Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู้มือครูสำหรับชุดการเรียน

คู้มือครูสำหรับชุดการเรียน

Published by nsdv, 2019-09-16 19:22:09

Description: คู้มือครูสำหรับชุดการเรียน

Search

Read the Text Version

คูมอืครูสำหรบัชุดการเรยน วชาภาษาอังกฤษเพ่อการส่อสาร หลกัสูตรประกาศนยีบัตรวชาชพีชนั้สูงพทธศกัราช2562 ศนูยอาชีวศกึษาทวภาคี ศนูยสงเสรมและพัฒนาอาชวีศึกษาภาคเหนือ สำนกังานคณะกรรมการการอาชีวศกึษากระทรวงศกึษาธกิาร

คมู่ ือครูสำหรับชุดการเรียน วชิ าภาษาองั กฤษเพือ่ การสอ่ื สาร ศูนยอ์ าชีวศึกษาทวิภาคี ศนู ยส์ ่งเสริมและพัฒนาอาชีวศกึ ษาภาคเหนือ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

คมู่ ือครสู ำหรับชดุ การเรยี น วชิ าภาษาองั กฤษเพ่ือการสอื่ สาร พมิ พค์ รง้ั ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 จำนวน 50 เล่ม ลขิ สทิ ธ์ิของศนู ยส์ ง่ เสริมและพฒั นาอาชีวศึกษาภาคเหนือ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ จดั ทำโดย ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นาอาชวี ศกึ ษาภาคเหนือ ศูนย์อาชวี ศึกษาทวภิ าคี สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ พิมพ์ท่ี ชำนาญการพมิ พ์ 30/9 หมู่ 2 ถนนเจ็ดยอด-ชา่ งเคีย่ น ตำบลชา้ งเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300 โทรศัพท์ 053-401213, 089-1921916 โทรสาร 053-401213

คำนำ คมู่ อื ครูสำหรบั ชดุ กำรเรยี นรู้ วชิ ำภำษำองั กฤษเพอ่ื กำรสอ่ื สำร ดว้ ยรัฐบาลมีนโยบายเรง่ ยกระดับภาษาอังกฤษของคนไทย โดยมีเปา้ หมายท่ตี ้องการใหค้ นไทยสามารถ พูดภาษาอังกฤษสื่อสารกับชาวต่างชาติได้ ประกอบกับประเทศไทยได้เข้าสู่ประชาคมอาเซียนและนโยบาย ไทยแลนด์ 4.0 ของรัฐบาล ย่ิงมคี วามจำเปน็ ในการพัฒนาคนไทยใหม้ คี วามพร้อมในการแข่งขันในตลาดแรงงาน ที่เปิดเสรีมากขึ้น จึงมอบหมายให้กระทรวงศึกษาธิการดำเนินการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ เพื่อยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนภาษาอังกฤษทุกระดับ โดยในส่วนของสำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา ได้กำหนดนโยบายเร่งด่วนในการพัฒนาความรู้และทักษะภาษาอังกฤษของนักเรียน นักศึกษา ใหม้ คี วามพร้อมสูง่ านอาชพี เพื่อให้การปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษมีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพ การจัดการเรียนการสอนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคี ร่วมกับศูนย์ส่งเสริม และพัฒนาอาชวี ศกึ ษาภาคเหนอื ไดจ้ ดั ทำชดุ การเรียนรายวิชา 30000-1201 ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร 3- 0-3 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2562 จำนวน 8 หน่วยการเรียน โดยแต่ละหน่วย ประกอบด้วยแบบประเมินตนเองก่อนและหลังเรียน แผนการเรียนประจำหน่วย เนื้อหาสาระและกิจกรรม เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาเรียนรู้และฝึกปฏิบัติด้วยตนเองแล้วเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการใช้ ภาษาอังกฤษและสามารถนำไปใช้เป็นเครือ่ งมอื สือ่ สารในงานอาชีพ พร้อมทั้งได้จัดทำเอกสาร “คู่มือครูสำหรบั ชุดการเรียน วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร” ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมที่หลากหลายและเน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ สำหรับเป็นแนวทางให้ครูผู้สอนภาษาอังกฤษนำไปใช้พัฒนาผู้เรียนให้ มีทักษะการสื่อสารทั้งใน ชีวิตประจำวันและในงานอาชีพ โดยเน้นความเข้าใจและการฝึกปฏิบัติการใช้ภาษาในสถานการณ์ต่าง ๆ ด้วย การเรียนรู้ผ่านสื่อและเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่น่าสนใจเหมาะสมกับกลุ่มผู้เรียน ควบคู่กับการจัดการเรียนรู้ที่เนน้ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ การเรยี นร้รู ว่ มกัน และการวดั ประเมินผลตามสภาพจริง ศูนย์อาชวี ศึกษาทวิภาคีและศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือ ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิ ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารและครูที่มีส่วนร่วมในการจัดทำเอกสารฉบับนี้มา ณ โอกาสนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการนำไปใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อ พฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นอาชีวศึกษาต่อไป ศูนยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นาอาชวี ศึกษาภาคเหนือ ศูนยอ์ าชวี ศึกษาทวภิ าคี พฤษภาคม 2562

สำรบญั หนา้ 2 คมู่ อื ครสู ำหรบั ชุดกำรเรยี นรู้ วชิ ำภำษำองั กฤษเพอื่ กำรสอ่ื สำร 8 บทนำ 12 • การจดั การเรียนรู้ท่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ 12 • การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ที่เน้นบทบาทและการมสี ่วนรว่ มของผเู้ รียน 20 24 แนวทางการนำไปใช้ 31 • คูม่ ือครู • แผนการจัดการเรยี นรู้ 35 • การจดั การเรยี นรู้ 37 • การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 39 • บทบาทของครูผ้สู อนและผเู้ รยี น 40 40 แนวทางการจัดการเรยี นรู้ วิชาภาษาอังกฤษเพอื่ การสื่อสาร 57 • ข้อเสนอแนะแนวทางการจัดการเรยี นรู้ 68 • ขอบข่ายเนอื้ หาสาระ 86 • หน่วยการเรยี นรู้ 97 • แนวทางการจดั การเรียนรูร้ ายหนว่ ย 111 • แผนการจดั การเรยี นรู้ 123 134 หน่วยท่ี 1 Welcoming 145 หนว่ ยท่ี 2 Staying in Touch หน่วยท่ี 3 Getting along with People 161 หน่วยที่ 4 Selling and Buying 176 หนว่ ยท่ี 5 Applying for Jobs หนว่ ยที่ 6 Being on Duties หน่วยท่ี 7 Getting to Know the Workplace หนว่ ยท่ี 8 Reporting Information ภาคผนวก • แบบฟอร์มแผนการจัดการเรียนรู้ • คณะกรรมการ

ชดุ การเรยี น วชิ าภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร

บทนำ คมู่ อื ครสู ำหรบั ชดุ กำรเรยี นรู้ วชิ ำภำษำองั กฤษเพอื่ กำรสอ่ื สำร กำรจดั กำรเรยี นรทู้ เี่ นน้ ผเู้ รยี นเป็ นสำคญั ในการจัดการเรียนรู้ตามหลกั สูตรการอาชีวศึกษา ครูผู้สอนจะต้องศึกษาทำความเข้าใจ จุดหมายและหลักการของหลักสูตร จุดประสงค์สาขาวิชา มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพสาขาวิชา รายละเอียดของรายวิชาที่สอน รวมทั้งข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อออกแบบการจัดการเรียนรู้ จดั เตรยี มความพร้อมของส่ิงอำนวยความสะดวกสนับสนุนและส่งเสรมิ การจัดการเรยี นรู้ให้ผู้เรียน เกิดผลสัมฤทธิ์ตามสมรรถนะที่กำหนด และเป็นไปตามแนวพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 โดยเฉพาะในหมวด 4 แนวการจัด การศึกษา มาตรา 22 ที่กล่าวว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถ เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้อง สง่ เสริมให้ผู้เรยี นสามารถพัฒนาตามธรรมชาตแิ ละเต็มตามศกั ยภาพ และมาตรา 24 ทกี่ ำหนดให้ สถานศกึ ษาและหน่วยงานทเ่ี กีย่ วข้องดำเนินการจดั กระบวนการเรยี นรู้ ดงั น้ี 1. จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคำนงึ ถงึ ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล 2. ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ ความรู้ มาใชเ้ พ่ือปอ้ งกันและแก้ปญั หา 3. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น รักการอ่าน และเกิดการใฝร่ อู้ ยา่ งตอ่ เน่ือง 4. จดั การเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความร้ดู า้ นตา่ ง ๆ อย่างไดส้ ัดสว่ นสมดุลกัน รวมท้ังปลูกฝังคณุ ธรรม คา่ นิยมทดี่ งี ามและคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคไ์ ว้ในทุกวิชา 5. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจดั บรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และ อำนวยความสะดวกเพื่อใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทงั้ สามารถใช้การวิจัยเป็น ส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียน การสอนและแหล่งวทิ ยาการประเภทต่าง ๆ 6. จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผปู้ กครองและบุคคลในชมุ ชนทกุ ฝ่าย เพือ่ รว่ มกันพัฒนาผเู้ รยี นตามศกั ยภาพ 2 ค่มู อื ครสู ำหรับชดุ การเรยี น วิชาภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สาร

การจัดการเรียนรู้แต่ละเรื่องหรือแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ครูผู้สอนสามารถเลือกใช้ กระบวนการและวิธีการที่หลากหลาย โดยเน้นการเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้ร่วมกัน การ เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง การเรียนรู้แบบบูรณาการ ควบคู่ไปกับการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และลกั ษณะพฤติกรรมท่พี งึ ประสงคข์ องผูเ้ รียน และใช้วธิ ีการวดั ประเมินผลตามสภาพจริง • ปัจจยั ท่ีส่งเสรมิ สนับสนนุ การเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้จะประสบความสำเร็จตามจุดประสงค์หรือไม่ เพียงใด ขึ้นอยู่กับ การส่งเสริมสนบั สนุนของปจั จยั ตา่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วข้องกบั ตัวผูส้ อนและผเู้ รียน ดงั นี้ 1. ความสนใจ (Interest) หมายถึง ภาวะที่จิตใจของผู้เรียนจดจ่อและปรารถนาที่จะ เรยี นรสู้ ่งิ ใดสิ่งหนง่ึ ดงั นั้นหากเรอ่ื งท่เี รยี นตรงกบั ความสนใจ ผ้เู รียนกจ็ ะเรียนรู้เรอ่ื งนนั้ ได้ดี 2. ความต้องการ (Needs) หมายถึง สภาวะที่ผู้เรียนยังขาดหรือยังไม่มีสิ่งใดสิ่งหนึ่ง และมีความตอ้ งการทีจ่ ะมีหรือใหไ้ ด้มาในสิ่งเหล่านน้ั ความตอ้ งการนจ้ี ะเปน็ แรงผลักดันให้ผู้เรียน มีการปรับปรงุ เปลย่ี นแปลงพฤติกรรมภายในตนเองอย่างไมห่ ยดุ ย้งั ด้วยการเรียนรู้ 3. ความพรอ้ มในการเรียนรู้ (Readiness) หมายถึง สภาวะทผ่ี ู้เรียนที่อยู่ในเกณฑ์หรือ ในสภาพที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งมักจะขึ้นอยู่กับ อายุ ประสบการณ์ สติปญั ญา ทีจ่ ะทำใหผ้ เู้ รียนสามารถเรยี นรเู้ รอ่ื งตา่ ง ๆ ไดด้ ไี ม่เท่ากนั 4. การจดจำ (Retention) หมายถึง สภาวะของสมอง สติปัญญาในการจดจำสิ่งต่าง ๆ ที่ได้เรียน ได้เห็น ได้รู้มา บางคนมีความสามารถในการจดจำ จำได้ดีและนาน แต่บางคนอาจต้อง ทำซ้ำหรือทบทวนบอ่ ยครั้ง 5. การกระตุ้นเตือน (Motivation) การเรียนรู้ที่เกิดจากแรงจูงใจและมีการกระตุ้น เตอื น ย่อมจะมปี ระสทิ ธิภาพกวา่ การเรยี นรทู้ ี่ไม่มีการกระตนุ้ เตือน 6. การจูงใจ (Persuasion) คนเราจะเรียนรู้ได้มากหรือน้อยอยู่ที่การชี้นำ การจูงใจ ซึ่งมีทั้งแรงจูงใจภายในที่เกิดจากตัวผู้เรียนเอง ได้แก่ ความต้องการพัฒนาตนเอง ความต้องการ ได้รับความสำเร็จ เป็นตน้ และแรงจงู ใจภายนอก ซ่ึงไดแ้ ก่ สิ่งของ รางวัล ประโยชน์ เป็นต้น 7. ความแตกต่างของบุคคล (Individual Different) ความแตกต่างของบุคคลมี ผลกระทบต่อความสามารถในการเรยี นรูข้ องบคุ คล ไมว่ ่าจะเปน็ ความรู้ ประสบการณ์ อายุ ความ ถนัด สตปิ ัญญา ความสามารถ เป็นผลให้เกดิ การเรียนรู้ไม่เท่ากัน คูม่ ือครสู ำหรับชดุ การเรยี น วิชาภาษาองั กฤษเพ่อื การส่อื สาร 3

8. การปรบั ตัว (Adjustment) หมายถงึ การทีผ่ เู้ รียนปรับปรุง เปล่ียนแปลงพฤติกรรม การกระทำ เพื่อหลีกเลี่ยงสภาวะที่จะเป็นอุปสรรคขัดขวางชีวิตความเป็นอยู่ของตน เพื่อให้ สามารถดำรงชวี ิตหรอื เปน็ ทีย่ อมรับสงั คม 9. เทคนิคการสอน (Teaching Techniques) หมายถึง การจัดการ วิธีการสอนหรือ วิธีการถ่ายทอดความรู้ ขั้นตอนการใช้สื่อ เครื่องมือ รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียน ได้รับความรู้และประสบการณ์อย่างเต็มที่ด้วยความเข้าใจ ไม่เบื่อหน่าย ทำให้เรียนรู้ได้มากและ จดจำได้นาน 10. การทบทวนบทเรียน (Repetition of Practice) หมายถึง วิธีการที่จะช่วยให้ ผเู้ รียนเกิดความรคู้ วามเข้าใจกระจ่างแจง้ เกดิ ความแม่นยำ ทำใหเ้ กดิ ผลดตี ่อการเรยี นรู้ 11. การบีบบังคับให้เกิดการเรียนรู้ (Reinforcement) หมายถึง การตั้งกติกา จำกดั ขอบเขต เพื่อบีบบังคับให้ผู้เรียนมีการตอบสนองต่อสิ่งที่เรียนมากขึ้น ได้แก่ การทดสอบ การให้ คะแนน การต้งั เกณฑ์ผ่าน การจำกัดเวลาใหเ้ สร็จทนั การกำหนดเวลาเรียน การลงโทษ เป็นตน้ • ข้อควรคำนึงในการจัดกระบวนการเรียนรู้ทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ ในการจดั การเรยี นรทู้ เ่ี น้นผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ มขี ้อควรคำนงึ ดงั น้ี 1. กระบวนการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดี ถ้าผู้เรียนมีโอกาสคิด ทำ สร้างสรรค์ โดยท่ี ครผู ูส้ อนชว่ ยจัดบรรยากาศการเรยี นรู้ จดั สอ่ื และสรปุ สาระการเรียนรู้รว่ มกนั 2. คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้านความสามารถทางสติปัญญา อารมณ์ สังคม ความพร้อมของร่างกาย จิตใจ และสร้างโอกาสให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยวิธีการท่ี หลากหลายและตอ่ เนื่อง 3. สาระการเรียนรมู้ ีความสมดลุ เหมาะสมกบั วัย ความถนดั ความสนใจของผู้เรยี น และ ความคาดหวังของสังคม ทั้งนี้ ผลการเรียนรู้จากสาระและกระบวนการ จะต้องทำให้ผู้เรียนมี ความรู้ ความคดิ ความสามารถ ความดี และมีความสขุ ในการเรยี น 4. แหลง่ เรียนรู้มีหลากหลายและเพียงพอท่ีจะให้ผเู้ รียนได้ใช้เป็นแหลง่ คน้ ควา้ หาความรู้ ตามความถนัด ความสนใจ 5. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกบั ครูผู้สอน และระหว่างผู้เรียนกบั ผู้เรียน มีลักษณะเปน็ กัลยาณมิตรที่ช่วยเหลือเกื้อกูลห่วงใย มีกิจกรรมร่วมกันในกระบวนการเรียนรู้ คือ แลกเปลี่ยน ความรู้ ถักทอความคดิ พิชติ ปัญหาร่วมกัน 4 คู่มือครสู ำหรับชดุ การเรยี น วชิ าภาษาองั กฤษเพ่อื การสือ่ สาร

6. ผู้เรียนมีความศรัทธาต่อครูผู้สอน สาระที่เรียน รวมทั้งกระบวนการที่จะก่อให้เกิด การเรียนรู้ ผู้เรียนใฝ่รู้ มีใจรักที่จะเรียนรู้ ทั้งนี้ ครูผู้สอนต้องมีความเชื่อว่าผู้เรียนทุกคนสามารถ เรียนรู้ได้ และมวี ิธีการเรียนรู้ที่แตกต่างกนั 7. สาระและกระบวนการเรียนรู้เชื่อมโยงกับเหตุการณ์และสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้เรียน จนผ้เู รยี นสามารถนำผลจากการเรียนรู้ไปประยกุ ตใ์ ช้ได้ในชวี ติ จรงิ 8. กระบวนการเรียนรู้มีการเชื่อมโยงกับเครือข่ายอื่น ๆ เช่น ชุมชน ครอบครัว องค์กร ต่าง ๆ เพื่อสร้างความสัมพันธ์และร่วมมือกันให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และได้รับประโยชน์จาก การเรียนรสู้ งู สุด • บทบาทหน้าที่ของผูส้ อน ผสู้ อนจะสามารถถ่ายทอดความร้ไู ดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ และทำให้ผู้เรียนเกดิ ผลสมั ฤทธ์ิ ตามจุดประสงค์ที่กำหนดได้นั้น นอกจากจะต้องมีความรู้ในเรื่องต่าง ๆ ที่กล่าวมาแล้ว จะต้อง ดำเนนิ การในเร่อื งต่อไปน้ีทุกครง้ั ท่ที ำหนา้ ทส่ี อนหรือถ่ายทอดความรู้ 1. เตรียมตัวเอง ได้แก่ ทำความเข้าใจในหลักสูตรและจุดประสงค์ของหลักสตู ร ศึกษา คน้ คว้าเนอ้ื หาสาระ ขอ้ มูล ตวั อยา่ ง ประสบการณท์ ่ีเก่ียวขอ้ งกบั เรอ่ื งทีต่ ้องการถา่ ยทอด 2. เตรียมสื่อ สิ่งแวดล้อมและสถานที่ ให้เหมาะสม สอดคล้องกับการจัดกิจกรรม การเรยี นรู้ 3. เตรียมผเู้ รียนหรือผรู้ บั การถ่ายทอดความรู้ ไดแ้ ก่ การชแี้ จงวัตถุประสงค์การเรียนรู้ การประเมินความรู้พื้นฐานเดิม การประเมินความพร้อมในการเรียนรู้ และการกระตุ้นให้เกิด ความอยากรู้ 4. ดำเนินการถ่ายทอดความรู้ ให้เป็นไปตามลำดับขั้นตอนตามเวลาที่กำหนดด้วย กิจกรรมที่หลากหลาย คำสง่ั ทช่ี ดั เจน และเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนมสี ่วนรว่ ม 5. ประเมินผลการเรียน โดยดำเนินการอย่างตอ่ เนื่องตามสภาพจริง รวมทั้งเปิดโอกาส ใหผ้ เู้ รยี นไดป้ ระเมนิ ตนเองและประเมินเพอ่ื น • คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผูส้ อน ผู้สอนหรือผู้ถ่ายทอดความรู้ เป็นปัจจัยสำคัญที่จะทำให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ ทักษะและทศั นคติที่ดเี กีย่ วกับเรื่องทีไ่ ด้รับการถา่ ยทอดความรู้ จนเกิดการเรยี นรู้หรือการเปลีย่ น แปลงพฤติกรรมตามวัตถุประสงค์ ดังนั้น อาจสรุปคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้สอนที่มีผลต่อ ความสำเรจ็ ในการเรียนรขู้ องผู้เรียน ได้ดงั นี้ คู่มือครสู ำหรับชดุ การเรยี น วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 5

1. คณุ ลกั ษณะทัว่ ไปของผสู้ อนหรือผ้ถู า่ ยทอดความรู้ ไดแ้ ก่ 1.1 มั่นใจในตนเอง เตรียมพร้อม ซ้อมดี มีสื่อและวิธีการที่เหมาะสม และตรงต่อ เวลา 1.2 เปน็ คนช่างสงั เกต 1.3 มีความคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์ 1.4 มีความสามารถในการแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ 1.5 มีการวางแผนที่ดี ทั้งเนื้อหา สำดับขั้นตอนการนำเสนอ รวมทั้งสื่อและ เครอื่ งมอื สื่อสาร 1.6 มมี นษุ ยสัมพนั ธ์ท่ดี ี และมคี วามสามารถในการประสานงาน 1.7 มบี คุ ลกิ ภาพทดี่ ี 1.8 มีความเป็นกัลยาณมิตร ยิ้มแย้มแจ่มใส เป็นกันเอง มีความเมตตา ยอมรับใน ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล และมีความเห็นใจผรู้ บั การถา่ ยทอดความรู้ 1.9 เปน็ นักประชาธิปไตย ยอมรบั ฟงั ความคดิ เห็นของผูร้ บั การถ่ายทอดความรู้ 1.10 มคี วามจริงใจในการถา่ ยทอดความรู้ 1.11 ปฏิบตั ติ นต่อผูร้ บั การถ่ายทอดความรอู้ ย่างเสมอภาค ทัดเทียมกัน 1.12 มีแบบฉบับลีลาที่เป็นของตนเอง ยอมรับจุดเด่นและจุดด้อยของตน มีความ ภูมใิ จและเขา้ ใจในบคุ ลิกภาพของตนและใช้ให้เกดิ ประโยชน์ 2. ตอ้ งรูจ้ รงิ ไดแ้ ก่ 2.1 ตอ้ งเปน็ คนรอบรู้ ศกึ ษาหาความร้อู ยเู่ สมอ 2.2 ตอ้ งรู้รายละเอียดในเรื่องท่ีตอ้ งการถา่ ยทอดอย่างเพยี งพอ 2.3 ตอ้ งเข้าใจเหตผุ ลของรายละเอียดนั้น 2.4 ต้องรสู้ มมตฐิ านหรอื ความเปน็ มาของสิง่ หรอื เร่ืองน้นั 2.5 ตอ้ งสามารถประยกุ ตส์ ่งิ หรือเรอื่ งน้ันให้เห็นเป็นจรงิ ได้ 3. ถ่ายทอดเปน็ ไดแ้ ก่ 3.1 มีเทคนิคต่าง ๆ เช่น การบรรยาย การนำอภิปราย การสัมมนา กรณีศึกษา และ/หรือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ดี เข้าใจง่าย ได้สาระ ทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติที่ต้องการ ทั้งนี้ ควรมีกิจกรรมที่หลากหลายมากกว่าการบรรยาย และต้องสอดคลอ้ ง กบั เนื้อหาและเวลา 6 คมู่ ือครสู ำหรบั ชดุ การเรยี น วิชาภาษาอังกฤษเพ่อื การส่อื สาร

3.2 พูดเปน็ คือ พูดแล้วทำใหผ้ ฟู้ ังเขา้ ใจได้อยา่ งรวดเร็ว สามารถพูดเรื่องท่ีซับซ้อน ยงุ่ ยากใหเ้ ปน็ เร่ืองที่เข้าใจงา่ ย 3.3 ฟังเป็น คือ ตั้งใจฟัง ฟังให้ตลอด ฟังให้ได้ความหมาย และสามารถควบคุม อารมณ์ในขณะท่ฟี งั 3.4 นำเสนอเปน็ ประเดน็ และสรุปประเด็นให้ชดั เจน 3.5 มีอารมณข์ ัน สรา้ งบรรยากาศในการเรยี นรู้ได้อย่างเหมาะสม 3.6 มีประสิทธิภาพในการถ่ายทอดความรู้ สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีเข้ากับการ ปฏบิ ัติไดด้ ี มองเหน็ เปน็ รูปธรรม 3.7 ใช้ภาษาพูดได้ดี ใช้ภาษาง่าย ๆ ตรงตามเนื้อหา ความต้องการ และพื้นฐาน ความร้เู ดิมของผรู้ ับการถ่ายทอดความรู้ 4. มหี ลกั จิตวทิ ยาในการสอนหรอื ถา่ ยทอดความรู้ ไดแ้ ก่ 4.1 ให้ความสนใจ ความเอาใจใส่ และการรับรูข้ องผู้รบั การถ่ายทอดความรู้ 4.2 คำนึงประโยชนข์ องผูร้ ับการถ่ายทอดความร้เู ป็นสำคญั 4.3 คำนึงถึงหลักการเรียนรู้ว่าผู้รับการถ่ายทอดความรู้จะเรียนรู้ไดด้ ี ถ้าผู้ถ่ายทอด ความรูม้ กี ารแยกเรอ่ื งออกเป็นประเด็นหรอื หัวข้อท่ีชัดเจน เป็นลำดับข้ันตอน 4.4 คำนึงถึงผลสัมฤทธิ์ของการเรียนรู้ว่าผู้รับการถ่ายทอดความรูจ้ ะเรียนได้ดีและ จำได้นาน ถา้ ได้มกี ารฝึกปฏบิ ัติควบคู่ไปกับการรับฟัง และได้ฝกึ ปฏบิ ัตซิ ้ำอยูเ่ สมอ 4.5 คำนึงถึงแรงจูงใจในการเรียนรูว้ า่ ผู้รับการถ่ายทอดความรูจ้ ะเรียนรู้ได้ดยี ิง่ ขึน้ ถ้าปฏิบัติแล้วได้รบั ทราบผลของการปฏบิ ัติอยา่ งรวดเร็ว 4.6 คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลว่า ผู้รับการถ่ายทอดความรู้มีศักยภาพ แตกตา่ งกนั จงึ ต้องเปิดโอกาสให้ได้ใชเ้ วลาในการศกึ ษาทำความเขา้ ใจ ไมเ่ รง่ รดั ผู้รับการถ่ายทอด ความรู้ 4.7 ต้องคำนึงอยู่เสมอว่าตนมีหน้าที่ช่วยทำให้ผู้รับการถ่ายทอดความรู้ เกิดการ เรยี นรู้ ไมใ่ ช่ผู้บอกความรู้ 5. มีจรรยาบรรณ ได้แก่ 5.1 เม่อื จะสอนหรือถา่ ยทอดความร้เู รอ่ื งใด ตอ้ งรู้จรงิ ในเรือ่ งนัน้ 5.2 ตอ้ งม่งุ ประโยชนข์ องผู้รับการถา่ ยทอดความร้เู ปน็ สำคญั คูม่ ือครสู ำหรับชดุ การเรยี น วชิ าภาษาอังกฤษเพอ่ื การสือ่ สาร 7

5.3 ไม่ตำหนิหรือกล่าวโทษปัญหาอุปสรรคในความไม่พร้อมของคนอื่นหรือ หน่วยงาน 5.4 ประพฤตปิ ฏบิ ัติตนเปน็ ตวั อย่างทีด่ ี และสอดคลอ้ งกบั เรือ่ งท่สี อน กำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นรทู้ เี่ นน้ บทบำทและกำรมสี ว่ นรว่ ม ของผเู้ รยี น การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นยุคของข้อมูลข่าวสารและการเปลี่ยนแปลง ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศที่ส่งผลให้การสื่อสารไร้พรมแดน การเข้าถึง แหล่งข้อมูลสามารถทำไดท้ ุกท่ีทุกเวลา ผลกระทบจากยุคโลกาภิวัตน์นี้ ทำให้ผู้เรยี นจำเป็นตอ้ งมี ความสามารถในการเรียนรู้ได้ด้วยตนเองและต้องแสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลา การที่มีองค์ ความรู้ใหม่ ๆ เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องมากมาย ทำให้เนื้อหาสาระมีมากเกินกว่าที่ผู้เรียนจะเรียนรู้ จากในห้องเรียนได้หมด การสอนด้วยการ “พูด บอก เล่า” ของครูผู้สอนก็ไม่สามารถจะพัฒนา ผู้เรียนให้นำความรู้ทีไ่ ด้จากการเรียนในชัน้ เรียนไปปฏิบัติได้อย่างมปี ระสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล ดังนั้นจึงจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนรู้ให้ตอบสนองคว ามเปลี่ยนแปลงของสังคม เทคโนโลยี ผูส้ อนต้องปรับบทบาทจากผู้ถ่ายทอดความรู้เป็นผู้ชแี้ นะวธิ ีการคน้ คว้าหาความรู้ เพ่ือ พัฒนาผเู้ รยี นให้สามารถแสวงหาความรู้ และประยกุ ตใ์ ชท้ ักษะตา่ ง ๆ สร้างความเข้าใจด้วยตนเอง จนเกดิ เปน็ การเรียนรู้อย่างมคี วามหมาย การเรียนร้ทู ่ีเน้นบทบาทและการมีสว่ นรว่ มของผเู้ รยี น หรอื การเรียนรู้เชงิ รุก (Active Learning) เป็นกระบวนการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติหรือการลงมือทำ “ความรู้และทักษะ” ท่ี เกิดขึ้นจากประสบการณ์และการลงมอื ปฏิบัตดิ ว้ ยตนเอง การทผ่ี ู้เรยี นได้เรยี นรโู้ ดย การอ่าน การ เขียน การโต้ตอบและการวิเคราะห์ปัญหา ตลอดจนการมีส่วนร่วมและมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน ผูส้ อน สิ่งแวดล้อมในการเรยี นรู้ผ่านการปฏบิ ตั ิจรงิ จะสง่ ผลใหผ้ เู้ รยี นสามารถจดจำไดด้ แี ละนาน • รูปแบบวิธีการจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning การจัดการเรียนรู้ที่เน้นบทบาทและการมีส่วนร่วมของผู้เรียน (Active Learning) มีพื้นฐานมาจากแนวคิดเดียวกับการให้ผู้เรียนเป็นผู้มีบทบาทหลักในการเรียนรู้ของตนเอง และ สร้างองค์ความรู้ใหม่ (Constructivist) ด้วยตนเอง การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning จึง ครอบคลมุ วิธกี ารจดั การเรยี นรูห้ ลากหลายวิธี เช่น - การเรยี นรู้โดยใช้กิจกรรมเปน็ ฐาน (Activity-Based Learning) 8 คมู่ อื ครสู ำหรับชดุ การเรยี น วชิ าภาษาอังกฤษเพือ่ การสื่อสาร

- การเรยี นรเู้ ชงิ ประสบการณ์ (Experiential Learning) - การเรียนรู้โดยใช้ปญั หาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) - การเรียนรู้โดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน (Project-Based Learning) - การเรยี นรทู้ เี่ นน้ ทกั ษะกระบวนการคดิ (Thinking-Based Learning) - การเรยี นรูก้ ารบริการ (Service Learning) - การเรยี นรู้จากการสบื คน้ (Inquiry-Based Learning) - การเรียนรู้ด้วยการคน้ พบ (Discovery Learning) เป็นต้น • บทบาทของครกู บั การจดั กิจกรรมการเรียนร้แู บบ Active Learning บทบาทของครผู ู้สอนในการจดั กิจกรรมการเรียนรตู้ ามแนวทางของ Active Learning มี ดังนี้ (ณัชนนั แก้วชยั เจริญกจิ , 2550.) 1. จัดให้ผเู้ รยี นเปน็ ศนู ยก์ ลางของการเรียนการสอน กิจกรรมตอ้ งสะท้อนความตอ้ งการใน การพัฒนาผเู้ รียนและเนน้ การนำไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตจรงิ ของผู้เรยี น 2. สร้างบรรยากาศของการมีส่วนร่วม และการเจรจาโต้ตอบที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมี ปฏสิ มั พันธท์ ่ีดีกับครูผู้สอนและเพื่อนในชนั้ เรียน 3. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นพลวตั (Dynamic) ส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนมีส่วนร่วมใน ทกุ กิจกรรมรวมทง้ั กระตุน้ ใหผ้ ้เู รียนประสบความสำเรจ็ ในการเรยี นรู้ 4. จัดสภาพการเรียนร้แู บบร่วมมอื ส่งเสรมิ ใหเ้ กิดการร่วมมอื ในกลมุ่ ผ้เู รียน 5. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ท้าทาย และให้โอกาสผู้เรียนได้รับวิธีการสอนที่ หลากหลาย 6. วางแผนเก่ียวกับเวลาในจัดการเรียนการสอนอย่างชัดเจน ทั้งในส่วนของเนื้อหาและ กิจกรรม 7. ครูผู้สอนต้องใจกว้าง ยอมรับในความสามารถ การแสดงออกและความคิดเห็นของ ผู้เรยี น • ทักษะพ้นื ฐานของผเู้ รยี นในการเรยี นร้แู บบ Active learning ในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ครูผู้สอนอาจจำเป็นต้องพัฒนาทักษะ พื้นฐานของผู้เรียน เพื่อให้การเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธิ์ตาม คมู่ ือครสู ำหรับชดุ การเรยี น วิชาภาษาองั กฤษเพื่อการสือ่ สาร 9

จุดประสงค์การเรียนรู้ ในขณะเดียวกัน บางกิจกรรมที่ผู้สอนออกแบบสามารถช่วยพัฒนาทักษะ พนื้ ฐานเหลา่ น้ีให้กับผู้เรยี นไดเ้ ช่นกนั ได้แก่ 1. การพูดและการฟัง เมื่อผู้เรียนได้พูดในหัวข้อใดหัวข้อหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นการตอบ คำถามของผ้สู อนหรือการอธิบายเร่ืองใดเรอ่ื งหน่งึ ให้เพื่อนร่วมชัน้ ฟงั ผเู้ รยี นไดฝ้ ึกเรียบเรียงและ ประมวลความรูท้ ตี่ นได้ศึกษาและเรยี นรู้ในชั้นเรียนเข้าดว้ ยกนั เมื่อผเู้ รียนฟังการบรรยาย ผู้สอน ควรมั่นใจว่าเป็นการฟังที่มีความหมาย ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงระหว่างสิ่งท่ีผูเ้ รียนรูอ้ ยู่แล้วกบั ส่ิงทผี่ เู้ รยี นกำลงั ฟังในการบรรยายแต่ละคร้ัง ในขณะท่ผี ู้เรยี นบางคนอาจตอ้ งการเวลาระยะหนึ่ง ในการทำความเข้าใจและ เรียบเรียงข้อมูลที่ได้จากการฟัง วิธีการหนึ่งที่ผู้สอนจะกระตุ้นความ สนใจของผู้เรียนได้ คือ การใช้วิธีตั้งคำถามที่จุดประกายความสนใจใคร่รู้ของผู้เรียนก่อนเร่ิม การบรรยาย ผู้เรียนจะเกิดความสงสัย อยากค้นหาคำตอบ เพื่อให้ได้คำตอบนั้น ผู้เรียนจะให้ ความสนใจในสิ่งที่ผู้สอนจะบรรยายต่อไป หรือผู้สอนอาจมอบหมายงานล่วงหน้า ให้ผู้เรียน อธิบายหัวข้อใดหัวข้อหน่ึงที่ผู้สอนกำลังจะบรรยายแก่เพื่อนร่วมชั้นหลังจบการบรรยาย ผู้เรียน จะใหค้ วามสนใจในเน้อื หาทีผ่ ู้สอนจะบรรยาย ประมวลผลและเรยี บเรยี งเน้ือหาของการบรรยาย ภายในระยะเวลาทจ่ี ำกดั และสื่อสารให้เพอ่ื นรว่ มชน้ั ไดเ้ ขา้ ใจในสงิ่ ทตี่ นเองเข้าใจ 2. การเขยี น คอื กระบวนการทผี่ ูเ้ รยี นประมวลขอ้ มูลทต่ี นเองมีอยแู่ ละถา่ ยทอดออกมา ด้วยสำนวนภาษาของตนเอง การฝึกทักษะการเขียนเหมาะกับผู้เรียนท่ีชอบเรียนรู้ด้วยตนเอง ทักษะการเขยี นถกู ใช้ไดผ้ ลดมี ากกบั ชัน้ เรียนขนาดใหญ่ ในขณะทกี่ ารมอบหมายงานกลมุ่ ย่อยหรือ การจับคู่เป็นกิจกรรมที่ไม่ค่อยเหมาะสมนัก เพราะผู้เรียนทุกคนอาจไม่ได้มีส่วนร่วมในงานเขียน ของกลมุ่ 3. การอ่าน โดยปกติแล้ว ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ผ่านการอ่านได้ดี แต่ผู้เรียนมักจะขาด การได้รับคำแนะนำเพื่อการอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ กิจกรรมเพื่อส่งเสริม Active learning เช่น การทำสรุปหรือบันทึกย่อตรวจสอบความเข้าใจ จะช่วยให้ผู้เรียนสรุปแนวคิดรวบยอดจาก การอา่ นและพัฒนาความสามารถในการจบั ใจความสำคญั ได้ 4. การสะท้อน โดยปกติ ผู้สอนจะจบการพูดบรรยายทีด่ ำเนินมาอย่างต่อเน่ืองเมื่อใกล้ จะหมดเวลาเรียนแล้ว และผู้เรียนก็จะเริ่มเก็บอุปกรณ์การเรียนเพื่อไปเข้าเรียนรายวิชาถัดไป ในบางครั้งผู้เรียนจึงไม่ได้ซึมซับความรูจ้ ากการบรรยายที่เพิ่งจบลงเลย เพราะผู้เรียนไม่มเี วลาได้ ถา่ ยทอดในสิ่งทเ่ี พ่งิ เรียนร้โู ดยเช่อื มโยงเข้ากบั ส่ิงทรี่ อู้ ยูแ่ ล้วหรือไดน้ ำความรู้ที่ได้ศึกษามาน้ันไปใช้ ดงั นนั้ การให้ผู้เรียนไดห้ ยุดเพ่ือคิดหรือถา่ ยทอดความรูข้ องตนผ่านการสอน หรือทบทวนให้เพื่อน 10 คูม่ อื ครสู ำหรับชดุ การเรยี น วิชาภาษาองั กฤษเพอื่ การส่ือสาร

รว่ มชน้ั หรือตอบคำถามต่าง ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั เรือ่ งนน้ั ๆ จะเป็นวิธีทง่ี ่ายที่สุดในการกระตุ้นความ สนใจของผู้เรียน โดยสรุป การจัดการเรียนรู้ที่เน้นบทบาทและการมีส่วนร่วมของผู้เรียน ( Active Learning) โดยการนำเอาวิธีการสอนและเทคนิคการสอนที่หลากหลายมาใช้ในการออกแบบ จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้และกิจกรรมกระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ส่งเสริม ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผูเ้ รียน และผู้เรียนกับผู้สอน เป็นการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นพัฒนา กระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนประยกุ ตใ์ ชท้ ักษะและเชื่อมโยงองค์ความรูน้ ำไปปฏิบัติเพอื่ แก้ไขปัญหาหรือประกอบอาชีพในอนาคต และถอื เปน็ การจัดการเรียนร้ปู ระเภทหนึง่ ที่ส่งเสริมให้ ผเู้ รียนมีคณุ ลักษณะสอดคลอ้ งกบั การเปลยี่ นแปลงในยคุ ปัจจบุ นั เอกสารอา้ งองิ ไชยยศ เรืองสุวรรณ. Active Learning. สืบค้นจาก http://www.drchaiyot.com เมื่อ 25 กรกฎาคม 2552. ณัชนัน แก้วชัยเจริญกิจ. บทบาทของครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมและวิธีการปฏิบัติตาม แนวทางของ Active Learning. สืบค้นจาก http://www.itie.org เมื่อ 25 กรกฎาคม 2552. บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์. 2551. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอน. พิมพ์ ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตน ราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ศูนย์เทคโนโลยอี เิ ล็กทรอนิกส์และคอมพวิ เตอร์แห่งชาติ. วรพจน์ วงศ์กิจร่งุ เรือง และอธิป จิตตฤกษ์ (แปล). 2554. ทกั ษะแหง่ อนาคตใหม่: การศึกษาเพ่ือ ศตวรรษ ที่ 21. กรงุ เทพฯ: สำนกั พมิ พ์ Open Worlds. วัชรี เกษพิชัยณรงค์ และน้ำค้าง ศรีวัฒนาโรทัย. 2557. การเรียนเชิงรุกและเทคนิคการจัดการ สอนท่ีเน้นการเรยี นเชิงรกุ . 10 ธันวาคม 2557, จากhttp://www.il.mahidol.ac. th/th/ วิจารณ์ พานิช. 2555. วิถีสร้างการเรยี นรู้เพื่อศษิ ย์ ในศตวรรษที่ 21. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: มลู นิธิสดศร-ี สฤษวงศ.์ คู่มอื ครสู ำหรบั ชดุ การเรยี น วิชาภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร 11

แนวทำงกำรนำไปใช้ คมู่ อื ครสู ำหรบั ชุดกำรเรยี นรู้ วชิ ำภำษำองั กฤษเพอื่ กำรสอ่ื สำร คมู่ อื ครู คู่มือครู หมายถึง เอกสารที่ให้ความรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งสำหรับครูผู้สอน ซึ่งอธิบาย ขั้นตอนและวิธีการใช้อย่างเป็นระบบ เพื่อแนะนำขั้นตอนการใช้ให้ครูผู้สอนสามารถนำไปใช้ได้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ จากความหมายดงั กล่าวข้างต้น “คูม่ ือครู” จึงมใิ ชแ่ ผนการจดั การเรียนรู้ แต่เป็นเอกสาร ที่นำเสนอเก่ยี วกบั ขอบข่ายสาระการเรยี นรขู้ องรายวชิ า ซึง่ แบง่ เปน็ หน่วยการเรยี นรู้ท่คี รอบคลุม สอดคล้องกับคำอธิบายรายวิชา โดยในแต่ละหน่วยได้นำเสนอรายการสอน สมรรถนะและ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ประจำหนว่ ยทต่ี ้องการให้เกดิ กับผ้เู รยี นหลังจากศึกษาเรียนรใู้ นหน่วยนั้น ๆ แล้ว รวมทั้งเวลาที่ใช้ในการจัดการเรียนรูแ้ ต่ละหน่วย อย่างไรก็ตาม เพื่อให้ครูผู้สอนสามารถนำ คูม่ อื ครไู ปใชป้ ระโยชนไ์ ด้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพและประสิทธผิ ลยิ่งขึน้ คณะกรรมการจัดทำคู่มือครู อาจเสนอแนะกิจกรรมการเรียนรู้หรือเทคนิควิธีการสอน สื่อและแหล่งการเรียนรู้ หลักฐานการ เรียนรู้ และแนวทางการวดั และประเมินผลการเรียนรใู้ นแตล่ ะหนว่ ยการเรียนรู้ เพอ่ื เปน็ ทางเลือก สำหรบั ครผู ู้สอนในการนำไปใชแ้ ละหรอื ประยุกต์ใช้ สำหรับคู่มือครูฉบับนี้ ยังได้นำเสนอเนื้อหาสาระสำคัญเกี่ยวกับหลักการจัดการเรียนรู้ การจัดทำแผนการจดั การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน ตลอดจน ข้อแนะนำการนำไปใช้ เพื่อให้ครูผู้สอนได้ศึกษาเรียนรู้นำไปใช้ในการวางแผน ออกแบบการจัด การเรียนรู้ จัดเตรียมสอ่ื การเรียนรู้ จดั กจิ กรรมการเรียนรู้และวัดผลประเมนิ ผล เพอื่ พัฒนาผู้เรยี น ใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะ เจตคติและกิจนิสยั ตามท่กี ำหนด แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ หมายถึง รายละเอียดของกจิ กรรมต่าง ๆ ที่ครูผู้สอนกำหนดขึน้ อย่างเป็นระบบและเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ล่วงหน้า เพื่อนำไปจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ บรรลุผลตามวตั ถุประสงคท์ วี่ างไว้ 12 คู่มือครสู ำหรับชดุ การเรยี น วิชาภาษาองั กฤษเพ่ือการสือ่ สาร

แผนการจัดการเรียนรู้นับว่าเป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับครูผู้สอนในการจัดการเรียนรู้ ครูผู้สอนจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อไปสู่เป้าหมายของ การจัดการศึกษาของหลักสูตรที่กำหนดไว้ ครูผู้สอนจะต้องหากลยุทธ์และวิธีการในการจัดทำ แผนการจดั การเรยี นรใู้ ห้ครบถว้ นตามองคป์ ระกอบสำคัญว่าจดั ทำแผนอยา่ งไร เพ่อื ใคร มีเทคนิค และวิธีการอย่างไร ผลที่ได้รับจะเป็นอย่างไร ดังนั้น แผนการจัดการเรียนรู้จึงเปรียบเสมือน เป้าหมายของความสำเรจ็ ท่ีครูผูส้ อนคาดหวงั ไว้ • ขั้นตอนการจดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้ 1. วิเคราะห์คำอธิบายรายวิชา เพื่อประโยชน์ในการกำหนดหน่วยการเรียนรู้และ รายละเอียดของแต่ละหัวข้อของแผนการจดั การเรียนรู้ 2. วิเคราะห์จุดประสงค์รายวิชาและสมรรถนะรายวิชา เพื่อนำมาเขียนเป็น จุดประสงค์การเรียนรู้โดยให้ครอบคลุมพฤติกรรมทั้งด้านความรู้ ทักษะ/กระบวนการ เจตคติ คา่ นยิ มและกิจนสิ ัย 3. วเิ คราะห์สาระการเรยี นรู้ โดยเลอื กและขยายสาระท่ีเรียนรู้ให้สอดคล้องกับผู้เรียน ชมุ ชน และท้องถ่ิน รวมท้งั วทิ ยาการและเทคโนโลยใี หม่ ๆ ที่จะเป็นประโยชนต์ ่อผู้เรยี น 4. วิเคราะห์กระบวนการจัดการเรียนรู้ โดยเลือกรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ 5. วิเคราะห์กระบวนการประเมินผล โดยเลือกใช้วิธีการวัดและประเมินผลที่ สอดคล้องกบั จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 6. วิเคราะห์แหล่งการเรียนรู้ โดยคัดเลือกสื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ ทั้งใน และนอกหอ้ งเรยี นใหเ้ หมาะสมสอดคล้องกบั กระบวนการเรียนรู้ • องค์ประกอบสำคัญของแผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้อาจมีหลายรปู แบบ เชน่ แบบตาราง แบบความเรียง เปน็ ต้น ซึ่งแต่ ละแบบอาจมีหัวขอ้ หรือรายละเอียดไม่เหมือนกนั แต่ตอ้ งมีองค์ประกอบสำคัญท่คี รูผสู้ อนจะต้องเขียน ไว้อย่างสอดคล้องเช่ือมโยงกัน ว่าตอ้ งการให้เกิดอะไรขน้ึ กับผู้เรียนหลังจากเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้ หรือเรื่องนั้น ๆ แล้ว เนื้อหาสาระที่ต้องการให้ผู้เรียนศึกษาเรียนรู้และหรือปฏิบัติมีอะไรบ้าง จะ ดำเนินการเรียนการสอนหรือใช้กิจกรรม ใช้สื่ออะไรในการจัดการเรียนรู้ และจะใช้วิธีการ เครื่องมือ และเกณฑ์การวดั และประเมนิ ผลอยา่ งไร คู่มือครสู ำหรับชดุ การเรยี น วิชาภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร 13

องคป์ ระกอบสำคญั ของแผนการจัดการเรียนรู้ สามารถแบง่ เปน็ 3 สว่ น คือ 1. ส่วนประกอบตอนตน้ หรือส่วนหนา้ 2. สว่ นของแผนการจัดการเรยี นรู้ 3. ส่วนประกอบตอนทา้ ยหรือสว่ นท้าย 14 ค่มู ือครสู ำหรับชดุ การเรยี น วชิ าภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สาร

1. สว่ นประกอบตอนต้นหรือสว่ นหน้า ประกอบด้วย ส่วนประกอบ รายละเอยี ด 1. ปก 2. คำนำ - ประกอบดว้ ย ชื่อหลักสตู ร ชอื่ รายวิชา ชอื่ ผสู้ อน ชื่อสถานศกึ ษา ภาคเรียนและปกี ารศกึ ษาท่สี อน 3. สารบญั 4. ลักษณะรายวิชา - เปน็ ส่วนท่มี ุ่งให้เหน็ ภาพรวมของแผนการจดั การ เรียนรู้ - ควรมอี ย่างนอ้ ย 2 ย่อหน้า คอื ย่อหน้าท่ี 1 ความเป็นมาของรายวชิ า และ องค์ประกอบของแผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ีผเู้ รียน จะตอ้ งเรยี นรายวชิ านี้ โดยเนน้ ทีค่ วามสำคัญของ รายวิชาในการนำไปใช้/ประยุกต์ใชใ้ นการเรยี นรหู้ รือ การประกอบอาชพี ยอ่ หนา้ ท่ี 2 เปน็ การขอบคุณผ้มู สี ่วนร่วมทที่ ำให้ แผนการจดั การเรียนรูน้ ป้ี ระสบความสำเรจ็ และความ คาดหวังของแผนการจัดการเรียนรู้ทม่ี ีต่อการศึกษา - เปน็ การแสดงรายการเนื้อหาสาระท่ีบรรจุไวใ้ นแผน การจัดการเรียนรู้ - ประกอบดว้ ย จุดประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคำอธิบายรายวชิ าของรายวชิ าท่ีกำหนดไว้ ในหลักสตู ร 5. การกำหนดหนว่ ยการเรยี นรู้ - เป็นการแบ่งเน้อื หาสาระจากคำอธิบายรายวชิ า รายการสอนและเวลาที่ใช้ ออกเป็นหนว่ ยการเรยี นร้ทู ีค่ รอบคลุมตามคำอธบิ าย รายวิชาพร้อมเวลาทใ่ี ช้ในการจัดการเรียนรู้ และใน แต่ละหนว่ ยแบง่ เป็นรายการสอน ซง่ึ ประกอบดว้ ย หัวข้อใหญ่ หวั ขอ้ รอง หวั ข้อย่อย ตามลำดับการเรยี นรู้ คมู่ ือครสู ำหรับชดุ การเรยี น วิชาภาษาองั กฤษเพอื่ การสือ่ สาร 15

ส่วนประกอบ รายละเอียด 6. ตารางวเิ คราะห์หลักสตู ร - เป็นการแยกแยะหลักสูตรใหเ้ ห็นองคป์ ระกอบย่อย โดยมงุ่ หวงั ใหเ้ ห็นความสมั พันธร์ ะหวา่ งเนือ้ หาวชิ าและ พฤติกรรม ซึ่งเปน็ จุดหมายปลายทางของแต่ละราย วิชา รวมถึงการกำหนดสัดสว่ นนำ้ หนักความสำคญั ของเนือ้ หา และพฤติกรรมพงึ ประสงค์ 2. สว่ นของแผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย สว่ นประกอบ รายละเอียด 1. หวั ขอ้ เร่ือง - คอื ชอ่ื ของหน่วยการเรียนรู้ หรือช่ือของเร่ืองท่จี ะจัด 2. สาระสำคญั การเรียนการสอนในหน่วยนัน้ 3. สมรรถนะประจำหน่วย - หมายถงึ ความคดิ รวบยอดเกี่ยวกับเน้อื หา หลกั การ วธิ ีการท่ีต้องการใหผ้ ู้เรยี นไดร้ ับหลงั จากเรียนเรื่องนน้ั ๆ แล้ว ทั้งในดา้ นความรู้ ทกั ษะ เจตคตแิ ละกจิ นสิ ัย โดย พิจารณาจากจุดประสงค์การเรียนรู้ และสาระการ เรียนรู้ แลว้ เขียนเปน็ ขอ้ สรปุ เกย่ี วกบั ส่ิงทผี่ เู้ รยี นจะไดร้ บั - เปน็ ความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะปฏิบตั ิ และทักษะดา้ นความคิด ในการปฏบิ ตั งิ าน ในหน่วยการเรยี นรนู้ น้ั ๆ ให้มปี ระสิทธิภาพ - วิธกี ารเขียน เขียนในรปู กรยิ า+กรรม+เงอ่ื นไขหรือ สถานการณ์ 16 คูม่ ือครสู ำหรบั ชดุ การเรยี น วิชาภาษาองั กฤษเพ่อื การส่ือสาร

สว่ นประกอบ รายละเอียด 4. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ - คอื พฤตกิ รรมท่ีคาดหวังวา่ จะเกดิ ข้ึนกับผ้เู รียนหลงั จาก 5. สาระการเรยี นรู้ เรยี นเร่อื งนน้ั ๆ แลว้ ทงั้ ในด้านความรู้ ทกั ษะเจตคติ และกิจนิสัย 6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 7. สื่อและแหล่งการเรยี นรู้ - การเขียนจุดประสงค์การเรยี นรู้มี 2 ระดบั คือ จุดประสงค์ท่ัวไป หมายถงึ ความคาดหวงั ทีต่ อ้ งการ ใหเ้ กดิ ขึ้นกับผเู้ รียน หลงั จากผ่านการเรียนร้แู ล้ว เป็นข้อความทเี่ ขยี นอยา่ งกวา้ ง ๆ จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม หมายถึง พฤตกิ รรมการ แสดงออกของผ้เู รียน ภายใตเ้ ง่ือนไขหรือเน้ือหาหรือ สถานการณท์ สี่ ามารถวดั และสังเกตได้ - เป็นการเขยี นเนอื้ หาสาระทต่ี ้องการให้ผู้เรียนได้เรยี นรู้ เพอ่ื ให้บรรลตุ ามจดุ ประสงค์ทก่ี ำหนด - ผู้สอนอาจจะเขยี นเนื้อหารายละเอียดทงั้ หมดตามหัวข้อ ท่กี ำหนดในแผนการจัดการเรยี นรู้ หากรายละเอียดของ เนอ้ื หามีมาก อาจเขียนเฉพาะหัวขอ้ เรื่องนนั้ ๆ ไว้ เปน็ หัวข้อใหญ่ หัวข้อรอง หวั ข้อยอ่ ยส่วนรายละเอียดของ เนอ้ื หาใหน้ ำเสนอในใบความรู้ - หมายถงึ การจัดประสบการณ์หรอื กจิ กรรมต่าง ๆ ท่ี ผ้สู อนไดจ้ ัดให้ผู้เรียนไดเ้ รยี นร้แู ละหรอื ปฏิบตั ิ เพอ่ื ให้ สามารถบรรลผุ ลตามจดุ ประสงค์การเรียนร้ทู ่ีกำหนดไว้ ในแผนการจดั การเรียนรู้ - หมายถึง วัสดุ อุปกรณ์ เครือ่ งมือ วธิ ีการและแหล่ง วทิ ยาการทผ่ี ู้สอนใช้เปน็ สอ่ื กลางส่งถา่ ยความรู้และ ทกั ษะ ตลอดจนเจตคตไิ ปยงั ผเู้ รยี นไดอ้ ยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ คูม่ ือครสู ำหรับชดุ การเรยี น วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสอ่ื สาร 17

ส่วนประกอบ รายละเอยี ด 8. หลกั ฐานการเรยี นรู้ - เป็นการนำจุดประสงค์การเรียนร้แู ละเนอ้ื หาสาระมา 9. การวัดและประเมนิ ผล กำหนดเป็นหลกั ฐาน การแสดงออกของผ้เู รยี น ทั้งใน 10. กิจกรรมเสนอแนะ/ เร่ืองของความรู้ ทักษะ กระบวนการ ผลงาน รวมทง้ั กจิ นิสัยในการทำงาน งานทมี่ อบหมาย (ถ้าม)ี - หลักฐานการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย หลกั ฐานความรู้ เชน่ แบบทดสอบ งานที่มอบหมาย แบบฝึกหดั เอกสารและหรอื รายงานทางวชิ าการอืน่ ๆ - หลักฐานการปฏบิ ตั งิ าน เชน่ ชนิ้ งาน ภาระงาน และ พฤติกรรมทแี่ สดงถึงการบรรลผุ ลสำเร็จ รวมทั้งเกณฑท์ ่ี จะประเมิน - เป็นกระบวนการใชเ้ ครือ่ งมอื เพื่อตัดสนิ คณุ ค่าของสงิ่ ของ หรอื การกระทำนน้ั ๆ วา่ บรรลุวตั ถปุ ระสงคท์ ีต่ งั้ ไว้มาก นอ้ ยเพยี งไร โดยตอ้ งสอดคลอ้ งและครอบคลุม จดุ ประสงคก์ ารเรียนรทู้ ่ีต้งั ไวท้ กุ ข้อ - เปน็ สิง่ ทีค่ รูผสู้ อนมอบให้ผูเ้ รยี นไปศึกษาเรยี นรูแ้ ละหรอื ฝึกปฏิบตั เิ พิ่มเตมิ นอกเวลาเรียน เพื่อเป็นการทบทวนสง่ิ ท่ไี ด้เรียนรู้ให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะมากยิ่งขน้ึ หรอื มอบใหผ้ เู้ รยี นไปศกึ ษาและหรอื ปฏิบตั ิล่วงหนา้ เพ่อื เป็น การเตรียมความพรอ้ มกอ่ นเข้ารับการเรียนรใู้ นชน้ั เรียน 18 ค่มู ือครสู ำหรบั ชดุ การเรยี น วชิ าภาษาอังกฤษเพือ่ การส่อื สาร

3. ส่วนประกอบตอนทา้ ยหรือส่วนทา้ ย ประกอบดว้ ย สว่ นประกอบ รายละเอียด 1. สอ่ื การเรยี นรู้ - คือ สื่อการเรียนรทู้ ่ใี ชป้ ระกอบการจดั การเรยี นรู้ เชน่ 2. ใบชว่ ยสอน สอ่ื แผ่นใส สือ่ ประกอบการบรรยาย สื่อวีดิทศั นท์ ่ีใช้ ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนร้ใู นหน่วยนนั้ - หมายถึง สื่อประเภทส่ิงพิมพเ์ ฉพาะเรือ่ งท่ชี ่วยหรือใช้ เสรมิ ใหก้ ารจดั การเรียนรูเ้ ปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 3. แบบฝกึ แบบฝกึ หดั - หมายถงึ สอ่ื การเรยี นการสอนทม่ี ีรูปแบบและลกั ษณะ หรอื ชดุ การฝึก ท่ีหลากหลาย ซง่ึ ครูผสู้ อนสรา้ งขึ้นเพ่ือใหผ้ ู้เรียนไดฝ้ ึก ปฏิบตั ดิ ้วยตนเองจนเกดิ ความรู้ ความเข้าใจและมี 4. แบบทดสอบ ทกั ษะเพ่มิ ข้นึ โดยกจิ กรรมท่ใี หป้ ฏิบัติในแบบฝกึ นน้ั จะครอบคลุมเน้ือหาทีผ่ ูเ้ รยี นได้เรยี นไปแล้ว - หมายถึง ชุดของขอ้ คำถามท่คี รูผูส้ อนสรา้ งขึน้ เพือ่ ใช้ วัดความรู้ สติปญั ญา ความถนัดและบุคลิกภาพของ ผู้เรียน โดยให้ผ้เู รียนพดู เขียน หรอื แสดงท่าทาง - ประกอบดว้ ย แบบทดสอบกอ่ นเรียน เพื่อตรวจสอบพืน้ ฐาน ประสบการณ์เดิมของผเู้ รียนกอ่ นศกึ ษาเรียนรู้ในแตล่ ะ หน่วยการเรียนรู้ แต่ละเร่อื ง หรือแตล่ ะครั้งที่จัดการ เรยี นรู้ แบบทดสอบหลังเรยี น เพ่ือตรวจสอบผลการเรียนรู้ ของผ้เู รียนหลังจากไดเ้ รียนร้ใู นแตล่ ะหนว่ ยการเรยี นรู้ แต่ละเร่อื ง หรือแต่ละครั้งที่จัดการเรียนรู้แล้ว เพือ่ นำ ผลมาใช้ในการปรบั ปรุงและหรือพัฒนาการจัดการ เรยี นรู้ รวมทง้ั การพัฒนาผู้เรยี นเป็นรายบุคคล คมู่ ือครสู ำหรับชดุ การเรยี น วชิ าภาษาองั กฤษเพื่อการสอ่ื สาร 19

สว่ นประกอบ รายละเอียด 5. เคร่อื งมือประเมนิ และ - เปน็ เครอื่ งมือท่ีครูผูส้ อนสร้างขนึ้ เพ่ือใช้ในการประเมนิ เกณฑก์ ารประเมิน ความสามารถในการปฏบิ ตั ิงานและหรอื ผลงานของ ผ้เู รียน รวมทง้ั พฤติกรรมลกั ษณะนิสยั ในการ 6. เอกสารอา้ งองิ ปฏบิ ัตงิ าน โดยมกี ารกำหนดรายการท่จี ะประเมนิ สัดส่วนคะแนนและเกณฑ์การให้คะแนนในแต่ละ รายการประเมิน - เป็นการรวบรวมรายการหนงั สอื เอกสาร ตำรา รวมท้ังเอกสารออนไลน์ ทค่ี รูผสู้ อนได้ศกึ ษาค้นควา้ รวบรวมขอ้ มลู สารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ สำหรบั หนว่ ยการเรียนรู้แตล่ ะหน่วย 7. บนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้ - เป็นสว่ นท่ีให้ครผู ้สู อนบนั ทกึ ผลการจดั การเรยี นร้วู ่า ประสบความสำเรจ็ หรอื ไม่ มปี ญั หาหรอื อุปสรรคอะไร เกดิ ขนึ้ บา้ ง ไดแ้ กไ้ ขหรือมีแนวทางในการแก้ไขปัญหา และอุปสรรคนน้ั อยา่ งไร สิ่งทไี่ มไ่ ด้ปฏบิ ตั ิตามแผน มอี ะไรบา้ ง เพราะเหตใุ ด รวมท้งั ขอ้ เสนอแนะสำหรบั การปรับปรงุ หรือพัฒนาในครงั้ ตอ่ ไป กำรจดั กำรเรยี นรู้ • จุดมุ่งหมายของการจัดการเรยี นรู้ ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ นอกจากตอ้ งการใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเปลยี่ นแปลงพฤติกรรม ด้านความรู้ ทักษะ เจตคติและกิจนิสัยตามจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชาและคำอธิบาย รายวิชาแล้ว ผู้สอนจะตอ้ งพฒั นาผู้เรยี นใหม้ ีสมรรถนะสำคญั ดังตอ่ ไปนดี้ ว้ ย 1. สมรรถนะในการสื่อสาร ได้แก่ ความสามารถในการรับและส่งสาร ความสามารถ ในการใช้ภาษาเพื่อถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึกและทัศนคติของตนเองเพื่อ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์ ความสามารถในการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและ 20 คู่มือครสู ำหรบั ชดุ การเรยี น วชิ าภาษาองั กฤษเพือ่ การสื่อสาร

ลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ ความสามารถในการเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลัก เหตุผลและความถูกต้อง รวมทั้งความสามารถในการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถงึ ผลกระทบตอ่ ตนเองและสังคม 2. สมรรถนะในการคิด ได้แก่ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดอย่างมีระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้าง องคค์ วามรู้หรอื สารสนเทศเพอ่ื การตัดสนิ ใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. สมรรถนะในการแก้ปัญหา ได้แก่ ความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคได้ อย่างถูกต้องและเหมาะสมด้วยหลักเหตุผลและมีคุณธรรม ความสามารถในการแสวงหาความรู้ และนำมาประยุกต์ใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ความสามารถในการตัดสินใจโดยคำนึงถึง ผลกระทบต่อตนเอง สงั คมและสิง่ แวดลอ้ ม 4. สมรรถนะในการใช้ทักษะชีวิต ได้แก่ ความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองและการเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง ความสามารถในการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคลเพื่อการทำงานและ การอยู่ร่วมกนั ในสังคม ความสามารถในการจัดการปัญหาและความขัดแยง้ ตา่ ง ๆ ความสามารถ ในการปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และความสามารถในการ ตัดสินใจ หลีกเลี่ยงพฤตกิ รรมที่ไม่พึงประสงคซ์ ึ่งจะสง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผอู้ ่ืน 5. สมรรถนะในการใช้เทคโนโลยี ได้แก่ ความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยี ด้านต่าง ๆ มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยเี พือ่ การพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสมและ มคี ณุ ธรรม นอกจากนี้ ครูผสู้ อนยงั ตอ้ งนำคา่ นิยมหลัก 12 ประการ รวมทัง้ คณุ ธรรม จริยธรรมและ ค่านิยมที่พึงประสงค์ของผู้เรียนอาชีวศึกษา มาวางแผน บูรณาการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะเป็นพลเมืองไทยและ พลเมอื งโลกด้วย • หลักสำคญั ในการจดั การเรยี นรู้ ในการจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพและบรรลวุ ตั ถุประสงค์ ครูผู้สอนต้อง คำนึงถึงหลักสำคัญท่ีเกี่ยวข้อง ดงั น้ี คู่มือครสู ำหรบั ชดุ การเรยี น วชิ าภาษาอังกฤษเพอ่ื การส่ือสาร 21

1. เนอ้ื หาสาระการเรียนรถู้ กู ตอ้ ง ทันสมัย เปน็ หมวดหมู่ เป็นไปตามลำดบั ง่าย-ยาก 2. เทคนคิ วธิ ีการจดั กจิ กรรมการเรียนรูม้ ีความหลากหลาย เน้นผ้เู รียนเป็นสำคัญ และ เน้นการทำงานรว่ มกัน 3. สอ่ื การเรียนรู้และแหล่งการเรียนรหู้ ลากหลาย สนบั สนนุ ส่งเสรมิ การเรยี นรู้ 4. การจดั ประสบการณต์ รงให้กับผเู้ รียนเพอ่ื สรา้ งองค์ความรูด้ ว้ ยตนเอง 5. การจดั บรรยากาศการเรยี นรู้ที่สง่ เสรมิ การคดิ การปฏิบตั ิของผเู้ รียน 6. การปลกู ฝงั จิตสำนึก คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมและพฤตกิ รรมท่ดี แี กผ่ เู้ รียน 7. การประเมนิ พฒั นาการรอบดา้ นของผูเ้ รียนดว้ ยวธิ กี ารทหี่ ลากหลายและต่อเน่อื ง • หลักท่วั ไปของการสอน 1. ดา้ นเน้ือหา - สอนจากสง่ิ ท่ีรู้ เห็นและเข้าใจงา่ ย ไปสู่สิง่ ที่เข้าใจยากหรือยงั ไมร่ ู้ ไม่เหน็ - สอนจากเนื้อหางา่ ยไปสเู่ ร่ืองที่คอ่ ย ๆ ยาก ลมุ่ ลกึ ไปตามลำดบั - ถ้าสิ่งที่สอนเป็นสิ่งที่แสดงได้หรือสามารถสัมผัสได้ด้วยประสาทสัมผัส ควรสอน ด้วยของจริง - สอนใหต้ รงเรอื่ งหรอื เนื้อหา - สอนใหต้ รงตามความเป็นจริงหรือสอนสิง่ ทม่ี ีเหตผุ ล - สอนเทา่ ท่ีจำเปน็ ตอ้ งการให้ร้ใู หเ้ ขา้ ใจ 2. ด้านตัวผู้เรยี น - สอนโดยคำนงึ ถงึ ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล - สอนโดยคำนงึ ถงึ วิธกี ารสอนทเ่ี หมาะกับผ้เู รียน - สอนโดยคำนึงถงึ ความพรอ้ มของผเู้ รยี น - สอนโดยให้ผเู้ รยี นไดล้ งมือทำดว้ ยตัวเอง - สอนโดยใหค้ รูผ้สู อนกบั ผูเ้ รียนมีบทบาทรว่ มกนั ในการแสวงหาความจรงิ - สอนโดยการเอาใจใส่ผู้เรียนที่ควรได้รับความสนใจพิเศษ หรือผู้เรียนที่มีปัญหา เปน็ ราย ๆ ไป 3. ด้านครผู ู้สอน ได้แก่ - นำเข้าสู่บทเรียน โดยการสนทนาเรื่องที่ผู้เรียนรู้หรือมีประสบการณ์อยู่บ้างแล้ว หรือโดยการตัง้ คำถาม สร้างสถานการณ์กระตุน้ ใหผ้ ู้เรยี นคิด 22 คู่มือครสู ำหรบั ชดุ การเรยี น วชิ าภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

- สอนโดยสร้างบรรยากาศให้ปลอดโปร่ง เพลิดเพลิน ไม่ตึงเครียด - สอนโดยมงุ่ เน้ือหา มุง่ ใหเ้ กดิ ความรู้ ความเขา้ ใจส่งิ ท่สี อนเป็นสำคัญ - สอนด้วยความตงั้ ใจ ด้วยความรูส้ กึ ว่ามคี ณุ คา่ 4. ดา้ นลลี าในการสอน ได้แก่ - สันทัสสนา หมายถึง สอนโดยอธิบายให้เห็นชัดเจนแจ่มแจ้ง เหมือนจูงมือไปดู ใหเ้ หน็ กบั ตา - สมาทปนา หมายถึง สอนโดยการชักจูงใจให้เห็นจริง ชวนให้คล้อยตาม จนต้อง ยอมรบั และนำไปปฏบิ ตั ิ - สมุตเตชนา หมายถึง สอนโดยการเร้าใจใหแ้ กล้วกล้า บงั เกดิ กำลังใจ - สัมปหังสนา หมายถึง สอนโดยชโลมใจให้แช่มชื่น ร่าเริงเบิกบาน ฟังไม่เบื่อและ เป่ยี มด้วยความหวงั เพราะมองเหน็ คุณประโยชนท์ ี่ตนจะได้รับจากการปฏิบตั ิ 5. ด้านเทคนิควธิ สี อน ไดแ้ ก่ - สอนแบบสากัจฉา หรือสอนโดยใช้หลักการสนทนาเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และอภปิ รายรว่ มกนั - สอนแบบบรรยาย - สอนแบบแก้ปัญหา หรือใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) - สอนแบบวางกฎข้อบงั คบั - สอนแบบเผชิญสถานการณ์ - สอนแบบสบื สวนสอบสวนหรอื สืบเสาะหาความรู้ - สอนแบบสาธติ - สอนแบบบทบาทสมมติ - สอนแบบกรณศี กึ ษา - 6. ดา้ นกลวธิ ีและอุบายประกอบการสอน - สอนโดยยกอทุ าหรณ์และเล่านทิ าน เพ่ือทำใหเ้ ข้าใจง่าย - สอนโดยเปรียบเทียบด้วยข้ออุปมา อุปมัย หรือโดยการอธิบายนามธรรมให้เป็น รูปธรรม - สอนโดยใชอ้ ปุ กรณ์การสอน - สอนโดยการทำเปน็ ตวั อยา่ ง ค่มู อื ครสู ำหรบั ชดุ การเรยี น วิชาภาษาอังกฤษเพอื่ การสื่อสาร 23

- สอนโดยให้ลงมอื ปฏิบัติดว้ ยตนเอง - สอนโดยกระบวนการสรา้ งความตระหนกั สร้างค่านยิ ม สรา้ งเจตคติ - สอนโดยการลงโทษและให้รางวลั - สอนโดยกลวิธีแก้ปญั หาเฉพาะหนา้ - สอนโดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม กำรวดั และประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนรู้ โดย การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนในระหว่างการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ได้ ข้อมูลและนำผลไปใช้ในการปรับปรุงแก้ไขและหรือพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งปรับปรุงแก้ไขและหรือ พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูผสู้ อนและกระบวนการเรยี นรู้ของผ้เู รยี น • หลักในการวัดและประเมนิ ผล 1. เน้นกระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน และประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน ทัง้ ดา้ นความรู้ ทักษะ เจตคตแิ ละกิจนิสัย 2. เน้นการนำผลการประเมินมาใช้ในการวางแผนปรับปรุง พัฒนากระบวนการจัด กิจกรรมการเรยี นรู้ 3. เน้นการประเมินด้วยวธิ ีการที่หลากหลาย สอดคล้องกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ 4. เนน้ การประเมินทัง้ กระบวนการ ผลงานและพฤตกิ รรมลกั ษณะนิสยั ของผู้เรยี น 5. เน้นการมสี ่วนร่วมของผู้เรียนในการกำหนดเกณฑก์ ารประเมิน การประเมนิ ตนเอง การประเมินโดยเพอื่ น กลมุ่ เพอื่ น ครู ผปู้ กครองและผู้มีส่วนเกี่ยวขอ้ ง 6. เนน้ การประเมินพฒั นาการรอบด้านของผเู้ รียน • ขั้นตอนการวัดและประเมินผล 1. การประเมินผลกอ่ นเรียน เป็นการประเมินเพื่อตรวจสอบความรู้เดมิ ของผู้เรยี น ว่า มีพนื้ ฐานความรใู้ นเรื่องที่กำลงั จะสอนมากนอ้ ยเพียงใด แตล่ ะคนมคี วามรูแ้ ตกต่างกนั หรือไม่ เพื่อ จะได้จัดกระบวนการเรียนรูใ้ หก้ ับผู้เรยี นได้อยา่ งเหมาะสมตอ่ ไป 2. การประเมินผลระหว่างเรียน เป็นการประเมินขณะทำการสอนไปแล้วระยะหน่ึง ซึ่งอาจประเมินโดยการให้ผู้เรียนตอบหรืออธิบายปากเปล่า หรือตอบในแบบฝึกทักษะหรือ 24 คูม่ อื ครสู ำหรบั ชดุ การเรยี น วิชาภาษาองั กฤษเพื่อการสอื่ สาร

แบบทดสอบ แล้วร่วมกันเฉลยเพื่อจะได้ทราบผลสัมฤทธิ์ของการเรียนการสอนว่าได้ผลหรือไม่ อยา่ งไร จะไดป้ รับปรงุ แก้ไข ทบทวนหรอื ซอ่ มเสริมให้แก่ผู้เรียนหรอื กลุ่มผูเ้ รยี นก่อนศึกษาเรียนรู้ ในขน้ั ตอนหรือเนอ้ื หาอืน่ ต่อไป 3. การประเมนิ ผลหลังเรียน สามารถทำได้ 2 ลักษณะ คือ 3.1 ประเมนิ หลงั จากท่ีผสู้ อนทำการสอนจบไปแล้ว 1 ครัง้ หรอื 1 หนว่ ย การ เรยี นรู้ เพ่ือจะได้เตรียมเน้อื หา วธิ กี ารสอนและวิธีทดสอบในครั้งตอ่ ไป 3.2 ประเมินเมื่อเรียนครบหลักสูตร เป็นการทดสอบความรู้ทั้งหมดที่ผู้เรียน ได้เรียนมาแล้ว ว่าผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและพฤติกรรม/ลักษณะนิสัยตามเกณฑ์ ที่กำหนดไวห้ รอื ไม่ • วธิ ีการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ โดยทว่ั ไปครูผู้สอนควรเลอื กวธิ ีการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรูใ้ ห้เหมาะสมกบั กจิ กรรม การเรียนรู้และจุดประสงค์ท่กี ำหนด โดยใชว้ ิธีการและเคร่อื งมอื ท่ีหลากหลายประกอบกัน ไดแ้ ก่ 1. การสงั เกตพฤติกรรมระหว่างการปฏิบตั กิ จิ กรรมการเรยี นรู้ของผู้เรียน 2. การสอบปากเปล่า 3. การพูดคุย 4. การใชค้ ำถาม 5. การเขียนสะทอ้ นการเรยี นรู้ 6. การประเมินการปฏิบตั ิ 7. การประเมนิ ดว้ ยแบบทดสอบ 8. การประเมนิ ความรูส้ กึ นึกคิด 9. การประเมนิ โดยแฟม้ สะสมผลงาน 10. การประเมนิ ตามสภาพจรงิ คูม่ อื ครสู ำหรับชดุ การเรยี น วชิ าภาษาอังกฤษเพ่ือการสอ่ื สาร 25

• การออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ในการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ครผู ้สู อนควรดำเนินการตามขนั้ ตอนดังน้ี กำหนดผลการเรียนรู้หรือคณุ ลักษณะท่ีต้องการประเมิน วเิ คราะห์พฤตกิ รรมสำคญั จากผลการเรยี นรู้ เพ่อื กำหนดหลกั ฐานการเรียนรู้ เลือกใช้วิธกี ารเคร่ืองมือให้เหมาะสมกบั พฤตกิ รรมทจี่ ะประเมิน กำหนดเกณฑก์ ารประเมินพฤติกรรม (Scoring Rubrics) • เคร่ืองมือท่ใี ชใ้ นการวดั และประเมนิ ผล เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน เป็นตัวบ่งชี้ที่แสดงให้เห็นถึง ความสามารถของผู้เรียนหรือผู้ถูกประเมนิ ในด้านความรู้ ความสามารถ เจตคติ ตลอดจนทกั ษะ ทางการคดิ และการปฏิบัตงิ านของผู้เรียน เครอื่ งมือท่ใี ช้ในการประเมินจงึ ต้องมีความหลากหลาย วดั ได้ท้งั ภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ตั ิ การสรา้ งเครอื่ งมือควรคำนงึ ถึงหลักการวัดผลการศึกษา เพือ่ ใช้เป็นพื้นฐานในการสร้าง เครื่องมือให้สามารถวัดได้จริง มีความยุติธรรมสำหรับผู้รับการทดสอบ และเพื่อให้แปลผล คะแนนที่ได้จากการใช้เครื่องมือประเมินถูกต้องและเชื่อถือได้ (Valid and Reliable) สำหรับ รายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารซึ่งเป็นรายวิชาทีเ่ น้นการฝึกปฏิบัติ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า ครูผู้สอนจะวัดและประเมินผลแตด่ ้านทกั ษะพสิ ัยเทา่ น้นั เนอื่ งจากในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ที่ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารท้ัง เป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม รวมทั้งได้ทำกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ตามท่ีผ้สู อนกำหนด ดงั นน้ั ครผู สู้ อนจึงสามารถวัดและประเมินผลพฤตกิ รรมของผเู้ รียนทง้ั ในด้าน ทักษะพิสัยและจิตพิสัยหรือด้านความรู้ได้ด้วย โดยใช้การประเมินผลตามสภาพจริงซึ่งมีการ ประเมินทั้งด้านกระบวนการ ผลงานและพฤตกิ รรม/ลักษณะนิสยั ของผ้เู รยี นควบค่กู ันไป 26 คูม่ ือครสู ำหรบั ชดุ การเรยี น วชิ าภาษาองั กฤษเพ่อื การสื่อสาร

1. เคร่ืองมอื ประเมนิ องค์ความรู้ทฤษฎี เครอื่ งมือท่ีใช้ในการประเมิน คอื แบบสัมภาษณ์ แบบทดสอบ แต่ในการเรียนการสอน ส่วนใหญ่จะใช้แบบทดสอบ เช่น แบบทดสอบแบบเลือกตอบ แบบจับคู่ แบบเติมคำในช่องว่าง และแบบความเรยี ง เปน็ ต้น การสรา้ งข้อคำถามต้องประเมินความสามารถของผูต้ อบไดต้ ามระดบั พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ท่ีกำหนดไว้ในรายวชิ า ฉะน้ันจงึ ตอ้ งมกี ารวเิ คราะห์หลักสตู รก่อน และนำผล ที่ได้จากการวิเคราะห์หลักสูตรมากำหนดเป็นตารางวิเคราะห์ข้อสอบ เพื่อกำหนดว่าจะประเมิน ความสามารถของผู้สอบถึงระดับใด และจำนวนข้อสอบจะวัดตามระดับพฤติกรรมการเรียนรู้ ในแต่ละระดบั จะมีระดบั ละก่ีข้อ ลักษณะของข้อคำถามหรือโจทย์ไม่ว่าจะเป็นแบบทดสอบภาค ทฤษฎีหรือ แบบทดสอบภาคปฏิบัติ การสร้างข้อคำถามจะมีลักษณะเดียวกัน ข้อคำถามที่จะสร้างเป็น แบบทดสอบ และวัดได้ตามระดบั พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ครูผู้สอนควรพจิ ารณาดังนี้ 1.1 ขอ้ คำถาม โดยทวั่ ไปควรมลี กั ษณะดงั น้ี 1.1.1 บอกให้แน่ชดั ว่าเป็นขอ้ คำถาม 1.1.2 ถามใหต้ รงจดุ และชดั เจน 1.1.3 กะทัดรดั ไม่ใช้คำฟมุ่ เฟือย 1.1.4 เรา้ ใจให้ผูต้ อบไดใ้ ช้ความคิด 1.1.5 ใช้คำถามใหเ้ หมาะสมกบั ระดับผู้ตอบ 1.1.6 ไมค่ วรใช้คำปฏิเสธหรือปฏเิ สธซ้อนกัน 1.1.7 ข้อคำถามหน่ึงคำถามควรถามเรอ่ื งเดยี ว 1.1.8 ไมค่ วรถามส่งิ ผตู้ อบทอ่ งจำได้คล่องปาก 1.2 ขอ้ คำถามวดั ตามระดบั พฤติกรรมการเรยี นรู้ 1.2.1 ข้อคำถามวดั ความรู้-ความจำ เปน็ การวัดความสามารถของผู้เข้ารับ การประเมินที่ได้เรียนผ่านมาแล้ว เพื่อทดสอบว่าจำอะไรได้บ้างแบ่งตามประเภทของความจำ ลักษณะของข้อคำถามจะเปน็ ดังน้ี 1) ถามความจำในเนอื้ เรอื่ ง 2) ถามความรใู้ นวธิ ดี ำเนินการ 3) ถามความรู้รวบยอดในเน้ือเรอ่ื ง คมู่ อื ครสู ำหรบั ชดุ การเรยี น วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 27

1.2.2 ขอ้ คำถามวัดความเข้าใจ จะต้องวดั ความสามารถในการแปลความ ตีความหมาย และขยายความในเรื่องต่าง ๆ ซึ่งผู้เรียนต้องใช้พฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งในการ แกป้ ญั หา แบ่งเปน็ 1) การแปลความ เป็นการวัดความสามารถในการถ่ายความหมาย จากภาษาหนึ่งไปอีกภาษาหนึ่ง แปลความสัญลักษณ์ การแสดงออกด้วยท่าทาง แปลความจาก แผนภูมิและภาพต่าง ๆ 2) การตีความ เป็นการวัดความสามารถในการตีความในเนื้อเรื่อง เพื่อนำมาสรุปเฉพาะใจความสำคัญเท่านั้น ตีความเรื่อง ตีความตามข้อเท็จจริงของข้อความ โดยใช้หลกั เกณฑก์ ารตีความเฉพาะในเน้อื เรื่องทก่ี ำหนดให้ 3) การขยายความ เป็นการวัดความสามารถในการขยายความ ให้กว้างและลึกลงไป 1.2.3 ข้อสอบวัดการนำไปใช้ เป็นการวัดพฤติกรรมในการนำความรู้และ ความเข้าใจในเรื่องต่าง ๆ ที่สร้างสมไว้มาใช้แก้ปัญหา หรือประยุกต์ใช้กับงานและชีวิตประจำวัน ข้อคำถามควรมลี ักษณะ ดงั นี้ 1) นำหลักวิชาไปใช้วัดความสามารถในการอธิบายเรื่องราว การ กระทำต่าง ๆ ตามหลักวชิ าการ หรือนำหลกั วิชา กฎเกณฑ์ ไปใชใ้ นการแก้ปญั หา 2) การแก้ปัญหา วัดความสามารถในการนำวิธีการแก้ปัญหาที่เคย เรียนมาและฝึกปฏิบัติมาก่อนในวิธีการแก้ปัญหาเดิมไปแก้ปัญหาใหม่ที่มีลักษณะของปัญหา ใกล้เคยี งกัน หรืออยูใ่ นสถานการณต์ ่างกัน 3) เปรียบเทียบความสอดคล้องหรือสาธิต วัดความสามารถในการ นำหลักวิชาการไปเปรยี บเทยี บ และสาธิต โดยมองในแง่มุมอนื่ อีกแง่มมุ หน่ึง ซง่ึ ตา่ งจากแบบท่ีนำ หลักวิชาไปใช้ และแบบแก้ปัญหา 1.2.4 ข้อสอบวัดการวิเคราะห์ วัดความสามารถในการแยกแยะสิ่งใหญ่ ๆ ออกเป็นส่วนย่อย ๆ ตามหลักและกฎเกณฑ์ ส่วนย่อยแต่ละส่วนมีความสัมพนั ธ์กันอยา่ งไร ต้อง ใช้เหตุและผลตามความจริงในการตอบปัญหา โดยนำเอาพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ผ่านมาเป็น องค์ประกอบชว่ ยในการพิจารณาดว้ ย แบ่งเปน็ 1) วิเคราะห์ความสำคัญ วัดความสามารถในการค้นหาส่วนประกอบ เพ่อื วิเคราะห์หามลู เหตุและผลลพั ธ์ 28 คูม่ ือครสู ำหรบั ชดุ การเรยี น วิชาภาษาองั กฤษเพือ่ การสื่อสาร

2) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ วัดความสามารถในการค้นหาความสำคัญ ยอ่ ย ๆ ของเหตุการณ์ตา่ ง ๆ มาเกย่ี วพันกัน มีสิง่ ใดทท่ี ำใหเ้ กดิ ความเชอ่ื มโยง 3) วิเคราะห์หลักการ วัดความสามารถในการจับประเด็นในเรื่อง ต่าง ๆ โดยยึดหลักการใดหลกั การหนง่ึ เป็นสื่อเพอื่ ทำใหเ้ ขา้ ใจและเหน็ ภาพไดช้ ัดเจน 1.2.5 ข้อสอบวดั การสงั เคราะห์ วัดความสามารถในการนำองคค์ วามรู้ที่มี อยู่มาปรับให้เกิดสิ่งใหม่ ๆ เกิดขึ้น หรือรวมองค์ความรู้ย่อย ๆ ทำให้เกิดกฎ วิธีการ โครงสร้าง และหน้าทีใ่ หม่ ๆ ที่แตกต่างไปจากเดิม การสังเคราะห์เป็นความสามารถที่แสดงให้เห็นความคิด สรา้ งสรรคข์ องแต่ละบุคคล แบ่งเป็น 1) สงั เคราะหข์ ้อความ วัดความสามารถในการนำหลัก วธิ ีการ และ ประสบการณ์ที่สะสม ใช้ในการสร้างบทความ แต่งคำประพันธ์ สร้างงานศิลป์ และงานดนตรี แนวในการเขยี น ลกั ษณะแบบทดสอบควรเปน็ แบบการเขยี น 2) สังเคราะห์แผนงาน วัดความสามารถในการสร้างแผนงาน และ กำหนดและเขียนโครงการย่อของแผนงาน ทงั้ นีต้ อ้ งสอดคล้องกบั งานทไี่ ดร้ ับมอบหมายและทำให้ งานบรรลุตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการวัดความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ ของผู้ตอบข้อคำถาม 3) สังเคราะห์ความสัมพันธ์ วัดความสามารถในการนำหลักการ ตา่ ง ๆ มาเช่อื มโยงกนั เพือ่ ผสมผสานใหเ้ ปน็ เร่ืองเดยี วกัน ทำให้เกดิ ส่งิ ใหม่ วธิ กี ารใหม่ที่แปลกไป จากเดมิ 1.2.6 ข้อสอบวัดการประเมินค่า เป็นการวัดความสามารถขั้นสูงของการ วัดตามระดับพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ เปน็ ความสามารถในการตดั สนิ ใจเกี่ยวกับคณุ ค่า โดยเทียบกับ เกณฑ์ที่กำหนด หรือมาตรฐานที่มีอยู่แล้ว ความสามารถในการประเมินค่าต้องมีเกณฑ์เป็น ตัวกำกบั แบ่งลกั ษณะการวัดตามแหลง่ ท่ีมาของเกณฑ์ ดงั นี้ 1) เปรียบเทียบกับเกณฑ์ภายใน วัดความสามารถในการวินิจฉัย พิจารณาความสมเหตสุ มผลว่าเปน็ ไปตามเกณฑห์ รอื สอดคล้องตามทเี่ กณฑ์กำหนดไวห้ รอื ไม่ 2) เปรียบเทียบกับเกณฑ์ภายนอก วัดความสามารถในการวินิจฉัย และสรปุ โดยนำเกณฑ์ภายนอกท่ไี ด้ยอมรบั ว่าเป็นมาตรฐานสำหรับเป็นตวั เปรียบเทียบ คมู่ ือครสู ำหรบั ชดุ การเรยี น วิชาภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร 29

2. เครอ่ื งมือประเมนิ ความสามารถในการปฏบิ ัตงิ านและจิตพสิ ัย เป็นการประเมนิ ความสามารถของผู้เรียนใน 3 ด้าน ดงั นี้ 2.1 การประเมินบุคลิกภาพ ประกอบด้วยความสามารถในการปฏิบัติ “ทักษะ” และลกั ษณะทางอารมณ์ “เจตคต”ิ 2.2 การประเมินกระบวนการ เป็นการประเมินความสามารถในการดำเนินงาน และการพัฒนางาน 2.3 การประเมินผลงาน เป็นการประเมินผลผลิตที่ได้จากการปฏิบัติงาน เช่น ชิน้ งาน รายงานหรอื ผลสำเรจ็ ท่ีไดจ้ ากภาระงาน เป็นตน้ 3. เครื่องมอื ประเมินพฤตกิ รรม การประเมินพฤติกรรมทั้ง 3 ด้าน ส่วนมากจะเป็นแบบประเมินในลักษณะต่าง ๆ และเลอื กใช้ตามลกั ษณะของกจิ กรรมการเรยี นการสอน ทนี่ ิยมใชม้ าก มอี ยู่ 2 แบบ คอื แบบท่ี 1 แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) แบบที่ 2 แบบมาตราส่วนประมาณคา่ (Rating Scale) แบบ ประเมินทั้ง 2 แบบ ที่ใช้ในการประเมินต้องมีเกณฑ์การให้คะแนนที่ชัดเจน เพื่อใช้พิจารณา คณุ ลักษณะหรอื พฤตกิ รรมการกระทำในการตัดสนิ ความสามารถของผเู้ ขา้ รับการประเมิน 3.1 แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) สำหรับตรวจสอบการปฏิบัติงานหรือ กิจกรรมต่าง ๆ ของสิ่งที่ต้องประเมิน ผู้ประเมินใช้ในการสังเกตเหตุการณ์ เรื่องราว พฤติกรรม ตามรายการทกี่ ำหนด โดยกำหนดตัวเลือกเพยี ง 2 ตัวเลือก ข้อคำถามของแบบตรวจสอบรายการ จะมีรายละเอียดขององค์ประกอบ คุณลักษณะสำคัญของชิ้นงานหรือสมรรถนะงาน ฉะนั้นจะมี จำนวนขอ้ ของการประเมนิ หลายขอ้ 3.2 แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ใช้องค์ประกอบ คุณลักษณะ สำคัญของชิ้นงานหรือสมรรถนะงานในการกำหนดคะแนน โดยใช้รายละเอียดขององค์ประกอบ เปน็ เงื่อนไขของการประเมนิ ถา้ ทำไดค้ รบทุกเง่ือนไขจะไดค้ ะแนนเตม็ และคะแนนจะลดลงอย่าง ต่อเนื่อง (ลดลงคร้ังละ 1 คะแนนตอ่ 1 เงอื่ นไข) ตามเงื่อนไขทก่ี ำหนด 30 คมู่ อื ครสู ำหรับชดุ การเรยี น วชิ าภาษาอังกฤษเพ่ือการสอ่ื สาร

บทบำทของครผู สู้ อนและผเู้ รยี น ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่มีการใช้อย่างแพร่หลายมากที่สุดภาษาหน่ึง นอกจาก การใช้เป็นภาษากลางในการติดต่อสื่อสารในด้านธุรกจิ การเมือง และสังคมแล้ว ภาษาอังกฤษยัง เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ได้อย่างกว้างขวาง เนื่องจากองค์ความรู้ท่ีสำคัญส่วนใหญ่ถูก บันทึกและเผยแพรเ่ ป็นภาษาอังกฤษ วัตถุประสงค์สำคญั ของการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ คอื เพอื่ ใหผ้ ้เู รยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจและมที ักษะในการฟัง-ดู พดู อ่าน และเขียนภาษาอังกฤษได้ อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ สามารถนำไปใช้เพื่อการสื่อสารและการศึกษาเรียนรู้ ในชีวติ ประจำวนั และงานอาชพี ดังนั้นในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ครูผู้สอนจะต้องเน้นให้ผู้เรียนได้ฝึก ปฏิบัติจริงด้วยตนเองผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยเน้นความเข้าใจและการฝึก ปฏิบตั กิ ารใช้ภาษาในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ด้วยการเรียนร้ผู า่ นสอื่ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่น่าสนใจ เหมาะสมกับกลุ่มผู้เรียน เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และให้ความสำคัญกับการพัฒนาผู้เรียนเป็น รายบุคคล นอกจากนีย้ ังต้องปลูกฝังใหผ้ ้เู รยี นมที ัศนคตทิ ด่ี ตี ่อภาษาองั กฤษและตระหนักถึงคุณค่า และความสำคัญของการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารทั้งในชีวิตประจำวันและในงานอาชีพ ในการจัดการเรียนการสอนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ครูผู้สอนและ ผู้เรยี นจะตอ้ งเข้าใจในบทบาทหน้าท่ีของตนเอง ดังน้ี • บทบาทของครผู ้สู อน การท่ีจะทำใหก้ ารเรียนการสอนภาษาองั กฤษบรรลุวัตถุประสงค์ ครูผสู้ อนตอ้ งมีบทบาท ดังนี้ 1. เข้าใจมโนทศั น์ (Concept) ของรายวิชา น่ันคือ การเขา้ ใจวตั ถปุ ระสงคข์ องรายวิชา ที่ต้องการพัฒนาความรู้ ทักษะ ค่านิยมและคุณลักษณะ อันเกิดจากการจัดการเรียนการสอนท่ี เน้นการฝึกปฏิบัติ 2. วางแผนการสอนที่พัฒนาอยา่ งตอ่ เนื่อง โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้น กระบวนการแก้ปัญหา รวมทั้งกระบวนการพัฒนาค่านิยม เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และนำไปสู่ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ซึ่งการวางแผนการจัดการเรียนรู้ควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียน ไดท้ ำกิจกรรม ดังนี้ 2.1 ต้งั คำถามด้วยตนเองเพ่อื การสืบค้น คมู่ ือครสู ำหรับชดุ การเรยี น วชิ าภาษาอังกฤษเพ่อื การสอื่ สาร 31

2.2 มสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมที่หลากหลายในการสืบค้นข้อมลู 2.3 ฝึกการวเิ คราะห์โดยใชข้ ้อมูลจรงิ หรือในสภาพจริง 3. เน้นความเชื่อมโยงหรือความเกี่ยวข้อง การลงมือทำหรือปฏิบัติอย่างตอ่ เนื่อง และ การเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น โดยการเน้นความเชื่อมโยงหรือความเกี่ยวข้อง คือ การใช้ประเด็น จริงที่เป็นปัจจุบันซึ่งเกี่ยวข้องกับความคิดของคนว่าจะถูกหรือผิด ดีหรือไม่ดี มีคุณค่าหรือไม่มี คุณค่า เพื่อการเรียนรู้ของผู้เรียนจะเชื่อมโยงกับประสบการณ์จริง แต่ในกรณีใช้ประเด็นจริง ผสู้ อนควรใชว้ ิจารณญาณเพราะบางประเด็นอาจมีความออ่ นไหวต่อสังคม รวมท้งั ควรคำนึงถึงวัย และวฒุ ิภาวะของผ้เู รียนดว้ ย 4. มีกลยุทธ์สำคญั ที่จะทำใหผ้ ู้เรียนในบริบทของสังคมไทยเรียนรู้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ กล่าวคือ ต้องจัดบรรยากาศของห้องเรียนที่สนับสนุนและส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่าง เสรีในด้านการแสดงความคิดเห็น โดยไม่มีบรรยากาศของการใช้อำนาจ หรือทำให้ผู้เรียนเกิด ความไมส่ บายใจ เชน่ 4.1 จดั การทำงานเปน็ กล่มุ เล็ก เพือ่ ใหผ้ ู้เรยี นมีโอกาสแสดงความคิดเหน็ ได้ท่ัวถงึ 4.2 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนกำหนดกติกาในการทำงาน คุณภาพของงาน ประเด็นการอภิปรายหรือประเด็นที่จะศึกษา ตลอดจนการจัดกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้เรียน เกิดความรสู้ ึกว่าการเรียนหรือการทำงานนัน้ มีความหมายและมีคุณค่า จะไดท้ ำงานอย่างต่อเน่ือง และต้ังใจ 4.3 เปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นทุกคนแสดงความคิดเห็น และควรมีการสรุปความคดิ เห็น ของทกุ คนด้วย 4.4 สร้างความรู้สึกว่าการประสบความสำเร็จที่น่าภาคภูมิใจ คือ การเรียนรู้หรือ การทำงานโดยผ่านกระบวนการตา่ ง ๆ 4.5 คำนึงถึงการเรียนรู้หลาย ๆ รูปแบบ (Learning Style) ของผู้เรียน การจัด กิจกรรมจึงควรมีหลากหลาย เช่น การสาธิต การตอบคำถาม การอภิปราย การค้นคว้าวิจัย การ ทำโครงการ การสำรวจ การแก้ปัญหา การใช้เกม การแสดงบทบาทสมมติ การใช้สถานการณ์ จำลอง การใช้กรณศี ึกษา โดยมกี ารทำงานกลมุ่ เลก็ และรายบคุ คล เปน็ ตน้ 4.6 กรณีการเรียนรู้ที่เป็นกระบวนการ ครูผู้สอนควรจัดให้ครบขั้นตอนอย่าง ต่อเนื่อง แต่อาจนำบางข้ันตอนมาจดั กิจกรรมแยกได้ เช่น กิจกรรมการวิเคราะห์ ซึ่งเป็นกจิ กรรม ที่อยู่ในขั้นตอนของกระบวนการเรียนการสอนหลายรูปแบบ สามารถนำมาจัดเป็นกิจกรรมแยก 32 ค่มู อื ครสู ำหรบั ชดุ การเรยี น วิชาภาษาองั กฤษเพือ่ การสือ่ สาร

ออกมาได้ตามความเหมาะสม เพื่อฝึกความสามารถในการวิเคราะห์หรือการจัดการกับข้อมูล ตา่ ง ๆ แก่ผู้เรียน 4.7 ครูผู้สอนต้องมีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริงของผู้เรียน อย่างต่อเนื่องและรอบด้าน ทั้งนี้ การวัดและประเมินผลต้องมีการประเมินภาระงานที่เกี่ยวกับ กจิ กรรมให้ผเู้ รียนปฏบิ ัติ การสรา้ งลักษณะนสิ ยั รวมทง้ั กระบวนการทำงานและคณุ ภาพงาน ด้วย วิธกี ารและเครอื่ งมือวัดและประเมินผลที่หลากหลาย • บทบาทของผู้เรยี น 1. ผู้เรียนควรทำงานเป็นกลุ่มร่วมกันกับเพื่อน รวมทั้งบุคคลอื่นในชุมชนตามโอกาส และวฒุ ภิ าวะของผู้เรียน 2. ผู้เรียนควรนำเสนองานหรือผลงานด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น จัดอภิปราย ทำ ป้ายนิเทศ จัดนิทรรศการ แสดงบทบาทสมมติ จดั ทำ Video Clip เปน็ ตน้ 3. ผู้เรียนต้องลงมือปฏบิ ัติด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง เพราะการเรียนจากประสบการณ์ จรงิ ถอื วา่ เป็นหลกั การสำคญั ของการเรยี นรู้ ดังนนั้ การลงมือปฏิบตั อิ ยา่ งต่อเน่ืองกับประเด็นจริง หรอื เหตกุ ารณ์จริง ทง้ั ในระดบั ครอบครัว ห้องเรียน วทิ ยาลยั หรือชมุ ชน จึงเปน็ ส่ิงสำคัญ 4. ผู้เรยี นควรเรียนอยา่ งกระตือรอื ร้นในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งนี้ การเรียนรโู้ ดยการ อภิปรายเป็นวิธีที่สำคัญวิธีหนึ่ง เพราะการอภิปรายเป็นการฝึกทักษะการคิด การพูดแสดงความ คิดเห็น การยอมรบั ความคิดเห็นของผ้อู น่ื อันเปน็ การสง่ เสริมทกั ษะของความเปน็ พลเมืองในการ แสดงออกซึง่ สทิ ธแิ ละเสรภี าพเกีย่ วกบั การแสดงความคิดเหน็ ในการนำคมู่ ือครูวชิ าภาษาอังกฤษเพ่อื การส่อื สารไปใช้ ครูผู้สอนจะตอ้ งดำเนนิ การดังนี้ 1. วิเคราะห์รายละเอียดของรายวิชา ได้แก่ จุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา คำอธิบายรายวิชา และเวลาที่กำหนดในการจดั การเรียนรู้ 2. ศึกษาการแบ่งหน่วยการเรียนรู้ รายการสอน จุดประสงค์การเรียนรู้เชิงพฤติกรรม และเวลาทใี่ ช้ในการจัดการเรียนรูข้ องแต่ละหนว่ ย 3. พจิ ารณาแนวทางการจดั การเรียนรู้ทีเ่ สนอแนะไว้ ได้แก่ 3.1 วธิ ีการจดั การเรียนรู้ ได้แก่ เทคนิควิธกี ารสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั 3.2 สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ได้แก่ เอกสาร/หนังสือ/ตำรา ใบช่วยสอน สื่อโสตทศั น์ ส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์ และแหลง่ การเรียนรู้ เชน่ เว็บไซต์ สถานที่ บุคคล เปน็ ต้น 3.3 หลักฐานการเรียนรู้ ได้แก่ หลักฐานความรู้ และหลักฐานการปฏิบัตงิ าน คู่มอื ครสู ำหรบั ชดุ การเรยี น วชิ าภาษาองั กฤษเพื่อการสอื่ สาร 33

3.4 การวัดและประเมินผล ได้แก่ เครอื่ งมอื และวธิ กี ารท่ีใช้ 4. ออกแบบการจัดการเรียนรูแ้ ละเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้ 5. จัดทำใบช่วยสอนของแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ได้แก่ ใบความรู้ ใบกิจกรรม และ ใบมอบหมายงาน 6. จดั ทำเครื่องมือประเมินและเกณฑ์การประเมิน 7. จัดกจิ กรรมการเรียนรู้และวัดผลประเมินผล 8. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ เพื่อสรุปผลการจัดการเรียนรู้สำหรับการปรับปรุง แก้ไขหรอื พัฒนา 34 คมู่ ือครสู ำหรบั ชดุ การเรยี น วชิ าภาษาองั กฤษเพ่อื การสือ่ สาร

หน่วยการเรียนรู้และรายการสอน สมรรถนะประจำหนว่ ยและ เวลา จุดประสงค์การเรยี นรู้ (ชว่ั โมง) หน่วยที่ 1 Welcoming 6 1.1 Welcoming visitors สมรรถนะประจำหนว่ ย 1.1.1 Greeting and 1. แสดงความรู้เก่ยี วกบั การใชภ้ าษา introducing 1.1.2 Offering help and อังกฤษในการต้อนรบั แขกท่มี าเยือน making requests และการใหข้ ้อมลู สว่ นตวั 1.1.3 Thanking and 2. ใช้คำศัพท์ สำนวนภาษาองั กฤษใน responding to thanks การทกั ทาย การแนะนำตัว การกลา่ ว ขอบคุณ การเสนอให้ความชว่ ยเหลอื 1.2 Personal profiles การกรอกข้อมูลสว่ นตวั การอา่ น 1.2.1 Filling application จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และการเขยี น forms นามบตั ร 1.2.2 Writing E-mails 3. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการพัฒนา 1.2.3 Making business cards ทกั ษะภาษาองั กฤษเพือ่ การส่อื สาร ในชีวติ ประจำวนั และงานอาชีพ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. จดุ ประสงคท์ ่ัวไป 1.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั การใช้ภาษาองั กฤษในการตอ้ นรบั แขก ทมี่ าเยือน และการให้ข้อมลู สว่ นตวั ค่มู ือครสู ำหรบั ชดุ การเรยี น วชิ าภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่อื สาร 41

หนว่ ยการเรยี นรูแ้ ละรายการสอน สมรรถนะประจำหนว่ ยและ เวลา จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ (ช่ัวโมง) หนว่ ยท่ี 1 Welcoming (ตอ่ ) 6 1.2 สามารถใชค้ ำศพั ท์ สำนวนภาษา องั กฤษในการทกั ทาย การแนะนำตวั การกล่าวขอบคุณ การเสนอให้ความ ชว่ ยเหลอื การกรอกข้อมลู ส่วนตัว การอ่านจดหมายอเิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละ การเขียนนามบตั ร 1.3 มมี ารยาทในการสือ่ สารตาม วฒั นธรรมของเจ้าของภาษา 2. จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม 2.1 พูดทักทายได้ 2.2 กล่าวขอบคุณ และตอบรับคำ ขอบคุณได้ 2.3 พดู เสนอใหค้ วามช่วยเหลอื ได้ 2.4 กรอกข้อมูลสว่ นตัวในใบสมัครได้ 2.5 อ่านจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ได้ 2.6 เขียนนามบตั รได้ 42 คู่มือครสู ำหรบั ชดุ การเรยี น วิชาภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอื่ สาร

หนว่ ยการเรียนรู้และรายการสอน สมรรถนะประจำหนว่ ยและ เวลา หนว่ ยที่ 2 Staying in Touch จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ (ชัว่ โมง) 6 2.1. Phone Contacts สมรรถนะประจำหน่วย 2.1.1 Answering phone calls 1. แสดงความรเู้ กี่ยวกับการใช้ภาษา 2.1.2 Leaving and taking messages องั กฤษในการติดต่อสอื่ สารทางโทรศัพท์ 2.1.3 Making appointments การอา่ นตารางงาน ตารางเวลาเดินทาง การจองสนิ คา้ และบริการ 2.2 Schedules and Timetables 2. ใช้คำศัพท์ สำนวนภาษาองั กฤษใน 2.2.1 Reading schedules การสื่อสารทางโทรศัพท์ การฝากและ 2.2.2 Reading timetables จดบันทึกข้อความ การนัดหมาย การอา่ นตารางงาน ตารางเวลาเดนิ ทาง 2.3 Reservations การยนื ยันหรอื ยกเลกิ การจองสินคา้ 2.3.1 Filling reservation forms และบรกิ าร 2.3.2 Confirming reservations 3. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการพฒั นา 2.3.3 Cancelling letters ทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือการสอื่ สาร สอื่ สารในชวี ติ ประจำวันและในงาน อาชพี จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. จุดประสงค์ทัว่ ไป 1.1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั การ ใชภ้ าษาองั กฤษในการสนทนาโต้ตอบ ทางโทรศัพท์ การอ่านตารางงาน ตารางเวลาเดนิ ทาง การจองสนิ ค้า และบรกิ าร ค่มู ือครสู ำหรบั ชดุ การเรยี น วิชาภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร 43

หนว่ ยการเรียนรแู้ ละรายการสอน สมรรถนะประจำหนว่ ยและ เวลา จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ (ช่วั โมง) หน่วยท่ี 2 Staying in Touch (ต่อ) 6 1.2 สามารถใช้คำศัพท์ สำนวนในการ สนทนาทางโทรศพั ท์ การฝากและ จดบนั ทกึ ข้อความ การนัดหมาย การอ่านตารางงาน ตารางเวลา เดนิ ทาง การยนื ยันหรือยกเลกิ การจอง สนิ คา้ และบริการ 1.3 มีมารยาทในการสื่อสารตาม วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา 2. จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 2.1 บอกความหมายคำศัพท์ สำนวน ทีใ่ ชใ้ นการสนทนาทางโทรศพั ทไ์ ด้ 2.2 สนทนาทางโทรศพั ท์ได้ 2.3 พูดฝากขอ้ ความทางโทรศัพท์ได้ 2.4 จดบันทึกข้อความทางโทรศพั ท์ได้ 2.5 พดู นัดหมายทางโทรศัพท์ได้ 2.6 อ่านตารางงานและตารางเวลา เดนิ ทางได้ 2.7 ถาม–ตอบเกย่ี วกับตารางงาน และตารางเวลาเดนิ ทางได้ 2.8 กรอกข้อมูลในแบบฟอร์มการจองได้ 2.9 ยกตัวอยา่ งสำนวนประโยคที่ใช้ ยืนยนั หรอื ยกเลิกการจองสินคา้ และ บรกิ ารได้ 44 คูม่ ือครสู ำหรบั ชดุ การเรยี น วิชาภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอื่ สาร

หน่วยการเรยี นรแู้ ละรายการสอน สมรรถนะประจำหน่วยและ เวลา จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ หน่วยท่ี 3 Getting along with (ชว่ั โมง) People 6 3.1 Going out สมรรถนะประจำหนว่ ย 3.1.1 Eating in restaurants 1. แสดงความรู้เก่ยี วกับการใชภ้ าษาอังกฤษ 3.1.2 Ordering food and beverages ในการใหบ้ รกิ ารอาหารในภตั ตาคาร การอา่ นโฆษณา และการเชิญในโอกาส 3.2 Advertisements สำคญั ต่าง ๆ 3.2.1 Classified ads 2. ใชภ้ าษาอังกฤษในการสอื่ สารเก่ยี วกับการ 3.2.2 Commercials on the ให้ขอ้ มลู อาหารและบริการในภัตตาคาร Internet การส่งั อาหารและเครือ่ งด่มื การอา่ น โฆษณาในหนงั สอื พิมพ์และอินเทอร์เนต็ 3.3 Invitations การเชญิ และการเขยี นบตั รเชญิ ในโอกาส 3.3.1 Making Invitations สำคัญตา่ ง ๆ 3.3.2 Wishes and Blessings 3. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการพฒั นา 3.3.3 Writing invitation ทักษะภาษาอังกฤษเพอ่ื การสือ่ สาร cards สอื่ สารในชวี ติ ประจำวันและในงาน อาชีพ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. จุดประสงค์ทวั่ ไป 1.1 มีความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกบั การใช้ ภาษาอังกฤษในการใหบ้ รกิ ารอาหารใน ภัตตาคาร การอา่ นโฆษณา และการเชญิ ในโอกาสสำคญั ต่าง ๆ 1.2 สามารถใช้คำศัพท์ สำนวนในการ สนทนาโตต้ อบเก่ยี วกบั การใหข้ อ้ มูล อาหารและบรกิ ารในภตั ตาคาร ค่มู ือครสู ำหรับชดุ การเรยี น วิชาภาษาองั กฤษเพือ่ การสื่อสาร 45

หน่วยการเรยี นรู้และรายการสอน สมรรถนะประจำหนว่ ยและ เวลา จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ หนว่ ยที่ 3 Getting along with (ชั่วโมง) People (ต่อ) 6 การอ่านโฆษณาในหนงั สอื พมิ พ์และ อนิ เทอร์เน็ต การเชญิ และการเขียน บัตรเชิญในโอกาสสำคญั ตา่ ง ๆ 1.3 มีมารยาทในการส่ือสารตาม วัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา 2. จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 2.1 พูดให้ขอ้ มูลเกีย่ วกบั อาหารและ บรกิ ารในภัตตาคารได้ 2.2 พดู ส่ังอาหารและเครอ่ื งด่มื ได้ 2.3 อ่านโฆษณาในหนงั สือพมิ พ์และ อินเทอรเ์ นต็ ได้ 2.4 พูดเชิญในโอกาสตา่ ง ๆ ได้ 2.5 บอกคำอวยพรท่ใี ช้ในโอกาส ต่าง ๆ ได้ 2.6 เขยี นบตั รเชิญในโอกาสสำคญั ต่าง ๆ ได้ 46 ค่มู ือครสู ำหรบั ชดุ การเรยี น วชิ าภาษาอังกฤษเพื่อการส่อื สาร

หนว่ ยการเรยี นรแู้ ละรายการสอน สมรรถนะประจำหน่วยและ เวลา หนว่ ยที่ 4 Selling and Buying จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ (ช่ัวโมง) 6 4.1 Shopping สมรรถนะประจำหนว่ ย 4.1.1 Describing products 1. แสดงความรู้เกีย่ วกับการใชภ้ าษา and services องั กฤษในการใหข้ ้อมลู สินคา้ และบรกิ าร 4.1.2 Comparing products การซ้ือสนิ ค้า และการสง่ั ซ้ือสนิ คา้ and services 2. ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารเกย่ี วกบั 4.1.3 Talking about prices การให้ข้อมูลสนิ ค้าและบรกิ าร การซ้ือ 4.2 Orders สินคา้ การต่อรองราคา การสง่ั ซอื้ สนิ ค้า 4.2.1 Writing purchase orders แบบต่าง ๆ และการร้องเรียนปญั หา 4.2.2 Ordering online เก่ียวกับสนิ คา้ และบรกิ าร 4.2.3 Filling complaint forms 3. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการพัฒนา ทกั ษะภาษาองั กฤษเพื่อการสอื่ สาร สื่อสารในชวี ติ ประจำวันและในงาน อาชีพ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. จดุ ประสงค์ทวั่ ไป 1.1 มีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับการ ใช้ภาษาอังกฤษในการให้ข้อมูลสนิ คา้ และบริการ การซื้อสนิ คา้ และการสั่งซอื้ สนิ คา้ 1.2 สามารถใชค้ ำศพั ท์ สำนวนในการ สนทนาโต้ตอบเกี่ยวกบั การให้ข้อมูล สินค้าและบริการ การซอื้ สนิ คา้ ค่มู อื ครสู ำหรับชดุ การเรยี น วิชาภาษาอังกฤษเพ่อื การสอ่ื สาร 47

หนว่ ยการเรียนรู้และรายการสอน สมรรถนะประจำหนว่ ยและ เวลา จุดประสงค์การเรียนรู้ หนว่ ยที่ 4 Selling and Buying (ชวั่ โมง) (ต่อ) 6 การต่อรองราคา การสงั่ ซ้อื สนิ ค้าแบบ ต่าง ๆ และการรอ้ งเรยี นปัญหาเก่ียวกับ สินคา้ และบรกิ าร 1.3 มีมารยาทในการส่ือสารตาม วฒั นธรรมของเจ้าของภาษา 2. จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 2.1 พดู ให้ข้อมูลสนิ ค้าและบริการได้ 2.2 สนทนาเกย่ี วกบั การซ้ือสนิ ค้าได้ 2.3 พดู ตอ่ รองราคาได้ 2.4 เขยี นใบสั่งซ้ือสนิ คา้ ได้ 2.5 กรอกข้อมลู ร้องเรียนปญั หาเก่ียวกบั สินคา้ และบริการได้ 48 คู่มอื ครสู ำหรบั ชดุ การเรยี น วิชาภาษาองั กฤษเพ่อื การส่ือสาร

หนว่ ยการเรียนร้แู ละรายการสอน สมรรถนะประจำหน่วยและ เวลา หนว่ ยที่ 5 Applying for Jobs จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ (ช่วั โมง) 9 5.1 Job Openings สมรรถนะประจำหนว่ ย 5.1.1 Occupations 1. แสดงความรู้เกย่ี วกับการใช้ภาษาองั กฤษ 5.1.2 Job interviews ในประกาศรับสมคั รงาน การสมคั ร 5.2 Job Applications งาน และการสมั ภาษณ์งาน 5.2.1 Job ads 2. ใช้ภาษาอังกฤษในการกรอกแบบฟอรม์ 5.2.2 Job application forms สมัครงาน การเขียนจดหมายสมัครงาน 5.2.3 Application letters การเขยี นประวตั ิสว่ นตัว และการ and résumés สัมภาษณ์งาน 3. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการพฒั นา ทกั ษะภาษาองั กฤษเพ่ือการสอื่ สาร ส่อื สารในชีวติ ประจำวันและในงาน อาชีพ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. จุดประสงค์ทัว่ ไป 1.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั การใช้ ภาษาองั กฤษในประกาศรบั สมัครงาน การสมคั รงาน และการสมั ภาษณง์ าน 1.2 สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการกรอก แบบฟอร์มสมคั รงาน การเขียนจดหมาย สมัครงาน การเขียนประวตั สิ ว่ นตัว และ การสัมภาษณง์ าน 1.3 มีมารยาทในการสือ่ สารตาม วัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา ค่มู ือครสู ำหรบั ชดุ การเรยี น วิชาภาษาองั กฤษเพ่อื การสื่อสาร 49

หน่วยการเรียนรูแ้ ละรายการสอน สมรรถนะประจำหนว่ ยและ เวลา จดุ ประสงค์การเรียนรู้ (ชัว่ โมง) หนว่ ยที่ 5 Applying for jobs 9 (ตอ่ ) 2. จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม 2.1 บอกช่ืออาชพี ตา่ ง ๆ ได้ 2.2 สนทนาเกย่ี วกับงานในอาชีพได้ 2.3 สรุปใจความสำคญั ของประกาศรบั สมัครงานได้ 2.4 กรอกแบบฟอร์มสมัครงานได้ 2.5 เขยี นจดหมายสมคั รงานได้ 2.6 เขยี นประวัติส่วนตวั ได้ 2.7 ตอบคำถามในการสมั ภาษณง์ านได้ 50 คูม่ อื ครสู ำหรบั ชดุ การเรยี น วิชาภาษาอังกฤษเพอ่ื การส่อื สาร

หนว่ ยการเรยี นรแู้ ละรายการสอน สมรรถนะประจำหนว่ ยและ เวลา จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ (ชัว่ โมง) หน่วยที่ 6 Being on Duties 6 6.1 Duties สมรรถนะประจำหนว่ ย 6.1.1 Describing positions 1. แสดงความรู้เกี่ยวกบั การใชภ้ าษา And responsibilities องั กฤษในเรอื่ งหนา้ ท่ีความรับผิดชอบ 6.1.2 Giving advice กฎ ระเบียบ และปา้ ยสัญลักษณ์ 6.1.3 Talking about work ในสถานที่ทำงาน process 2. ใชค้ ำศัพท์ สำนวนภาษาองั กฤษ ในการสื่อสารเก่ียวกบั ตำแหนง่ งาน 6.2 Instructions หน้าที่ความรบั ผดิ ชอบ คำแนะนำ 6.2.1 Following rules and ขัน้ ตอนการทำงาน กฎ ระเบยี บ และ regulations ปา้ ยสญั ลักษณค์ วามปลอดภยั 6.2.2 Understanding safety ในสถานท่ที ำงาน signs 3. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการพัฒนา ทักษะภาษาองั กฤษเพอื่ การส่ือสารใน ชวี ิตประจำวนั และงานอาชพี จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. จดุ ประสงค์ทวั่ ไป 1.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั การใช้ภาษาอังกฤษในเร่ืองหน้าที่ ความรบั ผดิ ชอบ กฎ ระเบยี บ และ ปา้ ยสญั ลกั ษณ์ในสถานทท่ี ำงาน ค่มู ือครสู ำหรับชดุ การเรยี น วิชาภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร 51


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook