แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 1 หวั ข้อเนอื้ หา เน้ือหาสาระในบทน้ปี ระกอบด้วย 1. บทนา 2. ความหมายและความสาคญั ของการศกึ ษา 3. ปรชั ญาการศึกษา 4. ประวัตคิ วามเปน็ มาและระบบการจดั การศึกษาไทย 5. วสิ ยั ทัศน์และแผนพฒั นาการศึกษาไทย วตั ถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรม เมอ่ื เรยี นบทเรยี นน้ีจบแล้ว นักศกึ ษามคี วามสามารถ ดังน้ี 1. บอกความหมายและความสาคัญของการศึกษาได้ 2. บอกถงึ หลักการของปรชั ญาการศกึ ษาได้ 3. บอกประวัติความเปน็ มาและระบบการจดั การศึกษาไทยได้ 4. อภปิ รายวสิ ัยทัศนแ์ ละแผนพัฒนาการศกึ ษาไทยได้ วธิ ีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน 1. วิธสี อน 1.1 บรรยาย 1.2 การอธิบาย 1.3 การประชมุ กลมุ่ ยอ่ ย 1.4 การวิเคราะหเ์ นือ้ หา ทฤษฎี 1.5 การถาม-ตอบ 1.6 การอภปิ ราย แลกเปล่ียนเรียนรู้ 2. กิจกรรมการเรียนการสอน 2.1 ผู้สอนทบทวนแนวคิดเก่ียวกับการศึกษา โดยใช้กระบวนการ ถาม-ตอบและ อภิปราย แนวคิดพน้ื ฐานของการศึกษา 2.2 ผู้สอนให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มศึกษาหลักการของปรัชญาการศึกษา แล้วให้สรุปเป็น ความหมายของกล่มุ เสรจ็ แล้วใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ นาเสนอผลของการเรียนรู้ 2.3 ผ้สู อนให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มศึกษาประวัตคิ วามเปน็ มาและระบบการจัดการศึกษาไทย 1
แล้วให้สรุปเปน็ ความหมายของกลุ่ม เสร็จแล้วใหแ้ ต่ละกลุม่ นาเสนอผลของการเรยี นรู้ 2.4 ผู้สอนให้ผู้เรียนร่วมกันวิเคราะห์หลักการอภิปรายวิสัยทัศน์และแผนพัฒนา การศึกษาไทย ส่ือการเรยี นการสอน สื่อการเรียนการสอนท่ใี ช้ประกอบกจิ กรรมการเรยี นการสอน มดี งั น้ี 1. เอกสารประกอบการเรียนการสอน “การพัฒนาหลกั สูตร” 2. ตารา หนังสือเรยี นเก่ยี วกับการพัฒนาหลักสตู ร 3. Power point ความรู้ตา่ ง ๆ 4. เครอื ขา่ ยการเรียนรทู้ างอนิ เทอรเ์ นต็ เกี่ยวกบั การพัฒนาหลกั สตู ร การวัดและการประเมนิ ผล การวัดผลและประเมินผลการเรยี นรู้ มีดงั น้ี 1. สังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม 2. สงั เกตพฤตกิ รรมการแสดงความคดิ เหน็ ขอ้ เสนอทใ่ี ช้ในการอภปิ ราย 3. การทาแบบฝึกหดั 2
บทท่ี 1 บทนา การศึกษาคือปัจจัยสาคัญในการกาหนดความเป็นอยู่ของสมาชิกในสังคม และเป็นเคร่ืองมือใน การพัฒนาประชากรในชาติใหเ้ จริญงอกงาม ความก้าวหนา้ ในทุกมิติมกี ารศึกษาเป็นส่วนประกอบทั้งส้ิน ไม่สามารถตัดขาดจากกันได้ ปรัชญาการศึกษาเป็นตัวกาหนดขอบเขตของความรู้จากวิวัฒนาการ การศึกษาของมนุษย์ ปรัชญาช่วยเพ่ิมความชัดเจน ขจัดความคลุมเครือหรือความไม่ชัดเจนออก ทาให้ คานยิ ามดา้ นการศึกษาชดั เจนยิ่งขึ้น ปรชั ญาแยกตามสาขาของปรัชญาเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการ เรยี นรแู้ ละการพจิ ารณาปรัชญา และแบง่ แยกกลุ่มของปรชั ญาตามลทั ธคิ วามเช่ือของนักปรัชญา ระบบการจัดการศึกษาไทย มีมายาวนานตั้งแต่สมัยโบราณที่การศึกษาเล่าเรียนต้องแบ่งแยก ชายหญิง โดยใหผ้ ู้ชายเข้าไปเรียนในวัด ในวัง และให้ผหู้ ญิงเรยี นเย็บปักถักร้อย งานบา้ นงานเรอื นอยู่กับ บ้านเท่าน้นั ยุคสมัยทเี่ ปลี่ยนแปลงไป เทคโนโลยีและวัฒนธรรมต่างชาติเข้ามามีบทบาทมากยิ่งข้ึน ทาให้มีการจัดตั้งโรงเรียนสาหรับสอนหนังสือ และเปิดโอกาสให้ผู้หญิงได้มีโอกาสเขา้ ไปเรียนในโรงเรียน รว่ มกบั ผ้ชู ายและรูปแบบการจัดการเรียนการสอนของไทยกพ็ ัฒนาขึ้นตามลาดับจนปัจจบุ ัน ความหมายและความสาคญั ของการศกึ ษา ความหมายของการศึกษา สนุ ทร โคตรบรรเทา (2553 : 38-39) ได้ศึกษาพบว่า มีนกั คิดและนักปราชญใ์ ห้ความหมายของ การศกึ ษาไวม้ าก ซงึ่ รวบรวมไดส้ ิบสองความหมาย ดงั ต่อไปน้ี การศกึ ษา คอื กระบวนการเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาคนให้ถึงขีดความสามารถสูงสุด การศึกษา คอื กระบวนการพัฒนาความสามารถท่มี ีมาแตเ่ กดิ ของทุกคน การศึกษา คือ กระบวนการที่ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักนาความคิดและความรู้ออกมาใช้อย่างดีท่ีสุด การศึกษา คือ กระบวนการกระตุ้นสมองให้รับรู้ เก็บสะสม และรวบรวมสิ่งมีคณุ ค่าท้ังหลายไว้ เพ่ือนาไปประพฤตแิ ละปฏิบัติ การศึกษา คอื กระบวนการสะสมประสบการณ์ทางสังคมของคน การศึกษา คือ กระบวนการอบรมส่งั สอนให้ผู้เรียนดารงชีวติ อย่ใู นสังคมอยา่ งมคี วามสุข การศกึ ษา คือ กระบวนการเรยี นรูจ้ ากประสบการณท์ ่ีดาเนินไปตลอดชวี ติ การศึกษา คือ กระบวนการเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมของผูเ้ รยี นไปในทางท่ดี ีงาม การศึกษา คือ ความเจริญงอกงามด้านความรแู้ ละคุณธรรมของคน การศึกษา คือ กระบวนการพัฒนาขันธ์ห้าของคน ซ่ึงได้แก่ รูป เวทนา สัญญา สังขารและ วญิ ญาณ การศึกษา คือ กระบวนการลงทุนทรัพยากรมนุษย์เพ่ือการพัฒนาประเทศชาติทางด้าน เศรษฐกจิ สังคม และการเมอื ง การศึกษา คอื กระบวนการถ่ายทอดวัฒนธรรมไปสู่ผู้เรยี น จากคานยิ ามที่ยกมากล่าวข้างตน้ จึงเห็นได้ว่าการศึกษาเป็นกระบวนการซ่ึงแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม 3
ดงั น้ี กลมุ่ ท่ี 1 มีแนวคิดว่า การศึกษา คือ กระบวนการพัฒนาความรู้และความสามารถท่ีมอี ยู่แล้วใน ตวั ผูเ้ รยี นให้มคี วามรแู้ ละความสามารถมากขน้ึ กลุ่มที่ 2 มแี นวคิดว่าการศึกษา คอื กระบวนการนาความรู้จากภายนอกไปสะสมไว้ในตัวผ้เู รยี น เพือ่ ใหร้ ูม้ ากขน้ึ และกว้างข้ึน และ กลุ่มท่ี 3 มีแนวคิดว่า การศึกษา คือ กระบวนการตอบสนองระหว่างผู้เรียนกับสิ่งแวดล้อม ดังนั้น จึงให้คานิยามการศึกษาได้ว่า การศึกษาคือ กระบวนการพัฒนาความรู้ที่มีอยู่แล้วในตัว ผู้เรียน นาความรู้จากภายนอกไปสะสมไว้ในตัวผู้เรียนและตอบสนองระหว่างผู้เรียนกับส่ิงแวดล้อม เพ่ือให้มคี วามรู้ความสามารถมากขึ้นและกว้างขน้ึ วิชัย ตันศิริ (2550 : 2) ได้ศึกษาพบว่า การศึกษามีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศ การ แข่งขันทางเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ก็ขึ้นอยู่กับการศึกษา การพัฒนาการเมืองก็ข้ึนอยู่กับการศึกษา สังคมกาลังเสื่อมโทรมผู้คนติดยาเสพติด เป็นโรคเอดส์มากยิ่งขึ้น ก็ต้องหันไปพ่ึงการศึกษาการพัฒนา การศึกษาจึงเป็นเง่ือนไขสาคัญของการพัฒนาประเทศและแม้แต่ประเทศท่ีพัฒนาแล้ว เช่น ในสังคม ตะวันตกก็ยังให้ความสาคัญต่อการปฏิรูปการศึกษาเป็นอันดับหน่ึงของการกาหนดนโยบายสาธารณะ จะจดั การศกึ ษาอย่างไรจึงจะนาไปสู่ผลลพั ธ์ท่ีพึงปรารถนาและจะจัดการบริหารการศึกษาอย่างไร จึงจะ เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลมากที่สุด จึงเป็นประเด็นสาคัญท่ีเราจะได้ศึกษาวิเคราะห์และ เสนอแนะ แต่ก่อนอื่นจะต้องทาความเข้าใจกันเสียก่อนในเรื่องแนวคิดหรือมโนทัศน์ทางการศึกษา ซ่ึง สมั พันธ์กับปรชั ญาการศึกษา และจติ วิทยาการเรียนรู้ นกั ปราชญ์ นักคิด ในอดีตและปัจจุบนั คิดอย่างไร และมีข้อสรุปเป็นแนวทางกว้างๆอย่างไร ในการปฏิรูปการศึกษาเราสามารถนาทฤษฎีแนวคิดเหล่านี้สู่ ภาคปฏบิ ตั ไิ ดห้ รอื ไม่ และอย่างไร ความหมายของการศกึ ษาและการเรยี นรู้ วิชัย ตันศิริ (2550 : 2-3) ได้ศึกษาพบว่า จอห์น ดิวอ้ี หรือ จอห์น ดุย (John Dewey) นัก ปรัชญาการศึกษาท่ีโด่งดังคนหน่ึงของสหรัฐอเมริกา และเป็นผู้นาของสานักก้าวหน้านิยม (Progressivism) ให้คานิยามการศึกษาว่า การศึกษานั้นคือความเจริญงอกงาม (growth) กระบวนการ การศึกษากค็ ือ กระบวนการสรา้ งเงื่อนไขให้ชวี ิตมคี วามเจรญิ งอกงาม ความงอกงามในท่ีนี้ มิใช่เป็นเพียงเครื่องมือไปสู่จุดหมายปลายทางอ่ืนใด แต่เป็นไปเพ่ือความ เจรญิ งอกงามของชีวิตมนุษย์ ทางศาสนาพุทธ พระราชวรมุนี (สมณศักด์ิเดิมของพระพรหมคุณาภรณ์ หรือเจ้าคุณประยุทธ์ ปยุตโต) กล่าวคล้าย ๆ กันแต่ฟันธงลงไปให้ชัดเจนยิ่งข้ึนว่า”การพัฒนาคนให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์นั่น แหละเปน็ เนอื้ เป็นตวั เปน็ ความหมายทแ่ี ทข้ องการศึกษา” จะเห็นได้ว่าการนิยามความหมายของการศึกษาตามแนวทางของท่านเจ้าคุณประยุทธ์ มี จุดหมายบั้นปลาย ซึ่งอาจจะเป็นอุดมการณ์ซึ่งยากนักที่จะไปถึงได้ แต่ต้องเข้าใจในบริบทของศาสนา พุทธหรือพุทธปรัชญาว่า ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ หมายถึง ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ตามคติและ อดุ มการณ์ของพุทธศาสนา สว่ นนิยามของ จอห์น ดิวอี้ ดจู ะขาดมิติของเป้าหมายที่ชัดเจน แต่สาหรับตัว 4
ท่านเองแล้ว ความเจริญงอกงามนั่นแหละคือเป้าหมาย และมองในแง่ของวิวัฒนาการของมนุษย์ ความ เจรญิ งอกงามเปน็ ขบวนการปลายเปิดไมม่ จี ุดจบ แต่มคี วามต่อเน่อื งไปเร่ือยๆ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าเราจะลองให้ความหมายของการศึกษาในเชิงปรัชญา แต่ตามความเข้าใจ ของคนท่ัวไปอาจกล่าวได้ว่า การศึกษาซึ่งในภาษาอังกฤษใช้คาว่า “Education” น้ัน แท้จริงรากศัพท์ “Educare”ก็หมายถึง การอบรมเลี้ยงดู การอบรมบ่มนิสัย ส่วนรากศัพท์”Educare”ก็หมายถึง การดึง ออกมา หรอื ทาให้ปรากฏออกมา ซง่ึ ศกั ยภาพของชวี ติ (Oxford Dictionary) การศกึ ษาแตกตา่ งจากการเรยี นร้อู ย่างไร วิชัย ตันศิริ (2550 : 4) ได้ศึกษาพบว่า การศึกษาแตกต่างจากการเรียนรู้ในแง่ที่ว่า การศึกษา ต้องมีการจัดหรือมีเป้าหมาย ซ่ึงจะเป็นอย่างไรก็ข้ึนอยู่กับปรัชญาหรือนโยบายและแนวทางของแต่ละ สังคม หรอื ของแต่ละกลุ่มบคุ คลหรือบุคคลส่วนการเรียนรูน้ ั้นเปน็ กระบวนการธรรมชาติที่อาจเกิดขึ้นเอง หรอื เกดิ จากระบบการศึกษา หรือการจัดการศึกษากไ็ ด้ การเรียนรู้นั้นเป็นความจาเป็นของชีวิต ไม่ต่างจากความจาเป็นด้านปัจจัยสี่ ได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ท่ีอยู่อาศัย และยารักษาโรค ชีวิตมนุษย์จะอยู่รอดได้ต้องเรียนรู้ตั้งแต่แรกเกิดจนวันตาย เรียนรู้ทจ่ี ะร้องไห้เมื่อหิว เรยี นรู้ที่จะไขว่คว้า คลาหาเตา้ นมของมารดาเรยี นรู้ที่จะคลาน จะน่ัง จะยนื จะ วิ่ง เรียนรู้ว่าใครคือพ่อและแม่ และต่อมาก็จะเรียนรู้ว่าอะไรคือของของตน ฯลฯ การเรียนรู้จึงเป็นการ แก้ไขปัญหาของชีวิต แต่กระบวนการเรียนรู้ท่ีจะมีส่วนสร้างเด็กทารกให้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ในวันข้างหน้า ได้ตามอุดมการณ์ แนวคิด ค่านิยมของแต่ละสังคม ก็มีใช่ว่าจะเกิดข้ึนได้อย่างง่ายๆ มีทฤษฎีการเรียนรู้ หลายสานักที่อธิบายกระบวนการเรียนรู้ท่ีแตกต่างกัน และนักปราชญ์ นักคิดตั้งแต่สมัยโบราณถึง ปัจจุบันได้พยายามคิดค้นทฤษฎีต่างๆ ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ต่อนักการศึกษาในปัจจุบัน หากจะได้ วิเคราะห์ศกึ ษาทฤษฎเี หลา่ นี้ และนามาประยกุ ต์ใช้ใหเ้ หมาะสม ปรชั ญาการศกึ ษา ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2558 : 1) ได้ศกึ ษาพบว่า การที่จะใหค้ วามหมายหรอื ให้คาจากดั ความของ คาว่าปรัชญานั้น ไม่ใช่ของท่ีทาได้ง่ายและเป็นสิ่งท่ีถูกต้องสมบูรณ์ท่ีสุดได้ยาก แต่ก็ผิดได้ยากเช่นกัน เพราะนักปรัชญาแต่ละคน นักคิดแต่ละกลุ่ม นักปรัชญาแต่ละสมัย ก็ให้คานิยามแตกต่างกันออกไป ก. ความหมายตามรูปศัพท์ ให้ความหมายได้ว่า เป็นความรอบรู้ รู้กว้างขวาง หรือ ความรู้อันประเสริฐ ความรู้ขั้นสูง โดยนัยน้ี ความหมายของปรัชญาในศัพท์ภาษาไทยจึงเน้นไปที่ตัว ความรหู้ รือผรู้ ู้ ซึง่ เปน็ ความรู้ที่กวา้ งขวาง ลึกซึ้ง ประเสริฐ เป็นต้น ข. ความหมายโดยอรรถ ปรัชญาน้ันเป็นสาขาวิชาหน่ึง ซึ่งมีท่ีมาและวิวัฒนาการอัน ยาวนาน โดยเริ่มจากการที่มนุษย์มีความสงสัยและพิศวงงงงวยต่อส่ิงแวดล้อมรอบข้าง แล้วก็พยายาม ขบคิดหาคาตอบต่อปัญหาและความสงสัยต่าง ๆ เหล่าน้ัน ในระยะแรก ๆ ก็พยายามหาคาตอบต่อ ปัญหาในส่ิงแวดล้อมธรรมชาติ เช่น โลก จักรวาล แล้วจึงหันมาสนใจเรื่องของมนุษย์เองในระยะหลัง โดยเฉพาะสมัยหลังโสกราตีสเป็นต้นมา เพื่อหาความหมายต่อสิ่งแวดล้อมเหล่านั้น การตั้งข้อสงสัยและ การพยายามหาคาตอบต่อสิ่งแวดล้อมและตัวมนษุ ย์นี้เอง ในระยะแรก ๆ ก็เป็นไปอย่างง่าย ๆ ใช้เหตุผล ไม่ลึกซ้ึงซับซ้อนมากนัก เป็นการคาดคะเนตามความนึกคิดและสติปัญญา ในยุคนั้น ๆ ความรู้ท่ีใช้ 5
ประกอบก็มีลักษณะกว้าง ๆ ตามท่ีคิดได้ในยุคนั้น ๆ เช่นกัน แต่เม่ือเวลาผ่านไปนับเป็นร้อย ๆ ปีขึ้นไป ปัญหาและคาตอบต่าง ๆ เหล่านี้ก็ได้รับการพิจารณาสืบทอดและปรับปรุงให้ดีขึ้นเรื่อย ๆ จนเป็นระยะ ของความคิดนึกที่สมบูรณ์ข้ึน ผลของความพยายามสะสมเหล่าน้ีเองท่ีเราเรียกกันว่างานทางปรัชญา สุนทร โคตรบรรเทา (2553 : 10) ได้ศึกษาพบว่า ปรัชญา หมายถึงศาสตร์ที่ว่าด้วยความคิด ความเชื่อ และวิธีการเสาะแสวงหาความจริง ความรู้ และคุณค่าของของสรรพสิ่งในโลกและจักวาล สรรพส่ิงในโลกและจกั วาลมีมากมายทัง้ สิ่งมีชีวติ ส่ิงไม่มีชีวติ ได้แก่ สัตว์ พืช ต้นไม้ สัตว์ชั้นต่า และสัตว์ ช้นั สูง จนถึงมนุษย์ และในสงั คมในทศั นะกวา้ ง ปรัชญาวา่ ดว้ ยความจริง ความรู้ และคุณคา่ ของสิ่งทุกสิ่ง ทุกอย่างในโลกและจักวาล แต่ในทัศนะแคบ ปรัชญาว่าด้วยความจริง ความรู้ และคุณค่าของชีวิตและ ความเป็นมนษุ ย์ และส่ิงทม่ี นุษย์ต้องเก่ียวขอ้ งในการดารงชีวิตของมนุษยใ์ นสังคมเทา่ น้นั ธีรศักดิ์ อุปไมยอธิชัย (2557 : 38) ได้ศึกษาพบว่า คาว่า ปรัชญา มีที่มาจากภาษาสันสกฤต หมายถงึ ความรู้อันประเสรฐิ โดยมรี ากศัพท์มาจากคาวา่ ปฺร ท่ีแปลว่าประเสรฐิ กับคาว่า ชฺญา ทีแ่ ปลว่า รู้ ซึ่งเป็นศัพท์บัญญัติของพระเจ้า วรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ ส่วนคาว่าปรัชญาใน ภาษาอังกฤษใช้คาว่า”Philosophy” มีรากศัพท์มาจากคาว่า ฟีโลโซเฟียในภาษากรีกโบราณ ซึ่งแยกได้ เป็นคาว่า ฟีเลน แปลว่าความรัก และโซเฟีย แปลว่าความรู้ เม่ือรวมกันจึงมีความหมายว่า “การรักใน ความรู้” หรือปรารถนาจะเขา้ ถงึ ความร้หู รือปัญญา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 กับปรัชญาการศึกษาปัญหาของวิกฤตการณ์ทาง เศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครอง และความเจริญทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ส่งผลต่อการจัด การศึกษาของไทยเป็นอย่างยิ่งเพราะการจัดการศึกษาสามารถท่ีจะขจัดปัญหาต่างๆไปได้ จึงได้มีการ ตราพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ข้นึ และได้มกี ารปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 โดยบรรจุมาตราต่างๆ เพอ่ื กาหนดเงื่อนไขในการเปล่ยี นแปลง 5 แนวทาง ได้แก่ 1. การปฏริ ปู กระบวนการเรียนการสอน-การประเมนิ ผล 2. การปฏิรปู การฝึกอบรมครแู ละระบบการพฒั นาครู 3. ปฏริ ปู ระบบการบรหิ ารจดั การ 4. ปรบั ระบบการศกึ ษา 5. ยุทธศาสตร์ของการระดมสรรพกาลังจากทุกๆส่วนของสังคมให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัด การศกึ ษาใหก้ วา้ งขวางยิง่ ขนึ้ ปรัชญาการศึกษามีความสาคัญต่อการปฏิรูปการศึกษาเป็นอย่างมาก โดยต้องคานึงถึง องค์ประกอบต่างๆ ในการเรียนการสอนเพ่ือเป็นแนวทางเป็นหลักการและเป็นเคร่ืองมือในการ ตรวจสอบเพ่ือการปฏิรูปการศึกษาของประเทศให้มคี ุณภาพ ปรัชญาตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 แปลวา่ วิชาว่าด้วยหลกั แห่งความรู้ และความจริง กล่าวคือ ในบรรดาความรู้ท้งั หลายของมนุษยชาตินนั้ อาจแบง่ ได้เป็น 2 เรื่องใหญ่ๆ เรอ่ื ง ท่ี 1 คือ เรื่องเกี่ยวกบั ธรรมชาติ เชน่ ฟิสกิ ส์ มีเป้าหมายในการศึกษาเพ่อื หาความจรงิ ต่างๆ และเข้าใจใน ธรรมชาติมากกว่าส่ิงรอบตัวเพราะรวมไปถึงจักรวาลทั้งหมดอย่างลึกซ้ึง ชีววิทยามีเป้าหมายใน การศึกษาเก่ียวกับส่ิงมีชีวิตทั้งหลาย เคมีมีเป้าหมายในการศึกษาเก่ียวกับธาตุและองค์ประกอบของธาตุ 6
เร่ืองท่ี 2 คือ เร่ืองเกี่ยวกับสังคม เช่น เศรษฐศาสตร์ มีเป้าหมายในการศึกษาเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจ ของสังคม รัฐศาสตร์มีเป้าหมายในการศึกษาเกี่ยวกับระบบการเมอื งการปกครองของสงั คม นิตศิ าสตร์มี เป้าหมายในการศึกษาเกี่ยวกับระบบกฎหมายของสังคม แต่เป้าหมายในการศึกษาของปรัชญาน้ัน ครอบคลุมความรู้และความจริงในทุกศาสตร์และในทุกสาขาความรู้ของมนุษย์ดังได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ท้ังผลจากการศึกษาของปรัชญาก็สามารถนาไปใช้อ้างอิงได้ในทุกศาสตร์ และในทุกสาขาความรู้ของ มนุษย์ด้วยดังนี้ จึงกล่าวได้ว่า ปรัชญาเป็นความรู้ท่ีเป็นหลักแห่งความรู้ และเป็นความรู้ที่เป็นหลักแห่ง ความจริง ด้วยปรัชญาการศึกษาเป็นความคิด ความเช่ือที่ใช้เป็นหลักในการคิดและการตรา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ การจัดการเรียนเรียนรู้ ครูจาเป็นจะต้องดาเนินการให้เป็นไปตาม หลกั ปรัชญาการศกึ ษา ความสัมพนั ธ์ระหว่างปรัชญากบั การศึกษา สุนทร โคตรบรรเทา (2553 : 39) ได้ศึกษาพบว่า ปรัชญามีความสัมพันธ์กับการศึกษา 3 ประการ ดังตอ่ ไปน้ี 1.ปรัชญาช่วยวางรูปแบบในการจัดการศึกษา นักการศึกษาซึ่งมีหน้าที่กาหนดนโยบายและ วางแผนการศึกษา ยึดปรัชญาที่เหมาะสมและสอดคล้องกับยุคสมัยมาเป็นแนวในการวางรูปแบบและ โครงสรา้ งของการศึกษา 2.ปรัชญาช่วยให้ภาพรวมเกี่ยวกับเป้าหมายและวิธีการจัดการศึกษา แนวคิดทางปรัชญา โดยเฉพาะอย่างย่ิงท่ีเก่ียวกับความเป็นมนุษย์ ช่วยให้ภาพรวมเก่ียวกับผู้เรียนหรือช่วยให้เด็กไทยในรุ่น อายแุ ละวัยตา่ งๆมคี วามรู้ความสามารถและคุณสมบัตทิ ่ีเหมาะสมตามท่ีสังคมต้องการ ดังนั้น ปรัชญาจึงช่วยให้แนวทางเก่ียวกับการตั้งจุดมุ่งหมายของการศึกษาและวิธีการให้ศึกษา แก่ผู้เรียน โดยคานึงถึงธรรมชาติของผู้เรียนและการเรียนรู้จุดมุ่งหมายของการเรียน รู้วิธีการจัด ผ้รู บั ผดิ ชอบ ในการจดั และการกาหนดเนอ้ื หาและขอบข่ายของหลักสูตรใหส้ อดคลอ้ ง 3.ปรัชญาช่วยให้กรอบในการวิเคราะห์ความคิดและภาษาของการศึกษา เป็นการวิเคราะห์ เกี่ยวกับความหมายของศัพท์ทางการศึกษา เช่น เอกภาพทางการศึกษาคุณภาพทาง การศึกษา การ ประกันคุณภาพ ความเสมอภาคทางการศึกษา การศึกษาตลอดชีวิต การศึกษาภาคบังคับ หรือการ กระจายอานาจทางการศกึ ษา และคาว่า การศกึ ษา เป็นต้น ลักษณะของปรัชญาการศกึ ษา สนุ ทร โคตรบรรเทา (2553 : 40) ไดศ้ กึ ษาพบว่า ปรชั ญาการศึกษา ต้องมลี กั ษณะ สามประการ ดงั ต่อไปนี้ 1.มีลักษณะเป็นการพรรณนาและวิเคราะห์ ปรัชญาการศึกษาเป็นการบรรยายหรือพรรณนา และการวิเคราะหแ์ นวคดิ และความเชอื่ ของนักปรัชญาการศึกษาท่ียึดถือในหลักปรัชญานั้น ๆ 2.เป็นการวิจารณ์และประเมิน ปรัชญาการศึกษามีลักษณะเป็นการวิจารณ์ข้อดี ข้อเสีย และ การประเมินการศกึ ษาทจี่ ัดอยใู่ นปัจจุบัน เนือ้ หาขอ้ ดี ขอ้ เสีย หรือจดุ แข็งและจดุ อ่อนของการศกึ ษา เพื่อ เสนอแนวคิดและทางเลอื กใหม่ทางการศึกษาในปัจจุบนั และอนาคต 3.เป็นการคาดการณ์ลว่ งหน้า ปรัชญาการศกึ ษามลี กั ษณะเปน็ การคาดคะเนผลตามมาว่าการจัด การศึกษาอยู่ไปได้นานเท่าไร และมรี ปู แบบการศกึ ษาอน่ื ได้หรอื ไม่ เปน็ ต้น 7
แนวทางในการสรา้ งปรชั ญาการศกึ ษา สุนทร โคตรบรรเทา (2553 : 41-43) ได้ศึกษาพบว่า แนวทางการสร้างปรัชญาการศึกษาของ ประเทศและสงั คมในระดบั ตา่ งๆทาไดส้ วี่ ธิ ี ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ประยุกต์มาจากปรัชญาแมบ่ ท เป็นการเสนอโดยยึดปรัชญาแม่บทเปน็ แนว ได้แก่ อภิปรัชญา ญาณวทิ ยา และ คุณวทิ ยา ซ่งึ มีแนวคดิ และความเช่ือของนักปรชั ญาในอดีต เช่น จิตนยิ ม ของเพลโต สัจ นิยมของอลิสโตเติล และปฏิบัตินิยมของดุย และอัตถิภาวนิยม ของเคิร์คการ์ด เป็นต้น แล้วรวมหลาย สาระสาคญั มาเปน็ นักปรัชญาการศกึ ษาตามความเหมาะสมของประเทศ 2. ยึดปรัชญาของนักปรัชญาแต่ละคน ปรัชญาการศึกษาอาจยึดปรัชญาของนักคิด หรือ นัก ปรัชญาคนใดคนหน่ึง เช่น ปฏิบัตกิ ารนิยม ของดยุ พิพฒั นาการนยิ ม ของ ฮทั ชินส์ สัจนิยมของอรสิ โตเติล หรือธรรมชาตินิยมฺของรุสโซ และจิตนิยมของเพลโต เป็นต้น ตัวอย่างเช่น อาจยึดหรือดึงเอาแนวคิด ตามที่รสุ โซเขียนไว้ในหนังสือ เอมิล(Emil)เกย่ี วกบั การอบรมเลีย้ งดู และการให้การศึกษาต้งั แตเ่ ล็กจนโต และหนังสือนี้ถือว่าเป็นหนังสือปรัชญาการศึกษาเล่มแรกของโลก หรืออาจยึดแนวคิดของเพลโตจาก หนงั สือ อตุ มรัฐ (The Republic) เป็นตน้ 3. ใช้หลักการทางปรัชญามาวิเคราะห์ วิธีการนี้เป็นการเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการศึกษา ท่ีมีอยู่ ในปัจจุบัน โดยใช้หลักการและหลักเกณฑ์ทางปรัชญามาวิเคราะห์การศึกษาที่ดาเนินการอยู่ เพื่อดูว่า ตรงตามปรัชญาหรือแตกต่างไปจากปรัชญาที่มีอยู่ และเป็นที่ยอมรับกันอย่างไรบ้าง เหมาะสมกับยุค สมยั เพยี งใด อยา่ งไรกด็ ีวิธีการนี้เปน็ การให้แนวคิดในทางทฤษฎีมากกวา่ เสนอแนะแนวทางในการปฏิบัติ 4. วิจารณ์การศึกษาที่มีอยู่ในปัจจุบัน วิธีการนี้คล้ายกับวิธีการท่ี3 แต่แตกต่างกันท่ีวิธีที่4 มุ่ง วิจารณ์และโจมตีการศึกษาที่จัดอยู่ในปัจจุบัน มีนักวิจารณ์การศึกษาปัจจุบันว่าล้มเหลวและไม่ สอดคล้องกับความต้องการและการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน การศึกษาเป็นการกดข่ีทารุณผู้เรียน ตัวอย่างเช่น เปาโล แฟรร์ นักปรัชญาชาวบลาซิลโจมตีการศึกษาในปัจจุบันว่าเป็นการกดข่ีผู้เรียน ครู เป็นผู้รู้แต่ผู้เดียว บังคับให้ผู้เรียนรู้ตามครูเท่าน้ัน การศึกษาจึงเป็นระบบฝากเงินธนาคาร ครูเป็นผู้ยัด เยยี ดความรใู้ ห้โดยครูแตล่ ะคนอัดความรู้เขา้ ไปในสมองเดก็ เหมือนเอาเงนิ ใส่กระปุกออมสิน โดยไม่คานึง ว่าเด็กจะรับได้หรือไม่ได้ ครูเป็นท้ังผู้สอน ผู้พิพากษา และหมอรักษาไข้ให้ผู้เรียน เปาโล แฟรร์ เขียน หนังสือชื่อ การศึกษาสาหรับผูถ้ ูกกดข่ี และเสนอว่าต้องปลดปล่อยให้ผูเ้ รียน มีอิสระและเสรีภาพในการ เรยี น และการเสาะแสวงหาความรู้ สาขาของปรชั ญา ธีรศักดิ์ อุปไมยอธิชัย (2557 : 39-40) ได้ศึกษาพบว่า ปรัชญาแต่ละสาขามีความแตกต่างกัน โดยโครงสร้างและท่ีมาที่ตา่ งกันซ่ึงล้วนแต่ปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัยและความเจริญทางการศึกษา โดย แบง่ ออกเปน็ 3 สาขาดงั น้ี 1. ญาณวิทยาหรือทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge) บัญญัติข้ึนเพื่อใช้เป็น คาแปลของคาภาษาองั กฤษวา่ Epistemology ซ่ึงมาจากภาษากรีกวา่ Episteme (ความร้)ู และ Logos (วิชา) มีความหมายว่า ทฤษฎีแห่งความรู้ ซึ่งญาณวิทยาจะอธิบายถึงปัญหาเกี่ยวกับท่ีมาของความรู้ แหล่งกาเนดิ ของความรู้ ธรรมชาติของความรู้ และเหตแุ หง่ ความความร้ทู แี่ ท้จรงิ 8
2. อภิปรัชญา (Metaphysics) หมายถึงศาสตร์ท่ีว่าด้วยความแท้จริงหรือสารัตถะ (Reality Essence) มปี รชั ญาอกี สาขาหน่งึ ท่มี ีเนือ้ หาเก่ียวขอ้ งกับ Metaphysics คือ Ontology แปลวา่ ภววทิ ยา ซ่ึงเป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยความแท้จริงหรือสารตั ถะว่ามจี ริงหรือไม่ Ontology ศึกษาเร่ืองความมี อยู่ของความแท้จริง หรือสารัตถะน้ันเป็นจริงอย่างไรโดยท่ัวไปถือว่าศาสตร์ท้ังสองน้ีศึกษาเรื่องเดียวกัน คือความมีอยู่ของความแท้จริง หรือความแท้จริงท่ีมีอยู่ เพราะฉะน้ันจึงถือว่าศาสตร์ท้ังสองเป็นเร่ือง เดียวกัน อภิปรัชญาเป็นการศึกษาปรัชญาท่ีเกี่ยวข้องกับสิ่งท่ีอยู่นอกเหนือจากการเห็นทั่ว ๆ ไป หรือ ความรูท้ ี่อยู่นอกเหนอื การรูเ้ ห็นใดๆ แต่สามารถรแู้ ละเขา้ ใจดว้ ยเหตุผล 3. คุณวิทยา (Axiology) ศึกษาเร่ืองราวเก่ียวกับคุณค่าหรือค่านิยม (value) เช่น คุณค่าเกี่ยวกับความดีและความงาม มีอะไรเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาว่าอย่างไรดี อย่างไรงาม แบ่ง ออกเปน็ 3.1 จริยศาสตร์ (Ethics) ที่มีมาจากรากศัพท์ภาษาละตินว่า Ethos ที่ หมายถึง อุปนิสัยหรือหลักของความประพฤติ ขนบธรรมเนียมที่เป็นความเคยชิน จริยศาสตร์เป็น การศึกษาถึงเป้าหมายสูงสุดของมนุษย์เราว่าคืออะไร อะไรควรทาหรือไม่ควรทาเพ่ือจะได้ไปถึง เป้าหมายสูงสุดนั้น และจะใช้เกณฑ์อะไรมาตัดสินว่า สิ่งน้ีดี ส่ิงนี้ไม่ดี ดังน้ัน เป้าหมายของชีวิตคือ ตัวกาหนดการกระทาของมนุษย์ว่าจะเป็นไปในแนวทางใด และเป้าหมายชีวิตของมนุษย์แต่ละคนนั้นก็ แตกตา่ งกันออกไปหลายแนวคดิ 3.2 สนุ ทรยี ศาสตร์ (Anesthetics) สนุ ทรียศาสตร์เปน็ ศัพท์คาใหมท่ ่บี ญั ญัติ ขึ้นโดย โบมการ์เทน (Alexander Gottieb Baumgarten) ซ่ึงก่อนหน้านี้เป็นเวลา2,000 กว่าปี นักปราชญ์สมัยกรีก เช่น เพลโต อาริสโตเติล กล่าวถึงแต่เร่ืองความงาม ความสะเทือนใจ ซึ่งเป็น ความรู้สึกทางการรับรู้ (Sense Perception) ของมนุษย์ ปัญหาที่พวกเขาโต้เถียงกัน ได้แก่ ความงาม คืออะไร ค่าของความงามนั้นเป็นจริงมีอยู่โดยตัวของมันเองหรือไม่ หรือว่าค่าของความงามเป็นเพียง ขอ้ ความที่เราใช้กบั สิง่ ทเ่ี ราชอบ ความงามกับส่ิงที่งามสัมพนั ธก์ ันอย่างไร มีมาตรการตายตัวอะไรหรือไม่ มีทาให้เราตัดสินใจได้ว่าสิ่งนั้นงามหรือไม่งาม สุนทรียศาสตร์นับว่าเป็นแขนงหน่ึงของปรัชญาในส่วนที่ เกี่ยวข้องกับการแสวงหาคุณค่า (Axiology) ในสมัยก่อนวิชานี้เป็นที่รู้จักกันในรูปของวิชา”ทฤษฎีแห่ง ความงาม (Theory of Beauty)” 3.3 ตรรกวิทยา (Logic) มาจากรากศัพท์ในภาษากรีกว่า logos และ ความหมายของคาว่า logos ตามรากศัพท์เดิมในภาษากรีก หมายถึง คาพูด การพูด เหตุผล สมมติฐาน สุนทรพจน์ คากรีกที่มีรากศัพท์มาจาก Logos เช่น Logistikon มีความหมายถึง การอธิบาย การให้ รายละเอียด นอกจากนี้ยังหมายถึง คาสัญญา แต่อย่างไรก็ตาม ความหมายที่ซ่อนอยู่ของคาว่า Logic คอื การคิดนัน่ เอง ตรรกวิทยามิใช่เรือ่ งราวของปรชั ญาโดยตรง แต่มีความสาคัญในฐานะเป็นเครือ่ งมอื ใน การคดิ ทางปรัชญา เพอื่ ค้นหาเหตผุ ลและความถูกผดิ ในการโต้แย้งทต่ี า่ งกนั 9
ประวตั ิความเป็นมาและระบบการจัดการศึกษาไทย ประวัตคิ วามเปน็ มาของการศกึ ษาไทย กระทรวงศึกษาธิการ (ม.ป.ป. : Online) ได้ศึกษาพบว่า การจัดการศึกษาของประเทศไทยมี ววิ ัฒนาการมาตงั้ แตส่ มัยโบราณเรอื่ ยมาจนถงึ ปัจจุบนั แบง่ ตามชว่ งเวลาได้ ดงั น้ี การศกึ ษาไทยสมยั โบราณ (พ.ศ. 1781 - พ.ศ. 2411) การศกึ ษาไทยสมยั ปฏิรูปการศึกษา (พ.ศ. 2412 - พ.ศ. 2474) การศึกษาสมัยการปกครองระบอบรฐั ธรรมนูญ (พ.ศ. 2475 ปจั จุบัน) การจัดการศึกษาของไทยมีวิวัฒนาการมาโดยตลอด อาจจะเป็นเพราะมีปัจจัยท้ังภายในและ ภายนอกประเทศทาให้สังคมมีการเปล่ียนแปลง กล่าวคือ ปัจจัยภายในเกิดจากความต้องการพัฒนา สังคมให้มีความเจริญและทันสมัย ส่วนปัจจัยภายนอกเกิดจากกระแสความเปล่ียนแปลงของสังคมโลก ทั้งด้านเศรษฐกิจและการเมือง ตลอดจนการติดต่อสื่อสารกันทาให้ประเทศไทยต้องปรับตัวให้ทันสมัย เพอื่ ความอยู่รอดและประเทศไดเ้ กิดการพัฒนาให้ทัดเทียมกับนานาประเทศ ดว้ ยเหตุผลท่กี ลา่ วมาทาให้ การจัดการศึกษาของไทยมีวิวัฒนาการเร่ือยมา ซึ่งเป็นปัจจัยท่ีช่วยเสริมความเจริญก้าวหน้าท้ังทางด้าน สังคม เศรษฐกิจและการเมืองของชาติให้ม่ันคงและเจริญก้าวหน้า ดังจะได้กล่าวถึงวิวัฒนาการของ การศกึ ษาไทย ดังน้ี การศกึ ษาไทยสมยั โบราณ (พ.ศ. 1781 - พ.ศ. 2411) สมยั สุโขทัย การศึกษาได้จัดกันมาต้ังแต่สมัยสุโขทัยเป็นราชธานี (พ.ศ. 1781-1921) แต่เป็นการศึกษาแผน โบราณ ซ่ึงเจริญรอยสืบต่อมาจนถึงสมยั กรุงรัตนโกสินทร์ ตน้ รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่ หัว ในสมยั กรงุ สโุ ขทยั รฐั และวัด รวมกันเปน็ ศนู ย์กลางแหง่ ประชาคม กิจกรรมตา่ ง ๆ ของรัฐและวดั ย่อม เป็นการสอนประชาคมไปในตัววิชาท่ีเรียนคือภาษาบาลี ภาษาไทยและวิชาสามัญขั้นตน้ สานักเรียนมี 2 แห่ง แห่งหนึ่งคือวัดเป็นสานักเรียนของบรรดาบุตรหลานขุนนางและราษฎรทั่วไป มีพระที่เช่ียวชาญ ภาษาบาลีเป็นครูผู้สอน เพราะสมัยนั้นเรียนภาษาบาลีกันเป็นพ้ืน ใครรู้พระธรรมวินัยแตกฉานก็นับว่า เป็นปราชญ์ อีกแห่งหน่ึงคือ สานักราชบัณฑิต ซ่ึงสอนแต่เฉพาะเจ้านายและ บุตรหลานข้าราชการ เท่าน้ัน ปรากฏในพระราชพงศาวดารว่า พระเจ้าลิไทแห่งกรุงสุโขทัยเมื่อทรงพระเยาว์ ได้เคยศึกษาเล่า เรียนในสานักราชบัณฑิตเหล่านี้จนมีความรู้วิชาหนังสือแตกฉานถึง แก่ได้รับยกย่องว่าเป็นนักปราชญ์ สมัยอยธุ ยา ในสมัยกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ.1893 -2310) การศึกษาได้เปลี่ยนรูปต่างไปจากการศึกษาสมัยกรุง สุโขทัย ลักษณะการศึกษาสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นไปในทางติดต่อกับประชาคมเท่านั้น เพราะการศึกษา ทว่ั ไปก็ตกอยู่แก่วัด ราษฎรนิยมพาลกู หลานไปฝากพระ เพ่ือเล่าเรียนหนังสือ พระยินดีรับไว้เพราะท่าน ต้องมีศิษยไ์ ว้สาหรับปรนนิบตั ิ ศิษย์ได้รับการอบรมในทางศาสนา ไดเ้ ล่าเรยี นอ่านเขียน หนังสอื ไทยและ บาลตี ามสมควร เพอื่ เปน็ การตระเตรยี มสาหรบั เวลาข้างหน้า เมอ่ื เติบโตขึน้ จะไดส้ ะดวกในการอุปสมบท การให้ผู้ชายที่มีอายุครบ 20 ปีบริบรู ณอ์ ุปสมบทเป็นพระภิกษุนนั้ เป็นประเพณีทม่ี ีมานานแล้ว เขา้ ใจว่า จะสืบเน่ืองมาจากแผ่นดินพระเจ้าบรมโกศ เพราะปรากฏว่า พระองค์ทรงกวดขันการศึกษาทางพระ ศาสนามาก บุตรหลาน ข้าราชการคนใดที่จะถวายตัวทาราชการ ถา้ ยงั ไม่ได้อุปสมบท ก็ไม่ทรงแต่งตั้งให้ 10
เป็น ขา้ ราชการ ประเพณนี ี้ยงั ผลใหว้ ดั ทกุ แห่งเปน็ โรงเรยี นและพระภกิ ษุทุกรปู เป็นครูทาหน้าท่ีอบรมส่ัง สอนศิษย์ของตน ตามความสามารถที่จะจัดได้ แต่คาว่า โรงเรียนในเวลานั้น มีลักษณะต่างกับโรงเรียน ในเวลานีก้ ล่าวคอื ไม่มอี าคารปลูกขึ้นสาหรับใชเ้ ปน็ ท่เี รียนโดยเฉพาะ เป็นแต่ศิษยใ์ คร ใครกส็ อนอยู่ที่กุฏิ ของตนตามสะดวกและความพอใจพระภิกษุรูปหน่ึง ๆ มีศิษย์ไม่กค่ี นเพราะจะต้องบิณฑบาตร มาเล้ยี งดู ศิษย์ด้วย ชาวยุโรปท่ีเข้ามาเมืองไทยในสมัยต่าง ๆ ได้เล่าเร่ืองการศึกษาของไทยไว้ในหนังสือท่ีเขาแต่ง ขึ้น จะขอยกมาเป็นบางตอนดังน้ี เมอร์ซิเออร์ เดอะลาลูแบร์ ราชทูตผู้หน่ึงในคณะทูตฝร่ังเศสคร้ังที่ 2 ของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ซึ่งเข้ามาเจริญทางพระราชไมตรีในแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้ กล่าวไว้ในหนังสือราชอาณาจักรสยามว่า \"พระสอนหนังสือให้แก่เยาวชน ดังที่ข้าพเจ้าได้เล่าแล้ว และ ท่านอธิบายคาสั่งสอนแก่ราษฎร์ ตามที่เขียนไว้ในหนังสือบาลี\"หนังสือราชอาณาจักรไทยหรือประเทศ สยาม ของมองเซนเยอร์ ปลั เลอกวั ซ์ สังฆราชแห่งมัลลอส ในคณะสอนศาสนาโรมนั คาทอลิกของฝร่งั เศส ประจาประเทศไทยซ่ึงพิมพ์ออกจาหน่าย เมื่อ พ.ศ. 2397 กล่าวว่า \"ภายหลังหรือบางทีก่อนพิธีโกนจุก บดิ ามารดาสง่ บุตรของตนไปอยู่วัดเพ่ือเรียนอ่านและเขียน ณ ที่นั่นเด็กเหล่าน้ีรับใชพ้ ระ พายเรือใหพ้ ระ และรับประทานอาหารซึ่งบิณฑบาตมาได้ ร่วมกับพระด้วยพระสอนอ่านหนังสือให้เพียงเล็กน้อยวันละ คร้ังหรือสองคร้ังทั้งน้ีเพื่อเป็นการตอบแทน การศึกษาของเด็กหญิงมีการสอนให้ทาครัว ตาน้าพริก ทา ขนมมวนบหุ ร่ีและจีบพลู” ในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราชการศึกษาเจริญมาก มีการสอนทั้งภาษาไทย บาลี สันสกฤต ฝรงั่ เศส เขมร พม่า มอญ และจีน ปรากฏตามพงศาวดารว่า พระตรสั น้อย โอรสองค์หน่ึงของ พระเพทราชาได้ทรงศึกษาภาษาต่าง ๆ จนชานาญทั้งภาษาบาลี สันสกฤต ฝร่ัง เขมร ลาว ญวน พม่า รามญั และจนี ท้ังยังทรงศึกษาวชิ าโหราศาสตร์ และแพทยศาสตร์จากอาจารย์ต่าง ๆ เป็นอันมากเข้าใจ ว่าโดยเฉพาะวิชาภาษาไทย คงจะได้วางมาตรฐานดีมาแต่คร้ังน้ัน เพราะปรากฏว่าพระโหราธิบดีได้แต่ง แบบเรียนภาษาไทยช่ือ จินดามณี ถวายสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซ่ึงได้ใช้เป็นแบบเรียนสืบต่อมา เป็นเวลานานสานักเรียนนอกจากวัดในบางรัชกาล ยังมีราชสานัก สานักราชบัณฑิตและโรงเรียน มิชชนั นารี ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช การศกึ ษาในราชสานักรุ่งโรจน์มาก แม้กระทง่ั นายประตู ก็สามารถแต่งโคลงได้ สานักราชบัณฑิตน้ันคงจะสอนวิชาต่าง ๆ กัน ดังปรากฏตามพงศาวดารว่า พระ ตรสั น้อย ไดท้ รงเล่าเรยี นอักขรสมัยและวิชาอ่นื ๆ จากอาจารยต์ า่ ง ๆ เปน็ อันมาก พวกราชบณั ฑิตทีเ่ ป็น อาจารยส์ อนหนงั สือนม้ี ีต่อมา จนถึงสมยั กรุงรัตนโกสนิ ทรแ์ ม้ในต้นรัชกาลท่ี 5 กย็ ังมีบัณฑติ อาจารยบ์ อก หนังสือ พระเณรอยู่ในวัดพระศรีรัตนศาสดารามและวัดอื่น ๆ จนเม่ือมีโรงเรียนของกระทรวงธรรมการ และโรงเรียนพระปริยัติธรรมแพร่หลายแล้ว สานักราชบัณฑิตจึงได้หมดไป สาหรับโรงเรียนมิชชันนารี นนั้ ในช้นั แรกชาวยุโรปทีเ่ ขา้ มาคา้ ขาย มีชาวโปรตุเกส เปน็ ต้น ได้รับอนญุ าตให้สร้างโบสถเ์ พือ่ ทากจิ ทาง ศาสนา โบสถ์ฝร่ังในช้ันเดิมเช่นในแผ่นดินสมเด็จพระชยั ราชานั้นเป็นโบสถ์เล็ก ๆ สร้างข้ึนเพื่อทากจิ ทาง ศาสนาและเพื่อสอนศาสนาเท่านั้น ในระยะน้ันไทยเป็นประเทศเดียวในแถบอาเชียตะวันออก ที่ไม่ รังเกียจศาสนาใดศาสนาหน่ึงเลย พวกฝร่ังเห็นเป็นโอกาสท่ีจะเกลี้ยกล่อมคนไทยให้เข้ารีตได้มากกว่าที่ อื่นดงั น้ันบาทหลวงจึงได้เดนิ ทางเข้ามามากข้นึ พระเจ้าแผ่นดนิ ก็ทรงให้ความอุปถัมภ์พวกบาทหลวง ถึง แก่พระราชทานทรัพย์ให้สร้างโบสถ์ก็มี ดังเช่น สมเด็จพระนารายณ์มหาราชพระราชทานแก่บาทหลวง ฝรั่งเศสเป็นต้นในรัชกาลน้ันมีโบสถ์ฝรั่งใหญ่ ๆ มากกว่าในรัชกาลก่อน ๆ และเมื่อมีโบสถ์สาหรับทากิจ 11
ทางศาสนาแลว้ ก็ตงั้ โรงเรียนข้ึนเรียกว่าโรงเรียนสามเณร โรงเรียนสามเณรตงั้ ขึ้นเพื่อสั่งสอนชาวพ้ืนเมือง ที่ประสงค์จะเข้ารีตแต่นอกจากสอนศาสนาก็ได้สอนหนังสือและวิชาอื่น ๆ ด้วยปรากฏว่าสมเด็จพระ นารายณ์ทรงส่งมหาดเล็ก รุ่นเด็กเป็นจานวนมากมาเรียนในโรงเรียนของพวกบาทหลวง จึงนับว่า โรงเรยี นสามเณร เป็นสานกั เรียนวิชาสามญั อกี แห่งหนง่ึ สมยั รัตนโกสินทร์ ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น การศึกษายังคงดาเนินไปเช่นเดียวกับสมัยกรุงศรีอยุธยา กล่าวคือมีวัดได้ให้ความรู้แก่พลเมืองให้เหมาะแก่ความต้องการของประชาคม วัดและบ้านรับภาระใน การอบรมส่ังสอนเด็ก ส่วนรัฐหรือราชสานักควบคุมตลอดจนให้ความอุปถัมภ์ตามสมควร หนังสือ ราชอาณาจักรและชาวสยามของเซอร์จอห์นบาวริง ผู้สาเร็จราชการฮ่องกง ซึ่งสมเด็จพระนางเจ้า วิกตอเรีย พระบรมราชินีนาถแห่งประเทศบริเตนใหญ่ ทรงแต่งตั้งเป็นอัครราชทูตมาเจริญทางพระราช พระราชไมตรีเมื่อ พ.ศ.2398 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกล่าวถึงการศึกษาสมัย กรุงรัตนโกสินทร์ไว้สองแห่ง แห่งหนึ่งมีความว่า “การศึกษาต้ังต้นแต่การโกนจุก แล้วเด็กผู้ชายถูกส่งไป อยู่วัดเรียนอ่าน เขียน และคาสอนศาสนากับพระ” อีกแห่งหนึ่งมีความว่า “พระได้รับมอบหมายให้จัด การศึกษาและโรงเรียนอยู่ติดกับวัดโดยมาก ย่อมเป็นของธรรมดาอยู่เองท่ีการสอนให้รู้คาสั่งสอนและ ประกอบพิธีกรรมทางพุทธศาสนาเป็นส่วนสาคัญมากของระบบการศึกษา พลเมืองชายส่วนหนึ่งอ่าน และเขียนหนังสือออก แต่วิธีท่ีจะแสวงหาความรู้ช้ันสูง สาขาใดสาขาหนึ่งมีอยู่น้อยถึงกระนั้นก็ดี โดยเฉพาะในบรรดาขุนนางยังใฝ่ใจเรียนวิชาเคร่ืองจักรกลไก รู้จักใช้เครื่องมือเดินเรือและรู้วิชาปรัชญา กันมาก ค่าเล่าเรียนตามปรกติในโรงเรียนสามัญท่ีกรุงเทพฯ เก็บจากเด็กชายคนละ 8 ดอลลาร์หรือ 35 ชิลลิงต่อปีและอีก 15 ดอลลาร์ เป็นค่าที่อยู่ เสื้อผ้า เคร่ืองเขียนและอื่น ๆ ชาวจีนท่ีรวยบางคนจ้างครู สอนส่วนตัวเดือนละ 8 ดอลลาร์ ห้องเรียนห้องหน่ึงอาจเช่าได้เดือนละ 2 ดอลลาร์คร่ึงหรือต่ากว่านั้น การศึกษาสตรีถูกทอดทงิ้ ในประเทศสยาม มีสตรีอยู่น้อยคนทอ่ี ่านหรอื เขียนได้ อยา่ งไรกด็ ี ในการแสดง ละครภายในพระราชวงั สตรคี นหนึง่ บอกบทและพลิกหนา้ บทละครไดอ้ ยา่ งแคลว่ คล่องมาก” แม้ไทยจะเคยติดต่อกับฝรั่งมาเป็นเวลานาน นับแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาแต่การศึกษาก็ยังคงเป็น แผนโบราณอยู่ตามเดิม การถ่ายทอดวิชาความรู้ศิลปวิทยาการต่าง ๆ ยังน้อยมาก เข้าใจว่ามีเพียงวิธี หล่อปืนไฟ การใช้ปืนไฟในการสงคราม วิธีทาป้อมค่ายสู้กาลังปืนไฟ ตารายาบางอย่าง เช่น วิธีทาขี้ผึ้ง และตาราทาอาหาร เชน่ ฝอยทอง เปน็ ต้นเทา่ นัน้ ในระยะปลายสมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก การ ติดต่อกบั ฝร่ังขาดไประยะหนงึ่ ต่อมาใน พ.ศ. 2361 รัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลัย จึง ไดม้ ีการติดต่อกนั อีกครั้งหนงึ่ กล่าวคือ ไทยอนุญาตให้โปรตเุ กสเข้ามาต้งั สถานกงสลุ ในกรงุ เทพฯ แตไ่ ม่มี อานาจพิเศษอย่างไร ใน พ.ศ.2365 บริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษอยากจะขยายการค้าขายมาถึง กรุงเทพฯ มาควิสเฮสติงส์ผู้สาเร็จราชการอินเดยี แต่งต้ังให้ให้นายจอหน์ ครอเฟิด เป็นทูตมาเจรจา เพื่อ ทาหนังสือสัญญาทางพระราชไมตรี การสนทนาโต้ตอบเป็นไปอย่างลาบากมาก เพราะพูดกันโดยตรง ไม่ได้ ต้องมีล่าม คือ ครอเฟิด พูดภาษาอังกฤษกับล่ามของเขา ล่ามน้ันแปลเป็นภาษามลายูให้ล่ามฝ่าย ไทยฟัง ล่ามฝ่ายไทยจึงแปลเป็นภาษาไทยเรียนเสนาบดี เมื่อเสนาบดีตอบว่า กระไรก็ต้องแปลกลับไป ทานองเดียวกัน ปรากฏว่าในครั้งนั้นไม่ได้ทาหนังสือสัญญาต่อกัน ในรัชกาลท่ี 3 พ.ศ.2369 รัฐบาล 12
อินเดียส่งร้อยเอกเฮนรี เบอร์นีย์มาทาหนังสือ สัญญาทางพระราชไมตรีกับไทย ขอความสะดวกใน การค้าขาย แต่หาไดเ้ รียกร้องอานาจศาลกงสุล ไม่ตรงกัน กลับบัญญตั ิไว้ว่า ต้องปฎิบตั ิตามกฎหมายของ บ้านเมือง หนังสือสัญญาต้องทาถึง 4 ภาษา คือ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษา โปรตุเกส ใน พ.ศ. 2371 มีเหตุการณ์อย่างหน่ึงเกี่ยวกับการศึกษา คือพวกมิชช่ันนารีอเมริกัน คณะ เพรสไบติเรียนได้เข้ามาสอนศาสนาให้แก่ชาวจีน ส่วนคนไทยน้ันเพียงแต่ช่วยรักษาพยาบาลให้อย่าง เดียว เพราะพวกมิชชันนารีไม่รู้จักภาษาไทย และไม่ได้เตรียมหนังสือสอนศาสนาเข้ามาด้วย โดยเหตุที่ พวกน้ีมาช่วยรักษาโรคดว้ ย ทาใหค้ นไทยสาคัญวา่ พวกมิชชันนารอี เมริกันเป็นแพทย์ จึงเรียกว่า หมอ ซึ่ง บางคนก็เป็นแพทย์จริง ๆ แต่บางคนได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิต วิชาศาสนศาสตร์ ครั้นเม่ืออยู่เมืองไทย นานเขา้ พวกมิชชันนารีอเมรกิ ันเรียนร้ภู าษาไทยจึงขยายการสอนศาสนามาถึงคนไทย โดยเขยี นคาสอน เป็นภาษาไทยแลว้ สง่ ไปพิมพ์ท่ีสงิ คโปร์ ในรชั กาลพระบาลสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั ปรากฏวา่ ไดท้ รงสรา้ งโรงชนดิ หนึ่ง เรยี กวา่ โรงทาน โรงทานนีเ้ ป็นสถานที่สาหรับให้การศึกษาด้วย จะเห็นได้จากคาประกาศเร่ืองโรงทานในรัชกาล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า“โรงทานน้ี พระบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้ ทรงสร้างข้ึนไว้ใหม้ ีเจ้าพนกั งานจัดอาหารและสารับคาวหวานเล้ียงพระสงฆ์สามเณร และขา้ ราชการทม่ี า นอนประจาซองในพระบรมมหาราชวัง กับทั้งบริจาคพระราชทรัพย์แจกคนชราพิการ และมีพระธรรม เทศนาและสอนหนังสือวิชาการต่าง ๆ โดยพระบรมราชประสงค์จะให้เป็นหิตานุหิต ประโยชน์แก่ชน ทงั้ หลายท้ังปวงในอิธโลกและปรโลกนัน้ ด้วย” ดังจะเหน็ ได้วา่ ถึงแมใ้ นสมยั นั้น จะได้มีโรงเรียนขน้ึ แลว้ กด็ ี แต่หาได้มีจุดประสงค์ไปในทานองท่ีจะแยกโรงเรียนออกจากวัดไม่ ทางด้านสามัญศึกษาก็มีวัดเป็นท่ี เรียน และมีพระเป็นครู ยงั ไม่มีสถานท่ีซึ่งจดั ไว้สาหรับทาการสอนวิชาโดยเฉพาะส่วนการเรียนก็แล้วแต่ สมัคร ไม่มีการบังคับ มีการสั่งสอนทางวิชาหนังสือมากกว่าอย่างอ่ืนบางทีก็มีการเรียนวิชาเลขเบ้ืองต้น ตามแผนเก่าด้วย การติดต่อกับฝร่ังในระยะหลัง ๆ นี้ ทาให้คนไทยสานึกได้ว่า การเรียนรู้ภาษาของเขา ตลอดจนวิชาความรู้ใหม่ ๆ เป็นสิ่งจาเป็น เพราะพวกน้ีกาลังแผ่อานาจ มาทางอาเชียตะวันออกมากข้ึน ทุกที ผู้ท่ีพยายามศึกษาจนมีความรู้ สามารถใช้การได้เป็นอย่างดีก็คือ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว พระเจ้าน้องยาเธอกรมหลวงวงศาธิราชสนิท และ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรสี ุริยวงศ์ ผู้สาเร็จราชการแผน่ ดินในสมัยต้นรัชกาลท่ี 5 ใน พ.ศ. 2398 ไทย ไดท้ าหนงั สือสัญญาทางพระราชไมตรีกบั องั กฤษ และต่อมากท็ ากับประเทศอ่ืน ๆ อกี ยังผลใหก้ ารคา้ ขาย ขยายตัวออกไปเป็นอันมาก ดังปรากฏจากจดหมายของหมอบรัดเลย์ตอนหน่ึงว่า “วันท่ี 28 ตุลาคม 2398 เรือกาปั่นใบของอเมริกันชื่อลักเนาเข้ามาถึง เรือพ่อค้าอเมริกันไม่ได้มีเข้ามาถึง 17 ปี วันที่ 1 มกราคม 2399 มีเรือกาป่ันพ่อค้าทอดอยู่ในแม่น้าถึง 60 ลา เพราะเหตุท่ีได้ทาหนังสือสัญญากับ ตา่ งประเทศ การค้าขายเจรญิ อย่างรวดเร็วไมเ่ คยมีเหมอื นเชน่ นีม้ าก่อน” อยา่ งไรก็ดี การเรียนวชิ าความร้แู บบฝร่ังเชอื่ งช้ามาก แม้ว่ารฐั บาลมีกจิ เกย่ี วข้องกับฝรัง่ อยเู่ สมอ และมีฝร่ังเข้ามาค้าขายอยู่ในกรุงเทพฯ แล้วก็ตามคนไทยที่เรียนรู้ภาษาฝร่ังก็ยังมีน้อยมาก เห็นจะเป็น เพราะผูท้ ี่สอนภาษาต่างประเทศมีแตพ่ วกมิชชันนารี ซึง่ สอนศาสนาบรรดาเจ้านายและ ข้าราชการจึงไม่ อยากส่งบุตรหลานไปเรียน เพราะเกรงว่าพวกมิชชันนารีจะสอนให้เปล่ียนศาสนา พระเจ้าลูกเธอของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวท่ีประสูติ เมื่อก่อนทรงผนวชก็มีพระชนมายุพ้นวัยเรียนเสียแล้ว 13
พระเจ้าลูกเธอท่ีประสูติ เม่ือเสวยราชย์แล้วก็ยังทรงพระเยาว์อยู่ ต้องรอมาจน พ. ศ. 2405 เมื่อสมเด็จ พระเจ้าลูกยาเธอ มีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั เป็นตน้ ทรงพระเจริญวัยพอทจี่ ะเล่าเรียน ได้ จงึ ไดโ้ ปรดให้จ้างนางแอนนา เอช. เลียวโนเวนส์ เข้ามาเป็นครูสอนภาษาอังกฤษ แต่สอนอย่ไู ด้ไม่ก่ีปี นางเลียวโนเวนส์ก็กลับไปเสีย สมเด็จพระเจ้าลูกเธอที่ศึกษาภาษาอังกฤษในครั้งน้ัน และได้ศึกษาต่อมา จนทรงรอบรู้ภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี ก็มีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวอยู่พระองค์เดียว การศึกษาแผนโบราณหนักทางวิชาอักษรศาสตร์ เป็นการศกึ ษาท่ีอนุโลมตามแบบแผนและประเพณีไม่มี การค้นควา้ ทางธรรมชาติหรือวิทยาศาสตร์ ส่วนวิชาชีพ เช่น วิชาชา่ งฝีมือต่าง ๆ มีช่างถม ช่างทอง ช่าง แกะ ช่างปั้น วิชาแพทย์แผนโบราณ และวิชาอาชีพอ่ืน ๆ นั้นเรียนกันในวงศ์สกุลและตามท้องถิ่น เป็น การศึกษาแบบสืบตระกูลเป็นมรดกตกทอดกันมา ในกรุงเทพฯ มีท้องถ่ินสาหรับฝึกและประกอบอาชีพ ซง่ึ ยังมีชื่อติดอยู่จนทุกวันนี้ เช่น ถนนตีทอง บ้านพานถม บา้ นบาตร บ้านดอกไม้ บ้านปูน บ้านชา่ งหล่อ ฯลฯ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดให้รวมช่างประเภทตา่ ง ๆ เหลา่ นี้ จัดเป็น หมู่ เป็นกรม เรียกว่า กรมช่างสิบหมู่ ดังปรากฏในหนังสือพระราชดารัสในพระบาลสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงแถลงพระบรมราชาธิบายแก้ไขการปกครองแผ่นดินว่า “ส่วนซ่ึงแบ่งปันฝ่าย ทหารแต่ทาการฝ่ายพลเรือนนั้น คือกรมช่างสิบหมู่ ซงึ่ แบง่ ไวใ้ นฝา่ ยทหารน้นั ก็คงจะเป็นดว้ ยชา่ งเกิดขึ้น ในหมู่ทหารเหมือนทหาร อินเยอเนีย แต่ภายหลังมาเม่ือทาการต่าง ๆ มากขึ้นจนถึงเป็นการละเอียด เช่น เขียนปั้นแกะสลัก ก็เลยติดอยู่ในฝ่ายทหาร แต่ไม่ได้เก่ียวข้องอันใดในราชการทหารไม่ได้ข้ึนกรม พระกลาโหมมีแต่กองต่างหาก แม่กองนั้นมักจะเป็นเจ้านายโดยมาก เม่ือเกิดช่างอ่ืน ๆ ข้ึนอีกก็คงอยู่ใน กรมเดมิ ฝ่ายพลเรือนบ้างทหารบ้าง ไม่เฉพาะวา่ กรมช่างจะต้องเป็นฝ่ายทหาร เช่นช่างประดบั กระจกข้ึน กรมวังช่างมหาดเล็กคงอยู่ในมหาดเล็กเป็นต้น” สาหรับการศึกษาของพวกสตรีนน้ั เป็นการเรียนในบ้าน สว่ นมากเรียนแตก่ ารเยบ็ ปักถักร้อยการครัวและกจิ การบ้านเรือน การเรียนหนงั สือนนั้ ถา้ ใจรักก็ไดเ้ รยี น บ้างในบ้าน แต่ไม่สู้นิยมให้เรียนกันนัก ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์มักส่งเด็กหญิงเข้าไปอยู่ตามตาหนัก เจ้านายในพระบรมมหาราชวัง เพื่อจะได้มีโอกาสเปิดหูเปิดตา ได้เรียนรู้ขนบธรรมเนียมประเพณีและ วิชาความรู้ต่าง ๆ ตลอดจนกิริยามารยาทและการครองตนประเพณีน้ีได้ดาเนินมาจนตลอดรัชกาลท่ี 5 การศึกษาของไทยสมยั ปฏิรปู การศกึ ษา (พ.ศ. 2412 - พ.ศ. 2474) การศึกษาในรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยูห่ ัว ความเป็นมาและระบบการจัดการศึกษาไทย (ม.ป.ป.) ได้ศึกษาพบว่า พระองค์ทรงเห็น ความสาคัญของการศึกษา จึงได้มีการจัดการศึกษาอย่างมีระเบียบแบบแผน (Formal education) มี โครงการศึกษาชาติ มีโรงเรียนเกิดขึ้นในวัง และในวัด มีการกาหนดวิชาที่เรียน มีการเรียนการสอบไล่ และมีทนุ เลา่ เรยี นหลวงให้ไปศึกษาวิชา ณ ต่างประเทศ ซ่ึงปัจจยั ท่ีมผี ลในการปฏิรปู การศึกษาในครง้ั น้ีมี หลายปัจจัย เช่น (1) แนวคิดและวิทยาการต่าง ๆ ของชาติตะวันตก ซ่ึงคณะมิชชันนารีได้นาวิทยาการ เข้ามาเผยแพร่ในด้านการแพทย์ การพิมพ์หนังสือและระบบโรงเรียนของพวกสอนศาสนา ตั้งแต่สมัย พระบาทสมเด็จพระนงั่ เกลา้ เจ้าอยหู่ วั และพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั สืบเนอื่ งมาถึงในสมยั น้ี เป็นเหตุให้ไทยต้องรับและปรับปรุงแนวคิดในการจัดการศึกษาข้ึนเพ่ือประโยชน์ในการพัฒนาประเทศ (2) ภัยจากการคมุ คามของประเทศมหาอานาจในต้นคริสต์ศตวรรษท่ี 19 หรือปลาย พุทธศตวรรษที่ 24 ลัทธิจักรพรรดินิยมกาลังแผ่ขยายมายังประเทศต่าง ๆ ในเอเชียซ่ึงประเทศเพ่ือนบ้าน เช่น พม่า ญวน 14
เขมรและมลายูเป็นต้น ต่างตกอยู่ภายใต้การปกครองของประเทศมหาอานาจ ส่วน ประเทศไทยมี จุดอ่อนท้ังในเร่ืองความล้าหลัง ระบบการปกครองและการกาหนดเขตแดนที่ชัดเจน พระองค์จึงทรง ห่วงใยบ้านเมือง จึงดาเนินนโยบายต่างประเทศแบบประณีประนอมและเร่งปรับปรุง ประเทศโดยเน้น การศึกษาของชาติ (3) ความต้องการบุคคลท่ีมีความรู้ความสามารถเข้ามารับราชการเน่ืองจากพระองค์ ทรงปรับปรุงและขยายงานในส่วนราชการต่าง ๆ จึงจาเป็นต้องจัดต้ังโรงเรียนเพื่อสอนคนให้เข้ามารับ ราชการ (4) โครงสร้างของสังคมไทยได้มีการเปลี่ยนแปลง โดยมีการเลิกทาสและมีการติดต่อกับ ต่างประเทศมากขึ้น วัฒนธรรมแบบอย่างตะวันตกได้แพร่หลายจึงจาเป็นต้องการปรับปรุงการศึกษา เพ่อื ใหป้ ระชาชนได้รับการศึกษาเพ่ิมขึน้ (5) การท่พี ระองคไ์ ดเ้ สดจ็ ต่างประเทศทั้งในเอเชียและยุโรป ทา ให้ได้แนวความคิดเพ่ือนามาปฏิรูปการศึกษาและใช้เป็นแนวทางพัฒนาบ้านเมือง - การจัดต้ัง สถานศึกษาปี พ.ศ. 2414 จัดตง้ั โรงเรียนหลวงขึ้นในพระบรมมหาราชวัง เพ่ือฝกึ คนให้เข้ารบั ราชการ มี พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาริยางกูร) ในขณะน้ันเป็นหลวงสารประเสริฐเป็นอาจารย์ใหญ่ โดยมี การสอนหนงั สือไทย การคดิ เลข และขนบธรรมเนียมราชการ นอกจากมีการจดั ตั้งโรงเรียนหลวงสาหรับ สอนภาษาอังกฤษในพระบรมมหาราชวัง เกิดจากแรงผลักดันทางการเมืองที่ส่งผลให้ไทยต้องเรียนรู้ ภาษาอังกฤษ เพื่อจะได้เจรจากับมหาอานาจตะวันตก และมีการส่งนักเรียนไทยไปศึกษาวิชาครูที่ ประเทศองั กฤษปี พ.ศ. 2423 จัดตั้งโรงเรียนสุนนั ทาลัยใน พระบรมมหาราชวงั เป็นโรงเรยี นสตรี ปี พ.ศ. 2424 ปรับปรุงโรงเรียนพระตาหนักสวนกุหลาบให้เป็นโรงเรียนนายทหารมหาดเล็ก ต่อมาได้กลายเป็น โรงเรียนข้าราชการพลเรือนในปี พ.ศ. 2453 และ ปี พ.ศ. 2459 ได้ตั้งเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยปี พ.ศ. 2425 จัดต้ังโรงเรียนแผนท่ี และในปี พ.ศ.2427 จัดตั้งโรงเรียนหลวงสาหรับราษฎรขึ้นตามวัดใน กรุงเทพมหานครหลายแห่ง และแห่งแรก คือโรงเรียนมหรรณพาราม ปี พ.ศ. 2432 ต้ังโรงเรียนแพทย์ ขึ้น เรียกว่าโรงเรียนแพทยากร ตั้งอยู่ที่ริมแม่น้าหน้าโรงพยาบาลศิริราช ใช้เป็นท่ีสอนวิชาแพทย์แผน ปัจจุบัน ปี พ.ศ. 2435 จัดต้ัง โรงเรียนมูลศึกษาข้ึนในวัดทั่วไปท้ังในกรุงเทพมหานครและหัวเมือง โดย ประสงค์จะขยายการศึกษาเล่าเรียนหนังสือไทยให้แพร่หลายเป็นแบบแผนยิ่งขึ้น และตั้งโรงเรียนฝึกหัด ครูเป็นแห่งแรกที่ตาบลโรงเลี้ยงเดก็ ต่อมาย้ายไปอย่ทู ี่วดั เทพศิรินทราวาส ปี พ.ศ. 2437 นกั เรียนฝกึ หัด ครูชุดแรก 3 คนสาเร็จ การศึกษาได้รับประกาศนียบัตรเป็นครูสอนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ปี พ.ศ. 2449 ย้ายโรงเรียนฝึกหัดครู ซ่ึงต้งั อยูท่ ่ีวัดเทพศริ ิทราวาส ไปรวมกบั โรงเรียนฝกึ หัดครูฝัง่ ตะวันตก (บ้าน สมเด็จเจ้าพระยา) ปรับปรุงหลักสูตรใหส้ ูงข้ึนเปน็ โรงเรยี นฝึกหัดอาจารย์สอนหลักสูตร 2 ปี รับนักเรียน ทสี่ าเรจ็ มัธยมศึกษา ปี พ.ศ. 2456 ต้งั โรงเรยี นฝกึ หัดครูหญิงขึ้นเป็นครั้งแรกที่โรงเรียนเบญจมราชาลัย - การบริหารการศกึ ษาเม่อื จานวนโรงเรียนเพิ่มมากข้นึ จึงจาเป็นตอ้ งมีหนว่ ยงาน รับผิดชอบการศึกษาเป็น ส่วนหน่ึงต่างหาก เช่น ปี พ.ศ. 2430 ทรงโปรดเกล้า ฯ ให้ตั้งกรมศึกษาธิการ โดนโอนโรงเรียนที่สังกัด กรมทหารมหาดเล็กมาท้ังหมดให้กรมหม่ืนดารงราชานุภาพเป็นผู้บัญชาการอีกตาแหน่งหนึ่ง ปี พ.ศ. 2432 รวมกรมศึกษาธิการเข้าไปอยู่ในบังคับบัญชาของกรมธรรมการ และปี พ.ศ. 2435 ประกาศต้ัง กระทรวงธรรมการ มเี จ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) เป็นเสนาบดี มีหน้าที่ในการจัดการศกึ ษา การ พยาบาล พิพิธภัณฑ์และศาสนา - การจัดแบบเรียนหลักสูตรและการสอบไล่ปี พ.ศ. 2414 ทรงพระ กรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาริยางกูร) เรียบเรียงแบบเรียนหลวงขึ้น 1 เล่ม ชุดมูลบรรพกิจ เพื่อใช้เป็นบทหลักสูตรวิชาชั้นต้นปี พ.ศ. 2427 กาหนดหลักสูตรชั้นประโยคหน่ึง โดย 15
อนุโลมตามแบบเรียนหลวงหกเล่ม นับเป็นปีแรกที่จัดให้มีการสอบไล่วิชาสามัญ และมีการกาหนด หลักสตู รชนั้ ประโยคสอง ซ่ึงเป็นหลักสูตรทีเ่ กี่ยวกับวิชาสามัญศึกษา หมายถึง ความรู้ต่าง ๆ ท่ีต้องการ ใชส้ าหรับเสมยี นในราชการพลเรอื นตามกระทรวงต่าง ๆ ปี พ.ศ. 2431 กรมศึกษาธิการ จัดทาแบบเรียน เร็วใช้แทนแบบเรียนหลวงชุดเดิม ผู้แต่งคือพระองค์เจ้าดิศวรกุมาร (กรมพระยาดารงราชานุภาพ) 1 ชุด มี 3 เล่ม ปี พ.ศ. 2433 ประกาศใช้พระราชบัญญัติวิชา พ.ศ. 2433 มีผลทาให้หลักสูตรภาษาไทยแบ่ง ออกเป็น 3 ประโยค หลักสูตรภาษาอังกฤษแบ่งออกเป็น 6 ช้ัน ปี พ.ศ. 2434 ได้แก้ไขการสอบไล่จาก เดมิ ปลี ะครัง้ เปน็ ปีละ 2 ครงั้ เพ่อื ไมใ่ หน้ กั เรยี นเสยี เวลานานเกินไป การศกึ ษาในรชั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยู่หวั ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา มีดังนี้ - พระบรมราโชบายในการปกครองประเทศ เพ่ือให้ประเทศมีความเจริญก้าวหน้าทัดเทียม กับนานาประเทศ โดยการส่งทหารไปร่วมกับฝ่าย สมั พันธมติ รในสงครามโลกครงั้ ที่ 1 นอกจากนี้ พระองค์ทรงสร้างความรสู้ ึกชาตินิยมในหม่ปู ระชาชนชาว ไทยโดยมีสาระสาคัญของอุดมการณ์ชาตนิ ิยม คือ ความรักชาติ ความจงรกั ภกั ดีต่อพระมหากษัตริย์และ ความยึดมั่นในพุทธศาสนา - พระองค์ทรงศึกษาวิชาการจากต่างประเทศ และเม่ือเสด็จกลับมาแล้ว พระองค์ได้ทรงนาเอาแบบอย่างและวิธีการท่ีเป็นประโยชน์มาใช้เปน็ หลักในการปรับปรุงการศึกษา เช่น ทรงนาเอาวิชาลูกเสือจากประเทศอังกฤษเข้ามาจัดต้ังกองเสือป่า พระองค์ทรงเป็นนักปราชญ์โดยทรง แปลวรรณคดีต่างประเทศเป็นภาษาไทยและทรงนิพนธ์วรรณคดีไว้หลายเรื่อง - ผลอันเนื่องจากการจัด การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เม่ือคนส่วนมากที่ได้รับการศึกษา มี ความรู้และแนวคิดเกี่ยวกับการปกครองประเทศในระบอบรัฐธรรมนูญ ในระบบรัฐสภา จึงมีความ ปรารถนาจะเปล่ียนแปลงการปกครองไปเป็นระบอบประชาธิปไตย และ ปัญหาอันเกิดจากคนล้นงาน และคนละท้งิ อาชีพและถ่นิ ฐานเดมิ มงุ่ ทีจ่ ะหันเขา้ ส่อู าชีพราชการมาก เกนิ ไป การจดั การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยูห่ วั ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษาในสมัยน้ีมีดังน้ี - ปัญหาสืบเนื่องจากการประกาศใช้ กฎหมายการศึกษา คือพระราชบัญญัติประถมศึกษา ท า ให้การศึกษาแพร่หลายออกไป แต่ขาดความ พร้อมทางด้านงบประมาณการศึกษา - ปัญหาการเมืองท่ีเกิดขึ้นภายในประเทศ มีกลุ่มผู้ตื่นตัวทาง การเมืองในกรุงเทพมหานคร เรียกร้องให้มีการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง มีการ วิพากษ์วิจารณ์ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช - ปัญหาสืบเน่ืองจากอิทธิพลจักรวรรดินิยมตะวันตก ซ่ึง ตกค้างมาต้ังแต่รัชกาลก่อน ๆ – ปัญหาสืบเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจตกต่าในระหว่าง พ.ศ.2463 - พ.ศ. 2474 เศรษฐกิจของประเทศตกต่าจนเป็นเหตุให้รัฐบาลต้องตัดทอนรายจ่ายลง มีการยุบหน่วยงานและ ปลดขา้ ราชการออก สรา้ งความไมพ่ อใจให้กับรัฐบาลระบอบสมบรู ณาญาสิทธริ าชย์ การศกึ ษาสมยั การปกครองระบอบรัฐธรรมนูญ (พ.ศ. 2475 - ปจั จุบนั ) ปัจจัยของไทยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา (1) นโยบายการจัดการศึกษาของคณะราษฎร์ ประเทศไทยไดเ้ ปลย่ี นแปลงการปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสิทธิราชยม์ าเปน็ ระบอบประชาธิปไตย เมื่อวันท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 คณะราษฎร์ซึ่งเป็นกลุ่มบุคคลที่รวมตัวกันเปลี่ยนแปลงการปกครอง ไดว้ างเปา้ หมายสาคัญหรืออุดมการณ์ของคณะราษฎร์ มปี รากฏอยู่ในหลัก 6 ประการ ขอ้ ท่ี 6 จะต้องให้ การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎรเพราะคณะราษฎร์มีความเห็นว่าการที่จะให้ประชาชนมีความรู้ความ 16
เข้าใจเรื่องการปกครองระบอบประชาธิปไตย จาเป็นต้องจัดการศึกษาให้กับประชาชนอย่างท่ัวถึง เม่ือ ประชาชนมีการศึกษาดีย่อมจะทาให้ประเทศชาติเจริญข้ึนด้วย ดังจะเห็นได้จากคาแถลงนโยบายของ รัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดา พ.ศ. 2475 กล่าวไว้ว่า การจัดการศึกษาเพื่อจะให้พลเมืองได้มี การศึกษาโดยแพร่หลาย ก็จะต้องอนุโลมตามระเบียบการปกครองท่ีให้เข้าลักษณะเก่ียวกับแผ น เศรษฐกิจแห่งชาติ หลักสูตรของโรงเรียนและมหาวิทยาลัยจะต้องขยายให้สูงขึ้นเท่าเทียมอารยประเทศ ในการนี้จะต้องเทียบหลักสูตรของนานาประเทศ หลักสูตรใดสูงถือตามหลักสูตรนั้น” รัฐบาลชุดต่อ ๆ มาก็ได้พยายามที่จะได้จัดการศึกษาให้ท่ัวถึงในหมู่ประชาชนทั่วไป ถ้าวิเคราะห์ดูจากคาแถลงนโยบาย ของรัฐบาลพบว่า ได้ตัง้ ความหวังเร่อื งการศกึ ษาไว้สูงเกินไปจะใหเ้ ท่าเทียมอารยประเทศ ซึ่งสภาวการณ์ ในประเทศขณะน้ันยังไม่มีความพร้อม โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจซึ่งเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศใน ขณะน้ัน เป็นผลให้เกดิ ปัญหาในการจัดการศึกษานบั แต่นน้ั เป็นต้นมา (2) การเกิดสงครามโลกครั้งท่ีสอง พ.ศ. 2484 - พ.ศ. 2488 ประเทศไทยตกอยู่ในภาวะสงครามโลกคร้ังท่ีสอง ซ่ึงมีผลกระทบกระเทือนต่อ ประเทศไทยอย่างรุนแรงท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคมและการศึกษา หลังสงครามโลกครั้งท่ีสองประเทศไทย ได้รับความเสียหายอันสืบเนื่องมาจากสงครามโลกครั้งท่ีสอง จึงจาเป็นต้องกู้เงินจากธนาคารโลกเพื่อ นามาใช้ในการพัฒนาประเทศ และประเทศไทยสมัครเป็นสมาชิกองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และ วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ทาให้ประเทศไทยได้รับความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ ตลอดจนแนวคิด ใหม่ ๆ มาใช้ในการพัฒนาประเทศ ทาให้แนวคิดทางการศึกษาของไทยเร่ิมเปลี่ยนแปลงจากเดิมเป็น อยา่ งมาก ววิ ัฒนาการการจัดการศึกษา มีดังน้ี (1) มีการประกาศใช้แผนการศึกษาชาติ หลังเปล่ียนแปลง การปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตยแล้ว โดยจัดต้ังคณะกรรมการการศึกษาและทรงพระกรุณาโปรด เกล้า ให้ตั้งสภาการศึกษา พ.ศ. 2475 ประกาศใช้แผนการศึกษาชาติ ต่อมามีการปรับปรุงการจัด การศึกษาภาคบังคับ จาก 6 ปี เหลือ 4 ปี และประกาศใช้แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2479 (2) การมอบ ให้ท้องถิ่นจัดการศึกษา พ.ศ. 2476 และยกฐานะท้องถ่ินขึ้นเป็นเทศบาล ตราพระราชบัญญัติเทศบาล ขึ้นและเทศบาลได้จัดการศึกษาอย่างแทจ้ รงิ ใน พ.ศ. 2478 (3) การปรับปรงุ หน่วยงานทีม่ ีส่วนรับผดิ ชอบ ในการจัดการศกึ ษาและเหตกุ ารณ์สาคญั ทางการศึกษา ดงั เชน่ ปี พ.ศ. 2476 มีการปรับปรงุ ส่วนราชการ ในกระทรวงธรรมการและประกาศต้ังมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง ปี พ.ศ. 2477 โอนคณะ นิติศาสตร์ในจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัยไปสมทบกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง ปี พ.ศ. 2478 ประกาศใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษาท่ัวประเทศ ปี พ.ศ. 2488 ประกาศใช้พระราชบัญญัติครู พทุ ธศกั ราช 2488 ระบบการจดั การศกึ ษาไทย ระบบการศึกษาไทยปัจจุบันตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) 2545 มีการจัดระบบการศึกษาขั้นประถมศึกษา 6 ปี (6 ระดับชั้น) การศึกษา ข้ันมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี (3 ระดับช้ัน) และการศึกษาขั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี (3 ระดับชั้น) หรือระบบ 6-3-3 นอกจากน้ันระบบการศึกษาไทยยังจัดเป็นระบบการศึกษาในระบบโรงเรียน การศึกษานอกระบบโรงเรียน และการศึกษาตามอัธยาศัย ในการจัดระบบการศึกษาตามแนว พระราชบัญญัติฉบบั น้ี จะไม่พิจารณาแบ่งแยกการศึกษาในระบบโรงเรียนออกจากการศึกษานอกระบบ 17
โรงเรียน แต่จะถือว่า การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นเพียง วิธีการเรียนการสอน หรือรูปแบบของการเรียนการสอนท่ีภาษาอังกฤษใช้คาว่า \"Modes of learning\" ฉะนน้ั แนวทางใหม่คอื สถานศกึ ษาสามารถจดั ได้ทัง้ 3 รูปแบบ และให้มีระบบเทยี บโอนการเรยี นรู้ท้งั 3 รูปแบบ โดย พระราชบัญญัติการศึกษาฯ มาตรา 15 กล่าวว่าการจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยคือ (1) การศึกษาในระบบ เป็น การศึกษาท่ีกาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและการ ประเมินผล ซ่ึงเป็นเง่ือนไขของการสาเรจ็ การศึกษา ที่แน่นอน (2) การศกึ ษานอกระบบ เป็นการศกึ ษาท่ี มีความยืดหยนุ่ ในการกาหนดจดุ มุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจดั การศึกษา ระยะเวลาของการศกึ ษา การวัด และประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสาคัญของการสาเร็จการศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความ เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของบุคคลแต่ละกลมุ่ (3) การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาท่ีให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส โดย ศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม หรือแหล่งความรู้อื่น ๆ สถานศึกษาอาจจัด การศกึ ษาในรูปใดรปู แบบหน่ึงหรือทง้ั สามรปู แบบก็ได้ ให้มีการเทยี บโอนผลการเรียนทผ่ี ู้เรียนสะสมไวใ้ น ระหว่างรูปแบบเดียวกันหรือต่างรูปแบบได้ ไม่ว่าจะเป็นผลการเรียนจากสถานศึกษาเดียวกันหรือไม่ก็ ตาม รวมทงั้ จากการเรียนรู้นอกระบบตามอัธยาศัย การฝึกอาชีพ หรือจากประสบการณ์การทางานการ สอนและจะสง่ เสริมให้สถานศึกษาจัดไดท้ ้ัง 3 รูปแบบ การศกึ ษาในระบบ มี 2 ระดบั ดงั น้ี 1. การศึกษาข้ันพื้นฐานประกอบด้วย การศกึ ษาซ่ึงจัดไม่นอ้ ยกว่าสิบสองปีก่อนระดับอดุ มศึกษา การแบ่งระดับและประเภทของการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ให้เป็นไปตามท่ีกาหนดใน กฎกระทรวง การแบ่ง ระดับหรือการเทียบระดับการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัยให้เป็นไปตามที่ กาหนดใน กฎกระทรวง การศกึ ษาในระบบท่ีเป็นการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานแบ่งเปน็ สามระดบั 1.1 การศกึ ษากอ่ นระดบั ประถมศึกษา เปน็ การจดั การศึกษาใหแ้ กเ่ ดก็ ทม่ี ีอายุ 3 – 6 ปี 1.2 การศึกษาระดบั ประถมศึกษา โดยปกตใิ ช้เวลาเรยี น 6 ปี 1.3 การศึกษาระดับมัธยมศกึ ษา แบ่งเป็นสองระดับ ดงั น้ี - การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยปกติใชเ้ วลาเรียน 3 ปี - การศึกษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย โดยปกติใชเ้ วลาเรียน 3 ปี แบ่งเป็น สองประเภท ดังนี้ 1) ประเภทสามัญศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพ่ือเป็นพ้ืนฐานในการศึกษาต่อใน ระดับอุดมศึกษา 2) ประเภทอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาความรู้และทักษะในการ ประกอบอาชีพ หรือ ศกึ ษาต่อในระดบั อาชพี ชนั้ สงู ตอ่ ไป 2. การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบ่งเป็นสองระดับ คือ ระดับต่ากว่าปริญญาและระดับปริญญา การใช้คาว่า \"อุดมศึกษา\" แทนคาว่า \"การศึกษาระดับมหาวิทยาลัย\" ก็เพื่อจะให้ครอบคลมุ การศึกษาใน ระดับประกาศนียบัตรหรืออนุปริญญา ท่ีเรียนภายหลังท่ีจบการศึกษาข้ันพื้นฐานแล้ว ทั้งนี้การศึกษา ภาคบังคับจานวนเก้าปี โดยให้เด็กซ่ึงมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ดเข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุย่าง เข้าปีท่ีสิบหก เว้นแต่สอบได้ช้ันปีท่ีเก้าของการศึกษาภาคบังคับ หลักเกณฑ์และวิธีการนับอายุให้เป็นไป ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง การศึกษาภาคบังคับน้ันต่างจากการศึกษาข้ันพื้นฐานซ่ึงการศึกษาขั้น 18
พื้นฐานไม่บังคับให้ประชาชนต้องเข้าเรียนแต่เป็นสิทธิ์ของคนไทย ส่วนการศึกษาภาคบังคับเป็นการ บังคบั ให้เข้าเรียนถือเปน็ หนา้ ท่ีของพลเมืองตามมาตรา 69 ของรัฐธรรมนูญ วิสัยทศั น์และแผนพฒั นาการศึกษาไทย ปริยาภรณ์ ตั้งคุณานันท์ (2557 : 144) ได้ศึกษาพบว่า แผนการศึกษาแห่งชาติตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 จนถึงปัจจุบัน เป็นกรอบใหญ่ที่ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาด้านการศึกษาของประเทศไทย ใน อดีตนั้น การพัฒนาการศึกษาของประเทศ มุ่งเน้นการฝึกหัดคนในด้านพุทธิศึกษา จริยศึกษา พลศึกษา และหัตถศึกษา เพ่ือให้คนเป็นพลเมืองดีและสามารถประกอบอาชีพได้ ต่อมาเมื่อสังคมมีการ เปลี่ยนแปลง ความมุ่งหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติจึงเน้นการพัฒนาบุคคลอย่างสมดุลและกลม กลืนกัน ท้ังทางด้านปัญญา ด้านจิตใจ ด้านร่างกาย และด้านสังคม ตลอดจนมีความรู้และทักษะในการ ประกอบอาชีพ ละสามารถพึ่งพาตนเองได้ ช่วงหลังปี พ.ศ. 2545 เป็นต้นมา นอกจากจะมุ่งเน้นการ พัฒนาคนอย่างสมดุลแล้ว ยังมุ่งหวังให้คนท่ีได้รับการพัฒนาอย่างสมดุล ร่วมกันสร้างสังคมคุณภาพ สังคมแห่งภูมิปัญญา โดยเปิดโอกาสให้พลเมืองทุกคนเข้าถึงการศึกษาอย่างเท่าเทียมกันตลอดชีวิต หน่วยงานที่เป็นองค์กรขับเคลื่อนการดาเนินงานตามกรอบแ ผนงานการศึกษาแห่งชาติคือ กระทรวงศึกษาธิการ ดังนั้น แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการจึงใช้เป็นแนวทางในการ ดาเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการในการขับเคล่ือนการศึกษาของประเทศไทย โดยจัดการศึกษาด้วย วธิ ีการและรูปแบบท่ีหลากหลายเพ่อื เปิดโอกาสให้คนไทยได้เข้าถงึ การศกึ ษาอย่างทั่วถึงและเท่าเทยี มกัน อย่างมีคุณภาพเพื่อให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิต อีกทั้งส่งเสริมและสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับ หนว่ ยงานทัง้ ภาครฐั เอกชน ให้เข้ามามสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษา แผนการศกึ ษาแห่งชาติ (พ.ศ.2475 – ปจั จุบนั ) 1. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2475 ในแผนการศกึ ษาฉบับนี้เนน้ ให้การศึกษา 3 ส่วน คอื จริย ศึกษา เป็นการอบรมศีลธรรมอันดีงาม พุทธศิ กึ ษา ให้ปัญญาความรู้ และพลศึกษา เปน็ การฝกึ หัดให้เป็น ผูม้ ีรา่ งกายสมบูรณ์ 2. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2479 ในสมัย พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา(พจน์ พหลโยธิน) เป็น นายกรัฐมนตรีแผนการศึกษาฉบับน้ีได้ปรับปรุงมาจากแผน ปี พ.ศ.2475 เน่ืองจากว่า แผนการศึกษาฉบับ ปี 2475 น้ันมรี ะยะเวลาในการศึกษาสามัญยาวเกินสมควร คือต้องเรียนสายสามัญ 12 ปี และยังต้องเข้าเรยี นต่อ สายวิสามญั อีก แผนการศกึ ษา 2479 นก้ี าหนดระยะเวลาของการเรียนชั้น ประถมศกึ ษาเพียง 4 ปี ท้ังนีเ้ ป็นเพราะ ต้องการเรง่ รดั ให้ประชาชนสาเร็จการศึกษาภาคบังคับถึงก่ึงหนึ่ง โดย เรว็ โดยปรับปรงุ ใหเ้ หมาะสมกับกาลสมยั มากข้นึ แต่ยงั คงเนน้ ให้การศึกษาทง้ั 3 ดา้ น 3. แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2494 สมยั จอมพล ป.พบิ ูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ในแผน นี้ได้ เพิ่ม หัตถกรรมคือการฝึกหัดอาชีพและการประกอบอาชีพเข้ามาอีกรวมเป็น 4 ส่วน จึงเป็นองค์สี่ แห่งการศึกษา คือ พุทธิศึกษา จริยศึกษา พลศึกษา และหัตถศึกษา (ได้อิทธิพลปรัชญาการศึกษาแบบ อเมริกัน) และได้มีการ กล่าวถึงการศึกษาพิเศษและการศึกษาผู้ใหญ่ด้วย แผนการศึกษาฉบับน้ีได้ยก ฐานะกองโรงเรียนประชาบาลใน กรมสามัญศึกษาข้ึนเป็นกรมประชาศึกษา เพ่ือทาหน้าท่ีเก่ียวกับ การศึกษาผู้ใหญ่และการศึกษาพิเศษ นอกจากน้ียังมีความพยายามขยายการศึกษาภาคบังคับเป็น 7 ปี 19
อกี ด้วย 4. แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2503 สมัยจอมพลสฤษด์ิ ธนะรชั ต์ เป็นนายกรฐั มนตรี แผนนี้ได้ นาเอา แผนการศึกษาชาติ พ.ศ.2494 มาปรบั ปรุงใหม่ เพอื่ สนองความตอ้ งการของสงั คมและบคุ คล โดย ให้สอดคล้อง กับการปกครองประเทศ แผนนี้ร่างโดยคณะกรรมการ 77 คนจากหลายสาขาอาชพี โดยมี หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาในขณะนั้นเป็นประธาน จากแผนฯ น้ีได้ขยาย การศกึ ษาภาคบังคับเป็น7 ปี จัดเน้นให้การศึกษา 4 ส่วน และได้จัดระบบการศึกษาเป็น 7:3:2 (ประถม 7 ปี (ศึกษาภาคบังคับ) มัธยมต้น 3 ปี มัธยมปลาย 2 ปี) แผนน้ีมีอายุการใช้ยาวนานที่สุดถึง 16 ปี 5. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2520 สมัยพลเอกเกรียงศักด์ิ ชมะนันท์ เป็นนายกรัฐมนตรี แผนนี้ต้องการปรับปรุงแผนการศกึ ษาให้สนองความต้องการและการเปลี่ยนแปลงในสังคม เพ่ือสามารถ อบรมพลเมืองให้ตระหนักและเห็นคุณคา่ ของการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข จัดระบบการศึกษาเป็น 6:3:3 โดยลดช้ันประถมลง 1 ปี และเพิ่มช้ันมัธยมปลาย 1 ปี เท่าระบบปัจจุบัน แต่เวลาเรียนยังเป็น 12 ปี แผนการศึกษาฉบับน้ีให้ความสาคัญกับการศึกษานอก ระบบโรงเรียนเป็นพิเศษอีกด้วย แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2520 น้ี ทาใหเ้ กดิ การเปลีย่ นแปลงระบบ บริหารประถมศึกษาครั้งใหญ่ 6. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ประกาศโดยนายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรฐั มนตรี สมัยนั้น แผนนี้ปรับปรุงมาจากแผนการศึกษา พ.ศ. 2520 เพ่ือให้ระบบการศึกษาตอบสนองความ ต้องการและความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นในสังคมไทยอย่างรวดเร็ว และสร้างความสมดุลในการพัฒนา ประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยจัด การศึกษาระบบ 6:3:3 มุ่งจัดการศึกษาเน้นการพัฒนาบุคคล 4 ด้าน อย่างสมดุลและกลมกลืนกัน คือ ด้านปัญญา ด้านจิตใจ ด้านร่างกาย และด้านสังคม ตลอดจนมีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ และสามารถพ่งึ พาตนเองได้ 7. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2545-2559 โดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี โดยมาศาสตราจารย์ ดร.สิปปนนท์ เกตุทัต เปน็ ประธานอนุกรรมการ ในยุคสมัยท่ี พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี เรอ่ื งสาคญั ทค่ี รูทุกคนจาได้ในแผนนคี้ ือ สอนให้นักเรียน เก่ง ดี มีสขุ โดยวตั ถปุ ระสงคข์ องแผนคือ 7.1 พัฒนาคนอย่างรอบด้านและสมดุลเพ่ือเป็นฐานหลักของการพัฒนาแนวนโยบายเพ่ือ ดาเนนิ การ (1) การพฒั นาทกุ คนตงั้ แต่แรกเกิดจนตลอดชวี ติ ให้มีโอกาสเข้าถึงการเรยี นรู้ (2) การปฏริ ูปการเรียนรู้เพื่อพฒั นาผเู้ รียนตามธรรมชาติและเตม็ ตามศกั ยภาพ (3) การปลูกฝังและเสริมสร้าง ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ ท่พี งึ ประสงค์ในระบบวิถชี ีวติ ทด่ี งี าม (4) การพฒั นากาลังคนด้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพ่งึ พาตนเอง และเพิ่ม สมรรถนะการแข่งขันในระดบั นานาชาติ 7.2 สร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมคุณธรรม ภูมิปัญญา และการเรียนรู้ แนวนโยบายเพื่อ ดาเนนิ การ 20
(5) การพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้เพ่ือสร้างเสริมความรู้ ความคิด ความประพฤติ และคุณธรรมของคน (6) การส่งเสริมการวจิ ยั และการเรียนรู้ของสังคมไทย (7) การสร้างสรรค์ ประยุกตใ์ ช้และเผยแพร่ความรู้ และการเรยี นรูภ้ ูมิปัญญา 7.3 พัฒนาสภาพแวดล้อมของสังคมเพื่อเป็นฐานในการพัฒนาคน และสร้างสังคมคุณธรรม ภูมิ ปัญญาและการเรียนรู้ แนวนโยบายเพอ่ื ดาเนินการ (8) การสง่ เสริมและสรา้ งสรรค์ทนุ ทางสงั คม วฒั นธรรม ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม บน ฐานของศาสนาภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ /ไทย (9) การจากัด ลด ขจัดปัญหาทางโครงสร้างที่ก่อให้เกิดและ/หรือคงไว้ซึ่งความยากจน ขัดสน ดอ้ ยท้งั โอกาสและศกั ดศ์ิ รขี องคนและสงั คมไทย เพ่อื สร้างความเป็นธรรมในสังคม (10) การพัฒนาเทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษาและการพัฒนาประเทศ (11) การจัดระบบทรัพยากรและการลงทุนทางการศึกษา ศาสนา ศิลปะ และ วัฒนธรรมเพ่ือพัฒนาคนและสังคมไทย แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2552-2559 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบแผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2552-2559 ตามท่ี กระทรวงศึกษาธิการเสนอและให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการศึกษาในช่วง ระยะเวลาดังกลา่ วต่อไป สาระสาคัญของแผนการศึกษาแห่งชาตฉิ บับปรับปรงุ มดี ังน้ี ปรชั ญาหลกั และกรอบแนวคิด การจัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552 - 2559) ยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ยึดทางสายกลางอยู่บนพื้นฐานของความสมดุลพอดี รู้จักพอประมาณ อย่างมีเหตุผล มีความรอบรู้เท่าทันโลก เพื่อมุ่งให้เกิดการพัฒนาท่ียั่งยืนและความอยู่ดีมีสุขของคนไทย เกิดการบูรณา การแบบองค์รวมท่ียึดคน เป็นศูนย์กลางของการพัฒนาอย่างมีดุลยภาพ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สิ่งแวดล้อม เป็นแผนท่ีบูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และกีฬากับการศึกษาทุกระดับ รวมทั้งเชื่อมโยงการพัฒนาการศึกษากับการพัฒนาด้านต่าง ๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การ ปกครอง วัฒนธรรม ส่ิงแวดล้อม วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เป็นต้น โดยคานึงถึงการพัฒนาอย่าง ตอ่ เนอ่ื งตลอดชวี ิต เจตนารมณ์ของแผน แผนการศึกษาแห่งชาติมีเจตนารมณ์เพื่อมุ่งพัฒนาชีวิตให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ท้ังทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นได้อยา่ งมีความสขุ และ พัฒนาสงั คมไทยใหเ้ ปน็ สงั คมทีม่ ีความเข้มแข็งและมดี ลุ ยภาพใน 3 ดา้ น คือ 1)เป็นสังคมคุณภาพ 2) สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ และ 3) สังคมสมานฉันท์และเอ้ืออาทรต่อ กัน วัตถปุ ระสงคข์ องแผน 21
เพ่ือให้บรรลุตามปรัชญาหลักและเจตนารมณ์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552 - 2559) จงึ กาหนดวตั ถุประสงคข์ องแผนฯ ทสี่ าคัญ 3 ประการ ดังนี้ 1) พัฒนาคนอย่างรอบดา้ นและสมดลุ เพ่อื เป็นฐานหลกั ของการพฒั นา 2) เพื่อสรา้ งสงั คมไทยใหเ้ ปน็ สงั คมคณุ ธรรม ภูมปิ ญั ญาและการเรียนรู้ 3) เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมของสังคมเพื่อเป็นฐานในการพัฒนาคน และสร้างสังคมคุณธรรม ภูมปิ ญั ญา และการเรยี นรู้ แนวนโยบาย เป้าหมาย และกรอบการดาเนินงาน เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ทั้งสามประการดังกล่าว ประกอบกับการคานึงถึงทิศทางการพัฒนา ประเทศในอนาคตที่เน้นการใช้ความรู้เป็นฐานของการพัฒนา ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประชากร ส่ิงแวดลอ้ ม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จึงได้กาหนดแนวนโยบายในแต่ละวัตถุประสงค์ ดังนี้ วัตถุประสงค์ 1 พัฒนาคนอย่างรอบด้าน และสมดุล เพื่อเป็นฐานหลักของการพัฒนา แนวนโยบาย วัตถุประสงค์ 2 สร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมคุณธรรม ภูมิปัญญาและการเรียนรู้แนวนโยบาย วัตถุประสงค์ 3 พัฒนาสภาพแวดล้อมของสังคม เพ่ือเป็นฐานในการพัฒนาคน และสร้างสังคม คณุ ธรรม ภมู ปิ ญั ญาและการเรียนรแู้ นวนโยบาย การบรหิ ารแผนสูก่ ารปฏิบัติ แผนการศึกษาแห่งชาติฉบับนี้ให้ความสาคัญกับการนาแผนสู่การปฏิบัติ เพื่อเป็นกลไก ขับเคลื่อนข้อเสนอปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง ท่ีเน้นเป้าหมาย 3ด้าน คือ การพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษา การขยายโอกาสทางการศึกษา และการส่งเสริมการมสี ่วนร่วมในการบรกิ ารและจดั การศึกษา ตลอดจนคานึงถึงความสอดคล้องกับระยะเวลาของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จึงเห็นควร กาหนดระยะเวลาดาเนนิ งานบริหารแผนสู่การปฏิบตั ิเปน็ 2 ระยะ ดงั นี้ ระยะท่ี 1 แผนงานรีบด่วน ระหว่างปี 2552 - 2554 ให้เร่งดาเนินการตามข้อเสนอการปฏิรูป การศึกษาในทศวรรษท่ีสอง โดยให้มีการจัดทาแผนเพ่ือพัฒนาการศึกษาตามประเด็นเป้าหมายการ ปฏริ ูปการศกึ ษา ไดแ้ ก่ แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา แผนขยายโอกาสทางการศกึ ษา และ แผนส่งเสริม การมีสว่ นร่วมในการบริหารและจัดการศึกษา รวมท้ังควรมีการสร้างกลไกเพื่อขับเคล่ือนการดาเนินงาน ตามแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ ระยะที่ 2 ระหว่างปี 2552 - 2559 ให้เร่งดาเนินการตามนโยบายทั้ง 14 ด้านให้บรรลุผลตาม เปา้ หมายที่กาหนดไว้ และติดตามประเมนิ ผลการดาเนินงานตามแผนฯ เมอื่ ส้นิ สดุ ระยะที่ 1 และระยะที่ 2 รวมทัง้ การเตรียมการร่างแผนการศกึ ษาแห่งชาตฉิ บับใหม่ตอ่ ไป นอกจากน้ี ให้มีการจัดทากรอบทิศทางการพัฒนาการศึกษาในช่วงระยะเวลา 5 ปี เพื่อเป็น กรอบแนวทางในการพัฒนาการศึกษาในภาพรวม และแผนพัฒนาการศึกษาแต่ละระดับ/ประเภท การศึกษา ที่สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้แก่ แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน แผนพัฒนาการอาชีวศกึ ษา แผนพัฒนาการอุดมศกึ ษา เปน็ ตน้ ในระดับจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ได้มีการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และใน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สถานศึกษา ให้มีการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษา 22
เขตพื้นทีก่ ารศึกษาแผนพฒั นาการศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ และสถานศกึ ษา วสิ ยั ทัศน์และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2560 : Online) สภาวการณ์การเปล่ียนแปลงทั้งภายใน และภายนอกประเทศท่ีมีผลกระทบต่อการจัด การศึกษาของประเทศ ชี้ให้เห็นว่าประเทศไทยยังต้อง เผชิญกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก ศตวรรษท่ี 21 ที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ซับซ้อนและคาดการณ์ ได้ยาก ในขณะท่ีผลการจัดการศึกษาของประเทศในทุกระดับยังคงมีปัญหา ท้ังในด้านคุณภาพของคน ไทยที่ผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษาระดับต่าง ๆ ท่ียังมีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา คุณลักษณะ และทักษะ อยู่ในระดับท่ียังไม่น่าพึงพอใจ และกาลังแรงงานของประเทศที่มีสมรรถนะไม่สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาดงานและระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว แม้ ในภาพรวมคนไทยมีโอกาสเข้าถึงการศึกษาและมีความเสมอภาคทางการศึกษามากข้ึน จากนโยบาย สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการเรียน 15 ปีของรัฐ แต่ระบบบริหารจัดการศึกษาในปัจจุบันก็ยังไม่มี ประสิทธิภาพเพียงพอท่ีจะรองรับสภาวการณ์การลดลงของประชากร และการเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่าง รวดเร็วของประเทศ รวมถึงสภาพสังคมและเศรษฐกจิ ท่ีมกี ารแขง่ ขันอยา่ งเสรีและไรพ้ รมแดน ในกระแส การเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดดและไร้ขีดจากัดของเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีสามารถเชื่อมท้ังโลกให้เป็น หน่ึงเดียว การเร่งปฏิรูปการศึกษาตามแนวทางการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการขับเคลื่อน ประเทศไทยสู่ยุค 4.0 จึงเป็นทางออกสาคัญของการจัดการศึกษา เพื่อให้ประชาชนได้รับโอกาสใน การศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถพัฒนาศักยภาพ และขีดความสามารถให้เต็ม ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล อันจะนาไปสู่การสร้างความผาสุกร่วมกันในสังคมของชนในชาติและลด ความเหลื่อมล้าในสังคมให้มีความเสมอภาคและเท่าเทียมกัน มากขึ้น รวมท้ังพัฒนาประเทศให้สามารถ ก้าวข้ามกับดกั ประเทศทม่ี รี ายไดป้ านกลางไปสู่ประเทศ ทีพ่ ฒั นาแล้วในอกี 20 ปีขา้ งหน้า แนวคิดการจัดการศึกษา (Conceptual Design) แนวคิดของการจัดการศึกษาตามแผนการ ศกึ ษาแหง่ ชาติยึดหลกั การ เปา้ หมาย และแนวคดิ ตอ่ ไปน้ี หลักการจัดการศกึ ษา 1) หลักการจัดการศึกษาเพ่ือปวงชน (Education for All) เป็นการจัดการศึกษาเพ่ือให้ ประชาชนทุกคน ทุกช่วงวัย ตั้งแต่เด็กปฐมวัย วัยเรียน วัยทางาน และผู้สูงวัยมีโอกาสในการศึกษาและ การเรยี นรู้ตลอดชวี ติ เพ่ือใหแ้ ตล่ ะบุคคลไดพ้ ัฒนาตามความพร้อมและความสามารถให้บรรลุขีดสูงสุด มี ความรู้ทักษะ และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ในการดารงชีวิต และการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม รวมท้ังมี สมรรถนะในการทางานเพื่อการประกอบอาชีพตามความถนัดและความสนใจ สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ อันจะนาไปพัฒนาตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติแผนการศึกษาแห่งชาติจึงต้องกาหนดเป้าหมายการจัดการศึกษาที่ ครอบคลุม โดยไม่ ปล่อยปละละเลยหรือทง้ิ ใครไวข้ า้ งหลัง (No one left behind) 2) หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเท่าเทียมและทั่วถึง (Inclusive Education) เป็นการจัด การศึกษาสาหรับผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย ไม่ว่าจะเป็นผู้เรียน กลุ่มปกติกลุ่มด้อยโอกาสที่มีความ ยากลาบากและขาดโอกาสเนื่องด้วยสภาวะทางเศรษฐกิจและ ภมู ิสงั คม ซึ่งรัฐต้องดูแลจัดสรรทรัพยากร ทางการศึกษาสนับสนุนผู้เรียนกลุ่มน้ีให้ได้รับการศึกษาตามศักยภาพและความพร้อมอย่างเท่าเทียม 23
กลุ่มท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ ซึ่งหมายรวมกลุ่มผู้มีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา สังคม อารมณ์การส่ือสารและการเรียนรหู้ รอื ร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพ รวมท้ังบุคคลซ่ึงไมสามารถ พึง่ ตนเองไดหรือไมมีผู้ดูแล รัฐต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิและโอกาสไดรับการศึกษาร่วมกับเด็กปกติ ในกรณีที่สามารถเรียนได้เพ่ือให้เขาได้มีโอกาสเรียนรู้แลกเปลี่ยนความรู้ความคิดและปรับตัวให้เข้ากับ ผู้อื่นในสังคม หรือจัดให้เป็นพิเศษตามระดับความบกพร่อง นอกจากนี้ บุคคลซึ่งมีความสามารถพิเศษ รัฐต้องจัดรูปแบบการศึกษาที่เหมาะสมโดยคานึงถึงความสามารถของบุคคลน้ัน ด้วยเหตุผลสาคัญคือ บุคคลที่มีความสามารถพิเศษเป็นทรัพยากรท่ีสาคัญของประเทศ หากจัดการศึกษารูปแบบปกติอาจทา ใหไ้ มสามารถพัฒนาบุคคลดังกลา่ วให้มคี วามรูความสามารถตามศักยภาพของเขาได้ รฐั จึงมีหน้าทล่ี งทุน พิเศษสาหรับบุคคลเหล่าน้ีและถือเป็นสิทธิของบุคคลซ่ึงมีความสามารถพิเศษท่ีจะได รับบริการทาง การศึกษาที่เหมาะสมสาหรับการพัฒนาศักยภาพของตน แผนการศึกษาแห่งชาติจึงต้องกาหนด ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา ที่ครอบคลุมการดูแลและพัฒนาบุคคลทุกกลุ่มเป้าหมายอย่างเท่า เทยี มและทว่ั ถงึ 3) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางการดารงชีวิตและการประพฤติปฏิบัติตน ของประชาชนทุกระดับ เพื่อการดารงชีวิตในสังคมอย่างพอเพียง เท่าทันและเป็นสุข การศึกษาจึงต้อง พัฒนาผู้เรียนให้มีความรอบรู้มีทักษะที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคมและวัฒนธรรม จากโลกภายนอก โดยยึดหลักความพอประมาณ ท่เี ปน็ ความพอดีที่ไมน่ ้อยเกินไปและไมม่ ากเกนิ ไป โดย ไมเ่ บียดเบียนตนเองและผูอ้ ื่น มกี ารตดั สินใจที่มีเหตผุ ล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน คานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขน้ึ จากการกระทาน้ัน ๆ อย่างรอบคอบ และมีภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว ซ่ึงเป็นการ เตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึน โดยคานึงถึงความเป็นไป ได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคตท้ังใกล้และไกล โดยใช้ความรอบรู้เก่ียวกับ วิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน มีความรอบคอบท่ีจะนาความรู้ เหล่านั้นมาพิจารณาให้ เช่ือมโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏบิ ัติ มคี วามตระหนักในคณุ ธรรม มี ความซือ่ สัตย์สจุ ริต อดทน พากเพยี ร และใชส้ ติปัญญาในการดาเนินชีวิต 4) หลักการมีสวนรวมของทุกภาคสวนของสงั คม (All for Education) การจดั การศึกษาอย่างมี คุณภาพและมีประสิทธิภาพให้กับประชาชนทุกคน เป็นพันธกิจท่ีต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของสังคมทุก ภาคส่วน เนื่องจากรัฐต้องใช้ทรัพยากรจานวนมากในการจัดการศึกษาท่ีต้องครอบคลุมทุกช่วงวัย ทุก ระดับการศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย ด้วยรูปแบบวิธีการท่ีหลากหลาย สนองความต้องการและความ จาเป็นของแต่ละบุคคล และสนองยุทธศาสตร์ชาติและความจาเป็นในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศ รัฐจึงต้อง ใหค้ วามสาคัญและสนับสนนุ การมีส่วนร่วมของบคุ คล ครอบครัว ชุมชน องค์กร ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์ กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน ประกอบการ และสถาบันสังคมอ่ืนในการจัดการศึกษา โดยบุคคล กลุ่มบุคคล หรือองค์กรต่าง ๆ จะได รับการส่งเสริมให้เข้าร่วมจัดการศึกษา เสนอแนะ กากับติดตาม และสนับสนุนการจัดการศึกษาใน รปู แบบต่าง ๆ ตามความพรอ้ มเพอื่ ประโยชนของสงั คมโดยรวม เป้าหมายการพฒั นาทย่ี งั่ ยนื 24
เป็นเป้าหมายท่ปี ระเทศสมาชิกองคก์ ารสหประชาชาติจานวน 193 ประเทศ ไดล้ งมติรับรองใน การประชุมสมัชชาใหญ่แหง่ สหประชาชาติในปีพ.ศ. 2558 โดยจะใชเ้ ป็นวาระ แหง่ การพฒั นาของโลกใน อีก 15 ปีข้างหน้า (ค.ศ. 2016 – 2030) มีท้ังหมด 17 เป้าหมาย โดยเป้าหมายด้านการศึกษา คือ เป้าหมายที่ 4 สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาท่ีมีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และ สนบั สนนุ โอกาสในการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติจึงต้องพัฒนาคุณภาพและประสทิ ธิภาพ การจดั การศึกษาของประเทศ เพ่ือสรา้ งหลักประกันว่า เด็กปฐมวยั ทกุ คนจะได้รบั การเตรยี มความพรอ้ ม ก่อนเขา้ เรียนประถมศึกษา ทกุ คนสาเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาทมี่ ีคุณภาพและมี ผลลัพธ์ทางการเรียนท่ีมีประสิทธิผล ทุกคนสามารถเข้าถึงการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ด้วยค่าใช้จ่ายที่เหมาะสมและมีคุณภาพ กาลังแรงงานมีทักษะท่ีจาเป็น รวมถึงทักษะทางเทคนิคและ อาชีพสาหรับการจ้างงาน การมีงานที่ดีและการเป็นผู้ประกอบการ กลุ่มผู้พิการและด้อยโอกาสเข้าถึง การศึกษา และการฝึกอาชีพทุกระดับอย่างเท่าเทียม มีการเพ่ิมจานวนครูที่มีคุณภาพ เพ่ือการศึกษา สาหรับการพัฒนาอยา่ งยง่ั ยนื และการมีวิถีชวี ิตทีย่ ่ังยืน ประเด็นภายในประเทศ อาทิคุณภาพของคนทุกช่วงวัย การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศ ความเหลื่อม ล้าของการกระจายรายไดแ้ ละวิกฤตด้านสง่ิ แวดล้อม ยุทธศาสตร์ชาติ (National Strategy) ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ซ่ึงได้กาหนด เป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืนตามหลักธรรมาภิบาลเพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทาแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกันเพื่อให้เกิดเป็นพลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมายดังกล่าว กรอบ ยุทธศาสตร์ชาติดังกล่าว ครอบคลุมนโยบายการพัฒนาประเทศไทยสู่อุตสาหกรรม 4.0 การสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (Growth & Competitiveness) การสร้างโอกาสบนความ เสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม (Inclusive Growth) และการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการ บรหิ ารจัดการภาครัฐ วิสยั ทัศนข์ องแผนการศึกษาแห่งชาติ คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 พนั ธกิจ 1) พัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่คนไทยทุกคนเข้าถึงโอกาสในการศึกษาและ เรียนรู้ตลอดชีวิต สร้างความเสมอภาคด้านการศึกษาแก่ผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย ยกระดับคุณภาพและ ประสิทธิภาพของการจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษาที่สอดคล้องและรองรับกระแสการ เปล่ยี นแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21 2) พัฒนาคุณภาพของคนไทยให้เป็นผู้มคี วามรู้คุณลักษณะ และทักษะการเรยี นรู้ใน ศตวรรษท่ี 21 สามารถพฒั นาศกั ยภาพและเรยี นรูไ้ ด้ด้วยตนเองอย่างต่อเน่อื งตลอดชีวติ 3) สร้างความม่ันคงแก่ประเทศชาติโดยสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และ สังคม คณุ ธรรม จริยธรรมทีค่ นไทยทกุ คนอย่รู ว่ มกนั อยา่ งปลอดภยั สงบสุข และพอเพยี ง 4) พัฒนาศักยภาพและความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย เพื่อการก้าวข้ามกับดัก 25
ประเทศรายได้ปานกลาง สู่การเป็นประเทศในโลกท่ีหนึ่ง และลดความเหล่ือมล้าในสังคม ด้วยการเพ่ิม ผลิตภาพของกาลังแรงงาน (productivity) ให้มีทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของ ตลาดงานและการพัฒนาประเทศ พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงท่ีเป็นพลวัตของโลกศตวรรษท่ี 21 ภายใต้ ยุคเศรษฐกิจและสงั คม 4.0 วตั ถุประสงค์ของแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 1) เพอ่ื พฒั นาระบบและกระบวนการจัดการศกึ ษาที่มคี ณุ ภาพและมปี ระสิทธิภาพ 2) เพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับ บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ และยุทธศาสตร์ ชาติ 3) เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และ ร่วมมอื ผนกึ กาลังม่งุ สู่การพฒั นาประเทศอย่างยง่ั ยืน ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4) เพื่อนาประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และความเหล่ือมล้า ภายในประเทศลดลง เป้าหมายด้านผเู้ รยี น แผนการศึกษาแห่งชาติมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เปา้ หมายของการจดั การศกึ ษา แผนการศึกษาแห่งชาติได้กาหนดเป้าหมายของการพัฒนาการศึกษาในระยะ 20 ปี ไว้ 5 ด้าน ประกอบด้วย 1) ประชากรทุกคนเข้าถงึ การศึกษาทม่ี ีคุณภาพและมาตรฐานอย่างทั่วถงึ (Access) เดก็ ปฐมวยั มพี ฒั นาการสมวัย ประชากรทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการศึกษาต้ังแต่ปฐมวัยถึงมัธยมศึกษาตอน ปลาย หรอื เทยี บเท่าที่มีคณุ ภาพและมาตรฐาน ประชากรที่อยู่ในกาลังแรงงานได้รับการพัฒนาทักษะ ความรู้ความสามารถ และ สมรรถนะทตี่ อบสนองความต้องการของตลาดงานและการพัฒนาประเทศ ประชากรสูงวัยได้เรียนรู้ฝึกฝนเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถ และทักษะเพ่ือ การ ทางานหรือการมชี วี ติ หลงั วัยทางานอยา่ งมีคุณคา่ และเปน็ สุข 2) ผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการทางการศึกษาอย่างเสมอภาคและเท่าเทียม (Equity) ผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย ท้ังกลุ่มปกติผู้มีความสามารถพิเศษ ผู้มีความบกพร่องด้านต่าง ๆ ผู้ พิการ ผู้ด้อยโอกาส และผูม้ ภี ูมหิ ลังทางสังคมหรือฐานะทางเศรษฐกิจท่แี ตกต่างกัน ได้รบั โอกาสและการ บรกิ ารทางการศึกษาอยา่ งเสมอภาคและเทา่ เทยี ม 3) ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุขีดความสามารถและเต็มตาม ศักยภาพ ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน เพ่ือพัฒนาคุณลักษณะ ทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะของแต่ละบุคคลให้ไปได้ไกลที่สุดเท่าที่ศักยภาพและ ความสามารถของแต่ละบุคคลพึงมี ภายใต้ระบบเศรษฐกิจสังคมฐานความรู้สังคมแห่งปัญญา และการ 26
สร้างสภาพแวดลอ้ มทีเ่ ออ้ื ต่อการเรียนรทู้ ป่ี ระชาชนสามารถเรียนรู้ได้อยา่ งตอ่ เน่อื งตลอดชวี ิต มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและสามารถดารงชวี ิตได้อยา่ งเปน็ สุขตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4) ระบบการบริหารจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ เพ่ือการพัฒนาผู้เรียนอย่างท่ัวถึง และมี คณุ ภาพ และการลงทุนทางการศึกษาทค่ี มุ้ คา่ และบรรลเุ ปา้ หมาย หน่วยงาน สถานศึกษาและสถาบันการศึกษาทุกแห่งสามารถบริหารและจัดการศึกษาอย่างมี ประสิทธิภาพ ด้วยคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล จัดให้มีระบบการจัดสรรและใช้ทรัพยากรทาง การศึกษาท่ีก่อประโยชน์สูงสุดในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนให้บรรลุศักยภาพและขีดความสามารถของ ตน และส่งเสรมิ สนับสนุนให้ทกุ ภาคสว่ นของสังคมท่ีมีศักยภาพและ ความพรอ้ มเข้ามามีส่วนร่วมในการ ระดมทุนและร่วมรับภาระค่าใช้จ่ายเพื่อการศึกษา โดยเฉพาะ สถานประกอบการ สถาบันและองค์กร ต่าง ๆ ในสังคม และผู้เรยี น ผา่ นมาตรการทางการเงินและการคลังท่ีเหมาะสม 5) ระบบการศึกษาที่สนองตอบและก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกท่ีเป็นพลวัตและ บริบทที่ เปลยี่ นแปลง ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐาน สนองตอบและก้าวทันการเปล่ียนแปลงของ โลก ศตวรรษท่ี21 สามารถพฒั นาทกั ษะ คุณลักษณะและสมรรถนะในการทางานของกาลังคนใน ประเทศให้ สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงาน สังคม และประเทศ ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปีและ ยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 ที่จะนาประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลางสู่การเป็น ประเทศทพ่ี ัฒนาแล้ว ด้วยการศึกษาทสี่ ร้างความมั่นคงในชวี ิตของประชาชนสงั คมและประเทศชาติ และ การสรา้ งเสรมิ การเตบิ โตทีเ่ ปน็ มติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม บทสรปุ การเรยี นรู้คือการเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรม อันเนอ่ื งมาจากประสบการณ์ หรอื การฝกึ ฝน ปรัชญาเป็นวิชาว่าด้วยหลักแห่งความรู้และความจริง กล่าวคือ ในบรรดาความรู้ท้ังหลายของ มนุษยชาตินั้น อาจแบ่งได้เป็น 2 เรื่องใหญ่ๆ เรื่องท่ี 1 คือ เรื่องเกี่ยวกับธรรมชาติ เช่น ฟิสิกส์ มี เป้าหมายในการศึกษาเพื่อหาความจริงต่างๆ และเข้าใจในธรรมชาติมากกว่าสิ่งรอบตัวเพราะรวมไปถึง จักรวาลทั้งหมดอย่างลึกซ้ึง ชีววิทยามีเป้าหมายในการศึกษาเก่ียวกับสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย เคมีมีเป้าหมาย ในการศกึ ษาเก่ยี วกับธาตแุ ละองค์ประกอบของธาตุ เรื่องท่ี 2 คือ เรื่องเกยี่ วกับสังคม เชน่ เศรษฐศาสตร์ มีเป้าหมายในการศึกษาเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจของสังคม รัฐศาสตร์มีเป้าหมายในการศึกษาเก่ียวกับ ระบบการเมืองการปกครองของสังคม นิติศาสตร์มีเป้าหมายในการศึกษาเกี่ยวกับระบบกฎหมายของ สังคม แต่เป้าหมายในการศึกษาของปรัชญาน้ัน ครอบคลุมความรู้และความจริงในทุกศาสตร์และในทุก สาขาความรู้ของมนุษย์ดังได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ท้ังผลจากการศึกษาของปรัชญาก็สามารถนาไปใช้ อา้ งองิ ไดใ้ นทุกศาสตร์และในทุกสาขาความรูข้ องมนุษย์ด้วย ปรัชญาแบ่งออกเป็น 3 สาขาดังนี้ 1.ญาณวิทยาหรือทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge) หมายถึงปัญหาเกี่ยวกับท่ีมาของความรู้ แหล่งกาเนิดของความรู้ ธรรมชาติของความรู้ และเหตุแห่ง ความความรู้ที่แท้จริง 2.อภิปรัชญา (Metaphysics) หมายถึงศาสตร์ท่ีว่าด้วยความแท้จริงหรือสารัตถะ 3.คุณวิทยา Axiology) ศึกษาเร่ืองราวเกี่ยวกับคุณค่าหรือค่านิยม (value) เช่น คุณค่าเก่ียวกับความดี 27
และความงาม มอี ะไรเปน็ เกณฑใ์ นการพิจารณาวา่ อย่างไรดี อยา่ งไรงาม การจัดการศึกษาของไทยมีวิวัฒนาการมาโดยตลอด อาจจะเป็นเพราะมีปัจจัยท้ังภายในและ ภายนอกประเทศทาให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลง กล่าวคือ ปัจจัยภายในเกิดจากความต้องการพัฒนา สังคมให้มีความเจริญและทันสมัย ส่วนปัจจัยภายนอกเกิดจากกระแสความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ทั้งด้านเศรษฐกิจและการเมือง ตลอดจนการติดต่อสื่อสารกันทาให้ประเทศไทยต้องปรับตัวให้ทันสมัย เพอ่ื ความอยู่รอดและประเทศไดเ้ กิดการพัฒนาใหท้ ัดเทียมกบั นานาประเทศ ด้วยเหตุผลทก่ี ล่าวมาทาให้ การจัดการศึกษาของไทยมีวิวัฒนาการเรื่อยมา ซึ่งเป็นปัจจัยท่ีช่วยเสริมความเจริญก้าวหน้าทั้งทางด้าน สงั คม เศรษฐกิจและการเมอื งของชาติใหม้ ั่นคงและเจรญิ กา้ วหนา้ คาถามทบทวน 1. การศึกษา มีความสาคญั ตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพชีวิตอยา่ งไร จงอธบิ าย 2. ปรชั ญาหมายถงึ อะไร จงอธบิ าย 3. ปรชั ญากบั การศึกษา มีความสัมพันธก์ ันอย่างไร จงอธิบาย 4. การศกึ ษาไทยในสมนั แรก มลี ักษณะอย่างไร จงอธบิ าย 5. แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579 มีแนวคิดการจดั การศกึ ษาอยา่ งไร จงอธบิ าย เอกสารอา้ งอิง ความเป็นมาและระบบการจัดการศึกษาไทย. (ม.ป.ป.). ความเป็นมาและระบบการจัด การศึกษาไทย. ค้นจาก http://www.kruinter.com/file/87420140903200128-%5bkruinter. com%5d.pdf ธีรศักดิ์ อุปไมยอธิชัย. (2557). พ้ืนฐานการจัดการการศึกษา. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . ปริยาภรณ์ ตั้งคุณานันท์. (2557). พื้นฐานและหลักการศึกษา. กรุงเทพฯ: เซอร์วิส ซัพพลาย. ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2558). ปรชั ญาการศกึ ษาเบ้ืองต้น. (พมิ พ์ครง้ั ที่ 10). กรงุ เทพฯ: สานกั พมิ พ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . วิชัย ตันศิริ. (2550). อุดมการณ์ทางการศึกษาทฤษฎีและภาคปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . สนุ ทร โคตรบรรเทา. (2553). ปรัชญาการศกึ ษาสาหรบั ผ้บู ริหารการศึกษา. กรงุ เทพฯ: ส.เอเซีย เพรส. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. ค้น จาก http://backoffice.onec.go.th/uploads/Book/1540-file.pdf 28
แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 2 หวั ข้อเน้ือหา เนอ้ื หาสาระในบทน้ปี ระกอบดว้ ย 1. ความหมายของกฎหมาย 2. กฎหมายทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การศึกษาไทย 3. กฎหมายที่เกย่ี วข้องกับการศึกษาพเิ ศษ วัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤติกรรม เม่อื เรยี นบทเรียนนี้จบแลว้ นักศึกษามคี วามสามารถ ดังนี้ 1. บอกหลกั การใชก้ ฎหมายได้ 2. อธิบายความสาคญั ของกฎหมายการศกึ ษาได้ 3. อธบิ ายความสาคญั ของกฎหมายการศกึ ษาพเิ ศษได้ วธิ ีสอนและกจิ กรรมการเรยี นการสอน 1. วธิ สี อน 1.1 บรรยาย 1.2 การอธบิ าย 1.3 การประชุมกล่มุ ย่อย 1.4 การวเิ คราะห์เนอื้ หา ทฤษฎี 1.5 การถาม-ตอบ 1.6 การอภปิ ราย แลกเปล่ียนเรยี นรู้ 2. กิจกรรมการเรยี นการสอน กิจกรรมการเรียนการสอนเร่ืองความรู้พ้ืนฐานเกยี่ วกบั พ้ืนฐานทางปรชั ญาการศึกษา มี ดังน้ี 2.1 ผู้สอนทบทวนแนวคดิ เกีย่ วกับการบริหารการศกึ ษา โดยใชก้ ระบวนการ ถาม-ตอบ 2.2 ผู้สอนให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มอภิปรายส่ิงท่ีต้องคานึงถึงในการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข เสร็จแล้วให้แต่ละกลุ่มนาเสนอผลของการเรียนรู้ 2.3 ผสู้ อนบรรยายเร่อื งความหมายของกฎหมาย 2.4 ผู้สอนให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มอภิปรายกฎหมายการศึกษา เสร็จแล้วให้แต่ละกลุ่ม นาเสนอผลของการเรยี นรู้ 29
2.5 ผสู้ อนให้ผู้เรยี นแบ่งกลุ่มอภิปรายกฎหมายการศึกษาพเิ ศษ เสร็จแล้วให้แต่ละกลุ่ม นาเสนอผลของการเรียนรู้ สอ่ื การเรียนการสอน สือ่ การเรียนการสอนที่ใชป้ ระกอบกจิ กรรมการเรียนการสอน มีดงั น้ี 1. เอกสารประกอบการเรียนการสอน “การพัฒนาหลักสูตร” 2. ตารา หนงั สอื เรียนเกีย่ วกบั การพัฒนาหลักสตู ร 3. Power point ความรตู้ า่ ง ๆ 4. เครอื ขา่ ยการเรียนรทู้ างอินเทอร์เน็ตเกี่ยวกบั การพัฒนาหลกั สูตร การวัดและการประเมินผล การวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ มดี งั นี้ 1. สังเกตพฤตกิ รรมการตอบคาถาม 2. สังเกตพฤติกรรมการแสดงความคดิ เหน็ ขอ้ เสนอท่ใี ช้ในการอภิปราย 3. การทาแบบฝึกหดั 30
บทท่ี 2 กฎหมายทเ่ี กยี่ วข้องกับการศกึ ษาไทย กฎหมาย คือข้อตกลงในแนวทางการปฏิบัติตน ของการอยู่ร่วมกัน เน่ืองจากเป็นข้อตกลงที่ จาเป็นต้องปฏบิ ัติตามอย่างเคร่งครัด เพื่อความถูกต้องและเหมาะสมในการอยู่ร่วมกัน เพอ่ื ให้สมาชิกใน สงั คมไมเ่ อาเปรยี บซ่ึงกนั และกนั อันจะส่งผลใหเ้ กิดความสงบสขุ ในสงั คมนน้ั ๆ กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกบั การศึกษาไทย มคี วามสาคัญมากกบั ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ทา ให้ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษามีแนวปฏิบัติต่อผู้ร่วมวิชาชีพอย่างเหมาะสม ไม่เบียดเบียนหรือเอา เปรยี บผูอ้ ื่น และส่งผลใหก้ ารปฏิบตั หิ น้าทม่ี ีวธิ ีการปฏิบตั ทิ ีถ่ ูกต้อง ความหมายของกฎหมาย พจนานุกรม ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2556 (2556 : Online) ให้ความหมายของกฎหมาย ไว้ว่ากฎที่สถาบันหรือผู้มีอานาจสูงสุดในรัฐตราขึ้น หรือที่เกิดข้ึนจากจารีตประเพณีอันเป็นท่ียอมรับนับ ถือ เพื่อใช้ในการบริหารประเทศ เพ่ือใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตาม หรือเพ่ือกาหนดระเบียบแห่ง ความสัมพันธร์ ะหว่างบุคคลหรือระหวา่ งบุคคลกบั รฐั สถาบันพระปกเกล้า (2562 : Online) ได้รวบรวมความหมายของคาว่า กฎหมาย ไว้ดังน้ี กฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ กตกิ า หรอื มาตรฐานท่ใี ชเ้ ปน็ แนวทางพ้นื ฐานในการอยู่ร่วมกนั ในสงั คม เพื่อให้สมาชิกประพฤตปิ ฏิบัติตาม โดยไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบจากบคุ คลอ่ืน ด้วยเหตุที่กฎหมายมีสภาพ บงั คับ ทาให้สมาชิกในสังคมทุกคนจะต้องรกู้ ฎหมาย ผู้ใดจะอ้างวา่ ไม่รู้กฎหมายไม่ได้ และจะต้องปฏิบัติ ตามกฎหมายอยา่ งเครง่ ครดั ศาสตราจารย์ ดร. หยุด แสงอุทัย ได้พิจารณากฎหมายใน 2 ลักษณะ คือ กฎหมายตาม เนื้อความ และกฎหมายตามแบบพิธี โดยกฎหมายตามเน้ือความ หมายความถึง กฎหมายซึ่งบทบัญญัติ มีลักษณะเป็นกฎหมายแท้ กล่าวคือ มีลักษณะเป็นข้อบังคับซ่ึงกาหนดความประพฤติของมนุษย์ ถ้าฝ่า ฝืนจะได้รับผลร้ายหรือถูกลงโทษ ในสมัยใหม่ส่วนใหญ่เป็นข้อบังคับของรัฐ ส่วนกฎหมายตามแบบพิธี หมายความถึง กฎหมายท่ีออกมาโดยวิธีบัญญัติกฎหมาย ท้ังนี้ โดยไม่ต้องคานึงว่ากฎหมายน้ันเข้า ลักษณะเป็นกฎหมายตามเนอ้ื ความหรอื ไม่ มานิตย์ จุมปา อธิบายไว้ว่า กฎหมาย หมายถึง กฎเกณฑ์ท่ีกาหนดความประพฤติของบุคคลใน สังคมซ่ึงบุคคลจะต้องปฏิบัติตามหรือควรจะปฏิบัติตาม มิฉะน้ันจะได้รับผลร้ายหรือไม่ได้รับผลดีที่เป็น สภาพบังคับโดยเจา้ หนา้ ท่ใี นระบบกฎหมาย สมยศ เชื้อไทย อธิบายไวว้ ่า กฎหมาย คือ กฎเกณฑ์ท่ีเปน็ แบบแผนความประพฤติของมนุษย์ใน สงั คมซึ่งมีกระบวนการบงั คบั ที่เปน็ กิจจะลักษณะ จะเห็นได้ว่า กฎหมายนั้นมีความหมายในหลายแง่มุม ซ่ึงการนิยามความหมายจะแปรเปล่ียนไป ตามแนวความคิดและความเชื่อท่ีแตกต่างกันตามลักษณะของสังคมและสถานการณ์ที่เปล่ียนแปลงไป รวมทั้งความต้องการของประชาชนในสังคมน้ัน ๆ ทั้งนี้ จากความหมายของกฎหมายข้างต้น สามารถ จาแนกลกั ษณะของกฎหมายได้ 4 ประการ คอื 1. กฎหมายต้องมีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์ หมายความว่า กฎหมายต้องเป็นข้อบังคับที่ เป็นมาตรฐานที่ใช้วัดและใช้กาหนดความประพฤติของสมาชิกของสังคมได้ว่าถูกหรือผิด ทาได้หรือทา 31
ไม่ได้ 2. กฎหมายต้องกาหนดความประพฤติของบุคคล ความประพฤติในท่ีนี้ ได้แก่ การ เคล่ือนไหวหรือไม่เคลื่อนไหวร่างกายภายใต้การควบคุมของจิตใจ ซ่ึงความประพฤติของมนุษย์ที่จะอยู่ ภายใต้การควบคุมของกฎหมายนั้น ต้องประกอบด้วยเงื่อนไข 2 ประการ คือ ต้องมีการเคล่ือนไหว หรอื ไมเ่ คลอื่ นไหวร่างกาย และต้องกระทาภายใตก้ ารควบคุมของจิตใจ 3. กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ ในกรณีท่ีมีการฝ่าฝืนกฎเกณฑ์ กฎหมายจะมีสภาพ บังคับเพื่อให้มนุษย์จาต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์น้ัน โดยสภาพบังคับของกฎหมายมีทั้งสภาพบังคับที่เป็น ผลรา้ ยและสภาพบังคบั ที่เป็นผลดี 4. กฎหมายต้องมีกระบวนการที่แน่นอน เนื่องจากปัจจุบันการบังคับใช้กฎหมายต้อง กระทาโดยรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐผ่านองค์กรต่าง ๆ เช่น ตารวจ อัยการ ศาล ราชทัณฑ์ เป็นต้น การ บงั คบั ใช้กฎหมายจึงตอ้ งมีกระบวนการที่แนน่ อน กฎหมายท่ีเกย่ี วข้องกบั การศึกษาไทย สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2558 : Online) ได้จัดแบ่งกฎหมายเป็นหมวดหมู่ ดังน้ี รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญตั ิ พระราชกฤษฎกี า กฎกระทรวง กฎ ประกาศ ระเบียบ ขอ้ บงั คับ รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย (ฉบับชัว่ คราว) พทุ ธศักราช 2557 แก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับ ท่ี 1) พทุ ธศกั ราช 2558 ได้บัญญัติให้มีคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญมีหน้าท่ีร่างรัฐธรรมนูญเพื่อใช้เป็นหลัก ในการ ปกครอง และเป็นแนวทางในการจัดทากฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญและกฎหมายอ่ืน โดยได้กาหนด กลไก เพ่ือจัดระเบียบและสร้างความเข้มแข็งแก่การปกครองประเทศข้ึนใหม่ด้วยการจัดโครงสร้างของ หน้าท่ี และอานาจขององค์กรต่างๆ ตามรัฐธรรมนูญ และสัมพันธภาพระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่าย บริหารให้เหมาะสม การให้สถาบันศาลและองค์กรอิสระอ่ืนซึ่งมีหน้าที่ตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ สามารถปฏิบัติหนา้ ที่ได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ สุจรติ เทีย่ งธรรมและมีส่วนในการป้องกันหรอื แก้ไขวกิ ฤติ ของประเทศตามความจาเป็น และความเหมาะสม การรับรอง ปกป้อง และคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของ ปวงชนชาวไทยให้ชดั เจนและครอบคลุม อยา่ งกว้างขวางยิง่ ขึ้น โดยถือว่าการมีสิทธเิ สรีภาพเป็นหลักการ จากัดตัดสิทธิเสรีภาพเปน็ ข้อยกเว้น แต่การใช้สิทธิเสรีภาพดังกล่าวต้องอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์เพือ่ คุ้มครอง ส่วนรวม การกาหนดให้รัฐมีหน้าที่ ต่อประชาชนเช่นเดียวกับการให้ประชาชนมีหน้าท่ีต่อรัฐ การวาง กลไกป้องกัน ตรวจสอบ และขจัดการทุจริต และประพฤติมิชอบท่ีเข้มงวด เด็ดขาด เพ่ือมิให้ผู้บริหารท่ี ปราศจากคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล เข้ามามีอานาจในการปกครองบ้านเมืองหรือใช้อานาจ ตามอาเภอใจ และการกาหนดมาตรการป้องกัน และบริหารจัดการวิกฤติการณ์ของประเทศให้มี ประสิทธิภาพยิ่งข้ึน ตลอดจนได้กาหนดกลไกอ่ืน ๆ ตามแนวทางที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 32
(ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ระบุไว้ เพ่ือใชเ้ ปน็ กรอบ ในการพฒั นาประเทศตามแนวนโยบายแห่ง รัฐและยุทธศาสตร์ชาติซ่ึงผู้เข้ามาบริหารประเทศแต่ละคณะ จะได้กาหนดนโยบายและวิธีดาเนินการท่ี เหมาะสมต่อไป ทั้งยังสร้างกลไกในการปฏิรูปประเทศในด้านตา่ งๆ ท่ีสาคัญและจาเป็นอย่างร่วมมือร่วม ใจกัน รวมตลอดทั้งการลดเงื่อนไขความขัดแย้งเพื่อให้ประเทศมีความสงบสุข บนพ้ืนฐานของความรู้รัก สามัคคีปรองดอง การจะดาเนินการในเร่ืองเหล่าน้ีให้ลุล่วงไปได้ จาต้องอาศัย ความร่วมมือระหว่าง ประชาชนทุกภาคส่วนกับหน่วยงานทงั้ หลายของรฐั ตามแนวทางประชารัฐภายใต้กฎเกณฑ์ ตามหลกั การ ปกครองในระบอบประชาธิปไตยและประเพณีการปกครองที่เหมาะสมกับสถานการณ์ และลักษณะ สังคมไทย หลักความสุจริต หลักสิทธิมนุษยชน และหลักธรรมาภิบาล อันจะทาให้สามารถ ขับเคลื่อน ประเทศให้พัฒนาไปข้างหน้าไดอ้ ย่างเปน็ ขั้นตอนจนเกดิ ความมน่ั คง มั่งค่งั และย่งั ยืน ท้ังในทางการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ประกอบด้วย 16 หมวด 1 บทเฉพาะกาล ดังน้ี หมวด 1 บทท่วั ไป (มาตรา 1-5) หมวด 2 พระมหากษัตริย์ (มาตรา 6-24) หมวด 3 สิทธิและเสรภี าพของปวงชนชาวไทย (มาตรา 25-49) หมวด 4 หน้าท่ขี องปวงชนชาวไทย (มาตรา 50) หมวด 5 หนา้ ทข่ี องรัฐ (มาตรา 51-63) หมวด 6 แนวนโยบายแหง่ รฐั (มาตรา 64-78) หมวด 7 รัฐสภา (มาตรา 79-157) หมวด 8 คณะรฐั มนตรี (มาตรา 158-183) หมวด 9 การขดั กันแหง่ ผลประโยชน์ (มาตรา 184-187) หมวด 10 ศาล (มาตรา 188-199) หมวด 11 ศาลรฐั ธรรมนูญ (มาตรา 200-214) หมวด 12 องคก์ รอสิ ระ (มาตรา 215-247) หมวด 13 องคก์ รอยั การ (มาตรา 248) หมวด 14 การปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น (มาตรา 249-254) หมวด 15 การแกไ้ ขเพ่มิ เตมิ รฐั ธรรมนญู (มาตรา 255-256) หมวด 16 การปฏิรปู ประเทศ (มาตรา 257-261) บทเฉพาะกาล (มาตรา 262-279) พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ (ฉบับท่ี 4) พ.ศ.2562 พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ (ฉบับท่ี 4) พ.ศ.2562 ประกอบด้วย 12 มาตรา ดังน้ี มาตรา 1 พระราชบัญญัตนิ ้เี รียกว่า “พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 ” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา 3 ให้ยกเลิกความในมาตรา 31 และมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และให้ใช้ความ ต่อไปน้ีแทน “มาตรา 31 กระทรวงมีอานาจหน้าท่ีเก่ียวกับการส่งเสริมและกากับดูแลการศึกษาทุก ระดับ ทกุ ประเภท และการอาชวี ศึกษา แต่ไม่รวมถึงการศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษาทีอ่ ยูใ่ นอานาจหน้าท่ีของ กระทรวงอื่น ท่ีมีกฎหมายกาหนดไว้เป็นการเฉพาะ กาหนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา 33
สนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการศกึ ษา ส่งเสริมและประสานงานการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และการกีฬา ท้ังนี้ ในส่วนที่เกี่ยวกับ การศึกษา รวมท้ังการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา และ ราชการอ่ืนตามท่ีมี กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าท่ีของกระทรวงหรือส่วนราชการท่ีสังกัด กระทรวง มาตรา 32 การจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวงให้มีองค์กรหลกั ทเ่ี ป็นคณะบคุ คล ในรูป สภาหรือในรูปคณะกรรมการจานวนสามองค์กร ได้แก่ สภาการศึกษา คณะกรรมการการศึกษา ข้ัน พ้ืนฐาน และคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา เพือ่ พิจารณาให้ความเห็นหรือให้คาแนะนาแกร่ ัฐมนตรี หรือ คณะรัฐมนตรี และมอี านาจหน้าที่อ่ืนตามที่กฎหมายกาหนด ” มาตรา 4 ให้เพิ่มความต่อไปน้ีเป็นมาตรา 32/1 และมาตรา 32/2 แห่งพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 “มาตรา 32/1 กระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม มีอานาจหน้าท่ีเก่ียวกับการส่งเสริม สนับสนุน และ กากับการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ การวิจยั และการสรา้ งสรรค์ นวตั กรรม เพอ่ื ใหก้ ารพัฒนาประเทศเท่า ทันการเปล่ียนแปลงของโลกและราชการอื่นตามท่ีมีกฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าท่ีของกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หรือส่วนราชการ ท่ีสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม มาตรา 32/2 การจัดระเบียบราชการกระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม ให้เปน็ ไปตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการน้ัน ” มาตรา 5 ให้ยกเลกิ วรรคสามของมาตรา 34 แหง่ พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งแก้ไขเพมิ่ เติมโดยพระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 6 ให้เพ่ิมความต่อไปน้ีเป็นมาตรา 35/1 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 “มาตรา 35/1 ให้มีคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหน้าท่ีพิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนการศึกษาแห่งชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัด การศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยคานึงถึงความเป็นอิสระและความเป็นเลิศทางวิชาการของสถานศึกษา ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า ต า ม ก ฎ ห ม า ย ว่ า ด้ ว ย ก า ร จั ด ตั้ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า แ ต่ ล ะ แ ห่ ง แ ล ะ ก ฎ ห ม า ย ท่ี เ ก่ี ย ว ข้ อ ง องค์ประกอบ จานวนกรรมการ คุณสมบัติ ลักษณะต้องห้าม หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหา การเลือกและ การแต่งตั้งประธานกรรมการ กรรมการ และกรรมการและเลขานุการ วาระการดารงตาแหน่ง และการ พน้ จากตาแหนง่ ของกรรมการการอุดมศึกษา ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการนั้น ” มาตรา 7 ใหย้ กเลิกความในมาตรา 47 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และ ให้ใช้ความต่อไปน้ีแทน “มาตรา 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศกึ ษา ของการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาระดับอุดมศึกษา ประกอบดว้ ย ระบบการ ประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกัน คณุ ภาพการศกึ ษาของการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน และ การอาชีวศึกษา ใหเ้ ปน็ ไปตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง สาหรับระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษาที่อยู่ในอานาจหน้าท่ีของกระทรวงอ่ืนที่มี กฎหมายกาหนดไวเ้ ปน็ การเฉพาะ ใหเ้ ป็นไป ตามกฎหมายวา่ ด้วยการน้นั ” มาตรา 8 ใหย้ กเลิกความในมาตรา 49 แหง่ พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ ให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา 49 ให้มีสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มี ฐานะเป็นองค์การมหาชนทาหน้าท่ีพัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทาการ ประเมินผลการจัดการศึกษา ท่ีมิใช่การจัดการอุดมศึกษาซึ่งอยู่ในอานาจหน้าที่ของกระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หรือกระทรวงอื่น เพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของ สถานศกึ ษา โดยคานงึ ถงึ ความม่งุ หมาย หลักการ และแนวการจัดการศึกษาในแตล่ ะระดบั ตามที่กาหนด 34
ไว้ในพระราชบัญญัตินี้ ให้มีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่งอย่างน้อยหน่ึงคร้ังใน ทุกห้าปีนับต้ังแต่ การประเมินคร้ังสุดท้าย และเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องและ สาธารณชน ” มาตรา 9 ให้ยกเลิกความในมาตรา 51 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่ง แก้ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 และ ให้ใช้ความต่อไปน้แี ทน “มาตรา 51 ในกรณีที่ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาใดไม่ได้ตามมาตรฐานที่กาหนด ให้ สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา จัดทาข้อเสนอแนะการปรับปรุงแก้ไขต่อ หน่วยงานต้นสังกัด เพื่อให้สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาท่ีกาหนด หากมิได้ดาเนินการ ดังกล่าว ให้สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษารายงานต่อคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน หรือคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพื่อดาเนินการให้มีการปรับปรุงแก้ไข ” มาตรา 10 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา 51/1 ของหมวด 7 ครู คณาจารย์ และ บุคลากร ทางการศึกษา แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 “มาตรา 51/1 คาว่า “คณาจารย์” ในหมวดนี้ ให้หมายความว่า บุคลากรซึ่งทาหน้าท่ีหลักทางด้านการสอนและการวิจัยในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐและเอกชน แต่ไมร่ วมถึงบุคลากรซึ่งสงั กัดกระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม ” มาตรา 11 ในวาระเร่ิมแรก ให้คณะกรรมการการอุดมศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งปฏิบัติหน้าที่อยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ปฏิบัติหน้าท่ี คณะกรรมการการอุดมศึกษาตามมาตรา 35/1 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่ง แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญตั ิน้ีไปพลางก่อน จนกว่าจะมีคณะกรรมการการอุดมศึกษาตามกฎหมาย วา่ ดว้ ยการนนั้ มาตรา 12 ใหร้ ัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการรักษาการตามพระราชบญั ญัติน้ี หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติม กฎหมาย ว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ เพ่ือกาหนดขอบเขตในการดาเนินการของกระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานอื่น ให้สอดคล้องกับอานาจหน้าที่ท่ีเปล่ียนแปลงไป เนื่องจากมีการจัดต้ังกระทรวงการ อุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม จงึ จาเปน็ ต้องตราพระราชบญั ญัตินี้ พระราชบัญญตั ิการจัดการศกึ ษาสาหรับคนพกิ าร (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2556 พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2556 สานักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา (2556 : Online) เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ โดยท่ีการจัด การศึกษาสาหรับคนพิการ มีลักษณะเฉพาะแตกต่างจากการจัดการศึกษาสาหรับบุคคลท่ัวไป จึง จาเป็นต้องจัดให้คนพิการมสี ทิ ธิและโอกาส ได้รบั การบริการและความช่วยเหลือทางการศกึ ษาเป็นพเิ ศษ ต้ังแตแ่ รกเกดิ หรอื พบความพิการ ดังนัน้ เพอื่ ใหก้ ารบริการและการใหค้ วามช่วยเหลอื แก่คนพิการในดา้ น การศึกษาเป็นไปอย่างทั่วถึงทุกระบบและทุกระดับการศึกษา จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัติน้ี มาตรา 1 พระราชบัญญัตินเี้ รียกว่า “พระราชบัญญัตกิ ารจัดการศกึ ษาสาหรบั คนพิการ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2556” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินใี้ หใ้ ช้บงั คบั ต้ังแต่วันถดั จากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้น ไป มาตรา 3 ให้ยกเลิกความในบทนิยามคาว่า “ครูการศึกษาพิเศษ” ในมาตรา 3 แห่ง 35
พระราชบญั ญัติการจัดการศกึ ษาสาหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 และใหใ้ ชค้ วามตอ่ ไปนี้แทน “ครกู ารศกึ ษา พิเศษ” หมายความว่า ครูท่ีมีวุฒิทางการศึกษาพิเศษสูงกว่าระดับปริญญาตรีขึ้นไป หรือครูท่ีมีวุฒิทาง การศกึ ษาพเิ ศษระดับปริญญาตรที ี่ผา่ นการประเมินทักษะการสอนคนพิการตามทีค่ ณะกรรมการสง่ เสริม การจัดการศึกษาสาหรับคนพิการกาหนด และปฏิบัติหน้าที่สอน จัดการศึกษา นิเทศ หรือหน้าที่อ่ืน เกย่ี วกับการจัดการศึกษาสาหรบั คนพกิ ารในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน” มาตรา 4 ให้ยกเลิกความในมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 และใหใ้ ชค้ วามต่อไปนแี้ ทน “มาตรา 11 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการส่งเสริมการจัด การศกึ ษา สาหรบั คนพกิ าร” ประกอบด้วย (1) รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานกรรมการ (2) รัฐมนตรชี ่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นรองประธานกรรมการ คนท่ีหน่ึง และ ผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งรัฐมนตรีแต่งต้ังจากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงเป็นผู้แทนขององค์การคนพิการตาม (4) เปน็ รองประธาน กรรมการ คนที่สอง (3) กรรมการโดยตาแหน่ง จานวนสิบคน ได้แก่ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เลขาธิการ คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการ การอุดมศึกษา เลขาธิการสภาการศึกษา อธิบดีกรมการแพทย์ อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน อธิบดีกรมสุขภาพจิต ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และเลขาธิการสานักงานส่งเสริมและพัฒนา คณุ ภาพชวี ติ คนพิการแหง่ ชาติ (4) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนสิบส่ีคน ซึ่งรัฐมนตรีแต่งต้ังจากผู้มีความรู้ ความสามารถ ความเชยี่ วชาญและประสบการณ์สูงด้านการบริหารการศึกษา ด้านการศึกษาสาหรับคน พิการ ด้านกฎหมาย ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ด้านเทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับคน พิการและด้านสังคมสงเคราะห์ ด้านใดด้านหน่ึงหรือหลายด้านรวมกัน โดยในจานวนนี้ต้องมีบุคคลซึ่ง เป็นผู้แทนขององค์การคนพิการ แต่ละประเภทจานวนไม่น้อยกว่าเจ็ดคน ให้ผู้อานวยการสานัก บริหารงานการศึกษาพิเศษเป็นกรรมการและเลขานุการ และให้ผู้อานวยการ สานักบริหารงาน การศกึ ษาพเิ ศษแต่งตั้งข้าราชการในสานักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษเป็นผู้ช่วยเลขานุการ” มาตรา 5 ให้คณะกรรมการส่งเสรมิ การจัดการศึกษาสาหรับคนพิการซ่ึงดารงตาแหนง่ อยู่ในวัน ก่อนวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ คงอยู่ในตาแหน่งต่อไปจนกว่าจะมีการแต่งต้ังคณะกรรมการ ส่งเสริมการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการตามพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 ซ่ึงแก้ไขเพ่มิ เตมิ โดยพระราชบญั ญัตินี้ ทงั้ น้ี ต้องไม่เกินหนงึ่ รอ้ ยย่ีสิบวันนบั แต่วนั ทพี่ ระราชบัญญัติ น้ใี ช้บังคับ มาตรา 6 ให้ครูที่มีวุฒิทางการศึกษาพิเศษระดับปริญญาตรีซึ่งทาการสอนและได้รับเงินเพิ่ม สาหรับตาแหน่งตามระเบียบคณะกรรมการข้าราชการครูว่าด้วยเงินเพ่ิมสาหรับตาแหน่งท่ีมีเหตุพิเศษ ของ ครูการศึกษาพิเศษและครูการศึกษาพิเศษกรณีเรียนร่วม พ.ศ. 2539 อยู่ก่อนวันท่ีพระราชบัญญัติ การจัดการศึกษาสาหรบั คนพิการ พ.ศ. 2551 ใช้บงั คับ เป็นครูการศึกษาพิเศษตามพระราชบัญญัติ การ จัดการศกึ ษาสาหรบั คนพกิ าร พ.ศ. 2551 ซ่ึงแกไ้ ขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบญั ญตั ินี้ มาตรา 7 ใหร้ ฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารรกั ษาการตามพระราชบัญญตั ินี้ 36
พระราชบญั ญตั สิ ง่ เสริมการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั พ.ศ. 2551 เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คอื โดยท่ีกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ มี หลักการจัดการศึกษาให้เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับประชาชน และให้ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วน ร่วมในการจัดการศึกษา รวมทั้งสถานศึกษาอาจจัดการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบหรือ การศึกษา ตามอัธยาศัย รูปแบบใดรูปแบบหน่ึงหรือทั้งสามรูปแบบก็ได้ โดยเป็นการผสมผสานระหว่าง การศึกษาท้ังสามรูปแบบ เพื่อให้สามารถพัฒนาการศึกษาและคุณภาพชีวิตของประชาชนได้อย่าง ต่อเน่ือง แต่เนื่องจากกลไก และการดาเนินการเก่ียวกับการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัยยังไม่มีกฎหมายเฉพาะรองรับ ดังนั้น เพื่อให้เป็นไปตามแนวทางและเป้าหมายดังกล่าว สมควร ให้มีกฎหมายเพื่อส่งเสริมและสนับสนุน การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้ เปน็ ไปอยา่ งมรี ะบบและตอ่ เนอื่ ง มกี ารบริหารและจดั การศกึ ษาทมี่ ีประสิทธิภาพเพ่ือทาใหป้ ระชาชนได้มี โอกาสเรยี นรู้ และสามารถพฒั นาคุณภาพชวี ิตของตน ไดต้ ามศักยภาพ เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และภูมิ ปัญญา อันจะมีผลในการพัฒนากาลังคนและประเทศชาติ ให้เจริญก้าวหน้าต่อไป จึงจาเป็นต้องตรา พระราชบัญญัตนิ ี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551” มาตรา 2 พระราชบญั ญตั ินี้ให้ใช้บงั คบั ตงั้ แต่วันถดั จากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้น ไป มาตรา 3 พระราชบัญญัติน้ีไม่ใช้บังคับกับการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตาม อัธยาศัยซ่ึงดาเนินการโดยสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน ตามกฎหมายที่เก่ียวกับ สถาบันอดุ มศึกษาทไ่ี ด้บญั ญัตไิ ว้แลว้ มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตนิ ี้ “การศึกษานอกระบบ”.หมายความว่า กิจกรรมการศึกษาที่มีกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการและ วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ที่ชัดเจน มรี ูปแบบ หลักสูตร วิธีการจัดและระยะเวลาเรียนหรือฝึกอบรม ที่ ยืดหยนุ่ และหลากหลายตามสภาพความตอ้ งการและศักยภาพในการเรยี นรู้ของกลมุ่ เป้าหมายน้ัน และมี วิธีการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ที่มีมาตรฐานเพ่ือรับคุณวุฒิทางการศึกษา หรือเพ่ือจัดระดับผล การเรยี นรู้ “การศึกษาตามอัธยาศัย” หมายความว่า กิจกรรมการเรียนรู้ในวิถีชีวิตประจาวันของบุคคล ซึ่ง บุคคลสามารถเลือกท่ีจะเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ตามความสนใจ ความต้องการ โอกาส ความ พรอ้ ม และศักยภาพในการเรียนรูข้ องแตล่ ะบคุ คล “สถานศึกษา” หมายความวา่ สถานศึกษาทจ่ี ัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ในสานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย “ภาคีเครือข่าย” หมายความว่า บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และองค์กรอ่ืน รวมท้ัง สถานศึกษาอื่น ท่ีมิได้สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีส่วน รว่ มหรือ มีวัตถุประสงค์ในการดาเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการส่งเสริมสนับสนุนและประสานความร่วมมือ ก า ร ศึ ก ษ า น อ ก ร ะ บ บ แ ล ะ ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม อั ธ ย า ศั ย ต า ม ก ฎ ห ม า ย ว่ า ด้ ว ย ร ะ เ บี ย บ บ ริ ห า ร ร า ช ก า ร กระทรวงศกึ ษาธิการ 37
“สานกั งาน” หมายความว่า สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย “รฐั มนตรี” หมายความว่า รฐั มนตรผี ู้รักษาการตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ มาตรา 5 เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา ให้บุคคลได้รับการศึกษา นอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ โดย ให้บุคคลซึ่งได้รับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานไปแล้วหรือไม่ก็ตามมีสิทธิได้รับการศึกษาในรูปแบบการศึกษา นอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัยได้ แล้วแต่กรณี ทั้งน้ีตามกระบวนการและการดาเนินการ ที่ได้ บัญญัติไว้ในพระราชบญั ญตั นิ ี้ มาตรา 6 การส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ยึดหลัก ดงั ตอ่ ไปน้ี (1) การศึกษานอกระบบ (ก) ความเสมอภาคในการเข้าถึงและได้รับการศึกษาอย่างกว้างขวาง ท่ัวถึง เป็นธรรม และมีคุณภาพเหมาะสมกบั สภาพชีวิตของประชาชน (ข) การกระจายอานาจแก่สถานศึกษาและการให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการ จัดการเรียนรู้ (2) การศึกษาตามอัธยาศัย (ก) การเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับความสนใจและวิถีชีวิตของผู้เรียนทุก กลุม่ เป้าหมาย (ข) การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ให้มีความหลากหลายทั้งส่วนที่เป็นภูมิปัญญาท้องถ่ิน และสว่ นทนี่ าเทคโนโลยมี าใช้เพอ่ื การศึกษาn (ค) การจัดกรอบหรอื แนวทางการเรียนรู้ ท่ีเป็นคณุ ประโยชนต์ ่อผเู้ รียน มาตรา 7 การส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบ ให้ดาเนินการเพ่ือเป้าหมาย ในเร่ือง ดังตอ่ ไปนี้ (1) ประชาชนได้รับการศึกษาอยา่ งต่อเน่ือง เพ่ือพฒั นาศักยภาพกาลงั คนและสงั คม ที่ใช้ความรู้ และภูมิปัญญาเป็นฐานในการพัฒนา ท้ังดา้ นเศรษฐกิจ สังคม ส่งิ แวดล้อม ความม่ันคง และคณุ ภาพชวี ิต ท้งั น้ี ตามแนวทางการพฒั นาประเทศ (2) ภาคีเครือข่ายเกิดแรงจูงใจและมีความพร้อมในการมีส่วนร่วมเพ่ือจัดกิจกรรมการศึกษา มาตรา 8 การสง่ เสริมและสนับสนนุ การศึกษาตามอัธยาศยั ใหด้ าเนนิ การเพื่อเปา้ หมาย ในเรอื่ ง ดังต่อไปนี้ (1) ผู้เรียนได้รับความรู้ และทักษะพ้ืนฐานในการแสวงหาความรู้ที่จะเอ้ือตอการเรียนรู้ตลอด ชวี ติ (2) ผู้เรียนได้เรียนรู้สาระที่สอดคล้องกับความสนใจและความจาเป็นในการยกระดับคุณภาพ ชวี ิต ท้งั ในดา้ นการเมอื ง เศรษฐกจิ สังคมและวัฒนธรรม (3) ผู้เรียนสามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปใช้ประโยชน์และเทียบโอนผลการเรียนกับการศึกษาใน ระบบและการศกึ ษานอกระบบ มาตรา 9 ให้กระทรวงศึกษาธิการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและ การศึกษา ตามอธั ยาศัย โดยใหค้ วามสาคัญแก่ผู้เกี่ยวขอ้ งตามบทบาทและหน้าทด่ี ังต่อไปน้ี (1) ผู้เรียน ซ่ึงเป็นผู้ที่ได้รับประโยชน์ มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ และสามารถเลือกรับ บริการไดห้ ลากหลายตามความตอ้ งการของตนเอง 38
(2) ผู้จัดการเรยี นรู้สาหรับการศึกษานอกระบบ และผ้จู ัดแหล่งการเรยี นรู้สาหรับการศึกษาตาม อัธยาศัย มกี ารดาเนนิ การที่หลากหลายตามศกั ยภาพเพ่ือตอบสนองความต้องการของผู้เรียน โดยบูรณา การความรู้ ปลูกฝงั คณุ ธรรม และคา่ นิยมท่ีดงี าม (3) ผู้ส่งเสริมและสนับสนุน ซึ่งเป็นผู้ท่ีเอ้ือประโยชน์ให้แก่ผู้เรียนและผู้จัดการเรียนรู้ มีการ ดาเนนิ การท่ีหลากหลาย เพอื่ สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ให้เกิดการเรยี นรูอ้ ย่างตอ่ เนื่อง มาตรา 10 เพ่ือประโยชน์ในการส่งเสริมและสนบั สนุนการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตาม อัธยาศัย ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐท่ีเก่ียวข้องและภาคีเครือข่าย อาจดาเนินการส่งเสริมและ สนบั สนุนในเร่ืองดงั ตอ่ ไปนี้ (1) ส่ือและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาท่ีจาเป็นสาหรับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย และการชว่ ยเหลอื ดา้ นการเงินเพ่อื การจัดการศกึ ษานอกระบบ (2) การจัดการศึกษา การพัฒนาวิชาการและบุคลากร การใช้ประโยชน์จากทรัพยากร เพื่อ การศึกษา และการยกย่องประกาศเกียรตคิ ุณสาหรับผู้จัดการเรียนรู้การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษา ตามอัธยาศัย (3) สิทธิประโยชน์ตามความเหมาะสมให้แก่ผู้ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบ (4) การสร้างและพฒั นาแหล่งการเรียนรู้ทหี่ ลากหลาย เพอ่ื ให้ผู้เรยี นของการศึกษาตามอัธยาศัย สามารถเขา้ ถึงไดต้ ามความเหมาะสม (5) ทรัพยากรอื่นท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั การดาเนินการเพื่อให้บคุ คลและชุมชนไดเ้ รียนรู้ตามความสนใจ และความต้องการที่สอดคล้องกับความจาเป็นในสังคมของการศึกษาตามอัธยาศัย หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงอื่ นไขในการสง่ เสริมและสนับสนุนตามวรรคหน่งึ ให้เปน็ ไปตามท่กี าหนดในกฎกระทรวง มาตรา 11 เพ่ือประโยชน์ในการจัดและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ให้ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐท่ีเกี่ยวข้องร่วมมือกับภาคีเครือข่าย เพ่ือดาเนินการในเร่ือง ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) จัดให้มีโครงสร้างพ้ืนฐานเพือ่ การเรยี นรู้ เช่น แหล่งการเรียนรู้ ศูนย์การเรียนชุมชน สื่อและ เทคโนโลยที ห่ี ลากหลายเพอื่ ใหผ้ ้เู รยี นมโี อกาสเขา้ ถงึ การเรียนรู้ (2) ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานของภาคีเครือข่าย เพ่ือให้เกิดความร่วมมือและ การ พัฒนาอย่างตอ่ เน่อื ง (3) ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ให้ภาคเี ครือข่าย ไดร้ บั โอกาสในการจัดสรรทรพั ยากรและเขา้ ถงึ แหล่ง เงนิ ทุนเพือ่ การดาเนนิ งาน มาตรา 12 เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ ให้คณะกรรมการมีอานาจ หนา้ ท่ี ดงั ต่อไปนี้ (1) กาหนดนโยบายและแผนการส่งเสริมและสนบั สนนุ การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตาม อธั ยาศัยทีส่ อดคล้องกบั แผนการศกึ ษาแห่งชาตแิ ละแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ (2) กาหนดแนวทางการดาเนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั (3) ส่งเสริมและสนับสนุนการประสานงานระหว่างส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน ทั้งในประเทศและตา่ งประเทศเพ่ือการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั (4) เสนอแนะต่อรัฐมนตรีในการจัดทาและการพัฒนาระบบการเทียบโอนผลการเรยี นจาก การ เรียนรูในการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย (5) ปฏิบัติงานอื่นใดตามท่ีพระราชบัญญัติน้ีหรือกฎหมายอ่ืนบัญญัติให้เป็นอานาจหน้าที่ของ 39
คณะกรรมการหรอื ตามทค่ี ณะรฐั มนตรมี อบหมาย มาตรา 13 ใหค้ ณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการขึ้นคณะหน่ึง เรียกว่า “คณะอนุกรรมการ ภาคเี ครือขา่ ย” ท่ีประกอบด้วยภาคสว่ นต่าง ๆ ของสังคมที่เข้ามามีส่วนรว่ มในการส่งเสรมิ และสนบั สนุน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จานวนอนุกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการได มาของประธานและอนุกรรมการ วาระการดารงตาแหน่งและการพ้นจากตาแหนง รวมท้ังอานาจหน้าที่ ของคณะอนุกรรมการภาคเี ครือขา่ ย ให้เป็นไปตามทกี่ าหนดในกฎกระทรวง มาตรา 14 ให้มีสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยขึ้น ใน สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ เรียกโดยย่อว่า “สานักงาน กศน.” โดยมีเลขาธิการ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เรียกโดยย่อว่า “เลขาธิการ กศน.” ซึ่งมีฐานะเป็นอธิบดีและเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ พนักงานและลูกจ้าง และรับผิดชอบการ ดาเนนิ งานของสานักงาน สานกั งานมีอานาจหน้าที่ดังตอ่ ไปน้ี (1) เป็นหน่วยงานกลางในการดาเนินการ ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และรบั ผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการ (2) จัดทาข้อเสนอแนะ นโยบาย ยุทธศาสตร์ แผน และมาตรฐานการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยต่อคณะกรรมการ (3) ส่งเสริม สนับสนุน และดาเนินการพัฒนาคุณภาพทางวิชาการ การวิจัย การพัฒนา หลักสูตรและนวัตกรรมทางการศึกษา บุคลากร และระบบข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย (4) ส่งเสริม สนับสนุน และดาเนินการเทียบโอนผลการเรยี น การเทยี บโอนความรู้และ ประสบ การณ และการเทียบระดบั การศกึ ษา (5) ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และ องค์กรอ่ืน รวมตัวกันเป็นภาคีเครือข่าย เพ่ือเสริมสร้างความเข้มแข็งในการดาเนินงานการศึกษานอกระบบ และ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย (6) จัดทาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์เครือข่ายเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร สถานีวิทยุโทรทัศน์เพ่ือการศึกษา วิทยุชุมชน ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ห้องสมุดประชาชน พิพิธภณั ฑ์ ศูนย์การเรียนชุมชน และแหล่งการเรียนรูอนื่ เพอื่ ส่งเสริมการเรียนรู และการพัฒนาคณุ ภาพ ชวี ติ ิอย่างต่อเนือ่ งของประชาชน (7) ดาเนินการเก่ียวกับการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินงานการศึกษานอก ระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย (8) ปฏิบัติงานอ่ืนใดตามพระราชบัญญัติน้ีหรือกฎหมายอ่ืนท่ีบัญญัติให้เป็นอานาจหน้าท่ีของ สานักงาน หรือตามที่รัฐมนตรมี อบหมาย มาตรา 15 ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด ทุกจังหวดั ดงั ต่อไปนี้ (1) ในกรุงเทพมหานคร ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นประธานกรรมการ ปลัด กรุงเทพมหานคร เลขาธิการ กศน. ผู้แทนกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ผู้แทน กระทรวงมหาดไทย ผู้แทนกระทรวงแรงงาน ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข และผู้ทรงคุณวฒุ ิ ซ่ึงรัฐมนตรี 40
แต่งตั้งจานวนแปดคนเป็นกรรมการ ซ่ึงในจานวนนี้จะต้องแต่งต้ังจากผู้ปฏิบัติงานในภาคเอกชน ท่ี เกี่ยวข้องกับงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจานวนไมน้อยกว่าห้าคน และให้ ผู้อานวยการสานักงาน กศน. กทม. เป็นกรรมการและเลขานกุ าร (2) ในจังหวัดอ่ืน ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จงั หวัด ประกอบด้วยผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานกรรมการ ปลัดจังหวดั เกษตรจังหวัด สาธารณสุข จงั หวัด แรงงานจังหวัด พัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ ังหวดั นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด และผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงรัฐมนตรีแต่งต้ังจานวนแปดคนเป็นกรรมการ ซ่ึงในจานวนนี้จะต้องแต่งตั้งจาก ผู้ปฏิบัติงาน ในภาคเอกชนท่ีเก่ียวข้องกับงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในพื้นท่ี ของจังหวัด จานวนไม่น้อยกว่าห้าคน และให้ผู้อานวยการสานักงาน กศน. จังหวัด เป็นกรรมการและ เลขานุการ คุณสมบัติ วาระการดารงตาแหนง การพ้นจากตาแหน่งของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและการ ประชมุ ของคณะกรรมการตามวรรคหนง่ึ ใหเ้ ปน็ ไปตามทก่ี าหนดในกฎกระทรวง มาตรา 16 คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด มี อานาจหน้าที่ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) ให้คาปรึกษาและร่วมมือในการพัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั กับภาคีเครือข่าย (2) สง่ เสรมิ และสนับสนุนภาคีเครอื ข่าย เพ่อื จัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ใหส้ อดคลอ้ งกับนโยบายและมาตรฐานทค่ี ณะกรรมการกาหนด (3) ติดตามการดาเนินการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา และหน่วยงานที่จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้มีคุณภาพและมาตรฐานตามที่ กาหนด และสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาของประเทศรวมท้ังความต้องการเพ่ือการพัฒนาของ ทอ้ งถ่นิ (4) ปฏิบตั ิงานอืน่ ตามท่คี ณะกรรมการมอบหมาย มาตรา 17 ให้มีสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด ทุก จงั หวดั ดงั ต่อไปนี้ (1) ในกรุงเทพมหานคร ให้มสี านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย กรุงเทพมหานคร เรียกโดยย่อว่า “สานักงาน กศน. กทม.” เป็นหน่วยงานในสังกัดของสานักงาน และ เป็นหน่วยงานการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ทาหนา้ ที่ เป็นหน่วยงานธุรการของคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย กรุงเทพมหานคร และมีอานาจหน้าที่บริหารการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ภายในกรงุ เทพมหานคร (2) ในจังหวัดอ่ืนให้มีสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย จังหวัด เรียกโดยย่อว่า “สานักงาน กศน. จังหวัด” เป็นหน่วยงานในสังกัดของสานักงาน และเป็นหน่วยงานการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ทา หน้าที่เป็นหน่วยงานธุรการของคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จงั หวัด และมีอานาจหน้าที่บรหิ ารการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยภายในจังหวัด ให้หน่วยงานการศึกษาตามวรรคหน่ึง มีผู้ อานวยการเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ในสังกัดสานักงาน กศน. กทม. หรือสานักงาน กศน. จังหวัด แล้วแต่กรณี รวมท้ังเป็น ผู้บังคับบัญชาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัดสถานศึกษาที่อยู่ในพ้ืนท่ีท่ีรับผิดชอบ 41
และมีฐานะเป็นผู้บริหารการศึกษาตามกฎหมายวา่ ด้วยระเบียบข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ตลอดจนรบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ัติราชการของหนว่ ยงานดังกลา่ ว มาตรา 18 ให้สถานศึกษาทาหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน ประสานงาน และจัดการศึกษา นอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยร่วมกับภาคีเครอื ข่าย การดาเนินงานของสถานศึกษาตามวรรคหนึ่ง อาจจัดให้มีศูนย์การเรียนชุมชนเป็นหน่วยจัด กิจกรรมและสร้างกระบวนการเรียนรู้ของชมุ ชนก็ได้ การจัดตั้ง ยุบ เลิก รวม การกาหนดบทบาท อานาจและหน้าท่ีของสถานศึกษาตามวรรคหน่ึง ใหเ้ ป็นไปตามที่รฐั มนตรปี ระกาศกาหนด มาตรา 19 ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งมีคณะกรรมการสถานศึกษา จานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการไดมาของประธานและกรรมการ วาระการดารงตาแหน่งและการพ้นจากตาแหนง รวมทั้งอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษา ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด มาตรา 20 ให้สานักงานจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษานอกระบบซ่ึงเป็นระบบการ ประกันคุณภาพภายในสาหรับสถานศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วย การศึกษาแห่งชาติ ให้สถานศึกษาดาเนินการประกันคุณภาพภายในให้สอดคล้องกับระบบ หลักเกณฑ์ และวิธกี าร ประกันคุณภาพภายใน โดยได้รับความร่วมมือ ส่งเสริม และสนบั สนนุ จากภาคเี ครือข่ายและ สานักงาน ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรา 21 ให้สานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน ปรับเปลี่ยนภารกิจมาเป็นสานักงาน สง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และให้ผู้อานวยการสานกั บริหารงานการศึกษา นอกโรงเรียน ซ่ึงดารงตาแหนงอยูในวันที่พระราชบัญญัติน้ีประกาศในราชกิจจานุเบกษา ปฏิบัติหน้าท่ี เลขาธิการ กศน. จนกว่าจะมีการแต่งตั้งเลขาธิการ กศน. ขนึ้ ใหม่ตามพระราชบัญญัตนิ ี้ ทั้งนี้ ต้องไมเกิน หน่ึงร้อยแปดสิบวันนับแต่วันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ให้คณะกรรมการส่งเสริมสนับสนุนและ ประสานความร่วมมือการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบ บริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการซ่ึงดารงตาแหนงอยู่ในวันที่พระราชบัญญัติน้ีประกาศในราชกิจจา นุเบกษา คงมฐี านะเป็นคณะกรรมการดังกล่าวต่อไป และปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ จนกว่าจะ ไดม้ กี ารแตง่ ต้ังคณะกรรมการดังกลา่ วขนึ้ ใหมเ่ พ่ือดาเนินการตามพระราชบัญญัติน้ี มาตรา 22 ให้เลขาธิการ กศน. แต่งตั้งผู้บริหารสถานศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครคนหน่ึง ปฏิบัติหน้าที่ผู้อานวยการสานักงาน กศน. กทม. จนกว่าจะมีการแต่งต้ังผู้อานวยการสานักงาน กศน. กทม. ขนึ้ ใหมต่ ามพระราชบญั ญัติน้ี ให้ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดซึง่ ดารงตาแหนงอยูในวันท่ี พระราชบัญญัติ นี้ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีผู้อานวยการสานกั งาน กศน. จังหวดั จนกวา่ จะมีการแต่งต้ัง ผู้ อานวยการสานักงาน กศน. จังหวัด ข้ึนใหม่ตามพระราชบัญญัตินี้ การดาเนินการแต่งตั้งตามวรรค หน่ึงและวรรคสอง ต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน หนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ ใช้บังคบั มาตรา 23 ให้รัฐมนตรีจัดทาบัญชีรายช่ือสถานศึกษาในสังกัดสานักบริหารงานการศึกษานอก โรงเรียน สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ ท่ีมีความพร อมในการปฏิบัติภารกิจของ สถานศึกษาตามที่กาหนดในพระราชบัญญัติน้ี และประกาศรายช่ือสถานศึกษาดังกล่าวในราชกิจจา นุเบกษาภายในเกาสิบวันนับแต่วันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ถือว่าสถานศึกษาตามบัญชีรายช่ือท่ี รฐั มนตรปี ระกาศกาหนดตามวรรคหนึง่ เป็นสถานศกึ ษา ตามพระราชบญั ญตั ินี้ 42
มาตรา 24 ให้นากฎกระทรวง ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศและคาส่ังเก่ียวกับการจัดการศึกษา นอกโรงเรียนท่ีใช้บังคับอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มาใช้บังคับโดยอนุโลม จนกว่าจะได้มี กฎกระทรวง ข้อบังคับ ระเบยี บ และประกาศทอ่ี อกตามพระราชบญั ญตั ิน้ี ทั้งน้ี ต้องไมเกนิ สองปีนับแต่ วนั ทพี่ ระราชบัญญัตินี้ใช้บังคบั มาตรา 25 ให้รัฐมนตรีาการกระทรวงศึกษาธกิ ารรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี และมีอานาจ ออกกฎกระทรวงและประกาศเพ่ือปฏบิ ัติการตามพระราชบญั ญัตินี้ กฎกระทรวงและประกาศน้ัน เม่ือได ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาแล้วใหใ้ ชบ้ ังคบั ได พระราชบัญญัตริ ะเบียบขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติน้ีมีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่ง มาตรา 26 ประกอบกับมาตรา 27 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทาได้ โดย อาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เหตุผลและความจาเป็นในการจากัดสิทธิและเสรีภาพของ บุคคลตามพระราชบัญญัติน้ี เพ่ือเป็นการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของ ขา้ ราชการครูและบุคลากรทาง การศึกษา ซึ่งการตราพระราชบัญญัตินสี้ อดคล้องกบั เงื่อนไขท่ีบัญญัติไว้ ในมาตรา 26 ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทยแล้ว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึน้ ไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของ สภานิตบิ ัญญตั ิแห่งชาติทาหน้าที่รัฐสภา ดังตอ่ ไปน้ี มาตรา 1 พระราชบัญญัติน้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากร ทาง การศึกษา (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2562” มาตรา 2 พระราชบัญญัตนิ ้ใี ห้ใช้บังคบั ตั้งแตว่ ันถัดจากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เป็นต้น ไป มาตรา 3 ให้ยกเลิกความในมาตรา 102 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 และให้ใช้ความต่อไปน้ีแทน “มาตรา 102 ข้าราชการครูและ บคุ ลากรทางการศึกษาผู้ใดซง่ึ ออกจากราชการอนั มใิ ชเ่ พราะเหตุตาย มีกรณีถูกกล่าวหาเปน็ หนังสือก่อน ออกจากราชการว่า ขณะรับราชการได้กระทาหรือละเว้นกระทาการใด อันเป็นความผิดวินัยอย่าง ร้ายแรง ถ้าเป็นการกลา่ วหาต่อผู้บังคบั บัญชาของผู้น้ันหรือต่อผู้มีหน้าที่สืบสวน สอบสวนหรือตรวจสอบ ตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ หรือเป็นการกล่าวหาของผูบ้ ังคับบัญชาของผู้นั้น หรือมีกรณี ถูกฟ้องคดีอาญาหรือต้องหาคดีอาญาก่อนออกจากราชการว่า ในขณะรับราชการได้กระทาความผิด อาญาอันมิใช่เป็นความผิดที่ได้กระทาโดยประมาทที่ไม่เกี่ยวกับราชการหรือความผิดลหุโทษ ผู้มีอานาจ ดาเนินการทางวินัยมีอานาจดาเนินการสืบสวนหรือพิจารณา ดาเนินการทางวินัย และสั่งลงโทษ ตามท่ี บัญญัติไว้ในหมวดนีต้ อ่ ไปได้เสมอื นว่าผู้น้ันยังมิไดอ้ อกจากราชการ แตต่ ้องส่ังลงโทษภายในสามปี นับแต่ วันทีผ่ ้นู ัน้ ออกจากราชการ กรณีตามวรรคหน่ึง ถ้าเป็นการกล่าวหา หรือฟ้องคดีอาญาหรือต้องหาคดีอาญาหลังจากที่ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดออกจากราชการแล้ว ให้ผู้มีอานาจดาเนินการทางวินัยมี อานาจดาเนินการสืบสวนหรือพิจารณา ดาเนินการทางวินัย และส่ังลงโทษตามที่บัญญัติไว้ในหมวดน้ี ต่อไปได้ เสมือนว่าผู้น้ันยงั มิได้ออกจากราชการ โดยต้องเร่ิมดาเนินการสอบสวนภายในหนึ่งปีนบั แตว่ ันที่ ผู้นั้น ออกจากราชการ และต้องสั่งลงโทษภายในสามปีนับแต่วันที่ผู้นั้นออกจากราชการ สาหรับกรณีที่ เป็นความผิดท่ีปรากฏชัดแจ้งตามมาตรา 98 วรรคเจ็ด จะต้องสั่งลงโทษภายในสามปีนับแต่วันท่ีผู้นั้น ออกจากราชการ ในกรณีที่ศาลปกครองมีคาพิพากษาถึงท่ีสุดให้เพิกถอนคาส่ังลงโทษ หรือองค์กร 43
พจิ ารณา อุทธรณ์คาสั่งลงโทษทางวินยั หรอื องคก์ รตรวจสอบรายงานการดาเนินการทางวินยั มีคาวินจิ ฉัย ถึงท่ีสุดหรือ มีมติให้เพิกถอนคาส่ังลงโทษตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสอง เพราะเหตุกระบวนการ ดาเนินการทางวินัย ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ให้ผู้มีอานาจดาเนินการทางวินัยดาเนินการทางวินัยให้แล้ว เสร็จภายในสองปีนับแต่วันท่ีมีคาพิพากษาถึงที่สุด หรือมีคาวินิจฉัยถึงท่ีสุดหรือมีมติ แล้วแต่กรณี การดาเนินการทางวินัยตามวรรคหน่ึง วรรคสอง และวรรคสาม ถ้าผลการสอบสวนพิจารณา ปรากฏว่าผู้นั้นกระทาผิดวินัยไม่ร้ายแรงก็ให้งดโทษ ความในมาตราน้ีมิให้ใช้บังคับแก่ข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาซ่งึ ถกู สงั่ ใหอ้ อกจากราชการไวก้ ่อนตามมาตรา 103 มาตรา 4 ให้เพิ่มความต่อไปน้ีเป็นมาตรา 102/1 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู และบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 “มาตรา 102/1 ในกรณที ่ีคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปราม การทุจริตแห่งชาติหรือ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐมีมติชี้มูลความผิด ข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาผู้ใดซึ่งออกจากราชการแล้ว การดาเนินการทางวินัยและสั่ง ลงโทษแก่ข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาผู้น้ันให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขท่ีกาหนด ไว้ในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตหรือกฎหมายว่าด้วย มาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกนั และปราบปรามการทุจริต แล้วแต่กรณี การดาเนินการทางวินัย ตามวรรคหน่งึ หากปรากฏวา่ ผู้นัน้ กระทาผดิ วินยั ไมร่ า้ ยแรงก็ให้งดโทษ ” บทสรุป กฎหมาย หมายถึง กฎท่ีสถาบันหรือผู้มีอานาจสูงสุดในรัฐตราขึ้น หรือท่ีเกิดข้ึนจากจารีต ประเพณีอันเปน็ ทย่ี อมรบั นับถือ เพอื่ ใชใ้ นการบริหารประเทศ เพอื่ ใชบ้ ังคับบุคคลใหป้ ฏิบัติตาม หรอื เพื่อ กาหนดระเบียบแห่งความสัมพนั ธร์ ะหว่างบคุ คลหรอื ระหวา่ งบคุ คลกับรัฐ พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2562 ประกาศใช้เพื่อกาหนดขอบเขตในการ ดาเนินการของกระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานอ่ืน ให้สอดคล้องกับอานาจหน้าที่ที่เปล่ียนแปลงไป เนื่องจากมีการจัดตั้งกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จึงจาเป็นต้องตรา พระราชบัญญตั นิ ี้ พระราชบญั ญตั ิการจัดการศึกษาสาหรบั คนพกิ าร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2556 ประกาศใช้เพื่อการจัด การศึกษาสาหรับคนพิการ มีลักษณะเฉพาะแตกต่างจากการจัดการศึกษาสาหรับบุคคลท่ัวไป จึง จาเปน็ ตอ้ งจัดใหค้ นพิการมีสทิ ธิและโอกาส ได้รับการบริการและความชว่ ยเหลือทางการศึกษาเป็นพเิ ศษ ตง้ั แต่แรกเกดิ หรือพบความพิการ ดังนน้ั เพ่อื ให้การบริการและการใหค้ วามชว่ ยเหลือแก่คนพกิ ารในด้าน การศกึ ษาเป็นไปอย่างทัว่ ถงึ ทกุ ระบบและทุกระดบั การศึกษา พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 ประกาศใช้เพื่อให้มีหลักการจัดการศึกษาให้เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับประชาชน และให้ทุกภาค ส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา รวมทั้งสถานศึกษาอาจจัดการศึกษาในระบบ การศึกษา นอกระบบหรือการศึกษา ตามอัธยาศัย รูปแบบใดรูปแบบหน่ึงหรือท้ังสามรูปแบบก็ได้ โดยเป็นการ ผสมผสานระหว่างการศึกษาท้ังสามรูปแบบ เพื่อให้สามารถพัฒนาการศึกษาและคุณภาพชีวิตของ ประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง แต่เนื่องจากกลไก และการดาเนินการเก่ียวกับการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยยังไม่มีกฎหมายเฉพาะรองรับ ดังนั้น เพื่อให้เป็นไปตามแนวทางและ เป้าหมายดังกล่าว สมควรให้มีกฎหมายเพ่ือส่งเสริมและสนับสนุน การจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยให้เป็นไปอย่างมีระบบและต่อเน่ือง มีการบริหารและจัด การศึกษาที่มี 44
ประสิทธิภาพเพ่ือทาให้ประชาชนได้มีโอกาสเรียนรู้ และสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของตน ได้ตาม ศกั ยภาพ เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และภูมปิ ัญญา อันจะมีผลในการพฒั นากาลังคนและประเทศชาติ ให้ เจริญกา้ วหนา้ ต่อไป พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2562 ประกาศใช้เพื่ออาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เหตุผลและความจาเป็นในการจากัดสิทธิและ เสรีภาพของบุคคลตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อเป็นการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิ ชอบของข้าราชการครูและบุคลากรทาง การศึกษา ซึ่งการตราพระราชบัญญัตินี้สอดคล้องกับเงื่อนไขที่ บัญญตั ไิ วใ้ นมาตรา 26 ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจกั รไทย คาถามทบทวน 1. กฎหมาย หมายถงึ อะไร จงอธบิ าย 2. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2562 จัดต้ังข้ึน เพราะเหตใุ ด 3. พระราชบญั ญตั ิสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 จัดตั้งขึ้นเพราะ เหตใุ ด 4. การศกึ ษานอกระบบ มลี ักษณะอยา่ งไร จงอธิบาย 5. การศกึ ษาตามอธั ยาศัย มีลกั ษณะอย่างไร จงอธิบาย เอกสารอ้างองิ ราชบัณฑิตยสถาน. 2556. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2556. [Online] ค้นจาก http://www.royin.go.th/?page_id=130 สถาบันพระปกเกล้า. 2562. กฎหมาย. . [Online] ค้นจาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B8%8E%E0%B8%AB%E0%B8%A 1%E0%B8%B2%E0%B8%A2 สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. 2556. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2556. [Online] ค้นจากhttp://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/057/T_0049. PDF สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2556. พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2546 (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2546. [Online] ค้นจาก http://www.srisangwankhonkaen .ac.th/swkk/sites/default/files/files/book/FILE0000050001_0.pdf สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2556. พระราชบัญญัติการส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551. [Online] ค้นจาก http://www.moe.go.th/moe/nipa/ed _law/p.r.g.edu31.pdf สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2562. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562. [Online] ค้นจากhttp://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA /PDF/2562/A/043/T_0009.PDF 45
แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 3 หัวขอ้ เนอื้ หา เนือ้ หาสาระในบทนป้ี ระกอบดว้ ย 1. ความหมายของหลกั สูตร 2. ความสาคัญของหลกั สูตร 3. องค์ประกอบของหลกั สตู ร 4. ทฤษฎหี ลกั สูตร วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม เมอ่ื เรยี นบทเรยี นน้จี บแลว้ นกั ศึกษามคี วามสามารถ ดังนี้ 1. บอกความหมายของหลักสูตรได้ 2. อธบิ ายความสาคญั ของหลกั สตู รได้ 3. อธบิ ายองคป์ ระกอบของหลักสูตรได้ 4. บอกลกั ษณะเฉพาะของทฤษฎีหลกั สูตรได้ วิธสี อนและกจิ กรรมการเรียนการสอน 1. วธิ สี อน 1.1 บรรยาย 1.2 การอธิบาย 1.3 การประชมุ กลุ่มย่อย 1.4 การวิเคราะหเ์ น้ือหา ทฤษฎี 1.5 การถาม-ตอบ 1.6 การอภิปราย แลกเปลีย่ นเรียนรู้ 2. กิจกรรมการเรยี นการสอน กจิ กรรมการเรยี นการสอนเร่ืองความรพู้ ื้นฐานเก่ียวกับหลกั สตู ร มีดังนี้ 2.1 ผู้สอนทบทวนแนวคิดเก่ียวกับการศึกษา โดยใช้กระบวนการ ถาม-ตอบและ อภิปราย 2.2 ผูส้ อนบรรยายเรื่องความหมายของหลกั สตู ร 2.3 ผู้สอนใหผ้ เู้ รยี นแบ่งกลุม่ อภปิ รายเรอ่ื งความสาคัญของหลักสูตร 2.4 ผสู้ อนบรรยายเร่ืององค์ประกอบของหลักสูตร 46
2.5 ผูส้ อนบรรยายเรอ่ื งทฤษฎหี ลักสูตร 2.6 ผู้สอนให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มอภิปรายทฤษฎีหลักสูตร เสร็จแล้วให้แต่ละกลุ่มนาเสนอ ผลของการเรยี นรู้ ส่อื การเรยี นการสอน ส่ือการเรยี นการสอนทใ่ี ชป้ ระกอบกจิ กรรมการเรียนการสอน มีดงั นี้ 1. เอกสารประกอบการเรียนการสอน “การพฒั นาหลักสูตร” 2. ตารา หนังสอื เรยี นเกยี่ วกับการพฒั นาหลักสตู ร 3. Power point ความรู้ตา่ ง ๆ 4. เครือข่ายการเรียนรู้ทางอนิ เทอรเ์ นต็ เก่ียวกบั การพฒั นาหลักสตู ร การวัดและการประเมนิ ผล การวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ มีดังนี้ 1. สังเกตพฤตกิ รรมการตอบคาถาม 2. สงั เกตพฤติกรรมการแสดงความคดิ เหน็ ขอ้ เสนอทใ่ี ชใ้ นการอภปิ ราย 3. การทาแบบฝึกหัด 47
บทที่ 3 ความรู้เก่ยี วกบั หลักสตู ร หลักสูตร หมายถึงลายลักษณ์อักษรที่บันทึกแนวทางการพัฒนาผู้เรียนอย่างชัดเจน รอบด้าน และเหมาะสมด้วยวิธีปฏิบตั ิอย่างเป็นลาดับข้ันตอน มีการชี้แจงวัตถุระสงค์แนวทางการปฏิบัติและผลท่ี จะไดร้ บั จากการปฏบิ ัติ ซึ่งมีความสาคัญตอ่ การพัฒนาผูเ้ รียนทเี่ ปน็ กาลงั สาคัญของการพัฒนาประเทศใน อนาคต ส่วนประกอบของหลักสูตรแต่ละหลักสูตรอาจแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับทฤษฎีหลักสูตร และการ พฒั นาหลกั สูตรของผู้มีส่วนเกีย่ วข้องในการพัฒนาหลักสูตร ความหมายของหลกั สตู ร พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2556 (2556 : Online) ให้ความหมายของหลักสูตร ไว้ว่าประมวลวิชาและกิจกรรมต่าง ๆ ที่กาหนดไว้ในการศึกษาเพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง ใจทิพย์ เช้ือรัตนพงษ์ (2537 : 1-2) ได้ศึกษาพบว่า คาว่า “หลักสูตร” แปลมาจากคาใน ภาษาอังกฤษว่า “curriculum” ซ่ึงมีรากศัพท์มาจากภาษาละตินว่า “curare” หมายถึง “running course” หรือเส้นทางที่ใช้วิ่งแข่ง ต่อได้นาศัพท์นี้มาใช้ในทางการศึกษาว่า “running sequence or experience” (Armstrong, 1986:2) การที่เปรียบเทยี บหลักสูตรกับสนาม หรือเส้นทางที่ใช้วิ่งแข่งอาจ เน่ืองมาจากการที่ผู้เรยี นจะสาเร็จการศึกษาในระดับใดหรือหลักสูตรใดก็ตาม ผู้เรียนจะต้องฟันฝ่าความ ยากของวิชาหรือประสบการณ์การเรียนรู้ตามลาดับข้ันท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตร เช่นเดียวกับนักวิ่งที่ต้อง ว่ิงแข่งและฟันฝ่าอุปสรรคไปสู่ชัยชนะและความสาเร็จให้ได้ในสมัยก่อนในประเทศไทยใช้คาว่า “หลักสูตร” กับคาศัพท์ภาษาอังกฤษว่า “syllabus” ปรากฏในหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้นและตอน ปลาย พุทธศักราช 2503 ฉบับภาษาอังกฤษ เรียกว่า “Syllabus for Lower secondary Education B.E. 2503” และ “Syllabus for Upper secondary Education B.E. 2503” แต่ต่อมาได้เปล่ียนมา ใช้คาว่า “curriculum” แทน เช่น หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง 2533) ฉบับภาษาอังกฤษเรียกว่า “Lower Secondary School Curriculum B.E.2521 (Revised Education B.E.2533)” เพ่ือต้องการแยกความหมายให้ชัดเจน เพราะคาว่า syllabus และ curriculum มีความหมายทีแตกต่างกันดังท่ี English Language Dictionary ให้ความหมายของคาท้ัง สองดงั นี้ “curriculum” หมายถึง 1. รายวิชาต่าง ๆ ท้ังหมดที่จัดสอนในโรงเรียน วิทยาลัย หรือ มห าวิ ทย าลั ย (all the different courses of study that are taught in a school, college, or university e.g. the school curriculum) และ 2. รายวิชาหน่ึง ๆ ที่จัดสอนในโรงเรียน วิทยาลัยหรือ มหาวิทยาลัย (one particular course of study is taught in a school, college, or university e.g. the English curriculum) “syllabus” หมายถึง หัวข้อเรื่องท่ีจะศึกษาในรายวิชาหน่ึง ๆ (the subjects to be studied in particular course) จากความหมายขา้ งตน้ นีจ้ ะเห็นคาวา่ “curriculum” ซึ่งใช้อยู่ในปัจจุบันจะเหมาะกว่าคาว่า “syllabus” ส่วนคาว่า “syllabus” จะใช้เมื่อหมายถึงประมวล การสอนในแต่ละรายวิชาซ่ึงประกอบด้วยรายละเอียดเก่ียวกับจุดมุ่งหมาย เน้ือหาสาระ กิจกรรม การ เรียนการสอน การวัดและประเมินผล “หลักสูตร” เป็นคาศัพท์ทางการศึกษาคาหนึ่งที่คนส่วนใหญ่ คุ้นเคย และมีผู้ให้ความหมายไว้มากมายและแตกต่างกันไปบางความหมายมีขอบเขตกว้างบาง ความหมายมขี อบเขตแคบท้ังนี้ขึ้นอยู่กบั ความคดิ เหน็ และประสบการณ์ที่แตกต่างกันของบุคคลนั้น ๆ ท่ี 48
มีตอ่ หลกั สูตร พจิ ติ รา ธงพานชิ (ทีสกุ ะ) (2557 : 5-6) ไดร้ วบรวมความหมายของหลักสตู รไว้ ดังนี้ กู๊ด (Good, 1973:157) (อ้างใน พิจิตรา ธงพานิช(ทีสุกะ) 2557 : 5) ได้ให้ความหมายของ คาศัพท์ไว้ในพจนานุกรมทางการศึกษา (Dictionary of Education) ว่า หลักสูตรคือ กลุ่มรายวิชาที่จัด ไว้อย่างมีระบบหรือลาดับวิชาที่บังคับสาหรับการจบการศึกษาหรือเพื่อรับประกาศนียบัตรใบสาขาวิชา หลักตา่ ง ๆ เชน่ หลักสูตรสงั คมศึกษา หลกั สูตรพลศึกษา บอ๊ บบิท (Bobbit,1918:42) (อ้างใน พิจติ รา ธงพานิช(ทีสุกะ) 2557 : 5) ได้ให้ความหมายไว้ว่า หลักสูตร คือรายการของส่ิงต่าง ๆ ท่ีเด็กและเยาชน ต้องทาและมีประสบการณ์ ด้วยวิธีการพัฒนา ความสามารถในการทาส่งิ ตา่ ง ๆ ดงั กลา่ วใหด้ ี เพือ่ ให้สามารถดารงชวี ิตในวัยผใู้ หญไ่ ด้ นกั ลยี แ์ ละอีแวนส์ (Naegley and Evans,1967:2) (อ้างใน พจิ ิตรา ธงพานิช(ทสี ุกะ) 2557 : 5) ได้ให้ความหมายของหลักสูตรว่า คือ ประสบการณ์ทโี่ รงเรยี นจดั เพ่ือช่วยให้นกั เรียนได้บรรลุเป้าหมายที่ กาหนดไว้ตามความสามารถของนักเรยี น โอลิวา (Oliva,1982:10) กล่าวว่า หลักสูตรคือ แผนหรือ โปรแกรมสาหรับประสบการณท์ งั้ หลายท่ีผู้เรียนจะต้องประสบปัญหาภายใตก้ ารอานวยการของโรงเรยี น วีลเลอร์ (Wheenler,1974:11) (อ้างใน พิจิตรา ธงพานิช(ทีสุกะ) 2557 : 5) ได้ให้ความหมาย ของหลกั สตู รวา่ มวลประสบการณก์ ารเรียนรู้ซึ่งโรงเรยี นหรือสถานศกึ ษาจดั ให้แก่ผู้เรียน โครว์ (Crow,1980:250) (อ้างใน พิจิตรา ธงพานิช(ทีสุกะ) 2557 : 5) ได้ให้ความหมายของ หลักสูตรคล้ายกับของวิลเลอร์ เขากล่าวว่า หลักสูตรเป็นประสบการณ์ท่ีนักเรียนได้รับทั้งภายในและ ภายนอกโรงเรียน เพอื่ นักเรยี นมกี ารพฒั นาด้านร่างกาย สงั คม ปญั ญา และจติ ใจ แคสเวนและแคมป์เบลล์ (Caswell &Cambell,1935:69) (อ้างใน พิจิตรา ธงพานิช(ทีสุกะ) 2557 : 5) ได้เสนอความคิดเกี่ยวกับหลักสูตรในหนังสือ Curriculum Development ซ่ึงตีพิมพ์ในปี 1935 โดยให้ความหมายของหลักสูตรในโรงเรยี นวา่ “หลักสตู รประกอบดว้ ยประสบการณ์ทุกอยา่ งท่ีจัด ให้แก่เด็กโดยอยู่ในความดูแลการสอนของครู” แคสเวนและแคมป์เบลล์ไม่ได้มองหลักสูตรว่าเป็นกลุ่ม ของรายวชิ าแต่หมายถึง “ประสบการณ์ทุกชนิดทเี่ ดก็ มีภายใต้การแนะนาของครู” เซย์เลอร์และอเล็กซานเดอร์ (Saylor&Alexander,1974:6) (อ้างใน พิจิตรา ธงพานิช(ทีสุกะ) 2557 : 5) ไดก้ ล่าวถงึ ความหมายของหลักสูตรว่า “เปน็ แผนสาหรับจัดโอกาสการเรียนรใู้ หแ้ กบ่ คุ คลกลุ่ม ใดกลุ่มหน่ึง เพ่ือบรรลุเป้าหมายหรือจุดมุ่งหมายท่ีวางไว้โรงเรียนเป็นผู้รับผิดชอบ” ซ่ึงสอดคล้องกับ แนวความคิดของทาบา (Taba,1962:10) ที่กล่าวไว้ว่า “หลักสูตรคือ แผนการเรียนรู้ที่ประกอบด้วย จุดประสงค์และจุดมุ่งหมายเฉพาะการเลือกและการจัดเนื้อหา วิธีการจัดการเรียนการสอน และการ ประเมินผล” เชฟเวอร์และเบอร์เลค (Shaver and berlak,1968:9) (อ้างใน พิจิตรา ธงพานิช(ทีสุกะ) 2557 : 6) กลา่ ววา่ หลกั สตู ร คือ กจิ กรรมทคี่ รจู ัดให้นกั เรียนได้เล่นเพอื่ ใหน้ กั เรยี นไดเ้ กดิ การเรียนรู้ ทรมั พแ์ ละมลิ เลอร์ (Trump and Miller,1973:11-12) (อ้างใน พิจิตรา ธงพานิช(ทสี ุกะ) 2557 : 6) กล่าววา่ หลักสตู รคอื กิจกรรมการเรียนการสอนชนิดตา่ ง ๆ ทเ่ี ตรยี มการไวแ้ ละจัดให้แก่เด็กนกั เรียน หรอื ระบบโรงเรยี น นักการศึกษาของไทยหลายท่านได้แสดงความคิดเห็น และความหมายของคาว่าหลักสูตรไว้ หลายประการเช่น สุมิตร คุณานุการ (2520,2-3) (อ้างใน พิจิตรา ธงพานิช(ทีสุกะ) 2557 : 6) ได้ให้ความหมาย ของหลักสตู รไว้ในสองระดบั คือหลกั สูตรในระดบั ชาติและหลกั สูตรในระดับโรงเรยี น หลักสตู รระดบั ชาติ 49
หมายถงึ “โครงการใหก้ ารศึกษาเพ่ือพัฒนาผู้เรยี นใหม้ คี วามรู้ ความสามารถ และคณุ ลกั ษณะ สอดคล้อง กับความมุ่งหมายทางการศึกษาท่ีกาหนดไว้” ส่วนหลักสูตรในระดับโรงเรียนหมายถึง “โครงการท่ี ประมวลความรแู้ ละประสบการณท์ ้ังหลายท่ีโรงเรียนจัดให้กับนักเรยี น ไม่ว่าจะเป็นภายในหรือภายนอก โรงเรียนก็ตาม เพือ่ ใหผ้ ้เู รยี นพัฒนาไปตามความมงุ่ หมายทีก่ าหนดไว้” ธารง บัวศรี (2532:6) (อ้างใน พิจิตรา ธงพานิช(ทีสุกะ) 2557 : 6) ได้ให้ความหมายของ หลักสูตรว่า คือ แผนซึ่งได้ออกแบบจัดทาขึ้นเพื่อได้แสดงถึงจุดมุ่งหมาย การจัดเนื้อหาสาระ กิจกรรม และประมวลประสบการณ์ในแต่ละโปรแกรมการศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนมีพัฒนาการในด้านต่าง ๆ ตาม จดุ หมายทีไ่ ดก้ าหนดไว้ เอกวิทย์ ณ ถลาง (2521:108) (อ้างใน พิจิตรา ธงพานิช(ทีสุกะ) 2557 : 6) เขียนในบทความ เร่ือง “ขอ้ คิดเรอ่ื งหลกั สูตร” ไดใ้ หค้ วามหมายวา่ หลักสูตร หมายถงึ มวลประสบการการณ์ท้ังหลายที่จัด ให้เด็กได้เรียน เน้ือหาวิชาและทัศนคติ แบบพฤติกรรม กิจวัตร ส่ิงแวดล้อม ฯลฯ เมื่อประมวลเข้ากัน แล้วกเ็ ปน็ ประสบการณ์ทีผ่ า่ นเข้าไปในการรบั ร้ขู องเด็กถือว่าเป็นหลกั สูตรทั้งส้นิ ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2561 : 3-4) ได้ศึกษาพบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาและครูต่างก็เป็นผู้ที่มี หน้าที่รับผิดชอบร่วมกันในการพัฒนาหลักสตู รให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาและให้เหมาะสม สอดคล้องกบั บริบทของสังคม โดยผบู้ ริหารจะเปน็ ผู้กาหนดนโยบาย ทิศทาง ซึ่งอาจจะไดม้ าจากหลักคิด ของตนหรือได้มาจากการพูดคุยกับบุคลากรในโรงเรียนก็ได้ และผลักดันให้มีการดาเนินการจัดหลักสูตร ประสบผลสาเร็จ บรรลุตามวตั ถุประสงค์ของการจัดการศกึ ษา ในขณะท่ีครเู ปน็ ผทู้ ี่จะทาใหห้ ลกั สูตรและ การสอนภาคปฏิบัติประสบความสาเร็จได้ ดังน้ัน ทั้งผู้บริหารและครูจึงต้องมีความรู้และความเข้าใจ พื้นฐานเกี่ยวกับหลักสูตรเปน็ เบือ้ งต้นและสอดคลอ้ งกนั ก่อน หลักสูตรคืออะไร ในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน หลักสูตรจะหมายถึง กระบวนการทั้งในช้ัน เรียนและนอกช้ันเรียนที่สถานศึกษาจัดให้กับผู้เรียนเพื่อบรรลุเป้าหมายที่ต้ังไว้ ถ้าเป็นระดับอุดมศึกษา หลักสูตรจะหมายถงึ เนื้อหาสาระท่สี ถานอุดมศกึ ษาจัดให้กับผู้เรียนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายท่ีตั้งไวเ้ ช่นกัน โดยทัว่ ไปความรูพ้ ้นื ฐานเกี่ยวกับหลักสูตรมีอยู่ 7 ประเด็นใหญ่ คือ 1.คุณลกั ษณะของบุคคลทีส่ ังคมไทยต้องการ 2.หลักสูตรที่ตอบสนองความตอ้ งการของสังคม 3.ผู้นาทางความคิดในการพัฒนาหลักสตู ร 4.ต้องมขี อ้ มลู มากกว่าสามญั สานกึ 5.บทบาทของครูด้านหลักสตู รและการสอน 6.ปจั จยั สนับสนุน อปุ สรรค และขอ้ จากดั ของการบริหารหลกั สูตร 7.การเมอื งในหลักสตู รและการพฒั นาหลักสตู ร ประเด็นทั้ง 7 ดังกล่าว เป็นประเด็นพ้ืนฐานในการบริหารจัดการหลักสูตรที่ส่งผลต่อการ ดาเนินการในเรื่องหลักสูตรอย่างมาก เพราะหลักสูตรเป็นกระบวนการท่ีจะสร้างหรือพัฒนาเด็กให้มี คุณสมบัติตามท่ีผู้จัดต้องการ ประเด็นคาถามอยู่ท่ีว่า “แท้ที่จริงแล้วคนไทยท่ีเราต้องการเป็นอย่างไร และสงั คมตอ้ งการอะไรจึงเปน็ ประเด็นพ้นื ฐานที่สาคัญ” ในการวิเคราะหป์ ระเด็นการตอบสนองตอ่ สงั คม น้ี โดยทั่วไปจะมีผู้นาทางความคิดหลัก ๆ อยู่เสมอ ในเรื่องหลักสูตรก็เช่นเดียวกัน เม่ือสังคมมีแนวทาง แล้ว คนท่ีจะมีบทบาทมากกค็ ือครู เพราะเป็นผู้ทอ่ี ยู่ใกล้ชดิ กบั ผ้เู รียนมากที่สุด ครเู ป็นท้ังปัจจัยสนบั สนุน และปัจจัยปัญหา รวมทั้งอุปสรรคต่าง ๆ โดยเฉพาะข้อมูลท่ีเกิดจากการวิจัยค้นคว้าซ่ึงล้วนเป็นความ เข้าใจพน้ื ฐานท่ีผูบ้ รหิ ารควรศกึ ษาเพ่ือการบริหารหลักสตู รท่ีดี 50
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153