Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตร-64มีคิวอาโคช

หลักสูตร-64มีคิวอาโคช

Published by montha chai, 2021-08-17 13:27:48

Description: หลักสูตร-64มีคิวอาโคช

Search

Read the Text Version





๓ก คานา หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านมาบคล้า ระดับปฐมวัย ซ่ึงเกิดจากการนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และหลักสูตรการมีงานทาจังหวัดชลบุรี มาปรับปรุงให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน บ้านมาบคล้า ตามสภาพจริงโดยการระดมความคิดเห็นจากคณะกรรมการผู้จดั ทาหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัยขึ้น จากการที่นาหลักสูตรไปใช้ พบว่ายังมีบางส่วนที่ยังไม่สอดคล้องกับสภาพจริงของโรงเรียน คณะผู้จัดทาจึง ศึกษาเกี่ยวกับหลักสตู รปฐมวัยให้สอดคลอ้ ง กบั สภาพจริงท่ีเป็นอยู่ เพื่อจัดสภาพแวดล้อมตามความเหมาะสมกับตัว เด็กท้ังในห้องเรียนและนอกห้องเรียน เพื่อให้เด็กทุกคนได้เรียนรู้และปฏิบัติตามสภาพแวดล้อมของโรงเรียน บ้านมาบคล้า ดังนั้นเอกสารฉบับนี้จึงมีประสบการณ์สาคัญที่เปล่ียนแปลงและเพ่ิมสาระสาคัญอื่นๆในบางส่วนให้ ชดั เจนยิ่งข้นึ ขอขอบคณุ คณะผู้จดั ทาหลกั สูตรสถานศึกษาของโรงเรยี นบ้านมาบคลา้ ระดบั ปฐมวยั ที่ให้ความร่วมมือและ เสนอแนะเปน็ อย่างดี โรงเรยี นบา้ นมาบคล้า ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๔

สารบญั ๔ข คานา หน้า สารบญั 1 ปรัชญา 1 วิสยั ทศั น์ 1 พนั ธกจิ 1 เปูาหมาย 2 จุดหมาย 3 แนวคิดการจดั การศึกษาปฐมวยั 6 ตวั บ่งชแี้ ละสภาพท่ีพึงประสงค์ 16 ตารางวิเคราะหส์ าระการเรยี นรู้รายปี 70 กาหนดเวลาเรยี น 75 การจัดประสบการณ์ 78 การสรา้ งบรรยากาศการเรียนรู้ 79 กาหนดสอ่ื และแหล่งเรยี นรู้ 86 แนวปฏบิ ัตกิ ารประเมินพัฒนาการ 103 การบริหารจัดการหลักสูตร 106 ความเช่ือมต่อของการศึกษาระดับปฐมวัยกบั ระดับประถมศึกษาปที ่ี ๑ 108 การกากับติดตามประเมินและรายงาน 109 ภาคผนวก

๑ ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวยั โรงเรยี นบ้านมาบคลา้ โรงเรียนบ้านมาบคล้า มุ่งเนน้ พฒั นาเด็กอายุ ๓-๖ ปี บนพนื้ ฐานอบรมเลย้ี งดูและส่งเสริม กระบวนการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ตามวัย ใหเ้ ต็มตามศกั ยภาพ ผ่านการเลน่ และลงมอื ปฏิบตั ิ อยา่ งมคี วามสขุ โดยปลกู ฝงั ให้ เดก็ มีทักษะในการดารงชีวติ ประจาวนั มคี ุณธรรม รกั ความเปน็ ไทย ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพื่อสร้าง รากฐานคณุ ภาพชวี ติ ท่ีดี วิสยั ทัศน์ โรงเรยี นบา้ นมาบคล้า มุ่งเน้นพฒั นาเด็กอายุ ๓ -๖ ปใี ห้มีพัฒนาการทางดา้ นร่างกาย อารมณ์- จติ ใจ สงั คม และสติปญั ญาเหมาะสมกบั วัยอยา่ งมีคณุ ภาพ เนน้ ใหเ้ ด็กเรียนรู้โดยลงมือปฏบิ ตั ิ ผ่านการเล่น ปลกู ฝังใหเ้ ดก็ มีคุณธรรม รักความเปน็ ไทยน้อมนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเหมาะสมตามวยั มีคุณลักษณะ พื้นฐานทีด่ ที างสังคม ผู้ปกครอง ชมุ ชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กเตม็ ศักยภาพ ตามบริบท มเี จคตทิ ี่ดี พนั ธกิจ ๑. พฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษาทม่ี ุง่ เนน้ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ทั้ง ๔ ดา้ น อยา่ งสมดุลและเต็มศกั ยภาพ ๒. พัฒนาครูและบุคลากรด้านการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านการเล่นท่ีมีจุดหมายอย่าง ตอ่ เนือ่ ง ๓. ส่งเสรมิ สนับสนุนการจดั สภาพแวดล้อม สื่อ เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรูใ้ นการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ๔. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลายซ่ึงสอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก โดยนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งและแหล่งเรียนรู้ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ มาใช้เสรมิ สร้างพัฒนาการและการเรยี นรูข้ องเดก็ ๕. สง่ เสรมิ การมีสว่ นร่วมของผ้ปู กครองและชมุ ชนในการพฒั นาเด็กปฐมวยั เปา้ หมาย โรงเรยี นบ้านมาบคล้ามีเป้าหมายและวางแผนบรหิ ารจัดการเพอื่ พัฒนาเด็กปฐมวัยให้มคี ุณภาพตาม มาตรฐานการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานโดยมเี ปา้ หมายดังน้ี ๑. เดก็ ปฐมวยั ทุกคนไดร้ บั การพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์-จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญั ญาเป็นองค์รวมอย่าง สมดลุ และมคี วามสุข ๒. ครมู ีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจดั ประสบการณ์ทสี่ ่งเสริมการเรยี นรผู้ ่านการเล่นโดยใช้ กระบวนการวางแผน การปฏิบัติ และการทบทวน ๓. มสี ภาพแวดล้อม สื่อ เทคโนโลยี และแหลง่ เรียนรู้ทเี่ อ้ือต่อการสง่ เสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวยั อยา่ ง พอเพยี ง ๔. ผปู้ กครอง ชุมชน และหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้องมสี ว่ นร่วมในการพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ๕. เดก็ มีคุณลักษณะพน้ื ฐานทางสงั คมทดี่ แี ละมีทักษะที่เหมาะสมกับวัยสามารถดารงชีวติ ประจาวันโดยยึด หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและอยูร่ ่วมกบั ผู้อ่ืนอย่างมคี วามสุข ๖. มที ักษะการใชภ้ าษาในการสื่อสารไดเ้ หมาะสมกบั วยั

๒ จดุ หมาย หลักสตู รการศึกษาปฐมวัยของโรงเรยี นบา้ นมาบคล้า มุ่งใหเ้ ด็กมีพฒั นาการตามวัยเตม็ ตามศักยภาพ และเม่อื มคี วามพร้อมในการเรยี นรู้ต่อไป จงึ กาหนดจดุ หมายเพ่ือใหเ้ กิดกบั เด็กเม่ือเด็กจบการศึกษาระดับปฐมวัย ดังนี้ ๑. มรี า่ งกายเจริญเติบโตตามวยั แขง็ แรง และมีสุขนสิ ยั ท่ีดี ๒. มสี ขุ ภาพจติ ดี มสี นุ ทรียภาพ มคี ุณธรรม จริยธรรมและจติ ใจทดี่ งี าม ๓. มีทักษะชวี ติ และปฏบิ ตั ิตนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มีวนิ ยั และอยูร่ ่วมกบั ผ้อู น่ื ได้อยา่ งมี ความสุข ๔. มที ักษะการคดิ การใชภ้ าษาสื่อสาร และการแสวงหาความรู้ไดเ้ หมาะสมกับวยั ๕. มคี ณุ ลักษณะพืน้ ฐานทางสงั คมท่ีดี ๖. มที ักษะการใชภ้ าษาองั กฤษในการสือ่ สารได้เหมาะสมตามวัย

๓ แนวคดิ การจดั การศกึ ษาปฐมวยั หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ พฒั นาขน้ึ บนแนวคดิ หลกั สาคัญเก่ยี วกับพัฒนาการเด็ก ปฐมวยั โดยถือว่าการเล่นของเดก็ เปน็ หัวใจสาคัญของการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ภายใต้การจัดสภาพแวดล้อม ทเี่ อ้ือตอ่ การทางานของสมอง ผ่านสือ่ ทตี่ อ้ งเอ้ือให้เดก็ ได้เรียนรผู้ า่ นการเล่นประสาทสัมผัสทัง้ ห้า โดยครจู าเป็นต้อง เขา้ ใจและยอมรบั ว่าสงั คมและวัฒนธรรมทแ่ี วดล้อมตัวเด็กมอี ทิ ธิพลตอ่ การเรียนรู้และการพฒั นาศกั ยภาพและ พฒั นาการของเด็กแต่ละคน ทัง้ น้ี หลักสูตรฉบบั นม้ี ีแนวคิดในการจดั การศึกษาปฐมวยั ดังนี้ ๑. แนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก พฒั นาการของมนุษย์เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงทเี่ กดิ ขน้ึ ต่อเนื่องใน ตวั มนุษย์เริ่มตัง้ แต่ปฏิสนธไิ ปจนตลอดชีวิต พฒั นาการของเด็กแต่ละคนจะมลี าดับข้นั ตอนลกั ษณะเดียวกัน แต่อัตรา และระยะเวลาในการผ่านข้ันตอนตา่ งๆอาจแตกตา่ งกันได้ขั้นตอนแรกๆจะเปน็ พื้นฐานสาหรบั พฒั นาการขนั้ ตอ่ ไป พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คมและสตปิ ญั ญา แต่ละส่วนส่งผลกระทบซงึ่ กันและกนั เมื่อด้านหน่งึ ก้าวหนา้ อีกดา้ นหนึ่งจะกา้ วหนา้ ตามด้วยในทานองเดยี วกันถา้ ด้านหน่ึงดา้ นใดผิดปกติจะทาให้ดา้ นอืน่ ๆผดิ ปกติตาม ดว้ ย แนวคิดเก่ียวกับทฤษฎพี ัฒนาการด้านรา่ งกายอธิบายว่าการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของเด็กมลี ักษณะต่อเน่อื ง เป็นลาดบั ชนั้ เดก็ จะพฒั นาถึงขนั้ ใดจะต้องเกดิ วฒุ ภิ าวะของความสามารถด้านน้ันก่อน สาหรบั ทฤษฎดี ้านอารมณ์ จิตใจ และสังคมอธบิ ายวา่ การอบรมเลยี้ งดูในวยั เด็กสง่ ผลต่อบุคลิกภาพของเด็ก เมื่อเติบโตเป็นผ้ใู หญ่ ความรักและ ความอบอุน่ เป็นพน้ื ฐานของความเชื่อมนั่ ในตนเอง เด็กท่ีได้รบั ความรกั และความอบอนุ่ จะมีความไว้วางใจในผู้อื่น เหน็ คณุ คา่ ของตนเอง จะมีความเชือ่ ม่ันในความสามารถของตน ทางานรว่ มกบั ผู้อื่นไดด้ ี ซึ่งเปน็ พ้นื ฐานสาคัญของความ เป็นประชาธิปไตยและความคิดรเิ ร่ิมสรา้ งสรรคแ์ ละทฤษฎีพัฒนาการดา้ นสติปญั ญาอธิบายว่า เดก็ เกิดมาพร้อมวุฒิ ภาวะ ซึง่ จะพฒั นาขึ้นตามอายุ ประสบการณ์ รวมท้ังค่านิยมทางสังคมและสิง่ แวดล้อมท่เี ด็กไดร้ บั ๒. แนวคดิ เก่ียวกบั การเลน่ ของเด็ก การเลน่ เป็นหัวใจสาคญั ของการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ การเล่น อย่างมีจดุ มงุ่ หมายเปน็ เครอ่ื งมือการเรยี นรู้ขัน้ พนื้ ฐานท่ีถือเปน็ องคป์ ระกอบสาคัญในกระบวนการเรียนรู้ของเด็ก ขณะท่ีเดก็ เลน่ จะเกิดการเรียนรู้ไปพร้อมๆกนั ด้วย จากการเล่นเด็กจะมีโอกาสเคล่ือนไหวสว่ นตา่ งๆของร่างกาย ไดใ้ ช้ ประสาทสมั ผัสและการรบั รผู้ ่อนคลายอารมณ์ และแสดงออกของตนเอง เรยี นรู้ความรสู้ กึ ของผู้อื่น เด็กจะรู้สึก สนกุ สนาน เพลิดเพลิน ได้สังเกต มีโอกาสทาการทดลอง คิดสรา้ งสรรค์ คดิ แก้ปัญหาและคน้ พบดว้ ยตนเอง การเล่น ช่วยให้เด็กเรียนรสู้ ิง่ แวดลอ้ ม และช่วยให้เด็กมีพัฒนาการทางดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสตปิ ญั ญา ดังนน้ั เด็กควรมีโอกาสเลน่ ปฏิสมั พันธ์กับบุคคล สง่ิ แวดล้อมรอบตวั และเลอื กกิจกรรมการเล่นดว้ ยตนเอง ๓. แนวคดิ เกีย่ วกับการทางานของสมอง สมองเปน็ อวัยวะทมี่ ีความสาคัญที่สุดในร่างกายของคนเรา เพราะการท่ีมนุษยส์ ามารถเรียนร้สู งิ่ ต่างๆไดน้ ัน้ ต้องอาศัยสมองและระบบประสาทเป็นพื้นฐานการรับรู้ รบั ความรสู้ ึก จากประสาทสัมผัสทั้งห้า การเช่อื มโยงต่อกันของเซลล์สมองสว่ นมากเกดิ ขึ้นกอ่ นอายุ ๕ ปี และปฏสิ ัมพนั ธแ์ รกเร่ิม ระหวา่ งเด็กกบั ผใู้ หญ่ มีผลโดยตรงตอ่ การสร้างเซลลส์ มองและจุดเช่อื มตอ่ โดยในชว่ ง ๓ ปแี รกของชวี ิต สมอง เจรญิ เติบโตอยา่ งรวดเรว็ มาก มีการสรา้ งเซลล์สมองและจุดเชื่อมตอ่ ขนึ้ มามากมาย มกี ารสรา้ งไขมนั หรือมนั สมองหุ้ม ลอ้ มรอบเส้นใยสมองดว้ ย พอเด็กอายุ ๓ ปี สมองจะมีขนาดประมาณ ๘๐ % ของสมองผใู้ หญ่ มีเซลลส์ มองนบั หมื่น ล้านเซลล์ เซลล์สมองและจุดเชื่อมต่อเหลา่ นยี้ ิ่งได้รับการกระตุ้นมากเทา่ ใด การเช่ือมต่อกันระหว่างเซลล์สมองย่ิงมี มากข้นึ และความสามารถทางการคิดยงิ่ มีมากขน้ึ เท่านัน้ ถา้ หากเดก็ ขาดการกระตุ้นหรือส่งเสรมิ จากส่งิ แวดล้อมท่ี เหมาะสม เซลล์สมองและจดุ เชอ่ื มต่อที่สรา้ งขึน้ มาก็จะหายไป เดก็ ท่ีได้รับความเครยี ดอยู่ตลอดเวลาจะทาให้ขาด

๔ ความสามารถทจ่ี ะเรยี นรู้ อยา่ งไรกต็ าม สว่ นต่างๆของสมองเจรญิ เติบโตและเร่ิมมีความสามารถในการทาหน้าทีใ่ น ช่วงเวลาต่างกนั จึงอธิบายได้วา่ การเรียนรูท้ กั ษะบางอย่างจะเกดิ ข้นึ ไดด้ ีทีส่ ดุ เฉพาะในช่วงเวลาหนึ่งที่เรยี กวา่ ” หนา้ ต่างของโอกาสการเรียนรู้” ซึ่งเปน็ ช่วงที่พ่อแม่ ผ้เู ล้ยี งดูและครูสามารถช่วยใหเ้ ด็กเรียนรแู้ ละพฒั นาสิง่ น้นั ๆได้ดี ทสี่ ุด เม่ือพน้ ชว่ งนไี้ ปแล้วโอกาสนนั้ จะฝึกยากหรือเด็กอาจทาไม่ไดเ้ ลย เช่น การเชือ่ มโยงวงจรประสาทของการ มองเห็นและรบั รภู้ าพจะต้องไดร้ ับการกระตุ้นทางานตง้ั แต่ ๓ หรอื ๔ เดอื นแรกของชวี ิตจึงจะมีพฒั นาการตามปกติ ชว่ งเวลาของการเรียนภาษาคือ อายุ ๓ – ๕ ปีแรกของชีวิต เด็กจะพูดไดช้ ัด คล่องและถูกตอ้ ง โดยการพฒั นาจากการ พดู เปน็ คาๆมาเป็นประโยคและเล่าเรือ่ งได้ เป็นตน้ ๔. แนวคดิ เกยี่ วกับสื่อการเรยี นรู้ สื่อการเรียนรู้ทาให้เด็กเกดิ การเรียนรู้ตามจดุ ประสงคท์ ่ีวางไว้ ทาใหส้ งิ่ ที่ เปน็ นามธรรมเขา้ ใจยากกลายเปน็ รูปธรรมท่ีเด็กเข้าใจและเรยี นรไู้ ดง้ ่าย รวดเรว็ เพลิดเพลิน เกดิ การเรยี นรูแ้ ละค้นพบ ดว้ ยตนเอง การใช้ส่ือการเรียนรูต้ อ้ งปลอดภัยต่อตวั เด็กและเหมาะสมกบั วยั วุฒภิ าวะ ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล ความสนใจ และความต้องการของเด็กทห่ี ลากหลาย สื่อประกอบการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวยั ควรมสี อ่ื ทั้งที่ เป็นประเภท ๒ มติ ิและ/หรือ ๓ มติ ิ ทเี่ ป็นสื่อของจริง สอ่ื ธรรมชาติ สือ่ ท่ีอยู่ใกลต้ ัวเดก็ สื่อสะท้องวฒั นธรรม สื่อภูมิ ปญั ญาท้องถิ่น ส่อื เพ่ือพัฒนาเด็กในดา้ นต่างๆใหค้ รบทกุ ด้าน ทั้งน้ี ส่ือต้องเอ้ือใหเ้ ด็กเรียนรู้ผา่ นประสาทสัมผัสท้งั ห้า โดยการจัดการใชส้ ื่อสาหรับเด็กปฐมวัยตอ้ งเริ่มต้นจากส่ือของจรงิ ของจาลอง ภาพถ่าย ภาพโครงรา่ งและสญั ลกั ษณ์ ตามลาดับ ๕. แนวคดิ เกยี่ วกับสังคมและวัฒนธรรม เดก็ เม่อื เกดิ มาจะเป็นสว่ นหน่งึ ของสังคมและวฒั นธรรม ซ่ึงไม่ เพียงแตจ่ ะได้รบั อิทธิพลจากการปฏิบตั แิ บบดัง้ เดมิ ตามประเพณี มรดก และความรู้ของบรรพบุรษุ แตย่ ังได้รบั อิทธิพล จากประสบการณ์ คา่ นยิ มและความเช่ือของบคุ คลในครอบครวั และชุมชนของแต่ละทด่ี ้วย บริบทของสงั คมและ วัฒนธรรมท่เี ด็กอาศัยอยูห่ รือแวดลอ้ มตัวเดก็ ทาใหเ้ ด็กแตล่ ะคนแตกต่างกันไป ครูจาเป็นตอ้ งเข้าใจและยอมรับว่า สังคมและวฒั นธรรมท่ีแวดลอ้ มตัวเดก็ มีอทิ ธพิ ลต่อการเรียนรู้ การพัฒนาศักยภาพและพัฒนาการของเด็กแตล่ ะคน ครูควรตอ้ งเรียนรบู้ ริบททางสังคมและวฒั นธรรมของเด็กท่ีตนรับผดิ ชอบ เพื่อชว่ ยให้เดก็ ได้รับการพฒั นา เกดิ การ เรียนรแู้ ละอยู่ในกลมุ่ คนที่มาจากพน้ื ฐานเหมือนหรือตา่ งจากตนได้อย่างราบรานมคี วามสุข เปน็ การเตรยี มเด็กไปสู้ สังคมในอนาคตกบั การอยู่ร่วมกับผู้อื่น การทางานร่วมกับผู้อน่ื ท่มี ีความหลากหลายทางความคดิ ความเชอ่ื และ วฒั นธรรมเชน่ ความคลา้ ยคลึงและความแตกต่างระหวา่ งวัฒนธรรมไทยกบั ประเทศเพื่อนบา้ นเร่ืองศาสนา ประเทศ พม่า ลาว กมั พชู าก็จะคลา้ ยคลงึ กับคนไทยในการทาบุญตกั บาตร การสวดมนตไ์ หวพ้ ระ การใหค้ วามเคารพพระสงฆ์ การทาบุญเลย้ี งพระ การเวียนเทียนเนือ่ งในวนั สาคัญทางศาสนา ประเพณีเขา้ พรรษา สาหรับประเทศมาเลเซีย บรูไน อินโดนเี ซยี ประชากรส่วนใหญน่ บั ถอื ศาสนาอสิ ลามจึงมีวัฒนธรรมแบบอิสลาม ประเทศฟิลปิ ปินสไ์ ด้รับอิทธิพลจาก ครสิ ตศ์ าสนา ประเทศสงิ คโปร์และเวยี ดนามนบั ถือหลายศาสนา โดยนับถือลัทธธิ รรมเนยี มแบบจนี เปน็ หลกั เปน็ ต้น

๕ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั พฒั นาการของเด็กปฐมวัยดา้ นรา่ งกาย จิตใจ สงั คม และสติปัญญาแสดงให้เห็นถึงการเปล่ยี นแปลงทเี่ กิดข้นึ ตามวฒุ ิภาวะและสภาพแวดล้อมที่เด็กได้รบั พฒั นาการเดก็ ในแตล่ ะช่วงวยั อาจเร็วหรือช้าแตกต่างกนั ไป ในเด็กแต่ละคน มีรายละเอยี ด ดังนี้ ๑. พัฒนาการด้านร่างกาย เปน็ พฒั นาการทเ่ี ปน็ ผลมาจากการเปลยี่ นแปลงในทางทีด่ ีขึน้ ของร่างกายในด้าน โครงสรา้ งของรา่ งกาย ดา้ นความสามารถในการเคลื่อนไหว และดา้ นการมสี ุขภาพอนามัยทด่ี ี รวมถึงการใชส้ มั ผสั รับรู้ การใช้ตาและมอื ประสานกันในการทากจิ กรรมต่างๆ เดก็ อายุ ๓-๕ ปีมกี ารเจรญิ เติบโตรวดเรว็ โดยเฉพาะ ในเรือ่ งนา้ หนักและส่วนสงู กลา้ มเน้ือใหญจ่ ะมีความก้าวหน้ามากกวา่ กลา้ มเนื้อเล็ก สามารถบงั คับการเคล่ือนไหวของ รา่ งกายได้ดี มคี วามคล่องแคลว่ ว่องไวในการเดิน สามารถว่ิง กระโดด ควบคุมและบังคบั การทรงตวั ได้ดี จึงชอบเคลอ่ื นไหว ไม่หยุดน่ิง พร้อมทจ่ี ะออกกาลังและเคล่อื นไหวในลกั ษณะตา่ งๆส่วนกล้ามเน้ือเลก็ และ ความสมั พันธ์ระหวา่ งตาและมือยังไม่สมบรู ณ์ การสมั ผสั หรือการใชม้ ือมีความละเอยี ดข้ึน ใช้มอื หยิบจบั สิง่ ของตา่ งๆได้ มากข้ึน ถา้ เด็กไม่เครียดหรือกังวลจะสามารถทากจิ กรรมท่พี ัฒนากล้ามเน้อื เล็กได้ดีและนานข้นึ ๒. พฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ เปน็ ความสามารถในการรู้สึกและแสดงความรูส้ กึ ของเดก็ เช่นพอใจ ไมพ่ อใจ รกั ชอบ สนใจ เกียด โดยท่ีเดก็ รจู้ ักควบคุมการแสดงออกอยา่ งเหมาะสมกบั วยั และสถานการณ์ เผชิญกับ เหตุการณต์ า่ งๆ ตลอดจนการสรา้ งความรู้สึกที่ดีและการนบั ถอื ตนเอง เดก็ อายุ ๓-๕ ปีจะแสดงความรสู้ กึ อย่างเต็มท่ี ไมป่ ิดบัง ชอ่ นเร้น เช่น ดีใจ เสียใจ โกรธแตจ่ ะเกิดเพยี งชวั่ คร่แู ลว้ หายไปการทีเ่ ดก็ เปลี่ยนแปลงอารมณ์ง่ายเพราะมี ชว่ งความสนใจระยะส้นั เมื่อมสี ่งิ ใดนา่ สนใจก็จะเปลี่ยนความสนใจไปตามสิง่ น้ัน เดก็ วนั นมี้ ักหวาดกลัวสง่ิ ต่างๆ เชน่ ความมดื หรอื สัตว์ตา่ งๆ ความกลวั ของเดก็ เกิดจากจินตนาการ ซงึ่ เด็กวา่ เปน็ เร่ืองจริงสาหรับตน เพราะยังสบั สน ระหวา่ งเร่อื งปรุงแต่งและเร่อื งจรงิ ความสามารถแสดงอารมณไ์ ด้สอดคล้องกับสถานการณ์อยา่ งเหมาะสมกับวัย รวมถงึ ชน่ื ชมความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อ่ืน เพราะยึดตัวเองเปน็ ศนู ยก์ ลางนอ้ ยลงและต้องการความ สนใจจากผู้อื่นมากขึ้น ๓. พฒั นาการด้านสังคม เปน็ ความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมคร้ังแรกในครอบครัว โดยมี ปฏิสัมพันธก์ บั พ่อแมแ่ ละพน่ี ้อง เมอ่ื โตข้ึนต้องไปสถานศึกษา เด็กเรม่ิ เรียนรู้การตดิ ตอ่ และการมสี ัมพนั ธ์กับบุคคลนอก ครอบครวั โดยเฉพาะอย่างยิ่งเดก็ ในวยั เดียวกนั เดก็ ได้เรยี นรู้การปรับตัวให้เขา้ สังคมกบั เดก็ อน่ื พร้อมๆกับรจู้ ักรว่ มมือ ในการเล่นกับกลมุ่ เพอื่ น เจตคตแิ ละพฤติกรรมทางสงั คมของเดก็ จะก่อขึ้นในวยั นี้และจะแฝงแน่นยากท่ีจะ เปลี่ยนแปลงในวยั ตอ่ มา ดังนั้น จงึ อาจกล่าวไดว้ า่ พฤติกรรมทางสงั คมของเด็กวัยน้ี มี ๒ ลักษณะ คอื ลักษณะแรกนัน้ เป็นความสมั พนั ธ์กบั ผู้ใหญแ่ ละลกั ษณะท่ีสองเป็นความสมั พนั ธ์กับเดก็ ในวยั ใกล้เคยี งกนั ๔. ด้านสติปญั ญา ความคดิ ของเดก็ วยั นมี้ ีลักษณะยึดตนเองเป็นศูนยก์ ลาง ยังไม่สามารถเข้าใจความรู้สึกของ คนอน่ื เด็กมีความคดิ เพียงแต่ว่าทุกคนมองสิง่ ตา่ งๆรอบตวั และรสู้ ึกต่อสิ่งต่างๆ เหมือนตนเอง ความคิดของตนเอง เป็นใหญ่ที่สุด เม่ืออายุ ๔-๕ ปี เดก็ สามารถโต้ตอบหรือมปี ฏิสัมพันธ์กับวัตถสุ ่งิ ของที่อยู่รอบตัวได้ สามารถจาส่ิงต่างๆ ทีไ่ ด้กระทาซ้ากนั บ่อยๆ ไดด้ ี เรียนร้สู งิ่ ต่างๆ ไดด้ ีขน้ึ แตย่ ังอาศัยการรบั รู้เปน็ สว่ นใหญ่ แก้ปัญหาการลองผดิ ลองถูก จากการรบั รมู้ ากกวา่ การใช้เหตผุ ลความคิดรวบยอดเก่ียวกับสง่ิ ต่างๆ ทอี่ ยู่รอบตัวพัฒนาอย่างรวดเร็วตามอายุที่ เพมิ่ ขนึ้ ในสว่ นของพฒั นาการทางภาษา เด็กวัยนเี้ ปน็ ระยะเวลาของการพัฒนาภาษาอยา่ งรวดเร็ว โดยมกี ารฝึกฝน การใช้ภาษาจากการทากิจกรรมตา่ ง ๆ ในรปู ของการพดู คยุ การตอบคาถาม การเลา่ เรื่อง การเล่านิทานและการทา กิจกรรมต่าง ๆ ทเ่ี กยี่ วข้องกบั การใชภ้ าษาในสถานศกึ ษา เด็กปฐมวัยสามารถ ใชภ้ าษาแทนความคดิ ของตนและใช้

๖ ภาษาในการตดิ ตอ่ สมั พนั ธก์ บั คนอื่นได้คาพดู ของเด็กวัยนี้ อาจจะทาให้ผ้ใู หญ่บางคนเขา้ ใจว่าเดก็ รู้มากแล้วแต่ทจ่ี รงิ เด็กยงั ไมเ่ ขา้ ใจความหมายของคาและเรื่องราวลกึ ซึ้งนกั มาตรฐานคณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค์ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยกาหนดมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์จานวน ๑๒ มาตรฐาน ประกอบด้วย ๑.พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย ประกอบด้วย ๒ มาตรฐานคอื มาตรฐานท่ี ๑ รา่ งกายเจรญิ เติบโตตามวัยและมสี ุขนิสยั ท่ีดี มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเน้ือใหญ่และกลา้ มเน้ือเลก็ แข็งแรงใชไ้ ด้อยา่ งคล่องแคล่วและประสาน สัมพันธ์กนั ๒.พฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ประกอบด้วย ๓ มาตรฐานคือ มาตรฐานท่ี ๓ มีสุขภาพจิตดีและมคี วามสขุ มาตรฐานท่ี ๔ ชน่ื ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่อื นไหว มาตรฐานที่ ๕ มีคณุ ธรรม จริยธรรม และมีจิตใจท่ดี ีงาม ๓.พัฒนาการด้านสงั คม ประกอบด้วย ๓ มาตรฐานคือ มาตรฐานท่ี ๖ มีทกั ษะชวี ติ และปฏบิ ัติตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาตรฐานท่ี ๗ รักธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ ม วฒั นธรรม และความเป็นไทย มาตรฐานท่ี ๘ อยู่ร่วมกับผู้อื่นไดอ้ ยา่ งมีความสุขและปฏิบตั ิตนเป็นสมาชิกทด่ี ีของสงั คมใน ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข ๔.พฒั นาการดา้ นสติปัญญา ประกอบด้วย ๔ มาตรฐานคือ มาตรฐานท่ี ๙ ใช้ภาษาส่อื สารไดเ้ หมาะสมกับวยั มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคิดที่เปน็ พื้นฐานการเรียนรู้ มาตรฐานท่ี ๑๑ มจี ินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติที่ดตี ่อการเรยี นรแู้ ละมีความสามารถในการแสวงหาความรไู้ ด้ เหมาะสมกับวัย ตวั บง่ ชี้ ตวั บง่ ช้ีเป็นเปาู หมายในการพัฒนาเดก็ ทมี่ ีความสัมพันธ์สอดคลอ้ งกับมาตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สภาพท่พี งึ ประสงค์เปน็ พฤตกิ รรมหรือความสามารถตามวัยทคี่ าดหวงั ให้เด็กเกดิ บนพ้ืนฐานพัฒนาการตาม วัยหรือความสามารถตามธรรมชาติในแตล่ ะระดบั อายุเพ่ือนาไปใช้ในการกาหนดสาระเรียนรู้ใน การจดั ประสบการณ์ กจิ กรรมและประเมินพฒั นาการเด็ก โดยมรี ายละเอียดของมาตรฐาน มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ตวั บ่งช้ี และ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ ดังน้ี

๗ มาตรฐานท่ี ๑ ร่างกายเจรญิ เตบิ โตตามวัยเดก็ มีสุขนสิ ัยทด่ี ี ตวั บง่ ช้ที ี่ ๑.๑ มนี ้าหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -น้าหนักและส่วนสูงตามเกณฑข์ อง -น้าหนักและสว่ นสูงตามเกณฑ์ของ -นา้ หนักและส่วนสงู ตามเกณฑข์ อง กรมอนามัย กรมอนามยั กรมอนามัย ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๑.๒ มีสขุ ภาพอนามัย สุขนสิ ัยท่ดี ี สภาพท่พี งึ ประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -ยอมรบั ประทานอาหารท่มี ี -รบั ประทานอาหารที่มีประโยชน์ -รบั ประทานอาหารทีม่ ีประโยชน์ได้ หลายชนิดและดื่มนา้ สะอาดได้ดว้ ย ประโยชนแ์ ละดื่มน้าทส่ี ะอาดเมอ่ื มี และดมื่ น้าสะอาดดว้ ยตนเอง ตนเอง ผู้ช้แี นะ -ลา้ งมือก่อนรับประทานอาหารและ -ล้างมอื ก่อนรบั ประทานอาหารและ -ลา้ งมอื ก่อนรับประทานอาหารและ หลังจากใชห้ อ้ งนา้ ห้องส้วมเม่ือมผี ู้ หลังจากใชห้ ้องนา้ ห้องสว้ มด้วย หลังจากใช้หอ้ งนา้ ห้องส้วมดว้ ย ชแ้ี นะ ตนเอง ตนเอง -นอนพกั ผ่อนเปน็ เวลา -นอนพกั ผ่อนเปน็ เวลา -นอนพกั ผ่อนเปน็ เวลา -ออกกาลังกายเปน็ เวลา -ออกกาลงั กายเป็นเวลา -ออกกาลงั กายเป็นเวลา ตวั บ่งชท้ี ี่ ๑.๓ รักษาความปลอดภยั ของตนเองและผู้อน่ื สภาพที่พงึ ประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -เล่นและทากิจกรรมอยา่ งปลอดภยั -เลน่ และทากิจกรรมอย่างปลอดภยั -เล่นและทากิจกรรมและปฏบิ ัติต่อ เม่อื มีผู้ชีแ้ นะ ดว้ ยตนเอง ผู้อน่ื อย่างปลอดภัย มาตรฐานที่ ๒ กลา้ มเนอื้ ใหญแ่ ละกลา้ มเนอ้ื เลก็ แขง็ แรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสาน สมั พันธก์ นั ตวั บ่งชี้ท่ี ๒.๑ เคลอ่ื นไหวรา่ งกายอยา่ งคล่องแคล่วประสานสัมพันธ์และทรงตัวได้ สภาพที่พงึ ประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -เดนิ ตามแนวท่กี าหนดได้ -เดินตอ่ เท้าไปขา้ งหนา้ เป็นเส้นตรง -เดนิ ตอ่ เทา้ ถอยหลงั เปน็ เสน้ ตรงได้โดย ไดโ้ ดยไมต่ ้องกางแขน ไม่ต้องกางเกง -กระโดดสองขา ขึน้ ลงอยูก่ บั ที่ได้ -กระโดดขาเดียวอยกู่ ับทีไ่ ด้โดยไม่ -กระโดดขาเดียว ไปข้างหนา้ ไดอ้ ย่าง เสียการทรงตัว ตอ่ เน่อื งโดยไม่เสยี การทรงตัว -ว่ิงแล้วหยุดได้ -วงิ่ หลบหลีกสิง่ กดี ขวางได้ -วิ่งหลบหลกี สง่ิ กีดขวางได้อย่าง คล่องแคลว่ -รับลกู บอลโดยใชม้ ือและลาตัวช่วย -รบั ลกู บอลได้ด้วยมือท้ังสองข้าง -รบั ลกู บอลที่กระดอนขึ้นจากพืน้ ได้

๘ ตวั บง่ ชี้ที่ ๒.๓ ใช้มอื -ตาประสานสัมพันธ์กนั สภาพท่พี ึงประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -ใช้กรรไกรตัดกระดาษขาดจากกัน -ใช้กรรไกรตดั กระดาษตามแนว -ใชก้ รรไกรตดั กระดาษตามแนวเส้นโค้ง ได้ ไดโ้ ดยใช้มอื เดียว เสน้ ตรงได้ -เขียนรูปสามเหล่ยี มตามแบบไดอ้ ยา่ งมี -เขียนรปู วงกลมตามแบบได้ -เขียนรปู ส่ีเหลีย่ มตามแบบได้อย่าง มุมชดั เจน มมี ุมชัดเจน -รอ้ ยวสั ดุทมี่ รี ูขนาดเส้นผ่านศูนยก์ ลาง ๐.๒๕ ซม.ได้ -ร้อยวัสดุทมี่ รี ขู นาดเสน้ ผา่ น -ร้อยวัสดุทมี่ ีรูจนาดเสน้ ผ่านศูนย์ ศนู ย์กลาง ๑ ซม.ได้ ๐.๕ ซม.ได้ ๒.พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ มาตรฐานท่ี ๓ มีสุขภาพจิตดแี ละมคี วามสขุ ตวั บ่งช้ีที่ ๓.๑ แสดงออกทางอารมณ์อยา่ งเหมาะสม สภาพท่พี ึงประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -แสดงอารมณ์ ความร้สู ึกได้ -แสดงอารมณ์ ความรสู้ ึกได้ตาม -แสดงอารมณ์ ความรู้สกึ ได้สอดคล้อง เหมาะสมกบั บางสถานการณ์ สถานการณ์ กับสถานการณ์อย่างเหมาะสม ตวั บ่งช้ที ่ี ๓.๒ มคี วามร้สู ึกที่ดตี ่อตนเองและผู้อื่น สภาพทพี่ งึ ประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -กล้าพดู กลา้ แสดงออก -กล้าพูดกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสม -กล้าพดู กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมตาม บางสถานการณ์ สถานการณ์ -แสดงความพอใจในผลงานตนเอง -แสดงความพอใจในผลงานและ -แสดงความพอใจในผลงานและ ความสามารถของตนเอง ความสามารถของตนเองและผู้อืน่ มาตรฐานที่ ๔ ชืน่ ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลอ่ื นไหว ตัวบง่ ชี้ที่ ๔.๑ สนใจและมคี วามสขุ และแสดงออกผ่านงานศิลปะ ดนตรแี ละการเคลื่อนไหว สภาพที่พงึ ประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -สนใจและมีความสุขและแสดงออกผา่ น -สนใจและมีความสุขและแสดงออก -สนใจและมคี วามสุขและแสดงออก งานศลิ ปะ ผา่ นงานศลิ ปะ ผ่านงานศลิ ปะ -สนใจ มีความสขุ และแสดงออกผ่าน -สนใจ มคี วามสุขและแสดงออกผา่ น -สนใจ มคี วามสขุ และแสดงออกผา่ น เสยี งเพลง ดนตรี เสียงเพลง ดนตรี เสยี งเพลง ดนตรี -สนใจ มีความสขุ และแสดงท่าทาง/ -สนใจ มคี วามสขุ และแสดงท่าทาง/ -สนใจ มคี วามสขุ และแสดงท่าทาง/ เคลือ่ นไหวประกอบเพลง จังหวะและ เคลื่อนไหวประกอบเพลง จังหวะ เคลอ่ื นไหวประกอบเพลง จงั หวะและ ดนตรี และ ดนตรี ดนตรี

๙ มาตรฐานท่ี ๕ มคี ณุ ธรรม จริยธรรมและมีจติ ใจทีด่ งี าม ตวั บ่งชี้ที่ ๕.๑ ซ่ือสตั ย์ สุจริต สภาพที่พงึ ประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -บอกหรอื ชี้ไดว้ ่าสง่ิ ใดเป็นของตนเองและ - ขออนญุ าตหรือรอคอยเม่ือต้องการ - ขออนุญาตหรอื รอคอยเม่ือต้องการ ส่ิงของของผู้อ่ืนด้วยตนเอง สงิ่ ใดเป็นของผอู้ น่ื สง่ิ ของของผู้อ่นื เมื่อมีผชู้ แี้ นะ ตัวบ่งชท้ี ่ี ๕.๒ มีความเมตตา กรณุ า มีนา้ ใจและช่วยเหลือแบง่ ปัน สภาพท่ีพงึ ประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -แสดงความรกั เพ่อื นและมีเมตตาสตั ว์ -แสดงความรักเพอ่ื นและมีเมตตา -แสดงความรกั เพือ่ นและมีเมตตาสตั ว์ เลยี้ ง สตั วเ์ ลยี้ ง เล้ียง -แบง่ ปนั ส่ิงของใหผ้ ู้อน่ื ไดเ้ ม่ือมีผูช้ ีแ้ นะ -ชว่ ยเหลือและแบ่งปนั ผูอ้ น่ื ได้เมื่อมผี ู้ -ชว่ ยเหลอื และแบ่งปนั ผูอ้ ่ืนได้ด้วย ชแ้ี นะ ตนเอง ตัวบง่ ชที้ ี่ ๕.๓ มีความเห็นอกเหน็ ใจผู้อน่ื สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -แสดงสหี นา้ หรือท่าทางรับรู้ความรู้สกึ -แสดงสหี นา้ หรือท่าทางรบั รู้ความร้สู กึ -แสดงสีหน้าหรอื ทา่ ทางรบั รู้ ผอู้ ่ืนอย่างสอดคล้องกบสถานการณ์ ผู้อน่ื ความรู้สกึ ผอู้ ่ืน ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๕.๔มีความรับผดิ ชอบ สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -ทางานท่ีได้รับมอบหมายจนสาเร็จเม่ือมี -ทางานท่ไี ด้รบั มอบหมายจนสาเรจ็ -ทางานท่ไี ด้รับมอบหมายจนสาเร็จ ผชู้ ว่ ยเหลือ เมื่อมีผู้ชีแ้ นะ ดว้ ยตนเอง ๓.พัฒนาการดา้ นสังคม มาตรฐานท่ี ๖ มีทักษะชีวติ และปฏบิ ัตติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตวั บ่งชี้ท่ี ๖.๑ ช่วยเหลอื ตนเองในการปฏิบัตกิ จิ วัตรประจาวัน สภาพที่พงึ ประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี - แตง่ ตัวโดยมีผ้ชู ว่ ยเหลอื - แตง่ ตวั ด้วยตนเอง - แตง่ ตวั ด้วยตนเองไดอ้ ยา่ ง คลอ่ งแคลว่

๑๐ อายุ ๓ ปี สภาพท่ีพงึ ประสงค์ อายุ ๕ ปี - รับประทานอาหารดว้ ยตนเอง อายุ ๔ ปี - รบั ประทานอาหารดว้ ยตนเองอย่าง ถกู วธิ ี -ใช้ห้องน้าห้องส้วมโดยมผี ู้ช่วยเหลอื -รบั ประทานอาหารดว้ ยตนเอง -ใช้และทาความสะอาดหลงั ใชห้ อ้ งนา้ -ใชห้ อ้ งน้าห้องสว้ มด้วยตนเอง ห้องส้วมด้วยตนเอง ตวั บง่ ชี้ท่ี ๖.๒ มีวนิ ัยในตนอง สภาพท่พี งึ ประสงค์ อายุ ๕ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๓ ปี -เก็บของเล่นของใชเ้ ข้าทอ่ี ย่าง -เก็บของเลน่ ของใช้เขา้ ทีเ่ มื่อมีผู้ช้ีแนะ -เก็บของเลน่ ของใชเ้ ข้าท่ีด้วยตนเอง เรียบร้อยด้วยตนเอง -เข้าแถวตาลาดับก่อนหลงั ได้เมื่อมผี ู้ชแ้ี นะ -เข้าแถวตาลาดบั ก่อนหลังได้ดว้ ย -เข้าแถวตาลาดบั กอ่ นหลงั ได้ดว้ ย ตนเอง ตนเอง ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๓ ประหยดั และพอเพียง สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -ใชส้ ิ่งของเครื่องใช้อยา่ งประหยัดและ -ใช้สงิ่ ของเคร่ืองใช้อยา่ งประหยัด -ใชส้ ิ่งของเคร่ืองใช้อยา่ งประหยดั และ พอเพยี งดว้ ยตนเอง พอเพยี งเมื่อมผี ้ชู แี้ นะ และพอเพยี งเม่ือมผี ชู้ ้ีแนะ มาตรฐานท่ี ๗ รกั ธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม วฒั นธรรม และความเป็นไทย ตวั บ่งชท้ี ่ี ๗.๑ ดูแลรกั ษาธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม สภาพท่ีพงึ ประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -มสี ่วนร่วมในการดแู ลรกั ษาธรรมชาติและ -มสี ว่ นรว่ มในการดูแลรกั ษา -มสี ่วนรว่ มในการดแู ลรักษาธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อมเม่ือมผี ชู้ แ้ี นะ ธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มเมือ่ มผี ู้ สิง่ แวดลอ้ มดว้ ยตนเอง ชีแ้ นะ -ทิ้งขยะได้ถูกท่ี -ทงิ้ ขยะไดถ้ ูกท่ี -ทิ้งขยะได้ถูกท่ี ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๗.๒ มมี ารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรกั ความเปน็ ไทย สภาพทพี่ งึ ประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -ปฏิบัตติ นตามมารยาทไทยได้ ตาม ปฏบิ ัตติ นตามมารยาทไทยได้ เม่อื มผี ู้ -ปฏิบัตติ นตามมารยาทไทยได้ดว้ ย กาลเทศะ -กล่าวคาขอบคุณและขอโทษดว้ ยตนเอง ช้แี นะ ตนเอง -ยืนตรงและรว่ มรอ้ งเพลงชาติไทยและ -กลา่ วคาขอบคณุ และขอโทษเม่ือมผี ชู้ แี้ นะ -กลา่ วคาขอบคุณและขอโทษดว้ ย เพลงสรรเสริญพระมารมี ตนเอง -หยดุ เม่อื ไดย้ ินเพลงชาติไทยและเพลง -หยดุ เมือ่ ได้ยนิ เพลงชาติไทยและ สรรเสรญิ พระบารมี เพลงสรรเสรญิ พระบารมี

๑๑ มาตรฐานที่ ๘ อยู่ร่วมกบั ผอู้ ื่นได้อยา่ งมีความสุขและปฏบิ ตั ติ นเปน็ สมาชิกทด่ี ีของสงั คมใน ระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๘.๑ ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบุคคล สภาพที่พงึ ประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -เล่นและทากจิ กรรมร่วมกบั เดก็ ทแี่ ตกตา่ ง -เล่นและทากจิ กรรมรว่ มกบั กลุม่ เด็ก -เลน่ และทากิจกรรมรว่ มกบั เด็กท่ี ไปจากตน ทีแ่ ตกตา่ งไปจากตน แตกต่างไปจากตน ตวั บง่ ชี้ท่ี ๘.๒ มีปฏิสัมพนั ธท์ ่ีดีกบั ผู้อืน่ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -เลน่ รว่ มกับเพ่ือน -เล่นหรือทางานรว่ มกบั เพื่อนเปน็ -เลน่ หรอื ทางานรว่ มกับเพ่ือนอย่างมี เปูาหมาย กลมุ่ -ยิม้ หรือทักทายหรอื พูดคยุ กบั ผูใ้ หญ่และ -ยิม้ หรอื ทักทายผูใ้ หญ่และบคุ คลที่คุ้นเคย -ยิม้ หรอื ทกั ทายหรอื พูดคุยกับผใู้ หญ่ บุคคลทีค่ ุ้นเคยไดเ้ หมาะสมกับ สถานการณ์ เมอื่ มผี ู้ชี้แนะ และบคุ คลทค่ี ุ้นเคยไดด้ ้วยตนเอง ตัวบ่งชท้ี ่ี ๘.๓ ปฏิบัตติ นเบื้องตน้ ในการเป็นสมาชกิ ท่ีดีของสังคม สภาพที่พงึ ประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลงเม่ือมผี ู้ชี้แนะ -มสี ว่ นร่วมสรา้ งขอ้ ตกลงและปฏบิ ัติ -มีสว่ นรว่ มสร้างขอ้ ตกลงและปฏบิ ตั ิตาม ขอ้ ตกลงด้วยตนเอง ตามข้อตกลงเม่ือมผี ูช้ ี้แนะ -ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผูน้ าและผู้ตามได้ -ปฏิบัติตนเปน็ ผู้นาและผตู้ ามเมือ่ มผี ู้ชแ้ี นะ -ปฏบิ ตั ติ นเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดไี ด้ เหมาะสมกับสถานการณ์ ดว้ ยตนเอง -ประนีประนอมแก้ไขปัญหาโดย ปราศจากการใช้ความรนุ แรงด้วยตนเอง -ยอมรับการประนีประนอมแก้ไขปัญหา -ประนปี ระนอมแก้ไขปญั หาโดย เมื่อมีผชู้ ี้แนะ ปราศจากการใชค้ วามรุนแรงเมือ่ มผี ู้ ช้ีแนะ ๕. ดา้ นสติปญั ญา มาตรฐานท่ี ๙ ใช้ภาษาส่ือสารได้เหมาะสมกบั วยั ตวั บ่งชท้ี ี่ ๙.๑ สนทนาโตต้ อบและเล่าเรอ่ื งใหผ้ ู้อ่นื เขา้ ใจ สภาพท่ีพึงประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -ฟงั ผอู้ ่นื พูดจนจบและโต้ตอบเกี่ยวกบั เรอื่ ง -ฟังผอู้ ืน่ พดู จนจบและสนทนาโตต้ อบ -ฟังผู้อืน่ พดู จนจบและสนทนาโตต้ อบ ที่ฟัง สอดคล้องกบั เร่ืองที่ฟงั อยา่ งต่อเนื่องเชื่อมโยงกับเรอื่ งท่ีฟัง -เลา่ เรอื่ งดว้ ยประโยคสน้ั ๆ -เลา่ เร่ืองเป็นประโยคอยา่ งต่อเนอ่ื ง -เลา่ เป็นเร่ืองราวต่อเนื่องได้

๑๒ ตัวบ่งชี้ท่ี ๙.๒ อา่ น เขยี นภาพ และสญั ลกั ษณ์ได้ สภาพท่ีพึงประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -อา่ นภาพ และพดู ขอ้ ความด้วยภาษา -อ่านภาพ สญั ลกั ษณ์ คา พร้อมท้งั ชี้ -อ่านภาพ สญั ลกั ษณ์ คา ด้วยการช้ี ของตน หรอื กวาดตามองขอ้ ความตาม หรือกวาดตามองจดุ เร่ิมตน้ และจุดจบ บรรทดั ของขอ้ ความ -เขยี นขดี เขย่ี อย่างมีทศิ ทาง -เขยี นคล้ายตวั อักษร -เขยี นชื่อของตนเอง ตามแบบ เขียนข้อความด้วยวิธีที่คดิ ขึ้นเอง มาตรฐานที่ ๑๐ มคี วามสามารถในการคดิ ทีเ่ ป็นพื้นฐานในการเรยี นรู้ ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๑๐.๑ มีความสามารถในการคิดรวบยอด สภาพทพี่ ึงประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -บอกลกั ษณะของสงิ่ ของตา่ งๆจากการ -บอกลกั ษณะและสว่ นประกอบของ -บอกลกั ษณะ สว่ นประกอบ การ สงั เกตโดยใช้ประสาทสมั ผัส สิ่งของตา่ งๆจากการสงั เกตโดยใช้ เปลีย่ นแปลง หรอื ความสัมพันธ์ของ ประสาทสมั ผสั สงิ่ ของต่างๆจากการสงั เกตโดยใช้ ประสาทสัมผัส -จบั คหู่ รอื เปรียบเทยี บสงิ่ ต่างๆโดยใช้ -จบั คแู่ ละเปรียบเทียบความแตกต่าง -จบั คแู่ ละเปรยี บเทยี บความแตกต่าง ลกั ษณะหรือหน้าที่การงานเพียงลกั ษณะ หรือความเหมือนของสงิ่ ต่างๆโดยใช้ หรือความเหมือนของสง่ิ ต่างๆโดยใช้ เดียว ลกั ษณะทส่ี งั เกตพบเพยี งลักษณะ ลักษณะทสี่ ังเกตพบสองลกั ษณะขึ้นไป เดยี ว -คัดแยกส่งิ ตา่ งๆตามลักษณะหรือหนา้ ท่ี -จาแนกและจดั กลมุ่ ส่ิงตา่ งๆโดยใช้ -จาแนกและจดั กลุม่ สิ่งตา่ งๆโดยใชต้ ง้ั แต่ การใช้งาน อย่างน้อยหน่ึงลักษณะเป็นเกณฑ์ สองลักษณะข้ึนไปเปน็ เกณฑ์ -เรียงลาดบั สงิ่ ของหรือเหตกุ ารณอ์ ย่าง -เรียงลาดบั สิ่งของหรือเหตุการณ์ -เรยี งลาดบั สงิ่ ของหรือเหตกุ ารณ์อย่าง น้อย ๓ ลาดับ อย่างน้อย ๔ ลาดบั น้อย ๕ ลาดบั ตัวบง่ ชี้ท่ี ๑๐.๒ มีความสามารถในการคดิ เชงิ เหตุผล สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -อธิบายเชอื่ มโยงสาเหตแุ ละผลทีเ่ กิดข้ึน -ระบผุ ลทเ่ี กดิ ขนึ้ ในเหตกุ ารณ์หรือการ -ระบุสาเหตหุ รอื ผลทเ่ี กิดขน้ึ ใน ในเหตุการณ์หรือการกระทาด้วยตนเอง กระทาเมอื่ มีผู้ชีแ้ นะ เหตกุ ารณห์ รือ การกระทาเม่ือมีผู้ -คาดคะเนสง่ิ ท่ีอาจจะเกิดขึ้น และมีสว่ น ร่วมในการลงความเหน็ จากข้อมลู อย่างมี ช้แี นะ เหตุผล -คาดเดา หรือ คาดคะเนส่งิ ที่อาจเกดิ ขนึ้ -คาดเดา หรอื คาดคะเนสิง่ ที่อาจจะ เกดิ ขึ้น หรือมีสว่ นรว่ มในการลง ความเหน็ จากข้อมูล

๑๓ ตวั บง่ ช้ีที่ ๑๐.๓ มคี วามสามารถในการคิดแกป้ ัญหาและตดั สินใจ สภาพท่ีพงึ ประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -ตัดสินใจในเรอื่ งง่ายๆ -ตัดสนิ ใจในเรอ่ื งง่ายๆและเร่ิมเรียนรู้ -ตัดสนิ ใจในเรื่องง่ายๆและยอมรบั ผลที่ ผลทเ่ี กิดข้นึ เกิดขนึ้ -แก้ปญั หาโดยลองผดิ ลองถูก -ระบุปญั หา และแกป้ ัญหาโดยลอง -ระบปุ ัญหาสร้างทางเลอื กและเลือกวธิ ี ผดิ ลองถูก แก้ปัญหา มาตรฐานที่ ๑๑ มีจินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ ตวั บ่งชี้ท่ี ๑๑.๑ เลน่ /ทางานศลิ ปะตามจนิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ สภาพที่พงึ ประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -สรา้ งผลงานศิลปะเพ่ือสอื่ สารความคิด -สร้างผลงานศลิ ปะเพื่อส่ือสารความคิด -สรา้ งผลงานศิลปะเพื่อสือ่ สารความคดิ ความรสู้ กึ ของตนเอง ความรสู้ กึ ของตนเองโดยมีการดดั แปลง ความรสู้ กึ ของตนเองโดยมีการดัดแปลง และแปลกใหม่จากเดิมหรือมี และแปลกใหมจ่ ากเดิมและ รายละเอยี ดเพมิ่ ข้นึ มรี ายละเอยี ดเพิ่มขึน้ ตวั บง่ ชที้ ่ี ๑๑.๒ แสดงทา่ ทาง/เคล่ือนไหวตามจนิ ตนาการอย่างสรา้ งสรรค์ สภาพทพี่ ึงประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -เคล่อื นไหวทา่ ทางเพื่อสื่อสารความคิด -เคลอ่ื นไหวท่าทางเพือ่ สื่อสาร -เคลื่อนไหวท่าทางเพอื่ ส่ือสารความคิด ความรสู้ กึ ของตนเอง ความคิด ความรสู้ ึกของตนเอง ความรู้สกึ ของตนเอง อย่างหลากหลายหรือแปลกใหม่ อย่างหลากหลายและแปลกใหม่ มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคตทิ ี่ดตี อ่ การเรยี นรู้ และมคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้ไดเ้ หมาะสม กบั วัย ตวั บ่งชี้ท่ี ๑๒.๑ มเี จตคติทีด่ ีต่อการเรยี นรู้ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -สนใจฟงั หรืออา่ นหนงั สอื ด้วยตนเอง -สนใจซกั ถามเก่ียวกับสญั ลักษณ์หรือ -หยิบหนังสอื มาอ่านและเขียนส่อื ความคิด ตวั หนงั สอื ท่พี บเหน็ ด้วยตนเองเป็นประจาอยา่ งต่อเนอ่ื ง -กระตือรอื รน้ ในการเข้าร่วมกิจกรรม -กระตือรอื ร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม -กระตือรอื รน้ ในการร่วมกจิ กรรมตัง้ แตต่ น้ จนจบ

๑๔ ตัวบ่งช้ที ี่ ๑๒.๒ มคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้ สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี -ค้นหาคาตอบของข้อสงสยั ต่างๆ ตาม -คน้ หาคาตอบของข้อสงสัยต่างๆ ตาม -ค้นหาคาตอบของข้อสงสยั ตา่ งๆ ตาม วธิ ีการทห่ี ลากหลายด้วยตนเอง วธิ ีการทีม่ ผี ู้ชีแ้ นะ วธิ กี ารของตนเอง -ใชป้ ระโยคคาถามวา่ “เม่ือไร” อย่างไร” -เช่อื มโยงคาถา “อะไร” ในการคน้ หา -ใช้ประโยคคาถามวา่ “ท่ีไหน” ในการค้นหาคาตอบ คาตอบ “ทาไม” ในการค้นหาคาตอบ

๑๕ สาระการเรียนรู้รายปี หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๒ โรงเรยี นบา้ นมาบคลา้ สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาชลบรุ ีเขต ๑

๑๖ ตารางวเิ คราะหส์ าระการเรยี นร้รู ายปี สาหรับเดก็ อายุ ๓ – ๔ ปี ระดบั ชั้นอนุบาลศกึ ษาปีที่ ๑ หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๒

ตารางวเิ คราะหส์ าระการเรียนรู้รายปี สาหร พัฒนาการ มาตรฐาน ตัวบง่ ช้ี สภาพที่พงึ ป การเรยี นรู้ ๓– ดา้ นร่างกาย ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๑.๑ มาตรฐานที่ ๑ มนี า้ หนักและ 1.1.1 น้า รา่ งกายเจริญเตบิ โต ส่วนสงู ตามเกณฑ์ สว่ นสูงตาม ตามวัยและมสี ุข ตัวบง่ ชที้ ี่ ๑.๒ กรมอนาม นสิ ัยท่ดี ี มสี ุขภาพอนามัย สขุ นสิ ัยท่ดี ี และ ๑.๒.๑ ยอ ร้จู ักรักษาความ รบั ประทา ปลอดภยั ประโยชนแ์ สะอาดเมอื่ ตวั บ่งชที้ ่ี ๑.3 ๑.๒.๒ ล้า รักษาความ รับประทา ปลอดภยั ของ และหลังจ ตนเองและผอู้ ่นื หอ้ งสว้ มเม ๑.๒.๓ นอ เปน็ เวลา ๑.๒.๔ ออ เป็นเวลา ๑.๓.๑ เลน่ กจิ กรรมอ ปลอดภัยเ

๑๗ รบั เด็กอายุ ๓ – ๔ ปี ระดับชน้ั อนุบาลศึกษาปีที่ ๑ ประสงค์ เด็กอายุ สาระการเรยี นรู้ – ๔ ปี สาระทคี่ วรรู้ ประสบการณ์สาคัญ าหนักและ มเกณฑ์ของ 1. ช่ือและหนา้ ทขี่ องอวัยวะ ๑. การปฏิบัติตนตามสขุ อนามัย มยั ภายนอก สุขนสิ ยั ที่ดใี นกิจวัตร ประจาวนั อม 1. การดูแลรักษาสขุ อนามัยของ ๑. การปฏิบตั ติ นตามสุขอนามัย านอาหารท่ีมี ตนเอง สุขนสิ ัยที่ดใี นกจิ วัตร และดื่มน้าที่ ประจาวัน อมีผชู้ ี้แนะ ๒. การปฏบิ ัตติ นเป็นกิจวตั ร างมอื ก่อน ประจาวัน ๓. การล้างมือ กอ่ นรบั ประทาน านอาหาร อาหารและหลังจากใชห้ ้องน้า จากใชห้ ้องนา้ หอ้ งสว้ ม มื่อมีผชู้ แ้ี นะ ๔. การอาบน้า แปรงฟันสวมใส่ อนพกั ผอ่ น เส้อื ผ้าสะอาด ๕. การนอนหลับพักผ่อนพักผ่อน อกกาลงั กาย ใหเ้ พียงพอ และเปน็ เวลา นและทา 1. การระมดั ระวงั และปูองกนั 1. การปฏิบัตติ นให้ปลอดภยั ใน อย่าง อบุ ตั เิ หตุในบา้ น กิจวตั รประจาวนั เมอ่ื มีผ้ชู ้ีแนะ ๒. การเลน่ เครอ่ื งเล่นอย่าง ปลอดภัย

ตารางวเิ คราะห์สาระการเรียนร้รู ายปี สาหร พัฒนาการ มาตรฐาน ตวั บง่ ชี้ สภาพทีพ่ ึงประสงค ด้านรา่ งกาย การเรียนรู้ อายุ ๓ – ๔ ป ตวั บ่งชี้ที่ ๑.3 มาตรฐานที่ ๑ รักษาความ ๒.๑.๑ เดนิ ตามแนวท ร่างกายเจรญิ เติบโต ปลอดภัยของ กาหนดได้ ตามวยั และมสี ุข ตนเองและผู้อน่ื ๒.๑.2 กระโดดสองข นสิ ัยท่ดี ี (ตอ่ ) ลงอย่กู ับท่ีได้ ตวั บง่ ช้ีที่ ๒.๑ ๒.๑.3 ว่งิ แล้วหยดุ ได มาตรฐานที่ ๒ เคลื่อนไหว ๒.๑.4 รับลกู บอลโดย กล้ามเนอ้ื ใหญแ่ ละ รา่ งกายอย่าง มอื และลาตวั ช่วย กลา้ มเน้ือเล็ก คลอ่ งแคลว่ แข็งแรงใช้ได้อย่าง ประสานสมั พันธ์ คล่องแคลว่ และ กนั และทรงตัวได้ ประสานสมั พนั ธก์ ัน ตวั บง่ ช้ีที่ 2.๒ 2.2.1 ใชก้ รรไกรตดั ใช้มอื ได้อยา่ ง กระดาษขาดจากกันไ คลอ่ งแคลว่ ใชม้ ือเดียว

๑๘ รับเด็กอายุ ๓ – ๔ ปี ระดบั ชั้นอนบุ าลศกึ ษาปีท่ี ๑ ค์ เด็ก สาระการเรยี นรู้ ปี สาระท่คี วรรู้ ประสบการณส์ าคญั ๓. การฟังนทิ านเร่ืองราว เหตุการณ์เกยี่ วกบั การปูองกันและรกั ษาความปลอดภยั ๔. การเล่นบทบาทสมมติเหตุการณต์ ่าง ๆ ท่ี ๑. เรียนร้ทู ีจ่ ะเลน่ และ ๑. การเคล่อื นไหวอยู่กบั ท่ี เคลอื่ นไหวสว่ นตา่ ง ๆ ของ ๒. การเคลอื่ นไหว เคลื่อนท่ี ขาขึ้น รา่ งกายโดยไม่เสีย การทรงตวั ๓. การเคลื่อนไหวพร้อมวสั ดุ อุปกรณ์ ๔. การเคล่ือนไหวโดยควบคุมตนเองไปใน ด้ ทิศทาง ระดบั และพน้ื ท่ี ยใช้ ๕. การเคลอ่ื นไหวท่ปี ระสานสัมพันธข์ องการ ใชก้ ล้ามเนอื้ ใหญ่ ในการขวา้ ง การจบั การ โยน การเตะ ๖. การเลน่ เคร่ืองเลน่ สนามอย่างอสิ ระ ด 1. เรียนรู้ท่จี ะเล่นและทา ๑. การหยบิ จบั การใช้กรรไกร ไดโ้ ดย กิจกรรมต่าง ๆ การฉกี การตดั การปะ และ การร้อยวสั ดุ

ตารางวเิ คราะหส์ าระการเรยี นรูร้ ายปี สาหร พัฒนาการ มาตรฐาน ตวั บ่งชี้ สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ เด การเรยี นรู้ อายุ ๓ – ๔ ปี ดา้ นร่างกาย ตวั บง่ ช้ที ่ี 2.๒ มาตรฐานที่ ๒ ใชม้ อื ได้อยา่ ง 2.2.2 เขยี นรปู วงกล ดา้ นอารมณ์และ กล้ามเนือ้ ใหญแ่ ละ คลอ่ งแคล่ว ตามแบบได้ จิตใจ กลา้ มเนือ้ เล็ก 2.2.3 ร้อยวสั ดุท่ีมรี ู แขง็ แรงใชไ้ ด้อย่าง ขนาดเสน้ ผา่ น คล่องแคลว่ และ ศูนยก์ ลาง 1 ซม.ได้ ประสานสมั พันธ์กนั ตวั บง่ ช้ที ่ี ๓.1 ๓.๑.๑ ร่าเริง แจม่ ใส มาตรฐานท่ี 3 แสดงออกทาง อารมณ์ดี มีสขุ ภาพจติ ดี และ อารมณ์อยา่ ง ๓.๑.๒ เรมิ่ แสดงออก มคี วามสขุ เหมาะสมกบั วยั ทางอารมณ์ได้ และสถานการณ์ เหมาะสมกบั บาง สถานการณ์ ตัวบ่งช้ีท่ี ๓.2 ๓.๒.๑ เร่มิ มีความ มีความรู้สึกที่ดตี อ่ มนั่ ใจในตนเอง ตนเองและผอู้ ืน่ ๓.๒.๒ พึงพอใจใน ตนเอง ชนื่ ชม ความสามารถและ ผลงานของตนเอง

๑๙ รบั เด็กอายุ ๓ – ๔ ปี ระดบั ชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ ๑ ดก็ สาระการเรยี นรู้ สาระทค่ี วรรู้ ประสบการณส์ าคญั ลม ๒. การเขยี นภาพและการเลน่ กบั สี ๓. การประดษิ ฐส์ ง่ิ ต่างๆ ด้วย เศษวัสดุ ส 1. เรียนรู้/สามารถแสดงออกได้ ๑. การฟงั เพลง การรอ้ งเพลง เหมาะสมกับเหตุการณ์ และการแสดงปฏิกริ ิยา ก ๒. การทาท่าทางประกอบ โต้ตอบเสยี งดนตรี เสยี งดนตรี ๒. การเลน่ เคร่ืองดนตรีประกอบ ๓. การเลน่ ตามความต้องการ จงั หวะ ๔. การฟงั เรอ่ื งราวหรือเหตกุ ารณ์ ๓. การเคลอื่ นไหวตาม ตา่ งๆ ท่สี นุกสนาน เสยี งเพลง/ ดนตรี ๕. การไปศกึ ษาแหล่งเรียนรู้ ๔. การเล่นบทบาทสมมติ ๖. เรียนร/ู้ สามารถกล้าแสดงออก ๕. การทากิจกรรมศลิ ปะต่างๆ ๗. แสดงความรู้สกึ ที่ดตี ่อตนเอง ๖. การสร้างสรรคส์ ง่ิ สวยงาม และผู้อืน่ ๗. การเล่นอสิ ระ ๘. การเลา่ นทิ าน ๘. การเล่นรายบุคคล กลุม่ ยอ่ ย ๙. การแสดงบทบาทสมมติ กลุ่มใหญ่ ๑๐. การพูด ๙. การเล่นตามมมุ ประสบการณ์

ตารางวเิ คราะหส์ าระการเรยี นร้รู ายปี สาหร พฒั นาการ มาตรฐาน ตวั บ่งชี้ สภาพท่พี งึ ประสงค การเรยี นรู้ เดก็ อายุ ๓ – ๔ ป ด้านอารมณแ์ ละ มาตรฐานท่ี 3 จิตใจ มีสุขภาพจติ ดี และ มคี วามสุข มาตรฐานที่ 4 ชื่น ตวั บง่ ชีท้ ่ี ๔.1 ๔.1.๑ สนใจ และมี ชมและแสดงออก สนใจ มีความสุข ความสขุ และ ทางศลิ ปะ ดนตรี และแสดงออก แสดงออกผา่ นงาน และความ ผา่ นศลิ ปะ ดนตรี ศลิ ปะ เคลอื่ นไหว และความ ๔.๑.๒ สนใจ มี เคล่อื นไหว ความสุข และ แสดงออกผ่าน เสียงเพลง ดนตรี ๔.๑.๓ สนใจ มี ความสขุ และแสดง ท่าทาง/เคลอ่ื นไหว ประกอบเพลง จังหว และดนตรี

๒๐ รับเด็กอายุ ๓ – ๔ ปี ระดบั ชน้ั อนบุ าลศึกษาปีที่ ๑ ค์ สาระการเรียนรู้ ปี สาระทีค่ วรรู้ ประสบการณส์ าคญั ๑๐. การเล่นนอกห้องเรียน ๑๑. การปฏบิ ตั ติ นตามหลัก ศาสนาทนี่ บั ถือ ๑๒. การฟงั นทิ านเกย่ี วกบั คณุ ธรรมจรยิ ธรรม ๑. การสรา้ งสรรค์ผลงานศิลปะ ๑. การทากจิ กรรมศิลปะต่างๆ เช่น การเขยี น การวาด การ ๒. การทางานศิลปะ ประดิษฐ์ การปน้ั ๓. การฟงั เพลง การรอ้ งเพลง ๒. การเคล่อื นไหวร่างกาย และการแสดงปฏิกริ ยิ า ประกอบจังหวะ โต้ตอบเสยี งดนตรี ๓. การเคลื่อนไหวร่างกาย ๔. การเลน่ เครื่องดนตรปี ระกอบ ประกอบเพลง จงั หวะ ๔. การแสดงความคิดเหน็ และ ๕. การเคล่อื นไหวตาม แสดงความชื่นชมผลงานของ เสียงเพลง/ ดนตรี ตนเองและผอู้ ืน่ ๖. การเลน่ อิสระ ๗. การสร้างสรรค์สง่ิ สวยงาม วะ ๘. การทากจิ กรรมศลิ ปะต่างๆ

ตารางวิเคราะหส์ าระการเรียนรู้รายปี สาหร พฒั นาการ มาตรฐาน ตวั บง่ ชี้ สภาพทพี่ งึ ประสงค การเรียนรู้ เดก็ อายุ ๓ – ๔ ป ดา้ นอารมณแ์ ละ ตัวบ่งชีท้ ่ี ๕.1 จติ ใจ มาตรฐานข้อท่ี ๕ ซื่อสตั ยส์ ุจริต ๕.๑.๑ บอกหรอื ชไี้ ด มีคณุ ธรรม สิ่งใดเป็นของตนเอง จริยธรรมและมี ตัวบ่งชที้ ่ี ๕.2 และสิง่ ใดเปน็ ของผู้อ จติ ใจทด่ี ีงาม ๕.๒.๑ แสดงความรกั มคี วามเมตตา เพื่อนและมีเมตตาสตั กรุณา มีนา้ ใจ เล้ียง และช่วยเหลือ แบง่ ปัน ๕.๒.๒ แบ่งปันผู้อน่ื ไ เมอ่ื มผี ู้ชีแ้ นะ ตัวบง่ ช้ีที่ ๕.3 ๕.๓.๑ แสดงสีหน้าห ท่าทางรบั รู้ความรู้สกึ มคี วามเหน็ อก ผ้อู ื่น เหน็ ใจผู้อืน่ ตัวบง่ ชี้ที่ ๕.4 ๕.๔.๑ ทางานที่ไดร้ ับ มีความรบั ผิดชอบ มอบหมายจนสาเรจ็ เมอ่ื มผี ูช้ ่วยเหลือ

๒๑ รบั เดก็ อายุ ๓ – ๔ ปี ระดับชนั้ อนบุ าลศกึ ษาปที ี่ ๑ ค์ สาระการเรียนรู้ ปี สาระท่คี วรรู้ ประสบการณส์ าคญั ด้ว่า ๑. เรยี นรู้การทางานท่ีไดร้ บั 1. การแสดงความยินดีเม่ือผู้อน่ื มอบหมาย มีความสุข เห็นใจเมอื่ ผู้อ่ืน อ่นื ๒. เรยี นรู้ เล่นอสิ ระ เล่น เศร้า หรือเสียใจและการ ก รายบุคคล และเล่นเปน็ กลุ่ม ชว่ ยเหลือปลอบโยนเมื่อผู้อืน่ ตว์ ๓. การขออนุญาต การรอคอย ได้รับบาดเจ็บ ๔. เรยี นรวู้ า่ สิง่ ของใดเปน็ ของ 2. การเลน่ ตามมมุ ประสบการณ์ ตนเองและส่งิ ของใดเป็นของ 3. การเล่นรายบุคคล กลมุ่ ย่อย ได้ ผู้อนื่ กลมุ่ ใหญ่ ๕. เรยี นรู้การเกบ็ สง่ิ ของหลังจาก ๔. การเรียนรู้การเกบ็ สิ่งของ การเล่นแลว้ ต่างๆ หลงั การเล่น หรอื ๖. เรียนรู้การทางานท่ไี ด้รบั ๕. การเรยี นรู้วา่ ของสง่ิ ใด เป็น ก มอบหมาย ของตนเองและสง่ิ ใดเปน็ ของ ๗. เรยี นรูก้ ารแสดงความรกั ผอู้ น่ื เพอ่ื นและสัตว์ ๖. การแสดงความรักเพื่อน บ ๘. รูจ้ กั แบง่ ปนั สิ่งของ และสัตว์ ๙. เรียนรทู้ ่จี ะแสดงความรู้สึก ๗. การรู้จักแบ่งปนั สิง่ ของ ในทางท่ีดี เชน่ การขอโทษ ๘. การฟงั นทิ านเกีย่ วกบั คณุ ธรรม จริยธรรม

ตารางวเิ คราะหส์ าระการเรียนรู้รายปี สาหร พัฒนาการ มาตรฐาน ตัวบ่งช้ี สภาพท่ีพงึ ประสงค ดา้ นสังคม การเรยี นรู้ ตัวบ่งช้ที ี่ ๖.1 เดก็ อายุ ๓ – ๔ ป ชว่ ยเหลอื ตนเอง มาตรฐานท่ี 6 ในการปฏิบัติ ๖.๑.๑ แตง่ ตัวโดยมผี มที ักษะชีวิตและ กิจวัตรประจาวัน ชว่ ยเหลอื ปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ๖.๑.๒ รบั ประทาน ปรชั ญาของ ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๖.2 อาหารด้วยตนเอง เศรษฐกจิ พอเพยี ง มวี นิ ัยในตนเอง ๖.๑.๓ ใชห้ อ้ งนา้ หอ้ ง ส้วมโดยมีผูช้ ว่ ยเหลือ ตวั บ่งชี้ที่ ๖.3 ๖.๒.๑ เกบ็ ของเล่นข ประหยดั และ พอเพยี ง ใชเ้ ขา้ ทเ่ี ม่ือมผี ู้ชี้แนะ ๖.๒.๒ เขา้ แถว ตามลาดบั ก่อนหลงั ได เมือ่ มีผชู้ ีแ้ นะ ๖.๓.๑ ใชส้ ่ิงของ เคร่ืองใช้อย่างประหย และพอเพียงเม่ือมีผู้ ชแี้ นะ

๒๒ รับเด็กอายุ ๓ – ๔ ปี ระดับชน้ั อนุบาลศกึ ษาปที ี่ ๑ ค์ สาระการเรียนรู้ ปี สาระที่ควรรู้ ประสบการณส์ าคญั ผู้ ๑. การชว่ ยเหลอื ตนเองในกิจวัตร ๑. การปฏิบัติตนตามสขุ อนามยั ประจาวนั สขุ นสิ ยั ที่ดใี นกิจวตั รประจาวนั ๒. เรียนร้กู ารเก็บสิ่งของหลงั จาก ๒. การเรียนรู้การเก็บสิง่ ของ การเลน่ แล้ว ต่างๆ หลังการเล่น ง ๓. เรยี นรกู้ ารใช้หอ้ งน้าห้องส้วม ๓. การปฏิบตั ติ นเปน็ สมาชิกที่ดี อ ๔. ระเบียบวนิ ัย ของห้องเรยี น ของ ๕. การเข้าแถวรอคอยตามลาดบั ๔. การเลน่ และทางานรว่ มกับ ะ กอ่ น – หลัง ผอู้ น่ื ๖. การเข้าแถวเคารพธงชาติ ๕. การเลน่ หรือทากิจกรรม ๗. การชว่ ยเหลอื ตนเองดว้ ยการ รว่ มกบั กลมุ่ เพ่ือน ด้ การแต่งตัวเอง ๖. การปฏิบตั ติ นตามแนวทาง ๘. การรับประทานอาหารอย่าง หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ ถกู วธิ ี พอเพียง ยัด ๙. มารยาทในการรบั ประทาน ๗. การนาวสั ดหุ รือส่ิงของ อาหาร เคร่อื งใช้ทใี่ ชแ้ ล้ว มาใชซ้ า้ ๑๐. การระวงั รกั ษาตนเองให้ หรอื แปรรปู แลว้ นากลบั มาใชใ้ หม่ ปลอดภัย ๘. การสนทนาขา่ วและ ๑๑. เรยี นรู้ทจี่ ะไมท่ าลายส่งิ ของ เหตุการณท์ ่ีเก่ียวกบั เครอ่ื งใช้รอบตวั ธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มใน ชีวิตประจาวัน

ตารางวิเคราะห์สาระการเรยี นร้รู ายปี สาหร พัฒนาการ มาตรฐาน ตวั บ่งชี้ สภาพท่ีพึงประสงค ด้านสังคม การเรียนรู้ เด็กอายุ ๓ – ๔ ป มาตรฐานที่ 7 รักธรรมชาติ ตวั บง่ ชีท้ ่ี ๗.1 ดแู ล ๗.๑.๑ มีสว่ นร่วมดูแ ส่งิ แวดล้อม รักษาธรรมชาติและ รกั ษาธรรมชาติและ วฒั นธรรม และ ส่งิ แวดลอ้ ม สง่ิ แวดลอ้ มเมื่อมผี ู้ ความเป็นไทย ชีแ้ นะ ๗.๑.๒ ทิง้ ขยะได้ถูกท มาตรฐานที่ 8 อยรู่ ว่ มกบั ผอู้ ื่นได้ ตัวบง่ ชที้ ่ี ๗.2 ๗.๒.๑ ปฏิบัติตนตาม อย่างมีความสขุ มมี ารยาทตาม มารยาทไทยได้เมื่อมีผ และปฏบิ ตั จิ นเปน็ วัฒนธรรมไทย และ ชีแ้ นะ สมาชิกที่ดขี อง รกั ความเป็นไทย ๗.๒.๒ กลา่ วคา ขอบคุณและขอโทษ เมื่อมผี ้ชู แี้ นะ ๗.๒.๓ ยนื ตรงเมื่อได ยินเพลงชาติไทยและ เพลงสรรเสรญิ พระ บารมี ตัวบง่ ช้ที ่ี ๘.1 ๘.๑.๑ เล่นและทา ยอมรับความเหมอื น กจิ กรรมร่วมกับเด็กท และความแตกตา่ ง แตกต่างไปจากตน ระหว่างบุคคล

๒๓ รบั เด็กอายุ ๓ – ๔ ปี ระดบั ชนั้ อนบุ าลศกึ ษาปีท่ี ๑ ค์ สาระการเรียนรู้ ปี สาระทีค่ วรรู้ ประสบการณส์ าคญั แล ๑. การดูแลรักษาธรรมชาติและ ๑. การชว่ ยเหลือตนเองใน สง่ิ แวดลอ้ ม กิจวัตรประจาวนั ๒. การใชท้ รพั ยากรอยา่ งคุม้ ค่า ๒. การเพาะปลูกและดูแลตน้ ไม้ ๓. การกระทาทีส่ ่งผลกระทบต่อ ๓. การเลย้ี งสตั ว์ ที่ สงิ่ แวดลอ้ ม ๔. การมีส่วนร่วมรับผิดชอบดูแล ม ๔. การแสดงความเคารพ รกั ษาสิ่งแวดลอ้ มท้ังภายใน ผู้ ๕. การปฏิบตั ิตนตามมารยาท และภายนอกห้องเรยี น ไทย เชน่ การไหว้ การกราบ ๕. การดแู ลห้องเรยี นรว่ มกัน ๖. การกลา่ วขอบคุณ ๖. การปฏิบตั ติ นเปน็ สมาชิกทีด่ ี ของห้องเรียน ๗. การปฏิบัตติ นตามวฒั นธรรม ด้ ท้องถิ่นท่ีอาศัยและประเพณี ะ ไทย ๘. การเล่นบทบาทสมมติ การ ปฏิบตั ติ นในความเป็นคนไทย ๑. ความเหมือนและความ ๑. การเลน่ และการทางาน ท่ี แตกต่างระหวา่ งบุคคล ร่วมกบั ผู้อ่ืน ๒. การเล่นและทากจิ กรรม ๒. การทาศิลปะแบบร่วมมอื รว่ มกบั เพอื่ น ๓. การเลน่ หรือทากจิ กรรม ๓. การแสดงความคดิ เหน็ ร่วมกบั กลมุ่ เพื่อน

ตารางวเิ คราะหส์ าระการเรียนรู้รายปี สาหร พฒั นาการ มาตรฐาน ตวั บ่งชี้ สภาพท่พี งึ ประสงค ดา้ นสังคม การเรียนรู้ เด็กอายุ ๓ – ๔ ป สังคมในระบอบ ตัวบ่งช้ีที่ ๘.2 ๘.๒.๑ เลน่ ร่วมกบั ประชาธิปไตยอนั มี มปี ฏิสมั พันธท์ ีด่ ี เพอื่ น พระมหากษัตริย์ทรง กับผูอ้ น่ื ๘.๒.๒ ย้ิมหรอื ทักทา เปน็ ประมุข ผใู้ หญ่และบุคคลท่ี คุน้ เคยเม่ือมีผ้ชู ี้แนะ ตัวบง่ ชี้ท่ี ๘.3 ๘.๓.๑ ปฏิบัตติ าม ปฏิบตั ิตนเบื้องตน้ ขอ้ ตกลงเมื่อมีผู้ช้แี นะ ในการเป็นสมาชกิ ๘.๓.๒ ปฏิบตั ิตนเปน็ ท่ีดีของสงั คม ผูน้ าและผูต้ ามเม่ือมผี ช้ีแนะ ๘.๓.๓ ยอมรบั การ ประนีประนอมแก้ไข ปญั หาเม่อื มผี ้ชู แี้ นะ

๒๔ รับเด็กอายุ ๓ – ๔ ปี ระดบั ชนั้ อนบุ าลศึกษาปีท่ี ๑ ค์ สาระการเรยี นรู้ ปี สาระทค่ี วรรู้ ประสบการณส์ าคญั ๔. ประเพณีและวฒั นธรรม ๔. การปฏบิ ัติตนตามวัฒนธรรม ๕. การปฏบิ ตั ิตนตามข้อตกลง ทอ้ งถนิ่ ท่ีอาศยั และประเพณี าย ของหอ้ งเรียน ไทย ๖. การสร้างและปฏบิ ตั ิตาม ๕. การละเลน่ พื้นบา้ นของไทย ข้อตกลง ๖. การสนทนาและแลกเปลย่ี น ๗. การปฏิบัติตนเปน็ ผู้นาและผู้ ความคิดเห็น ะ ตามที่ดี ๗. การปฏิบัติตนเปน็ สมาชกิ ที่ดี น ๘. การรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของ ของหอ้ งเรียน ผู้ ผู้อืน่ ๘. การมีส่วนรว่ มในการเลอื ก ๙. ระเบยี บวินยั วิธกี ารแกป้ ัญหา ๑๐. การปฏบิ ัตติ นตามหลัก ๙. การมสี ่วนร่วมในการ ศาสนาท่ีตนนับถอื แก้ปัญหาความขัดแยง้ ๑๑. การเข้ารว่ มกิจกรรมท่ี ๑๐. การรว่ มกาหนดข้อตกลง เกีย่ วกบั สถาบัน ของห้องเรียน พระมหากษัตรยิ ต์ ามที่ ๑๑. การใหค้ วามรว่ มมือในการ โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตา่ งๆ ๑๒. การเล่นบทบาทสมมติการ ปฏบิ ตั ติ นในความเปน็ ไทย

ตารางวเิ คราะห์สาระการเรยี นรู้รายปี สาหร พัฒนาการ มาตรฐาน ตวั บ่งช้ี สภาพท่พี ึงประสงค ด้านสติปัญญา การเรียนรู้ เด็กอายุ ๓ – ๔ ป ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๙.1 มาตรฐานท่ี 9 ใช้ สนทนาโต้ตอบ ๙.๑.๑ ฟังผอู้ น่ื พูดจน ภาษาสื่อสารได้ และเล่าเรือ่ งให้ จบและพูดโตต้ อบ เหมาะสมกับวยั ผู้อื่นเข้าใจ เกย่ี วกับเร่ืองทีฟ่ ัง ตวั บง่ ชี้ที่ ๙.2 ๙.๑.๒ เล่าเรอ่ื งด้วย อ่าน เขยี นภาพ ประโยคสั้นๆ และสัญลกั ษณ์ได้ ๙.๒.๑ อ่านภาพ และ พดู ข้อความด้วยภาษ ของตนเอง ๙.๒.๒ เขียน ขีด เข่ีย อย่างมีทิศทาง

๒๕ รบั เดก็ อายุ ๓ – ๔ ปี ระดับชน้ั อนบุ าลศึกษาปีที่ ๑ ค์ สาระการเรียนรู้ ปี สาระทีค่ วรรู้ ประสบการณ์สาคญั น ๑. การฟังและการพูด ๑. การรอจงั หวะท่เี หมาะสมใน การพดู ๒. การฟังนทิ านและการบอก ๒. การฟงั และปฏิบัตติ ามคาแนะนา ความคดิ รวบยอด ๓. การฟังนทิ าน คาคลอ้ งจอง ๓. คาคลอ้ งจอง บทร้อยกรองหรือเรื่องราวตา่ งๆ ๔. การฟังและปฏบิ ัตติ าม ๔. การเล่นคาคล้องจองง่าย ะ ๕. การสนทนา การอธิบายการ เพลง เกม ษา พูดเล่าเรือ่ ง ๕. การแสดงความคิดความรูส้ ึก ๖. การแสดงความคิดเหน็ การ และความตอ้ งการด้วยคาพูด แสดงความร้สู กึ ๖. การพูดกับผูอ้ ่ืนเก่ยี วกบั ย ๗. มารยาทในการพดู ประสบการณ์ของตนเอง ๘. การฟงั และการถา่ ยทอด หรอื เลา่ เร่ืองราวเก่ียวกบั ตนเอง เร่ืองราว ๗. การอธิบายเก่ยี วกบั ส่งิ ของ ๙. การเรยี นรูภ้ าพและสัญลักษณ์ เหตกุ ารณแ์ ละความสมั พนั ธ์ ๑๐. การอา่ นหนังสอื ของส่งิ ต่างๆ ๑๑. การขีดเขยี น เชน่ ช่อื ๘. การเชอื่ มโยงภาพ ภาพถ่าย ตัวอักษร คาหรอื ข้อความ และรปู แบบตา่ งๆกับส่งิ ของ หรอื สถานทจ่ี รงิ

ตารางวิเคราะหส์ าระการเรียนรรู้ ายปี สาหร พฒั นาการ มาตรฐาน ตวั บ่งช้ี สภาพท่ีพงึ ประสงค การเรียนรู้ เด็กอายุ ๓ – ๔ ป ด้านสตปิ ัญญา มาตรฐานที่ 9 ใช้ ภาษาสอ่ื สารได้ เหมาะสมกับวยั มาตรฐานที่ 10 ตวั บ่งชท้ี ่ี ๑๐.1 ๑๐.๑.๑ บอกลกั ษณ มคี วามสามารถใน ความสามารถใน ของสิง่ ตา่ งๆจากการ การคดิ ทเี่ ปน็ การคิดรวบยอด สังเกตโดยใช้ประสาท พนื้ ฐานในการ สมั ผสั เรียนรู้ ๑๐.๑.๒ จับคู่หรอื เปรยี บเทยี บสิ่งต่างๆ โดยใช้ลักษณะหรือ หนา้ ทก่ี ารใชง้ านเพยี ลักษณะเดยี ว ๑๐.๑.๓ คัดแยกสิง่ ต่างๆตามลักษณะหร หนา้ ทก่ี ารใชง้ าน

๒๖ รบั เด็กอายุ ๓ – ๔ ปี ระดับชั้นอนบุ าลศกึ ษาปีที่ ๑ ค์ สาระการเรยี นรู้ ปี สาระทค่ี วรรู้ ประสบการณส์ าคญั ๙. การอ่านในหลายรูปแบบ ผ่าน ประสบการณ์ทสี่ ื่อความหมายตอ่ เดก็ อา่ น ภาพหรือสัญลักษณจ์ ากหนังสอื นทิ าน/ เร่ืองราวทสี่ นใจ ๑๐. การอา่ นนิทานและเลา่ เร่ือง ด้วยเสียงทหี่ ลากหลาย ณะ ๑. การตดั สินใจในเรื่องราวตา่ งๆ ๑. การลงความคดิ เหน็ จาก ๒. วธิ ีการแก้ปัญหา ข้อมูลอย่างมเี หตผุ ล ท ๓. การคิดเชงิ เหตุผล ๒. การแสดงการแก้ปญั หาท่ีพบ ๔. การเชอ่ื มโยงอย่างมเี หตผุ ล ระหว่างทากิจกรรม ๕. การสังเกตโดยใช้ประสาท ๓. การลงมือแก้ปัญหาหรอื ๆ สัมผสั ความต้องการอย่างเปน็ ๖. ลักษณะของส่ิงของต่างๆ ระบบ และการใช้สิ่งของ ยง ๗. การจาแนกรปู เรขาคณิตสาม เคร่ืองใชใ้ นชีวติ ประจาวนั มิตแิ ละรูเรขาคณิตสองมติ ิ เพ่ือช่วยในการแกป้ ัญหาหรือ ๘. การบอกส่วนประกอบของรปู สนองความต้องการอย่าง รือ เรขาคณติ สามมิติและรปู ถูกต้องปลอดภยั เรขาคณิตสองมิติ ๔. การเลอื กวิธแี ก้ปัญหาทที่ กุ ๙. การเปลย่ี นแปลงรปู เรขาคณิต คนยอมรบั

ตารางวเิ คราะห์สาระการเรียนรรู้ ายปี สาหร พฒั นาการ มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ สภาพทพี่ งึ ประสงค ดา้ นสติปญั ญา การเรยี นรู้ เด็กอายุ ๓ – ๔ ป มาตรฐานท่ี 10 ตัวบง่ ชที้ ี่ ๑๐.1 ๑๐.๑.๔ เรียงลาดบั มีความสามารถใน ความสามารถใน สิ่งของหรือเหตกุ ารณ การคดิ ท่ีเป็น การคิดรวบยอด อยา่ งน้อย 3 ลาดับ พน้ื ฐานในการ เรยี นรู้ ตัวบง่ ชี้ที่ ๑๐.2 ๑๐.๒.๑ ระบุผลท่ี มีความสามารถใน เกิดข้ึนในเหตุการณ์ หรือการกระทาเมื่อม การคิดเชิงเหตผุ ล ชแ้ี นะ ๑๐.๒.๒ คาดเดาหรอื คาดคะเนส่งิ ที่อาจจะ เกิดขึ้น ตัวบง่ ชี้ที่ ๑๐.3 ๑๐.๓.๑ ตัดสนิ ใจใน เรื่องง่ายๆ มีความสามารถใน ๑๐.๓.๒ แกป้ ญั หาโด การคิดแกป้ ญั หา ลองผดิ ลองถูก และตดั สินใจ

๒๗ รับเดก็ อายุ ๓ – ๔ ปี ระดับช้ันอนุบาลศึกษาปที ่ี ๑ ค์ สาระการเรยี นรู้ ปี สาระท่ีควรรู้ ประสบการณ์สาคัญ สามมติ แิ ละรปู เรขาคณติ ๕. การวางแผนและปฏบิ ัตติ น ณ์ สองมิติ ตามแผนทต่ี ง้ั ใจไว้ ๑๐. การเปรยี บเทยี บความ ๖. การสังเกตส่ิงตา่ งๆโดยใช้ เหมอื นและความแตกตา่ ง ประสาทด้วยการมอง ฟงั ๑๑. การเรยี งลาดบั สิ่งของหรือ สมั ผสั ชมิ รสและดมกลิ่น มผี ู้ เหตุการณ์ อย่างเหมาะสม ๑๒. การคาดคะเนและสรุปผล ๗. การพยากรณ์/คาดคะเนสิง่ ที่ อ อยา่ งมเี หตผุ ล คาดหวังสง่ิ ทจี่ ะเกดิ ข้ึนอย่าง ะ มเี หตผุ ล ๘. การลงขอ้ สรปุ ส่งิ ท่คี ้นพบ หรือสง่ิ ทีไ่ ดเ้ รยี นรู้ ๙. การอธบิ ายเกย่ี วกบั สิ่งของ เหตุการณแ์ ละความสมั พนั ธ์ของสิ่ตา่ งๆ ดย ๑๐. การประกอบอาหาร ๑๑. การสังเกตสิ่งตา่ งๆโดยใช้ ประสาทดว้ ยการมอง ฟัง สัมผัส ชิมรสและดมกลิน่ อยา่ งเหมาะสม ๑๒. การฟงั เสียงตา่ งๆใน สง่ิ แวดล้อม

ตารางวิเคราะหส์ าระการเรียนรู้รายปี สาหร พฒั นาการ มาตรฐาน ตวั บง่ ช้ี สภาพทีพ่ งึ ประสงค การเรยี นรู้ เดก็ อายุ ๓ – ๔ ป ดา้ นสติปัญญา มาตรฐานท่ี 10 มีความสามารถใน การคดิ ท่ีเป็น พน้ื ฐานในการ เรยี นรู้

๒๘ รบั เด็กอายุ ๓ – ๔ ปี ระดับชั้นอนุบาลศกึ ษาปีที่ ๑ ค์ สาระการเรยี นรู้ ปี สาระทีค่ วรรู้ ประสบการณ์สาคัญ ๑๓. การรบั รู้และแสดง ความร้สู ึกผา่ นส่ือ วสั ดุ ของ เลน่ และผลงาน ๑๔. การวางแบบรูปให้เหมอื นตน้ แบบ ๑๕. การตอ่ แบบรูป ๑๖. การสรา้ งแบบรปู ๑๗. การเปรยี บเทียบจานวน ของสิง่ ต่างๆ ๑๘. การเปรยี บเทยี บจานวน มากกว่า น้อยกว่า เทา่ กัน ๑๙. การมีประสบการณ์กบั จานวนหรือปริมาณท่ีเพ่ิมขน้ึ หรือลดลง ๒๐. การเปรียบเทยี บเรยี งลาดบั แล้ววดั ความยาว/ความสงู น้าหนกั และปริมาตรของส่ิง ต่างๆ โดยใช้เครื่องมือและ หนว่ ยที่ไม่ใชห่ นว่ ยมาตรฐาน ๒๑. การเปรียบเทยี บความยาว/ ความสงู น้าหนกั และ

ตารางวิเคราะหส์ าระการเรียนรู้รายปี สาหร พฒั นาการ มาตรฐาน ตวั บง่ ช้ี สภาพทีพ่ งึ ประสงค การเรยี นรู้ เดก็ อายุ ๓ – ๔ ป ดา้ นสติปัญญา มาตรฐานท่ี 10 มีความสามารถใน การคดิ ท่ีเป็น พน้ื ฐานในการ เรยี นรู้

๒๙ รบั เด็กอายุ ๓ – ๔ ปี ระดับชั้นอนุบาลศกึ ษาปีท่ี ๑ ค์ สาระการเรยี นรู้ ปี สาระทคี่ วรรู้ ประสบการณ์สาคัญ ปรมิ าตรของสิ่งต่างๆ ๒๒. การวัดความยาวความสูง โดยใช้เครอื่ งมอื และหน่วยที่ ไมใ่ ชห่ น่วยมาตรฐาน ๒๓. การชัง่ นา้ หนกั โดยใช้ เครือ่ งมือและหน่วยที่ไม่ใช่ หนว่ ยมาตรฐาน ๒๔. การตวงปรมิ าตรของส่งิ ต่างๆ โดยใช้เครื่องมือและ หนว่ ยที่ไม่ใช่หนว่ ยมาตรฐาน ๒๕. การบอกชนดิ และคา่ ของเงนิ ๒๖. การเปรียบเทยี บเวลา เช่น ตอนเช้า ตอนเยน็ เมอื่ วานน้ี พรงุ่ น้ี ฯลฯ ๒๗. เรียงความยาว/ความสงู น้าหนักและปริมาตรของส่ิงตา่ งๆ ๒๘. การเรียงลาดับกจิ กรรม หรือเหตุการณ์ตามเวลา ๒๙. การลงความคิดเห็นจาก

ตารางวิเคราะหส์ าระการเรียนรู้รายปี สาหร พฒั นาการ มาตรฐาน ตวั บง่ ช้ี สภาพทีพ่ งึ ประสงค การเรยี นรู้ เดก็ อายุ ๓ – ๔ ป ดา้ นสติปัญญา มาตรฐานท่ี 10 มีความสามารถใน การคดิ ท่ีเป็น พน้ื ฐานในการ เรยี นรู้

๓๐ รบั เด็กอายุ ๓ – ๔ ปี ระดบั ชน้ั อนุบาลศึกษาปีที่ ๑ ค์ สาระการเรียนรู้ ปี สาระท่คี วรรู้ ประสบการณส์ าคัญ ขอ้ มูลอย่างมีเหตุผล ๓๐. การต่อเขา้ ดว้ ยกนั การแยก ออก การบรรจแุ ละการเท ออก ๓๑. การสงั เกตสง่ิ ตา่ งๆและ สถานทจี่ ากมมุ มองที่ตา่ งๆ กนั ๓๒. การมปี ระสบการณ์และการ อธบิ ายในเรอื่ งตาแหน่งของ ส่ิงตา่ งๆทสี่ มั พันธก์ ัน ๓๓. การมีประสบการณ์และการ อธิบายในเรอ่ื งทิศทางการ เคล่อื นทีข่ องคนและสิ่ง ต่างๆ ๓๔. การสือ่ ความหมายของมิติ สัมพนั ธ์ดว้ ยภาพวาด ภาพถา่ ยและรูปภาพ ๓๕. การแก้ปญั หาเกยี่ วกับมติ ิ สัมพันธ์ในการเล่น

ตารางวเิ คราะหส์ าระการเรยี นรู้รายปี สาหร พัฒนาการ มาตรฐาน ตัวบง่ ชี้ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ เด็กอ การเรียนรู้ ๓ – ๔ ปี ดา้ นสตปิ ญั ญา ตัวบ่งชี้ ๑๑.1 มาตรฐานท่ี 11 ทางานศิลปะตาม ๑๑.๑.๑ สรา้ งงาน มีจินตนาการและ จนิ ตนาการและ ศิลปะเพ่อื สื่อสาร ความคดิ สร้างสรรค์ ความคดิ ความคดิ ความร้สู ึกข สร้างสรรค์ ตนเอง ตวั บง่ ช้ี 11.2 ๑๑.๑.๒ เคล่อื นไหว แสดงทา่ ทาง/ ทา่ ทางเพอ่ื ส่ือสาร เคลอ่ื นไหวตาม ความคดิ ความร้สู ึกข จนิ ตนาการอยา่ ง ตนเอง สร้างสรรค์ มาตรฐานท่ี 12 ตวั บ่งชี้ ๑๒.๑ ๑๒.๑.๑ สนใจฟังหรื มเี จตคติท่ดี ีตอ่ การ เรยี นรู้ และมี มเี จตคติท่ีดีตอ่ อ่านหนงั สอื ดว้ ยตนเอ ความสามารถใน การแสวงหาความรู้ การเรียนรู้ ๑๒.๑.๒ กระตือรือร้น ได้เหมาะสมกับวยั ในการเข้ารว่ มกจิ กรร ตัวบง่ ช้ี ๑๒.2 ๑๒.๒.๑ ค้นหาคาตอ มคี วามสามารถใน ของขอ้ สงสยั ตา่ งๆตา วิธกี ารทมี่ ผี ู้ชี้แนะ การแสวงหา ๑๒.๒.๒ ใช้ประโยค ความรู้ คาถามว่า “ใคร” “อะไร” ในการค้นหา

๓๑ รบั เด็กอายุ ๓ – ๔ ปี ระดับช้ันอนบุ าลศกึ ษาปที ่ี ๑ อายุ สาระการเรยี นรู้ สาระทคี่ วรรู้ ประสบการณ์สาคัญ ๑. การทางานศิลปะตาม ๑. การพูดอยา่ งสร้างสรรค์ใน จินตนาการ การเลน่ และการกระทาต่างๆ ของ ๒. การเคลื่อนไหวตาม ๒. ความคดิ รเิ ริ่มจากการสารวจ จนิ ตนาการและความคิด สิ่งต่างๆรอบตัว สรา้ งสรรค์ ๓. การสร้างสรรคช์ ้ินงานจากรปู เรขาคณิตสามมิติและรูป เรขาคณิตสองมิติ ของ ๔. การเลียนแบบการกระทา และเสยี งต่างๆ ๕. การแสดงความคิดสรา้ งสรรค์ ผ่านสือ่ วสั ดตุ ่างๆ อ ๑. เจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ ๑. การมุง่ ม่ันในการทากิจกรรม อง ๒. การอ่าน และสญั ลักษณ์ มสี มาธิจดจ่อ น ๓. การถามคาถามและแสดง ๒. ความคดิ รเิ ร่มิ จากการสารวจ รม ความคดิ เหน็ เก่ียวกับเร่ืองท่ี ส่ิงต่างๆรอบตัว อบ สนใจและเรือ่ งต่างๆ ๓. การอ่านในหลายรูปแบบ าม ๔. ความสามารถในการแสวงหา ผา่ นประสบการณท์ ส่ี ือ่ ความรู้ ความหมายตอ่ เด็ก อา่ น ๕. เหตุการณต์ ่างๆ ภาพหรอื สัญลักษณ์จาก ๖. รปู เรขาคณติ หนังสือนิทาน/เรื่องราวท่ี า ๗. การนับจานวน ตวั เลข สนใจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook