Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ส23103-ประวัติศาสตร์ 4-จิรพล

แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ส23103-ประวัติศาสตร์ 4-จิรพล

Published by dlit_sm037, 2021-04-07 04:05:14

Description: แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ส23103-ประวัติศาสตร์ 4-จิรพล

Search

Read the Text Version

บันทึกข้อความ สว่ นราชการ เทพราชพิทยาสรรค์ ที่ ....................................................................................................... วันที่ .............................................................. เร่ือง การจัดทาแผนการเรียนรู้แบบบรู ณาการ เรียน ผ้อู านวยการโรงเรียนเทพราชพิทยาสรรค์ ตามที่ โรงเรยี นเทพราชพทิ ยาสรรค์ ได้มอบหมายให้ขา้ พเจ้า(นาย/นาง/นางสาว) จริ พล ลวิ า ตาแหน่ง ครู อันดับ คศ. 1 ได้รบั มอบหมาย ให้ทาหน้าที่สอนในภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จานวน 1 วิชา ดงั น้ี 1. รหสั วชิ า ส31102 รายวิชา ประวตั ศิ าสตร์ นก.(ชม.) 0.5 นก. ในการน้ี ข้าพเจ้าไดด้ าเนินการ ดงั นี้  ปรับปรุงแผนการจัดการเรยี นรู้เดิม รายวิชา ลาดับที่  จัดทาแผนการเรียนรแู้ บบบูรณาการ ฉบบั ใหม่ จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดทราบและพจิ ารณา ลงชื่อ.....................................................ผสู้ อน ( นายจริ พล ลวิ า ) ความคิดเหน็ หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ความคดิ เหน็ หวั หน้างานพฒั นาหลักสูตรฯ . ……………………………………………………………. …………………………………………………………… …………………………………………………………… ……………………………………………………………. ( นางปวณี า สทุ ิน ) (...................................................) ความเห็นรองผ้อู านวยการฝ่ายวชิ าการ …………………..……………………………………………………………………..……… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ( นางรตั นา ดา่ นไชยเพชร ) ความเห็นผอู้ านวยการ ……………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. (นางวมิ พ์วิภา รกั สม) ผ้อู านวยการโรงเรียนเทพราชพทิ ยาสรรค์ …………../…………../………….

สาระและมาตรฐานการเรยี นรูก้ ารศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน 1 กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม | รายวิชา ส23102 ประวตั ิศาสตร์ ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 สาระการเรยี นรแู้ กนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน กล่มุ สาระการเรยี นรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวชิ า ส23102 ประวัติศาสตร์ ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 สาระที่ 4 ประวัตศิ าสตร์ มาตรฐานท่ี ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถ ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์บนพ้ืนฐานของความเป็นเหตุเป็นผลมาวิเคราะห์ เหตกุ ารณ์ต่าง ๆ อย่างเปน็ ระบบ ม 3/1 วิเคราะห์เรื่องราวเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ได้อย่างมีเหตุผลตามวิธีการทาง ประวตั ศิ าสตร์ ม 3/2 ใช้วิธีการทางประวตั ิศาสตรใ์ นการศกึ ษาเรอ่ื งราวต่าง ๆ ท่ีตนเองสนใจ มาตรฐานที่ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบันในแง่ความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเน่ือง ตระหนักถึงความสาคัญ และสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบท่เี กิดข้นึ ม 3/1 อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคต่าง ๆ ในโลก โดยสังเขป ม 3/2 วิเคราะห์ผลของการเปล่ียนแปลงทีนาไปสู่ความร่วมมือและความขัดแย้งใน ครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 20 ตลอดจนความพยายามในการขจดั ปัญหาความขัดแย้ง มาตรฐานที่ ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความภูมิใจ และ ธารงความเป็นไทย ม 3/1 วิเคราะห์พฒั นาการของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ในด้านตา่ ง ๆ ม 3/2 วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความม่ันคงและความเจริญรุ่งเรืองของไทยในสมัย รตั นโกสินทร์ ม 3/3 วิเคราะห์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์และอิทธิพลต่อการ พัฒนาชาตไิ ทย ม 3/4 วิเคราะห์บทบาทของไทยสมัยประชาธิปไตย แผนการจดั การเรียนการสอนรายวิชา ส23102 ประวตั ศิ าสตร์ ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 | ภาคเรียนที่ 1

2 พัฒนาโดย นายจริ พล ลวิ า | ครูชานาญการ ตารางวเิ คราะห์ความสอดคลอ้ งระหวา่ งเนือ้ หา ในหนว่ ยการเรียนรกู้ บั สาระและมาตรฐานการเรยี นร้แู กนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวชิ า ส23102 ประวัติศาสตร์ ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 สาระที่ 4 ประวตั ิศาสตร์ มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐานท่ี ส 4.3 ที่ ส 4.1 ที่ ส 4.2 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ เรอ่ื งท่ี ส 4.1 ม 3/1 ส 4.1 ม 3/2 ส 4.2 ม 3/1 ส 4.2 ม 3/2 ส 4.3 ม 3/1 ส 4.3 ม 3/2 ส 4.3 ม 3/3 ส 4.3 ม 3/4 1. การแบง่ ชว่ งเวลา 1. การนับศกั ราชและการแบง่ ยุคสมัยทาง  ทางประวตั ศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตรส์ ากลและไทย  สากลไทย และ วิธกี ารทาง 2. วธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์ 1. การสถาปนาราชธานี  2. พฒั นาการทาง 2. ปัจจัยที่สง่ ผลต่อความม่นั คงและความ  ประวัตศิ าสตร์ไทย สมยั รัตนโกสนิ ทร์ เจรญิ รงุ่ เรอื ง   ตอนตน้ 3. พฒั นาการทางประวตั ิศาสตร์   4. ตวั อย่างเหตกุ ารณ์สาคญั ท่มี ผี ลต่อพฒั นาการ 3. พัฒนาการทาง  ประวตั ิศาสตร์ไทย ทางประวัตศิ าสตร์ สมยั ปรับปรงุ และ 5. บทบาทของพระมหากษตั ริยใ์ นราชวงศ์จกั รี  ปฏริ ปู ประเทศ  ตอ่ ความม่นั คงและความเจรญิ รงุ่ เรอื งของ  ชาติ 1. ปจั จัยที่สง่ ผลตอ่ ความมั่นคงและความ   เจรญิ รงุ่ เรอื ง 2. พัฒนาการทางประวตั ิศาสตร์ 3. ตวั อยา่ งเหตกุ ารณส์ าคญั ท่มี ผี ลตอ่ พฒั นาการ ทางประวัติศาสตร์ 4. บทบาทของพระมหากษตั ริยใ์ นราชวงศจ์ ักรี ตอ่ ความม่นั คงและความเจรญิ ร่งุ เรอื งของ ชาติ

สาระและมาตรฐานการเรยี นรูก้ ารศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน 3 กลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม | รายวิชา ส23102 ประวตั ศิ าสตร์ ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) ประวัติศาสตร์ม.3 ยคุ สมัยและวธิ กี าร พฒั นาการของ ชาตไิ ทย ทางประวตั ิศาสตร์ มนุษยชาติ* ความเป็นมาของ การนับศกั ราชและ พัฒนาการของ ชาตไิ ทย การแบง่ ยคุ สมยั ทาง มนุษยชาติ 1. พัฒนาการทางประวตั ศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ 1. ปจั จยั ทาง ของไทยสมัยธนบรุ แี ละ ภมู ิศาสตร์ทีม่ ีผลตอ่ การ รตั นโกสนิ ทร์ 1. เกณฑก์ ารแบ่งยคุ สมยั ทาง ต้ังถน่ิ ฐานและการ 2. เหตุการณส์ าคญั ท่ีก่อให้เกิด ประวัติศาสตร์ไทยและสากล ดารงชวี ิตของประชากร การเปลีย่ นแปลงดา้ นตา่ ง ๆ สมยั ในภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของ ธนบรุ ี และสมยั รัตนโกสินทร์  ยคุ ก่อนประวัตศิ าสตร์ โลก (ยกเวน้ เอเชีย) (การเมอื ง / การปกครอง /  ยคุ ประวตั ิศาสตร์ 2. พัฒนาการของ เศรษฐกจิ / สงั คม / วิทยาศาสตร์ 2. เหตกุ ารณ์สาคญั ทาง อารยธรรมตะวนั ออก และเทคโนโลยี /ความสมั พนั ธ์ ประวตั ิศาสตรท์ ี่ใช้เป็นหลักใน และตะวันตกที่ผลต่อ ระหวา่ งประเทศ) การแบง่ ยุคสมยั ทาง ประเทศไทยทางด้าน 3. ปัจจยั พนื้ ฐานและผลกระทบ ประวัติศาสตร์ไทยและ สังคม และความสมั พันธ์ จากภายนอกทีม่ ีผลตอ่ การ ประวัติศาสตรส์ ากล ระหวา่ งประเทศ สมยั สร้างสรรค์ภูมิปญั ญาของสมยั ธนบุรี 3. การเปรยี บเทียบยคุ สมยั ธนบรุ ี และรัตนโกสนิ ทร์ และรตั นโกสนิ ทร์ ระหวา่ งประวัติศาสตร์ไทยและ 3. ประวตั แิ ละผลงาน สากล ทเ่ี กดิ จากการสรา้ งสรรค์ วัฒนธรรมและภมู ิ อารยธรรมในภมู ภิ าค ปัญญาไทย วธิ ีการทาง ต่าง ๆ ของโลก (ยกเวน้ ประวตั ศิ าสตร์ เอเชยี ) 1. ตัวอยา่ งผลงานสรา้ งสรรค์ ภูมิ ปัญญาสมยั ธนบรุ ี และรัตนโกสนิ ทร์ 1. ประเภทและแหลง่ ข้อมลู เหตุการณส์ าคญั (สถาปัตยกรรม / ดนตรี / ภาษา) ในการศกึ ษาประวตั ศิ าสตรใ์ น 2. ความสาคญั และการ ภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลก 1. เหตกุ ารณส์ าคญั ใน ปรับเปล่ียนภมู ิปัญญาใหเ้ หมาะสม 2. เหตุการณ์ทาง ภมู ิภาคตา่ ง ๆ ของโลก กับชวี ิตปจั จบุ ันและการอนุรกั ษ์ ประวตั ิศาสตรท์ ส่ี าคัญของ ทมี่ ผี ลตอ่ กระทบตอ่ ส่งเสริม ภูมภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก พฒั นาการและการ 3. การเปรยี บเทียบวถิ ีชวี ติ เปลย่ี นแปลงของโลก บคุ คลสาคัญ ของคนในซกี โลกตะวันออก ซกี โลกตะวนั ตกและวถิ ชี วี ติ ของคนไทย 1. ประวัติและผลงานของบคุ คลสาคัญทงั้ ไทยและต่างประเทศใน สมยั ธนบุรี และรตั นโกสนิ ทร์ 2. การเปรยี บเทยี บผลงานของบคุ คลสาคัญตา่ ง ๆ ทั้งในประเทศท่ี มผี ลกระทบตอ่ ประเทศไทยสมยั ธนบุรีและรตั นโกสินทร์ แผนการจดั การเรียนการสอนรายวชิ า ส23102 ประวตั ศิ าสตร์ ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 | ภาคเรียนท่ี 1

4 พัฒนาโดย นายจิรพล ลิวา | ครูชานาญการ โครงสร้างรายวชิ า ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 จานวน 20 คาบ กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม รายวิชา ประวตั ิศาสตร์ ส 23102 ชอื่ หน่วย เรอื่ ง มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา น้าหนกั เรยี นรู้/ตวั ชีว้ ดั (ชม.) คะแนน 1. การแบ่ง 1. การนับศักราชและการ ส 4.1 ม 3/1 ขั้นตอนของวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์สาหรับ 2 10 ชว่ งเวลาทาง แบ่งยุคสมัยทาง ส 4.1 ม 3/2 ศกึ ษาเหตกุ ารณท์ างประวัตศิ าสตรท์ ้ังไทยและ 3 15 ประวัติศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์สากล และ สากล สากล ไทย และ ไทย วิธกี ารทาง 2. วิธีการทางประวัตศิ าสตร์ การนาเอาวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์มาใชใ้ น ประวัตศิ าสตร์ การศกึ ษาเรอื่ งราวทางประวตั ิศาสตรแ์ ละ ประยุกต์ใชช้ ีวิตประจาวัน 2. พฒั นาการ 1. การสถาปนาราชธานี ส 4.3 ม 3/1 1. การสถาปนากรุงเทพเป็นราชธานขี องไทย 2 10 ทาง 2. ปจั จยั ทีส่ ่งผลตอ่ ความ ส 4.3 ม 3/1 2. ปัจจัยทส่ี ่งผลตอ่ ความมนั่ คงและ 3 15 ประวัติศาสตร์ มนั่ คงและความเจริญรงุ่ เรือง ส 4.3 ม 3/2 เจริญรุ่งเรืองของไทยในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ ไทยในสมยั 3. พัฒนาการทาง 3. พฒั นาการของไทยในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ รตั นโกสินทร์ ประวัตศิ าสตร์ ทางดา้ นการเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกจิ ตอนตน้ 4. ตัวอยา่ งเหตุการณส์ าคญั และความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศตามชว่ งเวลา ทมี่ ผี ลต่อพฒั นาการทาง ตา่ ง ๆ ประวัตศิ าสตร์ 4. เหตกุ ารณส์ าคัญสมยั รัตนโกสินทร์ท่ีมผี ลต่อ การพฒั นาชาตไิ ทย โดยวิเคราะหส์ าเหตุปัจจัย และผลของเหตุการณ์ตา่ ง ๆ 5. บทบาทของ ส 4.3 ม 3/2 5. บทบาทของพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จกั รี 2 10 พระมหากษัตรยิ ์ในราชวงศ์ ในการสร้างสรรคค์ วามเจริญและความมน่ั คง จักรตี อ่ ความม่ันคงและ ของชาติ ความเจริญรุ่งเรอื งของชาติ 3. พัฒนาการ 1. ปจั จัยทส่ี ง่ ผลต่อความ ส 4.3 ม 3/1 1. ปจั จัยท่ีส่งผลตอ่ ความมนั่ คงและ 3 15 ทาง ม่ันคงและความ เจริญรุ่งเรืองของไทยในสมยั รัตนโกสนิ ทร์ ประวัตศิ าสตร์ เจรญิ รงุ่ เรอื ง ส 4.3 ม 3/1 2. พฒั นาการของไทยในสมยั รัตนโกสินทร์ 2 10 ไทยสมยั 2. พัฒนาการทาง ส 4.3 ม 3/3 ทางด้านการเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ 3 15 ปรบั ปรุงและ ประวัตศิ าสตร์ ส 4.3 ม 3/1 และความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศตามชว่ งเวลา ปฏิรูปประเทศ ส 4.3 ม 3/2 3. ตัวอยา่ งเหตุการณ์สาคญั ส 4.3 ม 3/3 3. เหตกุ ารณส์ าคญั สมยั รัตนโกสินทรท์ ่ีมผี ลต่อ ทม่ี ผี ลต่อพฒั นาการทาง การพฒั นาชาติไทย โดยวิเคราะห์สาเหตปุ จั จยั ประวตั ศิ าสตร์ และผลของเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ 4. บทบาทของ 4. บทบาทของพระมหากษตั ริย์ในราชวงศจ์ กั รี พระมหากษตั ริย์ในราชวงศ์ ในการสร้างสรรค์ความเจรญิ และความมน่ั คง จักรีต่อความม่ันคงและ ของชาติ ความเจรญิ ร่งุ เรอื งของชาติ รวม 20 100

สาระและมาตรฐานการเรยี นรกู้ ารศึกษาข้ันพืน้ ฐาน 5 กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม | รายวิชา ส23102 ประวตั ศิ าสตร์ ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 ผลการเรยี นรูท้ ่ีคาดหวังและแผนการประเมินผล วิชาประวตั ิศาสตร์ ส 23105 ภาคเรียนที่ 2 อตั ราสว่ นคะแนนระหวา่ งภาค : คะแนนปลายภาค 70 : 30 เวลาเรียน 1 คาบ / สัปดาห์ / 0.5 หน่วยการเรยี น คะแนนการประเมินผล จานวนคาบ หนว่ ย ผลการเรียนรตู้ ามตวั ชว้ี ดั ระหว่างภาค กลางภาค ปลายภาค รวม 1. การแบง่ 1.1 รแู้ ละเขา้ ใจเร่อื งการเทียบศักราช เวลา และยุคสมัยทาง 2 5 5 - 10 ช่วงเวลาทาง ประวัติศาสตรไ์ ทยและสากล เหน็ คุณคา่ และความสาคัญของ ประวัตศิ าสตร์ การแบ่งชว่ งเวลาในการศึกษาประวตั ิศาสตร์ไทย สากลไทยและ 1.2 วิเคราะหแ์ ละเปรยี บเทยี บ ความสมั พันธข์ องยุคสมยั ทาง 3 5 10 - 15 วธิ ีการทาง ประวัติศาสตร์กบั เหตกุ ารณ์สาคญั ที่แสดงถึงความสัมพนั ธข์ อง เวลากบั เหตุการณท์ างประวัตศิ าสตร์ในภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลก ประวตั ิศาสตร์ ได้ 2. พัฒนาการ 2.1 รู้ และเขา้ ใจปจั จยั การก่อตัง้ ความม่ันคงและความ 2 5 5 - 10 ทาง เจริญรงุ่ เรอื งของราชอาณาจกั รธนบรุ ี และรตั นโกสนิ ทร์ ประวัติศาสตร์ 2.2 รู้ เข้าใจ และวเิ คราะห์พัฒนาการทางประวตั ิศาสตร์และ 3 10 - 5 15 ไทยในสมัย ด้านอื่น ๆ ของประเทศในช่วงเวลาต่าง ๆ รัตนโกสินทร์ 2.3 รู้และเขา้ ใจในบทบาทของสถาบันพระมหากษตั ริยต์ อ่ การ 2 5 - 5 10 พฒั นาประเทศ ตอนต้น 3. พฒั นาการ 3.1. รู้ และเข้าใจปัจจัยการปรบั ปรุง ปฏริ ปู และพัฒนาประเทศ 3 10 - 5 15 ทาง ในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ยุคปรบั ปรุงประเทศ ประวัติศาสตร์ 3.2 รู้ เขา้ ใจ และวเิ คราะห์พัฒนาการทางประวตั ิศาสตรแ์ ละ 2 5 - 5 10 ด้านอ่ืน ๆ ของประเทศในช่วงปรบั ปรงุ ประเทศ ไทยสมยั ปรบั ปรงุ และ 3.3 รู้และเข้าใจในบทบาทของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อการ 3 5 - 10 15 ปฏริ ูปประเทศ ปรับปรงุ และพัฒนาประเทศ รวม 20 50 20 30 100 ที่ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนการประเมนิ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 3 2. ซ่อื สัตย์ สจุ รติ 3 3. มวี ินัย 3 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 3 5. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง 3 6. มุง่ ม่ันใจในการทางาน 3 7. รกั ความเปน็ ไทย 3 8. มีจิตสาธารณะ 3 9. กตญั ญูกตเวที 3 แผนการจดั การเรยี นการสอนรายวิชา ส23102 ประวัตศิ าสตร์ ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 | ภาคเรียนท่ี 1

6 พัฒนาโดย นายจิรพล ลิวา | ครชู านาญการ บนั ทึกการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ ท่ี ประเด็น สอดคลอ้ ง / ปฏิบัติ 1 การจดั กจิ กรรมการเรยี นรสู้ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานและตวั ชี้วดั  2 กจิ กรรมการเรยี นรเู้ น้นผ้เู รยี นเป็นสาคัญ  3 มีการวดั ผลและประเมนิ ผล  ดา้ นความรู้  ดา้ นทักษะกระบวนการ  ดา้ นคุณลักษณะ  4 กิจกรรมการเรยี นรสู้ ง่ เสริมสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น  ความสามารถในการส่ือสาร  ความสามารถในการคดิ  ความสามารถในการแกป้ ญั หา  ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ  ความสามารถในการเทคโนโลยี  5 กิจกรรมการเรยี นรมู้ ีการบรู ณาการ  หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง  ครเู พ่ือศษิ ยใ์ นศตวรรษท่ี ๒๑  โรงเรยี นคุม้ ครองเดก็  สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น  6 ใหน้ กั เรียนได้ฝกึ ทกั ษะการทาข้อสอบ Pre-O-Net หรือ O-Net ทส่ี อดคลอ้ งกบั ตัวชว้ี ัด   เหน็ ควรใชใ้ หแ้ ผนการจัดการเรียนรู้  ควรปรบั ปรุงแก้ไข......................................................................................................................................... ลงช่ือ............................................................ (นายจริ พล ลิวา) หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ลงชอ่ื ............................................................ (นางกญั ญารัตน์ สาระพนั ธ์) หัวหน้ากลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ  เหน็ ควรให้ใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้  ควรปรบั ปรงุ แก้ไข.......................................................................................................................... ลงชอื่ ............................................................... (นางจิราพร รัตนกลุ ) ผอู้ านวยการโรงเรยี นสตรปี ากพนัง

สาระและมาตรฐานการเรียนรกู้ ารศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน 7 กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม | รายวิชา ส23102 ประวัตศิ าสตร์ ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 รหัสวิชา ส23102 แผนการจดั การเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษาฯ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี 3 รายวชิ า ประวตั ศิ าสตรฯ์ ปีการศกึ ษา 2563 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เวลา 5 ช่วั โมง ภาคเรยี นท่ี 1 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 เร่อื งการแบ่งชว่ งเวลาทาง เวลา 2 ชว่ั โมง วนั ที่ ........... ประวตั ิศาสตรไ์ ทย สากล และ ปี พ.ศ. 2563 วธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ เร่ือง การนับศกั ราชและการแบ่ง ยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตรส์ ากล และไทย เดือน.......................... มาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวช้วี ดั มาตรฐานท่ี ส 4.1เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตรม์ าวเิ คราะห์เหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ อย่างเป็นระบบ ตวั ช้วี ดั ส 4.1 ม 3/1 วเิ คราะห์เร่ืองราวเหตุการณ์สาคัญทางประวตั ิศาสตร์ได้อย่างมเี หตุผลตามวิธีการทาง ประวตั ิศาสตร์ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ด้านความรู้ (Knowledge) 1.1 รู้เขา้ ใจเรือ่ งการเทียบศกั ราช 2. ดา้ นทักษะกระบวนการ (Process) 2.1 สามารถเทยี บศกั ราชต่าง ๆ ได้อย่างเป็นระบบ 2.2 สามารถนาวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใชอ้ ย่างเป็นระบบ 3. ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (Attitude) 3.1 มวี ินยั 3.2 ใฝ่เรียนรู้ 3.3 มุ่งม่ันในการทางาน 3.4 รักความเปน็ ไทย สาระสาคญั / ความคิดรวบยอด ขนั้ ตอนวธิ ีการทางประวตั ิศาสตรส์ าหรับศกึ ษาเหตกุ ารณ์ทางประวัติศาสตร์ และการเทยี บศกั ราช แผนการจดั การเรียนการสอนรายวิชา ส23102 ประวัตศิ าสตร์ ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 | ภาคเรยี นท่ี 1

8 พัฒนาโดย นายจริ พล ลิวา | ครูชานาญการ สาระการเรยี นรู้ 1. สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 1.1 ขน้ั ตอนวิธีการทางประวตั ิศาสตรส์ าหรับศกึ ษาเหตกุ ารณ์ทางประวตั ศิ าสตร์ 1.2 นาวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตรม์ าใช้กบั การศึกษาเรอ่ื งราวที่เกี่ยวขอ้ งกนั ตนเอง ครอบครัว ฯลฯ 2. สาระการเรยี นรทู้ ้องถิ่น - ด้านสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น  ความสามารถในการสอ่ื สาร : พูดและเขยี นถงึ ขนั้ ตอนวธิ ที างประวัติศาสตร์  ความสามารถในการคดิ 1. ทักษะการคิดกว้าง : การใชข้ ้อมลู ทางประวัติศาสตรม์ าเป็นประสบการณ์ 2. ทักษะการใหเ้ หตผุ ล : จาแนก การให้เหตผุ ล การสรุปความรู้  ความสารถในการแกป้ ัญหา : จัดกระบวนการคิดแยกเปน็ ระบบขั้นตอน  ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ : การทางานในกระบวนการกล่มุ  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคต์ ามหลกั สตู รแกนกลางขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551  รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  อย่อู ย่างพอเพยี ง  ซอื่ สัตยส์ ุจรติ  มงุ่ มน่ั ในการทางาน  มวี นิ ัย  รกั ความเปน็ ไทย  ใฝ่เรยี นรู้  มีจิตสาธารณะ คาขวญั โรงเรียน  เรียนดี  ประพฤตดิ ี  ฝมี อื เด่น  เปน็ งาน ด้านการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน  การอ่าน  การคดิ วิเคราะห์  การเขียน บรู ณาการกับหลักการเรียนในศตวรรษท่ี 21 (นกั เรยี นได้เรยี นรสู้ อดคล้องกับหลกั การเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21) Reading Writing Globalization อ่านงานเขยี นทางประวัติศาสตร์ เขียนงานทางประวัตศิ าสตร์ผ่าน ศกึ ษาหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ (หลกั ฐานชน้ั ตน้ ) ได้ กระบวนการทางประวตั ศิ าสตร์ได้ อน่ื ๆ ทีเ่ ก่ยี วข้องกบั พฒั นาการ ทางประวัตศิ าสตรข์ องโลก (ยกเว้น เอเชีย) ได้ Critical Thinking & Problem Solving (ทักษะการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ และ ทักษะการในการแก้ไขปญั หา) Creativity & Innovation (การคดิ เชิงสร้างสรรค์) Collaboration , Teamwork & Leadership (การทางานร่วมและยอมรับฟังความคิดเหน็ จากผอู้ ่ืน)

สาระและมาตรฐานการเรียนรูก้ ารศึกษาขั้นพื้นฐาน 9 กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม | รายวิชา ส23102 ประวตั ิศาสตร์ ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 Reading Writing Globalization Cross – Cultural Understanding (ยอมรับความหลากหลายและความแตกตา่ งทางวัฒนธรรม) Communication , Information & Media Literacy (กลา้ ซกั ถามและแสดงความคิดเห็นในการเรยี น) Computing & Media Literacy (สามารถใช้ทกั ษะด้านสารสนเทศประกอบการเรียนรู้ได)้ Career & Learning Self-Reliance (มคี วามรเู้ ขา้ ใจและคน้ ควา้ เพม่ิ เตมิ เกี่ยวกบั เรอื่ งท่ีเรียน) Change (สรา้ งทศั นคติใหมใ่ นการเรยี นรายวิชาประวตั ศิ าสตร์ใหน้ า่ สนใจมากขน้ึ ) Learning Leadership Historical Method Presentation & Lecture Time & Ages บรู ณาการกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (นกั เรียนได้เรยี นรอู้ ยอู่ ยา่ งพอเพยี งจากการเรยี นรูท้ ี่บรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง) พอประมาณ มีเหตุผล สร้างภมู ิคุม้ กัน นกั เรียนแบ่งเวลาว่างเพ่ิมเตมิ มาใช้ นักเรยี นใช้เหตุผลในการเรยี น และ นักเรยี นมีความรู้และความเข้าใจ ในการเรียนรู้ดว้ ยตนเองนอก นาหลักการของเหตุผลไปใช้ในการ ของพฒั นาการทางประวตั ิศาสตร์ ห้องเรียน ค้นหาความจริงของประวตั ิศาสตร์ ในอดีตมาเปน็ บทเรียนเพือ่ ตามหลกั วิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ เตือนสติตนเองในการดาเนินชวี ิต ความรู้ (นักเรียนมีความรูใ้ นเรือ่ งวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์เป็นอย่างดี) คณุ ธรรม (นักเรยี นใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ มน่ั ในการทางาน มวี นิ ัยในการจดั ระบบการเรียนดว้ ยตนเอง) การบูรณาการฯ สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน โรงเรียนค้มุ ครองเดก็ ระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน - ใช้กระบวนศึกษาวเิ คราะห์ผู้เรียนเปน็ รายบคุ คลเพ่ือ ทาความเข้าใจนกั เรยี นและแกไ้ ขขอ้ บกพร่องทางการ เรยี นรู้ของนักเรยี นได้ ตลอดจนจัดทาฐานข้อมูล ส่วนตัวของนักเรียนเพ่ือความสะดวกในการศึกษา ขอ้ มูลและพฒั นาผู้เรียนใหไ้ ดเ้ ตม็ ศกั ยภาพ แผนการจดั การเรียนการสอนรายวิชา ส23102 ประวตั ิศาสตร์ ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 | ภาคเรยี นที่ 1

10 พัฒนาโดย นายจริ พล ลวิ า | ครูชานาญการ กิจกรรมการเรยี นร้แู บบซิปปา (CIPPA Model) ชวั่ โมงท่ี 1  ใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนเร่ือง “การนับศักราช” ข้ันที่ 1 ทบทวนความรูเ้ ดมิ ส่อื การเรยี นรู้ 1. ภาพเหตกุ ารณ์สาคัญทางประวตั ศิ าสตร์ทรี่ ะบศุ ักราชที่เกิดข้นึ คำถำมกระตุ้นควำมคดิ “นกั เรียนเกิดในปีมหาศกั ราชใด” (อาจจะเปลี่ยนคาถามเปน็ จลุ ศกั ราช รตั นโกสนิ ทร์ศก หรอื ครสิ ตศ์ กั ราช กไ็ ด้) ขน้ั ตอนการเรียนรู้ 1. ครใู หน้ กั เรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคิดโดยสมุ่ นักเรียน 3-4 คนในชั้นเรียน 2. ครูตรวจสอบความถูกต้องของคาตอบและชมเชยนักเรียนที่ตอบได้ใกล้เคียงกับ ความเปน็ จรงิ มากทส่ี ุด ขน้ั ท่ี 2 แสวงหาความรู้ใหม่ สื่อการเรยี นรู้ 1. ภาพเหตุการณท์ างประวตั ศิ าสตร์ท่ีไม่มีการระบุศกั ราชที่แน่นอน คำถำมกระตนุ้ ควำมคดิ “ศักราชใดทมี่ ีความโดดเดน่ มากท่สี ุดในการบนั ทึกเรอ่ื งราวทางประวตั ศิ าสตร์” ขน้ั ตอนการเรียนรู้ 1. นักเรยี นตอบคาถามกระตนุ้ ความคิด 2. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 4 กลุ่ม (เก่ง , ปานกลางค่อนข้างเก่ง , ปานกลาง ค่อนข้างอ่อน , อ่อน) แล้วให้ร่วมกันหาคาอธิบายเก่ียวกับความสาคัญของ ศกั ราชต่าง ๆ 3. ครูใหต้ วั แทนแตล่ ะกล่มุ ออกมาอธบิ ายถึงคาตอบที่ได้พร้อมท้งั เหตุผล ขน้ั ที่ 3 ศกึ ษาข้อมลู จากความรู้ใหมแ่ ละผสมผสานกบั ความร้เู ดมิ สื่อการเรียนรู้ 1. ใบงานท่ี 1.1 เร่ือง การนบั ศักราช ข้นั ตอนการเรยี นรู้

สาระและมาตรฐานการเรยี นรกู้ ารศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 11 กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม | รายวิชา ส23102 ประวตั ิศาสตร์ ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปถึงความรู้ใหม่ที่ได้และผสมผสานกับความรู้เดิมที่มี อยูพ่ ร้อมทงั้ อธบิ ายถึงสาระของศกั ราชให้ได้ 2. ครูให้นักเรยี นทาใบงานท่ี 1.1 ชว่ั โมงท่ี 2 ขัน้ ท่ี 4 แลกเปล่ียนความรคู้ วามเขา้ ใจกับกลุ่ม ส่ือการเรยี นรู้ - คำถำมกระตุ้นควำมคิด “ศกั ราชท้ังหลายในบทเรียนนกั เรียนสามารถจดจาวิธีการเทียบศกั ราชไดอ้ ย่างไร” ขนั้ ตอนการเรยี นรู้ 1. ครใู หน้ กั เรียนตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ อย่างเสรี 2. ครูให้นักเรียนที่ทาใบงานท่ี 1.1 เสร็จแล้ว จับคู่เพ่ือนในกลุ่มเพ่ืออธิบายตามที่ ตนเองเข้าใจ 3. ครูสุ่มเรียกตัวแทนกลมุ่ มาอธบิ ายหนา้ ชั้นเรยี น ขน้ั ที่ 5 สรปุ และจดั ระเบยี บความรู้ ส่ือการเรียนรู้ 1. ใบงานท่ี 1.2 ขั้นตอนการเรียนรู้ 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่องศักราชและการเทียบศักราชและให้ นักเรียนจดบันทกึ ลงสมุด 2. นกั เรียนทาใบงานที่ 1.2 ขนั้ ท่ี 6 ปฏบิ ตั ิ และ/หรือ แสดงผลงาน ส่อื การเรยี นรู้ - ขน้ั ตอนการเรยี นรู้ 1. ครูสุ่มเรียกนักเรียนตัวแทนในชั้นเรียนออกมาแสดงวิธีการเทียบศักราชหน้าชั้น เรียน และให้เพ่ือน ๆ ในช้ันเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมในส่วนที่ บกพรอ่ ง (ถา้ มี) ขั้นท่ี 7 การประยุกต์ใช้ความรู้ สื่อการเรียนรู้ - ขน้ั ตอนการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นการสอนรายวิชา ส23102 ประวตั ศิ าสตร์ ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 | ภาคเรยี นท่ี 1

12 พัฒนาโดย นายจริ พล ลิวา | ครชู านาญการ 1. ครใู ห้นักเรียนสร้างโจทย์ท่ีน่าสนใจเก่ียวกับการเทียบศกั ราชโดยระบุเหตุการณ์ท่ี สาคัญ (สืบคน้ จากหนงั สือเพม่ิ เติมได้) พรอ้ มท้งั คาตอบ 2. นักเรียนนางานรวบรวมส่งครู การวดั และประเมินผล วธิ ีการ เครื่องมอื เกณฑก์ ารประเมิน (ประเมินตามสภาพจริง) ด้านความรู้ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ฯ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑฯ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบกอ่ นเรียนหนว่ ยการ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1.1 เรียนร้ทู ่ี 1 ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานท่ี 1.1 ใบงานที่ 1.1 ตรวจใบงานท่ี 1.2 ใบงานท่ี 1.2 ด้านทกั ษะกระบวนการ สงั เกตพฤติกรรมการทางาน แบบสังเกตพฤติกรรรมการทางาน รายบุคคล รายบุคคล สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ แบบสังเกตพฤติกรรรมการทางาน กลมุ่ ด้านคณุ ลกั ษณะ สังเกตความมวี นิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ และ แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พึง มุง่ ม่นั ในการทางาน ประสงค์ สอ่ื และแหลง่ การเรียนรู้ 1. ภาพหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรท์ น่ี า่ สนใจ 2. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เรือ่ งที่ 1 การเทียบศกั ราช ผา่ น Google Form 3. ใบกจิ กรรมที่ 1.1 เรอ่ื ง เหตุการณแ์ ละความสมั พนั ธท์ างศกั ราช ผ่าน Google Form 4. ใบกจิ กรรมที่ 1.2 เรอ่ื ง การเทียบศกั ราชผ่าน Google Form แหลง่ เรียนรู้ 1. หอ้ งสมดุ โรงเรยี นสตรปี ากพนงั 2. เวบ็ ไซต์ครจู ิรพล ลวิ า ผ่าน Google Application Platform ลงช่อื ............................................................. (นายจริ พล ลวิ า) ผจู้ ัดทาแผนการจดั การเรยี นรู้ฯ

สาระและมาตรฐานการเรียนรกู้ ารศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน 13 กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม | รายวิชา ส23102 ประวตั ิศาสตร์ ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 แบบทดสอบการเรยี นเรอ่ื งท่ี 1.1 การนับศกั ราช คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนเลอื กคาตอบที่ถกู ต้องทสี่ ดุ เพียงคาตอบเดยี ว 1. ศกั ราชแบบใดทเี่ ป็นท่ีนิยมใช้มากทีส่ ุด ก. พุทธศกั ราช ข. มหาศักราช ค. ฮจิ เราะห์ศกั ราช ง. คริสตศ์ กั ราช 2. เพราะเหตุใดจงึ ต้องมีการเทียบศกั ราช ก. ทาใหท้ ราบว่าเหตุการณท์ เี่ กดิ ขึ้นในท่หี น่งึ อาจมีผลกระทบต่อท่ีอนื่ ได้ ข. เพื่อป้องกนั ความสับสนของนักประวตั ศิ าสตร์และผู้ศึกษาคนอนื่ ๆ ค. ทาให้เกิดความเข้าใจเรอื่ งราวในอดีตในแหลง่ ต่างๆ ไดด้ ขี น้ึ ง. ถกู ทุกข้อ 3. เราทราบได้อย่างไรวา่ พ.ศ. 2550 ตรงกับ ค.ศ. 2007 ก. นา 543 มาลบ เพราะ ค.ศ. ชา้ กว่า พ.ศ. อยู่ 543 ปี ข. นา 543 มาลบ เพราะนักประวัตศิ าสตรก์ าหนดไว้ ค. นา 543 มาลบ เพราะพระพุทธเจ้าส้ินพระชนม์ก่อนพระเยซู 543 ปี ง. ไมม่ ีหลกั เกณฑแ์ น่นอน แต่ทราบเพราะเข้าใจกันโดยทวั่ ไปอยู่แลว้ 4. หลกั เกณฑ์สาคญั ในการแบ่งยุคสมัยเป็นสมยั ก่อนประวัตศิ าสตรแ์ ละสมัยประวัติศาสตร์คืออะไร ก. การตัง้ บา้ นเรือน ข. การประดิษฐต์ ัวอักษร ค. การปกครองด้วยระบบกษตั ริย์ ง. การประดิษฐ์เครอื่ งมือเครื่องใชท้ ีท่ ันสมยั 5. การแบ่งสมยั กอ่ นประวัตศิ าสตรเ์ ปน็ ยคุ หนิ และยุคโลหะ มีหลักเกณฑ์ในการแบง่ อย่างไร ก. รูปร่างหนา้ ตาของมนุษย์ ข. ภาษาพดู และภาษาเขียน ค. การตั้งบ้านเรือนอยู่ริมน้า ง. เครอ่ื งมือเครอื่ งใช้ที่มีประสทิ ธิภาพมากกว่า 6. ข้อใดถูกต้อง ก. พัฒนาการของมนุษย์ขนึ้ อยู่กับชาติพนั ธ์ุ ข. มนุษย์มีลาดบั พัฒนาการใกลเ้ คียงกับสัตว์ ค. ความเหมาะสมของแหลง่ ท่อี ยู่อาศยั มผี ลต่อพฒั นาการ ง. พัฒนาการของมนุษย์ในดินแดนตา่ ง ๆ ท่วั โลกจะเกิดขึ้นพรอ้ มๆ กัน แผนการจดั การเรียนการสอนรายวิชา ส23102 ประวัติศาสตร์ ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 | ภาคเรยี นที่ 1

14 พฒั นาโดย นายจิรพล ลิวา | ครูชานาญการ 7. มนุษยท์ ยี่ งั เรร่ ่อนอาศัยอยู่ตามเพงิ ผา ใชเ้ คร่ืองมือหนิ แบบงา่ ยๆ เปน็ มนุษย์ยคุ ใด ก. ยคุ หนิ เก่า ข. ยุคหนิ กลาง ค. ยุคหนิ ใหม่ ง. ยคุ โลหะ 8. ยุคสารดิ เป็นยุคท่ีมกี ารนาโลหะมาผสมกนั เพ่ือใหม้ ีประสทิ ธิภาพดีขึน้ โลหะดงั กล่าวคืออะไร ก. เงิน - ทอง ข. ดบี ุก - เงนิ ค. ทองแดง - ดบี กุ ง. เหล็ก - ทองแดง 9. ในประเทศไทยพบหลักฐานของมนุษย์ทเ่ี ก่าแก่ทสี่ ดุ คือยคุ ใด ก. ยุคหนิ เก่า ข. ยคุ หินกลาง ค. ยุคหินใหม่ ง. ยคุ โลหะ 10. การแบ่งยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตร์มปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร ก. ทาใหก้ ารศึกษาเรือ่ งราวในอดีตได้สะดวกขึ้น ข. ทาใหเ้ รือ่ งราวในอดีตเป็นจริงข้ึนมากกวา่ เดิม ค. ทาให้เกิดความเข้าใจเร่อื งราวในอดีตไดด้ ขี น้ึ ง. ทาใหป้ ระหยดั เวลาการทางานของนักประวัติศาสตร์ เฉลย 2. ง 3. ก 4. ข 5. ง 7. ก 8. ค 9. ก 10. ค 1. ง 6. ค

สาระและมาตรฐานการเรยี นรกู้ ารศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน 15 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม | รายวิชา ส23102 ประวัติศาสตร์ ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ใบกจิ กรรมท่ี 1.1 เรอื่ งเหตุการณแ์ ละความสมั พันธ์ทางศักราช คาชี้แจง ให้นกั เรยี นบอกศักราชท่ีเกี่ยวขอ้ ง และเทยี บศกั ราชท่กี าหนดเปน็ พทุ ธศกั ราชให้ถูกต้อง เหตุการณ์ท่ี 1 เหตุ เมือ่ วันที่ 11 กนั ยายน ค.ศ. 2001 ได้มีเครอ่ื กงาบรนิ พาณชิ ย์อเมรกิ ันพุ่งชนตึกเวลิ ดเ์ ทรดเซ็นเตอร์ ย่านธุรกิจใจกลางมหานครนวิ ยอร์ก ประเทศสณหท์รัฐ่ี อเมริกา ทาใหต้ ึกสูงระฟ้าถล่มลงมาในพริบตา เหลือเพยี งความทรงจา สง่ ผลใหผ้ ู้คนตอ้ งบาด1เจ็บลม้ ตายมากมาย เป็นขา่ วใหญ่ไปทั่วโลก ศักราชทีเ่ กี่ยวข้อง คอื เทียบเปน็ พุทธศักราช คือ เหตกุ ารณ์ท่ี 2 ตตซวกิ้้อลายฤงากดตแากกมราา่นขรรายณคโา้าข์ยทงอร่ีส.ิทศาใธน.คิพ1ัวญล1ันค2แทรต่ี อเ่ขป1บณ3็นคะเรกหนอรตงันกลุกลฎาาาวราวณคเปเม์รพ็น้าื่อยปพหแร.วรศะังณเ1กง.เหใมทาชท์ตาร2ศ้แ่ีกุ 4รมใา3่นนช6าปขโรขอฝะงงรวทไ่ังตัที่ไเิศหยศาลสสผไฝตด่ารรน้ส่ัง์ไลเ่งทศเายรสวือไเปดรโด้็บนอย้าเสสง2้นสาเิททหลาธตางิเุเหไเกปขนิด้าสือจไู่จดปาีนิกนในฝแซรแด่งึั่งมนเเป่นศฝ็นสา่ัง เจ้าพระยาเพ่ือบีบบังคับให้ไทยทาตามขอ้ เสนอจึงเกิดการปะทะกนั และเรือรบของฝรั่งเศสได้แล่นเข้า มาถึงกรุงเทพฯ โดยทูตฝร่ังเศสได้ย่ืนข้อเสนอแก่ไทยหลายข้อ แต่ไทยรับเพียงบางข้อ ฝร่ังเศสจึงส่ง เรือรบปิดอา่ วไทย จนไทยตอ้ งยอมทาสนธิสญั ญาทีท่ าให้เราต้องเสยี ผลประโยชน์ ศักราชทเ่ี ก่ยี วข้อง คือ เทยี บเปน็ พุทธศกั ราช คือ แผนการจดั การเรยี นการสอนรายวิชา ส23102 ประวัตศิ าสตร์ ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 | ภาคเรยี นที่ 1

16 พฒั นาโดย นายจริ พล ลิวา | ครูชานาญการ เฉลย ใบกจิ กรรมที่ 1.1 เรื่องเหตกุ ารณแ์ ละความสมั พันธท์ างศกั ราช คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนบอกศักราชทีเ่ กีย่ วขอ้ ง และเทียบศักราชท่ีกาหนดเป็นพุทธศักราชใหถ้ กู ต้อง เหตุการณ์ที่ 1 เหตุ เม่อื วันท่ี 11 กันยายน ค.ศ. 2001 ได้มีเครือ่ กงาบรนิ พาณชิ ย์อเมริกนั พ่งุ ชนตกึ เวลิ ดเ์ ทรดเซน็ เตอร์ ย่านธุรกจิ ใจกลางมหานครนวิ ยอรก์ ประเทศสณหท์รฐั ่ี อเมริกา ทาใหต้ ึกสูงระฟา้ ถล่มลงมาในพริบตา เหลือเพยี งความทรงจา สง่ ผลให้ผคู้ นต้องบาด1เจบ็ ลม้ ตายมากมาย เปน็ ข่าวใหญ่ไปทว่ั โลก ศกั ราชทเ่ี กี่ยวขอ้ ง คอื คริสต์ศกั ราช (ค.ศ.) เทยี บเปน็ พุทธศกั ราช คือ พทุ ธศักราช 2544 เหตุการณท์ ี่ 2 เหตุ วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 เป็นเหตุการณ์ร้ายแรงกมาารกในประวตั ิศาสตร์ไทย โดยสาเหตุเกิดจากฝรั่งเศส ตอ้ งการขยายอทิ ธิพลครอบครองลาว เพ่ือหวังณใชท์ ้แ่ี ม่นาโขงท่ีไหลผ่านลาวเป็นเสน้ ทางไปสู่จนี ซึ่งเป็น ตลาดการค้าที่สาคัญ แต่ขณะนันลาวเป็นประ1เทศราชของไทย ฝรั่งเศสได้อ้างสิทธิเหนือดินแดนฝั่ง ซ้ายแม่นาโขง ในวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2436 ฝรั่งเศสได้ส่งเรือรบ 2 ลาเข้าไปในแม่นา เจ้าพระยาเพื่อบีบบังคับให้ไทยทาตามข้อเสนอจึงเกิดการปะทะกนั และเรือรบของฝรัง่ เศสได้แล่นเข้า มาถึงกรุงเทพฯ โดยทูตฝรั่งเศสได้ย่ืนข้อเสนอแกไ่ ทยหลายข้อ แต่ไทยรับเพียงบางข้อ ฝรั่งเศสจึงส่ง เรือรบปิดอา่ วไทย จนไทยต้องยอมทาสนธิสญั ญาทท่ี าใหเ้ ราตอ้ งเสยี ผลประโยชน์ ศกั ราชท่เี ก่ยี วข้อง คือ รัตนโกสนิ ทรศ์ ก (ร.ศ.) และพทุ ธศกั ราช (พ.ศ.) เทยี บเป็นพทุ ธศักราช คอื พุทธศกั ราช 2436

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 17 กลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม | รายวิชา ส23102 ประวตั ศิ าสตร์ ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ใบกจิ กรรมที่ 1.2 เรื่อง การเทียบศกั ราช คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเทยี บศักราชท่กี าหนดให้ตอ่ ไปนี้ 1. ม.ศ. 1320 = พ.ศ. 16. พ.ศ. 2310 = ม.ศ. 2. จ.ศ. 1010 = พ.ศ. 17. พ.ศ. 1800 = จ.ศ. 3. ฮ.ศ. 577 = พ.ศ. 18. พ.ศ. 2530 = ฮ.ศ. 4. ม.ศ. 1345 = พ.ศ. 19. พ.ศ. 2539 = ม.ศ. 5. จ.ศ. 1253 = พ.ศ. 20. พ.ศ. 2010 = จ.ศ. 6. ค.ศ. 1520 = พ.ศ. 21. พ.ศ. 2310 = ค.ศ. 7. ร.ศ. 120 = พ.ศ. 22. พ.ศ. 1634 = ม.ศ. 8. ฮ.ศ. 1181 = พ.ศ. 23. พ.ศ. 2516 = จ.ศ. 9. ค.ศ. 1347 = พ.ศ. 24. พ.ศ. 2443 = ร.ศ. 10. ม.ศ. 1175 = พ.ศ. 25. พ.ศ. 2531 = ฮ.ศ. 11. จ.ศ. 1450 = พ.ศ. 26. พ.ศ. 2448 = จ.ศ. 12. ค.ศ. 1450 = พ.ศ. 27. พ.ศ. 2475 = ร.ศ. 13. ร.ศ. 180 = พ.ศ. 28. พ.ศ. 1926 = ม.ศ. 14. จ.ศ. 1143 = พ.ศ. 29. พ.ศ. 2003 = จ.ศ. 15. ค.ศ. 1726 = พ.ศ. 30. พ.ศ. 2112 = ค.ศ. แผนการจดั การเรียนการสอนรายวิชา ส23102 ประวัตศิ าสตร์ ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 | ภาคเรียนที่ 1

18 พัฒนาโดย นายจริ พล ลวิ า | ครชู านาญการ เฉลย ใบกิจกรรมท่ี 1.2 เร่ือง การเทยี บศกั ราช คาช้แี จง ใหน้ ักเรยี นเทียบศักราชทก่ี าหนดใหต้ ่อไปน้ี 1. ม.ศ. 1320 = พ.ศ. 1941 16. พ.ศ. 2310 = ม.ศ. 1689 2. จ.ศ. 1010 = พ.ศ. 2191 17. พ.ศ. 1800 = จ.ศ. 619 3. ฮ.ศ. 577 = พ.ศ. 1699 18. พ.ศ. 2530 = ฮ.ศ. 1408 4. ม.ศ. 1345 = พ.ศ. 1966 19. พ.ศ. 2539 = ม.ศ. 1918 5. จ.ศ. 1253 = พ.ศ. 2434 20. พ.ศ. 2010 = จ.ศ. 829 6. ค.ศ. 1520 = พ.ศ. 2063 21. พ.ศ. 2310 = ค.ศ. 1767 7. ร.ศ. 120 = พ.ศ. 2444 22. พ.ศ. 1634 = ม.ศ. 1013 8. ฮ.ศ. 1181 = พ.ศ. 2303 23. พ.ศ. 2516 = จ.ศ. 1335 9. ค.ศ. 1347 = พ.ศ. 1890 24. พ.ศ. 2443 = ร.ศ. 119 10. ม.ศ. 1175 = พ.ศ. 1796 25. พ.ศ. 2531 = ฮ.ศ. 1409 11. จ.ศ. 1450 = พ.ศ. 2631 26. พ.ศ. 2448 = จ.ศ. 1267 12. ค.ศ. 1450 = พ.ศ. 1993 27. พ.ศ. 2475 = ร.ศ. 151 13. ร.ศ. 180 = พ.ศ. 2504 28. พ.ศ. 1926 = ม.ศ. 1305 14. จ.ศ. 1143 = พ.ศ. 2324 29. พ.ศ. 2003 = จ.ศ. 822 15. ค.ศ. 1726 = พ.ศ. 2269 30. พ.ศ. 2112 = ค.ศ. 1569

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้การศึกษาข้ันพื้นฐาน 19 กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม | รายวิชา ส23102 ประวตั ิศาสตร์ ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 แบบสังเกตพฤตกิ รรม การทางานรายบคุ คล คาชแ้ี จง : ให้ ผสู้ อน สงั เกตพฤติกรรมของผู้ในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด  ลงในชอ่ งท่ีตรง กับระดับคะแนน ลา ช่ือ-สกลุ ความตัง้ ใจในการ ความรบั ผดิ ชอบ ความตรงต่อเวลา ความสะอาด ผลสาเรจ็ ของงาน รวม ดบั (ผ้รู บั การประเมิน) ทางาน 4321 4321 เรยี บร้อย 20 ท่ี 4321 4321 คะแนน 4321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 ลงชื่อ...................................................ผ้ปู ระเมนิ (นายจิรพล ลิวา) ............../.................../................ แผนการจดั การเรียนการสอนรายวชิ า ส23102 ประวตั ิศาสตร์ ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 | ภาคเรยี นท่ี 1

20 พฒั นาโดย นายจิรพล ลิวา | ครูชานาญการ เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครงั้ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 18-20 ดมี าก 14-17 ดี 10-13 พอใช้ ปรบั ปรุง ต่ากว่า 10

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน 21 กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม | รายวิชา ส23102 ประวตั ศิ าสตร์ ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 แบบสงั เกตพฤตกิ รรม การทางานกลมุ่ คาช้แี จง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด  ลงในช่อง ทต่ี รงกับระดบั คะแนน ลา ชือ่ -สกุล ความต้ังใจในการ ความรับผดิ ชอบ ความตรงต่อเวลา ความสะอาด ผลสาเรจ็ ของงาน รวม ดับ (ผรู้ บั การประเมนิ ) ทางาน 4321 4321 เรยี บร้อย 20 ที่ 4321 4321 คะแนน 4321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 ลงชือ่ ...................................................ผ้ปู ระเมิน (นายจิรพล ลวิ า) ............../.................../................ แผนการจดั การเรยี นการสอนรายวิชา ส23102 ประวัตศิ าสตร์ ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 | ภาคเรยี นที่ 1

22 พฒั นาโดย นายจิรพล ลิวา | ครูชานาญการ เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครงั้ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 18-20 ดมี าก 14-17 ดี 10-13 พอใช้ ปรบั ปรุง ต่ากว่า 10

สาระและมาตรฐานการเรยี นรกู้ ารศึกษาขั้นพ้นื ฐาน 23 กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม | รายวิชา ส23102 ประวตั ิศาสตร์ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คาช้ีแจง : ให้ ผู้สอน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด  ลงในชอ่ ง ทีต่ รงกบั ระดบั คะแนน คุณลกั ษณะอนั รายการประเมนิ ระดับคะแนน พึงประสงค์ด้าน 4 3 21 1. รักชาติ 1.1 ยนื ตรงเมื่อไดย้ ินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติ และอธิบาย ศาสน์ กษัตรยิ ์ ความหมายของเพลงชาติ 1.2 ปฏิบตั ติ นสิทธิและหนา้ ทีข่ องพลเมอื งดี 1.3 ใหค้ วามรว่ มมอื รว่ มใจในการทากจิ กรรมกับสมาชิกใน โรงเรยี นและชุมชน 1.4 เขา้ ร่วมกจิ กรรมและมสี ว่ นร่วมในการจัดกจิ กรรมทสี่ รา้ งความ สามคั คีปรองดอง และเป็นประโยชน์ตอ่ โรงเรยี น ชมุ ชน และสงั คม ชน่ื ชมความเป็นชาติไทย 1.5 เข้ารว่ มกจิ กรรมทางศาสนาทตี่ นเองนบั ถืออยา่ งสม่าเสมอเป็น แบบอยา่ งที่ดีของศาสนิกชน 1.6 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั สถาบันพระมหากษตั ริยต์ ามที่ โรงเรียนและชมุ ชนจดั ข้ึน ชืน่ ชมในพระราชกรณยี กจิ พระปรีชา สามารถของพระมหากษัตริยแ์ ละพระราชวงศ์ 2. ซอ่ื สัตย์สุจริต 2.1 ใหข้ อ้ มูลที่ถูกตอ้ งและเปน็ จรงิ 2.2 ปฏิบตั ิในสงิ่ ทถ่ี ูกต้อง ละอายและเกรงกลวั ที่จะกระทา ความผดิ ทาตามสญั ญาทต่ี นได้ใหไ้ วก้ บั เพอ่ื น พอ่ แม่ หรอื ผู้ปกครองและครู เปน็ แบบอยา่ งที่ดดี า้ นความซอ่ื สัตย์ 2.3 ปฏิบัตติ อ่ ผอู้ ื่นดว้ ยความซอื่ ตรงไมห่ าประโยชน์ในทางทีไ่ ม่ ถูกตอ้ งและเป็นแบบอยา่ งท่ดี แี กเ่ พือ่ นมนษุ ยด์ ้านความซ่ือสัตย์ 3. มวี นิ ัย 3.1 ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บข้อบงั คบั ของ รับผดิ ชอบ ครอบครัว และโรงเรยี น ไม่ละเมดิ สิทธขิ องผูอ้ นื่ ตรงต่อเวลาใน การปฏบิ ัติกจิ กรรมต่าง ๆในชวี ิตประจาวันและรบั ผดิ ชอบต่อการ ทางาน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 แสวงหาขอ้ มลู จากแหลง่ เรียนร้ตู า่ ง ๆ 4.2 มีการจดบันทกึ ความรอู้ ย่างเปน็ ระบบ 4.3 สรปุ ความรไู้ ด้อยา่ งมีเหตผุ ล 5. อยอู่ ย่าง 5.1 ใชท้ รพั ย์สินของตนเอง เชน่ สงิ่ ของเครอ่ื งใช้ ฯลฯ อยา่ ง พอเพียง ประหยดั คุ้มค่า และเกบ็ รักษาดุแลอยา่ งดีและใชเ้ วลาอยา่ ง เหมาะสม 5.2 ใชท้ รพั ยากรของสว่ นรว่ มอยา่ งประหยดั คมุ้ คา่ และเกบ็ รกั ษา แผนการจดั การเรียนการสอนรายวิชา ส23102 ประวตั ศิ าสตร์ ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 | ภาคเรียนท่ี 1

24 พัฒนาโดย นายจิรพล ลิวา | ครชู านาญการ คณุ ลักษณะอัน รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1 พงึ ประสงคด์ า้ น 432 ดแู ลอย่างดี 6. มุ่งมน่ั ในการ 5.3 ปฏิบัตติ นและตดั สนิ ใจด้วยความรอบคอบ มเี หตผุ ล ทางาน 7. รกั ความเป็น 5.4 ไมเ่ อาเปรยี บผ้อู ื่นและไม่ทาใหผ้ ู้อืน่ เดือดร้อน พรอ้ มให้อภยั ไทย เมื่อผู้อน่ื กระทาผดิ พลาด 8. มจี ิต 5.5 วางแผนการเรียนและการทางานใช้ชวี ิตประจาวันบนพน้ื ฐาน สาธารณะ ของความรู้ ขอ้ มลู ข่าวสาร 5.6 รู้เทา่ ทนั การเปลยี่ นแปลงทางสงั คม และ สภาพแวดลอ้ ม ยอมรับและปรับตวั อยรู่ ่วมกับผู้อ่ืนไดอ้ ย่างมีความสุข 6.1 มีความต้ังใจและพยายามในการทางานท่ไี ดร้ ับมอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไมท่ อ้ แทต้ อ่ อุปสรรคเพอื่ ใหง้ านสาเร็จ 7.1 มจี ิตสานึกในการอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย 7.2 เหน็ คณุ ค่าและปฏิบตั ิตนตามวฒั นธรรมไทย 8.1 รู้จกั ชว่ ยพ่อแม่ผปู้ กครองและครูทางาน 8.2 อาสาทางาน ชว่ ยคดิ ช่วยทา และแบ่งปันส่ิงของและชว่ ย แกป้ ัญหาให้ผู้อ่นื 8.3 ดแู ลรักษาทรพั ยส์ นิ ของหอ้ งเรยี น โรงเรยี น ชมุ ชน 8.4 เข้ารว่ มกจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณะประโยชน์ของ โรงเรียนและชุมชน เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชอื่ ...................................................ผปู้ ระเมิน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ (นายจริ พล ลวิ า) ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้งั ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ............../.................../................ ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 4 คะแนน ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน

สาระและมาตรฐานการเรยี นรกู้ ารศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน 25 กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม | รายวิชา ส23102 ประวัติศาสตร์ ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 บันทึกหลงั แผนการสอน ประเดน็ ผลการจดั การเรียนรู้ ดา้ นความรู้ 1.1 รู้เขา้ ใจเรอ่ื งการเทียบศกั ราช ด้านทกั ษะกระบวนการ .............รอ้ ยละของนกั เรียนท่ีผ่านการประเมิน 2.1 สามารถเทียบศกั ราชตา่ ง ๆ ได้อย่างเป็นระบบ .............ร้อยละของนกั เรียนที่ไมผ่ ่านการประเมนิ 2.2 สามารถนาวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์มาใช้อยา่ ง เปน็ ระบบ ดา้ นคุณลักษณะ 3.1 มวี ินัย 3.2 ใฝเ่ รียนรู้ 3.3 มุ่งมน่ั ในการทางาน 3.4 รักความเป็นไทย การประเมนิ ผลตามผลการเรียนรู้ ปญั หาท่ีพบ แนวทางการแกป้ ญั หา ผลการแกป้ ญั หา ลงชื่อ................................................. ( นายจริ พล ลิวา ) ผู้สอน แผนการจดั การเรยี นการสอนรายวชิ า ส23102 ประวัตศิ าสตร์ ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 | ภาคเรียนท่ี 1

26 พัฒนาโดย นายจิรพล ลวิ า | ครชู านาญการ  เหน็ ควรให้ช้ันแผนการจัดการเรยี นรู้  เหน็ ควรปรบั ปรุงแกไ้ ข.......................................................................................................... ลงชอื่ ................................................. ( นายจิรพล ลวิ า ) หวั หนา้ กลุ่มสาระสงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม  เหน็ ควรใหช้ นั้ แผนการจดั การเรยี นรู้  เห็นควรปรับปรุงแกไ้ ข.......................................................................................................... ลงชอื่ ................................................. (นางกญั ญารัตน์ สาระพันธ์ ) หวั หน้ากลมุ่ งานบริหารวิชาการ  เหน็ ควรให้ชั้นแผนการจดั การเรียนรู้  เหน็ ควรปรบั ปรงุ แก้ไข.......................................................................................................... ลงชือ่ ................................................. (นางจริ าพร รัตนกลุ ) ผู้อานวยการโรงเรยี นสตรีปากพนัง

สาระและมาตรฐานการเรียนรูก้ ารศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 27 กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม | รายวิชา ส23102 ประวตั ศิ าสตร์ ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 รหัสวิชา ส23102 แผนการจัดการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษาฯ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี 3 รายวชิ า ประวตั ศิ าสตร์ฯ ปีการศกึ ษา 2563 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 5 ชัว่ โมง เรอื่ งการแบ่งชว่ งเวลาทาง แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 2 ประวัตศิ าสตร์ไทย สากล และ เวลา 3 ช่วั โมง วันท่ี ........... วธิ ีการทางประวัติศาสตร์ ปี พ.ศ. 2563 เร่ือง วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ เดือน.......................... มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้วี ัด มาตรฐานท่ี ส 4.1เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตรม์ าวเิ คราะหเ์ หตุการณต์ ่าง ๆ อยา่ งเป็นระบบ ตัวช้ีวดั ส 4.1 ม 3/2 ใชว้ ธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเร่อื งรา่ งต่าง ๆ ที่ตนเองสนใจ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. ดา้ นความรู้ 1.1 รเู้ ขา้ ใจเกย่ี วกบั วธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ 2. ดา้ นทักษะกระบวนการ 2.1 สามารถนาวิธีการทางประวตั ศิ าสตร์มาใชอ้ ย่างเปน็ ระบบ 2.2 สามารถเสนอผลงานทางวิชาการดา้ นประวัติศาสตร์ได้ 3. ดา้ นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 3.1 มีวินยั 3.2 ใฝ่เรยี นรู้ 3.3 ม่งุ มนั่ ในการทางาน 3.4 รกั ความเป็นไทย สาระสาคัญ / ความคดิ รวบยอด การนาเอาวธิ ีการทางประวตั ิศาสตรม์ าใชใ้ นการศึกษาเร่ืองราวทางประวตั ศิ าสตร์และประยกุ ต์ใช้ ชีวิตประจาวนั สาระการเรียนรู้ 1. สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 1.1 ขน้ั ตอนวธิ ีการทางประวัติศาสตรส์ าหรับศกึ ษาเหตุการณ์ทางประวัตศิ าสตร์ 1.2 นาวิธีการทางประวตั ิศาสตร์มาใช้กับการศกึ ษาเร่อื งราวท่ีเกี่ยวข้องกนั ตนเอง ครอบครวั ฯลฯ แผนการจดั การเรยี นการสอนรายวิชา ส23102 ประวัติศาสตร์ ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 | ภาคเรยี นท่ี 1

28 พฒั นาโดย นายจริ พล ลิวา | ครูชานาญการ 2. สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่นิ - ด้านสมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียน  ความสามารถในการส่อื สาร : บอกข้นั ตอนวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์  ความสามารถในการคิด 1. ทักษะการคิดกวา้ ง : นาขน้ั ตอนทางประวัตศิ าสตรไ์ ปใช้ในการเรยี น 2. ทักษะการใหเ้ หตผุ ล : จาแนก ให้เหตผุ ล เกย่ี วกับประเดน็ ที่ศึกษา  ความสารถในการแกป้ ญั หา : ใชข้ ้นั ตอนทางประวัตศิ าสตร์พัฒนางานของตนเอง  ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต : ใช้ข้นั ตอนทางประวตั ศิ าสตร์ในการเรยี นรายวิชาอืน่  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ตามหลักสตู รแกนกลางข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551  รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  อยู่อย่างพอเพียง  ซ่อื สตั ยส์ จุ ริต  มงุ่ ม่นั ในการทางาน  มีวนิ ัย  รกั ความเปน็ ไทย  ใฝเ่ รยี นรู้  มจี ติ สาธารณะ คาขวัญโรงเรยี น  เรยี นดี  ประพฤติดี  ฝมี อื เด่น  เป็นงาน ดา้ นการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น  การอ่าน  การคดิ วเิ คราะห์  การเขียน บูรณาการกบั หลักการเรยี นในศตวรรษท่ี 21 (นกั เรยี นได้เรยี นร้สู อดคล้องกับหลักการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21) Reading Writing Globalization อา่ นผลงานทางประวัติศาสตร์ เขียนงานทางประวัติศาสตร์ผ่าน ศกึ ษาหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ (หลกั ฐานชัน้ รอง) ได้ กระบวนการทางประวตั ศิ าสตร์ได้ อื่น ๆ ท่ีเกยี่ วข้องกับพฒั นาการ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ทางประวตั ิศาสตรข์ องโลก (ยกเว้น เอเชีย) ได้ Critical Thinking & Problem Solving (ทักษะการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ และ ทกั ษะการในการแก้ไขปญั หา) Creativity & Innovation (การคดิ เชงิ สร้างสรรค)์ Collaboration , Teamwork & Leadership (การทางานร่วมและยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ จากผ้อู ่ืน) Cross – Cultural Understanding (ยอมรับความหลากหลายและความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม) Communication , Information & Media Literacy (กล้าซักถามและแสดงความคิดเห็นในการเรียน) Computing & Media Literacy (สามารถใช้ทกั ษะด้านสารสนเทศประกอบการเรยี นรไู้ ด)้ Career & Learning Self-Reliance (มคี วามรเู้ ข้าใจและคน้ คว้าเพิ่มเตมิ เกีย่ วกบั เรอื่ งทเ่ี รียน)

สาระและมาตรฐานการเรยี นรูก้ ารศึกษาข้นั พืน้ ฐาน 29 กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม | รายวิชา ส23102 ประวัตศิ าสตร์ ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 Reading Writing Globalization Change (สร้างทัศนคติใหมใ่ นการเรยี นรายวชิ าประวตั ิศาสตรใ์ หน้ า่ สนใจมากขึ้น) Learning Leadership Historical Method Presentation & Lecture Time & Ages บรู ณาการกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (นักเรียนได้เรยี นรอู้ ยูอ่ ย่างพอเพยี งจากการเรียนรู้ที่บรู ณาการหลักปรัญชาของเศรษฐกจิ พอเพียง) พอประมาณ มเี หตผุ ล สรา้ งภมู คิ มุ้ กัน นกั เรียนแบ่งเวลาวา่ งเพิ่มเติมมาใช้ นักเรยี นใช้เหตุผลในการเรยี น และ นักเรียนมคี วามรู้และความเข้าใจ ในการเรียนรู้ด้วยตนเองนอก นาหลักการของเหตุผลไปใช้ในการ ของพฒั นาการทางประวัติศาสตร์ หอ้ งเรยี น คน้ หาความจรงิ ของประวัติศาสตร์ ในอดตี มาเปน็ บทเรียนเพื่อ ตามหลกั วิธีการทางประวัตศิ าสตร์ เตอื นสติตนเองในการดาเนนิ ชวี ิต ความรู้ (นักเรยี นมีความรใู้ นเรือ่ งวิธีการทางประวตั ิศาสตรเ์ ปน็ อยา่ งด)ี คุณธรรม (นกั เรยี นใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มนั่ ในการทางาน มีวนิ ัยในการจดั ระบบการเรยี นดว้ ยตนเอง) การบูรณาการฯ สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น โรงเรียนคมุ้ ครองเด็กระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียน - ใชก้ ระบวนศึกษาวิเคราะหผ์ ู้เรียนเป็นรายบุคคลเพื่อทา ความเข้าใจนักเรียนและแก้ไขขอ้ บกพร่องทางการเรยี นรู้ ของนักเรยี นได้ ตลอดจนจัดทาฐานขอ้ มลู ส่วนตัวของ นักเรยี นเพื่อความสะดวกในการศกึ ษาข้อมลู และพฒั นา ผเู้ รยี นใหไ้ ดเ้ ต็มศักยภาพ แผนการจดั การเรียนการสอนรายวิชา ส23102 ประวัตศิ าสตร์ ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 | ภาคเรยี นท่ี 1

30 พัฒนาโดย นายจิรพล ลวิ า | ครูชานาญการ กิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา (CIPPA Model) ชวั่ โมงที่ 1  ใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นเรือ่ ง “วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์” ขน้ั ท่ี 1 ทบทวนความรเู้ ดิม สอื่ การเรียนรู้ 1. ภาพหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ (ช้นั ต้น และ ชน้ั รอง) คำถำมกระต้นุ ควำมคดิ “ครูสงั่ รายงานวิชาประวัติศาสตรไ์ ป นกั เรียนมวี ิธกี ารทาอย่างไรบา้ ง” ขั้นตอนการเรยี นรู้ 1. ครูใหน้ กั เรียนตอบคาถามกระตนุ้ ความคิดโดยสุม่ นักเรียน 3-4 คนในชน้ั เรยี น 2. ครูตรวจสอบความถูกต้องของคาตอบและชมเชยนักเรียนที่ตอบได้ใกล้เคียงกับ ความเปน็ จริงมากทสี่ ุด 3. ครูให้นักเรียนลองคาดเดาดูว่าภาพที่ให้ดู เป็นหลักฐานช้ันต้น หรือหลักฐานชั้น รอง ขน้ั ท่ี 2 แสวงหาความรู้ใหม่ สื่อการเรยี นรู้ 1. ภาพหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์เพิ่มเติม (หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร และไม่ เปน็ ลายลกั ษณ์อักษร) คำถำมกระตนุ้ ควำมคดิ “หลักฐานช้ันตน้ ชั้นรอง กับ หลักฐานเปน็ และไมเ่ ป็นลายลกั ษณ์ อะไรสาคัญกว่า” ข้นั ตอนการเรยี นรู้ 1. นักเรยี นตอบคาถามกระต้นุ ความคดิ 2. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 4 กลุ่ม (เก่ง , ปานกลางค่อนข้างเก่ง , ปานกลาง ค่อนข้างอ่อน , อ่อน) แล้วให้ร่วมกันหาคาอธิบายเกี่ยวกับหลักฐานทาง ประวตั ิศาสตรท์ ัง้ 4 ประเภททีถ่ าม 4. ครูใหต้ วั แทนแตล่ ะกลมุ่ ออกมาอธิบายถึงคาตอบท่ีได้พร้อมท้งั เหตผุ ล ขั้นที่ 3 ศกึ ษาข้อมูลจากความรู้ใหม่และผสมผสานกบั ความรู้เดมิ สอ่ื การเรยี นรู้ 1. ใบงานท่ี 1.3 เรอื่ ง ลาดับขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ข้ันตอนการเรยี นรู้

สาระและมาตรฐานการเรียนร้กู ารศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน 31 กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม | รายวิชา ส23102 ประวัติศาสตร์ ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 1. ครูมอบหมายให้นักเรียนท้ัง 4 กลุ่ม ค้นหาคาตอบของประเด็นวิธีการทาง ประวัติศาสตรใ์ นการศึกษาเรอื่ งราวทางประวัติศาสตร์ จากหนงั สือเรยี น หนงั สือ คน้ ควา้ เพิ่มเตมิ ห้องสมุด และแหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ ในหัวขอ้ ต่อไปนี้ a. จุดมุง่ หมายของการวเิ คราะหเ์ รื่องราว เหตกุ ารณ์ทางประวัติศาสตร์ b. ขอ้ จากัดของเรอ่ื งราว เหตกุ ารณ์ทางประวัติศาสตร์ c. ความสาคญั ของการวเิ คราะห์เรื่องราว เหตกุ ารณท์ างประวตั ิศาสตร์ 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์เน้ือหาที่ศึกษา ผลัดกันอภิปราย และ ซักถามข้อสงสยั จนทกุ คนมคี วามเข้าใจชัดเจนตรงกัน 3. ครูอธิบายความรู้เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวทาง ประวัติศาสตร์เพ่ิมเติมให้นักเรียนฟัง เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจชัดเจน มากยิง่ ข้นึ 4. ครใู หน้ ักเรียนทาใบงานที่ 1.3 ช่วั โมงท่ี 2 ข้นั ที่ 4 แลกเปลย่ี นความรู้ความเขา้ ใจกบั กล่มุ สื่อการเรยี นรู้ 1. ใบงานที่ 1.4 เรอื่ ง วเิ คราะหต์ วั อยา่ งเหตุการณท์ างประวัติศาสตร์ คำถำมกระตุ้นควำมคิด “เพราะเหตุใด เราจึงตอ้ งศึกษาเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์” ข้นั ตอนการเรียนรู้ 1. ครูยกตัวอย่างกรณีตัวอย่างในการศึกษาเรื่องราว เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ มาให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ว่า มีความถูก ต้อง น่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด พร้อมแสดงเหตุผลประกอบ ครูคอยอธิบาย เพิ่มเตมิ 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มทาใบงานท่ี 1.4 เร่ือง วิเคราะห์ตัวอย่างเหตุการณ์ทาง ประวัติศาสตร์ เสร็จแล้วร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของคาตอบ จากนั้น นาสง่ ครตู รวจ 3. นักเรยี นตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ 4. ครูให้นักเรียนที่ทาใบงานท่ี 1.4 เสร็จแล้ว จับคู่เพื่อนในกลุ่มเพื่ออธิบายตามที่ ตนเองเข้าใจ 5. ครสู ุม่ เรียกตวั แทนกล่มุ มาอธิบายหน้าช้นั เรียน แผนการจดั การเรียนการสอนรายวิชา ส23102 ประวตั ศิ าสตร์ ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 | ภาคเรียนที่ 1

32 พฒั นาโดย นายจิรพล ลิวา | ครชู านาญการ ขัน้ ท่ี 5 สรปุ และจัดระเบียบความรู้ สอื่ การเรยี นรู้ - ขนั้ ตอนการเรียนรู้ 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เร่ืองวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์และใหน้ ักเรียน จดบนั ทึกลงสมดุ ชว่ั โมงที่ 3 ขั้นท่ี 6 ปฏบิ ตั ิ และ/หรือ แสดงผลงาน สือ่ การเรียนรู้ ใบงานที่ 1.5 เรื่อง วิเคราะหต์ วั อยา่ งเหตุการณท์ างประวัตศิ าสตร์ คำถำมกระตุ้นควำมคิด “ถ้าหากไมใ่ ช้วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์ในการศกึ ษาเหตกุ ารณท์ าง ประวัตศิ าสตร์ จะสามารถใชว้ ิธใี ดได้อีกบา้ ง อธบิ ายเหตผุ ล” ขั้นตอนการเรียนรู้ 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ใน การศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ 2. ครูให้นักเรียนแต่ละคนทาใบงานท่ี 1.5 เร่ือง วิเคราะห์เหตุการณ์ทาง ประวัติศาสตร์ 3. เมื่อทาเสร็จแล้วให้นักเรียนรวมกลุ่มเดิม ผลัดกันอธิบายผลงานใน ใบงานของ ตนเองให้เพ่ือนฟัง พร้อมซักถามข้อสงสัยแลกเปล่ียนความรู้กัน จากนั้นช่วยกัน คดั เลอื กผลงานทีด่ ที ีส่ ดุ เพื่อเตรยี มนาเสนอผลงาน 4. นกั เรยี นตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ ขน้ั ที่ 7 การประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ สอ่ื การเรียนรู้ - ขน้ั ตอนการเรยี นรู้ 1. ครใู หน้ ักเรียนสร้างโจทยท์ ีน่ ่าสนใจเกีย่ วกับวิธีการทางประวัติศาสตร์ (สืบคน้ จาก หนังสอื เพ่ิมเติมได)้ พรอ้ มท้ังคาตอบ 3. นักเรยี นนางานรวบรวมสง่ ครู

สาระและมาตรฐานการเรยี นร้กู ารศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน 33 กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม | รายวิชา ส23102 ประวตั ศิ าสตร์ ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 การวดั และประเมินผล วธิ กี าร เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารประเมิน (ประเมินตามสภาพจรงิ ) ดา้ นความรู้ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑฯ์ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑฯ์ ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน แบบทดสอบกอ่ นเรียนหนว่ ยการ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑฯ์ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1.2 เรยี นรทู้ ี่ 1.2 ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจใบงานท่ี 1.3 ใบงานที่ 1.3 ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.4 ใบงานที่ 1.4 ตรวจใบงานที่ 1.5 ใบงานท่ี 1.5 ด้านทักษะกระบวนการ สังเกตพฤตกิ รรมการทางาน แบบสงั เกตพฤติกรรรมการทางาน รายบุคคล รายบุคคล สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรรมการทางาน กลุ่ม ดา้ นคณุ ลักษณะ สงั เกตความมีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ และ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึง มุ่งมัน่ ในการทางาน ประสงค์ สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้ 1. ภาพหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่นี า่ สนใจ 2. แบบทดสอบก่อนเรยี น เรื่องที่ 1 การเทียบศกั ราช ผา่ น Google Form 3. ใบกิจกรรมที่ 1.1 เรอ่ื ง เหตุการณ์และความสัมพนั ธท์ างศกั ราช ผ่าน Google Form 4. ใบกจิ กรรมท่ี 1.2 เรอื่ ง การเทยี บศกั ราช ผ่าน Google Form แหล่งเรียนรู้ 1. หอ้ งสมดุ โรงเรียนสตรีปากพนัง 2. ห้องคอมพวิ เตอรฯ์ 3. เวบ็ ไซตข์ องครจู ริ พล ลิวา ผา่ น Google Applicaiton ลงชื่อ............................................................. (นายจริ พล ลิวา) ผจู้ ัดทาแผนการจดั การเรียนร้ฯู แผนการจดั การเรยี นการสอนรายวิชา ส23102 ประวัตศิ าสตร์ ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 | ภาคเรียนที่ 1

34 พฒั นาโดย นายจิรพล ลวิ า | ครชู านาญการ แบบทดสอบการเรยี นเรื่องที่ 1.2 การนับศักราช คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องท่สี ุดเพยี งคาตอบเดยี ว 1. นกั ประวตั ิศาสตร์ใช้เกณฑอ์ ะไรแบง่ ยุคสมัยทางประวตั ิศาสตรอ์ อกเปน็ ยคุ ก่อนประวตั ิศาสตร์และยุค ประวัตศิ าสตร์ ก. การตัง้ ถิน่ ฐาน ข. เครอ่ื งมือเครื่องใช้ ค. ตานานหรอื คาบอกเลา่ ง. หลกั ฐานที่เปน็ ลายลักษณ์อักษร 2. อนสุ าวรียช์ ยั สมรภมู ิ เป็นหลกั ฐานประเภทใด ก. หลักฐานชน้ั ตน้ ข. หลกั ฐานชน้ั รอง ค. หลักฐานปฐมภูมิ ง. หลักฐานที่เป็นลายลักษณอ์ ักษร 3. จารกึ วัดพระเชตุพลวมิ ลมงั คลารามจัดเป็นหลักฐานประเภทใด ก. หลกั ฐานชัน้ รอง ข. หลักฐานท่เี ป็นลายลักษณอ์ ักษร ค. หลักฐานท่ไี มเ่ ป็นลายลักษณ์อักษร ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก 4. งานเขียนทางประวตั ิศาสตร์ที่บนั ทึกเร่อื งราวเกย่ี วกับพระมหากษตั รยิ จ์ ัดเปน็ หลักฐานประเภทใด ก. ตานาน ข. จดหมายเหตุ ค. จดหมายส่วนตวั ง. พระราชพงศาวดาร 5. กฎหมายท่รี ัชกาลท่ี 1 โปรดเกลา้ ให้ชาระขน้ึ เรยี กวา่ อะไร ก. กฎหมายอาญา ข. กฎหมายรฐั ธรรมนญู ค. กฎหมายตราสามดวง ง. กฎหมายพระมนธู รรมศาสตร์ 6. เม่อื พ.ศ. 2475 เกดิ เหตกุ ารณ์ใดขึ้น สมชายต้องคน้ หาหนังสือทห่ี ้องสมดุ และ อินเตอรเ์ นต การ กระทาของสมชายจัดอยู่ในขั้นตอนใดของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ก. การกาหนดปญั หา ข. การตีความหลกั ฐาน ค. การรวบรวมหลักฐาน ง. การเรียบเรียงและนาเสนอ 7. วฒั นธรรมมีความสาคญั อย่างไร อยขู่ น้ั ตอนใดของวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์ ก. การกาหนดปัญหา ข. การตคี วามหลกั ฐาน ค. การรวบรวมหลักฐาน ง. การตรวจสอบและประเมนิ คุณคา่ ของหลักฐาน

สาระและมาตรฐานการเรยี นรกู้ ารศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน 35 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม | รายวิชา ส23102 ประวัติศาสตร์ ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 8. เม่อื มีการตรวจสอบและประเมนิ คุณค่าของหลกั ฐานแลว้ ขั้นตอนตอ่ ไปจะทาอยา่ งไร ก. กาหนดปัญหา ข. ตคี วามหลักฐาน ค. รวบรวมหลักฐาน ง. เรียบเรียงและนาเสนอ 9. ขอ้ ใดจัดเป็นวธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ทแี่ ตกตา่ งจากวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ ก. การกาหนดเร่ืองทจ่ี ะศึกษา ข. การตีความเพื่อตอบปัญหา ค. การค้นหาและรวบรวมหลกั ฐานตา่ งๆ ง. ตรวจสอบวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ หลักฐาน 10. ถา้ วธิ ีการทางวิทยาศาสตรเ์ ป็นสรปุ ผลการทดลอง เปน็ ข้อความรู้ วธิ ีการทางประวัติศาสตร์ คืออะไร ก. การนาเสนอ ข. การกาหนดปญั หา ค. การตีความหลักฐาน ง. การรวบรวมหลกั ฐาน เฉลย 2. ข 3. ข 4. ข 5. ค 7. ก 8. ข 9. ง 10. ก 1. ง 6. ค แผนการจดั การเรยี นการสอนรายวิชา ส23102 ประวัติศาสตร์ ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 | ภาคเรียนที่ 1

36 พฒั นาโดย นายจิรพล ลวิ า | ครูชานาญการ ใบกจิ กรรมที่ 1.3 ลาดับขนั้ ตอนของวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์ คาชี้แจง ใหน้ ักเรยี นวเิ คราะห์ขอ้ ความทกี่ าหนดวา่ อยู่ในข้นั ตอนใดของวิธีการทางประวัตศิ าสตร์ 1. แนวทางในการคน้ หาคาตอบอย่างมีเหตผุ ล 2. พบขอ้ มูลจากหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ 3. ตรวจสอบและประเมินคา่ ความน่าเชอื่ ถอื ของหลักฐาน 4. ตอบคาถามตามทีว่ างไว้ 5. อธิบายเรอ่ื งทีศ่ ึกษาอย่างมีเหตผุ ล 6. เขยี นรายงานเหตุผลการย้ายราชธานขี องรชั กาลท่ี 1 7. สมั ภาษณ์ชาวจนี ยา่ นเยาวราชเก่ียวกับการทาทองในยา่ นเยาวราช 8. หมากต้องการทราบว่า วดั ไชยวัฒนาราม จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา สรา้ งข้นึ ในสมยั ใด 9. สนามหลวง เดิมเรียกว่า ทุ่งพระเมรุ เปน็ สถานทถ่ี วายพระเพลิงพระบรมศพพระเจ้าแผ่นดนิ และพระบรมวงศานุวงศ์ 10. จดหมายเหตุรัชกาลท่ี 4 เป็นหลักฐานช้ันตน้

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 37 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม | รายวิชา ส23102 ประวัติศาสตร์ ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 เฉลย ใบกิจกรรมที่ 1.3 ลาดบั ขัน้ ตอนของวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ คาช้แี จง ใหน้ กั เรยี นวเิ คราะหข์ อ้ ความท่กี าหนดว่า อยใู่ นข้นั ตอนใดของวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ 1. แนวทางในการคน้ หาคาตอบอย่างมีเหตผุ ล การกาหนดหัวเรื่องทจี่ ะศึกษา 2. พบข้อมูลจากหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ การรวบรวมหลักฐาน 3. ตรวจสอบและประเมินคา่ ความน่าเชอื่ ถือของหลกั ฐาน การประเมินคณุ ค่าของหลกั ฐาน 4. ตอบคาถามตามทวี่ างไว้ การวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และจัดหมวดหมขู่ อ้ มลู 5. อธิบายเร่อื งทศ่ี กึ ษาอยา่ งมเี หตผุ ล การเรยี บเรยี งหรือการนาเสนอ 6. เขยี นรายงานเหตุผลการยา้ ยราชธานีของรชั กาลที่ 1 การเรียบเรียงหรอื การนาเสนอ 7. สมั ภาษณ์ชาวจนี ย่านเยาวราชเกี่ยวกบั การทาทองในยา่ นเยาวราช การรวบรวมหลกั ฐาน 8. หมากตอ้ งการทราบว่า วัดไชยวฒั นาราม จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา สรา้ งขนึ้ ในสมยั ใด การกาหนดหัวเรอื่ งท่จี ะศึกษา 9. สนามหลวง เดิมเรยี กว่า ทุง่ พระเมรุ เปน็ สถานทีถ่ วายพระเพลิงพระบรมศพพระเจ้าแผน่ ดนิ และพระบรมวงศานวุ งศ์ การวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และจดั หมวดหมูข่ ้อมลู 10. จดหมายเหตุรชั กาลท่ี 4 เปน็ หลกั ฐานชนั้ ตน้ การประเมินคณุ ค่าของหลักฐาน แผนการจดั การเรยี นการสอนรายวิชา ส23102 ประวตั ิศาสตร์ ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 | ภาคเรยี นที่ 1

38 พฒั นาโดย นายจิรพล ลวิ า | ครูชานาญการ ใบกิจกรรมที่ 1.4 เร่อื ง วเิ คราะห์ตวั อยา่ งเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ คาชแ้ี จง ให้นักเรยี นอ่านตวั อยา่ งเหตุการณท์ างประวตั ิศาสตร์ แล้ววิเคราะหแ์ ละตอบคาถาม ตวั อยา่ งที่ 1 “ศุภมศั ดุศักราช 1373 กุกกุฏสงั วัจฉระเชษฐมาศกาลปกั เขปญั จมีดฤษถพี ุทธวารกาลบริเฉทกาหนด พระบาทสมเด็จพระบรมนารถบพิตร...เสดจ์ออกณะพระธินั่งดลิ กมาลามหาไพชนประสาท...จึงมพี ระ ราชโองการมาณพระบันทูลสุรสีหนาทดารัสให้ตราพระราชบัญญัติเผดียงโฆษนาการแก่ชาวเจ้าเง่า ยุพราชนาฏปิโยรสา พระภาคีไนย...อันมีพระราชอาณาเขตพระนครศรีอยุธยา มหา ดลิ กภพนพรัตนราชธานี...” ทีม่ า : พระอัยการกระบดศกึ ประมวลกฎหมายรัชกาลที่ 1 จุลศกั ราช 1166 พิมพต์ ามฉบบั หลวง ตราสามดวง. (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เล่ม 2, 2529.) : หนา้ 462. 1. เหตุการณ์ดังกลา่ วเปน็ เรื่องราวเก่ียวกับอะไร 2. หลักฐานท่ปี รากฏในเหตกุ ารณด์ ังกล่าว ไดแ้ ก่อะไรบ้าง 3. หลักฐานที่ปรากฏในเหตกุ ารณด์ ังกล่าว มคี วามน่าเชื่อถือมากนอ้ ยเพียงใด 4. เหตกุ ารณด์ งั กล่าว มีความสาคญั อย่างไร 5. การศกึ ษาเหตุการณด์ งั กลา่ ว มีประโยชนต์ อ่ นักเรยี นอย่างไร

สาระและมาตรฐานการเรียนรกู้ ารศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน 39 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม | รายวิชา ส23102 ประวตั ศิ าสตร์ ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 ตัวอย่างท่ี 2 “วิกเตอร์ อะเล็กซานเดอร์ บรูซ เอิร์ลท่ี 9 แห่งเอลกินเป็นนักการเมืองพรรคเสรีนิยมของอังกฤษ (Liberal Party) … เดิมรับราชการอยู่ในสมัยนายกรัฐมนตรีวิลเลียม แกลดสโตน...เอลกินมิได้ประสบ ความสาเร็จในฐานะอุปราชผู้บริหารสูงสุดในอินเดีย แต่เนื่องจากเขาเป็นผู้ปกครองในยุคจักรวรรดินิยม ในอินเดีย (ค.ศ. 1858-1905) ซึ่งอังกฤษให้ความสาคัญในการปกป้องจักรวรรดิมากกว่าการพัฒนา ดินแดนเช่นในยคุ ปฏิรูป (ค.ศ. 1905-1937)...” ท่มี า : ศรสี รุ างค์ พูลทรัพย์. “Elgin, Victor Alexander Bruce, 9” Earl of (1849-1917) : วิกเตอร์อะเลก็ ซานเดอร์ บรูซ เอิรล์ ท่ี 9 แห่งเอลกิน (พ.ศ. 2392-2460)”, สารานกุ รมประวตั ิศาสตรส์ ากลสมยั ใหม่ : เอเชยี เลม่ 3 อกั ษร E-G ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน (2551) : หนา้ 58-59. 1. เหตกุ ารณ์ดงั กลา่ วเป็นเร่อื งราวเก่ยี วกับอะไร 2. หลกั ฐานทป่ี รากฏในเหตกุ ารณด์ งั กลา่ ว ได้แกอ่ ะไรบ้าง 3. หลกั ฐานท่ีปรากฏในเหตกุ ารณด์ งั กล่าว มคี วามนา่ เชอ่ื ถือมากนอ้ ยเพยี งใด 4. เหตุการณ์ดงั กล่าว มีความสาคัญอย่างไร 5. การศกึ ษาเหตุการณ์ดงั กลา่ ว มปี ระโยชนต์ ่อนักเรยี นอยา่ งไร แผนการจดั การเรียนการสอนรายวิชา ส23102 ประวัตศิ าสตร์ ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 | ภาคเรยี นท่ี 1

40 พฒั นาโดย นายจริ พล ลวิ า | ครูชานาญการ เฉลย ใบกิจกรรมท่ี 1.4 เรอื่ ง วเิ คราะหต์ วั อย่างเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์ คาช้ีแจง ให้นักเรียนอ่านตัวอย่างเหตกุ ารณท์ างประวัติศาสตร์ แลว้ วิเคราะหแ์ ละตอบคาถาม ตัวอยา่ งท่ี 1 “ศุภมัศดุศกั ราช 1373 กุกกุฏสงั วัจฉระเชษฐมาศกาลปักเขปญั จมีดฤษถีพุทธวารกาลบริเฉทกาหนด พระบาทสมเด็จพระบรมนารถบพิตร...เสดจ์ออกณะพระธนิ ั่งดลิ กมาลามหาไพชนประสาท...จึงมีพระ ราชโองการมาณพระบันทูลสุรสีหนาทดารัสให้ตราพระราชบัญญัติเผดียงโฆษนาการแก่ชาวเจ้าเง่า ยุพราชนาฏปิโยรสา พระภาคีไนย...อันมีพระราชอาณาเขตพระนครศรีอยุธยา มหา ดิลกภพนพรตั นราชธาน.ี ..” ที่มา : พระอยั การกระบดศกึ ประมวลกฎหมายรัชกาลท่ี 1 จลุ ศกั ราช 1166 พมิ พต์ ามฉบบั หลวง ตราสามดวง. (กรงุ เทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ เล่ม 2, 2529.) : หน้า 462. 1. เหตกุ ารณด์ ังกลา่ วเปน็ เรอื่ งราวเก่ียวกบั อะไร 2. หลกั ฐานทป่ี รากฏในเหตุการณ์ดงั กล่าว ได้แกอ่ ะไรบ้าง 3. หลักฐานทปี่ รากฏในเหตกุ ารณด์ ังกลา่ ว มีความนา่ เชอ่ื ถอื มากนอ้ ยเพยี งใด 4. เหตุการณด์ งั กลา่ ว มีความสาคญั อย่างไร 5. การศกึ ษาเหตกุ ารณ์ดังกล่าว มปี ระโยชน์ตอ่ นักเรยี นอย่างไร (พิจำรณำตำมคำตอบของนกั เรยี น โดยใหอ้ ยใู่ นดุลยพินิจของครูผู้สอน)

สาระและมาตรฐานการเรียนรกู้ ารศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 41 กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม | รายวิชา ส23102 ประวัติศาสตร์ ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ตัวอยา่ งท่ี 2 “วิกเตอร์ อะเล็กซานเดอร์ บรูซ เอิร์ลท่ี 9 แห่งเอลกินเป็นนักการเมืองพรรคเสรีนิยมของอังกฤษ (Liberal Party) … เดิมรับราชการอยู่ในสมัยนายกรัฐมนตรีวิลเลียม แกลดสโตน...เอลกินมิได้ประสบ ความสาเร็จในฐานะอุปราชผู้บริหารสูงสุดในอินเดีย แต่เนื่องจากเขาเป็นผู้ปกครองในยุคจักรวรรดินิยม ในอินเดีย (ค.ศ. 1858-1905) ซ่ึงอังกฤษให้ความสาคัญในการปกป้องจักรวรรดิมากกว่าการพัฒนา ดนิ แดนเชน่ ในยคุ ปฏริ ปู (ค.ศ. 1905-1937)...” ท่ีมา : ศรสี รุ างค์ พูลทรัพย์. “Elgin, Victor Alexander Bruce, 9” Earl of (1849-1917) : วิกเตอร์อะเลก็ ซานเดอร์ บรซู เอริ ล์ ท่ี 9 แหง่ เอลกิน (พ.ศ. 2392-2460)”, สารานกุ รมประวตั ิศาสตรส์ ากลสมยั ใหม่ : เอเชีย เลม่ 3 อกั ษร E-G ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน (2551) : หนา้ 58-59. 1. เหตกุ ารณ์ดงั กล่าวเป็นเร่อื งราวเกย่ี วกับอะไร 2. หลักฐานทีป่ รากฏในเหตุการณ์ดังกลา่ ว ได้แก่อะไรบา้ ง 3. หลักฐานท่ปี รากฏในเหตกุ ารณด์ ังกลา่ ว มคี วามน่าเชอ่ื ถือมากนอ้ ยเพียงใด 4. เหตุการณ์ดังกล่าว มีความสาคัญอยา่ งไร 5. การศกึ ษาเหตุการณด์ ังกล่าว มปี ระโยชน์ตอ่ นกั เรยี นอย่างไร (พิจำรณำตำมคำตอบของนักเรียน โดยใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพินิจของครูผู้สอน) แผนการจดั การเรียนการสอนรายวชิ า ส23102 ประวัตศิ าสตร์ ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 | ภาคเรยี นที่ 1

42 พัฒนาโดย นายจิรพล ลวิ า | ครชู านาญการ ใบกจิ กรรมท่ี 1.5 เรอื่ ง วเิ คราะห์ตวั อยา่ งเหตกุ ารณ์ทางประวัติศาสตร์ คาช้ีแจง ใหน้ ักเรียนนาตวั อย่างเหตกุ ารณ์ทางประวัตศิ าสตร์ มาวเิ คราะหแ์ ละตอบคาถาม เหตุการณ์เรื่อง (สาระสาคญั ) ท่ีมา 1. เหตุการณด์ งั กล่าวเป็นเร่อื งราวเกีย่ วกับอะไร 2. หลักฐานที่ปรากฏในเหตกุ ารณ์ดังกลา่ ว ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง 3. หลกั ฐานท่ีปรากฏในเหตุการณด์ ังกลา่ ว มีความนา่ เชอื่ ถอื มากนอ้ ยเพียงใด 4. เหตุการณด์ งั กล่าว มคี วามสาคัญอย่างไร 5. การศกึ ษาเหตกุ ารณด์ ังกลา่ ว มีประโยชน์ตอ่ นักเรียนอย่างไร

สาระและมาตรฐานการเรยี นรกู้ ารศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน 43 กลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม | รายวิชา ส23102 ประวัตศิ าสตร์ ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 เฉลย ใบกจิ กรรมท่ี 1.5 เรื่อง วิเคราะหต์ วั อยา่ งเหตกุ ารณ์ทางประวตั ิศาสตร์ คาช้ีแจง ใหน้ กั เรียนนาตัวอยา่ งเหตกุ ารณท์ างประวัตศิ าสตร์ มาวเิ คราะห์และตอบคาถาม เหตกุ ารณ์เรือ่ ง (สาระสาคัญ) ทม่ี า 1. เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นเร่อื งราวเก่ียวกบั อะไร 2. หลกั ฐานท่ีปรากฏในเหตุการณ์ดังกลา่ ว ได้แกอ่ ะไรบา้ ง 3. หลักฐานทป่ี รากฏในเหตกุ ารณ์ดังกลา่ ว มีความนา่ เชอื่ ถอื มากนอ้ ยเพียงใด 4. เหตกุ ารณ์ดังกล่าว มีความสาคญั อย่างไร 5. การศกึ ษาเหตุการณด์ งั กลา่ ว มีประโยชน์ต่อนักเรยี นอย่างไร (พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยใหอ้ ยใู่ นดุลยพินิจของครูผู้สอน) แผนการจดั การเรยี นการสอนรายวชิ า ส23102 ประวัติศาสตร์ ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 | ภาคเรียนท่ี 1

44 พฒั นาโดย นายจริ พล ลิวา | ครชู านาญการ แบบสังเกตพฤติกรรม การทางานรายบุคคล คาชแ้ี จง : ให้ ผสู้ อน สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด  ลงในชอ่ ง ทีต่ รงกับระดับคะแนน ลา ชอ่ื -สกุล ความตัง้ ใจในการ ความรบั ผดิ ชอบ ความตรงตอ่ เวลา ความสะอาด ผลสาเร็จของงาน รวม ดบั (ผรู้ ับการประเมนิ ) ทางาน 4321 4321 เรียบรอ้ ย 20 ท่ี 4321 4321 คะแนน 4321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 ลงชือ่ ...................................................ผูป้ ระเมนิ (นายจิรพล ลวิ า) ............../.................../................ เกณฑ์การให้คะแนน

สาระและมาตรฐานการเรยี นรกู้ ารศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 45 กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม | รายวิชา ส23102 ประวตั ศิ าสตร์ ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครงั้ ให้ 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครงั้ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 18-20 ดีมาก 14-17 ดี 10-13 พอใช้ ปรบั ปรงุ ต่ากว่า 10 แผนการจดั การเรยี นการสอนรายวชิ า ส23102 ประวัตศิ าสตร์ ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 | ภาคเรยี นที่ 1

46 พัฒนาโดย นายจิรพล ลวิ า | ครชู านาญการ แบบสงั เกตพฤติกรรม การทางานกลมุ่ คาชีแ้ จง : ให้ ผสู้ อน สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด  ลงในชอ่ ง ท่ีตรงกับระดบั คะแนน ลา ชอ่ื -สกลุ ความตงั้ ใจในการ ความรับผิดชอบ ความตรงตอ่ เวลา ความสะอาด ผลสาเร็จของงาน รวม ดบั (ผู้รบั การประเมนิ ) ทางาน 4321 4321 เรียบรอ้ ย 20 ที่ 4321 4321 คะแนน 4321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 ลงช่ือ...................................................ผปู้ ระเมิน (นายจริ พล ลวิ า) ............../.................../................

สาระและมาตรฐานการเรียนรกู้ ารศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 47 กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม | รายวิชา ส23102 ประวตั ิศาสตร์ ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครงั้ ให้ 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางคร้งั ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 18-20 ดีมาก 14-17 ดี 10-13 พอใช้ ปรบั ปรงุ ต่ากว่า 10 แผนการจดั การเรยี นการสอนรายวชิ า ส23102 ประวัตศิ าสตร์ ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 | ภาคเรยี นที่ 1

48 พัฒนาโดย นายจริ พล ลิวา | ครชู านาญการ แบบประเมิน คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คาช้แี จง : ให้ ผ้สู อน สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี  ลงในช่อง ท่ตี รงกบั ระดบั คะแนน คณุ ลกั ษณะอัน รายการประเมนิ ระดับคะแนน พงึ ประสงคด์ ้าน 4 3 21 1. รักชาติ 1.1 ยืนตรงเมอื่ ไดย้ นิ เพลงชาติ รอ้ งเพลงชาติ และอธิบาย ศาสน์ กษัตริย์ ความหมายของเพลงชาติ 1.2 ปฏิบตั ติ นสิทธแิ ละหนา้ ท่ขี องพลเมืองดี 1.3 ใหค้ วามร่วมมอื ร่วมใจในการทากิจกรรมกับสมาชกิ ใน โรงเรียนและชมุ ชน 1.4 เขา้ ร่วมกจิ กรรมและมสี ่วนร่วมในการจดั กจิ กรรมทสี่ รา้ งความ สามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรยี น ชมุ ชน และสงั คม ชืน่ ชมความเปน็ ชาตไิ ทย 1.5 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนาทตี่ นเองนับถอื อย่างสมา่ เสมอเปน็ แบบอย่างที่ดขี องศาสนิกชน 1.6 เข้าร่วมกจิ กรรมที่เก่ยี วขอ้ งกบั สถาบันพระมหากษัตรยิ ์ตามที่ โรงเรยี นและชุมชนจดั ข้นึ ชื่นชมในพระราชกรณยี กิจ พระปรชี า สามารถของพระมหากษัตรยิ ์และพระราชวงศ์ 2. ซื่อสตั ยส์ จุ รติ 2.1 ใหข้ ้อมลู ท่ีถูกตอ้ งและเป็นจริง 2.2 ปฏบิ ัตใิ นส่งิ ทถ่ี ูกต้อง ละอายและเกรงกลวั ทจ่ี ะกระทา ความผิด ทาตามสญั ญาทต่ี นได้ใหไ้ วก้ บั เพื่อน พ่อแม่ หรือ ผปู้ กครองและครู เปน็ แบบอยา่ งทด่ี ดี า้ นความซอื่ สัตย์ 2.3 ปฏบิ ตั ติ ่อผอู้ นื่ ดว้ ยความซื่อตรงไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ ถูกต้องและเป็นแบบอยา่ งที่ดแี กเ่ พอ่ื นมนษุ ยด์ า้ นความซือ่ สตั ย์ 3. มีวนิ ัย 3.1 ปฏบิ ัตติ ามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของ รบั ผดิ ชอบ ครอบครัว และโรงเรียน ไมล่ ะเมดิ สทิ ธขิ องผู้อ่ืน ตรงตอ่ เวลาใน การปฏิบัตกิ จิ กรรมตา่ ง ๆในชวี ิตประจาวนั และรบั ผดิ ชอบตอ่ การ ทางาน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 แสวงหาขอ้ มลู จากแหล่งเรียนรูต้ ่าง ๆ 4.2 มกี ารจดบันทึกความรู้อย่างเปน็ ระบบ 4.3 สรุปความรไู้ ดอ้ ยา่ งมีเหตผุ ล 5. อย่อู ย่าง 5.1 ใชท้ รัพย์สินของตนเอง เชน่ สงิ่ ของเครอื่ งใช้ ฯลฯ อยา่ ง พอเพียง ประหยดั ค้มุ คา่ และเก็บรกั ษาดุแลอยา่ งดแี ละใช้เวลาอยา่ ง เหมาะสม 5.2 ใชท้ รพั ยากรของส่วนรว่ มอยา่ งประหยัด คมุ้ คา่ และเกบ็ รักษา ดูแลอยา่ งดี