Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานวิจัย บทบาทของครู

งานวิจัย บทบาทของครู

Published by saiyibo, 2020-08-23 22:34:45

Description: งานวิจัย บทบาทของครู

Keywords: ครูที่ดีเป็นอย่างไร

Search

Read the Text Version

บทบาทของครูดานผนู าํ ทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ในทัศนะของนกั ศกึ ษา ระดับอดุ มศกึ ษา อุทิศ ทาหอม วิทยานพิ นธนี้เปนสว นหน่ึงของการศกึ ษาตามหลักสูตร ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต (การบริหารการพฒั นาสงั คม) คณะพฒั นาสังคมและส่งิ แวดลอ ม สถาบันบัณฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร 2554



บทคดั ยอ ชื่อวทิ ยานิพนธ บทบาทของครูดา นผนู าํ ทางคุณธรรมจรยิ ธรรมในทัศนะของนกั ศกึ ษา ระดบั อุดมศกึ ษา ชอ่ื ผูเขียน อุทศิ ทาหอม ช่ือปริญญา ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ (การบรหิ ารการพัฒนาสังคม) ปการศกึ ษา 2554 การศึกษาคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค 3 ประการคือ ประการแรก เพื่อศึกษาบทบาทของครูดาน ผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทศั นะของนกั ศกึ ษาระดบั อุดมศึกษา ประการท่ีสอง เพ่ือศึกษาปจจัยท่ี มีอิทธิพลตอทัศนะของนักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม ประการท่ีสาม เพ่ือศึกษาแนวโนมในอนาคตตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของ นักศึกษาระดับอุดมศกึ ษา การเก็บรวบรวมขอมูลใชแบบสอบถาม จากกลุมตัวอยางนักศึกษาระดับอุดมศึกษาทั้ง 4 สถาบันการศึกษา ในจังหวัดอุบลราชธานี คือ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี มหาวิทยาลัยการจดั การและเทคโนโลยอี ีสเทริ น มหาวิทยาลยั ราชธานี แหงละ 100 คน รวมเปน 400 คน และสถิติในการวิเคราะหขอมูล ไดแก สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ในการวิเคราะหขอมูลทั่วไป ไดแก คาความถี่ (Frequency) คารอยละ (Percentage) คาเฉล่ีย (Arithmetic Mean) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) เพ่ือทดสอบสมมติฐาน ไดแก t-test และ F-test ผลการศึกษาพบวา 1. นักศึกษาสวนใหญเปนเพศหญิง อายุ 18 - 21 ป จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 มีผลการเรียน ในเทอมสุดทาย 2.50 - 3.00 กําลังศึกษาอยูช้ันปท่ี 2 ศึกษาคณะบริหารธุรกิจ ภูมิลําเนาอยูท่ีจังหวัด อุบลราชธานี 2. ทศั นะของนกั ศกึ ษาตอ บทบาทของครดู า นผนู าํ ทางคุณธรรมจริยธรรม ในภาพรวมอยูใน ระดับเห็นดวย คาเฉล่ียเทากับ 3.88 เม่ือพิจารณาเรียงตามลําดับคาเฉล่ีย ( X ) ของทัศนะในดานตางๆ

(4) พบวา ดานวิชาชีพ คาเฉล่ียเทากับ 3.92 ดานชุมชน คาเฉล่ียเทากับ 3.87 และดานผูเรียน คาเฉลี่ย เทา กับ 3.85 3. ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอทัศนะของนักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรม จรยิ ธรรม ไดแก สาขาที่จบกอนเขาศึกษา ผลการเรียนในเทอมสุดทาย คณะท่ีกําลังศึกษา สถาบัน ทก่ี ําลังศกึ ษา อาชีพของบดิ า อาชีพของมารดา ความเกยี่ วของกับครู กิจกรรมพิเศษ ความชื่นชอบ ในอาชีพครู และความสําคัญในการผลิตบุคลากรทางการศึกษา สวนปจจัยที่ไมมีอิทธิพล ไดแก เพศ อายุ ระดับช้ันปท่ีศึกษา ภูมิลําเนา ระดับการศึกษาของบิดา ระดับการศึกษาของมารดา รายไดข องบิดา รายไดของมารดาและการรบั รขู อ มลู ขา วสาร ขอ เสนอแนะที่ไดจ ากการวิจัย 1. กระทรวงศึกษาธิการควรประกาศเปนนโยบายใหครูและบุคลากรทางการศึกษา พัฒนาการเรียนการสอนที่มุงเนน “ความรูคูคุณธรรม” มุงใหมีการสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมใน ทุกรายวิชาทส่ี อน 2. ผูบริหารสถานศึกษา ควรนําหลักปรัชญาของโรงเรียน นํามาปฏิบัติใหเห็นเปนรูปธรรม พรอมท้ังจัดทําแผนยุทธศาสตรของโรงเรียนเนนการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมใหกับครู และ นกั เรยี น โดยทําคูม ือรูปแบบการบรหิ ารจดั การบทบาทของครดู า นผนู าํ ทางคุณธรรมจรยิ ธรรมใหกบั ครทู กุ ๆ คน 3. สถาบันการศึกษาท่ีผลิตบัณฑิตครูทุก ๆ แหง ควรเนนกระบวนการดานคุณธรรม จริยธรรมท้ังในทางภาคทฤษฏีและก็ภาคปฏิบัติไปควบคูกันดวย เชน การจัดกิจกรรมคายอาสา พัฒนาชุมชนใหนกั ศกึ ษา

ABSTRACT Title of Thesis Role of Teachers as Morality Leaders in View of Undergraduate Students Author Utis Tahom Degree Master of Arts (Social Development Administration) Year 2011 The purposes of this study were aimed to investigate teachers’ role as morality leaders in view of undergraduate students, to explore factors influencing role of teachers as morality leaders in view of undergraduate students, and to study the future tendency of teachers’ role as morality leaders in view of undergraduate students. Questionnaire was used as the research instrument. The data were gathered by using accidental sampling. Sample groups comprised undergraduate students from 4 institutions in Ubon Ratchathani Province; Ubon Ratchathani University, Ubon Ratchathani Rajabhat University, and Eastern Management and Technology Universtiy. The total participants were 400 persons -100 persons per each university. The statistical instrument for analyzing the data included descriptive statistics. Frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, inferential statistics, t-test, and F-test were used for analyzing general data. The Results were found as follows: 1. The majority of students were at the age of 18-21 years old. The participants included the students who graduated secondary education level, Mathayomsuksa 6, with grade point average at 2.50-3.00, and who have been studying in second year at business administration faculty. They have been living in Ubon Ratchathanee Province as their hometown. 2. The average mean on the issue of the students’ attitude on teacher role as morality leader was at 3.88. According to each item, it was found that the item of profession morality was

(6) at the mean of 3.92. The item of community morality was at the mean of 3.87. The item of learner morality was shown at the mean of 3.85. 3. Factors influencing the students’ attitude on teacher role as morality leader included programs, grade point averages, faculties, institution, parents’ occupation, relation to teacher, special activities, profession satisfaction and importance of educational personnel provision. Factors which didn’t have influence in role of teachers as morality leaders included gender, age, class, hometown, parents’ education and income, teacher, and information acknowledge. The Suggestions were shown as follows: 1. Ministry of Education should announce policies to teachers in developing their instructions emphasizing on knowledge and morality, and on implantation morality into every courses. 2. The administrators should apply philosophy principal of school to concrete practical. Moreover, strategic plan should be focused on fostering morality to teachers and students. Guidebooks on administrative pattern of attitude on teacher role as morality leader should be sent to teachers. 3. Every institute educating educational bandits should emphasize on implanting of morality in both sides of theory and practice as rural for volunteer development camp.

กิตตกิ รรมประกาศ วิทยานิพนธเร่ือง บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนักศึกษา ระดับอุดมศึกษา สําเร็จลุลวงไดเน่ืองจากผูเขียนไดรับความชวยเหลือในการใหขอมูล คําปรึกษา ขอแนะนํา ความคิดเห็น และกําลังใจจากนองๆ นักศึกษาทั้ง 4 สถาบันการศึกษาในจังหวัด อุบลราชธานี ท่ีกรุณาใหความรวมมือในการตอบแบบสอบถาม ทําใหไดผลการศึกษาที่เปน ประโยชนต อ งานวิจยั ครงั้ น้ี ผูเขยี นขอกราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารย ดร. สากล จริยวทิ ยานนท ผซู ่ึงเปนอาจารยท่ี ปรึกษาและอาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธของผูเขียน ที่ไดกรุณาสละเวลาใหคําปรึกษา ขอชี้แนะ ขอแนะนําและขอคิดเห็นท่ีเปนประโยชนตอการทําวิทยานิพนธในทุกขั้นตอนจนเสร็จสมบูรณ รวมทั้ง ไดสอนส่ิงที่ เปนแรงบันดาลใจในการเรียน รูเพิ่มเติม ซึ่งสามารถคิดตอยอดใหเห็นมุมมอง ในเร่ืองท่ีศึกษาไดกวางขึ้น ตลอดจนใหกําลังใจแกผูเขียนในการทําวิทยานิพนธเลมน้ีตลอดมา และ ขอกราบขอบพระคณุ รองศาสตราจารย ดร.สรุ สิทธ์ิ วชริ ขจร และรองศาสตราจารย ดร.พิชาย รัตน ดิลก ณ ภูเกต็ ท่ีไดใหคําแนะนาํ พจิ ารณาตรวจสอบ รวมไปถึงการแกไขปรับปรุงวิทยานิพนธน้ีจน เสรจ็ สมบูรณม ากยงิ่ ขึ้น ขอขอบพระคุณคณาจารยสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตรทุกทานที่ไดประสิทธิ์ ประสาทวิชาความรูท่ีมีคุณคาอยางยิ่งใหกับผูเขียน และขอขอบคุณเจาหนาท่ีของคณะพัฒนาสังคม และส่งิ แวดลอมท่ีคอยใหค าํ แนะนาํ และอาํ นวยความสะดวกในการดําเนินการตางๆ จนวิทยานิพนธ เสร็จสมบูรณ อีกทั้งขอขอบคุณเพ่ือนๆ ทุกคน สําหรับกําลังใจและความชวยเหลือท่ีมีใหมาโดย ตลอด ทายสุดขอขอบคุณและขอมอบความสําเร็จท้ังหมดจากการทําวิทยานิพนธเลมนี้แด ครอบครัวท่ีคอยใหคําปรึกษาและใหกําลังใจในการศึกษาเสมอมา จนทําใหการศึกษาครั้งนี้ประสบ ผลสาํ เร็จไดต ามที่ตัง้ ใจ อทุ ศิ ทาหอม กมุ ภาพนั ธ 2555

สารบัญ หนา บทคดั ยอ (3) ABSTRACT (5) กิตติกรรมประกาศ (7) สารบัญ (8) สารบัญตาราง (10) สารบญั ภาพ (15) บทที่ 1 บทนํา 1 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1 1.2 วัตถุประสงค 4 1.3 ขอบเขตของการศกึ ษา 4 1.4 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดร ับ 4 6 บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฏี และผลงานวิจยั ท่เี กยี่ วขอ ง 6 2.1 แนวคดิ ทฤษฏีเกยี่ วบทบาท 14 2.2 แนวคดิ ทฤษฏเี กี่ยวกบั บทบาทครูอาจารย 26 2.3 แนวคดิ ทฤษฏีเก่ยี วกบั ผูนาํ และภาวะผนู ํา 42 2.4 แนวคดิ ทฤษฏีเกีย่ วกับคณุ ธรรมจริยธรรม 57 2.5 แนวคดิ ทฤษฎเี ก่ยี วกับการพฒั นาคุณธรรม 62 2.6 แนวคดิ ทฤษฏเี ก่ียวกบั ทศั นคติ 68 2.7 แนวคดิ ทฤษฏเี กี่ยวกบั ความคิดเหน็ 75 2.8 แนวคดิ ทฤษฎเี กยี่ วกบั การศึกษาระดบั อดุ มศึกษา 82 2.9 ผลงานวจิ ัยทเี่ กยี่ วขอ ง 96 96 บทท่ี 3 กรอบแนวความคดิ และวธิ กี ารศกึ ษา 3.1 กรอบแนวความคดิ ในการศกึ ษา

(9) 98 100 3.2 นิยามศัพทเ ชงิ ปฏิบัตกิ าร 102 3.3 สมมุตฐิ านทางการศึกษา 102 3.4 ประชากรในการศึกษา 104 3.5 เครอ่ื งมอื ทีใ่ ชใ นการศกึ ษา 104 3.6 การทดสอบเครอื่ งมอื ทใี่ ชในการศกึ ษา 105 3.7 การรวบรวมขอ มลู 106 3.8 การวเิ คราะหข อ มลู 106 บทที่ 4 ผลการศึกษา 109 4.1 ขอมูลปจ จัยสวนบุคคล 112 4.2 ขอ มลู ปจ จัยดานครอบครัว 115 4.3 ขอมูลปจจัยดา นอื่น ๆ 4.4 ขอมูลเก่ียวกับบทบาทของครูดา นผนู ําทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรม 120 143 ในทัศนะของนกั ศกึ ษาระดบั อดุ มศึกษา 144 4.5 การทดสอบสมมติฐาน 145 4.6 ขอเสนอแนะตางๆ 145 บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และขอ เสนอแนะ 148 5.1 สรปุ ผลการศึกษา 159 5.2 ผลการทดลองสมมติฐาน 160 5.3 อภิปรายผล 5.4 ขอ เสนอแนะทไี่ ดจากการศกึ ษา 161 5.5 ขอ เสนอแนะในการวจิ ัยครง้ั ตอ ไป 169 171 บรรณานกุ รม 179 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถาม ประวัตผิ เู ขียน

สารบญั ตาราง ตารางที่ หนา 2.1 การเปรียบเทยี บผูน ํา 28 2.2 ในทฤษฎพี ัฒนาการทางคุณธรรมของ Kohlberg แบง เหตผุ ลเชงิ คณุ ธรรม 60 เปน 3 ระดับ มี 6 ขนั้ 108 4.1 ขอ มูลปจ จัยสว นบคุ คล 111 4.2 ขอ มลู ปจจัยดา นครอบครัว 113 4.3 ขอมูลปจ จัยดานอ่ืนๆ 115 4.4 จํานวน คา เฉลยี่ คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน และสรปุ ระดับบทบาทของ 116 ครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนักศึกษา ระดบั อุดมศึกษา 118 4.5 บทบาทของครดู า นผนู ําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของ นักศกึ ษาระดับอุดมศึกษา ดานวชิ าชีพแยกเปนรายขอ 119 4.6 บทบาทของครดู า นผนู าํ ทางคณุ ธรรมจริยธรรมในทศั นะของ นกั ศกึ ษาระดับอุดมศึกษา ดา นผูเรียนแยกเปนรายขอ 120 4.7 บทบาทของครดู า นผูนําทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรมในทัศนะของ นักศกึ ษาระดับอดุ มศึกษา ดา นชมุ ชนแยกเปนรายขอ 121 4.8 ทศั นะของนกั ศึกษาตอบทบาทของครูดานผนู าํ ทางคุณธรรม จริยธรรมจาํ แนกตามเพศ 122 4.9 ทศั นะของนกั ศึกษาตอบทบาทของครดู านผนู าํ ทางคุณธรรม จริยธรรม จําแนกตามอายุ 122 4.10 ทศั นะของนกั ศึกษาตอ บทบาทของครดู า นผูนาํ ทางคณุ ธรรม จริยธรรม จาํ แนกตามสาขาท่ีจบกอนเขา ศกึ ษาตอ 4.11 ผลการวิเคราะหความแปรปรวนเพื่อหาความแตกตา งทศั นะของ นักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนกตาม สาขาท่จี บกอ นเขา ศึกษาตอ

(11) 122 4.12 การทดสอบความแตกตางรายคูด ว ยวิธีการ Scheffe’ ทศั นะของนักศึกษา 123 ตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนกตามสาขาที่ 123 จบกอนเขา ศึกษาตอ 124 4.13 ทศั นะของนกั ศกึ ษาตอบทบาทของครูดา นผนู ําทางคุณธรรมจริยธรรม จาํ แนกตามผลการเรยี นในเทอมสดุ ทา ย 124 125 4.14 ผลการวเิ คราะหค วามแปรปรวน เพอื่ หาความแตกตางทศั นะของ นักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนก 126 ตาม ผลการเรยี นในเทอมสดุ ทา ย 126 4.15 การทดสอบความแตกตางรายคูด ว ยวธิ ีการ Scheffe’ ทัศนะของ 127 นักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนก ตามผลการเรยี นในเทอมสดุ ทา ย 128 128 4.16 ทศั นะของนกั ศึกษาตอบทบาทของครดู านผูนําทางคุณธรรมจรยิ ธรรม จาํ แนกตามระดับชน้ั ป 4.17 ผลการวเิ คราะหค วามแปรปรวนเพอื่ หาความแตกตา งทศั นะของ นักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนก ตามระดับช้ันป 4.18 ทัศนะของนกั ศกึ ษาตอบทบาทของครดู า นผนู ําทางคุณธรรมจริยธรรม จาํ แนกตามคณะทกี่ าํ ลงั ศึกษา 4.19 ผลการวเิ คราะหความแปรปรวน เพอื่ หาความแตกตา งทศั นะของ นกั ศกึ ษาตอบทบาทของครดู า นผูนําทางคณุ ธรรมจริยธรรม จําแนก ตามคณะทกี่ ําลังศกึ ษา 4.20 การทดสอบความแตกตางรายคูด ว ยวิธกี าร Scheffe’ ทศั นะของ นักศึกษาตอบทบาทของครดู า นผูนาํ ทางคณุ ธรรมจริยธรรม จาํ แนก ตามคณะทกี่ ําลังศึกษา 4.21 ทศั นะของนกั ศกึ ษาตอ บทบาทของครดู านผูนําทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรม จาํ แนกตามสถาบนั การศกึ ษา 4.22 ผลการวิเคราะหความแปรปรวน เพ่ือหาความแตกตางทศั นะของ นักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนก ตามสถาบันการศึกษา

(12) 128 4.23 การทดสอบความแตกตา งรายคูดว ยวิธกี าร Scheffe’ ทัศนะของ 129 นกั ศกึ ษาตอบทบาทของครดู า นผูน าํ ทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรม จําแนกตาม 129 สถาบนั การศกึ ษา 130 4.24 ทศั นะของนกั ศึกษาตอบทบาทของครดู านผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม 130 จําแนกตามภูมลิ ําเนา 131 4.25 ผลการวิเคราะหความแปรปรวน เพ่อื หาความแตกตางทศั นะของ 131 นกั ศึกษาตอ บทบาทของครูดานผนู ําทางคณุ ธรรมจริยธรรม จาํ แนก ตามภมู ิลาํ เนา 132 132 4.26 ทศั นะของนกั ศกึ ษาตอบทบาทของครดู า นผนู าํ ทางคณุ ธรรมจริยธรรม จําแนกตามระดบั การศึกษาของบดิ า 132 4.27 ผลการวิเคราะหความแปรปรวน เพอื่ หาความแตกตางทศั นะของ 133 นักศกึ ษาตอบทบาทของครดู านผนู ําทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรม จาํ แนก ตามระดบั การศกึ ษาของบิดา 4.28 ทัศนะของนกั ศึกษาตอบทบาทของครดู านผนู ําทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรม จาํ แนกตามระดบั การศึกษาของมารดา 4.29 ผลการวิเคราะหค วามแปรปรวน เพอื่ หาความแตกตางทศั นะของ นักศกึ ษาตอ บทบาทของครูดานผนู ําทางคณุ ธรรมจริยธรรม จาํ แนก ตามระดบั การศกึ ษาของมารดา 4.30 ทศั นะของนกั ศกึ ษาตอบทบาทของครดู า นผนู าํ ทางคุณธรรมจรยิ ธรรม จําแนกตามอาชพี ของบดิ า 4.31 ผลการวเิ คราะหค วามแปรปรวน เพือ่ หาความแตกตางทศั นะของ นกั ศึกษาตอ บทบาทของครูดา นผนู าํ ทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรม จาํ แนก ตามอาชพี ของบดิ า 4.32 การทดสอบความแตกตางรายคูดวยวธิ กี าร Scheffe’ ทัศนะของ นักศึกษาตอ บทบาทของครูดานผูนําทางคณุ ธรรมจริยธรรม จําแนก ตามอาชพี ของบิดา 4.33 ทศั นะของนกั ศกึ ษาตอบทบาทของครดู า นผูน ําทางคณุ ธรรมจริยธรรม จาํ แนกตามอาชพี ของมารดา

(13) 133 4.34 ผลการวเิ คราะหความแปรปรวน เพ่ือหาความแตกตา งทศั นะของ 134 นักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนก ตามอาชพี ของมารดา 134 135 4.35 การทดสอบความแตกตางรายคูดวยวิธกี าร Scheffe’ ทศั นะของ นักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนก 135 ตามอาชีพของมารดา 136 4.36 ทศั นะของนกั ศกึ ษาตอบทบาทของครูดา นผนู าํ ทางคุณธรรมจริยธรรม 136 จาํ แนกตามรายไดของบิดาตอเดอื น 137 4.37 ผลการวิเคราะหความแปรปรวน เพ่อื หาความแตกตางทศั นะของ 137 นักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนก ตามรายไดข องบดิ าตอเดอื น 138 139 4.38 ทศั นะของนกั ศกึ ษาตอ บทบาทของครูดา นผูนาํ ทางคุณธรรมจรยิ ธรรม จําแนกตามรายไดข องมารดาตอเดอื น 4.39 ผลการวเิ คราะหค วามแปรปรวน เพ่ือหาความแตกตา งทศั นะของ นักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนก ตามรายไดของมารดาตอเดือน 4.40 ทศั นะของนกั ศึกษาตอ บทบาทของครดู านผูนําทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรม จําแนกตาม ความเก่ยี วขอ งกับครู 4.41 ผลการวิเคราะหความแปรปรวน เพ่อื หาความแตกตา งทศั นะของ นักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนก ตามความเก่ยี วของกับครู 4.42 การทดสอบความแตกตางรายคูด วยวธิ กี าร Scheffe’ ทศั นะของ นักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนก ตามความเก่ยี วของกบั ครู 4.43 ทัศนะของนกั ศกึ ษาตอบทบาทของครูดา นผนู ําทางคุณธรรมจริยธรรม จาํ แนกตามกิจกรรมพเิ ศษ 4.44 ทศั นะของนกั ศกึ ษาตอบทบาทของครดู านผูนาํ ทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนกตามความชืน่ ชอบในอาชพี ครู

(14) 139 139 4.45 ผลการวเิ คราะหความแปรปรวน เพ่ือหาความแตกตา งทศั นะของ 140 นักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนก 141 ตามความชน่ื ชอบในอาชพี ครู 142 142 4.46 การทดสอบความแตกตา งรายคดู วยวิธกี าร Scheffe’ ทศั นะของ 142 นักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนก ตามความชื่นชอบในอาชีพครู 4.47 ทศั นะของนกั ศึกษาตอบทบาทของครดู า นผูนาํ ทางคณุ ธรรมจริยธรรม จําแนกตามการรบั รูขอมลู ขา วสาร 4.48 ผลการวิเคราะหความแปรปรวน เพอ่ื หาความแตกตา งทศั นะของ นักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนก ตามการรบั รขู อ มูลขาวสาร 4.49 ทัศนะของนกั ศึกษาตอ บทบาทของครูดา นผนู ําทางคณุ ธรรมจริยธรรม จําแนกตามนโยบายของรัฐบาลปจ จุบัน 4.50 ผลการวิเคราะหค วามแปรปรวน เพ่ือหาความแตกตา งทศั นะของ นักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนก ตามนโยบายของรัฐบาลปจ จุบัน 4.51 การทดสอบความแตกตางรายคดู วยวิธีการ Scheffe’ ทัศนะของ นักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนก ตามนโยบายของรฐั บาลปจ จบุ ัน

    สารบัญภาพ ภาพที่ หนา 2.1 แสดงหลกั จรยิ ธรรม การอธิบายคุณคา และองคป ระกอบของจรยิ ธรรม 56 2.2 แสดงองคประกอบของทัศนคติ 66 2.3 แสดงความสมั พันธร ะหวางสง่ิ เรา เจตคติ ความคดิ เหน็ และการแสดงเหตผุ ล 72 2.4 สามเหลยี่ มแหง การเรยี นรู 77 3.1 แสดงกรอบแนวความคดิ ในการศึกษา 97

บทท่ี 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสาํ คัญของปญหา สังคมไทยในอดีต คนท่ีมีความรูความสามารถและมีประสบการณมากจะทําหนาท่ีเปนผูท่ี ถา ยทอดความรคู วามสามารถใหค นรุนตอไปดวย ไมวาจะเปนเรื่องขนบธรรมเนียมประเพณีวิถีชีวิต ศลิ ปะปอ งกนั ตวั และการทํามาหากนิ สวนคนท่มี ีหนาที่ถา ยทอดความรูเราเรียกวา ครู ซ่ึงแปลวา ผูที่ มีความหนักแนนมีคุณธรรมจริยธรรม ประพฤติตัวเปนท่ีนาเคารพจากศิษย ในสังคมไทยสมัยกอน ครูเปนผูท่ีมีความรับผิดชอบสูงกวาคนอื่นในสังคม เพราะนอกจากจะทํามาหาเล้ียงชีพแลวยังตอง ทาํ หนาทีอ่ บรมสง่ั สอนศษิ ยด วย ครูในยุคแรกๆ น้ัน การเรียนการสอนจะเนนไปในทางการถายทอดความรูใ หกบั คนรุนหลัง เพอื่ เปนการสบื ทอดไมใหว ชิ าความรูสูญหายไป ไมไ ดเนนในเรอื่ งคา ตอบแทนเปนวตั ถสุ ่ิงของ หรือ สินจาง เน่ืองจากในยุคนั้นการเรียนการสอนยังไมเปนอาชีพ แตเปนการสอนกันตามความรู ความสามารถของแตละบุคคล เนื่องจากครูมากจากหลากหลายอาชีพ จากบุคคลที่มีความชํานาญ และมปี ระสบการณและไดรับการยกยอ งจากคนในสังคมใหเปนครู เชน ครูสอนดนตรี คนสอนการ แสดง ครูสอนมวย เปน ตน ตอมาเมื่อไดมีการพัฒนาทางการศึกษาใหเปนระบบมากขึ้นและไดจัดเกณฑมาตรฐานใน การรองรับบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนอัตราคาตอบแทนเพื่อเปนแรงจูงใจในการประกอบ อาชีพขาราชการครู จากเจตนารมณตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ก็ให ความสําคัญและถือวา ครู เปนผูมีความสําคัญตอการจัดกระบวนการเรียนรูเพ่ือพัฒนาผูเรียนใหมี คุณภาพ เปนพ้ืนฐานของการพัฒนาประเทศชาติ จึงมีบทบัญญัติวา ครูซ่ึงเปนบุคลากรวิชาชีพหลัก ดา นการเรียนการสอน และการสงเสรมิ กระบวนการเรียนรูตองผานระบบการควบคุมเพื่อใหเปนครู อาชีพ เชน การใหมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ มีองคกรวิชาชีพครู มีมาตรฐานวิชาชีพและ จรรยาบรรณของวิชาชีพรวมทง้ั การพัฒนาวิชาชีพครู เพื่อใหเปนครูอาชีพอยางแทจริง โดยมีกลไกที่ จะสง เสรมิ ใหครู มีการพฒั นาศักยภาพอยา งตอเนอื่ ง มีระบบการบริหารงานบุคคลของขาราชการครู

2 และกฎหมายวาดวยเงินเดือน มีคาตอบแทน สวัสดิการและสิทธิประโยชนเก้ือกูลอ่ืน เพื่อใหมี รายไดทเี่ พยี งพอและเหมาะสมกบั ฐานะทางสังคมและวิชาชีพเปนการเฉพาะ (สมศักดิ์ ดลประสิทธ์ิ, 2543: 5) ครูสงั คมไทยสมัยกอนจึงมีบทบาทมาก เชน เปนครูมวย ครูรํา ครูสอนดนตรี ครูสอนขนมไทย เปนตน ซง่ึ โดยท่ัวไปนนั้ จะหมายถงึ ครูที่สอนในระบบโรงเรยี น หรอื ครูอาชีพ คนไทยเคารพผูท่ีเปนครู เหมือนกับที่ใหความเคารพนับถือพระ มีคํากลาวยกยองเชิดชูครูวาเปน “ปูชนียบุคคล” ซึ่งหมายถึง บคุ คลทีค่ วรเคารพแกการกราบไหวบ ูชา ในฐานะผปู ระสิทธ์ิประสาทวิชาความรใู ห (รุง แกวแดง, 2543: 130) ในยุคแรกอาชีพครูเปนอาชีพท่ีไดรับการใหเกียรติจากผูคนในสังคม ครูในสมัยน้ันเปนผูที่ เกงและเปนคนดีนาเคารพและมีความเช่ียวชาญในความรู คนสวนใหญในสมัยน้ันใหความสนใจ เกี่ยวกับประกอบอาชีพครูอยางมาก จนมีสถาบันอุดมศึกหลายแหงไดเปดทําการเรียนการสอนเปน สถาบันหลักในการผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษา เชน สถาบันราชภัฏทุกแหงท่ัวประเทศที่ทํา การมุงเนนในเรื่องนี้ จนทําใหครูเปนที่นิยมมาก ครูเปนผูทําหนาท่ีผลิตคนท่ีมีคุณภาพใหแกสังคม เพราะวาคนเปนทรัพยากรที่สําคัญตอการพัฒนาประเทศ กุญแจสําคัญของการพัฒนาอยูที่การ พัฒนาคน ถาเราพฒั นาคนใหฉลาดสามารถเรียนรู คิดเปน ทําเปน และตั้งอยูในความดีได ประเทศก็ จะพัฒนา ซ่ึงการที่จะพัฒนาคนตองพัฒนาดวยการศึกษา โดยเร่ิมจากแรกเกิดไปจนตลอดชีวิต ใน ปจจุบันน้ีอาชีพครูเปนอาชีพท่ีมีบทบาทในดานผูนําคุณธรรมจริยธรรมลดนอยลงไปเร่ือย เนื่องจาก สภาพของสังคมเปล่ียนแปลงไป จนเกิดผลกระทบตอการประพฤติปฏิบัติของครู ทําใหคุณธรรม ของครูตกต่ํา จนเกิดวิพากษวิจารณเก่ียวกับวิชาชีพครูในขณะน้ี จนสงผลตอบทบาทของครูท่ีดีใน สวนรวม ทั้งยังมีการจํากัดอัตราของครูในการเขาบรรจุเปนขาราชการและมีคาตอบแทนนอยและ ทาํ งานหนัก ตลอดจนทาํ ใหบ ัณฑิตทจ่ี บการศึกษาเกี่ยวกับครูจํานวนมากวางงานและไมมีงานทํา ทํา ใหคนสวนใหญในปจจุบันปรับเปลี่ยนทัศนะคติเก่ียวกับอาชีพครู ซ่ึงเปนการมองวาครูเปนอาชีพที่ เส่ียงตอการตกงานและโอกาสเขาถึงแหลงงานนอยกวาอาชีพอ่ืน ไมเหมือนอาชีพพวกวงการแพทย วงการสารสนเทศ วิศวกรรม เปนตน นักศึกษาบางคนถึงกับเลือกเรียนครู เปนอันดับสุดทายจาก สาขาวชิ าอนื่ จนมคี าํ กลาวท่ีวา คนที่เรยี นครูเปนคนทเ่ี รียนอะไรไมไดแ ลว ป จ จุ บั น มี ก า ร ย อ ม รั บ กั น อ ย า ง ก ว า ง ข ว า ง ว า ก า ร พั ฒ น า ค น เ ป น หั ว ใ จ สํ า คั ญ ใ น กระบวนการพัฒนาทุกๆ ดาน โดยกําลังคนเหลานั้นตองเปนคนท่ีมีคุณภาพและกําลังคนจะมี คุณภาพเพียงใดขึ้นอยูกับประสิทธิภาพในการจัดการศึกษา ดังน้ันการศึกษาจึงเปนเครื่องมือท่ีมี บทบาทสําคัญที่สุดประการหนึ่งในการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอยางย่ิงประเทศไทยจะตองมีการ พัฒนาการศึกษาใหม ีประสิทธภิ าพสูงยิ่งขึ้น เพื่อทําใหศักยภาพท่ีมีอยูในตวั คนไดรับการพัฒนาอยา ง เต็มท่ี ทําใหคนรูจักคิด วิเคราะห รูจักแกปญหา มีความคิดริเริ่มสรางสรรคตามพระราชบัญญัติ

3 การศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 6 ระบุไวว า “การจัดการศึกษาตองเปน ไปเพ่อื พฒั นาคนไทยให เปนมนษุ ยทส่ี มบรู ณท ้ังรา งกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมใน การดํารงชีวิตสามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข” (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา แหง ชาติ, 2542: 5 อางถึงในมาลี ควรคะนงึ , 2545: 1) จากความคาดหวังของสังคม และบุคลากรหลายระดับท่ีหวังใหครูมีบทบาทหนาท่ีสําคัญ และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค เพ่ือเปนแบบอยางและเปนกลไกสําคัญในการพัฒนาประเทศและ พัฒนาพลเมอื งของชาติใหมคี วามเจรญิ กาวหนาทัดเทียมอารยะประเทศทั้งทางดานคุณธรรม ความรู และความสามารถตางๆ แตก็ยังมีครูบางคนท่ีพยายามประพฤติ ปฏิบัติตนผิดวินัย จรรยาบรรณของ ครูทีด่ ี เปน ทเ่ี ส่อื มเสียตอ สถาบันวิชาชพี ครเู ปน อยางมาก ดงั ทเ่ี ปนขาวในหนาหนังสือพิมพอยูบอยๆ เชน ครูลงโทษนักเรียนดวยวิธีรุนแรง ครูขมขืนและทําอนาจารลูกศิษย ครูขายยาเสพติด เปนตน ซ่ึง พฤติกรรมเหลานเี้ ปนพฤติกรรมท่รี า ยแรงทีส่ ดุ ทีน่ ักเรียนทกุ คนไมพึงประสงคใหม ีในตวั ครู แตยังมีพฤติกรรมบางอยางที่ครูท่ัวๆไป ชอบประพฤติปฏิบัติดวยความเคยชิน เปน พฤติกรรมที่นักเรียนไมพึงประสงคใหครูกระทําเชนกัน ไดแก ดานการสอน ครูสอนโดยยึดตัวครู เปน สาํ คญั ครเู ปน ใหญแตเพยี งผเู ดียว ครูเปน คนถกู เสมอครูไมเคยเปนผูผิด ดานวิชาการ ครูสอนแต ในตําราเรียนครูมีความรูแคบไมกวางไกล ดานสุขภาพกายและจิต ครูชอบใชอารมณและแสดง อารมณฉุนเฉียวกับนักเรียนโดยไมมีเหตุผล ดานมนุษยสัมพันธ ครูพูดจากับนักเรียนดวยถอยคําที่ ไมสุภาพใชคําท่ีรุนแรง ดานบุคลิกลักษณะ ครูบางคนแตงกายไมสุภาพนุงกระโปรงส้ันเกินไป ดานการอบรมและการปกครอง ครูไมคอยใหความยุติธรรมกับนักเรียนเทาที่ควร ดานการเปน พลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตย ครูบางคนไมคอยมีความรับผิดชอบตอหนาท่ีชอบละทิ้งหนาที่ และเขา สอนไมต รงเวลา ซ่ึงพฤติกรรมเหลานี้สงผลตอภาพลักษณดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมที่ดีของครูใน ทัศนะของนักศึกษาที่มองวาครู คือ แมพิมพของชาติ เปนตนแบบที่ดีของนักเรียนเปนอยางมาก ควรจะเปนแบบอยางใหกับนักเรียนนักศึกษาท่ีจะนําความรูไปใชในการพัฒนาสังคม ตลอดจนการ พัฒนาประเทศชาติใหเจริญย่ิงขึ้น อีกทั้งยังตองสงผลตอแรงจูงใจในการประกอบอาชีพขาราชการ ครู ดวยเหตุน้ีจึงทําใหผูศึกษาสนใจและตองการศึกษาบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรม จรยิ ธรรมในทศั นะของนกั ศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา

4 1.2 วตั ถปุ ระสงค 1. เพื่อศึกษาบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนักศึกษา ระดบั อุดมศึกษา 2. เพื่อศึกษาปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอทัศนะของนักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทาง คุณธรรมจริยธรรม 3. เพ่ือศึกษาแนวโนมในอนาคตตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมใน ทัศนะของนักศกึ ษาระดับอดุ มศึกษา 1.3 ขอบเขตของการศึกษา 1. ขอบเขตดานพ้นื ที่ ศึกษา สถาบันอดุ มศึกษาในจังหวัดอุบลราชธานี ไดแก มหาวิทยาลัย ราชภัฏอบุ ลราชธานี มหาวิทยาลยั ราชธานี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยการจัดการและ เทคโนโลยอี ีสเทิรน 2. ขอบเขตประชากร ไดแก นักศึกษาระดับอุดมศึกษาใน จังหวัดอุบลราชธานี ไดแก มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 7,352 คน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี 11,300 คน มหาวิทยาลัยราช ธานี 2,378 คน และมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิรน 3,494 คน ที่กําลังศึกษาใน สถาบนั การศึกษาท้ัง 4 สถาบนั รวมนักศกึ ษาทั้ง 4 สถาบนั จํานวนทงั้ สน้ิ 24,524 คน 3. ขอบเขตเนื้อหา เปนการศึกษาถึงบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมใน ทัศนะของนักศึกษาระดบั อดุ มศึกษา 4. ขอบเขตดา นระยะเวลาในการศกึ ษาครัง้ นี้ใชระยะเวลาในการศึกษาต้ังแตเดือนมกราคม ถึงเดอื นกนั ยายน พ.ศ. 2553 1.4 ประโยชนทค่ี าดวา จะไดรับ 1. เพื่อทราบถึงบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนักศึกษา ระดับอุดมศกึ ษา 2. เพ่ือทราบถึงปจจัยที่มีอิทธิพลตอทัศนะของนักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทาง คุณธรรมจริยธรรม

5 3. เพ่ือทราบถึงบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนักศึกษา ระดบั อดุ มศึกษาในปจ จุบัน 4. สามารถนําผลการศึกษาไปใชในการแปลงเปลี่ยนบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรม จริยธรรมในทศั นะของนกั ศึกษาระดับอดุ มศึกษา เพือ่ ใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม

บทที 2 แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวจิ ัยทีเกียวข้อง ในการศึกษาเรืองบทบาทของครูดา้ นผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมในทศั นะของนักศึกษา ระดับอุดมศึกษา ผู้ศึกษาขอเสนอแนวคิดทฤษฏี และผลงานวจิ ัยทีเกียวข้องดังนี 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกียวบทบาท 2.2 แนวคิดทฤษฎีเกียวกับบทบาทครูอาจารย์ 2.3 แนวคิดทฤษฎีเกียวกับผู้นําและภาวะผู้นํา 2.4 แนวคิดทฤษฎีเกียวกับคุณธรรมจริยธรรม 2.5 แนวคิดทฤษฎีเกียวกับการพัฒนาคุณธรรม 2.6 แนวคิดทฤษฎีเกียวกับทัศนคติ 2.7 แนวคิดทฤษฎีเกียวกับความคิดเห็น 2.8 แนวคิดเกียวกับการศึกษาระดับอุดมศกึ ษา 2.9 ผลงานวจิ ัยทีเกียวข้อง 2.1 แนวคิดทฤษฎเี กยี วกบั บทบาท 2.1.1 ความหมายคําว่า “บทบาท” สุพัตรา สุภาพ (2528: 30 อ้างถึงในยนิ ดี รักสนิท, 2545: 5) ได้ใหค้ วามหมายของคําว่า บทบาท (Role) คือการปฏิบัติตามสิทธิและหน้าทีของสถานภาพ(ตําแหน่ง) เช่น มีตําแหน่งเป็ นพ่อ บทบาท คือ ตอ้ งเลียงดูลูก เป็ นครู บทบาท คือ สังสอน อบรมนกั เรียนใหด้ ี เป็ นคนไข้บทบาท คือ ปฏิบัติตามหมอสั ง Robinchon and Scott (1969: 52-57 อ้างถึงในเพ็ญศรี พุ่มเทียง, 2545: 11) ให้ความหมายว่า \"บทบาท\" (Role) หมายถึง พฤติกรรมทีกระทําตามความคาดหวังของคนส่วนใหญ่ทียึดถือไว้เป็ น บรรทัดฐานโดยที ข้อบังคับนั นจะกล่าวเฉพาะทีแต่ละคนนั นต้องกระทํา

7 ฑิตยา สุวรรณะชฎ (2527: 4 อ้างถึงในอัปสรยิงเจริญ, 2543: 14) บทบาท หมายถงึ ลักษณะ ของพฤติกรรมทีถก กําหนดโดยฐานะตําแหน่งและเปรียบเทียบ \"บทบาท\" และ \"ตําแหน่ง\" เป็ น เสมือนหนึง เหรียญสลงึ กล่าวคอ ด้านหนึ งเป็ น“ตําแหน่ง” คือ เป็ นผลรวมของสิทธิหน้าที แต่อีก ด้าน หนึ งเป็ น \"บทบาท\" คือ เป็ นการประพฤติตามสิทธิและหน้าทีนั น และยังได้แบ่งบทบาท ออกเป็ น 1) บทบาทตามอุดมคติ (Ideal Role) หรือบทบาททีผู้ดํารงตําแหน่งทางสังคมควร 2) บทบาททีปฏิบัติจริง (Actual Role) หรือบทบาททีผู้ดํารงตําแหน่งทางสังคม จะด้องปฏิบัติจริง และยังได้กลา่ วไว้ว่า\"บทบาททีปฏิบัติจริง\" นี เป็นผลรวมของบทบาทตามอุดมคติ บุคลิกภาพของผู้ดํารงตําแหน่งอารมณ์ขณะแสดงบทบาทและอุปกรณ์ของผู้ดํารงตําแหน่งทีมีอยู่ ปฏกิ ิริยาของผู้ทีเกียวข้อง พิศวง ธรรมพัฒนา (2523: 63 อ้างถึงในจํานงค์ อัญญวรวิทย,์ 2546: 8) ได้ใหค้ วามหมาย บทบาทว่า เป็ นการปฏิบัติหน้าทีหรือการแสดงออกตามความคิดหรื อคาดหวงั เมืออยู่ภายใต้ สถานการณ์ทางสังคม โดยถอื เอาฐานะหรือหน้าทีทางสังคมเป็นมูลฐาน สุวิทย์ บุญช่วย (2525: 16 อ้างถงึ ในจํานงค์อัญญวรวิทย,์ 2546: 8) ให้ทัศนะว่า บทบาทเป็ น พฤติกรรมของบุคคลทีกระทําหรือแสดงออกมาตามสิทธิและหน้าทีของตําแหน่งทตี ัวเองเป็ นอยจู่ ะ โดยถูกบังคับหรือตามความพอใจของตน Levingson (1964: 284-285 อ้างถึงในจํานงค์อัญญวรวทิ ย,์ 2546: 8) ได้สรุปความหมายของ บทบาทไว้ ดังนี 1) บทบาท หมายถงึ ปทัสถาน ความคาดหวงั ข้อหา้ ม ความรับผิดชอบหรืออืนๆ ทีมีลักษณะในทํานองเดียวกัน ซึ งผูกพันอยกู่ ับตําแหน่งทางสังคมทีกาํ หนดให้ บทบาทตาม ความหมายนี คํานึงถงึ ตัวบุคคลน้อยทีสุดแต่มุ่งไปถงึ การบ่งชี หน้าทีอันควรกระทํา 2) บทบาท หมายถงึ ความเป็นไปของบุคคลของผู้ดํารงตําแหน่งทีคิดและกระทํา เมอื ดํารงตําแหน่งนั นๆ 3) บทบาท หมายถงึ การกระทําของบุคคลแต่ละคนทีสัมพันธ์กับโครงการสรา้ ง ทางสังคมหรือกลา่ วอกี นัยหนงึ คือ แนวทางทีบุคคลพงึ กระทําเมอื ดํารงตําแหน่งอนื ๆ Linton (1934: 113-115 อ้างถึงในจํานงค์ อัญญวรวิทย,์ 2546: 9) เป็ นนักมานุษยวิทยาคน แรกทีให้แนวความคิดเรืองฐานะตําแหน่ง(Status) บทบาท (Role) ของฐานะตําแหน่งนนั เขาเห็นว่า สถานภาพเป็นนามธรรม หมายถึง ฐานะหรือตําแหน่งนั นๆ ว่าตําแหน่งนี จะมีภากิจหนา้ ทีอย่างไร บา้ ง ดังนั นเมือมีตําแหน่งเกิดขึนสิงทีควบคู่มากบั ตําแหน่ง หรือบทบาทจะเป็ นสิงทีควบคู่กับ ตําแหน่งเปรียญเสมือนเหรียญ คือ ดา้ นหนึ ง คือ ตําแหน่ง อีกด้านหนึ งของเหรียญคือ บทบาท นั นเอง

8 เพ็ญศรี พุม่ เทียง (2545: 12) “บทบาท” หมายถึง แบบแผนหรือพฤติกรรมของบุคคลทีพึง กระทําตามสถานภาพหรือฐานะของตนในครอบครัวหรือสงั คม โดยแบบแผนหรือพฤติกรรมนั น ต้องสอดคล้องกับบรรทัดฐานขนบธรรมเนียม ประเพณี และความคาดหวังของสังคม ณรงค์ เส็งประชา (2538: 17 อ้างถึงในน้องนุช ประสมคํา, 2546: 21) ได้ให้ความหมายของ บทบาทไว้ว่า บทบาทเป็ นส่วนหนึ งของโครงสร้างสังคม (Social Structure) ทีช่วยเสริมสร้างและ พยุงคํ าจุนกลุ่มสงั คมให้มันคง และเจริญก้าวหน้า และผู้คนอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข แต่ทั งนี หมายถงึ วา่ ผู้คนเหล่านั นได้แสดงบทบาทอย่างเหมาะสม ไม่เกิดปัญหาการขัดแย้งระหว่างคู่บทที แสดง ไม่ละเมิดต่อสิทธิและหนา้ ที ทีควรจะปฏิบัติไม่สร้างอํานาจในบทบาทของตนใหเ้ หนอื ไป จากบรรทัดฐานของสังคมจนเกิดผลเสียแก่สังคมหรือมีบทบาทหน้าที แต่ไมแ่ สดง บทบาทตามความรับผิดชอบ พัทยา สายหู (2516: 47 อ้างถึงในยนิ ดี รักสนิท, 2545: 5) ไดอ้ ธิบายว่า บทบาทหนา้ ที คือ สิงทีทําให้เกิดเป็นบุคคลและเปรียบเสมือนบทของตัวละครทีกําหนดใหผ้ ู้แสดงในบทละครเรือง นั นๆเป็นตัวอะไร มบี ทบาททีต้องแสดงอย่างไร ถ้าแสดงผดิ บทหรือไม่สมบทก็อาจถกู เปลียนตัว ไม่ให้แสดงไปเลย อุทัย หิรัญโต (2526: 199 อ้างถึงในน้องนุช ประสมคํา, 2546: 22) อธิบายว่าบทบาท คือ หน้าที (Function) หรือพฤติกรรมอันพงึ คาดหมาย(Expected Behavior) ของบุคคลแต่ละคนในกลุ่ม หรือในสังคมหนึ งๆ หน้าที หรือพฤติกรรมดงั กล่าวโดยปกติเป็ นสิงทีกลุ่ม หรือสังคม หรือ วัฒนธรรมบางกลุ่มหรือสังคมนั นกําหนดขึ น ฉะนั นบทบาทจึงเป็ นแบบแห่งความประพฤติของ บุคคลในสถานะหนึงทีพึงมตี ่อบุคคลอืนในสถานะอีกอย่างหนึงในสังคมเดียวกัน สุวทิ ย์ บุญช่วย (2525: 16 อ้างถงึ ในจํานงคอ์ ัญญวรวทิ ย,์ 2546: 8) ให้ทัศนะว่าบทบาทเป็ น พฤติกรรมของบุคคลทีกระทําหรือแสดงออกมาตามสิทธิและหน้าทีของตําแหน่งทีตัวเองเป็ นอยู่ จะ โดยถูกบังคับหรือตามความพอใจของตน จิรัญ พรหมอยู่ (2532: 28 อ้างถึงในจํานงค์ อัญญวรวิทย,์ 2546: 9) ได้ใหค้ วามหมายของ บทบาทไว้วา่ คือพฤติกรรมทีปฏิบัติตามสถานภาพ เช่น ครูต้องสอนนักเรียน ตํารวจต้องพิทักษ์สันติ ราษฎร์ ทหารตอ้ งเป็นรั วของชาติ สวัสดิ แก้วสมบรู ณ(์ 2525: 15 อ้างถึงในทศพร อนิ จําปา, 2547: 56) ไดก้ ล่าวถึง บทบาทว่า หมายถึง พฤติกรรมทีเกิดขึ นตามเงือนไข และอํานาจหน้าทีความผิดชอบทีต้องกระทําเมือบุคคลขเ้า มาดํารงตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ งและบทบาทหน้าทีทีกําหนดไว้นั นต้องเป็ นทีรู้จักและเข้าใจกัน ระหวา่ ง บุคคลผู้ดํารงตําแหน่งเองกับบุคคลอืนทีเกียวข้องด้วย

9 อมรา พงศาพิชญ์ (2541: 7 อ้างถึงในทศพร อินจําปา, 2547: 56) ได้แสดงความเห็นไว้ว่า บทบาท คือ สิงทีทําให้เกิดเป็นบุคคล และเปรียบได้เสมือน “บท” ของตัวละคร ซึ งกําหนดใหผ้ ู้ แสดงละครนั นๆ เป็น“ละคร” อะไร มบี ทบาททีต้องแสดงอย่างไรถ้าแสดงผิดบทหรือแสดงไม่สม บทบาท กอ็ าจถูกเปลียนตัวไมใ่ ห้แสดงไปเลยในความหมายเช่นนี “บทบาท” กค็ ือ การกระทําต่างๆ ที “บท” กําหนดให้ผู้แสดงต้องทําตราบใดทียังอยู่ในบทนั น อานนท์ อาภาภิรมย์ (2541: 8 อ้างถึงในทศพร อินจําปา, 2547: 57) มีความเห็นว่า โดยปกติ วิสัยแล้วสถานภาพและบทบาทเป็ นสว่ นควบคู่กันไป แต่อยา่ งไรก็ดีบทบาทหนา้ ทียอ่ มขึ นอยกู่ บั บุคคลทีเข้าดํารงตําแหน่งนั นๆ เพราะฉะนั นบทบาทจึงเป็ นรูปการ (Aspect) ทีเคลือนไหวหรือ รูปการทางพฤติกรรมของตําแหน่ง จากแนวคิดเกียวกับความหมายของบทบาทดังกล่าวพอสรุ ปความหมายของบทบาทได้ว่า บทบาทหมายถึง พฤติกรรมทีมนุษย์แสดงออกมาตามหน้าทีหรือสถานภาพของแต่ละบุคคล ซึงเป็ น พฤติกรรมทีสังคมกําหนดและคาดหมายให้มนุษย์ปฏิบตั ิตามตามบทบาทของตนอย่างเหมาะสม โดยมีข้อบังคับ กฎเกณฑ์ วัฒนธรรมทางสังคมทีได้รับมาตามสิทธิและหน้าทีของตนเอง เพือการอยู่ ร่วมกันในสังคม 2.1.2 ลักษณะของบทบาท Cohen (1979: 35 อ้างถึงในจํานงค์ อญั ญวรวิทย,์ 2546: 10) ได้กล่าวถึงแนวคิดเกียวกับ บทบาทไว้ดังนี 1) บทบาททีถูกกําหนด(Prescribed Role) เป็นบทบาททีสังคมกําหนดไว้ให้ต้อง ปฏบิ ัติหน้าทีตามบทบาทหนึ งแม้ว่าบุคคลบางคนจะไม่ได้ประพฤติปฏิบตั ิตามบทบาททีคาดหวัง โดยผู้อนื เราก็ยังคงยอมรับวา่ บุคคลจะต้องปฏบิ ัติไปตามบทบาททีสังคมกําหนดให้ 2) บทบาททีปฏิบัติจริง (Enacted Role) เป็ นวิธีการทีบุคคลได้แสดงหรือปฏิบัติ ออกมาจริงตามตําแหน่ง 3) บทบาททีกระทําจริงเป็นบทบาททีเจ้าของสถานภาพได้กระทําจริง ซึงอาจจะ เป็ นบทบาททีสังคมคาดหว ังหรื อเป็ นบทบาททีตนเองคาดหว ังด้วย ฑิตยา สุวรรณะชฏ (2527: 4 อ้างถึงในทศพร อินจําปา, 2547: 57) ได้แสดงความคิดเห็น เกียวกับบทบาทไว้ว่าบทบาทเป็นลักษณะของพฤติกรรมทีถูกกําหนดโดยฐานะตําแหน่ง และยังได้ แบ่งบทบาทออกเป็นบทบาทตามอุดมคติ (Ideal Role) หรือบทบาททีผดู้ ํารงตําแหน่งทางสงั คมควร ปฏิบัติ และบทบาททีปฏบิ ัติจริง (Actual Role) หรือบทบาทผู้ดํารงตําแหน่งทางสังคม จะต้องปฏบิ ัติ จริงโดยเขากลา่ ววา่ บทบาททีปฏิบัติจริงนี เป็นผลรวมของ

10 1) บทบาทตามอดุ มคติ 2) อารมณ์ขณะแสดงบทบาทและอปุ กรณ์ของผู้ดํารงตําแหน่งทีมีอยู่ 3) ปฏบิ ัติกิริยาของผู้เกียวข้อง อย่างไรก็ตามฑิตยา สุวรรณะชฏ ได้กล่าวสรปุ ฐานะตําแหน่งและบทบาททางสังคมดังนี 1) มสี ถานภาพ (Status) อยู่จริงในทุกสังคม และมอี ยู่ก่อนทีตัวคนจะเข้าไปครอง 2) มบี ทบาททีจะเป็น (Ought To Be Role) ประจําอยู่ในแต่ละตําแหน่ง 3) วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีในสังคมนั นๆ เป็นส่วนหนึ งซึงสําคัญใน การก ําหนดฐานะต ําแหน่งและบทบาททีควรจะเป็ น 4) การทีคนเราจะทราบถึงฐานะตําแหน่งและบทบาทนั น ได้จากสถานการณ์ใน สังคมนั นๆ 5) บทบาททีควรเป็ นนั นไม่แน่นอนเสมอว่า จะเหมือนกับพฤติกรรมจริงๆ ของ คนทีครองฐานะตําแหน่งอืนๆ เพราะพฤติกรรมจริงนั นเป็ นผลปฏิกิริยาของคนทีครองฐานะ ตําแหน่งทีมตี ่อบทบาททีควรจะเป็นบุคลิกภาพของตนเอง และบุคลิกภาพของผู้อืนๆ ทีเข้าร่วมใน พฤติกรรมและเครืองกระตุ้น (Stimulus) ทีอยู่ในเวลา และสถานทีเกิดการติดต่อทางสังคม 2.1.3 แนวคิดเกียวกับบทบาท นอกจากนีมนี ักวิชาการหลายท่านได้ให้แนวคิดเกียวกับบทบาท ซึงอธิบายโดยนักจิตวิทยา ในแง่ของความสัมพันธ์ของกล่มุ ชนและนักสังคมวิทยาในแง่ของสถาบัน ตามทัศนะดังต่อไปนี ทัศนะของนักมานุษยวทิ ยาหลักใหญ่ของมานุษยวิทยา คือ บรรดาพฤติกรรมต่างๆ ของคน นั นถูกกําหนดโดยวัฒนธรรม(Manifestation of Culture) ซึงเป็นเสมอื นแกนกลางอนั เป็นกําลังหมนุ ตัวจักรทังหลาย มนี ักมานุษยวิทยาถือวา่ วัฒนธรรมเป็นผลเนอื งจากปฏิกิริยาของพฤติกรรมปกปิ ด (Cover Behavior) และพฤติกรรมเปิ ดเผย (Overt Behavior) ของคนทีมีต่อสิงแวดล้อมเพือการอยู่ ร่วมกันของคนในรูปของสังคม Linton (1936 อา้ งถึงในนิรันดร์ กมลาพร, 2549: 13) ให้แนวคิดในเรืองฐานะ ตําแหน่ง (Status) และบทบาท (Role) ของฐานะตําแหน่ง โดยถือว่าสังคมตั งอยูบ่ นรากฐานของการปฏิบัติ และการโต้ตอบจากสังคม ถ้าหากคนในสังคมนั นๆ ตอบโต้และให้ความ เห็นว่าฐานะตําแหน่งเป็ น นามธรรม หากจะกล่าวถงึ ตําแหนง่ หนึงตําแหน่งใดแล้วจะมตี ําแหน่งอนื มาเกียวข้องทนั ที เช่น จะ มีตําแหน่งผบู้ งั คับบัญชาไม่ได้ถา้ ไม่มีตําแหน่งผู้ใต้บงั คับบญั ชาทั งสองตําแหน่งนจี ะต้องคู่กัน เหมือนเหรียญสองด้าน ด้านหนึงเป็นตําแหน่งอกี ด้านหนึงเป็นบทบาทเมอื ตําแหน่งเป็นผลรวมของ สิทธิและหน้าที บทบาทกเ็ ป็นความประพฤติความสิทธินั นๆ

11 Nadel (1958: 29 อ้างถึงในนิรันดร์ กมลาพร, 2549: 13) นักมานุษยวิทยาชาวอังกฤษไม่เห็น พ้องกับLinton ในตอนทีกล่าวถึง “บทบาท” ทางสงั คม Nadel กล่าวว่าบทบาทที Linton ได้กล่าว ข้างต้นเป็ นเพียงการกล่าวอยา่ งกว้าง ๆ ถึงหลักทีเป็ นแนวทางของพฤติกรรมของตน(Governing Factor) Nadel ไดใ้ ห้สูตรเกียวกับบทบาทของคนไว้ดังนี p = a,b,c …….n. P = บทบาท a,b,c…n. = ส่วนประกอบทีส่งผล a = ส่วนประกอบทีส่งเสริมบทบาท b = ส่วนประกอบทีมีผลสําคัญต่อบทบาทและขาดไม่ได้ c = ส่วนประกอบทีเป็นไปตามกฎหมาย Nadelได้แบ่งสว่ นประกอบทีส่งผลของบทบาทออกเป็น 3 ชนิด คือ 1) ส่วนประกอบทีส่งเสริมบทบาท (Peripheral Attributes) ได้แก่ ส่วนประกอบ ของบทบาทชนิดทีแม้จะขาดหายไปก็ไม่ทําให้บทบาทผิดไป 2) ส่วนประกอบทีมีผลสําคัญต่อบทบาทและจะขาดไม่ได้(Requited Attributes) ได้แก่ ส่วนประกอบชนิดทีขากแล้วจะทําใหบ้ ทบาทนั นผิดไปจากบทบาททีฐานะตําแหน่งนั น ต้องการ ทั งยังจะเกิดปฏกิ ิริยาเรียกร้องส่วนประกอบอันนั น 3) ส่วนประกอบทีเป็นไปตามกฎหมายและกฎข้อบังคับทีปรากฏไว้อยา่ งชัดแจ้ง (Legitimating or Pivotal Attributes) ถา้ หากบทบาทใดขาดส่วนประกอบข้อนีและจะทําใหบ้ ทบาท ซึงเกิดจากฐานะตําแหน่งเปลยี นรปู เป็นบทบาทในฐานะตําแหน่งอย่างอืนๆ ทัศนะของนกั สังคมวิทยา Parson (1968: 64 อ้างถึงในนิรันดร์ กมลาพร, 2549: 13) มี ความเห็นเช่นเดียวกัน Linton วา่ ฐานะตําแหน่งและบทบาทของบุคคลเป็นสิงทีมีอยูแ่ ล้วบุคคลผู้อยู่ ใ น ฐ า น ะ ต ํา แ ห น่ ง ย่อ ม จ ะ ทํา ห น้า ที ที จ ะ ใ ห้ฐ า น ะ ต ํา แ ห น่ ง นั น มี บ ท บ า ท ไ ป ต า ม แ บ บ ฉ บับ นอกจากนั นParson ยังถอื ว่าระบบของสังคมคือระบบของการปฏบิ ัติต่อกัน(Social Actor) ไมใ่ ช่สิง เดียวกัน เพราะบุคลิกภาพ เป็ นรูปแบบของพฤติกรรมของคนใดคนหนึ งทีมีความสอดคล้อง เช่นเดียวกับบุคลกิ ภาพผู้เป็นเอตทัคคะตะในทางพฤติกรรมของคนซึงมีพฤติกรรมทีแสดงออกจริง ของคน Merton เป็ นผู้เพิมแนวความคิดเรืองฐานะตําแหน่งและบทบาท เขาได้นําเอาเวลาและ สถานทีซึงเป็นตัวแปรเปลียน(Variable) เข้ามาใช้ให้เกิดแนวความคิดเกียวกับชุดของฐานะตําแหน่ง (Status-Set) และชุดของบทบาท (Role-Set) กลา่ วคือ คนๆ หนึงจะต้องมีฐานะตําแหน่งทีจะตอ้ งเข้า ดํารงเป็นชุดส่วนทีจะมมี ากน้อยแต่ไหนแล้วแต่คนๆ นั น และชนิดของสังคมทคีนๆ นั นเป็นสมาชิกอยู่ ถ้าคนๆ นั นอยู่ในสังคมธรรมดาเช่นอยู่ในสังคมชนบทฐานะตําแหน่งคนนั นย่อมจะมีจํานวนน้อย กว่าคนทีอยู่ในสังคมเมอื ง

12 ทัศนะของนกั จิตวิทยาสงั คม จิตวิทยาสังคมนั นเป็ นวิชาทีประสานวิชาสงั คมวิทยาและ จิตวิทยาเข้าดว้ ยกัน วิชานั นมุ่งทีจะทําความเข้าใจและอธิบายว่าความคิดก็ดี ความรู้สึกก็ดีหรือ พฤติกรรมของคนนั นมีความสัมพันธ์เกียวขอ้ งกับการปรากฏตัวของคนอืน หรือสิงอืนๆ หรือ ความคิดทีวา่ คนอนื และสิงแวดล้อมเข้ามา เกียวข้องกับพฤติกรรมของคนอยา่ งไรบ้าง นักจิตวิทยา สังคมยอมรับวา่ ฐานะตําแหน่งและบทบาทนั นเป็ นสิงทีมีอยู่แล้ว ก่อนทีตวคั นจะเข้าสวมตําแหน่ง นั นจิตวิทยาเป็ นการศึกษาถึงปฏิกิริยาซึ งเป็ นพฤติกรรมทีเกิดขึ นระหว่าง“ตัว” (Self) กับฐานะ ตําแหน่งและบทบาท นักจิตวทิ ยาถือวา่ ตําแหน่ง(Position) เป็นแต่เพียงระบบของการคาดหวังบทบาท (System of Role Expectation) พฤติกรรมของคนจริงๆ ทีปรากฏนั นเป็นผลเนืองมาจากปฏิกิริยา(Product of Interaction) ระหว่าง “ตวั ตน” กับ “บทบาท” ทนั ทีทีคนๆ หนึ งทราบว่าตัวถูกคาดหวังว่าจะทํา บทบาทคนๆ นั นกจ็ ะเกิดความหวังบทบาทจากผทู้ ีจะมพี ฤติกรรมต่อซึงเรียกว่า การคาดหวังบทบาท ปฏิกิริยา (Reciprocal Role Expectation of Self) ดงั พฤติกรรมของคนเราจะเป็ นไปได้ถูกต้อง หรือไมข่ ึ นอยู่กับสิงต่อไปนี คือ 1) ความถูกต้องแน่นอนในการคาดหวังบทบาท ซึงขึ นอยูก่ ับการคาดการณ์ของ ตําแหน่งของตัวเองและผู้ทีจะมปี ฏิกิริยาต่อ 2) ความสันทนั ในการดําเนินบทบาท ซึ งขึ นอยู่กับประสบการณ์ทีมีลักษณะ คล้ ายคลึงกับเหตุการณ์ในขณะมีปฏิกิริ ยาเช่นเดียวกับผู้ แสดงละครทีเคยแสดงบทบาทในบทบาท หนึง แลว้ จะสามารถแสดงได้ดีกว่าบทบาททีตนไม่เคยแสดง 3) สภาพของ “ตวั ตน” ของคนๆ นั น ซึงหมายถึงจิตจะเป็ นผลต่อการคาดหวัง บทบาทและความสัมพันธส์ ันทัดในการดําเนินการบทบาทซึงหมายถึงว่า ถ้าหากในขณะทีแสดง บทบาทนั นหากผู้แสดงบทบาทอารมณ์ไม่ดีก็ยอ่ มแสดงได้แตกต่างจาการแสดงขณะอารมณ์ดีนั น หมายถงึ คนมคี วามรู้ความสามารถในบทบาทเฉพาะย่อมแสดงได้ดีกว่าคนทีไม่มีความสามารถใน เรืองนั นๆ จากความคิดดังกล่าวข้างต้นอาจสรุปได้วา่ บทบาท พฤติกรรมต่างๆ ทีมนุษย์แสดงออกมา เป็นพฤติกรรมทีมคี วามแตกต่างกัน เป็ นผลเนืองจากปฏิกิริยาของมนุษย์ทีมีต่อสิงแวดล้อมทําให้ เกิดความมรี ะเบียบ มนุษย์ทุกคนรู้จักหนา้ ทีของตนเองส่งผลให้เกิดความสงบสุขในสังคม 2.1.4 ปัจจัยทีมีอิทธิพลต่อการแสดงบทบาท Allport (1967: 181-184 อ้างถงึ ในนิรันดร์ กมลาพร, 2549: 16) ได้กลา่ วว่า บุคคลจะแสดง พฤติกรรมในขณะดํารงตําแหน่งขึ นอยู่กับปัจจัย4 ประการ คือ

13 1) บทบาททีคาดหวัง(Role Expectation) คือ บทบาทตามความคาดหวังทบี ุคคล อนื หรือสงั คมคาดหวังให้บุคคลอนื ปฏบิ ัติเมือดํารงตําแหน่งหนึงในสังคม 2) มโนทัศน์ของบทบาท (Role Conception) คือ การทีบุคคลมองเห็นบทบาทตาม ความรับรู้ของตนเอง หรือตามความคาดหวังของตนเอง ว่ามีบทบาทเป็ นอย่างไรตามวิถีทางของ ตนเอง ซึงอาจจะสอดคล้องกับความคาดหวังและมโนทัศน์ของบทบาท 3) การยอมรับบทบาท (Role Acceptance) คือ การยอมรับบทบาทของบุคคลจะ เกิดขึ นภายหลังเมือมคี วามสอดคล้องกันเองของบทบาททีคาดหวังและมโนทัศนข์ องบทบาท 4) การปฏิบัติตามบทบาท (Role Performance) คือ การแสดงบทบาทตามสภาจริง (Actual Role) ซึงอาจจะแสดงตามบทบาททีคาดหวังตามการรับรู้และเข้าใจของตนเองตลอดจน การทีบุคคลจะแสดงบทบาทได้ดีเพยี งใดยอ่ มขึ นอยู่กับการยอมรับบทบาทนั นๆ ของบุคคลทีครอง ตําแหน่งอยู่หรือเนืองมา จากความสอดคล้องของบทบาทตามความคาดหวังของสังคมและตามการ รับรู้บทบาทของตนเอง สมยศ นาวีการ (2521: 142 อ้างถึงในนิรันดร์ กมลาพร, 2549: 17) ได้กล่าวถึงปัจจัยทีมี อิทธิพลต่อการปฏิบัติงานของบุคคลไว้ดังนี 1) ปัจจัยทางด้านสถานการณ์(Situation Factors) อันประกอบด้วย (1) สภาพแวดล้อมในการทํางานโดยทีผู้บริหารจะมีอิทธิพลโดยตรงต่อปัจจัย (2) อปุ กรณ์และวัสดุทีใช้ในการดําเนินงาน รวมทั งผู้ปฏิบัติงานด้วย 2) การรับรู้ทางด้านบทบาท (Role Perception) หมายถึง แนวทางทีบุคคลให้ ความหมายงานของเขาประเภทของกําลงั ความพยายามทีเขาเชือว่ามีความสําคัญต่อผลการ ปฏบิ ัติงานทีมีประสิทธิภาพ 3) ความสามารถและทักษะ (Ability and Skills) โดยมคี วามสามารถเป็ นลักษณะ ของบุคคลและทักษะ หมายถงึ ระดับความเชียวชาญในงานเฉพาะอย่างจะเรียนรู้ทักษะทีเกียวพันได้ ดีกวา่ 4) กระบวนการจูงใจ (The Motivation Process) การจูงใจอาจนบั ได้ว่าเป็ นปัจจัย ทีเป็นตัวกําหนดการปฏบิ ัติงานของบุคคลใดบุคคลหนึ งทีมีผลต่อการปฏิบัติงานในสถานการณ์ที กําหนดให้ 2.1.5 ปัจจัยทีส่งผลถึงบทบาทของบุคคลนัน มีผู้ให้ความเห็นไว้หลายประการดังนี 1) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่คุณลักษณะเฉพาะตัวของบุคคลนั นๆณรงค์ เส็งประชา (2530: 90 อ้างถึงในน้องนุช ประสมคํา, 2546: 25) กล่าวว่าตําแหนง่ เดียวกัน ผู้ดํารงตําแหน่งคนละ

14 คน อาจมีบทบาทหน้าทีต่างกันไป เพราะต่างคนต่างนิสัย ความคิด ความสามารถ การอบรม กําลังใจมูลเหตุจงู ใจ ความพอใจในสิทธิหน้าที สภาพของร่างกายและจิตใจไม่เหมือนกัน สุพัตรา สุภาพ (2536: 30 อ้างถึงในน้องนุช ประสมคํา, 2546: 25) กล่าวว่า ยิงสังคมซับซอ้ นขึ นเท่าใด บทบาทยิงแตกต่างไปมากขึ นเท่านั น 2) ปัจจัยทางสังคมได้แก่ปัจจัยทีมาจากการกําหนดและคาดหวังของสังคมให้แก่ บุคคลทีดํารงตําแหน่งหรือสถานภาพนั นๆได้ปฏิบัติตาม ณรงค์ เส็งประชา (2530: 90 อ้างถึงใน น้องนุช ประสมคํา, 2546: 25) ได้กล่าวว่า บทบาทเป็นพฤติกรรมทีสังคมกําหนด และคาดหมายให้ บุคคลกระทํา นอกจากนี แล้วยังขึ นอยู่กบั ลักษณะส่วนบุคคลของผู้นั นอีกด้วยปัจจัยทีส่งผลต่อ บทบาทของบุคคลในสังคม ประกอบด้วยสถานภาพและบทบาท ซึงเป็ นปัจจัยส่งเสริมซึงกันและ กันในการยกระดับคุณภาพของบุคคลในสังคมกล่าวคือ สถานภาพจะเป็นตัวกําหนดบทบาทในการ แสดงพฤติกรรมของบุคคลในสังคม และผลของการแสดงพฤติกรรมจะช่วยส่งผลสะท้อน กลับไป ส่งเสริมสถานภาพของบุคคลให้ปรากฏชัดในสังคม 2.2 แนวคิดทฤษฎเี กยี วกับบทบาทครูอาจารย์ 2.2.1 ความหมายของคําว่า “ครู” คําว่า ครู ซึงแต่เดิม มีรากศัพท์มาจากคําว่า “ คุรุ – ครุ ” ในภาษาบาลีและสันสกฤตซึ ง แปลว่าผู้มีความหนักแน่น, ผู้ควรศษิ ย์เคารพ, ผู้สังสอน ซึงกค็ ล้ายคลงึ กับความหมายในพจนานุกรม ราชบัณฑิตยสถาน ฉบับพทุ ธศักราช2525 (อนิ ถา ศริ ิวรรณ, 2551: 2) ทีวา่ “ ครู ” คือ ผู้สังสอนศิษย์ ผู้ถา่ ยทอดความรู้ให้แก่ศษิ ย์ ได้แก่ผู้ทีทําหน้าทีสังสอนให้การศกึ ษาแก่ผู้อืน พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภูมพิ ลอดุลยเดชไดพ้ ระราชทานแก่ครูอาวุโสในโอกาสทีเข้า เฝ้ าฯ รับพระราชทานเข็มเครืองหมายเชิดชูเกียรติมีข้อความทีเกียวกับลักษณะของครูทีดีไว้ตอน หนึ งว่า \"ครูทีแท้นั น ต้องเปน็ ผู้กระทําแต่ความดี คือ ต้องหมันขยันและอุตสาหะพากเพียร ต้อง เอือเฟื อเผือแผ่และเสียสละ ต้องหนักแน่น อดกลั นและอดทน ต้องรักษาวินยั สํารวมระวังความ ประพฤติของตนให้อยู่ในระเบียบแบบแผนอันดีงามต้องปลีกตัวปลีกใจออกจากความสบาย และ ความสนุกรืนเริงทีไม่ควรแก่เกียรติภูมิ ต้องตั งใจใหม้ ันคงและแน่วแน่ ต้องซือสตั ย์รักษาความ จริงใจ ต้องเมตตาหวังดีต้องเมตตาหวังดีต้องวางใจเป็นกลาง ไม่ปล่อยไปตามอํานาจคติต้องอบรม ปัญญาให้เพิมพูนสมบูรณ์ขึ นทั งในด้านวิทยาการและความรู้ในเหตุผล(อินถา ศิริวรรณ, 2551: 2) พระราชบัญญัติสภาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา (2546 อ้างถึงในวศิน กาญจนวณิชย์กุล, 2549: 108) “ครู” หมายความว่า บุคคลซึงประกอบวิชาชีพหลักทางด้านการเรียนการสอนและการ

15 ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวธิ ีการต่างๆ ในสถานศึกษาปฐมวัยขั นพืนฐานและอดุ มศึกษาทีตํา กว่าปริญญาทั งของรัฐและเอกชน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2542 และทีแก้ไขเพิมเติม (ฉบับที 2, 2545 อ้างถึงใน วศนิ กาญจนวณิชย์กุล, 2549: 108) “ครู” หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพซึงทําหน้าทีหลักทางด้าน การเรียนการสอนและการส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวธิ ีการต่างๆ ในสถานศึกษาและของรัฐ และเอกชน พทุ ธทาสภิกขุ (2527: 92 อ้างถึงในอินถา ศิริวรรณ, 2551: 3) กล่าวว่า คําว่า \"ครู\" เป็ นคําที สูงมาก เป็ นผู้เปิ ดประตูทางวิญญาณ แล้วก็นําให้เกิดทางวิญญาณไปสู่คุณธรรมเบืองสูงเป็ นเรือง ทางจิตใจโดยเฉพาะ มิได้หมายถงึ เรืองวัตถุ อําไพ สุจริตกุล (2534: 47-48 อ้างถึงในอินถา ศิริวรรณ, 2551: 3) กล่าวว่า คําว่า \"ครู\" \"ปู ่ ครู\" \"ตุ๊ครู\" และ \"ครูบา\" ในสมัยโบราณ หมายถึง พระสงฆ์ผู้ทําหนา้ ทีสอนกุลบุตรทุกระดับอายุ ตั งแต่วัยเด็ก จนถึงวัยรุ่น สอนทั งด้านอักขรวิธี ทั งภาษาไทย และภาษาบาลี สอนใหเ้ ป็ นคนดีมี วิชาชีพ ตลอดจนความรู้ทางพระพทุ ธศาสนา แม้เมือศิษย์มีอายุครบบวชแล้วก็ยังคงศกึ ษาในวัดหรือ สํานักนั นๆ ต่อไป จนมคี วามรู้ความชํานาญสามารถถ่ายทอดวิชาทีได้รับการสังสอนฝึ กฝนจากครู บาของตนใหแ้ ก่ศิษย์รุ่นหลังของสํานักต่อไป หรืออาจลาไปแสวงหาความรู้ความชํานาญต่อจาก พระสงฆ์หรือครูบา หรือตุ๊ครู ณ สํานักอนื เมอื เชียวชาญแล้วก็กลับมาช่วยสอนในสํานกั เดิมของตน จนเป็ นครูบาสืบทอดต่อไป พุทธทาสภิกขุ (2521: 100-111 อ้างถงึ ในนิรันดร์ กมลาพร, 2549: 18) ไดใ้ ห้ความหมายและ ความสําคัญของครู ดังนคี รูเป็นผู้ทําหน้าทีอันประเสริฐ ครูเป็ นผู้นําทางวิญญณา ของสัตว์โลกไปสู่ จุดมุง่ หมายปลายทางทีพงึ ปรารถนา ครูเป็นสถาบันใหญ่ทีครองโลก ครูเป็ นผู้อํานวยการศึกษา ครู เป็นปชู นียบุคคลเป็นเจ้าหนี ทียิงใหญ่ ครูเป็นทีเคารพสักการะของมนุษย์ เป็นผู้ปั นโลกให้งดงามให้ ความสงบสุขและให้มีค่า ปัญญานันทภิกขุ (2521: 1-4 อ้างถงึ ในนิรันดร์ กมลาพร, 2549: 18) ได้ใหค้ วามหมายและ ความสําคัญของครูว่า “ครู” คือผู้กุมความเป็ นความตายของชาติไว้ในมือ เป็ นผู้คุมชะตาของ บ้านเมืองและของโลก ครูคือพระซึ งแปลว่าผู้ประเสริฐ ครูไม่ใช่ลูกจ้าง งานทีครูทาํ นั นเพือ ประโยชนแ์ ก่สังคมเป็นงานทีมีเกียรต ปิ น มุทุกันต์ (2525: 243 อ้างถึงในนิรันดร์ กมลาพร, 2549: 18) ไดใ้ ห้ความหมายและ ความสําคัญของครูไว้3 ประเภท คือ ครูประจําบ้าน ได้แก่ บิดา มารดา นับเป็นครูแรกของชีวิตทีให้ การอบรมสังสอนเลียงดูเป็นครูพเิ ศษ ครูประจําโรงเรียน ได้แก่ ครู อาจารย์ทีทําการอบรมสังสอน เยาวชน ตามสถานศึกษาต่างๆ เป็ นครูมีหน้าทีสําคญั และหนักมาก และครูประจาํ โลก ได้แก่

16 พระสงฆ์ ผู้สังสอน พระศาสนาจากพระธรรมทีพระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้ และเป็ นครูทีอบรมสังสอน ให้คนทั งหลายเป็นคนดี มีความสุขความเจริญ เป็นความร่มเย็นแห่งชีวิต ยนต์ ชุ่มจิต (2526: 49-50 อ้างถึงในนิรันดร์ กมลาพร, 2549: 18) กล่าวถึงบทบาทของครูว่า บทบาทของครูในอดีต คือ ครูเป็ นผู้อบรมสังสอนใหบ้ ุตรหลานมีความรู้ความสามารถอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็ น ครูเป็ นแม่พิมพท์ ีดีทังด้านความรู้สึกและความประพฤติ ครูเป็ นผู้พัฒนา คุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมให้แก่นักเรียน จากความหมายข้างต้นพอสรุปได้ว่า ครู คือ บุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา ตั งแต่ ระดับการศึกษาขั นพืนฐานถงึ ระดับการศึกษาตํากว่าปริญญาตรี ทําหน้าทีหลักในการจัดการเรียน การสอนให้ตรงตามความต้องการของผู้ เรี ยนและตรงตามหลักสูตรสถานศึกษาภายใต้โครงสร้าง หลักสูตรแกนกลาง โดยมกี ระบวนการจัดการเรียนการสอนทีแตกต่างกัน เช่น การจัดการเรียนการ สอนโดยการใช้สือ การเรียนการสอนจากการแหล่งเรียนรู้ที 2.2.2 บทบาทของครู รุ่ง แก้วแดง (2543: 130) ได้กลา่ วถงึ บทบาทครูไว้ว่า ครูมีบทบาทและความสําคัญอย่างยิง ในฐานะผู้ให้การศกึ ษาของชาติ ครูคือผู้ทีกําหนดอนาคตของชาติในชาติ ชาติใดก็ตามทีได้ครูเป็ น คนมีความรู้ เป็นคนเก่ง เป็นคนเสียสละ ตั งใจทํางานเพือประโยชนข์ องนักเรียน ชาตินั นได้พลเมือง ทีเก่งและฉลาด มีศักยภาพและมคี วามสามารถทีจะแข่งขันกับทุกประเทศในโลกได้ Havinghuerst and Levine (อ้างถงึ ในรัตนวดี โชติกพนิช, 2550: 25–27) ได้กลา่ วถงึ บทบาท ครูไว้ 2 ด้านคือ 1) บทบาทของครูในชุมชน มีหลายบทบาท เช่น (1) ผู้นําการเปลียนแปลงและนักปฏริ ูปสังคม (2) ผู้ริเริมบุกเบิกความคิด (3) ผู้ผดุงรักษาวัฒนธรรม (4) ผู้ควรแก่การยกย่อง (5) ผู้ให้บรกิ ารสาธารณะ 2) บทบาทของครูในโรงเรียน มหี ลายบทบาท เช่น (1) ผู้อบรมเลียงดหู รือสร้างสังคมประกิต (2) ผู้เป็นตัวกลางหรือผู้ก่อให้เกิดการเรียนรู้ (3) ผู้รักษาวินัย (4) ผู้เป็นเสมอื นพอ่ แม่

17 (5) ผู้ตัดสินหรือรักษากติกา (6) ผู้เป็นทีพึงของเดก็ Johnson (อ้างถึงในรัตนวดี โชติกพนิช, 2550: 25–27) ไดเ้ สนอบทบาทของครูไว้ 7 ประการ คือ 1) ผู้นําของเด็ก 2) ทีปรึกษาของเดก็ 3) ผู้ชํานาญในการสอน 4) มติ รของเดก็ 5) ผู้กําหนดจุดประสงค์ 6) ผู้วัดผลและประเมินผล 7) ผู้กระตุ้นให้เด็กปรับตัวเข้ากับสังคม Barr and Others (อ้างถึงในรัตนวดี โชติกพนิช, 2550: 25–27)ได้พิจารณาในการวัดผลและ พยากรณ์ ประสิทธิผลของครูผ่านบทบาทหน้าที 4 ด้าน คือ 1) ครูในฐานะผู้อํานวยการสอน 2) ครูในฐานะเพือนและผู้ให้คําปรึกษาแก่นักเรียน 3) ครูในฐานะสมาชิกคนหนึงของชุมชนโรงเรียน 4) ครูในฐานะสมาชิกของสมาคมวชิ าชีพ Dictionary of Education (ยนต์ ชุมจิต 2531: 49–55 อ้างถึงในนิรันดร์ กมลาพร, 2549: 18) ไดใ้ ห้ความหมายของความรับผิดชอบไวว้ า่ “หน้าทีประจําของแต่ละบุคคล เมือเขาได้รับมอบหมาย ใหท้ ํางานอย่างใดอย่างหนึ ง” ส่วนความหมายของครู ในทีนี จะอธิบายตามรูปคําภาษาอังกฤษ คือ “Teachers” โดยสรุปจากคําอธิบายของยนต์ ชุ่มจิต ในหนังสือ ความเป็นครู ดังนี T – Teaching (การสอน) หมายถึง บทบาทในการทําหน้าทีสังสอนศษิ ย์ให้เป็นคน ดีมีความรู้ ในวิชาการทั งปวงซึงถือวา่ เป็นงานหลักของครูทุกคน ทุกระดับชั นทีสอนดังนั นครูทุก คนจึงควรตระหนักในเรือง การสอนเป็นอนั ดับแรก โดยถือว่า หัวใจความเป็นครู คือ การ อบรมสัง สอนศิษย์ให้เป็นคนดีมีความรู้ในวิทยาการทั งปวง E – Ethics (จริยธรรม) หมายถึง การทีครูมีหนา้ ทีและความรับผดิ ชอบใน การ ส่งเสริมจริยธรรมให้แก่นักเรียน ซึงถอื วา่ เป็ นหนา้ ทีและ ความรับผดิ ชอบทีสําคัญอีกประการหนึง ของครู นอกจากครู อาจารย์จะต้องอบรมส่งเสริมให้นักเรียนเป็ นผู้มีจริยธรรมแล้ว ครูทุกคนก็ จะต้องประพฤติปฏิบัติตนให้เป็ นผู้มีจริยธรรมอันดีงามเหมาะสมด้วย เพือเป็ นตัวอย่างทีดีแก่ลูก ศษิ ย์

18 A – Academic (วิชาการ) หมายถึง การทีครูต้องมีหน้าทีและความรับผดิ ชอบ ในทางวิชาการ ทั งของตนเองและของลูกศิษยด์ ังนั นครู อาจารย์ทุกคนต้องศึกษาหาความรู้เพิมเติม อยู่เป็นประจําหาก ไมท่ ําเช่นนั นก็จะเป็นคนทีล้าสมัยไม่ทันต่อวิทยาการใหม่ๆ ซึงมีอยู่มากมายใน ปัจจุบันนี C – Cultural Heritage (การสืบทอดวัฒนธรรม) หมายถงึ ครู อาจารย์ต้องทําหน้าที และรับผิดชอบในการสืบทอดวัฒนธรรมจากคนรุ่นหนึงไปยังคนอกี รุ่นหนึงซึงครูอาจทําได2้ ทาง คือ 1) การปฏิบัติตนตามขนบธรรมเนียมประเพณีทีดีงามของชาติ เช่น แต่ง กายให้ถูกต้อง เหมาะสมกับโอกาสและสถานทีหรื อการแสดงความเคารพและกริ ยามารยาทแบบ ไทยๆ หรือการจัดงานพธิ ีต่างๆเช่น งานแต่งงาน งานบวช เป็นต้น 2) การอบรมสังสอนให้ลูกศิษย์เข้าใจในวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีไทยทีดี H – Human Relationship (มนุษยสมั พันธ)์ หมายถึง ครูอาจารย์ต้องทําตัวใหม้ ี มนุษยสัมพันธ์ทีดีต่อบุคคลทัว ๆ ไป เพราะการมีมนุษยสมั พันธ์ทีดีจะช่วยใหค้ รูสามารถปฏิบัติ หนา้ ทีการงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพทั งในส่วนตัวและส่วนรวม การมีมนุษยสัมพันธ์ของครู สามารถจําแนกออกได้ดังนี 1) มนุษยสัมพันธ์ระหวา่ งครูกับนักเรียนครูควรสอนให้ลูกศิษย์มีความรู้ ในวชิ าการต่างๆ มี ความประพฤติทีดี เป็นทีปรึกษาของลูกศิษย์ พยายามหาทางช่วยเหลือถ้าลูกศิษย์ มปี ัญหา 2) มนุษยสัมพันธ์ระหว่างครูกับครู ครูทุกคนควรมีความสามัคคีกัน ถ้า สถานศกึ ษาใดมี ครูอาจารย์ทีสมานสามัคคีกันการพัฒนาโรงเรียนและวิชาการก็จะเจริญก้าวหน้าไป รวดเร็ว 3) มนุษยสัมพันธ์ระหวา่ งครูกับผู้ปกครองและชุมชนผู้ปกครองนักเรียน เป็นบุคคลกลมุ่ หนึงทีมบี ทบาท สําคัญต่อการเรียนการสอนและการพัฒนาโรงเรียน E – Evaluation (การประเมินผล) หมายถงึ การประเมินผลการเรียนการสอน ของ นกั เรียน หน้าทีและความรับผิดชอบในด้านนี ถือว่ามี ความสําคัญยิงประการหนึ ง เพราะการ ประเมินผลการเรียนการ สอนเป็นการวัดความเจริญก้าวหน้าของลูกศิษย์ในด้านต่างๆหากครูสอน แล้วไมม่ ีการวัดผลครูก็ไม่สามารถรู้ได้วา่ ลูกศิษย์ของตนเองจะมีความเจริญก้าวหน้ามากนอ้ ยพียง ใด ดังนั นครูจึงควรระลึกเสมอว่า“ทีใดมีการสอน ทีนันต้องมกี ารสอบด้วย” สําหรับการประเมนิ ผล ของนักเรียน สามารถทําได้หลาย แบบ

19 1) การสังเกต 2) การสัมภาษณ์ 3) การสอบ 4) การศกึ ษาเป็นรายบุคคล 5) การใช้แบบสอบถามและแบบสํารวจ 6) การบันทึกย่อและระเบียนสะสมและอนื ๆ อีก R – Research (การวิจัย) หมายถึง การทีครูต้องเป็ นนักแก้ปัญหา เพราะการ วิจัย เป็นวิธีการแก้ปัญหาและการศึกษาหาความรู้ความจริงที เชือถือได้โดยใช้วธิ ีการทีเชือถือได้ S – Service (การบริการ) หมายถึง การใหบ้ ริการแก่ศิษย์ ผู้ปกครองและ ชุมชน เช่น การให้บริการความรู้แก่คนในท้องถิน ทั งในด้าน ความรู้ทางอาชีพ สุขภาพอนามัย การให้ คําปรึกษาหารือและ การร่วมกันแก้ปัญหาของชุมชนเป็นต้น กลา่ วโดยสรุป ครูเป็นผู้ทีมบี ทบาทสําคัญอยา่ งยิงในทางการศึกษาไม่ว่าจะเป็ นแบบอย่าง ในการเรียนการสอนให้แก่ศิษย์ แบบอย่างในการประพฤติปฏิบัติตนตามคุณธรรมจริยธรรม ตลอดจนการถา่ ยทอดวิชาการความรู้ให้แก่ศิษย์โดยไม่ปิ ดบังอําพางเป็ นผู้เสียสละส่วนร่วมมากว่า ส่วนตัว และตอ้ งเป็ นผู้รักในการสอน ซึงการสอนเป็ นหัวใจของความเป็ นครู ควบคู่ไปกับการ ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมให้แก่ศิษย์ให้ตงั มันอยู่ในคุณงามความดีอีกทั งยังเป็ นผู้ทีมีความรู้ดี พยายามหาความรู้อยู่เสมอ เพอื นํามาพัฒนาการเรียนการสอนให้มปี ระสิทธิภาพมากขึ น และเป็ นผู้ที มนุษยสัมพันธ์ทีดีต่อบุคคลผู้พบเห็นซึงจะช่วยใหก้ ารทํางานหรือการทําหน้าทีในทั งส่วนรวมและ ส่วนตัวประสบความสําเร็จได้ 2.2.3 บทบาทของครูทีต้องปรับเปลียน รุ่ง แก้วแดง(2543: 137) ครูได้เป็นกําลังสําคัญและมีบทบาทในการให้การศึกษากับเยาวชน ในระบบโรงเรียนอยา่ งต่อเนืองมาเป็นเวลากวา่ ร้อยปี แต่อนาคตต่อจากนี ไป บทบาทของครูจะต้อง เปลยี นไปจากเดิม เพราะการเรียนการสอนในปัจจุบันไม่สอดคล้องกับความก้าวหน้าของสังคมใน ยุคข้อมูลข่าวสารด้วยเหตุผลอย่างน้อย2 ประการ คือ 1) ครูเน้นวธิ ีสอนแบบนําความรู้มาบอกนักเรียน กิจกรรมส่วนใหญ่ในห้องเรียน จึงเป็นของครูผู้สอน ดังได้กล่าวแล้วในเรอื งการปฏิวัติกระบวนการเรียนรู้ เมือแนวคิดใหม่เน้นให้ ผู้เรียนได้เรียนด้วยตนเอง และลดบทบาทการบอกของครูลง จึงจําเป็นอย่างยิงทีจะต้องปรับบทบาท ของครูใหม่

20 2) บทบาทของเทคโนโลยีในการเรี ยนรู้ การเรี ยนการสอนส่วนใหญ่ใช้ เทคโนโลยีเกือบทั งหมดโลกยุคปัจจุบันเป็ นโลกของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ซึ งได้เข้ามามี ผลกระทบอย่างมากต่อกระบวนการเรียนการสอน ในโลกยุคใหม่นักเรียนจะเรียนด้วยตนเองได้โดย อาศัยคอมพิวเตอร์และอนิ เตอร์เน็ตจึงถงึ ทีบทบาทของครูจะต้องเปลียนแปลง 2.2.4 หน้าทแี ละความรับผิดชอบของครูทวั ไป อินถา ศิริวรรณ (2551: 56–57) ได้ให้ความหมายไว้วา่ หน้าทีความรบั ผิดชอบ ของครูทัวไป หมายถึง พฤติกรรมของครูทีต้องแสดงออกให้เหมาะสมกบั ตําแหน่งหนา้ ทีการงาน โดยมีขอบเขต ของการกระทําตามกฎหมายตามทีสังคมคาดหวังและจากสามัญสํานึกของเราเนืองจากครูเป็ นผกู้ ่อ ให้ เกิดความรู้และพัฒนาตนทุกๆ ด้าน ทั งยังเป็ นผู้มีคุณธรรมจริยธรรมเช่นเดียวกับคนดี ทัวไปๆ ไป จึงมผี ู้กล่าว ถงึ บทบาทหนา้ ทีความรับผดิ ชอบของครูไว้หลายลักษณะอาจพิจารณาในแง่ของ ภาวะหน้าทีตามกฎหมายหรือภาวะหน้าทีตามทีสังคมคาดหวังหรืออาจพิจารณาตามบทบาทหนา้ ที ความรับผิดชอบของครูครอบคลุมหมดทุกๆ ด้าน โดยทัวไปมนี ักเรียน เป็นต้น 1) รักการอา่ น รักการศึกษา ปรับปรุงตนเองให้ทันสมัย มคี วามเชือมั นและศรัทธา ในอาชีพครู 2) ความคิดเป็นของตนเอง กล้าแสดงออกเพือเผยแพร่ความคิดเห็นหรือ ความรู้ ใหม่ ๆ สาธารณะ 3) พฤติกรรมและวางตนอยู่ในกรอบศีลธรรมจรรยา อนั เป็ นบรรทัด ฐานที ยอมรับกันทั วไปในชุมชน 4) ประกอบอาชีพเพือหารายได้เลียงชีพทีพอสมควรแก่อัตภาพมานะบากบัน มัธยัสถ์ 5) รักษาความสามัคคีระหว่างครู ไม่แบ่งแยกสถาบัน และวฒุ ิ 6) ช่วยรักษาผลประโยชนใ์ ห้แก่เพือนครูด้วยกัน 7) เป็นทีปรึกษาความรู้และวทิ ยาการใหม่ๆ ให้เป็ นทีปรึกษา แนะนําดี เมือเพือน ครูประสบปัญหาหรือความเดือดร้อน 2.2.5 หน้าทีและความรับผิดชอบของต่อสถานศึกษา ควรปฏิบตั ิดงั นี (อ้างถึงในอินถา ศิริวรรณ, 2551: 56-57) คือ 1) ช่วยสร้างศรัทธาจากประชาชนให้กับโรงเรียนของตน 2) จัดหาวัสดุอุปกรณ์การเรยี นการสอนและเทคโนโลยีใหมๆ่ ให้กับโรงเรียน

21 3) ช่วยพัฒนาโรงเรียนให้สะอาด สวยงามน่าอยู่ 4) เอาใจใส่รักษาผลประโยชน์ของโรงเรียน 5) ช่วยปกป้ องภัยพิบตั ิอันอาจจะเกิดกับโรงเรียน 6) ช่วยรักษาชือเสียงของโรงเรียนใหม้ คี วามก้าวหน้าทั งทางด้านวิชาการ กิจกรรม ต่างๆ 7) ช่วยกิจการต่างๆ ของโรงเรียนให้ลลุ ว่ งไปด้วยดี 8) ช่วยส่งเสริมจริยธรรมและศีลธรรมอันดีงามให้แก่บุคคลของโรงเรียน 2.2.6 หน้าทีและความรับผิดชอบของครูต่อเพือนครู (อ้างถึงในอินถา ศิริวรรณ, 2551: 56 -57) ควรปฏิบัติดังนีคือ 1) เอือเฟื อช่วยเหลอื ส่วนตัวเท่าทีสามารถจะกระทําได้ 2) รักษาชือเสียงของคณะครูและให้เกียรติแก่กัน 3) ปฏบิ ัติหน้าทีแทนเมือเพอื นครูตอ้ งมภี าระอืนทางราชการหรือ เจ็บป่ วยไข้ 4) ช่วยป้ องกันอันตรายทั งปวง อันอาจมแี ก่เพอื นครู 2.2.7 หน้าทีและความรับผิดชอบของครูต่อผู้ปกครองนกั เรียน(อินถา ศิริวรรณ, 2551: 56 -57) ครูกับผู้ปกครองหากได้ร่วมมือกันแล้ว ก็จะได้ช่วยกันแกป้ ัญหา และพัฒนาตนได้อย่าง ถูกต้อง หรือช่วยแก้ปัญหาอันอาจจะเกิดขึ นแก่ตัวเด็กหรือผู้ปกครอง ครูจึงควรเอือเฟื อช่วยเหลือ ดังนี 1) ร่วมมือกับผู้ปกครองเพือช่วยแกป้ ญั หาของเด็กอันอาจจะเกิดขึ นหรือความ ประพฤติ 2) ให้คําแนะนําหรือเปน็ ทีปรึกษาแก่ผู้ปกครองเกียวกับการศกึ ษาการเลือกอาชีพ ของนักเรียน 3) ร่วมมอื กบั ผู้ปกครองในการอบรมสังสอน 4) ให้ความเอือเฟื อช่วยเหลอื ในกิจกรรมบางอย่างของผู้ปกครองตามเหมาะสม 5) ช่วยเหลือแก้ไขปัญหาต่างๆ อันเกิดขึ นกับผู้ปกครอง 6) รายงานผลการศกึ ษาของเดก็ ให้ผู้ปกครองทราบเป็นระยะ 7) แสวงหาทุนการศึกษาต่อให้แกเ่ ด็กทีฐานะทางเศรษฐกิจของผู้ปกครองไมด่ ี

22 2.2.8 หน้าทแี ละความรับผิดของครูต่อผู้บังคับบญั ชา(อ้างถึงในอินถา ศิริวรรณ, 2551: 56 -57) ควรปฏิบัติดังนี คือ 1) แสดงความเคารพผู้บังคับบัญชาด้วยใจจริง 2) สนับสนุนนโยบายทีผู้บังคับบัญชากําหนดไว้ด้วยความสุจริตใจ 3) ไม่กล่าววา่ เทจ็ หรือรายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชา 4) ไม่รวมกลุ่มสนับสนุนผู้บังคบั บญั ชาให้ปฏิบัติผิดต่อระเบียบแบบแผนทาง ราชการ 5) ปกป้ องอันตรายทั งปวงอันอาจจะเกิดขึ นกับผู้บังคับบัญชา 6) ปฏิบัติงานทีได้รับมอบหมายจากผู้บงัคับบัญชาในฐานะเป็นเพอื นรุ่นเดียวกัน 7) ไมแ่ สวงหาประโยชนจ์ ากผู้บังคบั บัญชาในฐานะเป็นเพอื นรุ่นเดียวกัน 8) ไมเ่ อาอามสิ ของขวัญอันมคี ่ามอบใหผ้ ู้บังคับบัญชาเพอื หวังลาภยศ 9) ไม่ผูกขาดความรัก ความเคารพ ความใกล้ชิดต่อผู้บังคับบัญชมาากจนเกินไป 10) ไมก่ ระทําให้ผู้บังคับบัญชาต้องเสือมเสียในด้านควาปมระพฤติและศลี ธรรม 2.2.9 คุณลักษณะของครูอาจารย์ทดี ี (พระราชวรมนุ ี) (ประยุทธ์ ปยุตโต), 2528: 238) ความดีนั นเป็นหลักสากล สามารถทีจะทอแสงแห่งความดีนั นได้ในสถานภาพหรือภาวะ ต่างๆ ดังนั นครูดีก็จะมลี ักษณะทีคล้ายคลงึ กับคนดีประเภทอืนๆ เช่น ทหารดี ตํารวจดี นกั ธุรกิจดี นักการเมอื งดี จะต่างก็เฉพาะรายละเอียดกิจกรรมตามแบบวิชาชีพนั นๆ อันเป็ นทีแสดงออกหรือ ปรากฏของความดีเท่านั น ในแง่ของพระพุทธศาสนาได้มหี ลักทีแสดงให้เป็นลักษณะของความเป็นครูดีไว้มากมายจะ ขอยกมากล่าวเพียงบางประการพอสงั เขป กล่าวคือ ครูทีดีต้องมีกัลยาณมิตรธรรม 7 ประการ ซึง พระราชวรมนุ ี (ประยุทธ์ ปยุตโต), 2528: 238) ได้กําหนดคุณลักษณะครูทีดีไว้ดังนี 1) เป็ นกัลยาณมิตร ประกอบด้วยองค์คุณของกลั ยาณมิตรหรือกัลยาณธรรม 7 ประการ คือ (1) ปิ โย คือ การทําตัวให้เป็นทีรักแก่ศิษย์ และบุคคลทัวไป (2) ครูน่าเคารพ คือ การเป็ นบุคคลทีมีความหนกั แน่น มีจิตทีมันคงมีความ ประพฤติสมควรแก่ฐานะทําให้รู้สึกอบอนุ่ ใจ เป็นทีพึงได้และปลอดภัย (3) ภาวนีโย น่าเจริญใจ คือ มีความรู้จริงทรงภูมปิ ัญญาแท้จริงเป็นผู้ฝึ กอบรม อยู่เสมอ เป็นทีน่ายกย่องสรรเสริญเอาอย่าง

23 (4) วัตตา รู้จักพูด คือรู้จักชี แจงให้เขา้ใจ รู้ว่าเมือไรควรพูด อยา่ งไร แนะนํา ว่ากลา่ วตักเตือนอย่างไรเป็นทีปรึกษาทีดี (5) วจนักขโม คือ ความเป็นผู้มีความอดทนต่อถ่อยคําโดยมีเจตนาดีเป็นทีตั ง (6) คัมภีรัญจะ กถังกัตตา คือ การรู้จักสอนจากง่ายไปหายากหรือมีความคิด ลกึ ซึงขึ นโดยลําดับ (7) โน จฏั ฐาเน นิโยชเย คือ การรู้จักแนะนําในทางทีถูกทีควรไม่ชักจูงไป ในทางทีเสือมเสีย แนะนําในทางดีเสมอ 2) ตั งใจประสิทธิ ประสาธน์ความรู้ โดยตั งตนอยใู่ นธรรมทีเรียกว่า ธรรมเทสก ธรรม 5 ประการคือ (1) อนุปุพพิกกถา สอนให้มีขั นตอน ถูกลําดับคือ แสดงหลกั ธรรมหรื อ เนือหาตามลําดับความง่ายยาก ลุ่มลกึ มเี หตุผลสัมพนั ธ์ต่อเนืองกันไปโดยลําดับ (2) ปริยายทัสสาวี จับจุดสําคัญมาขยายใหเ้ ข้าใจเหตุผล คือ ชี แจงยกเหตุผล มาแสดงให้เข้าใจในแต่ละแง่ประเด็น ให้มองเห็นกระจ่างตามแนวเหตุผล (3) อนุทยตา ตั งจิตเมตตาสอนด้วยความปรารถนาดี คือ สอนด้วยเมตตามุ่ง ประโยชน์แก่ผู้รับคําสอน (4) อนามสิ ันดร ไม่เห็นแก่อามิสสินจ้างคือ สอนเข้ามใิ ช่มงุ่ ทีจะได้ลาภ หรือ ผลประโยชน์ตอบแทน (5) อนุปหัจจ วางจิตตรงไม่กระทบตนและผอู้ ืน คือ สอนตามหลักเนือหามุ่ง แสดงอรรถ แสดงธรรมไมย่ กตนเสียดสีผู้อนื 3) การดําเนินลีลาครูทั งสคี รูทีสามารถมีลีลาของนักสอน ดังนี (1) สันทัสสนา ชี ชัดจะสอนอะไรก็ชี แจงแสดงเหตุผลแยกแยะอธิบาย ให้ ผู้ฟังเข้าใจแจ่มแจ้งดังจงู มือไปดใู ห้เห็นกับตา (2) สมาทปนา ชวนให้ปฏิบัติ คือ สิ งใดควรทําก็บรรยายให้มองเห็น ความสําคัญและซาบซึ งในคณุ ค่าเป็นสมจริง จนผู้ฟังยอมรับอยากลองทํา หรือนําไปปฏิบัติ (3) สมุตเชนา เร้าให้กล้า คือ ปลุกใจให้คึกคักเกิดความกระตือรือร้น มี กําลังใจเข้มแขง็ มั นในทีจะทําให้สําเร็จไมก่ ลวั เหน็ดเหนือยหรือยากลําบาก (4) สัมปหังสนา ปลุกให้ร่าเริง คือ ทําบรรยากาศใหส้ นุกสดชืนแจ่มใสเบิก บานใจให้ผู้ฟังแช่มชืนมคี วามหวังมองเห็นผลดีและทางสําเร็จ 4) มหี ลักตรวจสอบสามอยา่ ง เมือพูดอย่างรวบรัดทีสุดครูอาจตรวจสอบตนเอง ด้วยลักษณะการสอนของบรมครู3 ประการ คือ

24 (1) สอนด้วยความรู้จริง ทําได้จริงจึงสอนเขา (2) สอนอย่างมเี หตุผล ให้เขาพิจารณาเข้าใจแจ่มแจ้งด้วยปริญญาของเขาเอง (3) สอนให้ได้ผลจรงิ สําเรจ็ ความมงุ่ หมายของเรืองทีสอนนั นเช่น ใหเ้ ข้าใจ ได้จริงเห็นความจริง ทําได้จริงนําไปปฏบิ ัติได้ผลจริงเป็นต้น (4) ทําหน้าทีของครูต่อศษิ ย์ คือปฏบิ ัติต่อศษิ ย์โดยอนุเคราะห์ตามหลักธรรม เสมอื นเป็นทิศเบืองขวา ดังนี (4.1) แนะนําฝึกอบรมให้เป็นคนดี (4.2) สอนให้เข้าใจแจม่ แจ้ง (4.3) สอนศิลปวทิ ยาให้สินเชิง (4.4) ส่งเสริมยกย่องความดีงามความสามารถให้ปรากฏ (4.5) สร้างเครืองคุ้มภัยในสารทิศคือ ฝึกสอนให้สามารถใช้วิชาเลี ยงชีพ และรู้จักดํารงรักษาตนในอันทีจะดําเนินชีวติ ไปด้วยดี เฉลียว บุรีภักดีและคณะ (2520: 367-374 อ้างถึงในนิรันดร์ กมลาพร, 2549: 21) สรุปได้ ลักษณะของครูทีดีว่ามลี ําดับความสําคัญด้านต่าง ๆ คือ 1) คุณธรรมและความประพฤติ 2) การเป็นพลเมอื งดี 3) การอบรมแนะแนว 4) การสอน 5) มนุษยสัมพันธ์ 6) บุคลิกลักษณะ 7) สุขภาพจิต 8) วิชาการ สําหรับครูทีมคี วามชอบมากทีสุด คือ ครูทีตั งใจสอน เข้าใจสอน เข้าใจและเป็ นกันเอง มี ความยุติธรรม ตรงต่อเวลา เสียสละและมีเมตตาธรรม จากผลงานวิจยั เกียวกับลักษณะของครูทีดีของเฉลียว บุรีภักดีและคณะ(2520: 363-465) ได้ แสดงความคดิ เห็นและให้อันดับความสําคัญของลักษณะครูทนี ักเรียนชอบมากทีสุดไว้ดังนี 1) สอนให้เข้าใจแจ่มแจ้ง 2) เป็นกันเองกับนักเรียน 3) เข้าใจและพยายามเข้าใจปัญหานักเรียน 4) ใจสงบ รักการสอน

25 5) ให้ความยุติธรรมไม่อําเอยี ง 6) เอาใจใส่นักเรียน ตรงต่อเวลา พูดจากสุภาพออ่ นน้อม 7) ร่าเริง แจ่มใส ไมบ่ ูดบึง ไมถ่ อื ตัวมคี วามเป็นกันเอง 8) รู้จักและสนใจนักเรียนโดยทัวถงึ ทุกคน 9) มวี ิธีสอนทีแปลกๆ ทีดีและมกี ิจกรรม 10) ใช้เหตุผลในการตัดสินปัญญา 11) มอี ารมณ์ขัน 12) รับผิดชอบต่อหน้าทีทีได้รับมอบหมาย มคี วามรู้ดีตามหลักสูตร 13) ประพฤติเรียบร้อย ให้ความรักแก่เด็ก เมตตากรุณาต่อเดก็ 14) เอือเฟื อ ใจดี 2.2.10 หลกั พุทธธรรมสําหรับครู ยนต์ ชุ่มจิต (2531: 141–142) หลักพุทธธรรมทีครู อาจารย์และนักศกึ ษาควรมคี วามรู้ความเข้าใจและนําไปปฏิบัติ เช่น 1) หิริ โอตตัปปะ หิริ คือความละอายต่อบาปและความชัวทั งปวงส่วน โอตตัปปะ คือ ความเกรงกลัวบาปและความชัวทั งปวง ธรรมคู่นี เป็นธรรมทีช่วยใโหล้ กมคี วามเป็ น ระเบียบเรียบร้อย ไม่เดือดร้อนและสับสนวุ่นวาย ดังนั นจึงเรียกธรรมคู่นี ว่าเป็ น“ธรรมคุ้มครอง โลก” 2) ขันติ โสรัจจะ ขันติ คือ ความอดทน โสรัจจะ คือ ความสงบเสงียมมีอัธยาศัย งาม ธรรมทั งสองนี เรียกว่าเป็น“ธรรมทีทําให้งาม” 3) สติ สัมปชัญญะ สติคือ ความระลึกได้ก่อนจะทํา ก่อนจะพดู ก่อนจะคิด ส่วน สัมปชัญญะ คือ ความรตู้ ัวว่ากําลังทํา กําลังพูด กําลังคิด คนทีมีธรรมทสั งองประการนี อยูเ่ สมอ เวลาทํางานใดๆ จะไม่ผิดพลาดหรือผิดพลาดได้น้อยดังนั นจึงเรียกธรรมคู่นี ว่าเป็ น“ธรรมมีอุปการ มาก” 4) สุจริต 3 ความสุจริตเป็นความประพฤติดีประพฤติชอบมี 3 ทาง (1) กายสุจริต คือ ความประพฤติชอบทางกาย 3 ประการ ได้แก่การไม่รังแก สัตว์ การไมล่ ักขโมย และการไมป่ ระประพฤติผิดทางประเวณี (2) วจีสุจริต คือ ความประพฤติชอบทางวาจา 4 ประการ ได้แก่ การไม่พูดปด ไมพ่ ูดส่อเสียด ไมพ่ ูดคําหยาบ และไมพ่ ูดเพ้อเจ้อ (3) มโนสุจริต คือ ความประพฤติชอบทางใจ 3 ประการ ไดแ้ ก่ ความไม่โลภ ไม่พยาบาท(โกรธ) และไมห่ ลงหรือเห็นผิดจากทํานองคลองธรรม

26 5) สังคหวัตถุ4 คือ หลักธรรมทีใช้เป็นเครืองยึดเหนียวจิตใจคนเป็นหลักธรรมที ก่อให้เกิดความสามัคคีมีดังนี (1) ทาน คือ การให้ปันสิงของ ตลอดจนการให้ความรู้และคําแนะนํา (2) ปิ ยวาจา คือการพูดด้วยถ้อยคําสุภาพออ่ นหวานมปี ระโยชนเ์ หตุผล (3) อัตถจริยา คือการทําตนให้เป็นประโยชน์ (4) สมานัตตตา คือ การทําตนเสมอตนเสมอปลาย 6) อคติ 4 คือ ความลําเอยี งจากเหตุ4 ประการผู้ทีเป็นครูอาจารย์หรือผู้ทีปกครอง ไมค่ วรมีอยู่ในตนเองคือ (1) ฉันทาคติ ลําเอยี งเพราะความชอบพอกัน (2) โทสาคติ ลําเอยี งเพราะความโกรธเกลยี ดชังกัน (3) โมหาคติ ลําเอียงเพราะหลงผิดเพราะเขลา (4) ภยาคติ ลําเอียงเพราะความกลัวหลักธรรมคําสอนในพระพุทธศาสนาดัง ไดน้ าํ มากล่าวขา้ งต้นนี ถือว่าเป็ นเพียงส่วนน้อยทีครูอาจารย์ควรนาํ ไปยึดถือปฏิบตั ิ เพือทีจะ ก่อให้เกิดประโยชนส์ ุขแก่ตนเองและส่วนรวม กล่าวโดยสรุป ลักษณะของครูทีดีต้องอาศัยปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในของตัวของครู ด้วย ปัจจัยภายนอกได้แก่บุคลิกหือคุณลักษณะอันแสดงออกทางพฤติกรรม เช่น การแต่งกาย การ พูดจา เป็นต้น ส่วนปัจจัยภายใน ได้แก่ คุณธรรมจริยธรรม อันเป็ นคุณลักษณะทแี สดงถึงความดีงามของ จิตใจ เช่น ความมีเมตตา ความกรุณา มุทิตา และอุเบกขา ตลอดจนความยุติธรรม ในการประกอบ อาชีพครู ในแง่ของพระพุทธศาสนาจะนําเอาหลักของกัลยาณมติ ร คือ มิตรอันดีงาม(Good Friends) ต่อศิษย์ คอยตักเตือนให้ประพฤติปฏิบัติในคุณงามความดีช่วยเหลือใหล้ กู ศิษย์ในทางทีถกู ต้อง ทั ง สองอย่างนี ต้องอาศัยปัจจัยทเกี ือกูลซึงกันและกันหากขาดอย่างใดอย่างหนึ งแล้ว ก็ยังไม่อาจนบั ได้ วา่ ไม่เป็นครูทีดีและสมบรู ณ์ได้ 2.3 แนวคิดทฤษฎเี กียวกบั ผู้นําและภาวะผู้นํา 2.3.1 ความหมายของผู้นํา เป็นทียอมรับกันแล้วว่า ผู้นํา(Leader) เป็ นปัจจัยทีสําคัญยิงประการหนึ งต่อความสําเร็จ ขององค์การทั งนี เพราะผู้นํามีภาระหน้าที และความรับผดิ ชอบโดยตรงทีจะต้องวางแผนสังการ ดแู ลและควบคุมให้บุคลากรขององค์การปฏบิ ัติงานต่างๆ ใหป้ ระสบความสําเร็จตามเป้ าหมายและ

27 วัตถุประสงคท์ ีตั งไว้ปัญหาทีเป็ น ทีสนใจของนกั วิชาการและบุคคลทัวไปอยู่ตรงทีว่า ผู้นําทํา อยา่ งไรหรือมีวิธีการนําอย่างไรจึงทําใหผ้ ู้ใต้ บังคับบัญชาหรือผู้ตามเกิดความผูกพันกับงานแล้ว ทุ่มเทความสามารถ และพยายามทีจะทําให้งานสําเร็จด้วยความเต็มใจในขณะทีผู้นําบางคนนาํ อย่างไร นอกจากผู้ใต้บังคับบัญชาจะไมเ่ ต็มใจนใ การปฏิบัติงานให้สําเร็จอยา่ งมีประสิทธิภาพแล้ว ยังเกลียดชังและพร้อมทีจะรว่ มกันขับไล่ผู้นําให้ไปจากองค์กราเพอื ให้เข้าใจภาวะผู้นํา(Leadership) และผู้นํา(Leader) ดีขึ นจึงเสนอความหมายของผู้นํา(Leader) ไว้ดังนี กวี วงศ์พุฒ (2539: 14-15) ได้สรุปแนวคิดเกียวกบั ผู้นําไว5้ ประการ คือ 1) ผู้นํา หมายถึง ผู้ซึ งเป็ นศูนยก์ ลางหรื อจุดรวมของกิจกรรมภายในกลุ่ม เปรียบเสมือนแกนของกลุ่ม เป็ นผู้มีโอกาสติดต่อสือสารกับผู้อืนมากกว่าทุกคนในกลุ่ม มีอิทธิพล ต่อการ ตัดสินใจของกลมุ่ สูง 2) ผู้นําหมายถึง บุคคลซึงนํากลมุ่ หรือพากลมุ่ ไปสู่วัตถปุ ระสงค์หรือสู่จุดหมายที วางไว้ แม้แต่เพียงชี แนะให้กลุ่มไปสู่จุดหมายปลายทางก็ถือว่าเป็ นผู้นําทั งนี รวมถึงผู้นําทีนํากลุ่ม ออกนอกลูน่ อกทางด้วย 3) ผู้นําหมายถึง บุคคลซึงสมาชิกส่วนใหญ่คัดเลือกหรือยกให้เขาเป็ นผู้นําของ กลมุ่ ซึงเป็นไปโดยอาศัยลักษณะทางสังคมมติ ิของบคุ คลเป็นฐาน และสามารถแสดงพฤติกรรมของ ผู้นําได้ 4) ผู้นํา หมายถึง บุคคลซึ งมีคุณสมบตั ิเฉพาะบางอย่างคือสามารถสอดแทรก อิทธิพลบางประการอันก่อให้เกิดการเปลียนแปลงของกลุม่ ได้มากทีสุด 5) ผู้นํา หมายถึง บุคคลผู้ซึงสามารถนํากลุ่มไปในทางทีต้องการเป็ นบุคคลทีมี ส่วนร่ วมและเกียวข้องโดยตรงต่อการแสดงบทบาทหรื อพฤติกรรมความเป็ นผู้ นํา DuBrin (1998 อ้างถึงในรังสรรค์ ประเสริฐศรี, 2544: 12) กล่าวถึงผู้นํา(Leader) ว่าเป็ น บุคคลทีทําให้องค์การเจริญก้าวหน้าและบรรลุผลสําเร็จโดยเป็ นผู้ทีมีบทบาทแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลทีเป็ นผู้ใต้บังคับบญั ชา หรือเป็ นบุคคลทีก่อให้เกิดความมันคงและช่วยเหลือผู้อืน เพอื ให้บรรลเุ ป้ าหมายของกล่มุ Likert (1967 อา้ งถึงในสมยศ นาวีการ, 2540: 193) การแยกประเภทความเป็ นผู้นําของ Likert เป็นไปดังนี ระบบที 1 ผู้นําแบบเผด็จการ ผู้นําแบบนี จะไม่แสวงหาความคิดเห็นของผู้อใยตู่ ้ บังคับบัญชาพวกเขาตัดสินใจทุกอย่างด้วยตัวเอง พวกเขางจใู จด้วยความกลัวและการลงโทษ ระบบที 2 ผู้นําแบบเผด็จการอย่างมีศลิ ปะ ผู้นําประเภทนี แสวงหาคําแนะนําจากผู้ ใต้ บังคับบัญชาในบางครั ง แต่พวกเขาตัดสินใจทีสําคัญด้วยตนเอง พวกเขาใชท้ ั งความกลัวและ รางวัลในการจงู ใจ

28 ระบบที 3 ผู้นําแบบปรึกษาหารือ ผู้นําประเภทนี มคี วามเชือมั นผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา ของพวกเขาตามสมควรมอบหมายงาน สนบั สนุนใหผ้ ู้อยูใ่ ต้บังคับบัญชาทําข้อเสนอแนะ และใช้ รางวัลมากกวา่ การลงโทษในการจูงใจ ระบบที 4 ผู้นําแบบมีส่วนร่วม–กลุ่ม ผู้นําประเภทนี แสวงหาการมีส่วนร่วมของ กลุม่ ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาในกระบวนการตัดสินใจ พวกเขามอบหมายอํานาจหนา้ ที และใช้รงาวัล ไม่ใช่การลงโทษในการจงู ใจ Likert (1967 อ้างถึงในสมยศ นาวีการ, 2540: 193) สนบั สนุนระบบที 4 หรือการบริหาร แบบมีส่วนร่วม – กลุ่มเป็ นอยา่ งมาก การวิจัยหลายอย่างของเขาเสนอแนะว่า ความเป็ นผู้นําทีให้ ความสําคัญกับผู้อยูใ่ ต้บังคับบญั ชามีประสิทธิภาพมากกว่าระบบท1ี 2 หรือ 3 ในการบรรลุถึง เป้ าหมายของกลุ่ม ผู้บริหารสองคนทีมแี บบของความเป็นผู้นําอย่างเดียวกันเหมือนกันทีเดียวจะไม่มี เพราะว่า ความแตกต่างทางบุคลิกภาพ แบบของความเป็ นผู้นําจะแตกต่างกันด้วย ตามการวิเคราะห์ของ Likert แล้ว แบบของความเป็นผู้นําปลายสุดทั งสองสามารถระบุได้ เผดจ็ การและมีส่วนร่วมในทาง ปฏิบัติแลว้ ผู้นําส่วนใหญ่จะอยูร่ ะหว่างนี และไม่มีแบบเผด็จการอย่างเต็มทีและแบบมีส่วนร่วม อย่างเตม็ ที ตารางต่อไปนี จะเปรียบเทียวระหวา่ งความเป็นผู้นําสองแบบ ตารางที 2.1 การเปรียบเทียบผู้นํา ผู้นาํ แบบเผดจ็ การ ผู้นาํ แบบมีส่วนร่วม คุกคามเจ้าหน้าที “ต้องบรรลุถึงเป้ าหมายใหไ้ ด้ สนับสนุนเจ้าหน้าที “บรรลุถึงเป้ าหมายแล้วคุณ หรื อมิฉะนั นแล้วจะถูกไล่ออก ลดตาํ แหน่ง จะได้รางวัล” โยกย้าย ลงโทษ พูดและคิดถึง “ผม” ผลกําลังบรรลุถึงเป้ าหมาย พูดและคิดถึง “เรา” “เรา (กลุ่ม) กําลังบรรลุถึง เอาความดีชอบความชอบทั งหมดในกรณี ที เป้ าหมาย” ให้ความดีความชอบกับเจ้าหน้าทีใน ประสบความสําเร็จ “ด้วยความพยายามของผม กรณีทปี ระสบความสําเร็จ “คุณสมควรได้ความ เท่านั นเราจึงสามารถแก้ปัญหาได”้ ดีความชอบสาํ หรับความสําเร็จของเรา ความ พยายามของคุณทําให้เป็ นไปได้ ตําหนิเจ้าหน้ าทีในกรณีทีล้มเหลว “คุณไม่ ยอมรับความรับผิดชอบในกรณีทีล้มเหลว “ผม รับผิดชอบปัญหา คุณเคยฟังผมและทําตามทีพดู รับผิดชอบเต็มที ผมบริหารงานนี อยา่ งถกู ต้อง หรือไม”่ หรือไม”่

29 ตารางที 2.1 (ต่อ) ผู้นาํ แบบเผด็จการ ผู้นําแบบมีส่ วนร่ วม ทําให้การทาํ งานน่าเบอื “ผมรู้วา่ งานนี น่าเบือ แต่ ทาํ ให้การทาํ งานเป็ นเกม “จงสนุกสนานกับการ คุณได้รับค่าจ้างเพือทํางานนี ดังนั นจงทํางาน” ทํางานน”ี ตัดสินใจในเป้ าหมายและวิธีการทํางานทุกอย่าง ขอให้เจ้าหน้าทีช่วยตัดสินใจในเป้ าหมายและ ด้วยตนเอง “นีคือสิงทีคุณควรจะทํา และนี คือ วิธีการทํางาน “คุณรู้สึกว่าคุณสามารถทําอะไร วธิ ีการทีคุณควรจะใช้ ได้ดีทีสุด? และคุณควรจะทําอย่างไร รู้คําตอบทุกอย่าง “วิธีการของผมดีทีสุด” ขอคําแนะนําจากเจ้าหน้าที “ข้อเสนอแนะของ คุ ณ คื อ อ ะ ไ ร ?เ ร า มี วิ ธี ก า ร ที ง่ า ย แ ล ะ มี ประสิทธิภาพมากกว่านี ในการบรรลุถึงเป้ าหมาย หรือไม?่ แหล่งทมี า: สมยศ นาวีการ, 2540: 194. วิภาดา คุปตานนท์ (2544: 237) กล่าววา่ ผู้นํา(Leader) หมายถึง บุคคลทีมีความสามารถใน การทีจะทําให้องค์การดําเนินไปอย่างก้าวหนา้ และบรลุเป้ าหมาย โดยการใช้อิทธิพลเหนือทัศคติ และการกระทําของผู้อนื เสนาะ ติเยาว์ (2543: 5) กล่าววา่ ความเป็นผู้นําเป็นเรืองเกียวกับการใช้อํานาจ หรืออิทธิพล กําหนดพฤติกรรมและความรู้สึกของคนอนื ไม่ว่าจะเป็นอทิ ธิพลทีมตี ่อบุคคลแต่ละคน หรือต่อกลุ่ม ความพยายามทีจะมีอทิ ธิพลต่อคนอืนนั นมักจะเป็ นอิทธิพลทีมีผลต่ออารมณ์ของคนเหล่านั นเช่น ทําให้คนมคี วามรู้สึกกระตือรืนร้น ทีจะทํางานหนึ ง ซึงแต่ก่อนไม่ยอมทีจะทํางานนั น หรือเห็นว่า งานนั นน่าเบือหน่าย บุญทัน ดอกไธสง (2535: 266 อ้างถึงในมัลลิกา ต้นสอน, 2544: 47) ได้กล่าวไว้ว่า ผู้นํา (Leader) หมายถึง 1) ผู้มีอิทธิพล มีศิลปะ มีอิทธิพลต่อกลุ่มชน เพือให้พวกเขามีความตั งใจทีจะ ปฏบิ ัติงานให้บรรลุเป้ าหมายตามต้องการ 2) เป็ นผู้นาํ และแนะนาํ เพราะผู้นาํ ตอ้ งคอยช่วยเหลือกลุ่มให้บรรลุเป้ าหมาย สูงสุดตามความสามารถ

30 3) ผู้นําไม่เพียงแต่ยืนอยู่เบืองหลังกลมุ่ ทีคอยแต่วางแผนและผลักดัน แต่ผู้นํา จะต้องยืนอยู่ข้างหน้ากลุ่ม และนํากลมุ่ ปฏบิ ัติงานให้บรรลเุ ป้ าหมาย เนตร์พัณณายาวริ าช (2550: 7-9) ได้กล่าวไว้วา่ ผู้นํา(Leader) หมายถึง บุคคลทีได้รับการ ยอมรับและยกย่องจากบุคคลอืน หมายถงึ บุคคลซึงได้รับการแต่งตั งขึ นมา หอรืได้รับการยกยอ่ งให้ เป็นห้วหน้าในการดําเนินไปอย่างบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงค์ และนําพาหน่วยงานไปสู่ความ เจริญก้าวหน้า อุดม ทุมโฆสิต (2544: 230 อ้างถึงในมัลลิกา ต้นสอน, 2544: 47) ผู้นํา หมายถึง บุคคลทีมี ความสามารถในการบริหารจัดการและเป็ นบุคคลทีมีอํานาจเหนือผอู้ ืนสามารถใช้อิทธิพลกําหนด พฤติกรรมและความรู้สึกของคนอืน เพอื ให้บุคคลอืนๆ ทําตามเป้ าประสงค์ขององค์การ Nelson and Quick (1997: 346 อ้างถึงในมัลลิกาต้นสอน, 2544: 47) ใหค้ วามหมายของ ภาวะผู้นํา(Leadership) วา่ หมายถึง กระบวนการในการแนะแนวและนําทางพฤติกรรมของคนใน สภาพของการทํางาน Ivancevich and Donnelly (1997: 272 อ้างถงึ ในมัลลิกา ต้นสอน, 2544: 48) มองภาวะผู้นํา (Leadership) ในเชิงปฏิสัมพันธ์ ระหว่างกันของสมาชิกในกลุ่ม โดยมีผู้นาํ เป็ นตวั แทนในการ เปลียนแปลง เป็นบุคคลทีมอี ิทธิพลต่อบุคคลอนื ๆ ในกล่มุ ภาวะผู้นําจึงเกยี วข้องกับการใช้อิทธิพล และปฏสิ ัมพันธร์ ะหว่างบุคคล เป็ นตัวแทนของการเปลียนแปลงทีมีผลกระทบต่อพฤติกรรมและ การปฏิบัติงานของสมาชิกคนอืนในกลุ่ม ทั งนี การเปลียนแปลงนั นต้องมุ่งไปสู่การบรรลุเป้ าหมาย ของกลุ่มด้วย ผู้นําอาจจะเป็ นบุคคลทีมีตําแหน่งอยา่ งเป็ นทางการหรือไม่เป็ นทางการก็ได้ ซึงเรามักจะ รับรู้เกียวกบั ผู้นําทีไม่เป็ นทางการอยูเ่ สมอ เนืองจากบุคคลนั นมีลักษณะเด่นเป็ นทียอมรับของ สมาชิกในกลมุ่ ทําให้สมาชิกแสดงพฤติกรรมทีมีนํ าหนักและเป็นเอกภาพ โดยเขาจะใช้ภาวะผู้นําใน การปฏิบัติการและอํานวยการโดยใช้กระบวนการติดต่อสัมพนั ธ์กันเพอื มงุ่ บรรลเุ ป้ าหมายของกลุ่ม จากความคิดดังกล่าวข้างต้น อาจสรุปได้ว่าผู้นาํ หมายถึง บุคคลทีมีอํานาจหรืออิทธิพล เหนือบุคคลอืนๆ ภายในกลุ่ม อาจถูกแต่งตั งขึ นมาหรือได้รับการยกย่อง มีความสามารถในการ ปฏิบัติหน้าทีให้เกิดความพึงพอใจ และเป็ นบุคคลทีสามารถใช้อํานาจหรืออิทธิพลทีมีอยู่นั น กําหนดพฤติกรรมและความรู้สึกของคนอืนๆภายในกลุ่ม ให้ปฏบิ ัติงานในหน้าทีของสมาชิกแต่ละ คนให้บรรลุเป้ าหมายได้ 1) คุณสมบัติของผู้นําLikert (1967 อ้างถงึ ในสมยศ นาวกี าร, 2540: 194) (1) ด้านอํานาจหน้าทีตามตําแหน่งอย่างเป็ นทางการ(Authority) ในด้านของ การดํารงตําแหน่งผู้นําอาจได้รับการยกยอ่ งใหเ้ ป็ นผู้นําโดยทมี ีตําแหน่งรองรับอยา่ งเป็ นทางการ

31 เป็นความต้องการและการสนับสนุนของกลมุ่ คนทีต้องการบุคคลทีจะมานําหรือเป็ นตัวแทนในการ ปฏิบัติตามแนวความคิดหรือตอบสนองความต้องการของกลุ่ม (2) ด้านการยอมรบั (Acceptance) ผู้นํานั นเป็ นบุคคลทีได้รับการยอมรับโดย บุคคลหรือกลุ่มคนให้เป็ นในทิศทางทีสมาชิกเหล่านั นเห็นดว้ ยผู้นําสามารถตอบสนองความ ต้องการของกลุม่ ได้โดยทําให้เป็นทีพอใจของกลมุ่ คน (3) ด้านศักยภาพความสามารถ (Competency) หมายถึง ผู้นําเป็ นบุคคลทีมี ความรู้ความเชียวชาญ (Expert) และประสบการณ์สูง เป็ นบุคคลทีได้รับการยอมรับจากกลุ่มคน ดังนั นผู้นําจึงผูท้มีความสามารถ มีความรู้ มปี ระสบการณ์ มคี วามสามารถหรือบุคลิกภาพพิเศษทีทํา ให้สมาชิกยกย่องและยอมรับให้เป็ นผู้นําพาไปในทิศทางต่างๆ ในดา้ นความสามารถทีเกิดจาก ตนเองมคี ุณสมบัติส่วนตัวหรือคุณลักษณะ(Traits) ทีสามารถนําพาได้เช่น มีความกระตือรือร้น มี ความคิดริเริม มีความกล้า มคี วามเชือมั นในตัวเอง มีความซือสัตย์สุจริต มคี วามเข้มแข็งเด็ดขาดสิง เหล่านี อาจไมม่ ีในผู้บริหารบางคนกไ็ ด้ (4) ด้านความสัมพันธ์กับผู้อืน(Relationship) นอกจากความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ความเชียวชาญแล้ว ผู้นําอาจมคี วามสัมพนั ธก์ ับบุคคลรอบข้างหรือบุคคลอนื ใน ลักษณะของความไว้วางใจความเชือถอื การยอมรับจากบุคคลต่างๆ 2) บทบาทของภาวะผู้นํา ภาวะผู้นํามบี ทบาททีแบ่งอย่างกว้างๆ ออกเป็ น4 ประการ (พรทิพย์ อัยยมิ าพันธ,์ 2547: 68) ได้แก่ 1. การกําหนดแนวทางหลัก (Pathfinding) ผู้นําควรเริ มต้นด้วยการกาํ หนด เป้ าหมายและแนวความคิดทีชัดเจน บทบาทดังกล่าวจะช่วยให้ผู้นําสร้างแผนงานแม่แบบ (Blueprint of Action) ทีตั งอยู่บนพืนฐานของหลักการก่อนจะลงมอื ปฏิบัติตามแผน นอกจกานั นไม่ เพียงแต่ต้องรู้ถึงวิธีการกําหนดทิศทางและเป้ าหมายเท่านั น แต่ผู้นําต้องได้รับการสนับสนุนและ ความม่งุ มั นจากพนักงานในการบรรลุถึงเป้ าหมายด้วย ผู้นําต้องมีความสามารถนําให้ผู้อืนมีส่วน ร่วมในการสร้างพันธกิจ(Mission) วสิ ัยทัศน์(Vision) และสือสารอย่างชัดเจนถึงความแตกต่างและ ผลประโยชน์ทีพนักงานจะไดร้ ับจากความสําเร็จในอนาคต อีกทั งยงั สามารถทําให้พนักงานมี แรงจูงใจและรู้สึกตืนเต้นกับทิศทางใหม่นี ด้วย 2.การสร้างระบบการทํางานทีมีประสิทธิผล (Aligning) การสร้างระบบการทํางานทีมีประสิทธิผลหรือการทําใหอ้ งค์การดําเนินไปในทิศทาง เดียวกัน คือการลงมือสร้างแผนหลักทีกําหนดขึ นในขั นตอนทีหนึง ทุกระดชับั นขององคก์ ารควรมี การดําเนินการไปในทิศทางเดียวกันเพอื บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์เดียวกันในฐานะผู้นําต้องเปลียนแปลง ระบบการทํางาน ขั นตอนการทํางาน และโครงสร้างองค์การให้สอดคล้องกบั จุดมุ่งหมายของ องค์การทีได้วางไว้แล้ว3.การมอบอํานาจ(Empowering) หากผู้นํามีการมอบอํานาจใหแ้ ก่พนกั งาน

32 อย่างจริงจังจะทําใหบ้ รรยากาศในการทํางานมีความไว้วางใจซึ งกันและกัน การสือสารระหว่าง บุคคลและระหว่างกลมุ่ เกิดประสิทธิผลและเกิดผลลัพธ์ใหม่ๆทีสร้างสรรค์ ซึงมาจากการทีสมาชิก ของกลุ่มหรือพนักงานสามารถแสดงความคิดเห็น และศักยภาพของตนได้อยา่ งอิสระ โดยผู้นําต้อง สร้างสภาวะทีจะกระตุ้นการสร้างเสริมและปลดปลอ่ ยความคิดริเริมสร้างสรรคค์ วาม สามารถพิเศษ เฉพาะตัว ความ สามารถและศักยภาพทีมีอยู่ในบุคคลทุกคน วิธีการนี จะช่วยใหบ้ ุคคลสามารถ ปฏิบัติหน้าทีได้ดียิงขึ นในองคก์ าร4.การสร้างตัวแบบ (Modeling) หวั ใจของการเป็ นผู้นําคือต้อง สร้างความน่าเชือถือ เพราะไม่เพียงแต่รู้ว่าจะต้องปฏิบตั ิหน้าที อยา่ งไรเท่านั น แต่ผู้นาํ ยังต้องมี คุณสมบตั ิของผู้นําทีดีด้วย กล่าวคือ ต้องเข้าใจถึงความสําคัญของดุลยภาพระหว่างคุณลักษณะ (Characteristics) กับความรู้ความสามารถ (Competence) เพราะไม่ว่าบุคคลจะมีความสามรถ เพยี งใดก็ไม่สามารถจะเป็นผู้นําทีแท้จริงไดห้ ากปราศจากซึงคุณลักษณะทีเหมาะสม 3) แนวคิดผู้นําเชิงคุณภาพ( Trait Approach ) แนวคิดนี ได้มุ่งอธิบายบุคลิกลักษณะของผู้นํา โดยเชือว่าผู้นาํ จะมีคุณสมบัติที แตกต่างจากบุคคลทัวไป นกั วิชาการกลุ่มแนวคิดนี จึงมุ่งศึกษาคุณสมบัติทีแตกต่างดังกล่าว จาก การศึกษาผู้นําทีมีความโดดเด่นหลายๆคน สามารถแบ่งคุณสมบัติทีค้นพบไดเ้ ป็ น 3 กลุ่ม คือ 1) ลักษณะทางกายภาพ เช่น ความสูง รูปร่างภายนอก อายุ เป็ นต้น 2) ลักษณะทางความสามารถ เช่น ความเฉลียวฉลาด ความรู้ ความสามารถในการพูดในทีสาธารณะ เป็ นต้น 3) ลักษณะบุคลิกภาพ เช่น การควบคุมอารมณ์และการแสดงออกทางอารมณ์ บุคลิกภาพแบบเปิ ดเผย-เก็บตัว เป็ นต้น (Bryman, 1992 อ้างถึงในวภิ าดา คุปตานนท,์ 2544: 241) แต่ก็มงี านวิจัยมากมายทีขัดแย้งกันและกัน จนไม่สามารถพบข้อสรุปทีชัดเจน อีกทั งยังมีการศึกษาทีพบว่าคุณสมบัขติองผู้นําไม่สามารถใช้ได้ กับทุกสถานการณ์อกี ด้วย 4) แนวคิดผู้นําเชิงพฤติกรรม(Behavioral Approach) แนวคิดนี ศึกษาถึงพฤติกรรมทีผู้นําแสดงออกเพือนําไปสู่การปฏิบัติและ ประสิทธิผลตามทีผู้นําต้องการโดยผู้นําแต่ละคนจะมพี ฤติกรรมทีแตกต่างกันออกไป มหาวิทยาลัย และสถาบันต่างๆ ในสหรัฐอเมริกาได้ให้ความสนใจและทําการวิจัยเกียวกับพฤติกรรมของผู้นาํ โดยทําการศกึ ษาถงึ พฤตกิ รรมของผู้นําทีมีประสิทธิภาพซึงผลสรุปทีสําคัญๆ มีดังต่อไปนี (วิภาดา คุปตานนท,์ 2544: 242-247) 1. ภาวะผู้นําแบบประชาธิปไตยและผู้นําแบบเผด็จการ(Democratic Leadership – Autocratic Leadership) Tannenbaum and Schmidt อธิบายว่า ผู้นําแบบประชาธิปไตย นิยมกระจายอํานาจ มอบหมายงานให้สมาชิก และเปิ ดโอกาสใหส้ มาชิกเข้ามามีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจ ในทางตรงกันขา้ ม ผู้นําแบบเผด็จการมักนิยมใช้ดุลยพินิจและการตดั สินใจด้วยตัวเอง และมักไม่เปิ ดโอกาสให้สมาชิกเข้ามามีส่วนร่วมในการตดั สินใจ 2) การศึกษาของ University of

33 Michigan ได้แจกแจงพฤติกรรมของผู้นําทีแตกต่างกนั ใน 3) ลักษณะอย่างเห็นได้ชดั คือ 1) พฤติกรรมผู้นําทีมงุ่ คน(People-Oriented Behaviors) ทีให้ความสําคัญต่อสมาชิกหรือพนักงาน เข้า ใจความแตกต่างและยอมรับความสําคัญของพนกั งาน มีการเปิ ดโอกาสใหพ้ นักงานมีส่วนร่วมใน การตัดสินใจ อีกทั งยังสนใจและเข้าใจความตอ้ งการของคนงาน 2.พฤติกรรมของผู้นําทีมุ่งงาน (Task-Oriented Behaviors) ทีผู้นําเน้นความสําเร็จของการทํางาน เน้นการสร้างงานและผลผลิตทีมี มาตรฐานสูง เนน้ การใช้กฎ ระเบียบ ข้อปฏบิ ัติเพือ ให้งานบรรลุเป้ าหมาย 3. การศึกษาของ Ohio State University ไดส้ รุปว่าพฤติกรรมของผู้นําสามารถแบ่งได้เป็ น 2 ด้าน คือ 1. พฤติกรรมทีมุ่ง สร้างโครงสร้าง (Initiation Structure) ทีผู้นาํ ให้ความสําคัญกบั กฎเกณฑ์ การบังคับบัญชา เน้น บทบาทหน้าทีตามตําแหน่ง และเน้นผลงานทเีกิดจากการทํางานตามโครงสร้าง 2. พฤติกรรมทีมุ่ง ความสัมพันธ์(Consideration) ผู้นําจะให้ความสําคัญกับการมีความสัมพันธภาพทีดีกับสมาชิกและ มีส่วนร่วมในการทํางานของสมาชิก4. Managerial Grid เป็นตัวอย่างหนึงของการศึกษาพฤติกรรม ของผู้นําทีผนวกแนวคิดทางพฤติกรรมต่างๆเขา้ ด้วยกัน โดย Blake and Mouton ได้สร้างตาราง 2 มิติ โดยให้แกนนอนแทนผู้นําทีมุ่งผลงาน(Production-Oriented Leader) และแกนตั งแทนผู้นําทีมุ่ง คน (People-Oriented Leadership) ซึงผู้นําทีมีประสิทธิภาพสูงสุด ไดแ้ ก่ผู้นําทีมุ่งทั งงานและคน (มัลลิกา ต้นสอน, 2544: 52) 5) แนวคิดผู้นําเชิงสถานการณ์(Situational Approach) เป็ นการศึกษาทีเน้นการปรับสภาพการนํา หรือการปฏิบัติตนให้สอดคล้องกบั สถานการณ์ทีเปลยี นแปลงไป ลักษณะของการนําก็จะเปลียนแปลงไป แนวคิดนี จะหารูปแบบการ นําทีเหมาะสมและเกิดผลดีในสถานการณ์ต่างๆ (ดิลก ถือกล้า, 2547: 71) 1. ภาวะผู้นําทีมี ประสิทธิภาพจะขึ นอยู่กับความเหมาะสมระหว่างพฤติกรรมของผู้นํา สมาชิก และสถานการณ์ใน การปฏิบัติงาน กล่าวคือ สิงแวดล้อมจะมอี ิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรมของผู้นํา(มัลลิกา ต้นสอน, 2544: 54) 2. ทฤษฎีมุ่งสู่เป้ าหมาย (Path-Goal Theory) ทฤษฎีนี พยายามอธิบายผลกระทบของ พฤติกรรมผู้นําทีมตี ่อการจูงใจ ความพึงพอใจ และการปฏบิ ัติงานของสมาชิก มีการเนน้ ทีเป้ าหมาย โดยดูพฤติกรรมของผู้นําทีแสดงออก เพือใหส้ มาชิกประสบความสําเร็จตามเป้ าหมายของบุคคล และองค์การ ผู้นําทีมีประสิทธิผลจะช่วยให้สมาชิกบรรลุเป้ าหมายส่วนบุคคลและองคก์ าร ผู้นาํ สามารถเพิมแรงจูงใจ ความพึงพอใจแก่ผู้ตามได้ โดยการให้รางวัล 3. การศึกษาของ Hersey- Blanchard ได้นําแนวคิดของมหาวิทยาลัยโอไฮโอ มาประยุกต์ คือ พฤติกรรมทีมุ่งสร้างโครงสร้าง (Initiation Structure) และพฤติกรรมทีมุ่งความสัมพันธ์ (Consideration) และอธิบายว่า ภาวะผู้นํา แบบต่างๆ ประกอบกับความพร้อมของสมาชิกทําให้เกิดรูปแบบของการทํางานของผู้นํา4 รูปแบบ คือ การบอกกล่าว (Telling) การนําเสนอความคิด (Selling) การมีส่วนร่วม (Participation)และการ มอบหมายงาน (Delegation)

34 6) แนวคิดภาวะผู้นําสมัยใหม่ นอกจากแนวคิดทั งสามกลุ่มทีกล่าวมาแล้ว ในปัจจุบันยังมีการพฒั นาและ เปลียนแปลงแนวคิดเกียวกับภาวะผู้นําอยู่ตลอดเวลา จึงเกิดเป็นแนวคิดทีสําคัญๆ(มัลลิกา ต้นสอน, 2544: 54) ดังนี1. ภาวะผู้นําแบบแลกเปลียนและแบบเปลียนแปลง(Transactional and Transformational Leadership) ผูน้ าํ แบบแลกเปลียน คือ ผู้นาํ แบบเดิมทีใชก้ ารแลกเปลียนโดยรางวัลต่างๆ เป็ น เครืองมือในการชักจูงให้ผู้บังคับบัญชาปฏิบัติงานให้ได้ตามเป้ าหมายทีต้องการ ซึงต่างฝ่ ายต่างก็ ได้รับผลประโยชน์ทีแลกเปลียนกัน ส่วนผู้นําแบบเปลยี นแปลงนั นจะใช้ความสามารถเปลียนความ เชือ ทัศนคติของสมาชิก เพือใหส้ มาชิกทํางานได้บรรลุเหนือกว่าเป้ าหมายทีต้องการ โดยผู้นําจะ ถ่ายทอดความคิด ประสบการณ์ และกระตุ้นทางด้านความคิดต่างๆให้แก่สมาชิกอย่างต่อเนืองและ เป็นระบบ 2) ทฤษฎีความสามารถพิเศษของผู้นํา(Charismatic Theory) เป็นการกล่าวถึงบุคลิกภาพ ของผู้นําทีมีลักษณะเฉพาะแตกต่างไปจากบุคคลอืน รังสรรค์ ประเสริฐศร(ี 2544: 55) กล่าวว่า ผู้นํา ทีมีความ สามารถพเิ ศษ ควรมีลักษณะดังนี คือ เป็ นผู้ทีมีวิสยั ทัศน์ มีความสามารถด้านทักษะการ สือสาร ความสามารถทีทําให้ผู้อนื ไว้วางใจ ความสามารถทําให้ผู้อนื เห็นวา่ ตนเอมงคี วามสามารถ มี พลังและมุ่งการปฏิบัติให้บรรลุผล แสดงอารมณ์ได้อย่างเหมาะสมและเอืออาทรแก่ผู้อนื ชอบทีเสียง สร้างกลยทุ ธ์ใหมๆ่ เพอื ให้บรรลุเป้ าหมาย มีการโฆษณาตัวเองและทําใหก้ ารขัดแย้งภายในเกิดขึ น น้อยทีสุด กระแสในปัจจุบันได้มุ่งใหค้ วามสนใจกับภาวะผู้นําแบบเปลียนแปลง (Transformational Leadership) และภาวะผู้นําทีมีความสามารถพิเศษ (Charismatic Leadership) ซึ งแนวคิดเหล่านี ได้ พยายามอธิบายว่าผู้นําประสบความสําเร็จในระดับสูงในการจูงใจสมาชิก ความผูกพันต่อองคก์ าร ความเคารพนับถอื ความไว้วางใจ ความชืนชมในตัวผู้นําการอทุ ิศตนในการทํางาน ความจงรักภักดี และการปฏิบัติงานของสมาชิกได้อย่างไรและยังพยายามอธิบายอีกว่า ผู้นาํ บางคนสามารถนาํ องค์การหรือหน่วยงานของตนประสบความสําเร็จอยา่ งยอดเยยี มได้อย่างไร เนืองจากการดําเนิน ธุรกิจขององค์การในยุคโลกาภิวัตน์ทีมีการลงทุนหรือดําเนินธุรกิจขา้ มประเทศ ทําให้หลายๆ องค์การมุ่งสร้างผู้นาํ ทีสามารถบริหารและจดั การคนในประเทศทีไปลงทุนหรื อดําเนินธุรกิจ ประกอบกับแนวคิดทีมอี ยู่ยังอาจไม่เพียงพอต่อการสร้างรูปแบบภาวะผู้นําทีมีประสิทธิภาพสูงสุด จึงนาํ ไปสู่การพัฒนาแนวคิดการแลกเปลียนทางวัฒนธรรม (Cross-Cultural Perspectives) ขึ น (Hartog and Koopman, 2001: 167) 7) แนวคิดการแลกเปลียนทางวัฒนธรรม(Cross-Cultural Perspectives) นกั วิชาการทีศึกษาเกียวกับภาวะผู้นําหลายๆ ท่านทีได้วิพากษ์วิจารณ์แนวคิด เกียวกับภาวะ ผู้นําทีมอี ยู่จากอดีตถึงปัจจุบันว่ามคี วามเฉพาะเจาะจงทางสังคมและวัฒนธรรม เพราะ แนวคิดและทฤษฎีส่วนใหญ่มาจากการศึกษาวิจัยและทดลองในประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา

35 หรือประเทศทางยุโรปเพียงบางประเทศเท่านั น ดังเช่นทีHouse (1995 อ้างถึงใน Hartog and Koopman, 2001: 178) ได้กล่าวว่า ทฤษฎีภาวะผู้นําส่วนใหญ่มักจะมีพืนฐานทางวัฒนธรรมของ ประเทศแถบทวีปอเมริกาเหนือ โดยเฉพาะวัฒนธรรมอเมริกันทีลักษณะบางอย่างแตกต่างจาก วัฒนธรรมในประเทศอนื ๆ เช่น การเนน้ ทีปัจเจกบุคคล ในขณะทีบางวัฒนธรรมลักษณะการรวม กลุ่มทางสังคมจะมีความโดดเด่นกว่า แต่ก็ยังมีการนําทฤษฎีเหล่านี มาตีความโดยปราศจากการ ประยุกต์ทีเหมาะสม โดยเฉพาะประเทศทีกําลังพัฒนาทีค่อนข้างจะมีความแตกต่างอย่างเห็นได้ชัด จากประเทศสหรัฐอเมริกาหรือประเทศทีพัฒนาแล้วอืนๆ นอกจากนั นKanungo and Mendonca (1996 อ้างถึงใน Hartog and Koopman, 2001: 178) ยังได้อภิปรายว่า ในประเทศทีกําลังพัฒนาควร ให้ความสําคัญกับการเปลยี นแปลงองค์การมากกวา่ การให้ความสําคัญกับการักษาสภาพทีเป็ นอยู่ ในปัจจุบัน จากข้อมูลดังกล่าวจึงมีการแสดงความคิดเหน็ วา่ บทบาทของผู้นําทีมีความสามารถพิเศษ (Charismatic Leadership Role) มีความสําคัญต่อองคก์ าร ในประเทศกําลังพัฒนาโครงการวิจยั GLOBE ทีเป็ นการศึกษาในระยะยาวใน 60 ประเทศมีวัตถุประสงค์เพือค้นหาคุณสมบัติร่วมของ ภาวะผู้นําทีเหมอื นกันในทุกวัฒนธรรม และเพือค้นหาคุณสมบัติของภาวะผู้นําทีเป็ นทียอมรับใน ต่างวัฒนธรรม ซึงได้ผลโดยสรุปว่า หลายๆคุณสมบัติทีเหมอื นๆกันในทุกวัฒนธรรมสะท้อนภาวะ ผู้นาํ แบบใชค้ วามสามารถพิเศษ สร้างแรงบนั ดาลใจ และมีวิสัยทัศน์กว้างไกล (Charismatic, Inspirational, and Visionary Leadership) นอกจากนั นผู้นําทมี ุ่งการทํางานเป็ นทีม (Team-oriented Leadership) มุ่งความเป็ นเลิศ (Being Excellence Oriented) เด็ดขาด (Decisive) เฉลียวฉลาด (Intelligent) และใช้วิธีแก้ปัญหาแบบ win-win (A Win-win Problem Solver) Hartog et al., 1999 อ้างถึงใน Hartog and Koopman, 2001: 179) ก็มีลักษณะเป็ นคุณสมบตั ิร่วมเช่นกัน จากผล การศกึ ษาของ Graen and Wakabayashi ทีศึกษาความแตกต่างทางวัฒนธรรมญีปุ ่ นและอเมริกัน ใน บริษัททีมีการลงทุนข้ามชาติ โดยประกอบดว้ ยพนักงานทั งญีปุ ่ นและอเมริกนั ทํางานร่วมกัน ปรากฏวา่ ผู้จัดการของทั งสองชาติมลี ักษณะของฒวันธรรมในการทํางานบางอย่างทีแตกต่างกัน ซึง ได้มีการเสนอทางออกโดยการให้ทั งสองฝ่ ายต่างเรียนรู้วัฒนธรรมของกันและกัน แล้วร่วมกันสร้าง วัฒนธรรมขององคก์ ารซึงเป็ นวัฒนธรรมร่วมกันขึ นมาHouse, Wright and Aditya (1997) and Bond and Smith (1996) ได้อภิปรายวา่ ความแตกต่างทางวัฒนธรรมมีอิทธิพลต่อความคาดหวังและ การตั งสมมติฐานเกียวกับสิงแวดล้อมของบุคคล ทัศนคติทีมตี ่อคนวัฒนธรรมอนื และรูปแบบการมี ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม อีกทั งอิทธิพลทางวัฒนธรรมยังมีผลกระทบต่อรูปแบบภาวะผู้นําทีมี ประสิทธิผล ซึงแสดงให้เห็นวา่ รูปแบบภาวะผู้นําทปี ระสบความสําเร็จควรจะต้องขึ นกับปัจจัยด้าน วัฒนธรรมดว้ ย ตั งแต่มีการเริ มต้นศึกษาภาวะผู้นําอย่างเป็ นแบบแผนตามระเบียบวิธีการทาง วิทยาศาสตร์มาจนถึงปัจจุบัน ก็ปรากฏวา่ มีการศึกษาและแนวคิดเกิดขึ นมากมาย แต่อย่างไรก็ตามก็ ยังไม่มีผู้ใดสามารถสรุปได้วา่ รูปแบบผู้นําบแบใดทีจะทําให้ผู้นํามีประสิทธิภาพสูงสุด(ธงชัย สนั ตวิ งษ์,


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook