Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษาประถม

หลักสูตรสถานศึกษาประถม

Published by joom120940, 2022-06-20 09:54:04

Description: หลักสูตรสถานศึกษา ป.1-6 65

Keywords: 2

Search

Read the Text Version

หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนวดั บ้านโปง่ “สามคั คีคณุ ปู ถมั ภ์”พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) ระดบั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖ สำนักงานศึกษาธิการจงั หวัดราชบุรี สงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศกึ ษาธิการ

๒ ประกาศโรงเรยี นวดั บา้ นโป่ง “สามัคคีคุณูปถัมภ์” เรอ่ื ง ให้ใชห้ ลักสูตรโรงเรียนวดั บา้ นโป่ง “สามคั คคี ณุ ูปถมั ภ์” พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) เพื่อให้การจัดการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๕ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๗ กำหนดให้สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีหน้าท่ีจัดทำสาระของหลักสูตรตามท่ีหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนด โรงเรียนจึงจัดทำหลักสูตรโรงเรียนวัดบ้านโป่ง“สามัคคีคุณูปถัมภ์” พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ขน้ึ ซึ่งประกอบด้วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ๘ กล่มุ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แนวทางการ จัดการเรียนการสอน ระเบียบการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ของหลกั สตู รโรงเรยี น ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ทัง้ น้ี หลกั สตู รโรงเรียนวัดบา้ นโป่ง “สามัคคีคุณปู ถัมภ์” พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ได้รับความเห็นชอบจากคณะ กรรมการบริหารโรงเรยี นให้ใช้หลกั สตู รโรงเรียนวดั บ้านโป่ง “สามคั คคี ณุ ปู ถมั ภ์” พุทธศกั ราช ๒๕๖๕ ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ประกาศ ณ วันที่ ๑๖ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ (พระครสู ุธีปรยิ ัตวิ ธิ าน) (พระมหาทวีศกั ดิ์ คุณธมโฺ ม, ดร.) ประธานคณะกรรมการบริหารโรงเรียน ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นวัดบ้านโปง่ “สามัคคคี ณุ ูปถมั ภ์”

๓ คำนำ หลักสูตรโรงเรียนวัดบ้านโป่ง “สามัคคีคุณูปถัมภ์” เป็นหลักสูตรระดับสถานศึกษาท่ีพัฒนาจาก หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ในกลุม่ สาระการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ กลุม่ สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมในสาระภูมศิ าสตร์ โดยมีสาระ และมาตรฐานเป็นกรอบ และทิศทางในการพัฒนาเป็นหลกั สูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกบั วิสัยทัศน์ พันธกิจ เปา้ หมาย นโยบายและจุดเน้นของสถานศกึ ษา ตอบสนองความตอ้ งการของชุมชนและทอ้ งถ่นิ เพอ่ื ใช้ในการจัด การศึกษามุ่งพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีความประพฤติดี ความรู้ดี ความสามารถดี สามารถดำรงชีวิตร่วมกับ ผู้อื่นอย่างมีความสุขบนพน้ื ฐานคุณธรรมและความเป็นไทย นอกจากนี้โรงเรยี นได้กำหนดจุดเน้นในการพัฒนา ตามแนวโรงเรียนวิถีพุทธและโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพทุ ธศาสนา โดยจดั รายวิชาเพ่มิ เติมที่มุ่งเน้นการ พัฒนาดา้ นคุณธรรม จริยธรรมของผูเ้ รยี น และการพฒั นาทักษะการเรยี นรู้ที่สำคญั ของผเู้ รียนดา้ นคณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และคอมพิวเตอร์ มกี ารบรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งทุกกลมุ่ สาระการ เรียนรู้ การจดั ทำหลักสตู รโรงเรยี นวัดบ้านโป่ง “สามคั คคี ุณปู ถมั ภ์” ฉบบั น้ี ได้รับความรว่ มมอื อย่างดียิง่ จาก คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น ผ้ทู รงคุณวุฒิจากมหาวทิ ยาลัย ผ้ปู กครอง ชุมชน ผบู้ รหิ าร และคณะครูโรงเรยี น วัดบ้านโป่ง “สามัคคีคุณูปถัมภ์” ซ่ึงเป็นผู้มีความรู้ และประสบการณ์ในการดำเนินการจัดทำ และ พจิ ารณาหลักสูตรให้เกิดความถูกต้อง สมบูรณ์สามารถนำไปใช้ได้อย่างถกู ต้อง เหมาะสม และสอดคล้องกับ หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) นำไปจดั การเรียนรู้ ใหก้ ับผู้เรยี นได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ โรงเรยี นวดั บา้ นโปง่ “สามคั คีคณุ ูปถมั ภ”์ หวังเป็นอยา่ งย่งิ วา่ หลักสูตรโรงเรียนฉบบั นี้ จะสง่ ผลตอ่ การ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะชีวิต และสามารถ ดำรงชีวติ ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข โรงเรยี นวดั บ้านโปง่ “สามคั คีคณุ ปู ถัมภ”์ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕

สารบญั ๔ คำนำ หนา้ ประกาศโรงเรยี น ๑ ความนำ ๒ วสิ ยั ทัศน์ ๒ หลักการ ๒ จุดหมาย ๓ สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น ๔ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔ มาตรฐานการเรยี นรู้ ๕ ตัวชี้วดั ๖ สาระการเรยี นรู้ ๗ ความสัมพนั ธข์ องการพฒั นาผู้เรียน ๘ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ๑๔ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ๑๘ โครงสรา้ งเวลาเรียน ๑๙ โครงสร้างหลกั สูตร ๒๘ การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๕๒ ภาคผนวก ๕๓ คำสงั่ กระทรวงศึกษาธกิ ารที่ ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ๕๖ ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ ๕๘ คำสัง่ คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ประกาศคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ๕๙ คำอธบิ ายรายวิชา ๖๗ ๗๖ - ภาษาไทย ๘๕ - คณิตศาสตร์ ๑๑๔ - วทิ ยาศาสตร์ ๑๒๓ - สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑๓๐ - สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๑๓๖ - ศลิ ปะ - การงานอาชพี และเทคโนโลยี - ภาษาต่างประเทศ

๕ ความนำ ความหมาย การจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจะต้องสอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เพ่ือพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพคนของชาติให้สามารถเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยการยกระดับ คุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มคี ุณภาพและมาตรฐานระดบั สากลสอดคลอ้ งกับประเทศไทย ๔.๐ และ โลกในศตวรรษที่ ๒๑ กระทรวงศึกษาธิการโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจึงได้ดำเนินการทบทวน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยนำขอ้ มูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี และแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ มาใช้เป็น กรอบและทศิ ทางในการพฒั นาหลกั สตู รให้มีความเหมาะสมชดั เจนย่งิ ขึน้ ในระยะส้นั เห็นควรปรับปรุงหลกั สตู ร ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ซึ่งมีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ และเป็นรากฐานสำคัญที่จะช่วยให้มนุษย์มี ความคิดริเร่ิม สร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่าง รอบคอบและถ่ีถ้วน สามารถนำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั ตลอดจนการใช้เทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมในการบรู ณาการ กบั ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ เพ่ือแก้ปัญหาหรือพัฒนางานดว้ ยกระบวนการออกแบบเชิง วศิ วกรรมที่นำไปสู่การคิดค้นส่ิงประดษิ ฐ์ หรือสร้างนวัตกรรมต่าง ๆ ที่เอ้ือประโยชน์ตอ่ การดำรงชวี ิต การใช้ ทักษะการคดิ เชิงคำนวณ ความรู้ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี และการสื่อสารในการแก้ปัญหาท่ี พบในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้งั ใช้ความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ กระบวนการ และเครื่องมือทาง ภูมิศาสตร์ เรยี นรู้สง่ิ ต่าง ๆ ที่อยูร่ อบตัวอยา่ งเขา้ ใจสภาพทีเ่ ปน็ อยู่และการเปลีย่ นแปลง เพื่อนำไปสู่การจดั การ และปรับใช้ในการดำรงชวี ติ และการประกอบอาชพี อยา่ งสร้างสรรค์ ท้ังนี้ กระทรวงศึกษาธิการได้มอบหมายให้สถานบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สสวท.) รับผิดชอบในการปรับปรุงหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ และสาระ เทคโนโลยใี นกลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ซง่ึ ตอ่ มาไดผ้ นวกรวมอยูใ่ นกลุม่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ และสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานรับผดิ ชอบปรบั ปรุงสาระภูมศิ าสตรใ์ นกลมุ่ สาระ การเรียนร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบับนี้ จัดทำข้ึนเพ่ือให้สถานศึกษาทุกสังกัดท่ีจัดการศึกษาข้ัน พื้นฐาน ใช้เป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเป็นแนวทางให้ ผู้เกี่ยวข้องเข้าใจเป้าหมายการพัฒนาผู้เรียน และมีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนบรรลุตาม เป้าหมายท่กี ำหนดไว้ จากความสำคัญดังกล่าว โรงเรียนวัดบ้านโป่ง “สามัคคีคุณูปถัมภ์” จึงได้จัดทำเอกสารหลักสูตร โรงเรียนวดั บา้ นโป่ง “สามคั คคี ุณปู ถัมภ์” พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) โดยกำหนดกรอบทิศทางในการจัดการเรียนการสอน เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีการเรียนรตู้ ามมาตรฐานการศึกษาควบคู่การพัฒนาการเรียนรู้ด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ สังคม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มี คณุ ภาพและมาตรฐานระดบั สากลสอดคล้องกบั ประเทศไทย ๔.๐ และโลกในศตวรรษที่ ๒๑

๖ วสิ ยั ทศั น์ของหลักสตู ร หลักสูตรโรงเรียนวัดบ้านโป่ง “สามัคคีคุณูปถัมภ์” พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นพลเมืองท่ีมี คณุ ภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาควบคูก่ ารพัฒนาการเรียนรดู้ ้านร่างกาย สตปิ ัญญา อารมณ์ จิตใจ สงั คม และ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ยกระดบั คุณภาพการศึกษาของผเู้ รียนให้มคี ณุ ภาพ สอดคลอ้ งกบั ประเทศไทย ๔.๐ และโลกในศตวรรษที่ ๒๑ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมไทย และอาเซียนได้อย่างมีความสุข และยั่งยืน บนพื้นฐานของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและแนววิถพี ทุ ธ หลักการ หลักสูตรโรงเรียนวัดบ้านโป่ง “สามัคคีคุณูปถัมภ์” พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มหี ลกั การสำคญั ดงั นี้ ๑. เป็นหลักสูตรสถานศึกษาเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษา ควบคกู่ ารพัฒนาการเรยี นรู้ดา้ นรา่ งกาย สตปิ ัญญา อารมณ์ จิตใจ สังคม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๒. เปน็ หลักสูตรสถานศึกษาที่ให้โอกาสเยาวชนทกุ คนได้รบั การศึกษาอย่างเสมอภาค และมคี ุณภาพ ๓. เป็นหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ๔. เปน็ หลักสูตรสถานศึกษาที่มโี ครงสรา้ งยืดยุ่นด้านสาระการเรยี นรู้ เวลาเรยี นตามบริบทของโรงเรยี น และทอ้ งถนิ่ ๕. เปน็ หลกั สตู รสถานศึกษาเพื่อการดำเนนิ ชีวติ ตามวถิ พี ุทธ และหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จดุ หมาย หลักสูตรโรงเรียนวัดบ้านโป่ง “สามัคคีคุณูปถัมภ์” พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มุ่งพัฒนาผู้เรียนเป็นคนดี มีคุณภาพ มีทักษะพื้นฐานด้านการอ่าน การเขยี น การคิดคำนวณ ทักษะการคิดพ้ืนฐาน การติดต่อสือ่ สาร กระบวนการ เรียนทางสังคม และพื้นฐานความเป็นมนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างสมบูรณ์ และสมดุล ท้ังในด้าน รา่ งกาย สตปิ ัญญา อารมณ์ สังคม และวัฒนธรรม โดยเน้นจัดการเรยี นรู้แบบบรู ณาการตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและแนววถิ พี ุทธ ดงั น้ี ๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มท่ีพึงประสงค์ ปฏบิ ัติตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และแนววิถีพุทธ ๒. มคี วามรู้ ความสามารถ และทกั ษะชวี ิตเพือ่ ใชใ้ นการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชพี ๓. มสี ขุ ภาพกาย สุขภาพจิตทดี่ ี มนี สิ ัยรกั การออกกำลงั กาย ๔. มีความรักชาติ มีจติ สำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถชี ีวติ และการปกครอง ตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข ๕. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มจี ิตสาธารณะท่มี ่งุ ทำประโยชน์ สรา้ งส่งิ ทีด่ งี ามในสังคม และอย่รู ่วมกนั ในสังคมอย่างมีความสุข

๗ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน หลักสูตรโรงเรียนวัดบ้านโป่ง “สามัคคีคุณูปถัมภ์” พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มงุ่ พัฒนาผู้เรยี นเกดิ สมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดงั น้ี ๑. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรบั และส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลด ปัญหาความขัดแยง้ ตา่ ง ๆ การเลอื กรบั หรอื ไม่รับขอ้ มูลข่าวสารดว้ ยหลกั เหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการ เลือกใช้วิธกี ารสือ่ สาร ท่ีมีประสิทธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบทมี่ ตี อ่ ตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง สร้างสรรค์ การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และการคิดเปน็ ระบบ เพอื่ นำไปสกู่ ารสร้างองคค์ วามรู้หรอื สารสนเทศ เพ่อื การตดั สินใจเกยี่ วกบั ตนเองและสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เปน็ ความสามารถในการแกป้ ญั หาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความร้มู าใช้ในการป้องกันและแก้ไข ปัญหา และมกี ารตดั สินใจท่มี ปี ระสิทธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบที่เกดิ ขนึ้ ตอ่ ตนเอง สังคมและสง่ิ แวดลอ้ ม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน การดำเนินชวี ิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรอู้ ย่างต่อเน่ือง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันใน สังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลย่ี นแปลงของสงั คมและสภาพแวดล้อม และการรจู้ กั หลกี เลยี่ งพฤติกรรม ไมพ่ ึงประสงค์ทีส่ ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผูอ้ ืน่ ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแก้ปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถูกตอ้ งเหมาะ สม และมีคณุ ธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรโรงเรียนวัดบ้านโป่ง “สามัคคีคุณูปถัมภ์” พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มุ่งพัฒนาผู้เรยี นให้มคี ุณลักษณะอันพึง ประสงค์ เพือ่ ให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดงั นี้ ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๒. ซื่อสัตย์สจุ รติ ๓. มวี ินัย ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๕. อยอู่ ย่างพอเพียง ๖. มุง่ มัน่ ในการทำงาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มจี ิตสาธารณะ

๘ มาตรฐานการเรยี นรู้ การพัฒนาผเู้ รยี นใหเ้ กดิ ความสมดุล ตอ้ งคำนึงถึงหลักพัฒนาการทางสมอง และพหปุ ญั ญา หลกั สูตร แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน จงึ กำหนดให้ผเู้ รยี นเรยี นรู้ ๘ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ดงั น้ี ๑. ภาษาไทย ๒. คณิตศาสตร์ ๓. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔. สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๕. สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๖. ศลิ ปะ ๗. การงานอาชพี ๘. ภาษาตา่ งประเทศ กลมุ่ สาระการเรียนรูไ้ ดก้ ำหนดมาตรฐานการเรยี นรู้เปน็ เป้าหมายสำคญั ของการพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน มาตรฐานการเรียนรู้ ระบุส่ิงท่ีผู้เรียนพึงรู้ และปฏิบัติได้ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ ทต่ี ้องการให้เกิดแก่ผู้เรียนเมื่อจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน นอกจากน้ัน มาตรฐานการเรียนรู้ ยังเป็นกลไกสำคัญ ในการขับเคล่ือนพัฒนาการศึกษาท้ังระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่า ต้องการอะไร ต้องสอนอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมท้ังเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพ่ือการประกัน คุณภาพการศึกษา โดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายใน และการประเมินคุณภาพภายนอก ซ่ึงรวมถึง การทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพอื่ ประกันคณุ ภาพดงั กลา่ วเป็นสิ่งสำคญั ทชี่ ่วยสะท้อนภาพการจัด การศกึ ษาวา่ สามารถพฒั นาผเู้ รียนให้มคี ุณภาพตามที่มาตรฐานการเรียนรกู้ ำหนดเพียงใด ตวั ชว้ี ัด ตวั ชี้วดั ระบสุ ่ิงทผ่ี ู้เรยี นพงึ รู้ และปฏบิ ัตไิ ด้ รวมทง้ั คุณลักษณะของผู้เรยี นในแต่ละระดับช้ัน ซ่ึงสะท้อน ถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจง และมีความเป็นรูปธรรม นำไปใช้ในการกำหนดเน้ือหา จัดทำ หน่วยการเรียนรู้ จดั การเรยี นการสอน และเกณฑส์ ำคญั สำหรับการวัดประเมนิ ผลเพ่ือตรวจสอบคุณภาพผ้เู รยี น ๑. ตวั ชีว้ ดั ชน้ั ปี เปน็ เปา้ หมายในการพัฒนาผูเ้ รยี นแตล่ ะปใี นระดับการศกึ ษาภาคบงั คบั (ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ถึง มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓) ๒. ตวั ชว้ี ดั ช่วงชนั้ เปน็ เป้าหมายในการพฒั นาผู้เรียนในระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (มธั ยมศกึ ษา ปีที่ ๔ – ๖)

๙ หลักสูตรได้มีการกำหนดรหัสกำกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อความเข้าใจ และใช้ส่ือสาร ตรงกัน ดังนี้

๑๐ สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ซ่ึงกำหนดให้ผู้เรยี นทกุ คนในระดับขนั้ พน้ื ฐานจำเปน็ ตอ้ งเรียนรู้ โดยแบ่งเป็น ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้

๑๑ ความสัมพันธข์ องการพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

๑๒ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานกำหนดมาตรฐานการเรยี นรใู้ น ๘ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ จำนวน ๓๒ สาระ ๕๗ มาตรฐาน ดังนี้ กลุม่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย (๕ สาระ ๕ มาตรฐาน) สาระที่ ๑ การอา่ น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรูแ้ ละความคิดเพ่ือนาไปใช้ แก้ปญั หาใน การดำเนนิ ชวี ิตและมีนสิ ัยรักการอ่าน สาระท่ี ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี น เขียนส่ือสาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเรอ่ื งราวใน รปู แบบต่าง ๆ เขียนรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ สาระท่ี ๓ การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงั และดูอย่างมีวิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคดิ ความรูส้ กึ ในโอกาสตา่ ง ๆ อย่างมีวจิ ารณญาณ และสรา้ งสรรค์ สาระที่ ๔ หลกั การใชภ้ าษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไว้เปน็ สมบัติ ของชาติ สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคณุ ค่า และนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จรงิ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ (๓ สาระการเรียนรู้ ๗ มาตรฐานการเรยี นร)ู้ สาระที่ ๑ จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ จำนวน ผลที่เกิดขนึ้ จากการดำเนินการ สมบตั ิของการดำเนนิ การ และนำไปใช้ มาตรฐาน ค ๑.๒ เขา้ ใจและวิเคราะหแ์ บบรปู ความสมั พนั ธ์ ฟังกช์ ัน ลำดับและอนุกรม และนำไปใช้ มาตรฐาน ค ๑.๓ ใชน้ ิพจน์ สมการ อสมการ และเมทรกิ ซ์ อธบิ ายความสมั พันธห์ รอื ช่วยแก้ปญั หาท่ี กำหนดให้ สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค ๒.๑ เขา้ ใจพน้ื ฐานเกย่ี วกบั การวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสง่ิ ท่ีตอ้ งการวดั และนำไปใช้ มาตรฐาน ค ๒.๒ เข้าใจและวเิ คราะหร์ ูปเรขาคณิต สมบัตขิ องรปู เรขาคณิต ความสมั พันธร์ ะหวา่ งรูป เรขาคณิตและทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และนำไปใช้ สาระท่ี ๓ สถิติและความนา่ จะเป็น มาตรฐาน ค ๓.๑ เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติ และใชค้ วามรทู้ างสถติ ใิ นการแก้ปญั หา มาตรฐาน ค ๓.๒ เขา้ ใจหลกั การนบั เบ้อื งตน้ ความน่าจะเปน็ และนำไปใช้

๑๓ กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (๓ สาระ ๑๐ มาตรฐาน) สาระที่ ๑ วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสงิ่ ไมม่ ีชีวติ กับสิง่ มชี ีวิต และความสมั พันธร์ ะหว่างสิง่ มชี ีวิตกับสง่ิ มชี ีวติ ตา่ ง ๆ ในระบบนเิ วศ การถา่ ยทอด พลงั งาน การเปลยี่ นแปลงแทนที่ในระบบนเิ วศ ความหมายของประชากร ปัญหา และผลกระทบท่ีมีต่อทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละการแก้ไขปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม รวมทัง้ นาความร้ไู ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบัตขิ องสิง่ มชี ีวติ หน่วยพน้ื ฐานของสง่ิ มีชีวติ การลำเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และ มนษุ ยท์ ี่ทำงานสมั พันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสรา้ ง และหนา้ ที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชทท่ี ำงานสมั พนั ธ์กนั รวมทงั้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๓ เขา้ ใจกระบวนการและความสำคญั ของการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม สารพนั ธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพนั ธุกรรมทีม่ ผี ลตอ่ สิง่ มชี วี ติ ความหลากหลาย ทางชวี ภาพและววิ ฒั นาการของส่ิงมชี วี ติ รวมทัง้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ สาระท่ี ๒ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เขา้ ใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสมบัติของสสาร กับโครงสร้างและแรงยึดเหนีย่ วระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาตขิ อง การเปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี มาตรฐาน ว ๒.๒ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องแรงในชวี ิตประจำวัน ผลของแรงทก่ี ระทำต่อวัตถุ ลกั ษณะ การเคล่อื นทแี่ บบตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมทั้งนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปลีย่ นแปลงและการถา่ ยโอนพลังงาน ปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลงั งานในชวี ติ ประจำวัน ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณ์ทเี่ กย่ี วขอ้ งกับเสยี ง แสง และคล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า รวมทงั้ นำความร้ไู ปใช้ ประโยชน์ สาระท่ี ๓ วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เขา้ ใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และววิ ัฒนาการของ เอกภพ กาแลก็ ซี ดาวฤกษ์ และระบบสรุ ิยะ รวมท้งั ปฏสิ ัมพนั ธภ์ ายในระบบสรุ ิยะทีส่ ง่ ผลตอ่ สงิ่ มชี วี ติ และการประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยีอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง ภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพบิ ัติภยั กระบวนการเปลี่ยนแปลงลม ฟ้า อากาศ และภมู อิ ากาศโลก รวมทั้งผลตอ่ สงิ่ มีชวี ิตและสง่ิ แวดล้อม สาระที่ ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยเี พ่ือการดำรงชีวติ ในสังคมทีม่ ี การเปล่ยี นแปลง อยา่ งรวดเร็ว ใชค้ วามรูแ้ ละทักษะทางดา้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์ อืน่ ๆ เพอ่ื แก้ปญั หาหรอื พฒั นางานอย่างมคี วามคิดสรา้ งสรรค์ด้วยกระบวนการ ออกแบบเชิงวศิ วกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสมโดยคำนึงถงึ ผลกระทบตอ่ ชวี ิต สงั คม และสิง่ แวดล้อม

๑๔ มาตรฐาน ว ๔.๒ เขา้ ใจและใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณในการแกป้ ญั หาท่ีพบในชวี ิตจรงิ อยา่ งเป็นข้ันตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ ร้เู ทา่ ทัน และมจี ริยธรรม กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม (๕ สาระ ๑๑ มาตรฐาน) สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวตั ิ ความสำคญั ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนา ทตี่ นนับถือและศาสนาอนื่ มีศรทั ธาท่ีถกู ตอ้ ง ยดึ มน่ั และปฏิบตั ิตามหลักธรรมเพอื่ อยรู่ ่วมกันอย่างสันตสิ ขุ มาตรฐาน ส๑.๒ เข้าใจ ตระหนกั และปฏบิ ัติตนเป็นศาสนิกชนทีด่ ี และธารงรักษาพระพทุ ธศาสนาหรือ ศาสนาทีต่ นนบั ถือ สาระที่ ๒ หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนินชวี ติ ในสงั คม มาตรฐาน ส ๒.๑ เขา้ ใจและปฏบิ ัตติ นตามหนา้ ทข่ี องการเปน็ พลเมอื งดี มีคา่ นิยมท่ีดงี ามและธำรง รักษาประเพณีและวฒั นธรรมไทย ดำรงชวี ิตอยู่ร่วมกนั ในสงั คมไทย และ สงั คมโลก อย่างสันติสขุ มาตรฐาน ส ๒.๒ เขา้ ใจระบบการเมอื งการปกครองในสงั คมปจั จบุ นั ยดึ มัน่ ศรทั ธา และธำรงรักษาไว้ ซ่งึ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบรหิ ารจดั การทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ ทรัพยากรที่มีอยจู่ ำกดั ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพและคุ้มคา่ รวมทง้ั เขา้ ใจหลกั การของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง เพอ่ื การดำรงชวี ติ อย่างมีดลุ ยภาพ มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกจิ ต่าง ๆ ความสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกจิ และความ จำเปน็ ของการร่วมมอื กนั ทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก สาระท่ี ๔ ประวัตศิ าสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใช้ วธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์มาวเิ คราะห์เหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ อยา่ งเป็นระบบ มาตรฐาน ส ๔.๒ เขา้ ใจพฒั นาการของมนุษยชาติจากอดตี จนถึงปัจจุบัน ในด้านความสมั พนั ธแ์ ละ การเปลยี่ นแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนอ่ื ง ตระหนกั ถงึ ความสำคญั และสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบทเ่ี กิดขน้ึ มาตรฐาน ส ๔.๓ เขา้ ใจความเปน็ มาของชาตไิ ทย วัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาไทย มคี วามรกั ความภูมใิ จ และธำรงความเปน็ ไทย สาระท่ี ๕ ภมู ศิ าสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ เขา้ ใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพนั ธ์ของสรรพสง่ิ ซง่ึ มี ผลต่อกนั ใช้ แผนทแ่ี ละเคร่อื งมือทางภูมศิ าสตรใ์ นการคน้ หา วิเคราะห์ และสรปุ ข้อมลู ตาม กระบวนการทางภมู ิศาสตร์ ตลอดจนใชภ้ มู สิ ารสนเทศอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างมนุษยก์ ับสิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพที่กอ่ ใหเ้ กิดการสรา้ ง สรรค์วิถกี ารดำเนินชีวติ มีจติ สำนกึ และมสี ว่ นรว่ มในการจดั การทรัพยากร และ ส่ิงแวดล้อมเพื่อการพฒั นาท่ยี ่ังยนื

๑๕ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศกึ ษา (๕ สาระ ๖ มาตรฐาน) สาระที่ ๑ การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย์ มาตรฐาน พ ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย์ สาระท่ี ๒ ชวี ิตและครอบครวั มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเหน็ คณุ ค่าตนเอง ครอบครวั เพศศึกษา และมที ักษะในการดำเนินชีวิต สาระท่ี ๓ การเคล่อื นไหว การออกกาลังกาย การเลน่ เกม กีฬาไทย และกฬี าสากล มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการเคลอ่ื นไหว กจิ กรรมทางกาย การเล่นเกม และกฬี า มาตรฐาน พ ๓.๒ รกั การออกกำลงั กาย การเลน่ เกม และการเลน่ กฬี า ปฏบิ ัติเปน็ ประจำอย่าง สม่ำเสมอ มีวินยั เคารพสทิ ธิ กฎ กติกา มีน้ำใจนักกีฬา มีจติ วิญญาณในการแขง่ ขนั และชน่ื ชมในสุนทรียภาพของการกีฬา สาระท่ี ๔ การสรา้ งเสริมสขุ ภาพ สมรรถภาพและการปอ้ งกนั โรค มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคณุ คา่ และมีทกั ษะในการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ การดำรงสุขภาพ การป้องกนั โรค และการสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพเพอ่ื สุขภาพ สาระท่ี ๕ ความปลอดภัยในชวี ิต มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลกี เลี่ยงปัจจัยเสีย่ ง พฤติกรรมเส่ียงต่อสุขภาพ อุบตั ิเหตุ การใช้ยาสาร เสพติด และความรนุ แรง สาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะ (๓ สาระ ๖ มาตรฐาน) สาระท่ี ๑ ทศั นศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สรา้ งสรรคง์ านทศั นศลิ ป์ตามจนิ ตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วจิ ารณค์ ณุ คา่ งานทัศนศลิ ป์ ถา่ ยทอดความรูส้ กึ ความคิดตอ่ งานศลิ ปะอยา่ งอสิ ระ ช่ืนชม และประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวนั มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธร์ ะหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณคา่ งาน ทัศนศลิ ป์ทเ่ี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น ภูมิปญั ญาไทยและสากล สาระท่ี ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรอี ยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์คุณค่า ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคดิ ต่อดนตรีอยา่ งอสิ ระ ชน่ื ชม และประยกุ ต์ใชใ้ น ชีวติ ประจำวัน มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คณุ คา่ ของ ดนตรีที่เปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ ภมู ิปญั ญาไทยและสากล สาระท่ี ๓ นาฏศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอ์ ยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณค์ ณุ คา่ นาฏศลิ ป์ ถา่ ยทอดความร้สู กึ ความคิดอยา่ งอสิ ระ ช่ืนชม และ ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธร์ ะหวา่ งนาฏศลิ ป์ ประวัตศิ าสตร์และวฒั นธรรม เหน็ คุณคา่ ของ นาฏศลิ ป์ท่ีเปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น ภูมิปญั ญาไทยและสากล

๑๖ กลุ่มสาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี (๔ สาระ ๔ มาตรฐาน) สาระท่ี ๑ การดำรงชวี ิตและครอบครวั มาตรฐาน ง ๑.๑ เขา้ ใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มที ักษะกระบวนการทำงาน ทักษะ การจดั การ ทกั ษะกระบวนการแก้ปญั หา ทกั ษะการทางานรว่ มกนั และทกั ษะ การแสวงหาความรู้ มคี ุณธรรม และลกั ษณะนสิ ัยในการทำงาน มีจิตสำนกึ ในการใช้ พลงั งาน ทรัพยากร และสงิ่ แวดลอ้ ม เพ่ือการดำรงชวี ิตและครอบครัว สาระท่ี ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง ๒.๑ เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสงิ่ ของเครือ่ งใช้ หรอื วิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยีอยา่ งมีความคิดสร้างสรรค์ เลอื กใช้ เทคโนโลยใี นทางสร้างสรรคต์ ่อชีวิต สังคม สิ่งแวดลอ้ ม และมสี ว่ นร่วมในการจดั การ เทคโนโลยีทย่ี ั่งยนื สาระท่ี ๓ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร มาตรฐาน ง ๓.๑ เขา้ ใจ เหน็ คุณคา่ และใช้กระบวนการเทคโนโลยสี ารสนเทศในการสบื ค้น ขอ้ มูลการเรียนรู้ การสือ่ สาร การแกป้ ญั หา การทางาน และอาชีพอย่างมี ประสิทธิภาพ ประสทิ ธผิ ล และมคี ุณธรรม สาระที่ ๔ การอาชพี มาตรฐาน ง ๔.๑ เข้าใจ มที กั ษะท่จี ำเป็น มปี ระสบการณ์ เหน็ แนวทางในงานอาชพี ใชเ้ ทคโนโลยเี พ่อื พัฒนาอาชพี มีคุณธรรม และมีเจตคตทิ ่ีดตี ่ออาชพี สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ (๔ สาระ ๘ มาตรฐาน) สาระที่ ๑ ภาษาเพอื่ การส่อื สาร มาตรฐาน ต ๑.๑ เข้าใจและตีความเรอ่ื งที่ฟงั และอ่านจากสอ่ื ประเภทตา่ ง ๆ และแสดงความคิดเหน็ อย่างมเี หตผุ ล มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทกั ษะการส่อื สารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมลู ขา่ วสาร แสดงความรสู้ กึ และ ความคดิ เหน็ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ มาตรฐาน ต ๑.๓ นำเสนอขอ้ มลู ข่าวสาร ความคดิ รวบยอด และความคิดเหน็ ในเรือ่ งต่าง ๆ โดย การพดู และการเขยี น สาระท่ี ๒ ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต ๒.๑ เข้าใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาษากบั วัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา และนำไปใช้ได้ อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต ๒.๒ เข้าใจความเหมอื นและความแตกตา่ งระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา กับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใชอ้ ย่างถูกต้องและเหมาะสม สาระที่ ๓ ภาษากบั ความสัมพันธก์ บั กลุ่มสาระการเรียนรู้อนื่ มาตรฐาน ต ๓.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชอื่ มโยงความรู้กบั กลุม่ สาระการเรยี นรู้อื่น และเปน็ พ้ืนฐานในการพฒั นา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทศั นข์ องตน สาระที่ ๔ ภาษากบั ความสัมพันธ์กบั ชมุ ชนและโลก มาตรฐาน ต ๔.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ทงั้ ในสถานศึกษา ชมุ ชน และสังคม มาตรฐาน ต ๔.๒ ใชภ้ าษาตา่ งประเทศเป็นเครือ่ งมอื พนื้ ฐานในการศึกษาตอ่ การประกอบอาชพี และ การแลกเปล่ียนเรยี นรู้กบั สงั คมโลก

๑๗ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มงุ่ ใหผ้ ู้เรยี นได้ พัฒนาตนเองตามศกั ยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพ่ือความเป็นมนุษย์ท่ีสมบรู ณท์ ้งั รา่ งกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัยปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกของการทำ ประโยชน์เพ่ือสังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มงุ่ พัฒนาผ้เู รียนให้ใช้องค์ความรู้ ทกั ษะและเจตคติจากการเรยี นรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และประสบการณ์ ของผู้เรียนมาปฏิบัติกิจกรรมเพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิดความสามารถในการแกป้ ญั หา ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต และความสามารถใน การใชเ้ ทคโนโลยี ซง่ึ จะส่งผลในการพฒั นาผเู้ รียนให้มคี ุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งม่ันในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ เกดิ ทักษะการทำงาน และอย่รู ว่ มกับผู้อื่นในสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสุขในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก การจัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนหลักสูตรโรงเรียนวัดบ้านโป่ง “สามคั คคี ุณูปถมั ภ”์ พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)เน้นให้มคี วามสมดุลใน การจดั กิจกรรมรายบคุ คลและกิจกรรมกลุม่ รวมทั้งมกี ารจดั กจิ กรรมท้ังในและนอกสถานศกึ ษา ได้แก่ ๑. กิจกรรมแนะแนว ๒. กิจกรรมนกั เรียน ประกอบด้วย ๒.๑ ลูกเสอื -เนตรนารี ๒.๒ ชมุ นมุ ชมรม ๓. กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น โดยแบ่งออกเปน็ ๓ ลักษณะ ดงั น้ี ๑. กจิ กรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสรมิ และพัฒนานักเรียนให้ผู้เรียนเกิดการเรยี นรู้ รู้จัก เข้าใจ รักและเห็นคุณค่าใน ตนเองและผอู้ น่ื เพอ่ื ให้ผู้เรยี นเกิดการเรยี นรู้ สามารถวางแผนการเรียน อาชีพ รวมท้ังการดำรงชวี ิตและสังคม เพอ่ื ให้ผูเ้ รียนสามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสม และอยูร่ ่วมกับผู้อน่ื ได้อย่างมคี วามสุขท้ังนี้นักเรียน ทกุ คนต้อง เข้ารว่ มกจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ช่ัวโมงต่อปีการศกึ ษา แนวการจดั กจิ กรรมแนะแนว ๑) สำรวจสภาพปญั หา ความตอ้ งการ ความสนใจและธรรมชาติของผเู้ รียนเพ่อื เป็นขอ้ มลู ใน การกำหนดแนวทาง และแผนการปฏิบตั กิ จิ กรรมแนะแนว ๒) ศกึ ษาวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา และวิเคราะห์ข้อมลู ของผูเ้ รยี นท่ไี ด้จากการสำรวจ ๓) กำหนดสดั สว่ นสาระของกจิ กรรมในแตล่ ะดา้ น ๔) กำหนดสดั ส่วนสารของกิจกรรมในแตล่ ะดา้ น ๕) จัดทำรายละเอียดของแตล่ ะกจิ กรรม ขอบขา่ ยการจัดกิจกรรมแนะแนว ๑) ด้านการศึกษา ใหผ้ ู้เรยี นได้พฒั นาตนเองในดา้ นการเรยี นอยา่ งเตม็ ศักยภาพ รจู้ กั แสวงหาและ ใชข้ ้อมลู ประกอบการวางแผนการเรียนหรือการศึกษาต่อได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ มีนิสัยใฝ่รู้ ใฝ่เรยี น มีวธิ ีการเรียนรแู้ ละสามารถวางแผนการเรยี นหรอื การศกึ ษาต่อไดอ้ ย่างเหมาะสม

๑๘ ๒) ดา้ นการงานและอาชพี ใหผ้ เู้ รยี นได้รจู้ กั ตนเองในทกุ ด้าน รู้และเข้าใจโลกของงานอาชพี อยา่ ง หลากหลาย มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต มีการเตรียมตัวสู่อาชีพ สามารถวางแผนเพื่อปะรกอบ อาชพี ตามทตี่ นเองมีความถนัดและสนใจ ๓) ดา้ นชวี ติ และสังคม ใหผ้ ู้เรียนรู้จักและเข้าใจตนเอง รักและเหน็ คุณค่าในตนเองและผอู้ น่ื รกั ษ์ สิ่งแวดล้อม มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ มีเจตคติท่ีดีต่อการมีชีวิตที่ดีมีคุณภาพ มที ักษะและสามารถ ปรบั ตวั ให้ดารงชวี ิตอยใู่ นสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ ๒. กิจกรรมนกั เรยี น เปน็ กิจกรรมท่ีสง่ เสรมิ และพัฒนานักเรียนให้ผู้เรียนไดเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรมตามความถนดั และความสนใจ โดยเนน้ เรือ่ งคุณธรรม จริยธรรม ความมรี ะเบียบวินยั ไม่เหน็ แกต่ ัว มีความเปน็ ผูน้ ำ ผูต้ ามที่ดี มคี วามรับผดิ ชอบ การทำงานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจ ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันกัน เอ้ืออาทรและ สมานฉนั ท์ การจดั กจิ กรรม ดำเนนิ การดงั น้ี ๑) จดั ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความสามารถ และความสนใจของผเู้ รยี น ๒) เน้นให้ผ้เู รียนได้ปฏบิ ตั ิดว้ ยตนเองในทุกขั้นตอน ๓) เน้นการทำงานร่วมกันเปน็ กลุ่มตามความเหมาะสม และสอดคล้องกบั วฒุ ภิ าวะของผูเ้ รียน ตลอดจนบริบทของสถานศึกษาและทอ้ งถ่ิน กิจกรรมนกั เรยี นประกอบด้วย ๒.๑ กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด นักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี/ ยวุ กาชาด ๔๐ ชั่วโมงตอ่ ปีการศึกษา แนวการจดั กิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี เป็นกิจกรรที่มุ่งปลูกฝังระเบียบ วินัย และกฎเกณฑ์เพื่อการอยู่รว่ มกนั ให้ รจู้ กั การเสยี สละ และบำเพ็ญประโยชนแ์ ก่สังคมและวิถีชวี ิตในระบอบประชาธิปไตย ซงึ่ การจดั กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ให้เป็นไปตามข้อบังคับของสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ รวมทั้งให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ โดยกำหนดหลกั สูตรเป็น ๓ ประเภท ดังน้ี ๑) ลกู เสอื สำรอง ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑-๓ ๒) ลูกเสอื สามญั ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๔-๖ ๓) ลกู เสือสามัญรุ่นใหญ่ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑-๓ ๒.๒ กจิ กรรมชมุ นมุ ชมรม เป็นกจิ กรรมท่ผี เู้ รียนรวมกลุม่ กนั จัดข้นึ ตามความสามารถ ความถนดั และ ความสนใจของผู้เรียน เพื่อเติมเต็มความรู้ ความชานาญ ประสบการณ์ ทักษะ เจตคติเพ่ือพัฒนาตนเองตาม ศักยภาพ ทง้ั นี้นกั เรียนทุกคนตอ้ งเขา้ รว่ มกจิ กรรมชุมนมุ ๒๐ ชั่วโมงต่อปกี ารศกึ ษา แนวการจัดกจิ กรรมชุมนมุ กิจกรรมชุมนุม ชมรม เป็นกิจกรรมทใ่ี ห้ผู้เรียนรวมกลุ่มกันจัดข้ึนตามความสามารถ ความถนัด และ ความสนใจของผู้เรียน เพื่อเติมความรู้ ความชำนาญ ประสบการณ์ ทักษะเจตคติเพ่ือพัฒนาตนเองตาม ศกั ยภาพ ซึง่ นกั เรยี นสามารถเลอื กเขา้ ชมรม ชุมนุม ไดด้ งั น้ี ๑. ชุมนุมดนตรี นาฏศลิ ป์ ๒. ชุมนมุ กฬี าและนันทนาการ ๓. ชมุ นมุ ธนาคารขยะ ๔. ชุมนุมส่งเสรมิ สขุ ภาพ ๕. ชุมนุมคอมพวิ เตอร์ ๖. ชมุ นุมศลิ ปะ

๑๙ ๗. ชุมนุมเกษตรตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๘. ชุมนุมออมทรพั ย์ ๙. ชมุ นมุ ความเปน็ เลิศทางวิชาการ ๑๐. อนื่ ๆ ตามทคี่ ณะกรรมการบริหารหลักสตู รและงานวชิ าการเห็นวา่ เหมาะสม ๓. กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้นักเรียนท ำ กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นความมุ่งหวังท่ีจะสรา้ ง “จิตสาธารณะ” หรือ “ความรับผิดชอบ ตอ่ สังคม” และคุณลักษณะแฝงอน่ื ๆ อีกมากมาย ท้ังนนี้ ักเรยี นทุกคนตอ้ งเข้ารว่ มกิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๒๐ ช่วั โมงต่อปกี ารศกึ ษา แนวการจัดกจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ มีแนวทางดงั น้ี ๑) ส่งเสริมใหเ้ ดก็ มีความสามารถในการดูแลรักษาบา้ น และรบั ผดิ ชอบงานบา้ น ถือเปน็ งาน สาธารณะที่ใกล้ตัวท่ีสุด โดยมีพฤติกรรมที่เป็นรูปธรรม เช่น ต่ืนนอนแต่เช้า กวาดบ้าน -ถูบ้าน จัดระเบยี บ กวาดบริเวณบ้าน ๒) ส่งเสริมให้เด็กรว่ มรบั ผดิ ชอบในการดูแลรกั ษา ซอย หมูบ่ ้านทอ่ี ยอู่ าศัย โรงเรยี น วัด ที่สาธารณประโยชน์ โดยมพี ฤตกิ รรมท่ีเป็นรปู ธรรม เชน่ ปลูกตน้ ไม้ (ไมด้ อก ไมป้ ระดบั ) หนา้ บ้าน บรเิ วณโรงเรยี น วดั พรอ้ มดูแลรกั ษา กวาด ทำความสะอาดถนนหรอื ทสี่ าธารณะ รอบบา้ นในรัศมี ๕ เมตร เป็นกรรมการฝ่ายเยาวชนเพ่ือการดแู ลรักษา ซอย หมบู่ ้านท่ีอยู่อาศัย เป็นต้น ๓) สถานศกึ ษาเป็นแกนนำในการพฒั นาชมุ ชนในรัศมีท่ีเปน็ ท่ีต้งั ของสถานศกึ ษา เช่น รับผิดชอบ ดูแลในรัศมี ๑ กิโลเมตร รอบสถานศึกษา โดยร่วมกบั ชมุ ชนอยา่ งจรงิ จงั ในการพัฒนาบรรยากาศ สิ่งแวดล้อมของชุมชน ท้ังนี้ อาจปฏิบัติการผ่านกิจกรรมชุมนุมที่มีอยู่ในโรงเรียน และเน้นให้ นักเรียนมีบทบาทหลักในการร่วมวางแผนพัฒนา การปฏิบัติการเช่นนี้ เสมือน “การใช้ชมุ ชนท่ี เปน็ ท่ตี ั้งของสถานศึกษา เป็นหอ้ งปฏิบตั ิการทดลองประสบการณ์ชีวิตต่าง ๆ แกผ่ ูเ้ รียน” ท้ังน้เี ชื่อ ว่า หากนักเรียนมองเห็นแนวทางการพัฒนาชุมชนที่เป็นรูปธรรม ๑ ชุมชน นักเรียนเหล่านั้น จะสามารถนาประสบการณ์ไปประยุกต์ใช้ในชุมชนท่ีอยู่อาศัยของตนเองได้ในอนาคต อีกท้ัง โรงเรยี นเองกจ็ ะเปน็ ทร่ี กั ใคร่ เป็นทพ่ี อใจของชมุ ชนที่เป็นที่ต้งั ของโรงเรียนเป็นโรงเรยี นของชุมชน อย่างแท้จริง (อน่ึงชมุ ชน อาจให้การสนับสนนุ งบประมาณเพือ่ การทำกจิ กรรมสาธารณประโยชน์ ใน ส่วนน้ี) ๔) ประสานงานกับผู้ปกครอง หรือเครือข่ายผู้ปกครอง ให้ร่วมกันวางแผนเพ่ือท ำกิจกรรม สาธารณประโยชนร์ ่วมกันเป็นวงศ์ตระกูล โดยวางแผนเป็นรายปี พร้อมแจง้ แผนงานให้โรงเรียน ทราบต้ังแตต่ ้นปี การกระทำเชน่ น้ี นอกจากจะเป็นการแบ่งเบาภาระของโรงเรียนในการส่งเสริม ให้นักเรียนจัดทำกิจกรรมสาธารณประโยชน์แล้ว ยังเป็นการส่งเสริมความสัมพันธใ์ นครอบครัว และสง่ เสรมิ ให้ครอบครัวไทย “มจี ติ สาธารณะไปในตวั ด้วย” ๕) สง่ เสริมให้นกั เรยี นใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มคา่ เชน่ รู้จักปดิ น้ำ ปิดไฟ เม่อื เลิกใช้ ท้ิงขยะในถังขยะ ช่วยดูแลสาธารณสมบัติ ช่วยดูแลรักษาทรัพยากรทางธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมทั้งในโรงเรียน หมบู่ า้ น ชุมชน เปน็ ต้น

๒๐ กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ การลดเวลาเรียน หมายถึง การลดเวลาเรียนภาควิชาการ และการลดเวลาของการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ที่ผ้เู รียนเป็นผู้รับความรู้ เชน่ การบรรยาย การสาธิต การศึกษาใบความรู้ ให้น้อยลง และการเพ่ิม เวลารู้ หมายถึง การเพ่มิ เวลาและโอกาสใหผ้ ้เู รยี นไดล้ งมอื ปฏิบตั จิ รงิ มปี ระสบการณต์ รง คดิ วิเคราะห์ ทำงาน เปน็ ทมี และเรียนรู้ดว้ ยตนเองอย่างมีความสขุ จากกจิ กรรมสรา้ งสรรค์ท่หี ลากหลายมากข้ึน แนวการจัดกิจกรรมลดเวลาเรยี นเพิม่ เวลารู้ มีแนวทางดังนี้ ๑) จัดกิจกรรมเปน็ ฐานการเรยี นรตู้ ามความต้องการของผ้เู รยี น ผู้ปกครอง และชุมชน ๒) จัดกิจกรรมฐานการเรยี นรู้โดยแบง่ เป็น ๔ ฐาน และเช่อื มโยงหลักการจดั กจิ จกรรมแบบ ๔ H ๓) สง่ เสรมิ การจัดกจิ กรรมทบี่ รู ณาการกจิ กรรมในรูปแบบ STEM ระดบั การศึกษา  ระดับประถมศึกษา (ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖) การศึกษาระดับนี้เป็นช่วงแรกของการศึกษาภาคบังคับ มุ่งเน้นทักษะพื้นฐานดา้ นการอา่ น การเขียน การคิดคำนวณ ทักษะการคิดพื้นฐาน การติดต่อสื่อสาร กระบวนการเรียนรูท้ างสังคม และพื้นฐานความเป็น มนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างสมบูรณ์ และสมดุลท้ังในด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และ วฒั นธรรม โดยเน้นจัดการเรยี นรู้แบบบูรณาการ การจดั เวลาเรยี น  ระดับประถมศึกษา (ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ – ๖) จัดเวลาเรียนเป็นรายปี โดยมเี วลาเรยี นวันละไมเ่ กิน ๕ ชว่ั โมง

๒๑ โครงสร้างเวลาเรียน ระดับประถมศกึ ษา เวลาเรยี น กลุ่มสาระการเรยี นรู้/กจิ กรรม ระดบั ประถมศึกษา ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖  กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ วิทยาศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ * ประวัตศิ าสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ * ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม * หน้าท่พี ลเมือง วฒั นธรรม และ การดำเนนิ ชีวิตในสงั คม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ * เศรษฐศาสตร์ * ภมู ิศาสตร์ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ภาษาตา่ งประเทศ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ รวมเวลาเรยี น (พนื้ ฐาน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ รายวชิ า/กิจกรรมที่ ๔๐ ชวั่ โมง/ปี สถานศึกษาจดั เพิ่มเติม ตามความพรอ้ มและจุดเน้น  กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น * กจิ กรรมแนะแนว ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ * กิจกรรมนกั เรียน - ลูกเสือ เนตรนารี - ชมรม ชุมนมุ * กิจกรรมเพ่ือสงั คมและ สาธารณประโยชน์ รวมกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ รวมเวลาเรียนทัง้ หมด ๑,๐๔๐ ชั่วโมง/ปี

โครงสรา้ งหลกั สูตรชน้ั ปี ๒๒ โครงสรา้ งหลกั สูตร ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ น้ำหนัก รหสั วชิ า รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น ๕ ๕ รายวชิ าพื้นฐาน ๑ ๑ ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ๑ ๑ ค๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๑ ๑ ว๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๔๐ ๕ - ส๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๔๐ ๑ ส๑๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐ ๑ - พ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๔๐ - ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๔๐ - - ง๑๑๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐ - - อ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๒๐๐ - รวมเวลาเรยี นวิชาพ้นื ฐาน ๘๔๐ รายวิชาเพิ่มเตมิ ส๑๑๒๓๑ หนา้ ที่พลเมือง ๔๐ จ๑๑๒๐๑ ภาษาจีน ๔๐ รวมเวลาเรยี นวชิ าเพิ่มเตมิ ๘๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน -  กิจกรรมแนะแนว ๔๐ -  กจิ กรรมชุมนุมสง่ เสริมการอา่ น ๔๐ -  กิจกรรมลกู เสอื -เนตรนารี ๓๐ -  กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ รวมเวลาเรียนกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ๑๒๐ รวมเวลาเรยี น ๑,๐๔๐ หมายเหตุ  วชิ าหน้าท่ีพลเมอื ง ทจุ ริตศึกษา และท้องถน่ิ บูรณาการรว่ มกับการจัดกิจกรรมของโรงเรยี น และรายวชิ าเรยี น  รายวชิ าเพิ่มเติม เปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม และบรบิ ทของโรงเรยี น

โครงสร้างหลักสูตร ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ ๒๓ รหัสวชิ า รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน น้ำหนกั รายวชิ าพน้ื ฐาน ๕ ๕ ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ๑ ๑ ค๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๑ ๑ ว๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๔๐ ๑ ๑ ส๑๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๔๐ ๕ - ส๑๒๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐ ๑ พ๑๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๑ - ศ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๔๐ - ง๑๒๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐ - - อ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๒๐๐ - - รวมเวลาเรียนวิชาพืน้ ฐาน ๘๔๐ - รายวชิ าเพ่ิมเติม ส๑๒๒๓๒ หน้าทีพ่ ลเมือง ๔๐ จ๑๒๒๐๑ ภาษาจีน ๔๐ รวมเวลาเรียนวิชาเพมิ่ เติม ๘๐ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น -  กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ -  กจิ กรรมชมุ นมุ ส่งเสริมการอ่าน ๔๐ -  กจิ กรรมลูกเสือ-เนตรนารี ๓๐ -  กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ รวมเวลาเรียนกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น ๑๒๐ รวมเวลาเรยี น ๑,๐๔๐ หมายเหตุ  วิชาหนา้ ที่พลเมอื ง ทุจรติ ศึกษา และท้องถิ่น บรู ณาการรว่ มกบั การจดั กิจกรรมของโรงเรยี น และรายวิชาเรยี น  รายวชิ าเพิ่มเตมิ เปล่ยี นแปลงไดต้ ามความเหมาะสม และบริบทของโรงเรยี น

โครงสรา้ งหลกั สตู ร ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๓ ๒๔ รหัสวชิ า รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน น้ำหนกั รายวชิ าพน้ื ฐาน ๕ ๕ ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ๑ ๑ ค๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๑ ๑ ว๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๔๐ ๑ ๑ ส๑๓๑๐๑ สังคมศกึ ษา ๔๐ ๕ - ส๑๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐ ๑ พ๑๓๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๑ - ศ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๔๐ - ง๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ - - อ๑๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๒๐๐ - - รวมเวลาเรยี นวิชาพืน้ ฐาน ๘๔๐ - รายวชิ าเพ่ิมเติม ส๑๓๒๓๓ หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง ๔๐ จ๑๓๒๐๑ ภาษาจีน ๔๐ รวมเวลาเรยี นวิชาเพิ่มเตมิ ๘๐ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น -  กิจกรรมแนะแนว ๔๐ -  กจิ กรรมชุมนมุ ส่งเสรมิ การอ่าน ๔๐ -  กจิ กรรมลูกเสือ-เนตรนารี ๓๐ -  กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ รวมเวลาเรยี นกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน ๑๒๐ รวมเวลาเรียน ๑,๐๔๐ หมายเหตุ  วิชาหนา้ ที่พลเมือง ทุจริตศึกษา และท้องถิน่ บรู ณาการรว่ มกับการจดั กิจกรรมของโรงเรยี น และรายวิชาเรยี น  รายวชิ าเพิ่มเติม เปล่ียนแปลงได้ตามความเหมาะสม และบรบิ ทของโรงเรยี น

โครงสร้างหลกั สตู ร ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ ๒๕ รหัสวชิ า รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น นำ้ หนกั รายวชิ าพืน้ ฐาน ๕ ๕ ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ๒ ๑ ค๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๖๐ ๒ ๑ ว๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๘๐ ๒ ๒ ว๑๔๑๐๒ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ๔๐ ๑ ๒ ส๑๔๑๐๑ สังคมศกึ ษา ๘๐ - ส๑๔๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐ ๑ ๑ พ๑๔๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๘๐ - ศ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐ - - ง๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ - - อ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๘๐ - - รวมเวลาเรียนวิชาพื้นฐาน ๘๔๐ รายวิชาเพิ่มเตมิ ส๑๔๒๓๔ หน้าท่พี ลเมือง ๔๐ จ๑๔๒๐๑ ภาษาจีน ๔๐ รวมเวลาเรียนวชิ าเพม่ิ เตมิ ๘๐ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น -  กิจกรรมแนะแนว ๔๐ -  กิจกรรมชมุ นุมส่งเสริมทกั ษะวชิ าการ ๔๐ -  กจิ กรรมลกู เสอื -เนตรนารี ๓๐ -  กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ รวมเวลาเรยี นกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน ๑๒๐ รวมเวลาเรียน ๑,๐๔๐ หมายเหตุ  วชิ าหนา้ ทพี่ ลเมอื ง ทุจรติ ศกึ ษา และท้องถิน่ บูรณาการร่วมกบั การจัดกิจกรรมของโรงเรยี น และรายวชิ าเรยี น  รายวิชาเพิ่มเตมิ เปลย่ี นแปลงได้ตามความเหมาะสม และบรบิ ทของโรงเรียน

โครงสร้างหลกั สตู ร ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ ๒๖ รหัสวชิ า รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น น้ำหนัก รายวชิ าพืน้ ฐาน ๕ ๕ ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ๒ ๑ ค๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๖๐ ๒ ๑ ว๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๘๐ ๒ ๒ ว๑๕๑๐๒ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ๔๐ ๑ ๒ ส๑๕๑๐๑ สังคมศกึ ษา ๘๐ - ส๑๕๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐ ๑ ๑ พ๑๕๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๘๐ - ศ๑๕๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐ - - ง๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ - - อ๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๘๐ - - รวมเวลาเรียนวิชาพื้นฐาน ๘๔๐ รายวิชาเพิ่มเตมิ ส๑๕๒๓๕ หน้าท่พี ลเมือง ๔๐ จ๑๕๒๐๑ ภาษาจีน ๔๐ รวมเวลาเรียนวชิ าเพม่ิ เตมิ ๘๐ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น -  กิจกรรมแนะแนว ๔๐ -  กิจกรรมชมุ นุมส่งเสริมทกั ษะวชิ าการ ๔๐ -  กจิ กรรมลกู เสอื -เนตรนารี ๓๐ -  กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ รวมเวลาเรยี นกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น ๑๒๐ รวมเวลาเรียน ๑,๐๔๐ หมายเหตุ  วชิ าหนา้ ทพี่ ลเมอื ง ทุจรติ ศกึ ษา และท้องถิน่ บูรณาการร่วมกบั การจัดกิจกรรมของโรงเรยี น และรายวชิ าเรยี น  รายวิชาเพิ่มเตมิ เปลย่ี นแปลงได้ตามความเหมาะสม และบรบิ ทของโรงเรียน

โครงสรา้ งหลักสูตร ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๖ ๒๗ รหัสวิชา รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น น้ำหนัก รายวชิ าพนื้ ฐาน ๕ ๕ ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ๒ ๑ ค๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑๖๐ ๒ ๑ ว๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๘๐ ๒ ๒ ว๑๖๑๐๒ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ๔๐ ๑ ๒ ส๑๖๑๐๑ สังคมศึกษา ๘๐ - ส๑๖๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐ ๑ ๑ พ๑๖๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐ - ศ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๘๐ - - ง๑๖๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐ - - อ๑๖๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๘๐ - - รวมเวลาเรยี นวชิ าพนื้ ฐาน ๘๔๐ รายวิชาเพิ่มเติม ส๑๖๒๓๖ หนา้ ที่พลเมอื ง ๔๐ จ๑๖๒๐๑ ภาษาจีน ๔๐ รวมเวลาเรยี นวิชาเพ่มิ เติม ๘๐ กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น -  กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ -  กจิ กรรมชุมนุมสง่ เสรมิ ทกั ษะวชิ าการ ๔๐ -  กจิ กรรมลูกเสือ-เนตรนารี ๓๐ -  กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ รวมเวลาเรยี นกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๑๒๐ รวมเวลาเรียน ๑,๐๔๐ หมายเหตุ  วชิ าหน้าที่พลเมอื ง ทจุ รติ ศกึ ษา และท้องถ่ิน บูรณาการร่วมกบั การจัดกิจกรรมของโรงเรยี น และรายวชิ าเรยี น  รายวชิ าเพิ่มเติม เปลย่ี นแปลงได้ตามความเหมาะสม และบรบิ ทของโรงเรยี น

๒๘ รายวชิ าพื้นฐานและรายวชิ าเพม่ิ เตมิ ระดบั ประถมศกึ ษา รายวชิ าพน้ื ฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๒๐๐ ชว่ั โมง ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๒๐๐ ชว่ั โมง ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวชิ าพ้ืนฐาน จำนวน ๒๐๐ ช่ัวโมง ค๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง ค๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง ค๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง ค๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง ค๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ จำนวน ๑๖๐ ช่ัวโมง ค๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ าพ้นื ฐาน จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ว๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ว๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง ว๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง ว๑๔๑๐๒ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ว๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๘๐ ชั่วโมง ว๑๕๑๐๒ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ว๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ว๑๖๑๐๒ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)

๒๙ กล่มุ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวชิ าพื้นฐาน จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ส๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษา จำนวน ๔๐ ช่วั โมง ส๑๒๑๐๑ สังคมศกึ ษา จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ส๑๓๑๐๑ สังคมศกึ ษา จำนวน ๘๐ ช่วั โมง ส๑๔๑๐๑ สังคมศกึ ษา จำนวน ๘๐ ช่ัวโมง ส๑๕๑๐๑ สังคมศึกษา จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง ส๑๖๑๐๑ สงั คมศึกษา รายวิชาพ้ืนฐาน จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ส๑๑๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ จำนวน ๔๐ ช่วั โมง ส๑๒๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ส๑๓๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ส๑๔๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ส๑๕๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ส๑๖๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ รายวิชาเพม่ิ เติม จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ส๑๑๒๓๑ หนา้ ที่พลเมือง จำนวน ๔๐ ช่วั โมง ส๑๒๒๓๒ หน้าที่พลเมอื ง จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ส๑๓๒๓๓ หนา้ ท่ีพลเมือง จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง ส๑๔๒๓๔ หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ส๑๕๒๓๕ หน้าที่พลเมอื ง จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ส๑๖๒๓๖ หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา รายวิชาพนื้ ฐาน พ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา จำนวน ๔๐ ชั่วโมง พ๑๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา จำนวน ๔๐ ชั่วโมง พ๑๓๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง พ๑๔๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา จำนวน ๘๐ ช่วั โมง พ๑๕๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา จำนวน ๘๐ ชั่วโมง พ๑๖๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง

๓๐ รายวชิ าพื้นฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ ศ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง ศ๑๒๑๐๑ ศิลปะ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ศ๑๓๑๐๑ ศิลปะ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ศ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง ศ๑๕๑๐๑ ศิลปะ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง ศ๑๖๑๐๑ ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ รายวิชาพื้นฐาน จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ง๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ง๑๒๑๐๑ การงานอาชพี จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ง๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง ง๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ง๑๕๑๐๑ การงานอาชพี จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ง๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ รายวิชาพื้นฐาน กล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาตา่ งประเทศ ชั่วโมง อ๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง อ๑๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ จำนวน ๒๐๐ ชวั่ โมง อ๑๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง อ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ จำนวน ๘๐ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง อ๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง อ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ รายวิชาเพ่ิมเตมิ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง จ๑๑๒๐๑ ภาษาจีน จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง จ๑๒๒๐๑ ภาษาจนี จำนวน ๔๐ ชั่วโมง จ๑๓๒๐๑ ภาษาจนี จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง จ๑๔๒๐๑ ภาษาจีน จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง จ๑๕๒๐๑ ภาษาจนี จำนวน ๔๐ ชั่วโมง จ๑๖๒๐๑ ภาษาจนี

๓๑ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ เปน็ กระบวนการเก็บรวบรวม ตรวจสอบ ตีความผลการเรียนรู้ และพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของผู้เรียนตาม มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชวี้ ดั ของหลกั สตู ร นำผลไปปรับปรงุ พัฒนาการจัดการเรียนรแู้ ละใชเ้ ป็นข้อมลู สำหรับ การตัดสินผลการเรียน สถานศึกษาต้องมีกระบวนการจัดการท่ีเป็นระบบ เพ่ือให้การดำเนินการ วัดและ ประเมินผลการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ผลการประเมินตรงตามสภาพความรู้ ความสามารถท่แี ท้จริงของผูเ้ รียน ถูกต้องตามหลักการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ รวมท้งั สามารถรองรับ การประเมินภายในและการประเมินภายนอก ตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาได้ สถานศึกษาจึงควร กำหนดหลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เพื่อเป็นแนวทางในการตัดสินใจเก่ียวกับการวัดและประเมินผล การเรยี นรู้ของสถานศกึ ษา ดังนี้ ๑. สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบการประเมินผลการเรียนรขู้ องผู้เรียน โดยเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายท่ี เกีย่ วข้องมสี ่วนรว่ ม ๒. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นร้ตู ้องสอดคลอ้ งและครอบคลุมมาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชี้วัดตาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีกำหนดในหลักสูตรและจัดให้มีการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ตลอดจนกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ๓. การประเมินผู้เรยี นพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรม การเรียนรู้ การรว่ มกิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอน ตามความเหมาะสมของ แต่ละระดับและรปู แบบการศกึ ษา ๔. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการจัดการเรียนการสอน ต้อง ดำเนินการด้วยเทคนคิ วธิ ีการทหี่ ลากหลาย เพื่อให้สามารถวัดและประเมินผลผเู้ รยี นได้อย่างรอบดา้ นท้ังด้าน ความรู้ ความคิด กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติ เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด ธรรมชาติวิชา และ ระดบั ชั้นของผ้เู รยี น โดยตัง้ อย่บู นพืน้ ฐานความเที่ยงตรง ยุตธิ รรม และเชอ่ื ถือได้ ๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ มีจุดมงุ่ หมายเพอื่ ปรบั ปรุงพัฒนาผู้เรียน พฒั นาการจดั การเรียนรูแ้ ละ ตัดสนิ ผลการเรียน ๖. เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รียนและผู้มีส่วนเก่ยี วข้องตรวจสอบผลการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๗. ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนระหวา่ งสถานศกึ ษาและรูปแบบการศกึ ษาตา่ ง ๆ ๘. ให้สถานศึกษาจัดทำเอกสารหลักฐานการศึกษา เพื่อเป็นหลักฐานการประเมินผลการเรียนรู้ รายงานผลการเรียน แสดงวุฒิการศกึ ษาและรับรองผลการเรยี นของผ้เู รยี น

๓๒ องคป์ ระกอบของการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดจดุ หมาย สมรรถนะสำคญั ของ ผู้เรียน และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตท่ีดีและมีขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับโลก กำหนดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตาม มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดท่ีกำหนดในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ มีความสามารถด้านการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และการวัดและ ประเมินผลการเรียนรูม้ ีองคป์ ระกอบต่าง ๆ ดังแผนภาพที่ ๒.๑ มาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด การอา่ น การเรียนรู้ คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน ใน ๘ กล่มุ สาระ ๘ กลมุ่ สาระ คุณภาพผู้เรียน คณุ ลกั ษณะ กิจกรรม อันพงึ ประสงค์ พัฒนาผเู้ รยี น แผนภาพที่ ๒.๑ แสดงองค์ประกอบการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๑. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ตามรายกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ผู้สอนทำการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ผู้เรียนเป็นรายวิชาตามตัวชี้วัดท่ีกำหนดในหน่วย การเรียนรู้ด้วยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย ให้ได้ผลการประเมินตามความสามารถที่แทจ้ ริงของผเู้ รียน โดยทำการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ไปพร้อมกับการจัดการเรียนการสอน ได้แก่ การสังเกตพัฒนาการและความ ประพฤติของผู้เรียน การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรมและการทดสอบ ซ่ึงผู้สอนต้องนำ นวัตกรรมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น การประเมินสภาพจริง การประเมิน การปฏิบัติงาน การประเมินจากโครงงานและการประเมินจากแฟ้มสะสมงาน ไปใช้ในการประเมินผล การเรียนรู้ควบคู่ไปกับการใชแ้ บบทดสอบแบบต่าง ๆ และต้องให้ความสำคัญกับการประเมินระหว่างปี/ภาค มากกว่าการประเมนิ ปลายปี/ภาค ดังแผนภาพท่ี ๒.๒

๓๓ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วดั และประเมินการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรียนรู้ การงานอาชพี ฯ วทิ ยาศาสตร์ ด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย กล่มุ สาระการเรยี นรู้ บูรณาการในการเรียนการสอน สาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา สงั คมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ ภาษาต่างประเทศ แผนภาพที่ ๒.๒ แสดงองค์ประกอบการวดั และประเมินผลการเรียนรูต้ ามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ๒. การประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน เป็นการประเมินศักยภาพของผู้เรียนในการอ่าน การฟัง การดูและการรับรู้ จากหนังสือ เอกสารและสื่อต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องแล้วนำมาคิดวิเคราะห์เน้ือหา สาระทน่ี ำไปสู่การแสดงความคิดเหน็ การสังเคราะห์สร้างสรรค์ในเรอื่ งตา่ ง ๆ และถ่ายทอดความคิดน้ันด้วย การเขียนซึ่งสะท้อนถึงสติปัญญา ความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาและ สร้างสรรค์จินตนาการอย่างเหมาะสมและมีคุณค่าแก่ตนเอง สังคมและประเทศชาติ พร้อมด้วยประสบการณ์ และทักษะในการเขยี นทีม่ ีสำนวนภาษาถกู ตอ้ ง มเี หตผุ ลและลำดับขั้นตอนในการนำเสนอ สามารถสร้างความ เข้าใจแก่ผู้อ่านไดอ้ ย่างชัดเจนตามระดับความสามารถในแต่ละระดบั ชั้น การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สรปุ ผลเป็นรายปี/รายภาค เพื่อวนิ ิจฉยั และใชเ้ ป็นขอ้ มูลเพ่ือประเมินการเลื่อน ชั้นเรียนและการจบ การศกึ ษาระดับต่าง ๆ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขียนเป็นกระบวนการทีต่ ่อเนอ่ื ง ดงั แผนภาพที่ ๒.๓ อ่าน หนังสือ เอกสาร วทิ ยุ โทรทัศน์ สื่อต่าง ๆ ฯลฯ (รับสาร) แลว้ สรุปเปน็ ความรู้ความเขา้ ใจของตนเอง คดิ วเิ คราะห์ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ หาเหตุผล แกป้ ญั หา และสร้างสรรค์ เขยี น ถ่ายทอดความรู้ ความคิด สอ่ื สารใหผ้ อู้ ืน่ เขา้ (สอ่ื สาร)

๓๔ ๓. การประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ การประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และตามที่สถานศึกษากำหนดเพิม่ เตมิ เป็นการประเมินรายคุณลกั ษณะแลว้ รวบรวมผลการประเมิน จากผู้ประเมนิ ทกุ ฝ่ายนำมาพจิ ารณาสรปุ ผลเป็นรายปี/รายภาค เพื่อใชเ้ ป็นข้อมูลประเมิน การเลื่อนชนั้ เรยี น และการจบการศกึ ษาระดบั ตา่ ง ๆ ดงั แผนภาพท่ี ๒.๔ มีจิตสาธารณะ รกั ชาติ ศาสน์ รกั ความ กษตั รยิ ์ ซ่อื สตั ย์ เป็นไทย คณุ ลักษณะ สุจรติ มงุ่ มั่นใน อันพึงประสงค์ รมีวนิาัยิ า ์ การทำงาน ริ ์ เปน็ อยู่ ใฝ่เรียนรู้ พอเพยี ง แผนภาพที่ ๒.๔ แสดงองคป์ ระกอบการวัดและประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๔. การประเมินกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น เปน็ การประเมนิ การปฏิบตั ิกิจกรรมตามจดุ ประสงคแ์ ละเวลา ในการเข้าร่วมกิจกรรมตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในแต่ละกจิ กรรมและใช้เป็นขอ้ มูลประเมินการเล่ือน ช้ันเรียน และการจบการศึกษาระดับตา่ ง ๆ ดังแผนภาพที่ ๒.๕ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรยี น - ลูกเสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ผบู้ ำเพ็ญประโยชน์ กจิ กรรมเพื่อสงั คมและ และนักศกึ ษาวิชาทหาร สาธารณประโยชน์ - ชมุ นุม/ชมรม แผนภาพท่ี ๒.๕ แสดงการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน

๓๕ เกณฑก์ ารวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ๑. ระดับประถมศึกษา ๑.๑ การตดั สนิ ผลการเรยี น หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดหลักเกณฑ์การวัดและ ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เพื่อตัดสนิ ผลการเรียนของผู้เรียน ดงั นี้ ๑) ผู้เรียนต้องมีเวลาเรยี นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด ๒) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชีว้ ดั และผา่ นตามเกณฑท์ ี่สถานศกึ ษากำหนด ๓) ผู้เรยี นตอ้ งได้รับการตดั สินผลการเรียนทกุ รายวิชา ๔) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนดใน การอา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น เพื่อให้การจัดการเรียนรู้บังเกิดผล ผู้เรียนต้องได้รับการพัฒนาอย่างเพียงพอในความรู้ ทักษะ คณุ ลกั ษณะที่กำหนดในตัวชี้วัด โดยมีเวลาเรยี นที่เพียงพอต่อการพัฒนาด้วย โดยปกติในระดบั ประถมศึกษา ผสู้ อนจะมีเวลาอยู่กับผู้เรยี นตลอดปีการศึกษา ประมาณ ๒๐๐ วนั สถานศึกษาจงึ ควรบริหารจัดการเวลาที่ ไดร้ ับน้ใี หเ้ กิดประโยชนส์ ูงสดุ ต่อการพฒั นาผ้เู รียนอยา่ งรอบด้าน และตระหนักวา่ เวลาเรียนเป็นทรัพยากรท่ีใช้ หมดไปในแตล่ ะวัน มากกวา่ เป็นเพียงองค์ประกอบหน่งึ ของการบริหารหลกั สูตร การกำหนดใหผ้ เู้ รยี นมีเวลา ผู้เรียน และเติมเต็มศักยภาพของผู้เรียน และเพื่อให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ ผู้สอนต้อง ตรวจสอบความรู้ ความสามารถที่แสดงพัฒนาการของผู้เรียนอย่างสมำ่ เสมอและต่อเนื่อง อกี ทั้งต้องสรา้ งให้ ผู้เรยี นรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนด้วยการตรวจสอบความก้าวหน้าในการเรียนของตนเองอย่างสม่ำเสมอ เชน่ กัน ตัวชีว้ ัดซ่ึงมคี วามสำคญั ในการนำมาใชอ้ อกแบบหนว่ ยการเรยี นรนู้ ้ัน ยงั เป็นแนวทางสำหรับผสู้ อนและ ผู้เรยี นใช้ในการตรวจสอบยอ้ นกลับว่าผู้เรียนเกิดการเรยี นรู้หรอื ยัง การประเมินในช้ันเรียนซึ่งต้องอาศัยท้ัง การประเมินเพ่ือการพัฒนาและการประเมินเพื่อสรุปการเรียนรู้จะเป็นเคร่ืองมือสำคัญในการตรวจสอบ ความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของผู้เรียน สถานศึกษาโดยผู้สอนกำหนดเกณฑ์ท่ียอมรับได้ในการผ่านตัวชี้วัด ทุกตวั ให้เหมาะสมกบั บริบทของสถานศึกษา กล่าวคือ ให้ทา้ ทายการเรยี นรไู้ ม่ยากหรอื ง่ายเกินไป เพ่อื ใช้เป็น เกณฑ์ในการประเมินว่าส่ิงท่ีผู้เรียนรู้ เขา้ ใจ ทำได้น้ัน เปน็ ทีน่ ่าพอใจ บรรลุตามเกณฑ์ทีย่ อมรบั ได้ หากยงั ไม่ บรรลุ จะต้องหาวิธกี ารช่วยเหลือ เพื่อใหผ้ ู้เรียนได้รับการพัฒนาสูงสุด การกำหนดเกณฑ์น้ีผสู้ อนสามารถให้ ผู้เรียนร่วมกำหนดดว้ ยได้ เพือ่ ให้เกิดความรับผดิ ชอบร่วมกันและสร้างแรงจูงใจในการเรียน การประเมินเพื่อ การพัฒนา ส่วนมากเป็นการประเมนิ อย่างไม่เป็นทางการ เช่น สังเกต หรือซักถาม หรอื การทดสอบย่อยใน การประเมนิ เพ่อื การพฒั นาน้ี ควรให้ผเู้ รียนได้รับการพัฒนาจนผา่ นเกณฑ์ทย่ี อมรบั ได้ ผเู้ รยี นแต่ละคนอาจใช้ เวลาเรียนและวิธีการเรียนท่ีแตกต่างกัน ฉะน้ัน ผู้สอนควรนำข้อมูลที่ได้มาใช้ปรับวิธีการสอนเพื่อให้ผู้เรียน ได้รับการพฒั นาเตม็ ศักยภาพ อันจะนำไปสู่การบรรลมุ าตรฐานการเรยี นรู้ในท้ายท่สี ุดอย่างมคี ุณควรนำข้อมูล ที่ได้มาใช้ปรับวิธีการสอนเพ่ือให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพ อันจะนำไปสู่การบรรลุมาตรฐาน การเรียนรู้ในท้ายท่ีสุดอย่างมีคุณภาพ การประเมนิ เพ่ือการพัฒนา จึงไม่จำเป็นตอ้ งตัดสินให้คะแนนเสมอไป การตัดสินให้คะแนนหรือให้เป็นระดับคุณภาพ ควรดำเนินการโดยใชก้ ารประเมินสรุปผลรวมเมื่อจบหน่วย การเรยี นรู้และจบรายวิชา การตดั สินผลการเรยี น ตดั สินเปน็ รายวิชา โดยใชผ้ ลการประเมินระหว่างปีและปลายปตี ามสดั ส่วน ท่สี ถานศกึ ษากำหนด ทุกรายวิชาต้องได้รับการตัดสนิ ผลการเรียนตามแนวทางการใหร้ ะดบั ผลการเรยี นตามท่ี สถานศกึ ษากำหนด และผูเ้ รยี นต้องผ่านทุกรายวิชาพืน้ ฐาน

๓๖ ๑.๒ การให้ระดบั ผลการเรยี น สถานศกึ ษาตอ้ งกำหนดเกณฑก์ ารตดั สนิ ผลการเรยี น ซ่ึงสามารถอธิบายผลการตัดสินวา่ ผเู้ รยี น ตอ้ งมคี วามรู้ ทกั ษะและคุณลกั ษณะโดยรวมอยู่ในระดบั ใด จึงจะยอมรบั วา่ ผ่านการประเมิน การตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชา สถานศึกษาสามารถให้ระดับผลการเรียน ๘ ระดบั หรือระดบั คุณภาพการปฏิบัติของผู้เรยี นเป็นระบบตวั เลข ระบบตัวอักษร ระบบรอ้ ยละและระบบท่ีใช้ คำสำคัญท่ีสะทอ้ นมาตรฐาน การตัดสินผลการเรียนในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานใช้ระบบผ่านและไม่ผ่าน โดยกำหนด เกณฑก์ ารตัดสนิ ผ่านแตล่ ะรายวชิ าทีร่ ้อยละ ๕๐ จากนน้ั จึงใหร้ ะดับผลการเรยี นทผ่ี ่านเป็นระบบต่าง ๆ ตามที่ สถานศึกษากำหนด ได้แก่ ระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้อยละ ระบบที่ใช้คำสำคัญสะท้อนมาตรฐาน ตารางขา้ งใตแ้ สดงการให้ระดบั ผลการเรยี นดว้ ยระบบตา่ ง ๆ และการเทยี บกนั ได้ระหวา่ งระบบ กรณที สี่ ถานศกึ ษาใหร้ ะดับผลการเรยี นด้วยระบบตา่ ง ๆ สามารถเทียบกันได้ดงั นี้ คะแนนรอ้ ยละ ระบบตวั เลข ระบบตัวอกั ษร ระบบท่ีใช้คำสำคญั สะท้อนมาตรฐาน ๘๐-๑๐๐ ๔ A ๕ ระดบั ๔ ระดับ ๑ ระดับ ๗๕-๗๙ ๓.๕ B+ ๗๐-๗๔ ๓ B ดเี ย่ียม ดีเย่ียม ๖๕-๖๙ ๒.๕ C+ ๖๐-๖๔ ๒ C ดี ดี ๕๕-๕๙ ๑.๕ D+ พอใช้ ผา่ น ๕๐-๕๔ ๑ D ๐-๔๙ ๐ F ผา่ น ผ่าน ไมผ่ ่าน ไม่ผ่าน ไมผ่ ่าน การประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์และเขยี น และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคน์ ั้นใหร้ ะดบั ผล การประเมินเป็นผ่านและไมผ่ ่าน กรณีทผ่ี ่านใหร้ ะดบั ผลการเรยี นเปน็ ดเี ยี่ยม ดี และผา่ น

๓๗ สถานศึกษาสามารถกำหนดความหมายของผลการประเมินคณุ ภาพดีเย่ยี ม ดแี ละผ่าน ได้ดงั นี้ ๑. การประเมนิ อา่ น คิดวิเคราะห์และเขยี น ดีเยี่ยม หมายถึง สามารถจบั ใจความสำคัญไดค้ รบถ้วน เขียน วิพากษว์ จิ ารณ์ เขยี นสร้างสรรค์ แสดงความคิดเหน็ ประกอบอยา่ งมเี หตผุ ลไดถ้ ูกต้องและสมบรู ณ์ ใชภ้ าษาสภุ าพและเรยี บเรียงไดส้ ละสลวย ดี หมายถงึ สามารถจับใจความสำคัญได้ เขียน วิพากษว์ ิจารณ์ และเขียนสร้างสรรค์ได้โดยใช้ ภาษาสุภาพ ผา่ น หมายถงึ สามารถจบั ใจความสำคัญและเขยี นวิพากษว์ จิ ารณ์ ไดบ้ า้ ง ๒. การประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ดเี ยยี่ ม หมายถึง ผูเ้ รยี นมคี ุณลักษณะในการปฏิบตั จิ นเป็นนสิ ัย และนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั เพ่อื ประโยชนส์ ุข ของตนเองและสังคม ดี หมายถึง ผเู้ รยี นมคี ุณลักษณะในการปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์ เพ่ือใหเ้ ปน็ ทย่ี อมรับของสงั คม ผ่าน หมายถงึ ผเู้ รยี นรบั รูแ้ ละปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑแ์ ละเงือ่ นไข ท่ีสถานศกึ ษากำหนด การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน จะต้องพิจารณาท้ังเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรม และผลงานของผเู้ รียนตามเกณฑท์ ี่สถานศกึ ษากำหนดและให้ผลการประเมนิ เป็นผ่านและไมผ่ ่าน กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน มี ๓ ลกั ษณะ คอื ๑) กิจกรรมแนะแนว ๒) กิจกรรมนักเรียน ซ่งึ ประกอบด้วย (๑) กจิ กรรมลกู เสอื เนตรนารี ยุวกาชาด และผูบ้ ำเพญ็ ประโยชน์ โดยผเู้ รยี นเลอื กอยา่ งใดอยา่ ง หนง่ึ ๑ กจิ กรรม (๒) กจิ กรรมชมุ นมุ หรอื ชมรมอกี ๑ กิจกรรม ๓) กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ใหใ้ ชต้ ัวอกั ษรแสดงผลการประเมิน ดงั น้ี “ผ” หมายถงึ ผเู้ รยี นมเี วลาเขา้ รว่ มกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ปฏบิ ตั ิกิจกรรมและมผี ลงาน ตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนด “มผ” หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ปฏิบตั ิกจิ กรรมและมีผลงาน ไม่เปน็ ไปตามเกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษากำหนด ในกรณที ี่ผู้เรยี นไดผ้ ลของกจิ กรรมเปน็ “มผ” สถานศึกษาต้องจัดซ่อมเสริมให้ผูเ้ รยี นทำกิจกรรมใน ส่วนท่ีผู้เรียนไม่ได้เข้าร่วมหรือไม่ได้ทำจนครบถ้วน แล้วจึงเปลี่ยนผลจาก “มผ” เป็น “ผ” ได้ ท้ังน้ี ต้อง ดำเนินการใหเ้ สร็จสิ้นภายในปีการศึกษานัน้ ยกเว้นมีเหตสุ ุดวิสยั ให้อยูใ่ นดุลยพนิ จิ ของสถานศกึ ษา

๓๘ ๑.๓ การเลือ่ นช้ัน เม่ือส้นิ ปกี ารศึกษา ผู้เรยี นจะได้รบั การเลอ่ื นช้ัน เมอื่ มคี ณุ สมบัติตามเกณฑด์ ังตอ่ ไปน้ี ๑) ผเู้ รยี นต้องมเี วลาเรียนตลอดปกี ารศึกษาไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทง้ั หมด ๒) ผเู้ รยี นต้องได้รับการประเมนิ ทกุ ตัวชว้ี ัดและผา่ นตามเกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษากำหนด ๓) ผเู้ รยี นต้องได้รบั การตดั สนิ ผลการเรยี นทกุ รายวิชา ๔. ผ้เู รียนต้องไดร้ บั การประเมินและมผี ลการประเมนิ ผา่ นตามเกณฑท์ ส่ี ถานศึกษากำหนด ในการอ่าน คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น การพิจารณาเล่ือนช้ัน ถา้ ผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงบางตวั ช้ีวัด ซึ่งสถานศึกษาพิจารณา เห็นวา่ สามารถพฒั นาและสอนซ่อมเสริมได้ ก็ใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ จิ ของสถานศกึ ษาทจ่ี ะผอ่ นผันให้เล่ือนชัน้ ได้ ในกรณีท่ีผู้เรียนมีสติปัญญาและความสามารถดีเลิศ สามารถเรียนรู้ได้เร็วเป็นพิเศษ สถานศึกษาอาจให้โอกาสผู้เรียนเล่ือนชั้นระหว่างปีการศึกษา โดยสถานศึกษาแต่งต้ังคณะกรรมการ ประกอบด้วย ฝ่ายวิชาการของสถานศึกษาและผู้แทนของเขตพ้ืนท่ีการศึกษาหรือต้นสงั กัด ประเมนิ ผู้เรียน และตรวจสอบคุณสมบตั ิให้ครบถ้วนตามเง่อื นไขทัง้ ๓ ประการ ต่อไปน้ี ๑. มีผลการเรยี นในปกี ารศึกษาท่ีผ่านมาและมีผลการเรยี นระหว่างปีที่กำลงั ศึกษาอยู่ใน เกณฑด์ ีเยีย่ ม ๒. มีวุฒิภาวะเหมาะสมที่จะเรียนในชั้นที่สูงข้ึน ๓. ผ่านการประเมินผลความรู้ความสามารถของทุกรายวิชาของชั้นปีท่ีเรียนในปัจจุบัน และความรู้ความสามารถทกุ รายวชิ าในภาคเรยี นแรกของชัน้ ปีทจี่ ะเล่อื นขนึ้ การอนุมัติให้เล่ือนช้ันกลางปีการศึกษาไปเรียนช้ันสูงได้ ๑ ระดับช้ันน้ี ต้องได้รับ การยินยอมจากผเู้ รยี น และผู้ปกครองและตอ้ งดำเนินการให้เสร็จส้ินก่อนเปิดภาคเรียนที่ ๒ ของปกี ารศกึ ษา สำหรับในกรณีที่พบว่ามีผู้เรียนกลุ่มพิเศษประเภทต่าง ๆ ท่ีมีปัญหาในการเรียนรู้ให้ สถานศกึ ษาดำเนินงานร่วมกับสำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา/ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษจงั หวัด/ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศกึ ษา/หนว่ ยงานตน้ สังกัด โรงเรียนเฉพาะความพิการ หาแนวทางการแก้ไขและพฒั นา ๑.๔ การเรยี นซำ้ ช้นั ผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชาจำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับช้ันท่ี สูงข้ึน สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้ำช้ันได้ ทั้งนี้ให้คำนึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ ความสามารถของผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ ผู้เรียนท่ีไม่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์การอนุมัติเล่ือนช้ัน สถานศึกษาควรให้เรียนซ้ำชั้น ทั้งนี้ สถานศกึ ษาอาจใช้ดุลยพนิ จิ ให้เลอื่ นช้ันได้ หากพจิ ารณาวา่ ผเู้ รียนมคี ณุ สมบตั ขิ ้อใดขอ้ หนงึ่ ดงั ต่อไปน้ี ๑) ผู้เรียนมีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ อันเน่ืองจากสาเหตุจำเป็น หรือเหตุสุดวิสัย แต่มี คณุ สมบตั ิตามเกณฑก์ ารเลอ่ื นช้นั ในขอ้ อืน่ ๆ ครบถว้ น ๒) ผ้เู รียนมีผลการประเมนิ ผ่านมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชว้ี ัดไม่ถึงเกณฑต์ ามท่ีสถานศึกษา กำหนดในแต่ละรายวชิ า และเห็นว่าสามารถสอนซ่อมเสริมได้ในปีการศึกษาน้ัน และมีคุณสมบตั ิตามเกณฑ์ การเล่ือนชั้นในข้ออ่ืน ๆ ครบถ้วน ๓) ผเู้ รียนมีผลการประเมินรายวิชาในกลุ่มสาระภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมอย่รู ะดับผ่าน ก่อนท่ีจะให้ผู้เรียนซ้ำชั้น สถานศึกษาควรแจ้งให้ผู้ปกครองและผู้เรียนทราบเหตุผลของ การเรียนซำ้ ชน้ั

๓๙ ๑.๕ การสอนซ่อมเสริม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดให้สถานศึกษาจัดสอน ซอ่ มเสรมิ เพ่ือพฒั นาการเรียนรขู้ องผูเ้ รียนเต็มตามศกั ยภาพ การสอนซ่อมเสริม เป็นการสอนเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง กรณีที่ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ กระบวนการ หรือเจตคติ / คุณลักษณะไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด สถานศึกษาต้องจัดสอน ซอ่ มเสรมิ เปน็ กรณีพเิ ศษ นอกเหนอื ไปจากการสอนตามปกติ เพอื่ พัฒนาใหผ้ ้เู รียนสามารถบรรลุตามมาตรฐาน การเรียนรู้ / ตัวชีว้ ัดท่ีกำหนดไว้ เป็นการให้โอกาสแก่ผู้เรียนไดเ้ รียนรู้และพฒั นา โดยจดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่ี หลากหลายและตอบสนองความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล ๑.๖ การจบระดบั ประถมศึกษา ๑) ผู้เรียนเรยี นรายวชิ าพ้นื ฐาน และรายวิชา / กิจกรรมเพ่มิ เติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐานตาม โครงสรา้ งเวลาเรียนท่ีหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐานกำหนด และรายวชิ า / กิจกรรมเพ่ิมเติมตามท่ี สถานศึกษากำหนด ๒) ผเู้ รยี นตอ้ งมผี ลการประเมินรายวิชาพนื้ ฐานผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามท่ีสถานศึกษากำหนด ๓) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี สถานศกึ ษากำหนด ๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี สถานศึกษากำหนด ๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศึกษากำหนด การประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น จะตอ้ งพิจารณาทง้ั เวลาการเข้ารว่ มกิจกรรม การปฏบิ ัติกิจกรรม และผลงานของผเู้ รยี นตามเกณฑ์ที่สถานศกึ ษากำหนดและให้ผลการเขา้ รว่ มกิจกรรมเปน็ ผ่าน และไมผ่ ่าน กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น มี ๓ ลกั ษณะ คือ ๑) กจิ กรรมแนะแนว ๒) กจิ กรรมนักเรยี น ซ่ึงประกอบดว้ ย (๑) กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด และผู้บำเพญ็ ประโยชน์ และนกั ศกึ ษาวิชาทหาร โดย ผ้เู รียนเลือกอย่างใดอยา่ งหน่ึง (๒) กจิ กรรมชุมนมุ หรือชมรม ท้ังน้ี ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจะต้องเข้าร่วมกิจกรรมทั้งข้อ (๑) และ (๒) สำหรับ ผู้เรียนระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลายสามารถเลือกเขา้ ร่วมกจิ กรรมใดกิจกรรมหนึ่งในข้อ (๑) หรอื (๒) ๓) กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์

แผนการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ของสถานศกึ ษา หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดบ้านโป่ง “สามัคคีคุณปู ถัมภ”์ มาตรฐานและตัวช้ีวัด การอ่าน คิดวิเคราะห์ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุม่ สาระ และเขยี น ภารกิจการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้โรงเรียนเลิงถอ่ นโนนสมบูรณ์ กำหนดวธิ ีการ เครือ่ งมอื ระยะเวลา และเกณฑ์การประเมิน การประเมนิ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การประเมนิ การประเมนิ การประเมิน ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การอ่าน คิดวเิ คราะห์และเขียน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน - ประเมินระหวา่ ง ผา่ น ประเมนิ ไม่ผา่ น ผ่าน ประเมนิ ไม่ผ่าน ไมผ่ า่ น ผ่าน ประเมนิ ระห ่วางเรียน ควรกำหนด ัสด ่สวนระหว่าง เรียนมากกว่าปลายปี/ ปลายภาคเรียน การจดั การเรียน ดเี ย่ียม ซอ่ มเสริม ดีเยยี่ ม ซอ่ มเสริม ดี ดี การสอน ผ่าน ผ่าน ปลายป/ี ปลายภาคเรียน ประถมฯ - ประเมินกลาง- - ระดับ ภาคเรยี น มัธยมฯ ผลการเรียน ประเมนิ - ระดบั ผลการเรียน - ระดบั ๘ ระดับ คุณภาพ - เงือ่ นไข ผลการเรียน (ส มส) บนั ทึกผลการประเมินในเอกสารหลกั ฐานการศึกษาท่ีสถานศึกษากำหนด เลื่อนชนั้ ผา่ น อนมุ ัติ ประถมศกึ ษา ไมผ่ ่าน มัธยมศึกษา ซอ่ มเสรมิ ซอ่ มเสรมิ ประเมนิ แก้ 0, ร, มส, มผ ผา่ น ไมผ่ ่าน ผา่ น ไม่ผา่ น ซ้ำชัน้ เรยี นซ้ำรายวชิ า/เรยี นซำ้ ชั้น แผนภาพท่ี ๓.๑ แสดงแผนการวัดและประเมินผลการเรียนร้ขู องสถานศกึ ษา

๔๑ วัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ของสถานศกึ ษา เมื่อสถานศึกษาจัดทำหลักสูตรท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐานและ เหมาะสมกบั สภาพบริบทของตนเองแล้ว ภารกิจตอ่ ไปคือวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนร้ใู ห้ สอดคล้องกับหลักสตู ร เพ่อื ใชเ้ ปน็ แนวทางในการดำเนนิ การวดั และประเมินผลในระดับชั้นเรยี นสำหรับ ผู้สอน โดยในการประเมินความรู้ และทักษะต่าง ๆ น้ันควรยึดบูรณาการไปพร้อม ๆ กับการประเมิน คุณลักษณะอนื่ ๆ มีรายละเอยี ดทส่ี ถานศกึ ษาต้องประเมิน ดังน้ี ๑. การประเมนิ ผลการเรียนร้ตู ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๒. การประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี น ๓. การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔. การประเมินกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น นอกจากน้ี ส่ิงที่สถานศึกษาต้องตรวจสอบเพิ่มเติมเพื่อให้ม่ันใจว่าการจัดการเรียนรู้และ การประเมินผลการเรียนรู้ท่ีครูผู้สอนดำเนินการน้ัน นำสู่การพัฒนาสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ๕ ดา้ น ไดแ้ ก่ความสามารถในการส่อื สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิตและความสามารถในการใช้เทคโนโลยี โดยการประเมินสมรรถนะสำคัญท้ัง ๕ ด้านน้ันควรเป็นการประเมินในลักษณะบูรณาการไปพร้อม ๆ กับ การประเมนิ คุณลกั ษณะอ่นื ๆ การประเมนิ ผลการเรยี นรูต้ ามกล่มุ สาระการเรียนรู้ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ทง้ั ๘ กลุม่ สาระ เปน็ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ตามตัวชี้วัดในหลักสูตร ซึ่งจะนำไปสู่การสรุปผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามมาตรฐานการเรยี นรู้ต่อไป ภารกจิ ของสถานศึกษาในการดำเนนิ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ตามกลุม่ สาระการเรียนรู้มีรายละเอียดดงั น้ี ๑. กำหนดสัดส่วนคะแนนระหวา่ งเรยี นกับคะแนนปลายป/ี ปลายภาค โดยให้ความสำคญั ของ คะแนนระหว่างเรยี นมากกว่าคะแนนปลายปี / ปลายภาค เช่น ๖๐:๔๐ , ๗๐:๓๐ , ๘๐:๒๐ เป็นตน้ ๒. กำหนดเกณฑ์การตัดสินผลการเรียน โดยพิจารณาความเหมาะสมตามระดับช้ันเรียน เชน่ ระดับประถมศกึ ษาอาจกำหนดเป็นระดบั ผลการเรียน หรอื ระดับคุณภาพการปฏิบตั ิของผู้เรยี นเป็น ระบบตวั เลข ระบบตัวอกั ษร ระบบร้อยละและระบบคุณภาพสะท้อนมาตรฐาน สำหรบั ระดับมธั ยมศกึ ษา กำหนดเป็นระดบั ผลการเรียน ๘ ระดับ และกำหนดเงอื่ นไขต่าง ๆ ของผลการเรียน เชน่ การประเมินท่ี ยังไม่สมบูรณ์ (ได้ ร) การไม่มีสิทธิเข้ารับการสอบ (ได้ มส) เป็นต้น นอกจากน้ีสถานศึกษาอาจกำหนด คุณลักษณะของความสำเร็จตามมาตรฐานการศกึ ษาแตล่ ะชนั้ ปเี ป็นระดบั คุณภาพเพิ่มอกี กไ็ ด้ ๓. กำหนดแนวปฏิบัติในการสอนซ่อมเสริม การสอบแก้ตัว กรณีผู้เรียนมีระดับผลการเรียน “๐” และแนวดำเนินการกรณีผู้เรียนมผี ลการเรียนท่มี เี ง่อื นไข คือ “ ร ” “ มส.” ๔. กำหนดแนวปฏิบตั ใิ นการอนมุ ตั ผิ ลการเรยี น ๕. กำหนดแนวทางในการรายงานผลการประเมนิ ตอ่ ผเู้ กีย่ วข้อง เช่น ผปู้ กครอง ๖. กำหนดแนวทาง วธิ ีการในการกำกบั ติดตามการบันทกึ ผลการประเมนิ ในเอกสารหลกั ฐาน การศึกษา ทั้งแบบท่หี ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และแบบท่ีสถานศกึ ษากำหนด

๔๒ การประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขียน หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กำหนดให้มีการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขียน ดังนั้นสถานศึกษาต้องวางแผนการพัฒนาความสามารถ ด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ควบคไู่ ปกับการจดั การเรียนรู้ในรายวิชาตา่ ง ๆ สถานศึกษาอาจกำหนดขน้ั ตอน ดำเนนิ การ ดงั แผนภาพที่ ๓.๒ ประชมุ ชแ้ี จงแนวการสง่ เสริม/พฒั นา กำหนดเกณฑ์ คณะกรรมการพัฒนาและประเมิน การประเมินและแนวทางการวัดผลประเมินผล การอ่าน คิดวเิ คราะห์และเขยี น ดำเนินการสง่ เสรมิ /พฒั นา ควบคู่กบั การจดั กิจกรรม ครผู ู้สอน การเรยี นรู้ ๘ กล่มุ สาระ/โครงการ/กิจกรรมสง่ เสริม ครผู ู้สอน ครทู ป่ี รกึ ษา/ครูประจำชั้น วดั ผล ประเมนิ ผล บันทึกผล (สรปุ ผล) หรือผ้ทู ่ีได้รับมอบหมาย ประมวลผล สรุปผล คณะกรรมการพฒั นาและประเมินการ อ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขียน ไม่ผ่าน ผา่ น ซ่อมเสริม ดีเย่ยี ม ดี - ครูประจำช้นั ผา่ น - ครูท่ปี รกึ ษา บันทกึ ผล - นายทะเบียน แผนภาพที่ ๓.๒ แสดงข้ันตอนการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขยี นของสถานศกึ ษา

๔๓ แนวดำเนินการพฒั นาและประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์และเขียน การพัฒนาและประเมินความสามารถการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน สถานศกึ ษาอาจกำหนด แนวดำเนินการ ดังน้ี ๑. คณะกรรมการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ของสถานศึกษากำหนด ผลการเรยี นรู้ หรือความสามารถ การอ่าน คิดวิเคราะหแ์ ละเขียน จากกลมุ่ สาระการเรียนรู้พร้อมกำหนด เกณฑต์ ัดสนิ คณุ ภาพ (ดเี ยย่ี ม ดี และ ผ่าน) ใหเ้ หมาะสมกบั ระดบั การศึกษา ๒. ผู้สอนแต่ละกล่มุ สาระออกแบบการประเมิน เพื่อประเมินความสามารถในการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น ใหเ้ หมาะสมกบั ผู้เรียนแตล่ ะช้ันปี และการจัดการเรยี นร้ใู นแต่ละภาคเรียน รูปแบบและวธิ ีการพฒั นาและประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะหแ์ ละเขียน คณะกรรมการการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขียน สามารถดำเนินการได้หลายวธิ ีดงั น้ี ๑. ประเมนิ จากผลงานและการเข้าร่วมกิจกรรม ๑.๑ กรณีที่บุคลากรสอนตามเพียงพอ ใช้วิธีการบูรณาการความสามารถ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน เข้ากับหน่วยการเรียนรู้ ในรายวิชา ที่มีสัดส่วนเพียงพอสามารถเป็นตัวแทนได้ เมื่อนำหน่วยการเรียนรู้ไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แต่ละรายวิชาแล้ว มีผลการประเมินของผู้เรียนเป็น ผลงานในหน่วยการเรียนรู้น้ัน ให้นำผลการประเมินนน้ั นับเข้าเป็นผลการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี นดว้ ย ๑.๒ กรณที ่ีสถานศึกษามบี คุ ลากรเพียงพอ นอกจากสง่ เสริมและพัฒนาการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน ในกลุ่มสาระที่สอนแล้ว ยังสามารถจัดโครงงาน/กิจกรรมเสริมอีก เช่น โครงการรกั การอ่าน การเขียน เป็นต้น การประเมนิ ผลกใ็ ชผ้ ลจากการประเมินในกลุม่ สาระและผลจากการเขา้ ร่วมโครงการและ กิจกรรม ๒. ประเมินจากแบบทดสอบมาตรฐานประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์และ เขยี น โดยทดสอบ กับผู้เรียนทุกคน การนำแบบทดสอบมาตรฐานมาใช้ประเมินผลต้องมีความม่ันใจในความเที่ ยงตรง (Validity) ความยตุ ิธรรม(Fair) และความเชือ่ ถอื ได้ (Reliability) เกณฑก์ ารตดั สนิ ผลการประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขียน การวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือตัดสินระดับคุณภาพ ใช้วิธีการท่ีเหมาะสมกับลักษณะของข้อมูลซึ่ง ไม่ยงุ่ ยาก ซบั ซ้อน ได้แก่ ฐานนยิ ม (Mode) แล้วตัดสินผลตามเกณฑท์ ี่กำหนด สง่ ผลให้แก่คณะกรรมการ ดำเนินการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขียน เพ่อื ดำเนนิ การสง่ เสรมิ พฒั นาต่อไป เกณฑ์การตัดสินผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ให้กำหนดเป็นระดับคุณภาพดีเยี่ยม ดี และผ่าน อย่างไรก็ ตามในกระบวนการพฒั นา สถานศึกษาควรกำหนดใหผ้ สู้ อนได้ให้ขอ้ มูลย้อนกลับแกผ่ ้เู รียนเพอื่ การพฒั นา การอา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละเขียน ไดบ้ รรลเุ ป้าหมายของสถานศึกษา การให้ข้อมลู ยอ้ นกลับจะทำไดด้ ีหากมี เกณฑ์การให้คะแนน (Rubrics) เป็นแนวทางการกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน สถานศึกษาสามารถ ดำเนินการไดด้ งั น้ี ๑. กำหนดระดับคุณภาพตามที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานกำหนดไว้ ได้แก่ ดี เย่ียม ดี และผา่ น ๒.

๔๔ ๒. กำหนดประเด็นการประเมินให้สอดคลอ้ งกับความสามารถทีจ่ ะประเมนิ เช่น - การนำเสนอเนอ้ื หา - การใชภ้ าษา ๓. ให้คำอธบิ ายระดับคุณภาพของประเด็นการประเมนิ ดงั ตวั อยา่ ง ประเด็น ๓ ระดบั คะแนน ๑ การประเมิน ๒ - เรยี งลำดบั เรือ่ งราวได้ การนำเสนอเนือ้ หา - เรยี งลำดบั เรือ่ งราวได้ แตม่ ีการวกวนบา้ ง เหมาะสม ไม่วกวน - เรียงลำดบั เรือ่ งราวได้ - แสดงความคดิ เห็น การใช้ภาษา เหมาะสม ไมว่ กวน ประกอบ - แสดงความคดิ เห็น - แสดงความคดิ เห็น - ขอ้ มลู สนบั สนุน หรอื ประกอบได้อย่างมี ประกอบได้อย่างมี ประเด็นยังไม่ชดั เจน เหตุผลและสรา้ งสรรค์ เหตุผล - นำเสนอขอ้ มูลชัดเจน - เขียนสะกดคำถูกตอ้ ง - นำเสนอประเดน็ สำคญั แตบ่ างประเด็นไม่ ตามอกั ขรวธิ ี ที่ทำให้เห็นความชัดเจน ชดั เจน - เลอื กใช้คำตรง ของเรอ่ื ง ความหมาย - เขยี นสะกดคำถูกตอ้ ง - ประเมินสงิ่ ทเี่ ป็นประโยชน์ ตามอักขรวิธี ในการดำเนินชีวติ ได้ - เลือกใช้คำตรง ถกู ตอ้ ง ความหมาย - ใชภ้ าษาเหมาะสมกับ - เขียนสะกดคำถกู ต้องตาม ระดับภาษา อักขรวธิ ี - เลอื กใช้คำตรงความหมาย - ใชภ้ าษาเหมาะสมกับ ระดบั ภาษา - ใชภ้ าษาสอื่ สารตรง จุดประสงค์ การประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หมายถึง ลักษณะท่ีต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนอันเป็น คณุ ลักษณะทสี่ ังคมตอ้ งการในดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม จิตสำนึก สามารถอย่รู ่วมกบั ผอู้ ่ืนในสังคม ได้อย่างมีความสุข ท้ังในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ตามท่ีหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กำหนดซึง่ มีอยู่ ๘ คณุ ลกั ษณะ ได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่าง พอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ นอกจากน้ีสถานศึกษาสามารถกำหนด คุณลักษณะอันพึงประสงคเ์ พ่ิมเตมิ ให้สอดคล้องกับบริบทและจดุ เน้นของตนเองได้ การพัฒนาคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาจะบรรลผุ ลได้น้ัน ต้องอาศัยการบริหาร จัดการและการมีสว่ นรว่ มจากทกุ ฝ่าย ได้แก่ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ครทู ่ปี รกึ ษา ครูผูส้ อน ผูป้ กครองและชุมชนท่ีต้องมุ่งขัดเกลา บ่มเพาะ ปลูกฝงั คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ใหเ้ กิดขึ้นแก่ผู้เรยี น

๔๕ ในการพัฒนาคณุ ลักษณะอันพึงประสงคส์ ามารถกระทำได้โดยนำพฤติกรรมบ่งชี้หรือพฤติกรรมท่ี แสดงออกของคุณลักษณะแต่ละด้านท่วี ิเคราะห์ไว้ บรู ณาการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในกลมุ่ สาระ การเรียนรตู้ า่ ง ๆ ในกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นและโครงการพิเศษต่าง ๆ ท่ีสถานศกึ ษาจัดทำขนึ้ เชน่ โครงการ วันพ่อ วันแม่แหง่ ชาติ โครงการลดภาวะโลกรอ้ น วนั รักษ์สิ่งแวดล้อม แห่เทียนพรรษาตามรอยคนดี หรือ กิจกรรมที่องค์กรในท้องถน่ิ จดั ขนึ้ เป็นต้น สำหรับการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์น้ัน สถานศึกษาควรจัดให้มกี ารประเมินเป็น ระยะ ๆ โดยอาจประเมินผลเป็นรายสัปดาห์ รายเดือน รายภาค รายปีด้วย เพ่ือให้มีการส่ังสม และ การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน และประเมินผลสรุปเม่ือจบปีสุดท้ายของ แต่ละระดบั การศกึ ษา สง่ เสริม/พัฒนา ประชุมช้แี จงแนวทาง คณะกรรมการพฒั นาและ ผู้เรยี น การประเมิน การเกบ็ รวบรวม ประเมินคุณลักษณะอัน การรายงานความกา้ วหน้า ไม่ผ่านเกณฑ์ การรายงานผล และสรปุ ผล พึงประสงค์ ประเมิน บนั ทึก วเิ คราะห์ แปลผล และ ครูผูส้ อน รายงานผลการประเมิน ครูทปี่ รึกษา ครูประจำชนั้ หรอื ต่อผู้เกีย่ วข้อง ผูท้ ่ีไดร้ ับมอบหมาย - เกบ็ รวบรวม ทะเบยี น-วดั ผล - ประมวลผล - สรุปผล - บนั ทกึ ข้อมูลใน ปพ.1 นำข้อมลู ที่ได้มาวางแผน คณะกรรมการ แผนภาพท่ี ๓.๓ แสดงขัน้ ตอนการดำเนนิ การวัดและประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา

๔๖ แนวดำเนินการพัฒนาและประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สถานศึกษาควรดำเนินการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็นขั้นตอนท่ีชัดเจน สามารถตรวจสอบกลับการดำเนินงานได้ แผนภูมิที่ ๓.๒ แสดงขั้นตอนการดำเนินการวัดและประเมิน คุณลักษณะอนั พึงประสงคท์ ่ีสถานศกึ ษาสามารถนำไปปรับใชต้ ามบรบิ ทของสถานศกึ ษา โดย ๑) แตง่ ตง้ั คณะกรรมการการพฒั นาและประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของสถานศกึ ษา ๑.๑ กำหนดแนวทางในการพัฒนาและแนวทางการประเมิน เกณฑ์การประเมิน และ แนวทางการปรบั ปรงุ แก้ไขปรบั พฤตกิ รรม ๑.๒ พจิ ารณาตัดสนิ ผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์รายปี (ระดับประถมศึกษา) รายภาค (ระดับมัธยมศึกษา) และจบการศึกษาแตล่ ะระดบั ๑.๓ จดั ระบบการปรับปรงุ แกไ้ ขปรับพฤตกิ รรมดว้ ยวธิ ีการอนั เหมาะสมและสง่ ต่อข้อมลู เพือ่ การพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่ือง ๒) พิจารณานิยามหรือความหมายของคุณลักษณะแต่ละตัว พร้อมท้ังกำหนดตัวชี้วัดหรือ พฤติกรรมบ่งช้ีหรือพฤติกรรมที่แสดงออกของคุณลักษณะแต่ละตัว และหากสถานศึกษาได้กำหนด คุณลักษณะอนั พึงประสงคเ์ พ่ิมเติม สถานศึกษาต้องจดั ทำนิยาม พร้อมทง้ั ตวั ช้วี ดั เพ่ิมเตมิ ดว้ ย ๓) กำหนดเกณฑแ์ ละแนวทางการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ให้สอดคล้องกบั บริบท และจุดเน้นของสถานศึกษา กำหนดระดับคุณภาพ หรอื เกณฑ์ในการประเมินตามที่หลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐานกำหนดไว้ ๓ ระดับ คือ ดีเยี่ยม ดี และ ผ่าน กำหนดประเด็นการประเมินให้ สอดคลอ้ งกบั ตวั ชว้ี ดั คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔) เลอื กใชว้ ธิ กี ารวเิ คราะหข์ ้อมูลทีไ่ ม่ยุ่งยาก ซับซอ้ น ไดแ้ ก่ คา่ ฐานนิยม (Mode) แลว้ ตัดสินผล ตามเกณฑท์ ่กี ำหนดไว้ นำผลการตัดสนิ ใหค้ ณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พจิ ารณาเพื่อดำเนินการสง่ เสริม พฒั นาตอ่ ไป ๕) ให้ครูผู้สอนแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้และผู้ที่ได้รับมอบหมายรับผิดชอบการพัฒนาและ ประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นกิจกรรมที่สถานศกึ ษาต้องจดั ให้ผู้เรียนทุกระดับชนั้ เพื่อส่งเสริม พัฒนาความสามารถของตนเองตามความถนัด ความสนใจ ให้เตม็ ศักยภาพ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาองค์รวม ของความเป็นมนุษย์ทงั้ ด้านร่างกาย สตปิ ัญญา อารมณแ์ ละสังคม สร้างเยาวชนของชาติให้เป็นผูม้ ีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกของการทำประโยชน์เพื่อสังคมและสามารถบริหาร การจัดการตนเองได้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น แบ่งเปน็ ๓ ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ ๑. กิจกรรมแนะแนว เปน็ กจิ กรรมทีส่ ่งเสริมและพฒั นาผู้เรียนให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัดและความสนใจ โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ด้วยกระบวนการทางจิตวิทยา การแนะแนว ให้สอดคล้องครอบคลมุ ด้านการศึกษา อาชีพส่วนตัวและสังคม กิจกรรมสำคัญในการพัฒนา ได้แก่ กิจกรรมการรู้จัก เข้าใจและเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อ่ืน กิจกรรมการปรับตัวและดำรงชีวิต กจิ กรรมแสวงหาและใชข้ ้อมูลสารสนเทศ กจิ กรรมการตัดสินใจและแกป้ ญั หา เป็นตน้

๔๗ ๒. กจิ กรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมท่มี ุ่งพัฒนาความมรี ะเบียบวินัย ความเป็นผู้นำ ผตู้ ามทด่ี ี ความรบั ผดิ ชอบ การทำงานรว่ มกัน การรู้จักแก้ปัญหาการตัดสินใจท่ีเหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือ แบ่งปันกนั เอ้ืออาทรและสมานฉันท์ โดยจดั ให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจ ของผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกข้ันตอน ได้แก่ การศกึ ษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตาม แผน ประเมนิ และปรบั ปรงุ การทำงาน เน้นการทำงานร่วมกันเปน็ กลมุ่ ตามความเหมาะสม และสอดคลอ้ ง กบั วฒุ ภิ าวะของผู้เรยี น บรบิ ทของสถานศึกษาและท้องถิน่ กจิ กรรมนกั เรยี นประกอบด้วย ๒.๑ กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์และนกั ศึกษาวิชาทหาร เปน็ กิจกรรมที่มุง่ พฒั นาความมีระเบียบวนิ ัย ความเป็นผู้นำผูต้ ามทดี่ ี ความรบั ผดิ ชอบ การทำงานร่วมกัน การร้จู ักแกป้ ัญหา การตัดสินใจทีเ่ หมาะสม ความมีเหตผุ ล การช่วยเหลอื แบง่ ปันกนั การประนีประนอม เพื่อส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นเจริญเตบิ โตเปน็ ผูใ้ หญท่ มี่ ีความสมบูรณ์ พร้อมท้ังด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ญั ญา เป็นตน้ ๒.๒ กิจกรรมชุมนุม ชมรม เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องกับ ความสามารถ ความถนดั และความสนใจ โดยเนน้ ให้ผ้เู รยี นปฏิบตั ิด้วยตนเอง ตง้ั แต่การศึกษาวเิ คราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุงการทำงาน เน้นการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม กิจกรรม สำคัญในการพัฒนา ได้แก่ ชุมนุมหรือชมรมต่าง ๆ ท่ีสถานศึกษากำหนดขึ้นตามความเหมาะสมและ สอดคลอ้ งกับวฒุ ภิ าวะของผู้เรยี นและบรบิ ทของสถานศึกษาและทอ้ งถ่ิน ๓. กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะประโยชน์ เป็นกจิ กรรมทส่ี ่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนได้ทำประโยชน์ ตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดงี าม ความเสยี สละต่อสงั คม มีจติ ใจมุ่งทำประโยชนต์ ่อครอบครัว ชมุ ชนและสงั คม กิจกรรมสำคัญ ได้แก่ กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมสรา้ งสรรค์สังคม กิจกรรมดำรงรักษา สืบสานศาสนา ศิลปะ และวัฒนาธรรม กจิ กรรมพัฒนานวัตกรรม และเทคโนโลยีเพอ่ื สงั คม เป็นตน้ เวลาเรียนสำหรับกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนท่ีกำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลาง ในระดับช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถึงมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ปีละ ๑๒๐ ช่ัวโมง และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ - ๖ จำนวน ๓๖๐ ช่ัวโมง เป็นเวลาสำหรับปฏิบัติกิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ในสว่ นกิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ให้สถานศกึ ษาจดั สรรเวลาใหผ้ เู้ รียนดังน้ี ระดบั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ - ๖ รวม ๖ ปี จำนวน ๖๐ ช่วั โมง (เฉลี่ยปลี ะ ๑๐ ชัว่ โมง) ระดบั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ - ๓ รวม ๓ ปี จำนวน ๔๕ ชวั่ โมง (เฉลยี่ ปีละ ๑๕ ชั่วโมง) ระดบั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๔ - ๖ รวม ๓ ปี จำนวน ๖๐ ช่ัวโมง (เฉลย่ี ปลี ะ ๒๐ ชัว่ โมง) การจัดกจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์ สามารถนำไปสอดแทรก หรอื บูรณา การ ในกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์และนักศึกษาวิชาทหาร ได้ตามความ เหมาะสม ทั้งนี้ การทำกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ให้ผู้เรียนรายงานแสดงการเข้าร่วม กจิ กรรมและมีผู้รับรองผลการเขา้ รว่ มกจิ กรรมดว้ ย การประเมินผลการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นเงื่อนไขสำคัญประการหนึ่งสำหรับ การเลื่อนช้ันและการจบระดับการศึกษา ผู้เรียนต้องมีเวลาเข้าร่วมและปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตลอดจนผา่ นการประเมนิ ตามเกณฑท์ ส่ี ถานศกึ ษากำหนด โดยแนวทางการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น มรี ายละเอยี ดดังแผนภาพที่ ๓.๔

๔๘ กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น แนะแนว ลูกเสอื ฯ ผู้บำเพญ็ ฯ กจิ กรรมเพ่ือสังคมฯ ชมุ นมุ /ชมรม เกณฑก์ ารประเมนิ ๑. เวลาการเขา้ ร่วมกิจกรรม ๒. การปฏบิ ัติกิจกรรม ๓. ผลงาน / ชิ้นงาน ตามเกณฑ์ ประเมนิ ไม่ตามเกณฑ์ ไม่ผ่าน ผา่ น ซอ่ มเสริม สง่ ผลการประเมิน แผนภาพที่ ๓.๔ แสดงขัน้ ตอนการประเมินกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น แนวดำเนินการประเมินกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น สถานศกึ ษาควรมกี ารดำเนินการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นเป็นขนั้ ตอนทีช่ ัดเจน ๑. การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นรายกจิ กรรม มแี นวปฏบิ ตั ดิ งั นี้ ๑.๑ ประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผู้เรียนตามเกณฑ์ท่ี สถานศึกษากำหนด ดว้ ยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย และใชก้ ารประเมินตามสภาพจริง ๑.๒ ตรวจสอบเวลาเขา้ ร่วมกิจกรรมของผ้เู รียนวา่ เปน็ ไปตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากำหนดไวห้ รือไม่ ๑.๓ ในกรณีท่ี กิจกรรมใดต้องใช้เวลาปฏิบัติตลอดปี เม่ือส้ินภาคเรียนแรก ควรจัดให้มี การประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมของผู้เรียน เพื่อสรุปความก้าวหน้า ปรับปรุงแก้ไข และรายงานให้ ผู้ปกครองทราบ (โดยนำผลการประเมินในภาคเรียนแรกไปรวมกับผลการประเมินในภาคเรียนท่ีสอง เพื่อตัดสินผลการผ่านกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นเม่ือจบปีการศึกษาในระดับประถมศึกษา และเมื่อส้ินภาค เรียนในระดบั มัธยมศกึ ษา) ๑.๔ ผู้เรียนที่มีเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผู้เรียนตามเกณฑ์ที่ สถานศึกษากำหนด เป็นผู้ผ่านการประเมินรายกิจกรรมและนำผลการประเมินไปบันทึกในระเบียน แสดงผลการเรียน ๑.๕ ผู้เรียนท่ีมีผลการประเมินไม่ผ่านในเกณฑ์เวลาการเข้าร่วมกิจกรรม หรือเกณฑ์การปฏิบัติ กิจกรรมและผลงานของผู้เรียนหรือทั้งสองเกณฑ์ ถือว่าไม่ผ่านการประเมินผลกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ผู้สอนต้องดำเนินการซ่อมเสริมและประเมินจนผ่าน ทั้งน้ีควรดำเนินการให้เสร็จสิ้นในปีการศึกษานั้น ยกเว้นมเี หตุสุดวิสยั ใหอ้ ยใู่ นดุลพนิ ิจของสถานศกึ ษา

๔๙ ๒. การประเมินกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นเพือ่ เลอ่ื นชนั้ และจบระดับการศกึ ษา การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อเล่อื นชั้นและจบระดับการศกึ ษาเปน็ การประเมินการผา่ นกิจกรรม พัฒนาผู้เรยี น เป็นรายปี / รายภาค เพื่อสรุปผลการผ่านในแต่ละกิจกรรม สรุปผลรวมเพ่ือเลื่อนชั้น และ ประมวลผลรวมในปีสุดท้ายเพ่ือการจบแต่ละระดับการศึกษา โดยการดำเนินการดังกล่าวมีแนวปฏิบัติ ดงั นี้ ๒.๑ กำหนดใหม้ ีผู้รับผิดชอบในการรวบรวมขอ้ มูลเกี่ยวกับการร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของผู้เรียน ทุกคนตลอดระดับการศกึ ษา ๒.๒ ผู้รับผิดชอบสรุปและตัดสินผลการร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของผู้เรียนเป็นรายบุคคลตาม เกณฑท์ ส่ี ถานศึกษากำหนด (เกณฑก์ ารจบแตล่ ะระดับการศกึ ษาท่ีสถานศึกษากำหนดนัน้ ผู้เรียนจะต้อง ผ่านกิจกรรม ๓ กจิ กรรมสำคัญ ดงั นี้ ๑) กจิ กรรมแนะแนว ๒) กิจกรรมนักเรียน ซ่ึงได้แก่ (๑) กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญ ประโยชน์ และนกั ศึกษาวชิ าทหาร (๒) กจิ กรรมชมุ นมุ ชมรม ๓) กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์ ๒.๓ นำเสนอผลการประเมินตอ่ คณะอนกุ รรมการกลมุ่ สาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น เพ่ือให้ ความเห็นชอบ ๒.๔ เสนอผู้บริหารสถานศึกษาพิจารณาอนมุ ัติผลการประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นผ่านเกณฑก์ ารจบ แตล่ ะระดบั การศึกษา ๓. ขอ้ เสนอแนะ การประเมนิ ผลการเขา้ ร่วมกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นนน้ั จะต้องคำนงึ ถงึ สงิ่ ตอ่ ไปนี้ ๓.๑ เวลาการเข้าร่วมกิจกรรมของผเู้ รียนตามเกณฑ์ทีส่ ถานศึกษากำหนด สถานศกึ ษาควรกำหนดเวลาไม่ นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ๓.๒ ผลการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมและผลงานของผเู้ รียนใหเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากำหนด โดยอาจจดั ใหผ้ เู้ รียนแสดงผลงาน แฟ้มสะสมงานหรอื จัดนิทรรศการ ๓.๔ ผ้เู รยี นทกุ คนต้องมผี ลการประเมินระดับผ่าน ทั้งเวลาการเขา้ ร่วมกิจกรรม การปฏบิ ัตกิ ิจกรรม และผลงานของผู้เรยี นจงึ จะไดผ้ ลการประเมนิ เปน็ ผา่ น (ผ) เพือ่ บนั ทกึ ในระเบยี นแสดงผลการเรียน ๓.๕ กรณีท่ีผู้เรียนไม่ผ่านกิจกรรม (มผ) ให้เป็นหน้าท่ีของครู หรือผู้รับผิดชอบกิจกรรมน้ัน ๆ ท่ีจะต้องซ่อมเสริม โดยให้ผู้เรียนทำกิจกรรมจนครบตามเวลาที่ขาดหรือปฏิบัติกิจกรรมให้บรรลุตาม วตั ถุประสงคข์ องกจิ กรรมนั้น แล้วจึงประเมินให้ผ่านกิจกรรม เพ่ือบันทึกในระเบียนแสดงผลการเรียน ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยใหร้ ายงานผู้บรหิ ารสถานศึกษาทราบ เพือ่ ดำเนินการชว่ ยเหลือผเู้ รียนอย่างเหมาะสม เป็นรายกรณไี ป ๓.๖ ในการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน หากสถานศึกษามีบุคลากรไม่เพียงพอหรือไม่สามารถจัด กิจกรรมได้อย่างหลากหลาย สถานศึกษาอาจจัดกิจกรรมในลักษณะบูรณาการ หรือสอดแทรกใน กิจกรรมหรือโครงการต่าง ๆ เช่นกจิ กรรมโฮมรูม กิจกรรมวนั สำคัญ กจิ กรรมบำเพ็ญประโยชน์ เป็นต้น ซ่ึงสถานศึกษาสามารถดำเนินการประเมินผลการเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าวและนำมาเป็นส่วนหนึ่งใน การประเมินกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนได้

๕๐ เกณฑก์ ารผา่ นการประเมินกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ผูเ้ รยี นจะต้องได้รับการประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี นและผ่านเกณฑต์ ามทสี่ ถานศกึ ษากำหนด โดย กำหนดเกณฑใ์ นการประเมนิ อยา่ งเหมาะสม ดังน้ี ๑. กำหนดคณุ ภาพหรอื เกณฑใ์ นการประเมนิ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน กำหนดไว้ ๒ ระดบั คอื ผ่าน และไมผ่ า่ น ๒. กำหนดประเด็นการประเมินให้สอดคล้องตามจดุ ประสงค์ในแต่ละกิจกรรมและกำหนดเกณฑ์ การผา่ นการประเมิน ดงั น้ี ๒.๑ เกณฑ์การตัดสนิ ผลการประเมนิ รายกจิ กรรม ผ่าน หมายถงึ ผู้เรียนมเี วลาเข้าร่วมกิจกรรมครบตามเกณฑแ์ ละปฏิบตั ิ กจิ กรรมและผลงานของผเู้ รยี นตามเกณฑท์ ส่ี ถานศึกษากำหนด ไมผ่ ่าน หมายถงึ ผูเ้ รยี นมเี วลาเข้าร่วมไม่ครบตามเกณฑห์ รอื ไมผ่ า่ นการปฏิบัติ กจิ กรรมและผลงานของผูเ้ รยี นตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากำหนด ๒.๒ เกณฑก์ ารตดั สินผลการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียนในแต่ละภาค/ปี ผา่ น หมายถึง ผ้เู รียนมีผลการประเมินระดบั “ผ่าน” ในกจิ กรรมสำคญั ทงั้ ๓ กจิ กรรม คอื กจิ กรรมแนะแนว กจิ กรรมนกั เรียน กจิ กรรมเพื่อ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ไม่ผ่าน หมายถงึ ผเู้ รยี นมผี ลการประเมนิ ระดบั “ไมผ่ ่าน” ในกจิ กรรมสำคัญ กิจกรรมใดกจิ กรรมหนงึ่ จาก ๓ กิจกรรม คือ กิจกรรมแนะแนว กจิ กรรมนกั เรยี น กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๒.๓ เกณฑก์ ารตดั สนิ ผลการประเมินกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียนเพอ่ื จบระดบั การศึกษา ผ่าน หมายถึง ผ้เู รยี นมีผลการประเมนิ ระดับ “ผา่ น” ทุกชน้ั ปใี นระดบั การศกึ ษานัน้ ไมผ่ ่าน หมายถงึ ผเู้ รยี นมผี ลการประเมนิ ระดบั “ ไมผ่ า่ น ” บางช้นั ปีในระดบั การศกึ ษาน้นั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook