเล่นกีฬานาแนวคิดหลักการจากการ เลนไปพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของตนดวยความภาคภูมใิ จ 12.นักเรียนมองเห็นความสาคัญของการ ปฏิบัติตนตามกฎกติกและขอตกลงในการเลนตามชนิดกีฬา ทเี่ ลอื กและนาแนวคิดที่ไดไปพัฒนาคุณภาพชีวิต ของตนในสังคม ได้ 13.นักเรยี นเขา้ ใจถึงความแตกตา่ งและความเหมาะสมของการจาแนกกลวิธีการรุก การปองกันและใช ในการเลนกฬี าที่เลือกและตดั สินใจเลอื กวธิ ที เี่ หมาะสมกบั ทีมไปใชไดตามสถานการณของการเลนได้ 14.นักเรียนเล็งเห็นความสาคัญและประโยชน์จากการนาเสนอผลการพัฒนาสุขภาพของตนเองท่ีเกิด จากการออกกาลงั กายและการเลนกีฬาเปนประจาได้ 15.นกั เรียนเหน็ ความสาคญั ของการรบั ประทานอาหารให้ได้สัดส่วนทเ่ี หมาะสม 16.นักเรียนเห็นความสาคญั ของการป้องกนั โรคตดิ ตอ่ ทเ่ี ปน็ สาเหตสุ าคัญของการเจ็บป่วยและการตาย ของคนไทย 17.นักเรยี นเหน็ ความสาคัญของการแก้ไขปัญหาสุขภาพในชมุ ชนตามหลักการทางสาธารณสุข 18.นกั เรยี นเห็นความสาคัญของการพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพอ่ื สุขภาพ 19.นักเรยี นเข้าใจถงึ การทดสอบสมรรถภาพทางกายและพัฒนาความแตกต่างระหวา่ งบุคคลได้ 20. .นักเรียนเห็นความสาคัญของการป้องกันความเส่ียงต่อสุขภาพจากมลพิษต่าง ๆและแนวทาง ปอ้ งกนั 21.นักเรยี นเข้าใจถึงสถานการณ์ความรุนแรงที่เกิดขน้ึ ในสังคมไทย 22.นักเรียนเข้าใจถงึ อันตรายจากการใช้สอื่ ทีไ่ มเ่ หมาะสม 23.นักเรียนเลง็ เห็นถงึ อนั ตรายจากการด่ืมเคร่อื งดื่มท่มี ีแอลกอฮอลต์ อสุขภาพและการเกิดอุบัติเหตุ 24.นกั เรยี นเขา้ ใจถงึ วัตถุประสงคใ์ นการกูช้ วี ิตหรือการช่วยฟนื้ คนื ชพี อย่างถกู ต้อง สาระสาคัญ การช่วยฟน้ื คืนชพี (Cardiopulmonary Resuscitation = CPR) การช่วยชวี ิตเบอื้ งต้นกอ่ นส่งต่อให้แพทย์ในกรณีผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น โดยการนวดหัวใจและ ผายปอดไปพร้อม ๆ กัน

6 การดูแลเบ้อื งต้น (First Care) การใหก้ ารดแู ลสขุ ภาพผปู้ ว่ ยในระยะพักฟื้นและ / หรอื การปฐมพยาบาล ความเสี่ยงต่อสขุ ภาพ (Health Risk) การประพฤติปฏิบัติท่ีอาจนาไปสู่การเกิดอันตรายต่อชีวิตและสุขภาพของตนเองและผู้อ่ืน เชน่ การขับรถเร็ว การกินอาหารสุก ๆ ดบิ ๆ ความสาส่อนทางเพศ การมนี า้ หนักตวั เกิน การขาดการออกกาลังกาย การสบู บุหร่ี การดมื่ สุรา การใช้ยาและสารเสพติด สมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness) ความสามารถของระบบต่าง ๆ ของร่างกาย ในการทางานอย่างมีประสิทธิภาพและ ประสทิ ธิผล บุคคลที่มสี มรรถภาพทางกายดีน้นั จะสามารถประกอบกิจกรรมในชีวิตประจาวันได้อย่าง กระฉับกระเฉง โดยไม่เหน่ือยล้าจนเกินไปและยังมีพลังงานสารองมากพอ สาหรับกิจกรรม นันทนาการหรือกรณีฉุกเฉิน ในปัจจุบันนักวิชาชีพด้านสุขศึกษาและพลศึกษาได้เห็นพ้องต้องกันว่า สมรรถภาพทางกายสามารถจัดกลุ่มได้เป็นสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ (Health – Related Physical Fitness) และหรือสมรรถภาพกลไก (Motor Fitness) สมรรถภาพเชิงทักษะปฏิบัติ (Skill – Related Physical Fitness) กิจกรรมนนั ทนาการ (Recreation Activities) กิจกรรมที่บุคคลได้เลือกทาหรือเข้าร่วมด้วยความสมัครใจในเวลาว่าง และผลที่ได้รับเป็น ความพึงพอใจ ไม่เปน็ ภัยตอ่ สงั คม สาระการเรยี นรู้ การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา แต่ละช่วงวัย อิทธิพลและ ความหวงั ของสังคมตอ่ การเปลีย่ นแปลงของวัยร่นุ สอื่ โฆษณาทม่ี อี ิทธพิ ลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของ วยั รุ่น อนามยั การเจริญพันธ์ุ ความขัดแยง้ ในครอบครวั อาหารหลกั 5 หมู่ การับประทานอาหารให้ได้สัดส่วนที่ เหมาะสม การกาหนดรายการอาหารท่ีเหมาะสมกับวัย โรคที่เป็นสาเหตุสาคัญของการเจ็บป่วยและการตาย ของคนไทย แนวทางแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน การทดสอบสมรรถภาพทางกายภาพแบบต่างๆ การวางแผน และจัดเวลาในการออกกาลังกาย การพักผ่อนและการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายเพ่ือสุขภาพ การพัฒนา สมรรถภาพทางกายภาพเพอ่ื สุขภาพ

7 คาอธิบายรายวชิ า ศกึ ษาการเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการในแต่ละช่วงวยั ชีวติ และครอบครวั การกาหนดรายการอาหาร ที่เหมาะสมกับวัย การป้องกันโรคและการแก้ไขปญั หาสขุ ภาพในชุมชน การทดสอบสมรรถภาพทางกายปจั จยั เสีย่ ง พฤตกิ รรมเสย่ี ง และแนวทางป้องกันความเสี่ยงต่อสุขภาพ ความรนุ แรง อทิ ธิพลของส่อื ต่อพฤติกรรม สุขภาพและความรุนแรง เคร่ืองด่ืมท่ีมแี อลกอฮอลก์ บั สุขภาพและการเกิดอุบัติเหตุ และการชว่ ยฟนื้ คืนชพี โดยใหผ้ ูเ้ รียนเขา้ กลุ่ม เพ่ือศึกษาความรเู้ พม่ิ เติม เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ นาข้อมลู มาใชว้ เิ คราะห์ อย่างมเี หตผุ ล ออกแบบหรือสร้างทางเลอื กทจี่ ะนาไปสู่การทาให้ดีข้ึนกว่าเดิม โดยเนน้ การลงมอื ทาจริงจนเกิด เป็นความรู้ทเี่ กิดอยู่ในตัวผู้เรยี น ให้ผเู้ รียนได้แสดงออก เพื่อผลในการเจริญงอกงามก้าวหน้าขึน้ และสามารถนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวันได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ เห็นคุณค่าและความสาคญั ของการดแู ลสขุ ภาพ เพื่อนาไปเปน็ แนวทางการปฏิบัติตนในชวี ติ ประจาวนั เพอื่ ใชใ้ นการดแู ล รักษา และสร้างเสริมสุขภาพของตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน และสังคมในชวี ติ ประจาวัน รหัสตัวช้วี ัด พ 1.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3 พ 2.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3 พ 4.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5 พ 5.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5 รวมท้ังหมด 16 ตัวชีว้ ัด

8 โครงสรา้ งรายวชิ า รายวิชา สขุ ศึกษา รหัสวชิ า พ23101 กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี3 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 จานวน 20 ชว่ั โมง/0.5 หน่วยกิต หนว่ ยที่ ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู/้ เวลา(ชว่ั โมง) 1 ตวั ชว้ี ัด 5 1.1 การเจริญเติบโตและพฒั นาการในแต่ 1 ละช่วงวัย พ 1.1 ม.3/1, ม.3/2, 1.2 การเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกาย ม.3/3 1 จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา 1.3 (1) พ 2.1 ม.3/1, ม.3/2, 1 การเปลยี่ นแปลงทางดา้ นร่างกาย ม.3/3 1.4 จติ ใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญา 1 1.5 (2) พ 4.1 ม.3/1 1 2 การเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกาย 3 2.1 จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และสติปัญญา พ 4.1 ม.3/2, ม.3/3 1 2.2 (3) 1 2.3 อิทธิพลและความคาดหวังของสังคม 1 3 ต่อการเปล่ยี นแปลงของวัยรนุ่ 2 3.1 สื่ อ โ ฆ ษ ณ า ท่ี มี อิ ท ธิ พ ล ต่ อ ก า ร 1 3.2 เจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรนุ่ 1 4 ชวี ิตและครอบครวั 5 4.1 อนามัยแม่และเด็ก 1 การวางแผนครอบครัว ความขัดแย้งในครอบครวั ก า ร ก า ห น ด ร า ย ก า ร อ า ห า ร ท่ี เหมาะสมกบั วัย อาหารหลัก 5 หมู่และการรับประทาน อาหารใหไ้ ดส้ ดั ส่วนที่เหมาะสม การกาหนดรายการอาหารที่เหมาะสม กบั วัย การป้องกันโรคและการแก้ไขปัญหา สุขภาพในชมุ ชน โรคติดต่อท่ีเป็นสาเหตุการเจ็บป่วย และการตายของคนไทย

หน่วยที่ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นร้/ู 9 ตัวชีว้ ัด 4.2 โรคไม่ติดต่อที่เป็นสาเหตุการเจ็บป่วย เวลา(ช่ัวโมง) และการตายของคนไทย พ 4.1 ม.3/2, ม.3/3 4.3 โ รคท่ีเ ป็นสาเห ตุสาคัญของกา ร 1 เจ็บป่วยและการตายของคนไทย พ 4.1 ม.3/4, ม.3/5 4.4 ปัญหาสุขภาพในชมุ ชน 1 4.5 แนวทางแกไ้ ขปญั หาสขุ ภาพในชมุ ชน 5 การทดสอบสมรรถภาพทางกาย 1 5.1 การทดสอบสมรรถภาพทางกายแบบ 1 ตา่ ง ๆ 3 5.2 การวางแผนและจัดเวลาในการออก 1 กาลังกาย 5.3 การพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อ 1 สขุ ภาพ 1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 1 1 รวม 20

10 โครงสร้างรายวชิ า รายวชิ า สขุ ศึกษา รหัสวชิ า พ23101 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี3 ภาคเรียนที2่ ปีการศกึ ษา 2564 จานวน 20 ช่ัวโมง/0.5 หนว่ ยกติ หน่วยที่ ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/ เวลา(ชว่ั โมง) 6 ตัวชวี้ ดั 7 6.1 ปัจจยั เสี่ยง พฤตกิ รรมเสยี่ ง และ 1 6.2 แนวทางการป้องกนั ความเสี่ยงตอ่ พ 5.1 ม.3/1 1 6.3 สุขภาพ 1 6.4 ปัจจัยเส่ียง พฤติกรรมเส่ียง และ 1 6.5 แนวทางการป้องกันความเสี่ยงจาก 1 6.6 มลพษิ ต่าง ๆ 1 6.7 ปัจจัยเสย่ี ง พฤตกิ รรมเส่ียงและแนว 1 7 ทางการป้องกนั ความเส่ยี งจากสภาพ 3 ถนนและการจราจร ปัจจัยเสยี่ ง พฤติกรรมเสย่ี งและแนว ทางการป้องกันความเสีย่ งจากสารเสพ ตดิ ปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเส่ียงและแนว ทางการป้องกันความเสี่ยงจากภัย ธรรมชาติ ปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงและแนว ทางการป้องกันความเสี่ยงจากโจร ผรู้ ้าย ปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเส่ียงและแนว ทางการป้องกันความเสี่ยงจากพิษภัย ในอาหาร ปัจจัยเส่ียง พฤติกรรมเสี่ยงและแนว ทางการป้องกันความเส่ียงจากเครื่อง เลน่ ในสวนสนุก ความรนุ แรง 7.1 ความหมายและพฤติกรรมเส่ียงต่อการ พ 5.1 ม.3/2 1 ใชค้ วามรนุ แรง 1 7.2 ปัญหาและผลกระทบจากการใช้ความ รนุ แรง

หน่วยท่ี ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนร/ู้ 11 7.3 ตัวช้วี ดั 8 การชักชวนเพ่ือนให้หลีกเลี่ยงการใช้ เวลา(ช่ัวโมง) 8.1 ความรนุ แรงในการแกป้ ญั หา พ 5.1 ม.3/2 8.2 อทิ ธพิ ลของสอ่ื ต่อพฤติกรรม 1 8.3 สุขภาพและความรนุ แรง พ 5.1 ม.3/3 9 ส่ือที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสุขภาพ 3 9.1 และความรนุ แรง (1) พ 5.1 ม.3/4 9.2 สื่อที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสุขภาพ 1 10 และความรนุ แรง (2) อิทธิพลของส่ือท่ีมีผลต่อพฤติกรรม 1 สขุ ภาพและความรุนแรง เครื่องดื่มท่มี แี อลกอฮอล์ 1 กับสขุ ภาพและการเกดิ อุบตั ิเหตุ เคร่ืองด่ืมที่มีแอลกอฮอล์กับสุขภาพ 2 และการเกิดอบุ ตั ิเหตุ (1) เคร่ืองด่ืมทม่ี ีแอลกอฮอล์กับสุขภาพ 1 และการเกดิ อุบัติเหตุ (2) การช่วยฟ้ืนคนื ชีพ 1 10.1 ความรูเ้ บอื้ งตน้ เกยี่ วกบั การช่วยชวี ติ 3 10.2 การชว่ ยฟน้ื คืนชพี (1) พ 5.1 ม.3/5 1 1 10.3 การชว่ ยฟื้นคืนชพี (2) 1 1 สอบกลางภาค 1 20 สอบปลายภาค รวม

12 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการ ในแตล่ ะวัย

13 แผนการจดั การเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา รายวชิ า สุขศึกษา ปีการศกึ ษา 2564 ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรียน 5 ชัว่ โมง หนว่ ยที่ 1 การเจริญเติบโตและพฒั นาการในแตล่ ะชว่ งวัย 1.มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวชวี้ ดั มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน มาตรฐาน พ 1.1 เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนุษย์ ตวั ช้วี ัด พ 1.1 ม.3/1 เปรียบเทียบการเปลย่ี นแปลงทางดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม และสติปญั ญาแตล่ ะชว่ งของชวี ิต พ 1.1 ม.3/2 วเิ คราะหอ์ ิทธิพลและความคาดหวังของสังคมต่อการเปล่ยี นแปลงของวยั รุ่น พ 1.1 ม.3/3 วิเคราะหส์ ่ือโฆษณา ที่มีอิทธิพลต่อการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของ วยั ร่นุ 2.จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2.1 ความรู้(k) 1.นักเรียนสามารถเปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม และสติปญั ญา แต่ละชว่ งของชวี ิตได้ 2.นักเรียนสามารถอธิบายอิทธิพลและความคาดหวังของสังคมต่อการเปล่ียนแปลง ของวยั รนุ่ ได้ 3.นักเรยี นบอกเก่ียวกับส่อื โฆษณาที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของ วัยรุ่นได้ 2.2 ทกั ษะ(P) 1.นักเรียนสามารถอภิปรายการเปรียบเทยี บการเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม และสตปิ ญั ญา แต่ละชว่ งของชีวติ ได้ 2.นักเรียนวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาและความคาดหวังของสังคมท่ีมีต่อวัยรุ่นเพ่ือ ป้องกนั ปญั หาได้ 3.นักเรียนมีการวิเคราะห์ผลดี ผลเสียของโฆษณาที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและ พฒั นาการของวยั รนุ่ 2.3 ทัศนคต(ิ A) 1.นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญของการเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์สงั คม และสติปัญญา แต่ละช่วงของชีวิต 2.นักเรียนตระหนักถึงอิทธิพลและความคาดหวังของสังคมต่อการเปลี่ยนแปลงของ วยั ร่นุ 3.นักเรียนตระหนักถึงส่ือโฆษณาที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของ วยั รุ่น

14 3.สาระสาคัญ การเปรียบเทยี บการเปลีย่ นแปลงทางดา้ นร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ญั ญาในแต่ละช่วง ของชีวิตจะทาให้เข้าใจพัฒนาการในแตล่ ะดา้ นของชว่ งวยั สงั คมมีอทิ ธพิ ลต่อการเปลย่ี นแปลงของ วยั รุ่น และคาดหวงั วา่ วัยรุน่ จะมีพฤติกรรมทถี่ ูกต้องเหมาะสม เพอื่ เปน็ ผใู้ หญ่ทดี่ ใี นอนาคต มคี วาม ฉลาดในการเลือกบรโิ ภคสื่อโฆษณาที่จะสนบั สนนุ การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการท่ีดขี องวยั รุ่น 4.สาระการเรียนรู้ 1. การเปล่ียนแปลงดา้ นร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และสติปัญญาแตล่ ะชว่ งของชีวิต วยั ทารก วัยกอ่ นเรยี น วยั เรยี น วัยรุ่น วยั ผใู้ หญ่ 2. อิทธิพลและความคาดหวงั ของสงั คมท่ีมตี ่อการเปล่ียนแปลงของวยั รุน่ 3. สอื่ โฆษณา ท่ีมอี ิทธิพลต่อการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของวยั รุน่ ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด ทักษะการอ่าน ทักษะการวเิ คราะห์ ทกั ษะการประเมิน ทักษะการเปรยี บเทียบ ทักษะการนาความรู้ไปใช้ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสนา กษตั ริย์ ซอ่ื สัตยส์ จุ ริต มวี นิ ัย ใฝ่เรียนรู้ อยูอ่ ย่างพอเพียง มุง่ ม่นั ในการทางาน รักความเป็นไทย มจี ิตสาธารณะ 5.สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น ( เฉพาะทเ่ี กิดในหน่วยการเรียนรูน้ ี้ ) ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต ความสารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. ทกั ษะของผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21 (3R 8C + 2L) (จุดเน้นสูก่ ารเรยี นรู้คุณภาพผเู้ รียน) ทักษะการอ่าน (Reading) ทกั ษะการเขียน (Writing) ทกั ษะการคิดคานวณ (Arithmetic) ทกั ษะดา้ นการคิดอยา่ งมวี จิ ารญาณและทักษะในการแก้ปัญหา (Critical thinking and problem solving)

15 ทกั ษะด้านการสรา้ งสรรคแ์ ละนวัตกรรม (Creativity and innovation) ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การทางานเปน็ ทีม และภาวะผู้นา (Collaboration ,teamwork and leadership) ทักษะด้านความเข้าใจตา่ งวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding) ทกั ษะดา้ น การส่ือสาร สารสนเทศ และรเู้ ท่าทันสอ่ื (Communication information and media literacy) ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (Computing) ทกั ษะอาชีพและทักษะการเรยี นรู้ (Career and and learning self-reliance, change) ทักษะการเปลี่ยนแปลง (Change) ทักษะการเรยี นรู้ (Learning Skills) ภาวะผูน้ า(Leadeship) 7.ชน้ิ งานหรือภาระงาน (หลักฐาน/ร่องรอยแสดงความรู้) 1. ชิ้นงานท่ี 1 เรือ่ ง การเปลยี่ นแปลงด้านตา่ ง ๆ ในแต่ละช่วงของชีวิต 2. ชิน้ งานที่ 2 เรือ่ ง อทิ ธิพลและความคาดหวังของสงั คมต่อการเปลยี่ นแปลง ของวยั รุน่ 3. ชิ้นงานท่ี 3 เรื่อง สื่อโฆษณาท่ีมีอิทธิพลตอ่ การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการ ของวยั รุ่น 4. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพ้นื ฐาน สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ของสถาบนั พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) 5. ภาพช่วงวัยตา่ ง ๆ 6. สลากหมายเลข 1-4 7. ภาพเหตุการณ์ต่าง ๆ 8. ข่าวเกี่ยวกับอิทธิพลท่ีมตี ่อการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของวัยรุน่ 9. ข้อความวัคซนี ใจ ป้องกันภยั ท้องวัยทีน 10. ข่าวเรอื่ ง อย. เตือนอย่าเช่ือโฆษณาชวนเช่อื 11. แหล่งการเรยี นร้ทู ั้งภายในและภายนอกโรงเรยี น 8.การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ รปู แบบการจัดการเรยี นการสอน :กระบวนการเรียนรแู้ บบ GPAS 5 Steps หน่วยย่อยท่ี1 เรือ่ ง การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการในแตล่ ะวัย (ช่ัวโมงท่ี1- 3 ) ขั้นที่ 1 Gathering (ขนั้ สงั เกต รวบรวมขอ้ มลู ) 1. นกั เรยี นร่วมกนั สนทนาเกยี่ วกับการเปลยี่ นแปลงของตนเอง โดยตอบคาถาม 2. นักเรียนรว่ มกันสนทนาเกี่ยวกบั สมาชกิ ในครอบครัวของตนเอง โดยตอบคาถาม 3. นักเรียนสังเกตภาพ แล้วร่วมกันเรียงลาดับพัฒนาการทางร่างกาย จากน้ันร่วมกัน สนทนาโดยตอบคาถาม

16 4. นักเรียนศึกษาความรู้และรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ญั ญาของแต่ละช่วงของชีวิต จากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เชน่ หนังสือเรียน อินเทอรเ์ นต็ ขน้ั ที่ 2 Processing (ขน้ั คิดวเิ คราะห์และสรุปความร)ู้ 5. นักเรียนจับคู่กับเพื่อน จากน้ันสารวจการเปลี่ยนแปลงทางด้านต่าง ๆ ของตนเอง และเพ่ือน แล้วร่วมกันวิเคราะห์ความเหมือนหรือความแตกต่างระหว่างตนเองกับ เพ่ือน 6. นกั เรยี นสารวจช่วงวัยของสมาชิกในครอบครวั ของตนเอง จากน้ันวิเคราะห์ลกั ษณะ การเปลยี่ นแปลงทางด้านต่าง ๆ ของสมาชิกในครอบครวั ลงในแบบสารวจ 7. นักเรียนแบ่งกลุ่ม ตามช่วงวัยที่กาหนดให้ จากน้ันแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์การ เปลยี่ นแปลงในแตล่ ะดา้ น 8. นักเรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ โดยตอบคาถามกระตุน้ ความคิด ดงั น้ี ∙ นกั เรยี นอยูใ่ นชว่ งวยั ใด และมีลกั ษณะใดท่ีบง่ บอกวา่ อย่ใู นช่วงวยั นนั้ ∙ ถา้ นกั เรยี นมีอายมุ ากข้ึน นักเรียนจะอยู่ในช่วยวยั ใด และมีการเปลี่ยนแปลง อย่างไร ∙ นกั เรียนจะดแู ลตนเองอยา่ งไรใหเ้ หมาะกบั การเปน็ วัยร่นุ ข้ันท่ี 3 Applying and Constructing the Knowledge (ขั้นปฏิบัติและสรปุ ความรหู้ ลงั การปฏบิ ตั ิ) 9. นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม แต่ละกลุ่มร่วมกันเปรยี บเทยี บความแตกต่างในด้านต่าง ๆ ของแต่ ละช่วงชีวติ โดยเขยี นเปน็ แผนภาพความคดิ 10. นักเรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกันจดั ทาแบบสารวจ การเปล่ียนแปลงทางด้านต่าง ๆ แลว้ รว่ มกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง 11. นักเรียนแต่ละกลุ่มจับสลากเลือกหัวข้อ การเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ จากน้ันแต่ละ กลุ่มร่วมกนั อภิปราย และเปรียบเทียบ การเปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงวัย สรุปข้อมูล เป็นตาราง ลงในชิน้ งานท่ี 1 เรือ่ ง การเปลย่ี นแปลงด้านตา่ ง ๆ ในแตล่ ะชว่ งของชวี ติ 12. นักเรียนร่วมกันสรุปส่ิงที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังน้ี การเปรียบเทียบการ เปล่ียนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา แต่ละช่วงของ ชวี ิตจะทาใหเ้ ขา้ ใจพฒั นาการในแต่ละด้านของช่วงวัย ขัน้ ที่ 4 Applying the Communication Skill (ขั้นสอ่ื สารและนาเสนอ) 13. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอแผนภาพความคิด เกี่ยวกับการเปรียบเทียบความ แตกต่างในด้านตา่ ง ๆ ของแต่ละช่วงชวี ิตตามกลุ่มตนเอง 14. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอแบบสารวจที่กลุ่มของตนเอง ร่วมกันออกแบบ และ เพอ่ื น ๆ กลุม่ อน่ื ร่วมกนั เสนอแนะเพิ่มเติม 15. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอตารางการเปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงในแต่ละช่วงวัย หนา้ ช้ันเรยี น 16. นักเรียนรว่ มกนั อภปิ รายสรุปเกี่ยวกับวิธีการทางานใหเ้ ห็นการคดิ เชงิ ระบบและ วิธกี าร ทางานท่มี แี บบแผน

17 ขั้นที่ 5 Self-Regulating (ขนั้ ประเมนิ เพือ่ เพม่ิ คณุ คา่ บริการสังคมและจิตสาธารณะ) 17. นักเรยี นแต่ละกลมุ่ นาแบบสารวจของกลุ่มตนเองไปสารวจการเปลี่ยนแปลงทางด้าน ต่าง ๆนกั เรยี นในโรงเรยี นและสรุปขอ้ มูลทไ่ี ด้ 18. นักเรียนนาความรู้ท่ีได้รับเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านต่าง ๆ ไปเล่าให้สมาชิก ในครอบครัวฟัง เพอื่ แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ 19. นักเรียนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู้สึกหลังการเรียนและหลังการทา กจิ กรรมในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี • สงิ่ ท่นี ักเรยี นได้เรยี นรู้ในวันน้คี ืออะไร • นกั เรยี นมีสว่ นร่วมกิจกรรมในกลมุ่ มากนอ้ ยเพยี งใด • เพื่อนนักเรยี นในกล่มุ มีส่วนรว่ มกจิ กรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด • นกั เรยี นพึงพอใจกับการเรียนในวันน้ีหรอื ไม่ เพยี งใด • นักเรยี นจะนาความรทู้ ่ีไดน้ ีไ้ ปใชใ้ ห้เกิดประโยชนแ์ ก่ตนเอง ครอบครวั และสังคมทั่วไปได้อย่างไร จากนน้ั แลกเปลย่ี นตรวจสอบขั้นตอนการทางานทกุ ขนั้ ตอนวา่ จะเพิ่มคุณคา่ ไปสสู่ งั คม เกดิ ประโยชนต์ ่อสงั คมใหม้ ากข้นึ กวา่ เดิมในขั้นตอนใดบ้าง สาหรบั การทางานในครงั้ ต่อไป หนว่ ยยอ่ ยที่ 2 เรื่อง อิทธพิ ลและความคาดหวงั ของสงั คมตอ่ การเปล่ียนแปลงของวัยรุน่ (1 ชวั่ โมง) ขน้ั ท่ี 1 Gathering (ข้นั สังเกต รวบรวมข้อมลู ) 1. นักเรยี นสงั เกตภาพเหตุการณ์ตา่ ง ๆ จากน้นั รว่ มกนั สนทนา โดยตอบคาถาม 2. นักเรียนศึกษาความรู้และรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับอิทธิพลและความคาดหวังของสังคมต่อ การเปล่ียนแปลงของวัยรุน่ จากแหล่งการเรียนรู้ตา่ ง ๆ เช่น หนังสอื เรียน อนิ เทอรเ์ น็ต ข้ันที่ 2 Processing (ขน้ั คิดวเิ คราะหแ์ ละสรุปความร)ู้ 3. นักเรียนรว่ มกันอ่านขา่ วเกย่ี วกับอทิ ธพิ ลที่มผี ลตอ่ การเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมของวยั รนุ่ แล้วรว่ มกนั วเิ คราะหแ์ ละแสดงความคิดเหน็ โดยตอบคาถาม 4. นักเรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ โดยตอบคาถามกระตนุ้ ความคิด ดังนี้ ∙ การเปลี่ยนแปลงของวยั รุ่นมีสาเหตุจากส่งิ ใดบา้ ง ขั้นที่ 3 Applying and Constructing the Knowledge (ข้นั ปฏบิ ัติและสรปุ ความรหู้ ลัง การปฏิบตั )ิ 5. นักเรียนอ่านข้อความที่กาหนด จากนั้นวิเคราะห์ปัญหาจากข้อความสาเหตุของ ปัญหา และความคาดหวังของสังคมท่ีมีต่อวัยรุ่น เพ่ือป้องกันปัญหาดังกล่าวลงใน ชิน้ งานที่ 2 เรือ่ ง อทิ ธิพลและความคาดหวังของสงั คมต่อการเปลยี่ นแปลงของวัยรุ่น 6. นักเรยี นร่วมกนั สรปุ ส่งิ ทีเ่ ขา้ ใจเป็นความรรู้ ว่ มกนั ดงั นี้ สงั คมมีอทิ ธพิ ลตอ่ การเปล่ียนแปลงของวัยรุ่น และคาดหวังว่าวัยรุ่นจะมีพฤติกรรมท่ี ถกู ตอ้ งเหมาะสมเพ่ือเปน็ ผู้ใหญ่ที่ดีในอนาคต ข้ันท่ี 4 Applying the Communication Skill (ขน้ั สือ่ สารและนาเสนอ) 7. ตวั แทนนักเรยี น 2-3 คน ออกมานาเสนอผลการวิเคราะหป์ ัญหาสาเหตขุ องปญั หา และความคาดหวังของสังคมทมี่ ตี อ่ วยั ร่นุ เพื่อป้องกันปัญหา ทห่ี นา้ ช้นั เรยี น

18 8. นักเรียนรว่ มกนั อภปิ รายสรุปเกีย่ วกับวธิ ีการทางานใหเ้ ห็นการคิดเชงิ ระบบ และวธิ กี ารทางานที่มแี บบแผน ขนั้ ท่ี 5 Self-Regulating (ขน้ั ประเมนิ เพ่อื เพิ่มคณุ คา่ บรกิ ารสังคมและจิตสาธารณะ) 9. นกั เรียนประเมินตนเองหลงั การเรยี น ในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี • สิ่งทีน่ กั เรียนได้เรยี นร้ใู นวันน้คี อื อะไร • นกั เรียนมีส่วนรว่ มในกจิ กรรมการเรยี นร้มู ากนอ้ ยเพียงใด • นกั เรยี นพงึ พอใจกับการเรยี นรใู้ นวันน้หี รอื ไม่ เพียงใด • นกั เรยี นจะนาความรูท้ ไี่ ด้น้ไี ปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสงั คมทัว่ ไปไดอ้ ยา่ งไร จากน้ันแลกเปล่ียนตรวจสอบข้ันตอนการทางานทุกขั้นตอนว่าจะเพ่ิมคุณค่าไปสู่ สงั คมเกดิ ประโยชน์ตอ่ สังคมให้มากขน้ึ กว่าเดิมในขนั้ ตอนใดบ้าง สาหรบั การทางานในคร้งั ต่อไป หนว่ ยยอ่ ยท่ี 3 ส่อื โฆษณาทม่ี อี ิทธิพลต่อการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของวยั รุ่น (1 ช่ัวโมง) ขั้นท่ี 1 Gathering (ขัน้ สังเกต รวบรวมข้อมูล) 1. นักเรียนร่วมกันหาตัวอย่างสื่อต่าง ๆ ท่ีมีอิทธิพลต่อวัยรุ่นในปัจจุบัน แล้วร่วมกัน สนทนาเก่ียวกับขา่ วโฆษณาท่มี าจากสอ่ื ดังกลา่ ว 2. นกั เรียนศกึ ษาความรู้และรวบรวมขอ้ มูลเก่ียวกับส่อื โฆษณาทม่ี ีอทิ ธิพลต่อ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่น จากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น หนังสือ เรียน อนิ เทอร์เนต็ ข้ันที่ 2 Processing (ข้ันคดิ วิเคราะหแ์ ละสรุปความรู)้ 3. นักเรยี นอา่ นขา่ วเรื่อง อย. เตอื นอยา่ เช่อื โฆษณาชวนเชอ่ื จากน้นั ร่วมกันวเิ คราะห์ และแสดงความคิดเห็น โดยตอบคาถาม 4. นักเรียนร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ โดยตอบคาถามกระตุ้นความคิด ดังนี้ ∙ นักเรียนคิดว่าแอปพลิเคชันต่าง ๆ มีอิทธิพลต่อนักเรียนหรือไม่ อย่างไร ขน้ั ที่ 3 Applying and Constructing the Knowledge (ข้นั ปฏิบัตแิ ละสรปุ ความรูห้ ลงั การปฏบิ ตั ิ) 5. นกั เรียนยกตัวอย่างโฆษณาจากสื่อประเภทใดก็ไดท้ ม่ี ีอิทธิพลต่อการเจรญิ เตบิ โต และพัฒนาการของวยั รุ่น มา 1 ตัวอยา่ ง วเิ คราะห์ผลดี ผลเสียของโฆษณานั้น เขียน ข้อมูลเป็นตาราง แล้วตอบคาถามลงในชิ้นงานที่ 3 เรื่อง ส่ือโฆษณาท่ีมีอิทธิพลต่อ การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของวัยรุ่น 6. นกั เรียนรว่ มกนั สรุปสง่ิ ท่เี ข้าใจเปน็ ความรู้รว่ มกัน ดงั น้ี ส่อื และโฆษณาเข้ามามีอิทธพิ ลในการดาเนินชีวิต ดังนั้น วัยรุ่นจึงควรมีการวิเคราะห์ ข้อมูลจากสื่อ และมีความฉลาดในการเลือกบริโภคส่ือโฆษณาท่ีจะสนับสนุนการ เจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการทด่ี ีของตนเอง ข้นั ท่ี 4 Applying the Communication Skill (ขัน้ ส่อื สารและนาเสนอ) 7. นกั เรยี นนาเสนอการวิเคราะห์ผลดี ผลเสียของตัวอย่างสื่อโฆษณาท่ีมีอิทธิพลต่อการ เจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของวยั รุ่นหนา้ ชั้นเรยี น

19 8. นกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายสรุปเกย่ี วกบั วธิ กี ารทางานใหเ้ ห็นการคิดเชิงระบบ และวธิ ีการทางานทม่ี แี บบแผน ขน้ั ท่ี 5 Self-Regulating (ขนั้ ประเมินเพอ่ื เพ่มิ คุณคา่ บรกิ ารสงั คมและจติ สาธารณะ) 9. นกั เรยี นรว่ มกันจดั ปา้ ยนิเทศเก่ียวกับสื่อโฆษณาทม่ี ีอิทธพิ ลต่อการเจริญเตบิ โต และพัฒนาการของวัยรุน่ เพอ่ื เผยแพร่ความรู้ 10. นกั เรียนประเมนิ ตนเองหลังการเรียน ในประเดน็ ต่อไปน้ี • ส่งิ ทนี่ กั เรียนได้เรียนรใู้ นวันน้คี ืออะไร • นักเรยี นมสี ่วนรว่ มในกิจกรรมการเรยี นรู้มากน้อยเพยี งใด • นักเรยี นพึงพอใจกบั การเรยี นรู้ในวนั นีห้ รือไม่ เพียงใด • นกั เรยี นจะนาความร้ทู ่ีไดน้ ้ีไปใช้ให้เกดิ ประโยชนแ์ ก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทัว่ ไปไดอ้ ย่างไร จากน้ันแลกเปล่ียนตรวจสอบขั้นตอนการทางานทุกขั้นตอนว่าจะเพ่ิมคุณค่าไปสู่ สงั คมเกิดประโยชน์ตอ่ สังคมให้มากขน้ึ กวา่ เดิมในขัน้ ตอนใดบา้ ง สาหรบั การทางานในครงั้ ต่อไป 9.การวัดประเมนิ ผล 1. ประเมนิ ความรู้ เรอ่ื ง การเปลยี่ นแปลงทางดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม และสติปญั ญา ในแตล่ ะชว่ งของชวี ิต อทิ ธพิ ลและความคาดหวงั ของสงั คมต่อการเปล่ียนแปลงของวัยรุน่ ส่ือ โฆษณาที่มอี ิทธพิ ลตอ่ การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของวัยรนุ่ (K) ด้วยแบบทดสอบ 2. ประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน 3. ประเมนิ ชน้ิ งาน เรอื่ ง การเปลี่ยนแปลงด้านตา่ ง ๆ ในแต่ละชว่ งของชีวติ (P) ดว้ ยแบบประเมิน 4. ประเมินช้นิ งาน เรอื่ ง อทิ ธิพลและความคาดหวังของสังคมต่อการเปลย่ี นแปลงของวัยรนุ่ (P) ด้วยแบบประเมนิ 5. ประเมินชน้ิ งาน เร่อื ง ส่ือโฆษณาท่มี ีอิทธพิ ลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวยั ร่นุ (P) ดว้ ยแบบประเมิน 6. ประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ด้านใฝเ่ รยี นรู้ ม่งุ มน่ั ในการทางาน (A) ดว้ ยแบบประเมนิ

แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม 20 กลุ่มท่ี............................ คณุ ภาพการปฏบิ ตั ิ สมาชกิ ของกลุ่ม 321 1. 2. 3. 4. 5. 6. ลาดบั ที่ พฤติกรรม 1 มีการวางแผนรว่ มกนั ก่อนทางาน 2 มกี ารแสดงความคดิ เห็นของสมาชกิ 3 มกี ารรับฟังความคิดเห็นของสมาชกิ 4 มกี ารปฏบิ ตั งิ านตามขนั้ ตอนทว่ี างแผนไว้ 5 สามารถใหค้ าแนะนากลมุ่ อ่ืนได้ รวม ลงชื่อ..............................................................................ผู้ประเมิน ......................./.........................../................... เกณฑ์การใหค้ ะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมา่ เสมอให้ 3 คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้ังให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ หรอื น้อยครง้ั ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 12 - 15 ดี 8 - 11 พอใช้ ตา่ กว่า 8 ปรับปรุง

21 แบบประเมิน คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คาชแี้ จง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี √ ลงในช่องท่ีตรงกับระดับคะแนน คณุ ลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อันพึงประสงค์ 4321 ดา้ น 1. รักชาติ 1.1 ยืนตรงเมือ่ ไดย้ ินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ ศาสน์ และอธบิ ายความหมายของ เพลงชาติ กษตั รยิ ์ 1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิและหนา้ ท่ขี องนักเรียน 1.3 ใหค้ วามรว่ มมือ รว่ มใจ ในการทางานกบั สมาชกิ ในชั้นเรียน 1.4 เขา้ ร่วมกิจกรรมท่สี ร้างความสามคั คี ปรองดอง และเปน็ ประโยชน์ต่อโรงเรียนและชุมชน 1.5 เขา้ รว่ มกิจกรรมทางศาสนาท่ตี นนับถือ ปฏบิ ตั ิ ตนตามหลกั ของศาสนา 1.6 เขา้ รว่ มกิจกรรมทเี่ กย่ี วกับสถาบนั พระมหากษัตรยิ ต์ ามท่ีโรงเรียน และชุมชนจดั ขึน้ 2. ซ่อื สัตย์ 2.1 ให้ขอ้ มูลทถ่ี กู ตอ้ ง และเปน็ จริง สจุ รติ 2.2 ปฏบิ ตั ิในสิ่งที่ถกู ต้อง ละอาย และเกรงกลัวท่ี จะทาความผดิ ทาตามสัญญาทีต่ นให้ไวก้ ับเพื่อน พ่อ แมห่ รือผูป้ กครอง และครู 2.3 ปฏบิ ตั ติ ่อผ้อู ื่นด้วยความซอ่ื ตรง 3. มีวินัย 3.1 ปฏบิ ัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ รับผิดชอบ ขอ้ บงั คับของครอบครวั และโรงเรียน มีความ ตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมต่างๆ ในชวี ติ ประจาวัน 4. ใฝเ่ รียนรู้ 4.1 แสวงหาข้อมลู จากแหล่งการเรยี นร้ตู า่ งๆ 4.2 มกี ารจดบันทึกความรู้อยา่ งเปน็ ระบบ 4.3 สรปุ ความรไู้ ด้อย่างมีเหตุผล 5. อยู่อย่าง 5.1 ใชท้ รัพย์สนิ ของตนเอง เชน่ สิ่งของ เครอ่ื งใช้ พอเพยี ง ฯลฯ อยา่ งประหยัด คุม้ ค่า และเกบ็ รักษาดูแลอย่าง ดี และใชเ้ วลาอยา่ งเหมาะสม 5.2 ใช้ทรัพยากรของสว่ นรวมอยา่ งประหยัด คมุ้ ค่า และเกบ็ รักษาดูแลอยา่ งดี 5.3 ปฏบิ ตั ติ นและตดั สนิ ใจด้วยความรอบคอบ มี เหตผุ ล 5.4 ไมเ่ อาเปรียบผอู้ นื่ และไม่ทาให้ผอู้ ื่นเดอื ดร้อน พร้อมให้อภยั เมื่อผ้อู นื่ กระทาผิดพลาด

22 คุณลักษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อนั พงึ ประสงค์ 43 2 1 ดา้ น 5.5 วางแผนการเรยี น การทางานและการใช้ ชีวติ ประจาวนั บนพนื้ ฐานของความรู้ ขอ้ มูล ขา่ วสาร 6. มุ่งมั่นในการ 5.6 รู้เท่าทนั การเปล่ียนแปลงทางสงั คม และ ทางาน สภาพแวดล้อม ยอมรบั และปรบั ตวั อย่รู ว่ มกบั ผูอ้ น่ื ไดอ้ ย่าง มคี วามสุข 7. รักความเปน็ 6.1 มคี วามตัง้ ใจและพยายามในการทางานที่ไดร้ บั ไทย มอบหมาย 8. มจี ิต 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพ่ือใหง้ าน สาธารณะ สาเรจ็ 7.1 มจี ติ สานึกในการอนรุ กั ษ์วฒั นธรรมและภมู ิปญั ญา ไทย 7.2 เห็นคณุ ค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8.1 รจู้ ักช่วยพอ่ แม่ ผู้ปกครอง และครูทางาน 8.2 อาสาทางาน ชว่ ยคิด ช่วยทา และแบง่ ปันสง่ิ ของให้ ผอู้ ่ืน 8.3 รจู้ กั ดูแล รักษาทรัพยส์ มบตั ิและสิง่ แวดล้อมของ ห้องเรยี น โรงเรียน ชุมชน 8.4 เขา้ รว่ มกจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ของ โรงเรียน ลงชื่อ .................................................... ผ้ปู ระเมิน ................ /................ /................

23 เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ ระดับคณุ ภาพ ดมี าก ชว่ งคะแนน ดี 191 - 108 พอใช้ 73 - 90 ปรับปรุง 54 - 72 ต่ากว่า 54 เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสมา่ เสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยคร้งั ให้ 3 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยคร้ัง ให้ 1 คะแนน

24 แบบประเมินใบงาน/ชิน้ งาน กลุม่ ท.ี่ ............เรอื่ ง........................................................................................................................ รายวิชา................................รหสั วิชา...............................ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี.่ ............................... คาช้ีแจง : ให้ครูทาเครือ่ งหมาย ✓ลงในช่องระดับคะแนนตามเกณฑก์ ารประเมนิ รวม หมายเหตุ ระดับคะแนน ประเดน็ การประเมนิ ๕๔๓๒๑ ๑. รูปแบบของใบงาน/ชน้ิ งาน ๒. ความถกู ตอ้ งของข้อมลู เนอื้ หาสาระ ๓. ความตรงต่อเวลา คะแนนรวม ลงชื่อ……………………………….ผู้ประเมิน (………………………….……) …………/…………/……….

25 เกณฑก์ ารประเมนิ แบบประเมินใบงาน/ชิน้ งาน ประเด็น เกณฑ์การให้คะแนน / ระดับคณุ ภาพ การ ๕ ๔ ๓ ๒๑ ประเมิน ๑. รปู แบบของงาน รูปแบบของงาน รูปแบบของ รูปแบบของ รปู แบบ รูปแบบ ถูกต้องตามกาหนด มี ถูกต้องตาม งานถูกต้อง งานถกู ต้อง ของงาน ของใบ ความเป็นระเบยี บ กาหนด มคี วาม ตามกาหนดมี ตามกาหนด ไม่ถูกต้อง งาน/ เรยี บร้อย ตกแต่งอยา่ ง เป็นระเบยี บ ความเปน็ บางสว่ น ตาม ช้นิ งาน สวยงาม แสดงถึง เรียบรอ้ ย แสดง ระเบยี บ กาหนด ความคิดรเิ ร่มิ ถงึ ความคิดริเร่ิม เรยี บร้อย สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ ๒. ความ เนอื้ หาสาระถูกต้อง เน้อื หาสาระ เนอ้ื หาสาระ เนอ้ื หา เน้อื หา ถกู ต้อง ครบถ้วน ละเอียด ถูกต้องครบถ้วน ส่วนมาก สาระ สาระไม่ ของข้อมลู ชัดเจน และมกี าร ละเอียดชัดเจน ถกู ต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง เนอื้ หา สืบคน้ ข้อมูลเพ่มิ เตมิ เพยี ง สาระ นอกเหนือจาก บางส่วน บทเรียน ๓. ความ ส่งงานภายใน สง่ งานชา้ กว่า สง่ งานช้ากว่า ส่งงานช้า สง่ งานชา้ ตรงต่อ ระยะเวลาที่กาหนด กาหนด ๑ วัน กาหนด ๒ กวา่ กาหนด กวา่ เวลา วนั ๓ วนั กาหนด เกิน ๓ วนั ข้ึนไป เกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๓ – ๑๕ ดีมาก ๑๐ – ๑๒ ดี ๗–๙ ปานกลาง ๔–๖ พอใช้ ๑–๓ ควรปรับปรุง

26 แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-Test) ช่อื __________________________________________ เลขท่ี _______ ชัน้ ______ นักเรยี น X ทับคาตอบทถี่ ูกต้อง 1. การไม่มเี วลาใหก้ นั ในครอบครัวสง่ ผลตอ่ วัยรนุ่ อย่างไร 1 คดิ ถึงอนาคตตนเองและต้งั ใจเรยี นมากขึ้น 2 ชอบแตง่ กายเลียนแบบดารานักรอ้ งท่ีชอบ 3 มพี ฤติกรรมชอบช่วยเหลือสงั คม 4 แก้ปญั หาชวี ติ ในทางทผี่ ดิ 2. สังคมมคี วามคาดหวงั ต่อการเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นอยา่ งไร 1 ประพฤติตนตามวฒั นธรรมไทยเพ่อื ขจดั วัฒนธรรมต่างชาติ 2 เตบิ โตเป็นผู้ใหญท่ ่มี คี ุณภาพเพอ่ื พัฒนาประเทศชาติ 3 มคี วามพร้อมในการสู้รบหากเกิดปญั หาสงคราม 4 สามารถกา้ วทนั เทคโนโลยที ที่ ันสมยั ในอนาคต 3. ข้อใดเปน็ อทิ ธิพลของวฒั นธรรมต่างชาตทิ มี่ ตี ่อวัยรนุ่ 1 การปฏิบัตธิ รรมท่ีวดั 2 การทกั ทายโดยการจับมือ 3 การคบเฉพาะเพ่ือนเพศเดียวกัน 4 การสวมใสเ่ ส้อื ลายดอกไมใ้ นเทศกาลสงกรานต์ 4. ข้อใดเป็นลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางดา้ นรา่ งกายท่สี าคัญของเดก็ วัยก่อนเรียน 1 นา้ หนักและส่วนสงู เพ่ิมข้นึ เร็วทุกเดือน 2 มีลักษณะทางเพศท่ีชดั เจน 3 กลา้ มเนื้อเป็นมดั แข็งแรง 4 ฟนั นา้ นมขนึ้ ครบ 20 ซ่ี 5. เพราะเหตุใดวยั รุน่ จงึ มีการเปลีย่ นแปลงทางอารมณ์อยา่ งรวดเรว็ 1 การเปลีย่ นแปลงฮอร์โมนในร่างกาย 2 ระบบประสาทพฒั นาไมส่ มบูรณ์ 3 ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ได้ 4 ต้องการเรยี กรอ้ งความสนใจ 6. ข้อใดเป็นผลกระทบจากสื่อโฆษณาท่ีมตี อ่ วัยรุ่น 1 สวิ ข้นึ เพราะดูโทรทศั น์จนดึกทกุ คืน 2 ทอ้ งเสียเพราะรับประทานขนมกรบุ กรอบ 3 เปน็ ลมเพราะอดอาหารเพ่อื ต้องการลดน้าหนัก 4 น้าหนกั ขึน้ เพราะด่ืมน้าอัดลมรสใหม่เป็นประจา

27 7. สื่อโฆษณาในข้อใดที่สง่ ผลต่อการเจรญิ เติบโตของวยั รุ่น 1 คอนโดมเิ นียมทใี่ ช้ดาราดังเป็นผู้โฆษณา 2 อาหารฟาสต์ฟดู โฆษณาซ้ือ 1 แถม 1 3 บบี ีครีมนาเข้าจากประเทศเกาหลี 4 โลชนั บารุงผิวผสมทองคา 8. การวางแผนสร้างครอบครัวท่ีอบอุ่น เป็นการเปล่ยี นแปลงทางสังคมของชว่ งวยั ใด 1 วัยสงู อายุ 2 วยั ผใู้ หญ่ 3 วัยเรยี น 4 วยั ร่นุ 9. ข้อใดเปน็ การเปล่ียนแปลงด้านสตปิ ัญญาในวัยสูงอายุ 1 สมองเสอื่ ม ลืมง่าย 2 คิดคานวณได้รวดเรว็ 3 ไม่เข้าใจสิง่ ท่เี ป็นนามธรรม 4 สนใจและต้องการเรียนรูส้ ิ่งใหม่ ๆ 10. สนิ ค้าในข้อใดท่มี ีอิทธิพลตอ่ วัยรุน่ มากที่สุด 1 อาหารลดน้าหนกั 2 รองเทา้ รุ่นใหมล่ ่าสดุ 3 เครอื่ งสาอางทาให้หน้าใส 4 ขนมขบเค้ียวปราศจากผงชูรส เฉลย ขอ้ 1. ตอบ 4 ขอ้ 2. ตอบ 2 ข้อ 3. ตอบ 2 ข้อ 4. ตอบ 4 ข้อ 5. ตอบ 1 ขอ้ 6. ตอบ 4 ขอ้ 7. ตอบ 2 ข้อ8. ตอบ 2 ข้อ9. ตอบ 1 ข้อ10. ตอบ 3

28 แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-Test) ช่ือ ________________________________________________ เลขที่ ______ ช้นั _____ นักเรยี น X ทับคาตอบทถ่ี ูกต้อง 1. ขอ้ ใดเปน็ ลักษณะการเปล่ียนแปลงทางดา้ นร่างกายทีส่ าคัญของเดก็ วัยก่อนเรยี น 1 น้าหนักและสว่ นสงู เพิ่มข้ึนเร็วทกุ เดือน 2 มลี กั ษณะทางเพศท่ีชัดเจน 3 กล้ามเนื้อเป็นมัดแขง็ แรง 4 ฟันน้านมข้ึนครบ 20 ซ่ี 2. เพราะเหตุใดวยั รนุ่ จงึ มีการเปลีย่ นแปลงทางอารมณ์อยา่ งรวดเร็ว 1 การเปล่ยี นแปลงฮอร์โมนในร่างกาย 2 ระบบประสาทพัฒนาไม่สมบูรณ์ 3 ไมส่ ามารถควบคุมอารมณไ์ ด้ 4 ต้องการเรียกรอ้ งความสนใจ 3. การวางแผนสรา้ งครอบครัวท่ีอบอุ่น เปน็ การเปลีย่ นแปลงทางสงั คมของช่วงวยั ใด 1 วัยสูงอายุ 2 วยั ผใู้ หญ่ 3 วยั เรียน 4 วัยรนุ่ 4. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงดา้ นสตปิ ญั ญาในวยั สงู อายุ 1 สมองเสอ่ื ม ลืมง่าย 2 คดิ คานวณได้รวดเร็ว 3 ไมเ่ ข้าใจส่งิ ทเ่ี ป็นนามธรรม 4 สนใจและตอ้ งการเรียนรสู้ ิ่งใหม่ ๆ 5. ขอ้ ใดเป็นอิทธิพลของวฒั นธรรมต่างชาตทิ ี่มีต่อวยั รุ่น 1 การปฏิบตั ิธรรมทว่ี ดั 2 การทักทายโดยการจับมือ 3 การคบเฉพาะเพื่อนเพศเดียวกนั 4 การสวมใส่เส้ือลายดอกไม้ในเทศกาลสงกรานต์ 6. การไม่มเี วลาให้กันในครอบครวั สง่ ผลต่อวยั รุ่นอย่างไร 1 คดิ ถงึ อนาคตตนเองและตั้งใจเรียนมากขึ้น 2 ชอบแต่งกายเลียนแบบดารานักร้องท่ีชอบ 3 มีพฤติกรรมชอบชว่ ยเหลอื สังคม 4 แกป้ ญั หาชวี ติ ในทางทีผ่ ิด

29 7. สงั คมมคี วามคาดหวงั ต่อการเปลีย่ นแปลงของวัยรุ่นอยา่ งไร 1 ประพฤตติ นตามวัฒนธรรมไทยเพอ่ื ขจัดวัฒนธรรมตา่ งชาติ 2 เติบโตเป็นผู้ใหญ่ทีม่ คี ุณภาพเพ่อื พฒั นาประเทศชาติ 3 มีความพร้อมในการสู้รบหากเกิดปญั หาสงคราม 4 สามารถก้าวทันเทคโนโลยที ท่ี ันสมัยในอนาคต 8. สนิ ค้าในข้อใดท่ีมีอิทธพิ ลตอ่ วัยร่นุ มากทส่ี ุด 1 อาหารลดนา้ หนัก 2 รองเท้ารุ่นใหม่ลา่ สดุ 3 เคร่อื งสาอางทาให้หน้าใส 4 ขนมขบเคย้ี วปราศจากผงชรู ส 9. ขอ้ ใดเปน็ ผลกระทบจากสื่อโฆษณาท่ีมีต่อวยั รนุ่ 1 สวิ ขนึ้ เพราะดูโทรทศั นจ์ นดึกทุกคืน 2 ท้องเสยี เพราะรับประทานขนมกรุบกรอบ 3 เป็นลมเพราะอดอาหารเพ่อื ต้องการลดน้าหนัก 4 น้าหนักขน้ึ เพราะด่ืมนา้ อัดลมรสใหม่เป็นประจา 10. ส่ือโฆษณาในข้อใดท่ีส่งผลต่อการเจริญเติบโตของวัยรุ่น 1 คอนโดมิเนียมทีใ่ ชด้ าราดงั เป็นผู้โฆษณา 2 อาหารฟาสต์ฟูดโฆษณาซื้อ 1 แถม 1 3 บบี ีครีมนาเข้าจากประเทศเกาหลี 4 โลชนั บารุงผวิ ผสมทองคา เฉลย ขอ้ 1. ตอบ 4 ขอ้ 2. ตอบ 1 ขอ้ 3. ตอบ 2 ขอ้ 4. ตอบ 1 ข้อ 5. ตอบ 2 ข้อ 6. ตอบ 4 ขอ้ 7. ตอบ 2 ข้อ 8. ตอบ 3 ข้อ 9. ตอบ 4 ขอ้ 10. ตอบ 2

30 ชิ้นงานท่ี 1 เร่ือง การเปลย่ี นแปลงด้านต่าง ๆ ในแต่ละช่วงของชีวติ วนั ท่ี________เดือน_______________พ.ศ.___________ ช่ือ_____________________________เลขที่______ช้นั __________ นกั เรียนแบง่ กลุ่ม 4 กลุ่ม ตามความเหมาะสม จบั สลากเลือกการเปล่ียนแปลงดา้ นต่าง ๆ ไดแ้ ก่ ดา้ นร่างกาย ดา้ นจิตใจและอารมณ์ ดา้ นสงั คม และดา้ นสติปัญญา ร่วมกนั อภิปรายและ เปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงในแต่ละช่วงวยั สรุปขอ้ มูลลงในตาราง และออกมานาเสนอหนา้ ช้นั เรียน การ ช่วงวยั ต่าง ๆ เปลยี่ นแปลง วยั ทารก วยั ก่อน วยั เรียน วยั รุ่น วยั ผ้ใู หญ่ วยั สูงอายุ ด้าน เรียน (รา่ งกาย) (น้าหนักตัว (น้าหนัก (ส่วนสูง (ส่วนสงู (การ (รา่ งกายเร่ิม เพ่ิมขึน้ และ เพม่ิ ขึ้น และ จากแรก ส่วนสูง สามารถใช้ น้าหนัก เปล่ียนแปล เสือ่ มสภาพ เกดิ เพม่ิ ขนึ้ ไม่ มอื เพม่ิ ข้นึ ประมาณ มาก และน้ิวมอื รวดเร็ว ของสว่ นสูง กล้ามเนอ้ื ลบี 3 เท่า มฟี ันน้านม ทางานได้ดี มลี กั ษณะ ส่วนสูง ครบ 20 ซ่ี กล้ามเน้อื ทางเพศ มีเพยี ง เคลอ่ื นไหว เพิม่ ขนึ้ และ แข็งแรง ปรากฏ ประมาณ จะเริ่มหลดุ เคลือ่ นไหว อย่าง เล็กน้อย ช้า 1.5 ไป) คล่องแคลว่ ) ชัดเจน) เท่า มฟี นั ซ่ี และเร่มิ คงท่ี ระบบตา่ ง ๆ แรก) และนา้ หนัก ทางานเสอ่ื ม เพ่ิมขึ้น) ลง)

31 ชิ้นงานท่ี 2 เรื่อง อทิ ธิพลและความคาดหวงั ของสังคมต่อการเปลย่ี นแปลงของวัยรุ่น วนั ที่________เดือน_______________พ.ศ.___________ ช่ือ_____________________________เลขที่______ช้นั __________ นกั เรียนอ่านขอ้ ความที่กาหนด แลว้ วเิ คราะห์ปัญหาจากขอ้ ความ สาเหตุของปัญหา และ ความคาดหวงั ของสังคมที่มีต่อวยั รุ่นเพ่ือป้องกนั ปัญหาดงั กล่าว บนั ทึกขอ้ มูลลงในแผนภาพ ความคิด

32 ชิ้นงานท่ี 3 เรื่อง สื่อโฆษณาทม่ี อี ทิ ธิพลต่อการเจริญเติบโตและพฒั นาการของวัยรุ่น วนั ที่________เดือน_______________พ.ศ.___________ ช่ือ_____________________________เลขท่ี______ช้นั __________ นกั เรียนยกตวั อยา่ งโฆษณาจากส่ือประเภทใดกไ็ ด้ ที่มีอิทธิพลตอ่ การเจริญเติบโตและ พฒั นาการของวยั รุ่นมา 1 ตวั อยา่ ง วเิ คราะห์ผลดี ผลเสียของโฆษณาน้นั บนั ทึกขอ้ มูลลงในตาราง แลว้ ตอบคาถาม จากน้นั ออกมานาเสนอหนา้ ช้นั เรียน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กนั ตวั อย่างโฆษณา ผลต่อวยั รุ่น ผลเสีย (ยังไม่มหี ลกั ฐาน ช่ือโฆษณา ( ผลดี ทางการแพทยย์ นื ยนั จากส่ือ (โทรทศั น์ เนอื้ หาสาระสาคัญของ (กระตนุ้ ใหว้ ยั รุน่ หนั มา วา่ สารกลูตาไธโอน โฆษณา สนใจและดูแลสุขภาพ (ดม่ื ของตนเอง) ทาให้ผวิ ขาว จึงอาจเป็นอนั ตราย ตอ่ สขุ ภาพ) ∙ นกั เรียนมแี นวทางการปฏิบตั ิตนในการตัดสนิ ใจเลือกซื้อสินคา้ จากส่ือโฆษณาต่าง ๆ อยา่ งไร

33

34

35 (ดูรายละเอียดของสินคา้ ส่วนประกอบของผลิตภณั ฑ์ คุณภาพของสินคา้ ผา่ นมาตรฐาน หรือไม่ วธิ ีการใชง้ าน ความเหมาะสมของราคากบั สินคา้ ความจาเป็นของการใชง้ าน)

36 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 ชวี ิตและครอบครัว

37 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา รายวิชา สขุ ศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรยี น 3 ช่ัวโมง หน่วยที่ 2 ชวี ิตและครอบครวั 1.มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชี้วดั มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน พ 2.1 เข้าใจและเห็นคณุ คา่ ตนเอง ครอบครวั เพศศึกษา และมีทักษะ ในการดาเนนิ ชวี ิต ตัวชีว้ ดั พ 2.1 ม.3/1 อธิบายอนามยั แม่และเด็ก การวางแผนครอบครัวและวิธีการปฏบิ ัติตน ทเ่ี หมาะสม พ 2.1 ม.3/2 วเิ คราะหป์ ัจจัยที่มีผลกระทบตอ่ การต้ังครรภ์ พ 2.1 ม.3/3 วิเคราะหส์ าเหตุและเสนอแนวทางป้องกนั แก้ไขความขดั แยง้ ในครอบครัว 2.จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2.1 ความรู้(k) 1.นกั เรยี นสามารอธบิ ายองค์ประกอบของอนามยั แม่ และเดก็ การวางแผนครอบครวั และ วธิ ีการปฏบิ ตั ิตนทเี่ หมาะสม ได้ 2.นกั เรยี นสามารถอธิบายถึงปัจจยั ท่ีมีผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ได้ 3.นักเรียนอธบิ ายสาเหตุและเสนอแนวทางป้องกนั แกไ้ ขความขัดแยง้ ใน ครอบครัว สาเหตุ ความขัดแย้งในครอบครวั แนวทางป้องกัน แก้ไขความขัดแย้งใน ครอบครวั 2.2 ทกั ษะ(P) 1.นักเรียนวิเคราะห์อนามยั แม่ และเด็ก การวางแผนครอบครวั และวิธีการปฏบิ ตั ติ นที่ เหมาะสม ได้ 2.นักเรยี นวเิ คราะห์ความสาคัญของการวางแผนครอบครวั ในด้านต่าง ๆ ได้ 3.นกั เรยี นวเิ คราะห์สาเหตุ และแนวทางป้องกัน แก้ไขความขดั แยง้ ใน ครอบครัว สาเหตุ ความขดั แย้งในครอบครัว แนวทางป้องกนั แก้ไขความขดั แยง้ ใน ครอบครัว ได้ 2.3 ทัศนคต(ิ A) 1.นกั เรียนมีความเขา้ ใจวธิ กี ารดูแลอนามยั แม่ และเดก็ การวางแผนครอบครัว และวิธีการ ปฏบิ ัตติ นท่ีเหมาะสม 2.นกั เรยี นตระหนักถึงความสาคญั ของการวางแผนครอบครัวเพื่อปรับใช้ในชีวติ ประจาวัน 3.นักเรียนใหค้ วามสาคัญกบั สาเหตุ และแนวทางป้องกนั แกไ้ ขความขดั แย้งใน ครอบครัว สาเหตคุ วามขดั แย้งในครอบครวั แนวทางปอ้ งกัน แก้ไขความขัดแย้งใน ครอบครวั 3.สาระสาคญั อนามัยแมแ่ ละเด็ก เปน็ เร่ืองสาคัญท่ีช่วยส่งเสรมิ สุขภาพของแมแ่ ละทารก

38 ตงั้ แต่อยู่ในครรภ์จนกระทง่ั คลอดและหลังคลอดให้มีสุขภาพท่สี มบรู ณ์ดี นอกจากน้ยี งั ต้องมี การวางแผนครอบครวั เพ่ือให้มีบตุ รเมื่ออยูใ่ นวยั ที่เหมาะสม และมีจานวนเหมาะสมกับสภาพ ครอบครวั การเรยี นรู้ส่งิ ทม่ี ผี ลกระทบต้ังแต่ก่อนต้ังครรภ์จนกระทั่งตง้ั ครรภ์และคลอด จะทาให้เกดิ ความปลอดภัยท้งั แมแ่ ละลูก การมีความรักความห่วงใยกนั ของสมาชิกในครอบครัว รจู้ กั ใชเ้ หตุผลใน การพดู คยุ กนั จะชว่ ยปอ้ งกนั ปัญหาความขัดแยง้ ในครอบครัว 4.สาระการเรยี นรู้ 1. อนามัยการเจริญพนั ธ์ุ อนามยั แม่และเดก็ 2. ความขัดแย้งในครอบครวั ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด ทกั ษะการอ่าน ทกั ษะการวเิ คราะห์ ทักษะการประเมนิ ทกั ษะการเปรยี บเทยี บ ทักษะการนาความรู้ไปใช้ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ รักชาติ ศาสนา กษัตริย์ ซ่อื สตั ยส์ ุจรติ มวี ินัย ใฝเ่ รยี นรู้ อยอู่ ย่างพอเพียง มุ่งมัน่ ในการทางาน รกั ความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ 5.สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น ( เฉพาะทีเ่ กดิ ในหน่วยการเรียนรนู้ ้ี ) ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแกป้ ัญหา ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ ความสารถในการใช้เทคโนโลยี 6. ทักษะของผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21 (3R 8C + 2L) (จุดเนน้ สู่การเรยี นรู้คุณภาพผูเ้ รียน) ทักษะการอา่ น (Reading) ทักษะการเขยี น (Writing) ทักษะการคดิ คานวณ (Arithmetic) ทักษะด้านการคิดอยา่ งมวี จิ ารญาณและทักษะในการแกป้ ัญหา (Critical thinking and problem solving) ทักษะด้านการสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรม (Creativity and innovation) ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา (Collaboration ,teamwork and leadership) ทักษะดา้ นความเขา้ ใจต่างวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding) ทักษะดา้ น การส่ือสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันส่อื (Communication information and media literacy) ทกั ษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing)

39 ทักษะอาชพี และทักษะการเรียนรู้ (Career and and learning self-reliance, change) ทักษะการเปล่ยี นแปลง (Change) ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skills) ภาวะผนู้ า(Leadeship) 7.ช้ินงานหรอื ภาระงาน (หลักฐาน/ร่องรอยแสดงความรู้) 1. ชิ้นงานที่ 4 เร่อื ง วธิ กี ารใหบ้ ริการอนามัยแมแ่ ละเด็ก 2. ชิ้นงานที่ 5 เร่ือง ปัจจัยท่มี ผี ลกระทบตอ่ การต้งั ครรภ์ 3. ช้ินงานท่ี 6 เรอ่ื ง ความสาคญั ของการวางแผนครอบครัว 4. ช้ินงานที่ 7 เรื่อง แนวทางการปฏบิ ัตติ นในเรือ่ งเพศ 5. ชิ้นงานที่ 8 เรื่อง ความขัดแย้งในครอบครัว 6. หนงั สือเรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ของสถาบนั พฒั นาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.) 7. ภาพกราฟการตัง้ ครรภ์ของวัยรุ่นไทย 8. สลากหวั ขอ้ การวางแผนครอบครัวด้วยวธิ ีการคุมกาเนดิ 9. สถานการณ์ของจ๊ะโอ๋ 10. แหล่งการเรียนร้ทู ง้ั ภายในและภายนอกโรงเรยี น 8.การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ รูปแบบการจัดการเรยี นการสอน :กระบวนการเรียนรแู้ บบ GPAS 5 Steps หนว่ ยยอ่ ยท่ี 1 เรอื่ ง อนามยั การเจริญพนั ธุ์ (2 ช่ัวโมง) ขัน้ ท่ี 1 Gathering (ขนั้ สังเกต รวบรวมขอ้ มลู ) 1. นกั เรยี นสงั เกตภาพกราฟการตัง้ ครรภ์ของวยั รนุ่ ไทย จากนั้นรว่ มกันสนทนา โดยตอบคาถาม 2. นกั เรียนร่วมกันสนทนาเกีย่ วกบั ความแตกต่างของหญงิ ตั้งครรภ์กบั หญงิ ทั่วไป โดยตอบคาถาม 3. นักเรียนศกึ ษาความรแู้ ละรวบรวมขอ้ มูลเก่ยี วกบั อนามยั การเจรญิ พันธุ์จากแหลง่ การเรียนรตู้ ่าง ๆ เชน่ หนงั สอื เรยี น อินเทอรเ์ น็ต ขน้ั ที่ 2 Processing (ขั้นคดิ วิเคราะห์และสรุปความร)ู้ 4. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์องค์ประกอบของอนามัยการเจริญพันธุ์ แล้วร่วมกันแสดง ความคดิ เห็นโดยเขยี นเป็นแผนภาพความคิด 5. นกั เรยี นร่วมกันวิเคราะห์ปัจจัยทม่ี ีผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ แล้วร่วมกันแสดงความ คดิ เหน็ โดยสรปุ เปน็ ตาราง 6. นกั เรยี นวิเคราะหเ์ กยี่ วกบั ความสาคัญของการวางแผนครอบครวั จากนั้นร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ โดยเขยี นเป็นแผนภาพความคิด 7. นักเรียนแบ่งกลุ่ม 11 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน แต่ละกลุ่มจับสลากเลือกหัวข้อการ วางแผนครอบครัวด้วยวิธีการคุมกาเนิด จากนั้นแต่ละกลุ่มวิเคราะห์ข้อดีและข้อเสีย ของวิธีการวางแผนครอบครัวดว้ ยวธิ ีการคุมกาเนดิ ท่ีกลุม่ ตนเองไดร้ ับ โดยสรปุ

40 เป็นตาราง 8. นกั เรียนรว่ มกนั แสดงความคดิ เห็น โดยตอบคาถามกระตุน้ ความคิด ดังนี้ ∙ นักเรียนคิดว่าอนามัยแม่และเดก็ มีประโยชนอ์ ย่างไร ∙ “มีลูกมาก จะยากจน” มีความสัมพันธ์กับอนามัยแม่และเด็ก และการ วางแผนครอบครัวอยา่ งไร ขน้ั ที่ 3 Applying and Constructing the Knowledge (ขั้นปฏิบัตแิ ละสรปุ ความรหู้ ลัง การปฏบิ ตั )ิ 9. นักเรียนเสนอวิธีการให้บริการอนามัยแม่และเด็ก เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของแม่ และเด็กมา 2 วิธีการ วิเคราะห์ข้อดีและข้อเสียของแต่ละวิธีการ และสรุปวิธีการท่ี เลือก โดยเขียนบันทึกข้อมูลเป็นตาราง ลงในชิ้นงานท่ี 4 เร่ือง วิธีการให้บริการ อนามัยแม่และเด็ก 10. นักเรียนแบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม จับสลากเลือกปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ที่ กาหนด ตอ่ ไปน้ี 1. อาหาร 2. โรคที่พบร่วม 3. สารเสพตดิ 4. มลภาวะ 5. ยาบางชนิด จากน้ันวิเคราะห์ผลท่ีเกิดข้ึนต่อมารดาและทารกในครรภ์ อธิบายเป็นแผนภาพ ความคดิ ลงในชิน้ งานท่ี 5 เร่ือง ปัจจยั ท่ีมีผลกระทบตอ่ การตัง้ ครรภ์ 11. นักเรียนวิเคราะหแ์ ละอธบิ ายความสาคญั ของการวางแผนครอบครัวในด้านต่าง ๆ ท่ี กาหนด จากน้ันบันทึกเป็นแผนภาพความคิด ลงในช้ินงานท่ี 6 เร่ือง ความสาคัญ ของการวางแผนครอบครวั 12. นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4-6 คน เสนอแนวทางการปฏิบัติตนในเรื่องเพศที่เหมาะสมและ ไม่เหมาะสมต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม ผลที่เกิดข้ึนเป็นอย่างไร บันทึกเป็น ตาราง ลงในชนิ้ งานที่ 7 เรื่อง แนวทางการปฏบิ ัตติ นในเรอ่ื งเพศ 13. นักเรยี นร่วมกนั สรุปสิ่งที่เขา้ ใจเป็นความรรู้ ว่ มกนั ดงั นี้ อนามัยแม่และเด็ก เป็นเรื่องสาคัญท่ีช่วยส่งเสริมสุขภาพของแม่และทารก ต้ังแต่อยู่ในครรภ์จนกระท่ังคลอดและหลังคลอดให้มีสุขภาพท่ีสมบูรณ์ดี และควรมีการวางแผน ครอบครัวเพ่อื ใหม้ ีบุตรเมอื่ อยใู่ นวยั ทเี่ หมาะสม และมีจานวนเหมาะสมกับสภาพครอบครัว การเรียนรู้ ส่ิงท่ีมีผลกระทบตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์จนกระท่ังต้ังครรภ์และคลอด จะทาให้เกิดความปลอดภัยท้ังแม่ และลูก ขน้ั ที่ 4 Applying the Communication Skill (ข้ันสือ่ สารและนาเสนอ) 14. นักเรียนนาเสนอวธิ ีการใหบ้ ริการอนามยั แม่และเด็กหนา้ ชัน้ เรียน 15. นักเรียนแต่ละกลมุ่ นาเสนอการวิเคราะห์ปัจจัยท่ีมผี ลกระทบต่อการตงั้ ครรภ์ หน้าชนั้ เรยี น 16. นกั เรยี นนาเสนอความสาคัญของการวางแผนครอบครวั หน้าชัน้ เรียน 17. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ นาเสนอแนวทางการปฏิบัตติ นในเร่อื งเพศหนา้ ชน้ั เรียน 18. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการทางานให้เห็นการคิดเชิงระบบและ วิธีการทางานที่มแี บบแผน

41 ขน้ั ท่ี 5 Self-Regulating (ข้ันประเมนิ เพอื่ เพ่ิมคณุ คา่ บรกิ ารสังคมและจิตสาธารณะ) 19. นักเรียนนาแนวทางการวางแผนครอบครัวไปแนะนาญาติพ่ีน้อง เพื่อการปฏิบัติท่ี ถูกต้องและเหมาะสม 20. นักเรียนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู้สึกหลังการเรียนและหลังการทา กจิ กรรมในประเดน็ ต่อไปน้ี • สิ่งที่นกั เรียนไดเ้ รียนรใู้ นวันนคี้ ืออะไร • นักเรียนมีส่วนรว่ มกิจกรรมในกลุ่มมากนอ้ ยเพยี งใด • เพือ่ นนกั เรยี นในกลุม่ มสี ว่ นรว่ มกจิ กรรมในกลุ่มมากน้อยเพยี งใด • นกั เรยี นพึงพอใจกบั การเรยี นในวันน้ีหรอื ไม่ เพยี งใด • นกั เรยี นจะนาความรูท้ ี่ไดน้ ไ้ี ปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครวั และสงั คมทวั่ ไปไดอ้ ยา่ งไร จากน้ันแลกเปลี่ยนตรวจสอบข้ันตอนการทางานทุกขั้นตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่ สงั คมเกิดประโยชนต์ อ่ สังคมใหม้ ากขนึ้ กว่าเดมิ ในขั้นตอนใดบ้าง สาหรบั การทางานในครั้งตอ่ ไป หน่วยยอ่ ยที่ 2 เรือ่ ง ความขดั แยง้ ในครอบครัว (1 ชัว่ โมง) ขนั้ ท่ี 1 Gathering (ขั้นสงั เกต รวบรวมขอ้ มูล) 1. นกั เรียนรว่ มกนั สนทนาเก่ยี วกบั การกระทาทแี่ สดงถงึ ความขัดแย้งในครอบครวั โดยตอบคาถาม 2. นักเรียนศึกษาความรู้และรวบรวมข้อมลู เกยี่ วกับความขดั แยง้ ในครอบครวั จากแหล่งการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ เช่น หนังสอื เรียน อินเทอร์เน็ต ขัน้ ท่ี 2 Processing (ข้ันคิดวิเคราะหแ์ ละสรุปความรู้) 2. นกั เรยี นร่วมกันอา่ นข่าวเกย่ี วกบั อิทธพิ ลท่ีมผี ลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ของวัยรุ่น แลว้ รว่ มกันวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็น โดยตอบคาถาม 4. นกั เรยี นรว่ มกันแสดงความคดิ เห็น โดยตอบคาถามกระตุ้นความคดิ ดงั นี้ ∙ การเปลีย่ นแปลงของวยั รนุ่ มีสาเหตุจากสงิ่ ใดบา้ ง ข้ันที่ 3 Applying and Constructing the Knowledge (ขัน้ ปฏบิ ัติและสรุปความรหู้ ลงั การปฏบิ ตั ิ) 5. นกั เรียนยกตัวอยา่ งปญั หาความขดั แย้งในครอบครัวมา 1 ปญั หา วเิ คราะห์สาเหตุ และเสนอแนวทางป้องกันและแก้ไข โดยเขียนเป็นแผนภาพความคิด ลงในชิ้นงานท่ี 8 เรอ่ื ง ความขัดแยง้ ในครอบครวั 6. นกั เรียนร่วมกันสรุปสงิ่ ที่เข้าใจเป็นความรูร้ ่วมกนั ดงั นี้ การมคี วามรักความห่วงใยกนั ของสมาชกิ ในครอบครัว รู้จกั ใชเ้ หตผุ ลในการพูดคยุ กัน จะช่วยปอ้ งกันปญั หาความขัดแยง้ ในครอบครวั

42 ขนั้ ท่ี 4 Applying the Communication Skill (ข้ันสือ่ สารและนาเสนอ) 7. นักเรยี นร่วมกันนาเสนอแนวทางการแกไ้ ขปัญหาความขัดแยง้ จากปญั หาที่ ตนเองยกตัวอย่างมาหนา้ ชนั้ เรียน 8. นักเรยี นรว่ มกันอภิปรายสรุปเกยี่ วกบั วิธีการทางานให้เห็นการคดิ เชงิ ระบบ และวิธกี ารทางานทมี่ ีแบบแผน ขนั้ ท่ี 5 Self-Regulating (ขัน้ ประเมนิ เพอ่ื เพมิ่ คณุ ค่าบริการสงั คมและจติ สาธารณะ) 9. นักเรยี นนาแนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแยง้ ในครอบครัวไปปรับใช้ ในชีวติ ประจาวัน 10. นักเรยี นประเมินตนเองหลงั การเรียน ในประเดน็ ต่อไปนี้ • สง่ิ ทีน่ กั เรียนไดเ้ รยี นร้ใู นวันนคี้ ืออะไร • นกั เรียนมสี ่วนรว่ มในกิจกรรมการเรียนรู้มากน้อยเพียงใด • นกั เรยี นพึงพอใจกับการเรยี นร้ใู นวันนหี้ รอื ไม่ เพยี งใด • นักเรยี นจะนาความร้ทู ีไ่ ด้นีไ้ ปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์แกต่ นเอง ครอบครัว และสังคมทั่วไปได้อยา่ งไร จากน้ันแลกเปล่ียนตรวจสอบขั้นตอนการทางานทุกขั้นตอนว่าจะเพ่ิมคุณค่าไปสู่ สังคม เกิดประโยชน์ต่อสังคมให้มากข้ึนกว่าเดิมในข้ันตอนใดบ้าง สาหรับการทางานในคร้ังต่อไป 9.การวัดประเมินผล 1. ประเมินความรู้ เรื่อง อนามยั การเจริญพนั ธ์ุ ความขดั แย้งในครอบครวั (K) ดว้ ยแบบทดสอบ 2. ประเมินกระบวนการทางานกลุม่ (P) ด้วยแบบประเมนิ 3. ประเมินชิ้นงาน เร่ือง วิธกี ารใหบ้ รกิ ารอนามัยแม่และเด็ก (P) ด้วยแบบประเมิน 4. ประเมนิ ชน้ิ งาน เรอ่ื ง ปัจจยั ท่ีมีผลกระทบต่อการตงั้ ครรภ์ (P) ดว้ ยแบบประเมิน 5. ประเมินชน้ิ งาน เร่ือง ความสาคัญของการวางแผนครอบครัว (P) ด้วยแบบประเมิน 6. ประเมนิ ชิน้ งาน เร่ือง แนวทางการปฏิบตั ติ นในเร่ืองเพศ (P) ด้วยแบบประเมนิ 7. ประเมนิ ชิ้นงาน เรอื่ ง ความขัดแย้งในครอบครวั (P) ดว้ ยแบบประเมนิ 8. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านใฝ่เรยี นรู้ (A) ดว้ ยแบบประเมิน

43 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ กล่มุ ที่............................ สมาชกิ ของกลมุ่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. ลาดบั ท่ี พฤตกิ รรม คุณภาพการปฏบิ ตั ิ 321 1 มีการวางแผนรว่ มกันก่อนทางาน 2 มีการแสดงความคิดเหน็ ของสมาชิก 3 มีการรับฟงั ความคิดเหน็ ของสมาชกิ 4 มีการปฏิบัติงานตามขั้นตอนท่ีวางแผนไว้ 5 สามารถให้คาแนะนากลมุ่ อ่ืนได้ รวม ลงชื่อ..............................................................................ผู้ประเมิน ......................./.........................../................... เกณฑ์การใหค้ ะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมา่ เสมอให้ 3 คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้ังหรือน้อยครงั้ ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 12 - 15 ดี 8 - 11 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรบั ปรงุ

44 แบบประเมิน คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คาชแี้ จง : ให้ ผู้สอน สงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี √ ลงในช่องท่ีตรงกับระดับคะแนน คณุ ลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อันพึงประสงค์ 4321 ดา้ น 1. รักชาติ 1.1 ยืนตรงเมือ่ ไดย้ ินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ ศาสน์ และอธบิ ายความหมายของ เพลงชาติ กษตั รยิ ์ 1.2 ปฏิบตั ิตนตามสิทธิและหนา้ ท่ขี องนักเรยี น 1.3 ใหค้ วามรว่ มมือ รว่ มใจ ในการทางานกับ สมาชกิ ในชน้ั เรียน 1.4 เขา้ ร่วมกจิ กรรมท่สี ร้างความสามคั คี ปรองดอง และเปน็ ประโยชน์ตอ่ โรงเรยี นและชมุ ชน 1.5 เขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนาท่ีตนนับถือ ปฏิบัติ ตนตามหลกั ของศาสนา 1.6 เขา้ รว่ มกิจกรรมทเี่ กย่ี วกับสถาบนั พระมหากษัตรยิ ต์ ามท่ีโรงเรียน และชมุ ชนจัดขน้ึ 2. ซ่อื สัตย์ 2.1 ให้ขอ้ มูลทถ่ี กู ตอ้ ง และเปน็ จริง สจุ รติ 2.2 ปฏบิ ตั ิในสิ่งที่ถกู ต้อง ละอาย และเกรงกลัวท่ี จะทาความผิด ทาตามสัญญาทีต่ นให้ไวก้ ับเพ่ือน พ่อ แมห่ รือผูป้ กครอง และครู 2.3 ปฏบิ ัตติ ่อผ้อู ื่นด้วยความซอ่ื ตรง 3. มีวินัย 3.1 ปฏบิ ัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ รับผิดชอบ ขอ้ บังคับของครอบครวั และโรงเรียน มีความ ตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมต่างๆ ในชวี ิตประจาวัน 4. ใฝเ่ รียนรู้ 4.1 แสวงหาข้อมลู จากแหล่งการเรยี นรตู้ า่ งๆ 4.2 มกี ารจดบันทึกความรู้อยา่ งเปน็ ระบบ 4.3 สรปุ ความรไู้ ด้อย่างมเี หตุผล 5. อยู่อย่าง 5.1 ใชท้ รัพย์สนิ ของตนเอง เชน่ สิ่งของ เคร่อื งใช้ พอเพยี ง ฯลฯ อยา่ งประหยัด คุม้ ค่า และเกบ็ รักษาดูแลอยา่ ง ดี และใชเ้ วลาอยา่ งเหมาะสม 5.2 ใช้ทรัพยากรของสว่ นรวมอยา่ งประหยัด คุ้มคา่ และเก็บรักษาดูแลอยา่ งดี 5.3 ปฏบิ ัตติ นและตดั สนิ ใจด้วยความรอบคอบ มี เหตุผล 5.4 ไมเ่ อาเปรียบผู้อนื่ และไม่ทาให้ผอู้ ื่นเดอื ดร้อน พรอ้ มใหอ้ ภยั เมื่อผ้อู นื่ กระทาผิดพลาด

45 คุณลักษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อันพงึ ประสงค์ 43 2 1 ดา้ น 5.5 วางแผนการเรยี น การทางานและการใช้ ชีวติ ประจาวนั บนพนื้ ฐานของความรู้ ขอ้ มูล ขา่ วสาร 6. มุ่งมน่ั ในการ 5.6 รู้เทา่ ทนั การเปล่ียนแปลงทางสงั คม และ ทางาน สภาพแวดล้อม ยอมรบั และปรับตวั อย่รู ว่ มกบั ผูอ้ ่ืนไดอ้ ย่าง มคี วามสุข 7. รกั ความเปน็ 6.1 มคี วามตัง้ ใจและพยายามในการทางานที่ไดร้ ับ ไทย มอบหมาย 8. มจี ติ 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออปุ สรรคเพ่ือใหง้ าน สาธารณะ สาเรจ็ 7.1 มจี ติ สานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภมู ิปญั ญา ไทย 7.2 เห็นคณุ ค่าและปฏบิ ตั ิตนตามวัฒนธรรมไทย 8.1 รจู้ ักช่วยพอ่ แม่ ผ้ปู กครอง และครูทางาน 8.2 อาสาทางาน ช่วยคิด ช่วยทา และแบง่ ปันสง่ิ ของให้ ผอู้ ่ืน 8.3 รจู้ กั ดูแล รกั ษาทรัพย์สมบตั ิและสิง่ แวดล้อมของ ห้องเรยี น โรงเรียน ชุมชน 8.4 เขา้ รว่ มกจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ของ โรงเรียน ลงชื่อ .................................................... ผ้ปู ระเมิน ................ /................ /................

46 เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ ระดับคณุ ภาพ ดมี าก ชว่ งคะแนน ดี 191 - 108 พอใช้ 73 - 90 ปรับปรุง 54 - 72 ต่ากว่า 54 เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสมา่ เสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยคร้งั ให้ 3 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยคร้ัง ให้ 1 คะแนน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook