Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์สากล ม.6-ครูสุชาดา

แผนการจัดการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์สากล ม.6-ครูสุชาดา

Published by dlit_sm037, 2021-04-06 08:13:42

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์สากล ม.6-ครูสุชาดา

Search

Read the Text Version

คำนำ แผนการจดั การเรยี นรฉู้ บับนเี้ ป็นแผนการจัดการเรยี นรู้รายวิชาประวัติศาสตร์สากล ส33102 ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 ตามโครงสร้างรายวชิ ามีเนือ้ หาประกอบด้วย 5 หน่วยการเรียนรู้ ได้แก่ เวลาและการแบ่ง ยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์สากล การสรา้ งองคค์ วามร้ใู หม่ทางประวัติศาสตรส์ ากล อารยธรรมของโลกยุคโบราณ เหตุการณ์ สำคัญทางประวัติศาสตร์ท่ีมีผลต่อโลกปัจจุบัน และสถานการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21 ซ่ึงได้อ้างอิงจาก หลกั สตู รแกนกลาง พทุ ธศกั ราช 2551 เปน็ แนวทางในการจดั กระบวนการเรยี นรู้ ในการจัดการเรยี นการสอนข้าพเจา้ ได้ใชว้ ิธกี ารสอนรปู แบบต่างๆ ท่ีสอดคล้องกบั เน้ือหาในหน่วยการ เรียนรู้ อาทิเช่น ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการแกป้ ัญหา และกระบวนการกลมุ่ เพื่อให้ ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักในความสำคัญของการศึกษาประวตั ิศาสตรส์ ากล มีคุณลักษณะท่ีพึง ประสงค์ในด้านใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการทำงาน ซ่ือสัตย์สุจริต มีวินัย มีความรับผิดชอบ จนสามารถผ่าน คุณลักษณะหรือตวั ชว้ี ดั ท่กี ำหนดไว้ในโครงสร้างหลักสูตรได้ ท้ังน้ีผู้จัดทำขอขอบคุณครูจิรพล ลิวา หัวหน้ากลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ และคณะครูกลุ่มสาระการ เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนสตรีปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราชทุกคนท่ีคอย ชว่ ยเหลือ ดูแลใหค้ ำแนะนำ ให้ผจู้ ัดทำได้พัฒนาทักษะกระบวนการตา่ งๆ จนทำให้แผนการจัดการเรยี นรู้ฉบับ น้สี ำเรจ็ ลลุ ว่ งลงไดด้ ้วยดี นางสชุ าดา ประมุข ครชู ำนาญการพเิ ศษ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

1 ประวตั ศิ าสตรส์ ากล กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 เวลาเรียน 4 ชวั่ โมง  มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้ีวดั ส 4.1 ม.4-6/1 ตระหนกั ถึงความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตรท์ แี่ สดง ถงึ การเปล่ยี นแปลงของมนษุ ยชาติ  สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เวลาและยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตร์ของสงั คมมนษุ ย์ท่ีมีปรากฏในหลักฐานทางประวตั ิศาสตรส์ ากล ทำให้ได้ข้อมูลท่ีแสดงถงึ การเปลยี่ นแปลงของมนุษยชาติ  สาระการเรียนรู้ 3.1สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 1. เวลาและยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏในหลักฐานทางประวตั ิศาสตรไ์ ทย และประวัตศิ าสตร์สากล 2. ตวั อย่างเวลาและยคุ สมยั ทางประวัตศิ าสตรข์ องสงั คมมนษุ ย์ที่มปี รากฏในหลักฐาน ทางประวตั ิศาสตร์ 3. ความสำคญั ของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 3.2 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่น -  สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน 4.1 ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ 4.2 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ 1

- กระบวนการทำงานกลุ่ม - ทกั ษะการสบื ค้น  คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน  ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ผงั มโนทัศน์แสดงการเปลีย่ นแปลงของมนษุ ยชาติทีเ่ ป็นผลจากเวลา และยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์  การวดั และการประเมนิ ผล 7.1การประเมินก่อนเรยี น - นักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 7.2 การประเมินระหวา่ งการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ความรู้เกีย่ วกับเวลาในประวัติศาสตร์ 2. ใบงานท่ี 2.1 เรื่อง การแบง่ ยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ 3. สังเกตการนำเสนอผลงานท่ีหน้าช้ันเรียน 4. สงั เกตการเข้าร่วมกิจกรรมกล่มุ ในชัน้ เรียน 7.3 การประเมินหลังเรียน - นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 7.4 การประเมินชน้ิ งาน / ภาระงาน (รวบยอด) - ประเมนิ ผังมโนทัศน์แสดงการเปลีย่ นแปลงของมนษุ ยชาตทิ ีเ่ ป็นผลจากเวลา และยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ 2

การประเมินชน้ิ งาน / ภาระงาน (รวบยอด) แบบประเมินผงั มโนทศั น์แสดงการเปลี่ยนแปลงของมนษุ ยชาติทเ่ี ปน็ ผลจาก เวลา และยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ รายการประเมิน คำอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ / ระดับคะแนน 1. ความถูกต้อง ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1) ของเนือ้ หาสาระ เขียนแสดง เขียนแสดงความสมั พันธ์ เขียนแสดงความสมั พันธ์ เขยี นแสดง ความสมั พนั ธข์ อง 2. ความคิด เวลาและยุคสมยั ทาง สร้างสรรค์ ของเวลาและยคุ สมยั ทาง ของเวลาและยคุ สมยั ความสมั พนั ธ์ของ ประวตั ิศาสตร์ได้ แต่ มีความบกพรอ่ งมาก ประวัติศาสตร์ได้ชัดเจน ทางประวัติศาสตร์ได้ เวลาและยคุ สมยั ทาง แผนผังสวยงาม และถูกตอ้ ง ชดั เจนและถกู ต้อง ประวตั ศิ าสตร์ได้ ส่ือความหมายได้ แต่ไมม่ ีความแปลกใหม่ เปน็ ส่วนใหญ่ ถกู ตอ้ ง แต่มีความ บกพร่องบางประเด็น แผนผงั สวยงาม แผนผงั สวยงาม แผนผงั สวยงาม สอื่ ความหมายไดด้ ี สอ่ื ความหมายไดด้ ี ส่อื ความหมายได้ มคี วามแปลกใหม่ แสดง มคี วามแปลกใหม่ มีความแปลกใหม่ ถึงความคิดริเร่ิม แสดงถึงความคิดรเิ รม่ิ แตแ่ สดงถงึ ความคิด สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์เป็นสว่ นใหญ่ รเิ ร่ิมสร้างสรรคเ์ ปน็ บางส่วน เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 7-8 ดมี าก 5-6 ดี 3-4 พอใช้ 1-2 ปรบั ปรุง 3

 กิจกรรมการเรียนรู้  นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 กิจกรรมที่ 1 กาลเวลา เวลา 1 ช่ัวโมง วธิ ีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการสรา้ งความ ตระหนกั 1. ครนู ำแผนท่ีโลกมาให้นักเรียนดู แลว้ ถามความรูว้ ่านกั เรียนรู้จักแหล่งอารยธรรมโบราณทีใ่ ดบ้าง พร้อมทั้งให้นักเรยี นช้ีแผนทปี่ ระกอบ 2. ครเู ช่ือมโยงความสำคัญของเวลาต่อชวี ติ ประจำวันของนักเรยี น 3. นกั เรียนระดมสมองถึงความรเู้ รอ่ื งภูมหิ ลังและพฒั นาการของชาติไทยกับแหล่งอารยธรรมโลก 4. นักเรยี นศึกษาใบความรู้ เรื่อง ความรูเ้ กี่ยวกบั เวลาในประวัตศิ าสตร์ และทำใบงานที่ 1.1 เร่อื ง ความรู้เกย่ี วกับเวลาในประวัตศิ าสตร์ 5. ครูนัดหมายกบั นกั เรยี นใหศ้ ึกษาเรือ่ ง แหลง่ อารยธรรมโลก ท่ีนักเรยี นสนใจ 1 เรอื่ ง เพื่อเตรียม ความพรอ้ มในการเรียนครง้ั ต่อไป 6. นักเรียนนำข้อมูลแหลง่ อารยธรรมโลกที่นกั เรียนสนใจ มาแลกเปล่ียนกัน 7. นักเรยี นศึกษาใบความรู้ เร่อื ง การนบั และการเทยี บศกั ราชในประวตั ศิ าสตรไ์ ทย 8. นกั เรยี นช่วยกนั หาคำตอบจากกรณีตัวอยา่ งที่ครูกำหนดให้ เพอ่ื ใหน้ กั เรียนฝึกคำนวณการนับและ เทียบศักราชต่างๆ ของไทย 9. ใหน้ ักเรียนนำข้อมูลเวลาตามแหลง่ อารยธรรมโลกท่ีนกั เรยี นสนใจ มาคำนวณเวลาใหเ้ ป็นระบบของ ไทย 4

กจิ กรรมที่ 2 ยคุ สมยั ทางประวัตศิ าสตร์ เวลา 3 ชั่วโมง วธิ ีสอนโดยการจดั การเรียนร้แู บบรว่ มมือ : เทคนิคการจดั ทีมแข่งขนั 1. ใหน้ กั เรียนนบั 1- 4 เพ่อื กำหนดหมายเลขประจำตัว 2. ใหน้ กั เรยี นศึกษาความรเู้ กย่ี วกับประเด็นความรทู้ ่ีตรงกบั หมายเลขท่นี กั เรียนนับ โดยใหน้ ักเรยี น ท่นี ับหมายเลขเดียวกันรว่ มกนั ศึกษาและสรุปความรู้ 3. นกั เรียนในแต่ละหมายเลขรว่ มกนั สรปุ ความรู้ และซกั ถามข้อสงสยั กับสมาชิกในกลุม่ จนเกิด ความเข้าใจตรงกนั 4. ใหน้ ักเรียนรวมกลมุ่ ใหม่ กล่มุ ละ 4 คน โดยในแต่ละกลุ่มจะตอ้ งมีสมาชกิ ครบทั้ง 4 หมายเลข แลว้ ใหแ้ ลกเปลย่ี นความรแู้ ละซักถามกันในกลุม่ 5. ให้นักเรียนทำใบงานท่ี 2.1 เรอ่ื ง การแบง่ ยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ 6. ใหน้ ักเรยี นศกึ ษาความรเู้ พิ่มเตมิ และทบทวนความรู้ แล้วนัดหมายให้นักเรยี นเตรียมความพรอ้ ม เพอ่ื เลน่ เกมเกบ็ แตม้ 7. นักเรยี นรว่ มกนั ทบทวนความรู้จากท่ีได้ศึกษาในช่วั โมงท่ีผา่ นมา 8. ครสู อบถามเกย่ี วกับความพรอ้ มก่อนการเล่นเกมเกบ็ แต้ม แล้วอธิบายเกย่ี วกับการเล่นเกมเก็บแตม้ (เอกสารประกอบการสอน เกมเก็บแต้ม) 9. นกั เรยี นร่วมกนั สรุปผลการเล่นเกมเก็บแตม้ 10. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั เล่นเกมฉนั คือ.... โดยครูกำหนดเวลาในการเลน่ เกมประมาณ 20-30 นาที 11. ใหน้ กั เรียนสรปุ ผลคะแนนจากการเล่นเกม และความรูท้ ่ไี ด้รบั 12. ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันศึกษาเรื่อง ตวั อยา่ งเวลาและยคุ สมัยที่ปรากฏอยู่ในหลกั ฐานทาง ประวัติศาสตรส์ ากล แล้วเปรยี บเทยี บและสรุปความรู้ 5

13. ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั ออกแบบผงั มโนทัศน์ทแี่ สดงให้เห็นการเปล่ียนแปลงของมนษุ ยชาติที่ เป็นผลจากเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 14. ให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลงานการออกแบบผงั มโนทัศน์หน้าชน้ั เรียน  นักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 หมายเหตุ กิจกรรมการเรียนรู้ท้ังหมดผู้สอนสามารถปรับใช้โดยผ่าน แอพพลิเคช่ัน Google คลาสรูม  สือ่ /แหลง่ การเรยี นรู้ 9.1สอ่ื การเรยี นรู้ 1. หนงั สือเรยี น ประวตั ิศาสตร์สากล ม.4-ม.6 2. แผนท่โี ลก 3. ใบความรู้ 4. ใบงาน 5. เกม 6. google classroom 9.2แหลง่ การเรยี นรู้ 1. หอ้ งสมดุ 2. ห้องเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3. เหตกุ ารณ์สำคัญทางประวตั ิศาสตร์ 4. google classroom 6

แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน ประจำหน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 คำชี้แจง : ให้นกั เรยี นเลือกคำตอบทถี่ กู ตอ้ งทีส่ ดุ เพียงคำตอบเดยี ว 1. พทุ ธศักราช เกดิ กอ่ นคริสตศ์ กั ราชก่ีปี ข. 453 ง. 1124 ก. 245 ค. 543 7

2. พ.ศ. 2467 อย่ใู นช่วงพุทธศตวรรษทีเ่ ทา่ ไร ก. 26 ข. 25 ค. 24 ง. 23 3. ฮิจเราะหศ์ กั ราช เป็นการใช้ศกั ราชโดยคนท่ีนับถือศาสนาใด ก. ศาสนาฮนิ ดู ข. ศาสนาคริสต์ ค. ศาสนาอิสลาม ง. ศาสนายูดาห์ 4. มหาศักราชเป็นศกั ราชทไี่ ทยได้แบบอยา่ งมาจากชาติใด ก. ลังกา ข. ขอม ค. อินเดยี ง. จนี 5. ยคุ ประวตั ศิ าสตร์เริม่ เมอ่ื ไร ข. มีการตั้งชมุ ชนขึน้ ก. รู้จักทำการเกษตร ง. มกี ารบนั ทึกเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร ค. มีการใช้โลหะเป็นอาวธุ 6. ข้อใดคอื ลักษณะของมนุษยย์ คุ หนิ กลาง ก. รู้จักการทำเคร่ืองปนั้ ดนิ เหนียว ข. ใช้ขวานหินหรอื ขวานกำปน้ั ค. ใช้หินกะเทาะในการล่าสัตว์ ง. มีชวี ติ เร่รอ่ นตามแหลง่ สตั ว์ชุกชุม 7. สร้างท่พี ักด้วยดินเหนยี ว รจู้ ักรอการเก็บเก่ียว หมายถึงมนุษยใ์ นขอ้ ใด ก. ยคุ โลหะ ข. ยคุ หินเกา่ ค. ยุคหนิ กลาง ง. ยคุ หนิ ใหม่ 8. ศลิ ปวัฒนธรรมตะวันตกและตะวนั ออก มาบรรจบเปน็ คร้งั แรกทีใ่ ด ก. เปอร์เซยี ข. ลมุ่ น้ำสินธุ ค. ลุม่ นำ้ ฮวงโห ง. ลมุ่ น้ำอิรวดี 9. ชุมชนบา้ นเชียง จัดอย่ใู นยุคใด ข. ยุคหินเกา่ ก. ยคุ หินแรก ง. ยุคหนิ ใหม่ ค. ยุคหนิ กลาง 10. รูปแบบการดำเนินชีวติ และการปกครองของประเทศในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ในปจั จบุ นั 8

ส่วนใหญ่ ได้รบั อทิ ธิพลจากศาสนาใดมากที่สดุ ก. คริสต์ ข. อสิ ลาม ค. ยูดาห์ ง. ถกู ทกุ ข้อ 11. การค้นพบสิ่งใดทำให้มนุษย์กา้ วเข้าสูส่ มยั ประวัติศาสตร์ ก. มนษุ ยค์ ้นพบไฟ และการใช้ภาษาพูด ข. มนษุ ย์ประดษิ ฐ์ภาษาเขียนและการบันทกึ ค. มนษุ ยม์ าอย่รู วมกนั เป็นสังคมและรู้จักการเพาะปลกู 12. สมัยประวัติศาสตรข์ องโลกตะวนั ตกเริ่มท่แี หล่งอารยธรรมใด ก. อารยธรรมกรีก ข. อารยธรรมโบราณ ค. อารยธรรมลมุ่ แม่นำ้ สินธุ ง. อารยธรรมลมุ่ แม่น้ำไทกรสิ -ยเู ฟรทีส 13. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ ความเจริญของมนุษยย์ คุ หนิ ใหม่ ก. การใชเ้ ครอื่ งมอื หินขัด ข. เร่รอ่ นเก็บของป่า ลา่ สัตว์ ค. การต้ังถน่ิ ฐานเปน็ สงั คมเมอื ง ง. รู้จักทำภาชนะเครอ่ื งปั้นดนิ เผา 14. ช่วงเวลาสมยั ก่อนประวัตศิ าสตร์ใช้ส่ิงใดเป็นเกณฑใ์ นการแบง่ ยุคสมัย ก. ประเภทของปศุสัตว์ ข. ทีอ่ ยอู่ าศัยของมนุษย์ ค. อาณาจักร หรอื ราชวงศ์ ง. เคร่อื งมือเครือ่ งใชข้ องมนุษย์ 15. ช่วงเวลากับยุคสมัยทางประวัติศาสตร์เหมอื นหรือแตกตา่ งกันอย่างไร ก. เหมอื นกนั ช่วงเวลาเป็นสงิ่ ทีก่ ำหนดยคุ สมัย ข. เหมอื นกนั ยคุ สมยั เป็นสง่ิ ทก่ี ำหนดช่วงเวลา ค. ต่างกัน ช่วงเวลากลา่ วถึงเวลา แตย่ คุ สมยั กลา่ วถึงสภาพสงั คม ง. ต่างกัน ช่วงเวลาแบง่ จากจำนวนปีทกุ ๆ 10 ปี หรอื ร้อยปี แตย่ ุคสมัยแบง่ จากพฒั นาการ ทางประวัติศาสตร์ 9

เฉลย 2. ข 3. ค 4. ข 5. ง 7. ง 8. ข 9. ง 10. ค 1. ค 12. ง 13. ข 14. ข 15. ง 6. ก 11. ข 10

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 ประวัตศิ าสตร์สากล หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เวลาและการแบง่ ยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตรส์ ากล ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 เร่อื ง กาลเวลา เวลา 1 ชว่ั โมง  สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด การศกึ ษาเวลาตามระบบของไทยและสากล มีผลต่อการศึกษาและการทำความเข้าใจประวตั ิศาสตร์ของ สงั คมมนุษย์ในแต่ละยคุ สมัย  ตวั ช้วี ัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 ตัวชว้ี ดั ส 4.1 ม.4-6/1 ตระหนักถึงความสำคัญของเวลาและยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ทแี่ สดงถึง การเปลี่ยนแปลงของมนษุ ยชาติ 2.2 จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. รแู้ ละเขา้ ใจเวลาระบบต่างๆ ของสากล 2. คำนวณเวลาตามระบบต่างๆ ของสากลได้ 3. ตระหนกั ถึงความสำคญั ของกาลเวลาในชวี ิตประจำวัน  สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรยี นร้แู กนกลาง 1. เวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตรท์ ่ีปรากฏในหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ไทย และประวตั ิศาสตร์สากล 2. ตัวอย่างเวลาและยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ของสงั คมมนุษยท์ ี่มปี รากฏในหลกั ฐาน ทางประวัตศิ าสตร์ 3. ความสำคญั ของเวลาและยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร์ 3.2 สาระการเรยี นรู้ท้องถิ่น -  สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น 4.1 ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ 9

4.2 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต - กระบวนการทำงานกลุม่ - ทกั ษะการสืบค้น  คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน  กจิ กรรมการเรยี นรู้ (วิธีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการสรา้ งความตระหนกั )  นักเรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 1. ครนู ำแผนที่โลกมาให้นักเรยี นดู แลว้ ถามความรู้ว่านกั เรียนรูจ้ กั แหลง่ อารยธรรมโบราณทใี่ ดบ้าง พรอ้ มทง้ั ใหน้ กั เรยี นชแ้ี ผนทป่ี ระกอบ 2. ครูเชอื่ มโยงความสำคัญของเวลาตอ่ ชวี ิตประจำวันของนกั เรียน 3. นกั เรยี นระดมสมองถงึ ความร้เู ร่ืองภมู ิหลังและพัฒนาการของชาติไทยกบั แหลง่ อารยธรรมโลก 4. นกั เรียนศึกษาใบความรู้ เรื่อง ความรูเ้ กี่ยวกบั เวลาในประวตั ิศาสตร์ และทำใบงานท่ี 1.1 เร่ือง ความร้เู กีย่ วกับเวลาในประวตั ศิ าสตร์ เสร็จแลว้ ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั เฉลยคำตอบในใบงาน 5. นกั เรียนศกึ ษาเรอื่ ง แหล่งอารยธรรมโลก ทน่ี ักเรยี นสนใจ 1 เรื่อง แลว้ ให้นักเรียนนำขอ้ มลู แหลง่ อารยธรรมโลกทนี่ ักเรียนสนใจ มาแลกเปลีย่ นกนั 6. นกั เรียนศกึ ษาใบความรู้ เรอื่ ง การนับและการเทียบศักราชในประวัติศาสตร์ไทย 7. ครใู หน้ กั เรียนชว่ ยกันหาคำตอบจากกรณตี วั อยา่ งที่ครูกำหนดให้ เพื่อให้นักเรยี นฝกึ คำนวณการนับ และเทยี บศกั ราชตา่ งๆ ของไทย 8. ครูใหน้ กั เรยี นนำข้อมลู เวลาตามแหลง่ อารยธรรมโลกทีน่ กั เรียนสนใจ มาคำนวณเวลาให้เปน็ ระบบ ของไทย  การวัดและประเมนิ ผล เครอ่ื งมอื เกณฑ์ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ วธิ ีการ นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี น 10

นกั เรียนทำใบงานที่ 1.1 ใบงานท่ี 1.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ รายบุคคล  ส่อื /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สอ่ื การเรียนรู้ 1. หนังสือเรยี น ประวัตศิ าสตรส์ ากล ม.6 2. แผนทโ่ี ลก 3. ใบความรูเ้ รื่อง ความร้เู กี่ยวกบั เวลาในประวัติศาสตร์ 4. ใบความรเู้ รือ่ ง การนบั และการเทียบศกั ราชในประวัติศาสตร์ไทย 5. ใบงานที่ 1.1 เร่ือง ความรเู้ กยี่ วกบั เวลาในประวัตศิ าสตร์ 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1. ห้องสมดุ 2. เหตุการณ์สำคัญทางประวัตศิ าสตร์ 11

บนั ทึกผลหลงั การสอน ปัญหาและอปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. แนวทางแกป้ ญั หา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ….………………………………ผ้สู อน ( นางสุชาดา ประมุข ) ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรยี นสตรีปากพนัง  เหน็ ควรใหใ้ ช้แผนการจัดการเรยี นรู้  เหน็ ควรปรับปรุงแก้ไข ........................................................................................................................................ ลงช่ือ................................................. 12

( นายจิรพล ลวิ า ) หวั หน้ากลมุ่ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม  เห็นควรใหใ้ ช้แผนการจัดการเรยี นรู้  เหน็ ควรปรับปรงุ แก้ไข ........................................................................................................................................ ลงชอ่ื .............................................. ( นางกญั ญารัตน์ สาระพนั ธ์ ) หวั หนา้ กลุ่มงานบริหารวชิ าการ  เหน็ ควรให้ใช้แผนการจัดการเรียนรู้  เห็นควรปรบั ปรงุ แก้ไข ........................................................................................................................................ ลงชอ่ื ................................................. ( นางจริ าพร รตั นกุล ) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสตรีปากพนงั แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล ลำดบั ชอ่ื – มคี วามตง้ั ใจ มคี วาม ความสะอาด ผลสำเรจ็ รวม ท่ี สกุล ในการ รบั ผิดชอบ ตรงตอ่ เวลา เรียบร้อย ของงาน 20 ทำงาน คะแนน 43214321432143214321 13

เกณฑ์การใหค้ ะแนน = ดีมาก ให้ 4 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ = ดี ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยครัง้ = พอใช้ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง = ปรับปรุงให้ 1 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมน้อยคร้งั เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 17 - 20 ดมี าก 13 - 16 ดี 9 - 12 5-8 พอใช้ ปรับปรุง ใบความรู้ เรือ่ ง ความรเู้ กย่ี วกับเวลาในประวัติศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ คือ วชิ าทีว่ า่ ดว้ ยเหตุการณ์หรือเร่ืองราวทเี่ กดิ ขน้ึ มาแลว้ ผา่ นไปตามกาลเวลา เป็นเร่อื ง ที่มคี วามสำคญั ควรแกก่ ารศึกษาและมีผลกระทบต่อทอ้ งถน่ิ ชมุ ชน สงั คมโลก ได้มีการบันทึกไว้ เพอื่ ให้ ชนรนุ่ หลังรบั รคู้ วามรู้เกีย่ วกบั เวลาในประวตั ศิ าสตร์ จงึ ทำให้ร้แู ละเปรยี บเทยี บช่วงเวลาของการเกิดเหตกุ ารณ์ วา่ ผ่านมานานแล้วเพยี งไร ศักราช หมายถึง ปที ่ตี งั้ ข้นึ ตามเหตุการณ์ วรรษ หมายถงึ ปี 14

ทศวรรษ หมายถงึ เวลาในระยะ 10 ปี ศตวรรษ หมายถึง เวลาในระยะ 100 ปี สหสั วรรษ หมายถึง เวลาในระยะ 1,000 ปี ศก หมายถึง ยคุ สมัย ปี วิธีนับปี ปีนักษตั ร หมายถงึ การนับปีที่กำหนด 12 ปี เป็น 1 รอบ คอื ชวด ฉลู ขาล เถาะ มะโรง มะเสง็ มะเมยี มะแม วอก ระกา จอ กนุ การนับเวลามี 2 แบบ คือ 1. นบั ตามปรากฏการณ์ของดวงอาทิตย์ที่โลกโคจรรอบ เรยี กวา่ นบั ทางสุรยิ คติ เป็นการนบั แบบ สากลในปัจจบุ นั และนับตามดวงจนั ทรท์ โี่ คจรรอบโลก เรยี กวา่ นับทางจันทรคติ เป็นการนบั เวลาแบบโบราณของดนิ แดนในเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจบุ ันยงั มใี ชบ้ า้ งในทาง พระพุทธศาสนาและโหราศาสตร์ 2. นับตามกำเนิดของศาสนาทสี่ ำคัญ คือ - พทุ ธศักราช (พ.ศ.) เร่ิมจากปที ีพ่ ระพทุ ธเจา้ ทรงปรินพิ พาน โดยพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ ัวทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหใ้ ช้เปน็ ทางการ เม่ือวันท่ี 23 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2455 - คริสต์ศกั ราช (ค.ศ.) เรมิ่ จากปีท่ีพระเยซปู ระสตู ิ แตกตา่ งจากพุทธศกั ราช 543 ปี - ฮจิ เราะหศ์ กั ราช (ฮ.ศ.) เริม่ จากทา่ นนบีมฮู มั หมัดอพยพจากเมอื งเมกกะไปยัง เมอื งเมดนิ ะ แตกตา่ งจากพทุ ธศกั ราช 1,122 ปี ใบความรู้ เร่อื ง การนับและไกปแาลรว้เท1ยีปีบศกั ราชในประวตั ศิ าสตร์ไทย พ.ศ. ใช้กันแพร่หลายในประเทศที่ประชาชน ม.ศ. เป็นศักราชท่ีเริ่มใชใ้ นอนิ เดยี โดย นับถอื พระพุทธศาสนา เช่น ไทย ลาว พมา่ และกมั พชู า พระเจา้ กนิษกะ แหง่ ราชวงศ์กษุ าณะทรงตั้งขึน้ โดยมกี ารเรมิ่ ใช้ พ.ศ. มาตัง้ แตส่ มยั อยุธยาในสมัยสมเดจ็ และต่อมาได้แพร่หลายไปยังดนิ แดนท่ไี ด้รบั อารย ธรรมอินเดีย มหาศักราชพบได้มากในจารึกสมัย พระนารายณม์ หาราช และใชอ้ ย่างเปน็ ทางการในสมยั 15 สโุ ขทยั และจารึกในดนิ แดนไทยรุ่นแรกๆ รชั กาลท่ี 6 จนถึงปจั จุบัน การเทียบมหาศกั ราชเป็น พ.ศ. ให้บวก ประเทศไทยเริม่ นับ พ.ศ.1 เม่อื พระพุทธเจ้า ดว้ ย 621 เสด็จดับขันธป์ รนิ ิพพานไปแล้ว 1 ปี

พ.ศ. ม.ศ. การนับศักราชแบบไทย จ.ศ. ร.ศ. จ.ศ. เปน็ ศักราชของพม่าสมยั พกุ ามกอ่ นแพร่ ร.ศ. เปน็ ศกั ราชทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระ เขา้ มาในดนิ แดนประเทศไทย นิยมใชใ้ นหลกั ฐานทาง จลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ทรงมพี ระราชดำริขึน้ ใชใ้ นกลางรชั ประวัติศาสตร์ไทยสมยั ตา่ งๆ ทั้งสมัยสโุ ขทัย อยุธยา สมยั ของพระองค์ โดยเร่ิมนบั ร.ศ.1 ในปที ส่ี ถาปนากรุง รัตนโกสนิ ทร์ตอนต้น และล้านนา รัตนโกสินทรเ์ ปน็ ราชธานี คอื พ.ศ. 2325 การเทยี บจุลศักราชเปน็ พ.ศ. ใหบ้ วกด้วย การเทียบรัตนโกสนิ ทร์ศกเป็น พ.ศ. ให้บวก 1181 ด้วย 2324 ใบงานท่ี 1.1 เรอื่ ง ความรเู้ กยี่ วกับเวลาในประวตั ศิ าสตร์ คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามที่กำหนดใหถ้ ูกต้อง 1. วชิ าท่ีเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือเรื่องราวทเี่ ปน็ มาแล้วผ่านไปตามกาลเวลา เรียกวา่ 16

2. ระยะเวลาในช่วง 10 ปี เรยี กว่า 3. ระยะเวลาในชว่ ง 100 ปี เรียกว่า 4. ปอี ธกิ สรุ ทินมีจำนวน วัน และเดือนกมุ ภาพันธม์ ี วนั 5. ในรอบ 1 ปี มีชื่อเดอื นท่ีลงทา้ ยวา่ “ คม ” เดือน คอื เดอื น 6. พุทธศักราช เกดิ กอ่ นคริสต์ศกั ราช ปี 7. คริสต์ศตวรรษท่ี 17 อยใู่ นระยะ ค.ศ. ถึง ค.ศ. 8. ปนี ีต้ รงกบั รตั นโกสนิ ทร์ศกใด 9. ผู้ท่ีนับถือศาสนาอิสลามนับจำนวนปเี ป็น 10. ปีทีน่ กั เรยี นเกิดคือ พ.ศ. ตรงกับ ค.ศ. ใบงานท่ี 1.1 เร่อื ง ความรเู้ กี่ยวกบั เวลาในประวตั ศิ าสตร์ 17

คำช้ีแจง ให้นักเรียนตอบคำถามทกี่ ำหนดให้ถูกต้อง 1. วชิ าท่ีเกยี่ วกับเหตกุ ารณ์หรือเรอื่ งราวท่เี ปน็ มาแล้วผ่านไปตามกาลเวลา เรยี กวา่ ประวตั ศิ าสตร์ 2. ระยะเวลาในชว่ ง 10 ปี เรียกวา่ ทศวรรษ 3. ระยะเวลาในชว่ ง 100 ปี เรยี กวา่ ศตวรรษ 4. ปีอธกิ สุรทินมีจำนวน 366 วัน และเดอื นกุมภาพนั ธ์มี 29 วนั 5. ในรอบ 1 ปี มีช่ือเดือนที่ลงทา้ ยวา่ “ คม ” 7 เดอื น คอื เดอื น มกราคม มีนาคม พฤษภาคม กรกฎาคม สิงหาคม ตลุ าคม ธันวาคม 6. พุทธศกั ราช เกดิ กอ่ นคริสต์ศักราช 543 ปี 7. คริสตศ์ ตวรรษท่ี 17 อยู่ในระยะ ค.ศ. 1601 ถึง ค.ศ. 1700 8. ปนี ้ตี รงกับรตั นโกสินทร์ศกใด 266 (2551-2325) 9. ผ้ทู น่ี ับถอื ศาสนาอิสลามนบั จำนวนปีเปน็ ฮิจเราะหศ์ ักราช 10. ปที ่ีนกั เรยี นเกิดคอื พ.ศ. ตรงกับ ค.ศ. (เฉลยตามอายุของนกั เรยี น) 18

แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 2 ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 เวลา 3 ชั่วโมง ประวัตศิ าสตรส์ ากล หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เวลาและการแบง่ ยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร์สากล เรอื่ ง ยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์  สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด ยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์แสดงให้เห็นถงึ การเปล่ียนแปลงของมนษุ ยชาตติ ามกาลเวลา และสามารถ เปรียบเทยี บเหตุการณ์ในประวตั ิศาสตร์ไทย สากล และภมู ิภาคที่สำคญั ของโลก  ตัวชี้วดั /จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 2.1 ตวั ชว้ี ัด ส 4.1 ม.4-6/1 ตระหนกั ถงึ ความสำคัญของเวลาและยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร์ท่แี สดงถึง การเปล่ยี นแปลงของมนษุ ยชาติ 2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายวธิ ีการแบง่ ยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์สากลและภูมิภาคท่ีสำคัญของโลก 2. ตระหนกั ถึงความสำคญั ของเวลาและยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร์ 3. เปรยี บเทียบเหตุการณ์ในประวัตศิ าสตร์ไทย สากล และภูมิภาคท่ีสำคัญของโลก ที่แสดงถึงความสมั พันธใ์ นการตอ่ เน่อื งของกาลเวลา  สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 1. เวลาและยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตรท์ ี่ปรากฏในหลักฐานทางประวัตศิ าสตรไ์ ทย และประวัตศิ าสตร์สากล 2. ตัวอยา่ งเวลาและยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ของสังคมมนุษย์ท่ีมปี รากฏในหลกั ฐาน ทางประวตั ศิ าสตร์ 3. ความสำคญั ของเวลาและยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์ 3.2 สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิน่ - 17

 สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 4.1 ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ 4.2 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต - กระบวนการทำงานกล่มุ - ทกั ษะการสบื คน้  คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน  กิจกรรมการเรียนรู้ (วธิ ีสอนโดยการจัดการเรียนร้แู บบรว่ มมอื : เทคนคิ การจัดทมี แข่งขัน) ช่ัวโมงท่ี 1 1. ให้นักเรยี นนบั 1- 4 เพอ่ื กำหนดหมายเลขประจำตัว 2. ให้นักเรยี นศกึ ษาความรูเ้ กีย่ วกบั ประเด็นความรู้ท่ีตรงกับหมายเลขทน่ี กั เรียนนับ โดยใหน้ ักเรยี น ที่นับหมายเลขเดยี วกนั ร่วมกนั ศึกษาและสรปุ ความรู้ ดังน้ี - หมายเลข 1 การแบ่งยคุ สมยั ทางประวัติศาสตร์ตะวนั ตก : สมัยกอ่ นประวัติศาสตร์ - หมายเลข 2 การแบง่ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ตะวันตก : สมยั ประวัตศิ าสตร์ - หมายเลข 3 การแบง่ ยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร์ตะวันออก : จีน - หมายเลข 4 การแบ่งยคุ สมัยทางประวัติศาสตรต์ ะวันออก : อนิ เดีย 3. นกั เรียนในแตล่ ะหมายเลขร่วมกนั สรปุ ความรู้ และซกั ถามข้อสงสยั กับสมาชกิ ในกลมุ่ จนเกิด ความเข้าใจตรงกนั 4. ให้นักเรียนรวมกลมุ่ ใหม่ กลมุ่ ละ 4 คน โดยในแต่ละกลุม่ จะตอ้ งมสี มาชิกครบท้งั 4 หมายเลข แลว้ ให้แลกเปลี่ยนความรแู้ ละซกั ถามกนั ในกลุ่ม 18

5. ใหน้ กั เรียนทำใบงานท่ี 2.1 เรื่อง การแบง่ ยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ 6. ให้นกั เรียนศึกษาความรเู้ พ่ิมเตมิ และทบทวนความรู้ แลว้ นดั หมายให้นักเรยี นเตรียมความพร้อม เพอ่ื เลน่ เกมเก็บแตม้ ในชว่ั โมงเรยี นต่อไป ชั่วโมงที่ 2- 1. นักเรียนรว่ มกนั ทบทวนความรู้จากทีไ่ ดศ้ 3กึ ษาในชั่วโมงทผี่ า่ นมา 2. ครูสอบถามเกี่ยวกับความพร้อมกอ่ นการเล่นเกมเก็บแตม้ แล้วอธบิ ายวิธีการเลน่ เกมเกบ็ แต้ม (เอกสารประกอบการสอน เกมเกบ็ แตม้ ) 3. ให้นกั เรียนเลน่ เกมตามวิธกี ารเล่นเกม โดยมีครูคอยใหค้ ำแนะนำ หรอื สังเกตพฤตกิ รรมการร่วม กจิ กรรมของนกั เรยี น 4. นักเรียนรว่ มกนั สรุปผลการเล่นเกมเก็บแตม้ ครูให้ข้อเสนอแนะเพมิ่ เตมิ เก่ียวกับการทำกิจกรรม รว่ มกนั 5. ใหน้ ักเรียนกลุ่มท่ีชนะในการเลน่ เกมส่งตัวแทนออกมาบอกถงึ การเตรียมความพรอ้ มในการเลน่ เกม และใหเ้ พ่ือนปรบมอื ชมเชยในความสามารถของเพอ่ื นๆ 6. ให้นกั เรยี นร่วมกนั เลน่ เกมฉันคอื .... (เอกสารประกอบการสอน เกม ฉันคอื ...) โดยครกู ำหนด เวลาในการเล่นเกมประมาณ 20-30 นาที (กำหนดโดยพิจารณาจากความพรอ้ มของนกั เรียน) 7. ให้นักเรยี นสรปุ ผลคะแนนจากการเล่นเกม และความร้ทู ี่ไดร้ ับ 8. ครูชมเชยในความสามารถและการทำงานรว่ มกนั อย่างสมานสามัคคขี องนักเรยี นทุกกลุ่ม 9. ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั ศกึ ษาเรื่อง ตวั อยา่ งเวลาและยคุ สมัยทป่ี รากฏอยู่ในหลักฐานทาง ประวัตศิ าสตร์สากล ในหนงั สือเรียน แล้วเปรยี บเทียบและสรุปความรู้ 10. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกนั จดั ทำผังมโนทัศน์แสดงการเปล่ยี นแปลงของมนษุ ยชาติที่เปน็ ผลจาก เวลา และยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ 11. ให้ตวั แทนแต่ละกลมุ่ ออกมานำเสนอผลงานการออกแบบผังมโนทศั นห์ น้าชั้นเรียน  นักเรยี นทำแบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 19

 การวัดและประเมินผล วิธีการ เคร่ืองมอื เกณฑ์ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ นักเรยี นทำใบงานท่ี 2.1 ใบงานที่ 2.1 ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ นักเรียนรว่ มกนั จดั ทำผงั มโนทศั น์ แบบประเมนิ ผังมโนทศั น์แสดงการ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ แสดงการเปล่ียนแปลงของมนษุ ยชาติ เปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติ ท่ีเป็นผล รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ทเ่ี ป็นผลจากเวลา และยคุ สมัยทาง จากเวลา และยคุ สมยั ทาง ประวตั ิศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ นกั เรยี นนำเสนอผลงาน แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบหลังเรยี น  สือ่ /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 ส่อื การเรียนรู้ 1. หนังสอื เรียน ประวัติศาสตร์สากล ม.4-ม.6 2. เกมเกบ็ แต้ม 3. เกมฉนั คือ 4. ใบงานท่ี 2.1 เร่ือง การแบง่ ยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ 5. google classroom 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1. ห้องสมุด 2. หอ้ งเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. google classroom 20

บันทึกผลหลงั การสอน ปัญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. แนวทางแก้ปญั หา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ….………………………………ผู้สอน ( นางสุชาดา ประมุข ) ครชู ำนาญการพเิ ศษ 21

โรงเรยี นสตรีปากพนัง  เห็นควรให้ใช้แผนการจัดการเรยี นรู้  เหน็ ควรปรับปรุงแกไ้ ข ........................................................................................................................................ ลงชอ่ื ................................................. ( นายจริ พล ลิวา ) หัวหนา้ กล่มุ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม  เหน็ ควรใหใ้ ช้แผนการจัดการเรยี นรู้  เห็นควรปรบั ปรุงแกไ้ ข ........................................................................................................................................ ลงชอ่ื .............................................. ( นางกัญญารตั น์ สาระพันธ์ ) หวั หน้ากลุม่ งานบริหารวิชาการ  เหน็ ควรใหใ้ ชแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้  เหน็ ควรปรับปรงุ แกไ้ ข ........................................................................................................................................ ลงชือ่ ................................................. ( นางจริ าพร รัตนกลุ ) ผู้อำนวยการโรงเรียนสตรีปากพนงั แบบประเมินผงั มโนทัศน์แสดงการเปล่ยี นแปลงของมนุษยชาติที่เป็นผลจากเวลา และยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ ลำดับ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 22

ท่ี 4321 1 ความถูกตอ้ งของเนอ้ื หาสาระ 2 ความคิดสร้างสรรค์ รวม ผปู้ ระเมนิ ) ลงช่ือ ( // เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ระดบั คณุ ภาพ 4 หมายถึง ดมี าก ช่วงคะแนน 3 หมายถึง ดี 7-8 2 หมายถงึ พอใช้ 5-6 1 หมายถงึ ปรบั ปรงุ 3-4 1-2 แบบประเมินการนำเสนอผลงาน ลำดบั ท่ี รายการประเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1 23 32

1 เนอื้ หาละเอยี ดชดั เจน 2 ความถูกตอ้ งของเน้ือหา 3 ภาษาทีใ่ ช้เข้าใจงา่ ย 4 ประโยชนท์ ไี่ ด้จากการนำเสนอ 5 วิธีการนำเสนอผลงาน รวม ลงชอื่ ผู้ประเมนิ () // เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 4 คะแนน การนำเสนอผลงานสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ สมบูรณ์ชัดเจน ให้ 3 คะแนน การนำเสนอผลงานสอดคลอ้ งกับรายการประเมินเปน็ ส่วนใหญ่ การนำเสนอผลงานสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ บางส่วน ให้ 2 คะแนน การนำเสนอผลงานไมส่ อดคล้องกับรายการประเมนิ ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 17-20 4 หมายถึง ดีมาก 13-16 3 หมายถงึ ดี 9-12 2 หมายถึง พอใช้ 5-8 1 หมายถงึ ปรบั ปรงุ การเตรยี มการเลม่ เกมเก็บแตม้ เอกสารประกอบการสอน เกมเก็บแต้ม 24

1. นักเรยี นแบ่งกลุม่ ออกเป็น 6 กลุ่ม โดยให้มีจำนวนสมาชิกเท่าๆ กัน 2. นักเรยี นแต่ละกลุ่มศึกษาสืบค้นข้อมลู แหล่งอารยธรรมโลก และต้งั คำถามเปน็ แบบปรนัย 4 ตัวเลือก กลมุ่ ละ 4 คำถาม พร้อมเฉลย เพอ่ื ให้นักเรียนมีบทบาทและมีสว่ นร่วมในการสร้างความรู้ ไดด้ ว้ ยตนเอง 3. นักเรียนสง่ คำถามพรอ้ มเฉลยที่ผู้ดำเนนิ การเลน่ เกม วธิ กี ารเลม่ เกมเกบ็ แต้ม 1. นกั เรยี นนงั่ เป็นกลมุ่ ท้ังหมด 6 กลุ่ม 2. ผดู้ ำเนินเกมเริม่ เล่นเกมโดยคดั เลอื กคำถามทีน่ ักเรียนส่งมาและใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ เลือกคำถาม โดยตอบเรียงลำดับต้ังแตก่ ลุ่มที่ 1 เป็นต้นไป 3. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มตอบคำถาม 4. กล่มุ ใดท่ีตอบถกู จะไดค้ ะแนนข้อละ 1 คะแนน และจะได้เปดิ ปา้ ยเพือ่ เลอื กแต้มสะสมคะแนน ซึ่งจะมีแตม้ ใหส้ ะสมคะแนนตัง้ แต่ 0 – 5 แต้ม 5. กลุม่ ท่ไี ดแ้ ต้มคะแนนมากท่ีสุดจะเป็นผู้ชนะ กตกิ าการเล่นเกมเกบ็ แตม้ 1. ให้นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ใชเ้ วลาในการตอบคำถามขอ้ ละ 30 วนิ าที 2. นกั เรียนสามารถศกึ ษาเพมิ่ เติมจากเน้ือหาได้ คำถามเกมเก็บแต้ม 1. ชุมชนบ้านเชียง จัดอย่ใู นยุคใด ข. ยุคหินเก่า ก. ยุคหินแรก 25

ค. ยคุ หนิ กลาง ง. ยุคหนิ ใหม่ 2. ระบบเงินตราของจีน เปน็ อตั ราเดยี วกันทัว่ จักรวรรดใิ นสมยั ราชวงศ์ใด ก. โจว ข. จ๋นิ ค. ถัง ง. ฮ่นั 3. สิง่ ใดไม่ใชส่ ิ่งประดษิ ฐ์ท่ีชาวจนี คิดขึ้นมา ก. เขม็ ทศิ ข. นาฬกิ าแดด ค. หลอดไฟ ง. เคร่อื งตรวจแผ่นดนิ ไหว 4. ระบบเศรษฐกิจของจนี ไดร้ ับการผอ่ นคลายให้เป็นเสรนี ยิ มมากข้นึ ในสมยั ผ้นู ำใด ก. จู เอ็น ไล ข. ซุนยดั เซ็น ค. เหมา เจอ๋ ตงุ ง. เต้งิ เส่ียว ผิง 5. วรรณกรรมเร่อื งรามายณะและมหาภารตะของอนิ เดีย สะท้อนแนวคิดเรอ่ื งใดเปน็ สำคัญ ก. ระเบียบวนิ ยั ข. ความสามัคคี ค. ความกตัญญู ง. ความรับผิดชอบต่อหนา้ ท่ี 6. กษตั ริย์อนิ เดียพระองคใ์ ดที่ทรงเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาไปยงั ดนิ แดนตา่ งๆในเอเชีย ก. พระเจ้าพิมพิสาร ข. พระเจา้ อชาตศัตรู ค. พระเจา้ มลิ ินทรราชา ง. พระเจา้ อโศกมหาราช 7. แนวความคดิ ของกล่มุ เมโสโปเตเมียมองฐานะของตนในสายตาพระเจา้ เหมอื นอะไร ก. ขนม ข. ของเลน่ ค. ของขวัญ ง. ลูกของพระองค์ 8. ชาวสเุ มเรียนจารกึ อกั ษรภาพ (คูนิฟอรม์ ) ลงบนวัสดอุ ะไร ก. ไม้ ข. หิน ค. ดินเหนียว ง. กระดาษ 9. ขอ้ ใดเปน็ ผลงานของสถาปัตยกรรมแบบเรอเนสซองก์ ก. หอเอนปิซา – อติ าลี ข. หอไอเฟล – ฝรงั่ เศส ค. วหิ ารเวสมนิ เตอร์ - อังกฤษ ง. วิหารเซนต์ปเี ตอร์ - อิตาลี 10. ขอ้ ใดเปน็ ผลงานของลโี อนาโด ดาวนิ ชี 26

ก. ยโู ทเปยี ข. โมนาลซิ า ค. สาวนอ้ ยเตน้ ระบำ ง. เรอื กลไฟ เฉลยเกมเก็บแต้ม 1. ง 2. ข 3. ค 4. ง 5. ง 27

6. ง 7. ข 8. ค 9. ง 10. ข ---------------------------------------------------------- เอกสารประกอบการสอน เกมฉันคือ 28

การเตรียมการเล่มเกมฉันคือ 1. นักเรียนแบง่ กลุ่มออกเป็น 6 กลุม่ กลมุ่ ละเทา่ ๆ กัน ตามความสมัครใจ 2. นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ศึกษาความรเู้ กย่ี วกับยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ 3. นักเรยี นต้งั คำถามเป็นแบบปรนยั 4 ตัวเลอื ก กลุ่มละ 4 คำถาม พรอ้ มเฉลย เพื่อให้นกั เรยี น มีบทบาทและมสี ว่ นร่วมในการสรา้ งความรไู้ ด้ดว้ ยตนเอง 4. นกั เรียนส่งคำถามพร้อมเฉลยท่ีผดู้ ำเนนิ การเล่นเกม วธิ ีการเล่มเกมฉันคือ 1. นกั เรียนนงั่ เป็นกล่มุ ทัง้ หมด 6 กลุ่ม 2. ผดู้ ำเนินการเล่มเกม (หวั หน้าหอ้ ง) คัดเลอื กคำถามทีน่ กั เรียนส่งมาและใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุ่ม เลือกคำถาม โดยผดู้ ำเนินการเลม่ เกมจบั ฉลากเลอื กกลุ่มจะได้ตอบคำถาม 3. กลมุ่ ท่ีตอบถกู จะได้คะแนนข้อละ 2 คะแนน และถ้าไมแ่ นใ่ จว่าจะตอบไดห้ รือไม่ สามารถ โยนใหก้ ลุม่ ใดเปน็ ผ้ตู อบแทนกไ็ ด้ 4. กลุม่ ทีไ่ ดค้ ะแนนมากท่สี ดุ จะเปน็ ผชู้ นะ กตกิ าการเล่นเกมฉนั คอื 1. คำถามทกุ ขอ้ จะต้องมีคำวา่ ฉันคอื 2. แตล่ ะกลุ่มใชเ้ วลาในการตอบคำถามข้อละ 30 วนิ าที 3. นกั เรียนสามารถดูเนอ้ื หาได้ 4. กลมุ่ ใดท่ีถกู เพื่อนโยนใหต้ อบคำถามจะต้องตอบคำถามนั้นถงึ แมจ้ ะตอบไมไ่ ดก้ ต็ าม ใบงานท่ี 2.1 29

เรื่อง การแบง่ ยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ คำชแี้ จง ให้นกั เรียนตอบคำถาม หรอื อธบิ ายใหไ้ ด้ใจความ 1. มนษุ ย์ไดส้ รา้ งสรรคส์ ่งิ ประดษิ ฐต์ ่างๆ มากมาย มจี ุดมงุ่ หมายสำคญั อย่างไร 2. หลักเกณฑส์ ำคัญทนี่ กั ปราชญ์ใชใ้ นการแบ่งยุคสมัยของการศึกษาประวตั ิศาสตร์ คือ โดยใช้ เปน็ เครื่องกำหนดแยกยอ่ ยลงไปอีก 3. จุดเด่นของมนุษยย์ คุ หินเก่า คือ 4. จดุ เด่นของมนษุ ย์ยคุ หินใหม่ คือ 5. มนษุ ยใ์ นยุคหนิ เกา่ หนิ กลาง หนิ ใหม่ มีความเป็นอยูแ่ ละการดำรงชีวติ ทีต่ ่างกนั แต่มสี ง่ิ หนึ่งทคี่ ลา้ ยกนั คือ 6. แหล่งอารยธรรมสำคัญของอยี ปิ ต์โบราณมีศนู ยก์ ลางอยู่ที่ ตัวอยา่ งศลิ ปกรรมที่สำคญั ได้แก่ 7. คำว่า “ เมโสโปเตเมีย ( MESOPOTAMIA ) ” หมายถึง ปจั จุบนั อยู่ในประเทศ 8. มรดกสำคญั ทช่ี าวฮบี รมู อบใหแ้ ก่ชาวโลก คอื 9. แหล่งอารยธรรมสำคญั ของอนิ เดียโบราณมศี นู ยก์ ลางอยูท่ ่ลี ุ่มแมน่ ำ้ ตวั อย่างศลิ ปกรรมที่สำคัญ ไดแ้ ก่ 10. แหล่งอารยธรรมสำคญั ของจนี โบราณมีศูนยก์ ลางอยู่ท่ี 30

ใบงานท่ี 2.1 เรอื่ ง การแบง่ ยคุ สมยั ทางประวัตศิ าสตร์ คำช้ีแจง ใหน้ กั เรียนตอบคำถาม หรอื อธบิ ายใหไ้ ดใ้ จความ 1. มนุษย์ได้สร้างสรรค์สิง่ ประดษิ ฐ์ตา่ งๆ มากมาย มีจดุ มุง่ หมายสำคญั อย่างไร เพอ่ื เอาตัวรอด และเพื่อความสะดวกสบาย 2. หลกั เกณฑส์ ำคญั ทน่ี กั ปราชญใ์ ชใ้ นการแบ่งยคุ สมัยของการศึกษาประวตั ศิ าสตร์ คือ ลายลักษณ์-อกั ษร โดยใช้ เคร่ืองมอื เคร่ืองใช้ เป็นเครอื่ งกำหนดแยกย่อยลงไปอกี 3. จุดเดน่ ของมนุษยย์ คุ หินเกา่ คือ อาศยั อยู่ในถ้ำ ล่าสตั วโ์ ดยใช้อาวธุ หนิ ย่อย ร้จู ักใชไ้ ฟ มีการฝงั ศพ 4. จุดเด่นของมนุษย์ยุคหินใหม่ คือ สรา้ งบ้านเรือนริมแม่นำ้ ร้จู ักการเพาะปลูก ทอผา้ ทำภาชนะดินเผา 5. มนุษยใ์ นยุคหนิ เกา่ หนิ กลาง หินใหม่ มีความเป็นอยู่และการดำรงชีวติ ทต่ี ่างกนั แต่มสี ิ่ง หนงึ่ ที่คล้ายกัน คือ เครอ่ื งมือเครอื่ งใชท้ ำดว้ ยหิน 6. แหลง่ อารยธรรมสำคญั ของอียิปตโ์ บราณมีศูนย์กลางอยทู่ ี่ ล่มุ แม่นำ้ ไนล์ ตัวอยา่ งศลิ ปกรรมที่สำคญั ได้แก่ พีระมดิ สฟิงซ์ มมั มี่ 7. คำว่า “ เมโสโปเตเมีย (MESOPOTAMIA) ” หมายถึง ดินแดนระหวา่ ง 2 แม่นำ้ ปจั จุบันอยู่ในประเทศ อริ ัก 8. มรดกสำคญั ทช่ี าวฮบี รูมอบใหแ้ กช่ าวโลก คือ ศาสนายูดาห์ คริสต์ อิสลาม 9. แหล่งอารยธรรมสำคญั ของอนิ เดยี โบราณมีศูนยก์ ลางอยู่ทล่ี ุ่มแมน่ ้ำ สนิ ธุ ตวั อย่างศิลปกรรมท่สี ำคญั ไดแ้ ก่ เมอื งโบราณท่ีเมอื งฮารัปปา เมืองโมเฮนโจ-ดาโร สุสานทชั มาฮาล 10. แหล่งอารยธรรมสำคญั ของจีนโบราณมีศนู ย์กลางอยู่ท่ี ลุ่มแม่นำ้ ฮวงโห 31

2 ประวตั ิศาสตร์สากล กลุ่มสาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 เวลาเรียน 4 ช่วั โมง  มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้ีวดั ส 4.1 ม.4-6/2 สรา้ งองค์ความรใู้ หม่ทางประวัตศิ าสตร์ โดยใชว้ ธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ อยา่ งเปน็ ระบบ  สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด การสรา้ งองค์ความรู้ใหมท่ างประวตั ศิ าสตรส์ ากล โดยใช้วิธีการทางประวตั ิศาสตร์อย่างเป็นระบบ ย่อมทำให้ผลการศกึ ษานนั้ มคี ณุ ค่า และเป็นทย่ี อมรับในวงวิชาการ  สาระการเรยี นรู้ 3.1สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. ข้นั ตอนของวิธีการทางประวัตศิ าสตร์ โดยนำเสนอตัวอย่างทลี ะขั้นตอนอยา่ งชดั เจน 2. คุณค่าและประโยชนข์ องวธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ทีม่ ตี ่อการศึกษาทางประวัตศิ าสตร์ 3. ผลการศึกษา หรือโครงงานทางประวตั ิศาสตร์ 3.2 สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถิน่ -  สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน 4.1 ความสามารถในการคดิ - ทักษะการคิดวเิ คราะห์ 4.2 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ - กระบวนการทำงานกลมุ่ - ทกั ษะการสืบคน้ - ทักษะการคิดแบบวธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ 29

 คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน  ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) การจัดทำโครงงานทางประวตั ิศาสตร์  การวดั และการประเมนิ ผล 7.1การประเมนิ กอ่ นเรียน - นกั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 7.2 การประเมนิ ระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง ความหมายและความสำคญั วชิ าประวตั ิศาสตร์ 2. ใบงานที่ 1.2 เร่ือง วธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ 3. ใบงานท่ี 1.3 เรื่อง ศึกษาอารยธรรมโลกโดยใช้วธิ ีการทางประวัติศาสตร์ 4. ใบงานท่ี 2.1 เร่อื ง การจำแนกหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ 5. ใบงานที่ 2.2 เรือ่ ง การวิเคราะห์หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตรท์ ่ีน่าสนใจ 6. ใบงานที่ 2.3 เรอ่ื ง ฉนั คอื อะไร 7. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล 8. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ 9. สงั เกตการนำเสนอผลงานหน้าชน้ั เรียน 7.3 การประเมนิ หลังเรียน - นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 7.4 การประเมนิ ชิน้ งาน / ภาระงาน (รวบยอด) - ประเมินโครงงานทางประวตั ิศาสตร์ 30

การประเมนิ ช้นิ งาน / ภาระงาน (รวบยอด) แบบประเมนิ โครงงานทางประวตั ศิ าสตร์ รายการประเมนิ คำอธบิ ายระดับคณุ ภาพ/ระดบั คะแนน 1. การกำหนดประเด็น 4321 ปญั หาหรือขอ้ สมมุตฐิ าน เขียนจดุ เร่ิมตน้ ของ เขยี นจดุ เร่ิมตน้ ของ เขียนจดุ เรมิ่ ต้นของ เขยี นจดุ เร่ิมต้นของ 2. การรวบรวมหลักฐาน การศกึ ษาข้อมูล การศึกษาขอ้ มลู การศึกษาขอ้ มูล การศึกษาขอ้ มูลไม่ 3. การวเิ คราะห์และ พร้อมอธิบาย พรอ้ มอธบิ าย พร้อมอธบิ าย เป็นระบบ ไม่ ประเมินค่าข้อมูล เหตผุ ล ไดถ้ ูกต้อง เหตผุ ลตรงตาม เหตผุ ลตรงตาม แสดงเหตุผล 4. การตคี วามและ กำหนดสมมุติฐาน ประเดน็ เปน็ สว่ น ประเดน็ เป็น ประกอบ ไดอ้ ย่างเหมาะสม ใหญ่ มีการกำหนด บางสว่ น มีการ ไม่มกี ารกำหนด หรอื เป็นเหตุเป็น สมมุติฐานอยา่ ง กำหนดสมมุติฐาน สมมตุ ฐิ าน ผล เปน็ เหตเุ ป็นผล อย่างเปน็ เหตเุ ปน็ ผล แสดงหลักฐาน แสดงหลกั ฐาน แสดงหลักฐาน แสดงหลักฐาน ขอ้ มลู ทาง ข้อมูลทาง ข้อมลู ทาง ข้อมลู ทาง ประวัตศิ าสตรใ์ น ประวัตศิ าสตรใ์ น ประวตั ศิ าสตร์ใน ประวัตศิ าสตร์ใน การสืบคน้ อย่าง การสืบคน้ อย่าง การสืบค้นอยา่ ง การสืบค้นอยา่ ง หลากหลาย หลากหลาย หลากหลาย หลากหลาย ถูกต้อง สมั พันธ์ ถกู ต้อง สมั พันธ์ ถกู ตอ้ ง สมั พันธ์ ถกู ต้อง แต่ไม่ กับเรื่องทส่ี ืบคน้ กบั เร่อื งทีส่ ืบคน้ กบั เรื่องทีส่ บื คน้ สัมพนั ธ์กับเร่อื งท่ี เป็นสว่ นใหญ่ เปน็ บางส่วน สืบคน้ แสดงการวเิ คราะห์ แสดงการวิเคราะห์ แสดงการวเิ คราะห์ แสดงการวเิ คราะห์ หลกั ฐานทีป่ รากฏ หลักฐานทีป่ รากฏ หลักฐานทป่ี รากฏ หลกั ฐานไม่มี วา่ ถกู ตอ้ งตามยุค ว่าถกู ตอ้ งตามยุค วา่ ถกู ตอ้ งตามยคุ เหตุผลทน่ี ่าเชื่อถือ สมยั อย่างมเี หตผุ ล สมัยอย่างมเี หตผุ ล สมยั อย่างมเี หตุผล เปน็ สว่ นใหญ่ เป็นบางสว่ น เขยี นสรุป เขียนสรปุ เขยี นสรุป เขียนสรปุ 31

สงั เคราะห์ ความสำคัญและ ความสำคัญและ ความสำคัญและ ความสำคัญและ ขอ้ มูล ความน่าเช่ือถอื ความนา่ เชอ่ื ถือ ความน่าเชื่อถอื ความน่าเชื่อถอื ของหลักฐานอยา่ ง ของหลกั ฐานอยา่ ง ของหลกั ฐานอย่าง ของหลักฐาน แต่ มเี หตุผลเหมาะสม มีเหตผุ ลเหมาะสม มเี หตุผลเหมาะสม ไม่มีเหตผุ ล เปน็ ส่วนใหญ่ เปน็ บางส่วน รายการประเมนิ คำอธบิ ายระดับคณุ ภาพ/ระดบั คะแนน 5. การนำเสนอข้อมลู 4 321 เรยี บเรียงข้อมลู เรียบเรยี งข้อมูล เรยี บเรยี งข้อมลู เรยี บเรียงข้อมลู จากการสืบค้นได้ จากการสบื ค้นได้ จากการสบื คน้ ได้ จากการสบื คน้ ใจความสมบรู ณ์ ใจความคอ่ นข้าง ใจความถูกต้องเป็น ไมไ่ ด้ใจความ แต่ ถกู ตอ้ ง และตรง สมบูรณ์ ถกู ตอ้ ง บางส่วน และตรง ตรงตาม ตามวัตถุประสงค์ และตรงตาม ตามวัตถปุ ระสงค์ วตั ถุประสงค์ หรอื สมมตุ ิฐาน วตั ถุประสงค์ หรอื สมมุติฐาน เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ระดบั คณุ ภาพ 4 หมายถงึ ดมี าก ช่วงคะแนน 3 หมายถึง ดี 17-20 13-16 32

9-12 2 หมายถึง พอใช้ 5-8 1 หมายถึง ปรับปรุง  กจิ กรรมการเรียนรู้  นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 กิจกรรมที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ เวลา 2 ชว่ั โมง วิธสี อนโดยการจัดการเรียนรแู้ บบร่วมมือ : เทคนิคกล่มุ สืบคน้ วธิ สี อนประวัตศิ าสตร์โดยใชว้ ธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ 1. นักเรยี นแบ่งกลุม่ กลมุ่ ละ 4 คน เพอื่ ศกึ ษาใบความรู้ เร่ือง ความหมายของประวัติศาสตร์ และ ความสำคัญของประวตั ศิ าสตร์ จากนนั้ ให้นกั เรียนอภปิ รายระดมสมองกันเพอื่ สรปุ ทำใบงานที่ 1.1 เรือ่ ง ความหมายและความสำคัญวชิ าประวัติศาสตร์ 2. ใหต้ ัวแทนนักเรยี นแต่ละกลมุ่ เฉลยคำตอบใบงาน พรอ้ มสรปุ ความหมายและความสำคญั ของ ประวตั ิศาสตร์ 3. นกั เรียนศึกษาใบความรู้ เรื่อง วิธีการทางประวตั ศิ าสตร์ 4. นกั เรยี นทำใบงานที่ 1.2 เรื่อง วธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ ครูเฉลยคำตอบในใบงานให้นักเรยี นตรวจ คำตอบ 5. ครนู ดั หมายนักเรยี นหากรณีศึกษาทีน่ กั เรียนสนใจเกี่ยวกบั เรื่อง อารยธรรมโลก เพือ่ นำมาศึกษาเปน็ โครงงานทางประวัตศิ าสตร์ 6. นักเรียนนำขอ้ มลู กรณีศึกษาเรอ่ื ง อารยธรรมโลก ทีส่ นใจ 1 เรอื่ ง มาวิเคราะห์โดยใชว้ ธิ ีการทาง ประวตั ิศาสตร์ 7. นักเรียนทำใบงานท่ี 1.3 เร่อื ง ศึกษาอารยธรรมโลกโดยใชว้ ิธีการทางประวัติศาสตร์ 33

กิจกรรมที่ 2 หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ วิธีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการกลุ่ม เวลา 2 ชั่วโมง วิธสี อนประวตั ศิ าสตรโ์ ดยใช้วธิ ีการทางประวัติศาสตร์ 1. ครนู ำภาพทางประวตั ศิ าสตร์มาใหน้ ักเรยี นดู แลว้ ให้นักเรยี นตอบคำถามเกีย่ วกับภาพ ตามทัศนะและความร้เู ดมิ 2. นักเรยี นศกึ ษาใบความรู้ เรื่อง การจำแนกหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ 3. นักเรยี นทำใบงานที่ 2.1 เรื่อง การจำแนกหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ 4. ให้นกั เรียนทำใบงานท่ี 2.2 เร่ือง การวิเคราะหห์ ลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรท์ ี่น่าสนใจ 5. ครแู บง่ นกั เรียนเปน็ 8 กลมุ่ ตามชนดิ ของหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ทนี่ ำมาเสนอ และทำ รายงานเร่ือง หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ทน่ี ่าสนใจ 6. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ สง่ ตัวแทนรายงานผลงานที่ทำ จากนน้ั จงึ สรปุ เสนอผลงานหลกั ฐาน ทางประวัตศิ าสตรท์ ีน่ า่ สนใจ ในรูปแบบ Power Point แลว้ กำหนดวนั สง่ ผลงานรว่ มกัน 7. ใหน้ ักเรยี นทำใบงานท่ี 2.3 เรอื่ ง ฉันคอื อะไร 8. ให้นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ เลอื กสืบคน้ หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ท่ีสมาชิกในกลุม่ สนใจเพ่ือทำ กจิ กรรมโครงงานทางประวัตศิ าสตร์  นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2  สือ่ /แหล่งการเรยี นรู้ 9.1สอ่ื การเรยี นรู้ 1. หนงั สือเรียน ประวัติศาสตร์สากล ม.4-ม.6 2. เอกสารประกอบการสอน 3. ใบความรู้ 4. ใบงาน 5. google classroom 9.2แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องสมดุ 34

2. ห้องเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. แหล่งข้อมูลสารสนเทศ www.dopa.go.th/history/polith.htm www.ipst.ac.th/thaiversion/publications/in_sci/history.shtml google classroom หมายเหตุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ท้งั หมดผู้สอนสามารถปรบั ใชโ้ ดยผ่าน แอพพลเิ คชั่น Google คลาสรมู แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ประจำหน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 คำชี้แจง : ใหน้ ักเรยี นเลือกคำตอบท่ีถกู ต้องทส่ี ดุ เพยี งคำตอบเดียว 1. สงิ่ สำคญั ทเี่ ก่ียวข้องกับประวตั ศิ าสตร์ คือขอ้ ใด ก. หลักฐานต่างๆในแตล่ ะยุคสมยั ข. บุคคลสำคญั และสถานที่ท่เี กีย่ วขอ้ ง ค. ข้อมูลของมนุษย์และช่วงเวลาทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ง. พฤตกิ รรมของมนุษยแ์ ละสถานที่ที่เกยี่ วข้อง 2. เหตุใดจึงกลา่ ววา่ การศกึ ษาประวัติศาสตรเ์ หมอื นการถักทอผา้ 35

ก. ตอ้ งใชค้ วามเพยี รพยายาม ข. ตอ้ งใช้เวลาในการรวบรวมข้อมูล ค. ต้องใช้ความตั้งใจจริงในการศกึ ษา ง. ตอ้ งใชค้ วามรอบคอบในการศึกษา 3. ในความหมายท่ีประวตั ศิ าสตรเ์ ปน็ ศาสตร์แขนงหนงึ่ ส่งผลในดา้ นใด ก. การสงั เคราะห์ข้อมูลอย่างรอบคอบ ข. การใชส้ ติปัญญาในการรวบรวมประสบการณ์ ค. การใชเ้ วลาในการพจิ ารณาความจรงิ ของขอ้ มลู ง. การประมวลความร้ขู องมนุษย์จากอดีตสู่อนาคต 4. ผศู้ กึ ษาประวัติศาสตร์อยา่ งแท้จริงจะเป็นผทู้ ่มี บี ุคลิกภาพอย่างไร ก. อดทน เสียสละ ข. มีเหตผุ ล ยตุ ธิ รรม ค. มวี สิ ัยทศั น์ มอี ุตสาหะ ง. รอบคอบ มีความเพยี ร 5. ยคุ ประวัตศิ าสตร์เริม่ เมื่อไร ก. รู้จักทำการเกษตร ข. มกี ารตั้งชุมชนขนึ้ ค. มีการใชโ้ ลหะเป็นอาวุธ ง. มีการบนั ทึกเป็นลายลักษณ์อกั ษร 6. เหตใุ ดวธิ กี ารทางประวัติศาสตร์จึงมคี วามสำคญั ก. จำลองอดตี ได้อยา่ งถูกตอ้ งสมบูรณ์ ข. เปน็ เกณฑก์ ำหนดในการศกึ ษาประวัติศาสตร์ ค. เป็นกระบวนการทไ่ี ด้มาซ่งึ ข้อมูลในอดตี ง. ทำใหป้ ระวตั ิศาสตร์ไดร้ บั การยอมรบั จากทั่วโลก 7. ชาตแิ รกที่เป็นผรู้ เิ ร่ิมวธิ กี ารสอบสวน ตรวจตรา ค้นคว้า ซักถาม เรื่องราวในอดตี คอื ขอ้ ใด ก. จีน ข. กรีก ค. อนิ เดยี ง. องั กฤษ 8. เหตกุ ารณใ์ นลกั ษณะใดท่ีเป็นปจั จัยท่ที ำให้เกดิ ประวัตศิ าสตร์ 36

ก. พฤติกรรมของมนษุ ย์ ข. การสร้างหลักฐาน ค. การตคี วามหมายตรวจตรา ง. ถูกทุกขอ้ 9. ผู้ทใี่ ช้วิธีการคารบ์ อน 14 คอื ใคร ข. นักโบราณคดี ก. นักวรรณคดี ง. นักมานุษยวิทยา ค. นกั วิทยาศาสตร์ 10. คณุ ลักษณะใดของมนษุ ย์ที่ตอบสนองดว้ ยการศึกษาประวัติศาสตร์ ก. ความอดทน ข. ความอยากรู้ ค. ความคิดรเิ ร่ิม ง. ความพอดีของพฤติกรรม 11. จดุ เด่นของหลักฐานชั้นต้น คอื อะไร ข. มคี วามสมบรู ณ์ ก. มคี วามเก่าแก่ ง. ไม่มเี จตนาแอบแฝง ค. มคี วามน่าเชื่อถอื 12. เหตใุ ดการตคี วามขอ้ มูลหลกั ฐานจากหลักฐานช้นิ เดยี วกันจงึ มคี วามแตกต่างกัน ก. ตคี วามในเวลาที่ต่างกัน ข. ใช้ข้อมลู ในการตคี วามที่ตา่ งกนั ค. ความคิดเห็นของผตู้ ีความต่างกัน ง. การตีความขอ้ มลู แตล่ ะส่วนใชว้ ธิ กี ารแตกตา่ งกนั 13. การวเิ คราะห์เปรยี บเทียบหลกั ฐานชิน้ หน่ึงกบั หลักฐานช้นิ อ่นื มีประโยชนอ์ ย่างไร ก. เพื่อพิจารณาความน่าเชอื่ ถอื ของหลักฐาน ข. เพอื่ พิจารณาวา่ เป็นหลกั ฐานปลอมหรือไม่ ค. เพ่ือพิจารณาวา่ หลักฐานใดคอื หลักฐานชัน้ ต้น ง. เพ่ือจัดหมวดหม่หู ลกั ฐานที่สอดคลอ้ งกนั เข้าไวด้ ว้ ยกนั 14. ข้อมลู ใดเป็นประโยชนต์ ่อการประเมินคุณคา่ ของหลักฐานมากที่สุด ก. ทราบว่าพบหลักฐานทีไ่ หน ข. ทราบว่าไดห้ ลักฐานมาอยา่ งไร ค. ทราบวา่ ผู้สรา้ งหลักฐานคือใคร ง. ทราบวา่ ผู้สรา้ งหลักฐานสรา้ งเมื่อไหร่ 37

15. การนำเสนอขอ้ มูลทีด่ ีควรทำอย่างไร ก. แยกการนำเสนอเป็นประเดน็ ข. แสดงความคิดเหน็ ของผศู้ กึ ษา ค. แยกความรใู้ หมก่ ับความรูเ้ ก่า ง. แสดงความสัมพนั ธข์ องเหตกุ ารณ์ 38

เฉลย 2. ก 3. ง 4. ข 5. ง 7. ข 8. ก 9. ค 10. ข 1. ค 12. ค 13. ก 14. ค 15. ก 6. ก 11. ค 39

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 1 ประวตั ศิ าสตรส์ ากล หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การสร้างองค์ความรใู้ หมท่ างประวัตศิ าสตรส์ ากล ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6 เร่ือง วิธกี ารทางประวัติศาสตร์ เวลา 2 ชวั่ โมง  สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด การศึกษาเรื่องราวของมนุษย์ในอดีตโดยคำนึงถึงมิติของเวลา และพฤติกรรมของมนุษย์ท่ีสำคัญซึ่ง ก่อให้เกิดผลต่อสังคมส่วนรวม การศึกษาประวัติศาสตร์จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อมนุษย์ในการตามหารอย อารยธรรมโลก โดยการใชว้ ิธีการทางประวตั ศิ าสตร์  ตวั ช้ีวดั /จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1 ตวั ชว้ี ัด ส 4.1 ม.4-6/2 สร้างองคค์ วามรู้ใหม่ทางประวตั ศิ าสตร์โดยใชว้ ธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ อย่างเป็นระบบ 2.2 จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายความหมายและความสำคัญของประวตั ศิ าสตร์ได้ 2. บอกความสำคัญและอธบิ ายข้ันตอนของวิธีการทางประวตั ศิ าสตรไ์ ด้ 3. ใช้วิธีการทางประวตั ศิ าสตรใ์ นการสรา้ งองค์ความรใู้ หม่ทางประวัตศิ าสตรไ์ ด้ 4. ตระหนกั ในความสำคญั ของการใชว้ ธิ ีการทางประวตั ศิ าสตรใ์ นการสบื คน้ ความเป็นมา ของเรื่องราวตา่ งๆ  สาระการเรยี นรู้ 3.1สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 1. ข้นั ตอนของวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ โดยนำเสนอตวั อยา่ งทลี ะขั้นตอนอย่างชัดเจน 2. คณุ ค่าและประโยชน์ของวธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ท่มี ตี อ่ การศึกษาทางประวตั ศิ าสตร์ 3. ผลการศึกษา หรือโครงงานทางประวัติศาสตร์ 3.2 สาระการเรียนรทู้ อ้ งถนิ่ - 38

 สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 4.1 ความสามารถในการคดิ - ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ 4.2 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ - กระบวนการทำงานกลุ่ม - ทักษะการสบื คน้ - ทกั ษะการคิดแบบวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์  คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. ม่งุ มนั่ ในการทำงาน  กจิ กรรมการเรยี นรู้ (วธิ ีสอนโดยการจัดการเรยี นรแู้ บบร่วมมอื : เทคนิคกลมุ่ สืบคน้ วิธีสอนประวตั ศิ าสตรโ์ ดยใชว้ ธิ กี ารทาง ประวัตศิ าสตร์)  นกั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 ช่ัวโมงที่ 1 1. นักเรียนแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4 คน เพ่ือศึกษาใบความรู้ เรือ่ ง ความหมายของประวัตศิ าสตร์ และ ความสำคัญของประวตั ิศาสตร์ จากนั้นใหน้ ักเรียนอภปิ รายระดมสมองกันเพ่ือสรปุ ทำใบงานที่ 1.1 เร่อื ง ความหมายและความสำคญั วชิ าประวัตศิ าสตร์ 39


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook