Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SARCS มคอ7 วิทยาการคอมพิวเตอร์ เกณฑ์2558 รอบ 2-2560 (8-8-25

SARCS มคอ7 วิทยาการคอมพิวเตอร์ เกณฑ์2558 รอบ 2-2560 (8-8-25

Published by Patsita Sirawongphatsara, 2019-06-14 06:47:50

Description: SARCS มคอ7 วิทยาการคอมพิวเตอร์ เกณฑ์2558 รอบ 2-2560 (8-8-25

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดาเนนิ การของหลักสูตร มคอ.7 วิทยาการคอมพวิ เตอร์ ปกี ารศกึ ษา 2560 วทิ ยาศาสตรบัณฑติ ระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาวชิ าวิทยาการคอมพิวเตอร์ หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2560 เกณฑป์ ี พ.ศ. 2558 คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จงั หวดั ปทมุ ธานี วันที่รายงาน 8 สิงหาคม 2561 แบบรายงานผลการดาเนินการของหลักสตู ร ภาคการศึกษาที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 : หน้า ก

สารบัญ หน้า บทสรปุ สาหรบั ผู้บริหาร 1 มคอ.7 รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู ร หมวดท่ี 1 5 1 ขอ้ มลู ทั่วไป 5 องค์ประกอบท่ี 1 การกากบั มาตรฐาน 8  ตวั บ่งชที้ ่ี 1.1 การบริหารจดั การหลกั สูตรตามเกณฑม์ าตรฐานหลักสูตรท่กี าหนดโดยสกอ. 8 8 2 อาจารย์ 18 องคป์ ระกอบท่ี 4 อาจารย์ 24  ตัวบง่ ชที้ ี่ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 27  ตวั บง่ ชที้ ่ี 4.2 คุณภาพอาจารย์ 28  ตวั บ่งชที้ ี่ 4.3 ผลท่ีเกดิ กบั อาจารย์ 28 31 3 นกั ศกึ ษาและบณั ฑติ 33 องค์ประกอบท่ี 2 บัณฑิต 33  ตัวบง่ ชท้ี ี่ 2.1 คณุ ภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดบั อุดมศึกษาแห่งชาติ 41  ตวั บ่งชท้ี ่ี 2.2 รอ้ ยละของบัณฑติ ปริญญาตรีทีไ่ ด้งานทาหรือประกอบอาชีพอสิ ระภายใน 1 ปี 55 องค์ประกอบที่ 3 นกั ศกึ ษา 59  ตวั บ่งชท้ี ี่ 3.1 การรับนกั ศึกษา 70  ตวั บง่ ชท้ี ่ี 3.2 การสง่ เสริมและพัฒนานักศึกษา 70  ตัวบ่งชที้ ี่ 3.3 ผลท่เี กิดกับนกั ศกึ ษา 76 89 4 ข้อมลู สรุปรายวชิ าและคุณภาพการสอน 100 องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรยี นการสอน การประเมินผู้เรียน 114  ตวั บ่งชที้ ่ี 5.1 สาระของรายวชิ าในหลักสูตร 114  ตัวบ่งชท้ี ี่ 5.2 การวางระบบผสู้ อนและการจดั การเรียนการสอน 114  ตวั บง่ ชท้ี ี่ 5.3 การประเมินผเู้ รยี น 120  ตัวบง่ ชที้ ี่ 5.4 ผลการดาเนนิ งานหลักสตู รตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดบั อดุ มศึกษา 121 122 5 การบรหิ ารหลกั สตู ร 125 องคป์ ระกอบท่ี 6 ส่ิงสนบั สนนุ การเรียนรู้  ตัวบง่ ชท้ี ี่ 6.1 ส่งิ สนบั สนนุ การเรยี นรู้ 6 ขอ้ คดิ เห็น 7 การเปลยี่ นแปลงทม่ี ีผลกระทบต่อหลกั สตู ร 8 แผนการดาเนนิ การเพื่อพัฒนาหลกั สูตร สรุปผลการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน แบบรายงานผลการดาเนินการของหลักสตู ร ภาคการศึกษาที่ 1 ปกี ารศึกษา 2560 : หน้า ข

บทสรุปสาหรบั ผูบ้ ริหาร ขอ้ มูลท่ัวไป สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภต์ ้ังอยู่ท่ี อาคาร 75 ปี วไลยอลงกรณ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เลขที่ 1 หมู่ที่ 20 ตาบลคลองหน่ึง อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 13180 ในปี พ.ศ. 2539 เปิดสอนในระดับปริญญาตรี หลักสูตรสาขาวิทยาศาสตร์ เอกวิทยาการคอมพิวเตอร์ รุน่ ที่ 1 โดยเปิดสอนนักศึกษาท้ังในภาคปกติ และภาค กศ.ปช. ในปี พ.ศ. 2559 หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ ได้พัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 ตาม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2558 และเร่ิมเปิดใช้ ต้ังแตภ่ าคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2560 สรปุ ผลการประเมินคณุ ภาพภายใน องค์ประกอบ จานวนตวั บ่งช้ี คะแนนประเมินเฉลยี่ ระดบั คณุ ภาพ องคป์ ระกอบท่ี 1 ผ่าน หลกั สูตรเป็นไปตาม มาตรฐาน องคป์ ระกอบที่ 2 2 4.08 องคป์ ระกอบที่ 3 3 3.00 ระดบั คณุ ภาพดีมาก องค์ประกอบท่ี 4 3 3.26 ระดับคณุ ภาพปานกลาง องค์ประกอบท่ี 5 4 3.50 องคป์ ระกอบท่ี 6 1 3.00 ระดับคณุ ภาพดี 13 3.38 ระดบั คณุ ภาพดี เฉลย่ี รวมทุกตัวบง่ ช้ี ระดับคณุ ภาพปานกลาง ระดับคุณภาพดี จดุ เดน่ และแนวทางเสรมิ /จุดท่ีควรพฒั นาและแนวทางปรบั ปรุง จุดเด่นและแนวทางเสรมิ 1. หลักสตู รมีการส่งเสรมิ ให้อาจารย์พัฒนาความรู้ เพ่ือรองรบั หลกั สตู รปรบั ปรุงปี 2560 2. อาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสตู ร จานวน 5 คน ดารงตาแหน่งทางวชิ าการ จานวน 2 คน จดุ ทคี่ วรพัฒนาและแนวทางปรบั ปรุง 1. จานวนอาจารย์ประจาหลกั สูตรท่ีมคี ุณวุฒปิ รญิ ญาเอก 2. ควรมีกระบวนการใหมๆ่ ของการรับนักศึกษา เพ่ือเพ่ิมจานวนนักศกึ ษา แบบรายงานผลการดาเนินการของหลักสตู ร ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศกึ ษา 2560 : หน้า ค

3. การเตรียมความพร้อมนักศึกษา ควรจาแนกนักศึกษาตามศกั ยภาพนักศึกษา เพื่อเสริมรายวิชาต่างๆ และมกี ระบวนการกากับและติดตามผลสมั ฤทธ์ิ 4. เพิ่มการพัฒนาทกั ษะภาษาองั กฤษ เพ่ือใหส้ อดคล้องกับการพฒั นานกั ศกึ ษาในศตวรรษที่ 21 5. หลักสตู รควรมีการบูรณาการการเรียนการสอนกับการบรกิ ารวิชาการหรืองานวจิ ัยเพ่ิมข้ึน 6. ควรเพม่ิ ชอ่ งทางให้นักศึกษาเสนอแนะ/ร้องเรยี น แบบรายงานผลการดาเนนิ การของหลกั สตู ร ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปีการศึกษา 2560 : หน้า ง

มคอ.7 รายงานผลการดาเนินการของหลักสตู ร หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ ระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาวชิ าวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปกี ารศึกษา 2560 หมวดท่ี 1 ข้อมูลทว่ั ไป 1. ข้อมูลทั่วไป 1.1 หลักสูตร 25391531100273 1.2 ประวตั ิความเป็นมาของหลักสูตร สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ต้ังอยู่ที่ อาคาร 75 ปี วไลยอลงกรณ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เลขท่ี 1 หมู่ที่ 20 ตาบลคลองหนึ่ง อาเภอคลองหลวง จังหวัด ปทมุ ธานี 13180 การบริหารและการจัดการการศึกษาสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ดาเนินการมาต้ังแต่ปี พ.ศ.2528 ในขณะนั้นบริหารและจัดการในรูปแบบของภาควิชาคอมพิวเตอร์ ภายใต้การดูแลของอาจารย์อานาจ ม่ันทน หัวหน้าโปรแกรมวิชา และผู้ช่วยศาสตราจารย์มนูญ แก้วราตรี รองหัวหน้าโปรแกรมวิชา มีการเปิดรับนักศึกษา ครั้งแรกในปี พ.ศ.2529 โดยเปิดสอนในระดับอนุปริญญาคอมพิวเตอร์ ในปี พ.ศ.2536 เปิดสอนนักศึกษาทั้งภาค ปกติและภาคการศึกษาเพ่ือบคุ ลากรประจาการ (กศ.บป.) ในระดับอนุปริญญาคอมพิวเตอร์ ในปี พ.ศ. 2539 เปิด สอนในระดับปริญญาตรี หลักสูตรสาขาวิทยาศาสตร์ เอกวิทยาการคอมพิวเตอร์ รุ่นที่ 1 โดยเปิดสอนนักศึกษาทั้ง ในภาคปกติ และภาค กศ.ปช. ในปี พ.ศ. 2540 เพ่ือให้การจัดการศึกษาและการดูแลเอาใจใส่นักศึกษามีความ ใกล้ชิดมากขึ้น และช่วยให้การใช้ทรัพยากรทางการศึกษาคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด จึงมีการเปล่ียนรูปแบบ การบริหารและการจดั การจากภาควิชาคอมพวิ เตอร์เปน็ โปรแกรมวิชาวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ ในปี พ.ศ. 2548 ทางมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้เปลี่ยนรูปแบบการ บริหารและจัดการโปรแกรมวิชาเป็นสาขาวิชาและหลักสูตร พร้อมกับกาหนดให้มีกรรมการบริหารหลักสูตรอย่าง น้อย 5 คน เพือ่ ทาหน้าท่ีประสานงานกบั คณะ อาจารย์ และนกั ศกึ ษาในทุกๆ เรอื่ งทีเ่ ก่ยี วข้อง ในปี พ.ศ. 2549 หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ ได้ปรับปรุงหลักสูตรเดิมให้สอดคล้องกับความ เปลี่ยนแปลงและความต้องการของ สังคม และเปิดใช้หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (ปรบั ปรุง) ตงั้ แต่ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2550 จนถึงจนถงึ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2554 ในปี พ.ศ. 2554 หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ ได้พัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐาน คณุ วุฒิ ระดับอดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2552 และเรม่ิ เปดิ ใชต้ งั้ แต่ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2555 แบบรายงานผลการดาเนินการของหลักสตู ร ภาคการศึกษาท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2560 : หนา้ 1

ในปี พ.ศ. 2559 หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ ได้พัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง กรอบมาตรฐาน คณุ วุฒิ ระดับอดุ มศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2558 และเรมิ่ เปิดใช้ตง้ั แต่ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2560 1.3. ผลการปรบั ปรงุ ตามข้อเสนอแนะของผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาปที ผ่ี ่านมา ขอ้ สงั เกตและขอ้ เสนอแนะ การดาเนนิ งาน/ผลการปรบั ปรงุ ตามขอ้ เสนอแนะ การประเมินทั้งกระบวนการควรมองท้ังกระบวนการเพ่ือที่จะ ได้มีการวิเคราะห์และประเมินกระบวนการรับนักศึกษาและ ไดเ้ ห็นจดุ ทีส่ ามารถนาไปปรบั ปรงุ ได้อยา่ งชัดเจนและถกู ตอ้ ง กระบวนการอ่ืนๆ ของปีการศึกษา 2559 แล้วนามาปรับปรุง กระบวนการในปีการศึกษา 2560 ควรสรา้ งจุดเดน่ ในหลักสูตรให้แตกต่างจากหลกั สูตรอ่นื เพราะ หลักสูตรมีการพัฒนาหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ปรับปรุง ปี หลักสตู รนมี้ กี ารแข่งขันกันสูง การศกึ ษา 2560 เพอื่ ปรบั ปรงุ เนอ้ื หาของหลักสูตรให้ทันสมัยและมี การเพิ่มเติมเนื้อหาท่ีเน้นในเร่ืองที่เป็นปัจจุบันและเป็นแนวโน้ม สาหรบั อนาคต ควรจดั ทาขน้ั ตอนและวธิ ีการจัดการข้อร้องเรียนของนักศกึ ษา ได้จัดประชุมช้ีแจงนักศึกษาเก่ียวกับช่องทางการร้องเรียน ท้ังใน ใหเ้ ปน็ รูปธรรมและชดั เจน เรื่องปญั หาและการเสนอแนะความตอ้ งการส่ิงสนบั สนุนการเรยี นรู้ ควรนาผลการประเมินในเรื่องต่างๆ มาวิเคราะห์เชิงลึก เพื่อ ได้มีการวิเคราะห์และประเมินกระบวนการรับนักศึกษาและ การพฒั นาทต่ี รงประเดน็ ยิ่งข้นึ กระบวนการอ่ืนๆ ของปีการศึกษา 2559 แล้วนามาปรับปรุง กระบวนการในปกี ารศกึ ษา 2560 3. อาจารยผ์ ู้รบั ผิดอบหลกั สตู ร 3.1 อาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลักสตู ร (ชุดท่ีระบใุ น มคอ.2) ลาดับ ชอ่ื -สกุล ตาแหนง่ วิชาการ คณุ วฒุ ิ-สาขาวิชา สถาบันการศึกษา ปที ี่จบ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2553 1. นายวิศรตุ ขวัญค้มุ อาจารย์ วท.ม. (วิทยาการ 2549 มหาวิทยาลยั นเรศวร 2537 คอมพวิ เตอร์) สถาบันบัณฑิต 2526 วท.บ. (วิทยาการ พัฒนบริหารศาสตร์ 2546 คอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลยั 2539 ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ 2. นายววิ ัฒน์ ชนิ นาทศิรกิ ุล ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ พบ.ม. สถติ ิประยุกต์ ประสานมติ ร มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทุม (ระบบและการจดั การ สถาบนั ราชภฏั เทพสตรี ลพบุรี สารสนเทศ) กศ.บ. (คณิตศาสตร์) 3. นางสาวณัฏฐริ า ศขุ ไพบูลย์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ วท.ม. (เทคโนโลยี สารสนเทศ) วท.บ. (วิทยาการ คอมพวิ เตอร์) แบบรายงานผลการดาเนินการของหลกั สตู ร ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปีการศึกษา 2560 : หนา้ 2

ลาดับ ชอื่ -สกุล ตาแหน่งวชิ าการ คุณวฒุ ิ-สาขาวชิ า สถาบันการศึกษา ปีทจ่ี บ 4. นางสาวสุนี ปัญจะเทวคปุ ต์ อาจารย์ วท.ม. (เทคโนโลยี สถาบนั เทคโนโลยพี ระ 2552 สารสนเทศ) จอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหาร ลาดกระบงั พบ.ม. สถติ ปิ ระยกุ ต์ สถาบันบณั ฑติ 2530 (วทิ ยาการ พฒั นบริหารศาสตร์ คอมพวิ เตอร์) มหาวิทยาลยั 2525 กศ.บ. (คณติ ศาสตร์) ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ บาง แสน 5. นางสาวณัฐรดี อนุพงค์ อาจารย์ วท .ม . (เท ค โน โล ยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี 2557 สารสนเทศ) พระจอมเกลา้ พระนคร เหนอื B.Sc. (Applied Northumbria 2552 Computing) University, Newcastle upon Tyne, United Kingdom. 3.2 อาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลกั สูตร (ชุดปจั จุบนั ) ลาดบั ชอื่ -สกุล ตาแหน่งวชิ าการ คณุ วุฒิ-สาขาวชิ า สถาบันการศกึ ษา ปีทีจ่ บ 1. นายวิศรุต ขวัญคุ้ม อาจารย์ วท.ม. (วทิ ยาการ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2553 คอมพิวเตอร)์ วท.บ. (วทิ ยาการ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2549 คอมพวิ เตอร)์ 2. นายวิวฒั น์ ชนิ นาทศิริกุล ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ พบ.ม. สถิติประยกุ ต์ สถาบนั บณั ฑิต 2537 (ระบบและการจดั การ พัฒนบรหิ ารศาสตร์ สารสนเทศ) กศ.บ. (คณิตศาสตร)์ มหาวทิ ยาลยั 2526 ศรนี ครินทรวโิ รฒ ประสานมิตร 3. นางสาวณฏั ฐิรา ศขุ ไพบูลย์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ วท.ม. (เทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทมุ 2546 สารสนเทศ) สถาบนั ราชภฏั เทพสตรี วท.บ. (วิทยาการ ลพบรุ ี 2539 คอมพิวเตอร)์ 4. นางสาวสนุ ี ปญั จะเทวคปุ ต์ อาจารย์ วท.ม. (เทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระ 2552 สารสนเทศ) จอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหาร ลาดกระบงั พบ.ม. สถิตปิ ระยกุ ต์ สถาบนั บณั ฑติ 2530 แบบรายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ภาคการศึกษาที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 : หน้า 3

ลาดับ ชอ่ื -สกลุ ตาแหน่งวชิ าการ คณุ วฒุ ิ-สาขาวิชา สถาบันการศึกษา ปีทีจ่ บ 5. นางสาวณฐั รดี อนพุ งค์ (วิทยาการ พัฒนบรหิ ารศาสตร์ คอมพวิ เตอร์) มหาวิทยาลยั 2525 กศ.บ. (คณิตศาสตร)์ ศรีนครินทรวโิ รฒ บาง แสน อาจารย์ วท .ม . (เท ค โน โล ยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี 2557 สารสนเทศ) พระจอมเกลา้ พระนคร เหนอื B.Sc. (Applied Northumbria 2552 Computing) University, Newcastle upon Tyne, United Kingdom. 4. อาจารยผ์ ู้สอน 4.1 อาจารยป์ ระจา 1) ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ววิ ฒั น์ ชินนาทศิริกลุ 2) ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ณฏั ฐริ า ศขุ ไพบูลย์ 3) อาจารย์สนุ ี ปญั จะเทวคุปต์ 4) อาจารย์ประณมกร อัมพรพรรด์ิ 5) อาจารย์ดาวรถา วรี ะพนั ธ์ 6) อาจารย์วศิ รุต ขวัญคุ้ม 7) อาจารย์ณฐั รดี อนุพงค์ 8) อาจารย์ชวลติ โควีระวงศ์ 4.2 อาจารยพ์ เิ ศษ ไม่มี 5. สถานทีจ่ ดั การเรยี นการสอน คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ จงั หวดั ปทมุ ธานี แบบรายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ภาคการศึกษาท่ี 1 ปีการศึกษา 2560 : หนา้ 4

องคป์ ระกอบที่ 1 การกากับมาตรฐาน ตวั บ่งชที้ ี่ 1.1 การบริหารจดั การหลักสตู รตามเกณฑ์มาตรฐานหลกั สูตรท่กี าหนดโดย สกอ. เกณฑ์การประเมิน ผลการดาเนินงาน ผลการพิจารณา เอกสาร หลกั ฐานประกอบ 1. จานวนอาจารย์ ครบ ไมค่ รบ ผ้รู บั ผดิ ชอบหลกั สตู ร [ ✓ ] อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู ร(ชดุ ปจั จุบัน) ✓ มคอ.2 หลกั สตู รวทิ ยาศาสตร 2. คุณสมบตั ิของ อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบ เป็นไปตามเกณฑ์(ไม่น้อยกวา่ 5 คน) ดังน้ี บัณฑติ ระดับปรญิ ญาตรี สาขาวชิ า หลักสตู ร (เกณฑส์ าหรับ 1 อาจารย์วศิ รตุ ขวัญค้มุ วิทยาการคอมพิวเตอร์ ระดับปริญญาตรแี ละ บณั ฑติ ศึกษา) 2 ผู้ช่วยศาสตราจารยว์ ิวฒั น์ ชินนาทศริ ิกุล หลกั สตู รปรับปรงุ ปี 2560 3. คุณสมบตั ิของ 3 ผู้ชว่ ยศาสตราจารยณ์ ฏั ฐริ า ศุขไพบลู ย์ อาจารย์ประจา หลกั สตู ร 4 อาจารย์สุนี ปัญจะเทวคุปต์ 5 อาจารยณ์ ัฐรดี อนพุ งค์ [ ] อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสตู รไมเ่ ปน็ ไปตาม เกณฑ์ เนือ่ งจาก ระบุสาเหตุ................ [ ✓ ] อาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบหลกั สตู รทุกคน ✓ เป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐานหลักสตู ร [ ] อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลกั สตู ร...........คน มี คุณวุฒหิ รือดารงตาแหนง่ ทางวิชาการไมเ่ ป็นไป ตามเกณฑม์ าตรฐานหลักสูตร คอื ชอ่ื -สกุล................................. เน่อื งจาก ระบุสาเหต.ุ ............... [ ✓ ] อาจารย์ประจาหลักสตู รมคี ุณสมบตั ิ ✓ 1. จิรัชญา วงศ์อาษา สุนี ปัญจะ เป็นไปตามเกณฑ์ ดังน้ี เทวคุป ต์ และวิศ รุต ขวัญ คุ้ ม . 1 อาจารย์วิศรตุ ขวญั คุ้ม (2560). \"การพัฒนาระบบการ 2 ผ้ชู ่วยศาสตราจารยว์ วิ ัฒน์ ชินนาทศริ ิกลุ จัดการฟาร์มเป็ดเนื้อ\". การประชุม 3 ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ณฏั ฐิรา ศุขไพบูลย์ วิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ 4 อาจารยส์ นุ ี ปัญจะเทวคุปต์ แ ล ะ เท ค โน โล ยี ค รั้ งที่ 5 , 2 5 5 อาจารย์ณัฐรดี อนพุ งค์ พฤษภาคม 2560 6 อาจารย์ประณมกร อมั พรพรรดิ์ 2. ภเู บศร์ มาบกลาง, ดาวรถา 7 อาจารยด์ าวรถา วรี ะพันธ์ วรี ะพันธ์ และววิ ฒั น์ ชินนาทศิรกิ ลุ . 8 อาจารยช์ วลติ โควรี ะวงศ์ (2560). \"การวิเคราะหแ์ ละ [ ] อาจารย์ประจาหลักสูตรไมเ่ ปน็ ไปตาม ออกแบบระบบการจดั การเรียนการ เกณฑ์ เนอ่ื งจาก ระบสุ าเหตุ...................... สอนออนไลน์ หลกั สตู รวิทยาการ คอมพวิ เตอร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฎั ว ไลยอลงกรณ์ ในพระบรม ราชูปถมั ภ\"์ . การประชุมวิชาการ ระดับชาติ วทิ ยาศาสตร์และ แบบรายงานผลการดาเนินการของหลกั สตู ร ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 : หนา้ 5

เกณฑก์ ารประเมิน ผลการดาเนนิ งาน ผลการพจิ ารณา เอกสาร หลักฐานประกอบ ครบ ไม่ครบ เทคโนโลยี ครั้งท่ี 5, 25 พฤษภาคม 2560 3.ณัฏฐริ า ศุขไพบูลย์ และ ดาวรถา วีระพันธ.์ (2559). การพัฒนา บทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน วชิ า ภาษาไทย สาหรบั นกั เรียนช้ัน ประถมศึกษาปที ่ี 1. วารสารวจิ ัย และพฒั นา วไลยอลงกรณใ์ นพระ บรมราชปู ถัมภ.์ 11(2) : 51-60. 4. ดาวรถา วรี ะพนั ธ์ และณฐั รดี อนุ พงค.์ (2560). \"การพฒั นาส่อื การ เรยี นรกู้ ารต์ นู มลั ตมิ เี ดีย 2 มิติ เร่อื ง อยู่อย่างพอเพียง ผ่านเครอื ขา่ ย อนิ เทอร์เนต็ \". วารสารวไลย อลงกรณป์ รทิ ศั น์ 7(3). 5.ประณมกร อมั พรพรรด.์ิ (2555). คณิตศาสตรไ์ มต่ อ่ เน่อื ง. ปทมุ ธานี : มหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรม ราชูปถัมภ์ จังหวดั ปทมุ ธาน.ี หนา้ 282. 6.ฐนพงษ์ ช่ืนชมบุญ และชวลิต โค วีระวงศ. (2560). “ระบบบันทึก แ ล ะ เข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ปั จ จั ย ด้ า น ก า ร เพ า ะ ป ลุ ก บ น แ พ ล ต ฟ อ ร์ ม อินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่ง”. การ ป ร ะ ชุ ม วิ ช า ก า ร ร ะ ดั บ ช า ติ “วิทยาศาสตร์และเท คโนโล ยี ร ะ ห ว่ า ง ส ถ า บั น ค ร้ั ง ท่ี ๕ ” (ASTC2017). 4. คุณสมบตั ิของ อาจารยป์ ระจา ✓ อาจารยผ์ สู้ อน [ ✓ ] อาจารย์ประจามคี ณุ วุฒิเปน็ ไปตามเกณฑ์ [ ] อาจารยป์ ระจามีคณุ วฒุ ิไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์ แบบรายงานผลการดาเนนิ การของหลกั สูตร ภาคการศึกษาที่ 1 ปกี ารศึกษา 2560 : หน้า 6

เกณฑ์การประเมนิ ผลการดาเนินงาน ผลการพิจารณา เอกสาร หลกั ฐานประกอบ ครบ ไมค่ รบ 11. การปรับปรุง หลักสตู รตามกรอบ อาจารยพ์ เิ ศษ ระยะเวลาท่ีกาหนด (เกณฑส์ าหรับระดบั [ ] อาจารย์พเิ ศษมีคณุ วฒุ ิเป็นไปตามเกณฑ์ ปริญญาตรีและ ระดับบณั ฑติ ศึกษา) [ ] อาจารย์พเิ ศษมคี ณุ วฒุ ไิ มเ่ ป็นไปตามเกณฑ์ *มชี ั่วโมงสอนไมเ่ กินรอ้ ยละ 50 ของรายวิชา โดย มีอาจารยป์ ระจาเป็นผรู้ บั ผดิ ชอบรายวิชานั้น [ ✓ ] เป็นหลักสตู รปรับปรงุ ปี พ.ศ.2560 ✓ รายงานขัน้ ตอนการปรับปรุง (ปรับปรุงไมเ่ กนิ 5 ปี) หลกั สตู ร ซง่ึ มเี อกสารแสดงมติ [ ] ไมม่ กี ารปรับปรุงหลกั สตู ร เนอ่ื งจาก ระบุ เหน็ ชอบการปรับปรงุ หลักสูตรจาก .............................. สภามหาวทิ ยาลยั การประเมินตนเองจากผลการดาเนนิ งาน ตัวบง่ ช้ี เปา้ หมาย ผลการ คะแนนการ การบรรลุ 2560 ดาเนินงาน ประเมนิ เปา้ หมาย 1.1 การบริหารจดั การหลักสตู รตามเกณฑ์ ผ่าน  ผ่าน  ผา่ น บรรลุ มาตรฐานหลกั สูตรที่กาหนดโดย สกอ.  ไม่ผ่าน  ไม่ผา่ น หมายเหตุ : หากไมผ่ ่านเกณฑ์ข้อใดขอ้ หน่งึ ถือวา่ หลักสูตรไม่ไดม้ าตรฐาน และผลเปน็ “ไมผ่ ่าน” คะแนนเป็นศูนย์ แบบรายงานผลการดาเนินการของหลกั สตู ร ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2560 : หนา้ 7

หมวดท่ี 2 อาจารย์ องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ ตวั บง่ ชท้ี ่ี 4.1 การบรหิ ารและพัฒนาอาจารย์ หมายเหตุ** การบริหารและการพัฒนาอาจารย์ ให้หมายถึง อาจารย์ผูร้ ับผิดชอบหลักสูตรเท่านัน้ ผลการดาเนินงาน - ระบบการรบั อาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบหลักสูตร  เป้าหมายของระบบ (เชิงปริมาณ/เชิงคณุ ภาพ) 1) มีอาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบครบ ตามเกณฑท์ ี่อยใู่ นมคอ.2 2) มีการระบุคุณลักษณะความเช่ียวชาญของอาจารย์ใหม่ท่ีแตกต่างจากอาจารย์ เพ่ือให้เกิดความ เชย่ี วชาญหลากหลาย 3) มีการวางแผนกาลงั อาจารยผ์ ูร้ บั ผิดชอบลว่ งหนา้ 5 ปี โดยดาเนนิ การทกุ ๆ ปี  ระบบกลไก/กระบวนการ (แสดงขัน้ ตอน) ระบบ/ขนั้ ตอน กลไก/ผูร้ บั ผิดชอบ 1.) ประชุมคณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรเพอื่ กาหนดคุณสมบัติอาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลกั สูตร กรรมการบรหิ ารหลักสตู ร ทต่ี อ้ งการรับใหม้ ีคุณวฒุ ติ ามมาตรฐานหลกั สตู ร 2) หลักสูตรมีการจัดทาแผนกรอบอัตรากาลังอาจารย์ระยะ 5 ปีให้เป็นไปตามกรอบ กรรมการบริหารหลักสูตร มาตรฐานหลักสูตร 3) หลักสูตรนาเสนอแผนกรอบอตั รากาลังระยะ 5 ปี เพอ่ื ขออนุมัติกรอบอัตรากาลัง กรรมการบรหิ ารหลักสูตร 4) คณะขออนุมตั ิอัตรากาลังจากคณะกรรมการบรหิ ารพนักงานมหาวิทยาลยั (ก.บ.พ.) คณะ 5) หลักสูตรขอใช้กรอบอตั รากาลังจากคณะกรรมการบริหารพนักงานมหาวิทยาลัย (ก.บ.พ.) หลกั สตู ร,คณะ, ก.บ.พ. โดยผ่านคณะ 6) คณะขอเปิดรบั อาจารย์ใหม่จากมหาวิทยาลัย คณะ 7) มหาวทิ ยาลยั ประกาศรับสมัครหรอื คัดเลือกตามขัน้ ตอนของมหาวทิ ยาลัย งานการเจ้าหนา้ ที่ 8) หลักสูตรร่วมกับคณะ และมหาวิทยาลัยดาเนินการปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่ผู้รับผิดชอบ หลักสูตร,คณะ, งานการ หลักสูตร เจา้ หนา้ ท่ี 9) หลกั สูตรดาเนินการมอบหมายภาระงานให้แกอ่ าจารยใ์ หมผ่ รู้ บั ผดิ ชอบหลักสูตร หลักสตู ร 10) แตง่ ตงั้ อาจารยพ์ เี่ ลีย้ งใหอ้ าจารยใ์ หมผ่ ู้รับผดิ ชอบหลกั สูตร หลักสตู ร 11) ประเมินผลการปฏิบัติงานของอาจารย์ใหม่ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และหลักสูตรประเมิน หลักสูตร,คณะ, งานการ กระบวนการรับอาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสตู ร เจา้ หนา้ ท่ี 12) หลักสูตรปรบั ปรงุ แก้ไข/กระบวนการรับอาจารยผ์ ูร้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู ร หลกั สตู ร แบบรายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปีการศึกษา 2560 : หนา้ 8

แบบรายงานผลการดาเนนิ การของหลกั สตู ร ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 : หนา้ 9

 การดาเนนิ การตามระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงการทางาน) 1.) ประชุมคณะกรรมการบริหารหลกั สูตรเพ่ือทบทวนคุณสมบัตอิ าจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลักสตู รทตี่ อ้ งการ รบั ให้มคี ณุ วฒุ ติ ามมาตรฐานหลกั สูตร ผลท่ีได้คือ อาจารยต์ ้องมีวฒุ กิ ารศึกษาอยา่ งน้อย ป.โท ในสาขาทตี่ รงหรือท่ี เก่ียวข้อง หรือมตี าแหน่งผชู้ ่วยศาสตราจารยข์ นึ้ ไป และอาจารยค์ วรจะเขียนโปรแกรมได้ดี และเคยใช้ Tool ที่ ทันสมัย มีความรดู้ ้าน Data Science, Internet of Things, หรือ Big Data ก็จะดี 2) หลักสตู รมีการจัดทาแผนกรอบอตั รากาลังอาจารย์ระยะ 5 ปใี ห้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานหลักสตู ร 3) หลักสตู รนาเสนอแผนกรอบอตั รากาลังระยะ 5 ปี เพ่ือขออนุมัติกรอบอัตรากาลัง การเพิ่มหรือลด อัตรากาลังอาจารยใ์ นหลักสูตร หลกั สตู รจะพิจารณาจากแผนอัตรากาลังของคณะและแนวโนม้ ภาระงานของ หลกั สตู รที่จะเกิดขน้ึ ในอนาคต ซง่ึ ในปัจจุบันหลักสูตรได้มีการวเิ คราะหด์ ้านภาระงาน โดยให้อาจารย์ 1 ท่าน มี ภาระงานสอน อยา่ งนอ้ ย 12 ภาระงานและรายวชิ าท่ีมอบหมายให้สอนจะต้องไมน่ ้อยกวา่ 2 รายวิชา โดยวชิ าท่ี สอนนั้นจะต้องเป็นนักศกึ ษาที่มีรหัสหมู่เรียนไมซ่ ้ากัน แต่ในปีการศกึ ษาท่ีผ่านมา ทางหลักสตู รไมต่ ้องการ อัตรากาลงั เพ่ิม จงึ ไม่มกี ารดาเนินการใดต่อไป  การประเมนิ กระบวนการ/การทบทวนระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงประเด็นทเี่ กิดจากการทบทวน) ปกี ารศกึ ษา 2560 หลักสูตรวทิ ยาการคอมพิวเตอรไ์ ม่ไดม้ ีกระบวนการรบั อาจารยใ์ หม่  การปรับปรงุ ระบบกลไก/กระบวนการตามผลการทบทวน(โดยต้องแสดงผลที่เกดิ จากการปรบั ปรงุ ) ปีการศึกษา 2560 หลักสตู รวิทยาการคอมพิวเตอร์ไมไ่ ดม้ กี ระบวนการรับอาจารย์ใหม่  ผลที่เกิดจากการปรับปรุง(โดยตอ้ งแสดงผลทเ่ี กิดขน้ึ เห็นชดั เจนเป็นรปู ธรรม) ปกี ารศึกษา 2560 หลักสูตรวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ไม่ไดม้ ีกระบวนการรับอาจารยใ์ หม่ - ระบบการแตง่ ตง้ั อาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลกั สูตร  เปา้ หมายของระบบ (เชิงปรมิ าณ/เชงิ คณุ ภาพ) 1) มีอาจารย์ผ้รู ับผิดหลกั สูตรชอบครบ ตามเกณฑ์ท่ีอยใู่ นมคอ.2 2) ส่งเสริมอาจารย์ผรู้ บั ผิดขอบหลักสตู รให้มตี าแหนง่ ทางวชิ าการท่ีสูงข้ึนเขา้ มาบริหาร  ระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงข้ันตอน) ระบบ/ข้ันตอน กลไก/ผ้รู บั ผดิ ชอบ 1.) ประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเพ่ือกาหนดคุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบ กรรมการบรหิ ารหลักสูตร หลักสตู รทตี่ อ้ งการรบั ใหม้ คี ุณวฒุ ติ ามมาตรฐานหลักสูตร 2) หลักสูตรมีการจัดทาแผนการแตง่ ต้ังอาจารยใ์ ห้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานหลักสูตร กรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร 3) หลกั สูตรแจ้งคณะเรอื่ งขอแกไ้ ขผูร้ บั ผดิ ชอบหลักสูตร หลักสตู ร,คณะ 4) หลักสูตรแกไ้ ข สมอ.08 หลกั สตู ร,คณะ แบบรายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2560 : หน้า 10

ระบบ/ขนั้ ตอน กลไก/ผรู้ บั ผดิ ชอบ 5) นาเรอ่ื งเขา้ ต่อสภาวชิ าการ นาเสนอตอ่ สภาวิชาการ และสภามหาวิทยาลัยพิจารณา งานการเจา้ หน้าที่ 6) นาเรอ่ื งสง่ สสว. เพ่อื เสนอแตง่ ตงั้ อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสูตร หลักสู ตร,ค ณ ะ, งาน การ เจ้าหนา้ ท่ี 7) หลักสตู รไดร้ ับคาสั่งแต่งตั้งอาจารยผ์ ้รู บั ผดิ ชอบหลกั สูตร หลักสตู ร 8) หลกั สตู รประเมินกระบวนการแตง่ ต้งั อาจารย์ผ้รู บั ผิดชอบหลักสตู ร หลักสู ตร,ค ณ ะ, งาน การ เจา้ หน้าที่ 9) หลกั สตู รปรับปรงุ แก้ไข/กระบวนการแต่งตง้ั อาจารย์ผูร้ ับผดิ ชอบหลักสตู ร หลกั สูตร  การดาเนนิ การตามระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงการทางาน) 1). หลักสูตรประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเพ่ือกาหนดคุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ ต้องการให้มีคุณวุฒิตามมาตรฐานหลักสูตร โดยในปีจะมีการเปลี่ยนแปลงอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรชุดใหม่ เพอื่ ทดแทนอาจารย์สมบูรณ์ ภพู่ งศกร ที่กาลังจะเกษียณอายุราชการ โดยมีคณุ สมบัติท่รี ะบุจะต้องอาจารย์ควรจะ มีตาแหน่งทางวิชาการ หรือจบการศึกษามาในสาขาท่ีตรงหรือเก่ียวข้อง โดยอาจารย์ที่รับการคัดเลือกเพราะมี คุณสมบัติครบได้ แก่ อ.วิศรุต ขวัญคุ้ม ผศ.วิวัฒน์ ชินนาทศิริกุล ผศ.ณัฏฐิรา ศุขไพบูลย์ อ.สุนี ปัญจะเทวคุปต์ อ.ณฐั รดี อนุพงค์ 2). หลักสูตรมีการดาเนินการแต่งต้ังอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรโดยมีการประชุมร่วมกัน เพ่ือพิจารณา การ เสนอรายช่อื อาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลกั สูตร ตามรายชือ่ ในขอ้ 1) 3). หลกั สตู รเสนอรายชอ่ื อาจารยผ์ ้รู ับผิดชอบหลักสตู รท่ไี ด้รบั การคดั เลือกไปยงั คณะเพอ่ื ดาเนนิ การต่อไป 4). คณะดาเนินการตรวจสอบความถูกต้อง เหมาะสมเกี่ยวกับคุณวุฒิ ความเช่ียวชาญท่ีสอดคล้องกับ มาตรฐานของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ตามท่ี สกอ.กาหนด เมื่อถูกต้อง ครบถ้วนคณะก็จะเป็นผู้ดาเนินการ เสนอมหาวิทยาลัยในขั้นตอนต่อไป เมื่อคณะดาเนินการเรียบร้อยหลักสูตรจะได้ รับคาส่ังจาก มหาวิทยาลัย เป็น คาส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร แต่หากคณะตรวจสอบแล้วพบความไม่ถูกต้องเหมาะสมใน ประเด็นใดประเด็นหน่ึงคณะจะส่งกลับให้หลักสูตรพิจารณาใหม่ และนอกจากนี้ในกรณีท่ีหลักสูตรมีการ ดาเนินการปรับปรุงหลักสูตรในส่วนของการเปล่ียนแปลงคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร หลักสูตรจะ ดาเนินการประชุมร่วมกันเพอ่ื พิจารณาการเปล่ยี นแปลงอาจารย์ว่าอาจารย์ท่านใหม่ที่จะเข้ามาแทน อาจารย์ท่าน เดิมว่ามีความเหมาะสมหรือไม่ จากนั้นหลักสูตรก็จะดาเนินการบันทึกรายงานตามแบบ สมอ.08 เปลี่ยนแปลง อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตรแลว้ ส่งไปให้สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบยี นของมหาวิทยาลัยเพ่ือ ดาเนนิ การ ต่อไป 5). หลักสตู รจะไดร้ บั คาส่งั จากมหาวทิ ยาลยั ฯ เปน็ คาสั่งแต่งต้งั คณะกรรมการผรู้ ับผดิ ชอบหลักสตู ร แบบรายงานผลการดาเนนิ การของหลกั สูตร ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปกี ารศึกษา 2560 : หน้า 11

 การประเมินกระบวนการ/การทบทวนระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงประเด็นท่เี กิดจากการทบทวน) ต้องการให้อาจารย์ทีร่ บั ผิดชอบหลกั สตู รมีตาแหน่งทางวชิ าการท่ีสงู ขึ้น หรือสาเร็จศกึ ษาตอ่ ในระดบั ปริญญาเอกใหเ้ ยอะท่สี ดุ  การปรบั ปรุงระบบกลไก/กระบวนการตามผลการทบทวน(โดยต้องแสดงผลท่เี กิดจากการปรับปรุง) อาจต้องปรับปรงุ ระบบการส่งเสริมและพฒั นาอาจารย์เพ่ือเอ้ือประโยชน์ในข้อนี้  ผลทเี่ กิดจากการปรับปรุง(โดยต้องแสดงผลทเี่ กดิ ขึน้ เห็นชัดเจนเปน็ รปู ธรรม) ปกี ารศึกษา 2560 หลกั สูตรวทิ ยาการคอมพิวเตอร์มอี าจารย์ผู้รบั ผิดหลกั สตู รชอบครบ ตามเกณฑท์ ีอ่ ยูใ่ น มคอ.2 โดยมี 2 ใน 5 เป็นมีตาแหน่งเป็นผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ และทุกคนจบการศึกษาในระดับปรญิ ญาโท - ระบบการบริหารอาจารย์  เป้าหมายของระบบ (เชิงปริมาณ/เชงิ คุณภาพ) 1). คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตรทุกคนมีคุณวุฒิระดับปรญิ ญาโท หรือเทียบเท่า หรือดารง ตาแหน่ง ทางวชิ าการไม่ตา่ กวา่ ผู้ช่วยศาสตราจารยใ์ นสาขาทีต่ รงหรอื สัมพนั ธ์กับหลักสูตรวิทยาการคอมพวิ เตอร์  ระบบกลไก/กระบวนการ (แสดงข้ันตอน) ระบบ/ขนั้ ตอน กลไก/ผ้รู ับผิดชอบ 1) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรประชุมร่วมกันโดยมีการพิจารณาถึงอัตรากาลัง คุณวุฒิ ตาแหน่ง อาจารย์ผู้รับ ผิดชอบ ทางวิชาการ บทบาทหน้าท่ี ภาระงานตามพันธกิจของหลักสูตร ตามท่ีคณะ และมหาวิทยาลัย หลักสตู ร มอบหมาย 2) หลักสตู รจะพิจารณาจากแผนอัตรากาลังของคณะ โดยวิเคราะหด์ ้านภาระงาน และมีการบริหาร หลกั สตู ร ด้านบุคลากร ด้านการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ด้านการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา และงานอ่ืนๆ เช่น งานประกันคณุ ภาพ งานวจิ ัย และงานพฒั นาตนเอง 3) หลักสูตรมกี ารวางแผนด้านงบประมาณในการดาเนินกจิ กรรมต่างๆ หลักสูตร 4) หลักสูตรช่วยกันสรุปแผนการดาเนินงาน และงบประมาณท่ีจะใช้ในการดาเนินงาน ให้กับคณะ หลักสูตร ดาเนนิ การต่อไป 5) หลักสตู รมกี ารส่งเสริม และสนบั สนนุ ด้านวัสดุอุปกรณ์ตา่ งๆ ใหก้ ับอาจารย์ และประชมุ ปัญหา หลักสตู ร 6) หลักสูตรให้อาจารย์เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารหลักสูตรตั้งแต่กระบวนการหรือขั้นตอนการ อาจารย์ผู้รับ ผิดชอบ วางแผนของหลักสตู ร การเสนอโครงการ กจิ กรรม การเรยี นการสอน และงบประมาณท่ีตอ้ งใช้ หลักสูตร 7) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรใช้แผนปฏิบัติราชการคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการ อาจารย์ผู้รับ ผิดชอบ ดาเนนิ งาน ของหลกั สูตรเพอ่ื ให้เป็นไปตามแผนทีว่ างไว้ หลกั สตู ร 8) โครงการหรือกิจกรรมใดของหลักสูตรท่ีไม่สามารถดาเนินการตามแผนที่วางไว้ได้ให้อาจารย์ผู้ที่ อาจารย์ผู้รับ ผิดชอบ รับผิดชอบแจง้ ทป่ี ระชมุ หลกั สูตร จากนั้นบนั ทึกข้อความให้กับคณะทราบต่อไป หลักสตู ร 9) ในกระบวนการ หรือขน้ั ตอนในการขอเสนอโครงการ หรือกจิ กรรมตา่ งๆ ของหลักสตู รจะต้องให้ ประธานหลกั สตู ร ประธานหลักสูตรเป็นผู้เซ็นอนมุ ตั ิก่อน จากน้นั จึงเสนอตอ่ คณะ แบบรายงานผลการดาเนนิ การของหลักสตู ร ภาคการศึกษาที่ 1 ปกี ารศึกษา 2560 : หน้า 12

ระบบ/ขั้นตอน กลไก/ผู้รบั ผดิ ชอบ 10). หลักสูตรมแี ผนปฏบิ ัตริ าชการคณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี นการดาเนนิ งาน ซ่ึงหลักสตู รได้ อาจารย์ผู้รับ ผิดชอบ มีการกาหนดช่วงเวลาในการดาเนินงานอย่างชัดเจน แต่หากโครงการใดไม่สามารถดาเนินการใน หลักสูตร ช่วงเวลาดังกล่าวได้ อาจารย์ผู้รับผิดชอบต้องบันทึกข้อความแจ้งคณะและกาหนดวันในการ ดาเนนิ งานใหม่ โดยตอ้ งมีการดาเนินการได้ ตามวนั และเวลาทีก่ าหนด 11) ในการบริหารอาจารย์ในหลักสูตรด้านเวลาการดาเนินงานให้เป็นไปตามแผนนั้น หลักสูตรเน้น ประธานหลกั สูตร การ ประชาสัมพันธ์ และติดตามทวงถามอาจารยใ์ นหลักสูตรอยา่ งสมา่ เสมอ 12). ประธานหลักสูตรมีการตรวจสอบและประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ให้อาจารย์ในหลักสูตร ประธานหลักสตู ร ทราบ (เอกสารอา้ งอิงท่ี 4.1-3 : คมู่ ือการประเมินผลและพฒั นาอาจารยh์ ttp://www.vru.ac.th/about_vru/staff.php) (เอกสารอา้ งอิงท่ี 4.1-4 :เอกสารเครือ่ งมอื ประเมนิ (สายวชิ าการ) (http://www.vru.ac.th/about_vru/staff.php)  การดาเนินการตามระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงการทางาน) 1). อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรประชุมร่วมกันโดยมีการพิจารณาถึง บทบาทหน้าที่ ภาระงานตามพันธ กิจของหลักสูตร ซ่ึงมีท้ังงานด้านการจัดการเรียนการสอน งานส่งเสริมกิจกรรม นักศึกษา การส่งเสริมและพัฒนา อาจารย์ งานบรหิ ารหลกั สูตร และอนื่ ๆ ตามทคี่ ณะ และมหาวิทยาลยั มอบหมาย 2). การเพ่ิมหรือลดอตั รากาลังอาจารย์ในหลกั สตู ร หลักสูตรจะพิจารณาจากแผนอัตรากาลังของคณะและ แนวโน้มภาระงานของหลักสูตรท่จี ะเกิดขึ้นในอนาคต ซ่งึ ในปัจจุบันหลักสูตรได้มีการวเิ คราะห์ด้านภาระงาน และ มีการบริหารด้านบุคลากร ในด้านการสอน โดยให้อาจารย์ 1 ท่าน มีภาระงานสอน อย่างน้อย 12 ภาระงานและ รายวิชาท่ีมอบหมายให้สอนจะต้องไม่น้อยกว่า 2 รายวิชา โดยวิชาท่ีสอนน้ันจะต้องเป็นนักศึกษาท่ีมีรหัสหมู่เรียน ไม่ซ้ากัน ซ่ึงในปีการศึกษาน้ีอาจารย์ทุกท่านมีภาระงานสอนเกินกว่า 12 ภาระงานทุกท่าน ซึ่งได้ระบุไว้แล้วใน องค์ประกอบท่ี 5 ด้านการเป็นอาจารย์ท่ีปรึกษา หลักสูตรได้กาหนดให้ 1 หมู่เรียนจะต้องมีอาจารย์ที่ปรึกษาอย่างน้อย 1 ทา่ น หมูเ่ รยี น 571224201 มีอาจารย์วศิ รตุ ขวัญคมุ้ เป็นท่ปี รึกษา หม่เู รียน 581224201 มอี าจารยด์ าวรถา วีระพันธ์ เป็นที่ปรกึ ษา หม่เู รยี น 591224201 มอี าจารยณ์ ัฐรดี อนพุ งค์ เปน็ ทปี่ รึกษา หมเู่ รียน 601224201 มอี าจารย์สนุ ี ปัญจะเทวคุปต์ และอาจารย์ชวลติ โควรี ะวงศ์ เป็นท่ปี รึกษา ด้านการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา หลักสูตรได้มอบหมายให้รับผิดชอบกิจกรรมหรือโครงการต่างๆ ร่วมกัน และงานอื่นๆ เช่น งานประกันคุณภาพ งานวิจัย และงานพัฒนาตนเองโดยให้อาจารย์พิจารณาวางแผน และบริหารจัดการให้เป็นไปตามระบบ และกลไกของหลักสูตร คณะ และมหาวิทยาลัย หลักสูตรได้มีการจัด กจิ กรรมต่างๆ ครบถ้วนโดยได้ระบรุ ายละเอียดไวใ้ น ตวั ชีว้ ดั 3.2 แบบรายงานผลการดาเนินการของหลกั สตู ร ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 : หนา้ 13

3).หลักสูตรมกี ารวางแผนด้านงบประมาณในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ของหลักสูตร โดยผา่ นการประชุม ร่วมกันของคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกี่ยวกับการใช้งบประมาณต่างๆในการบริหารหลักสูตรร่วมถึง งบประมาณในการจัดกิจกรรมต่างๆ สาหรับนักศึกษาในหลักสูตร โดยมีการกาหนดแบ่งงบประมาณและ ภาระหน้าทคี่ วามรบั ผดิ ชอบให้กบั อาจารย์ในหลกั สตู รรับผิดชอบ ในเอกสารแผนงบโครงการปี 2560 4). หลักสูตรช่วยกันสรุปแผนการดาเนินงาน และงบประมาณท่ีจะใช้ในการดาเนินงาน เพื่อจัดส่งแผน ดงั กล่าว ให้กับคณะดาเนินการต่อไป ผลการสรุปการดาเนินงานต่างๆ จะถูกบันทึกในวาระการประชมุ แต่ละเดือน ในตวั ชวี้ ัดท่ี 5.2 – 5.3 5). หลักสูตรมีการส่งเสริม และสนับสนุนด้านวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ให้กับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพ่ือใหก้ าร ทางานมีความสะดวก รวดเร็ว และมีความพร้อมในการทางาน โดยในการจดั ประชุมของหลักสูตรหาก อาจารย์ท่านใด มีความต้องการ หรือในการดา เนินงานแล้วมีอุปสรรค หรือปัญหาด้านวัสดุอุปกรณ์ สามารถแจ้ง ปัญหา หรือความต้องการ นั้นในที่ประชุมของหลักสูตรเพื่อท่ีประชุมของหลักสูตรจะพิจารณาวิธีการในการแก้ไข ผลสรปุ การการดาเนนิ ตา่ งจะถูกบนั ทึกใน องคป์ ระกอบท่ี 6 สง่ิ สนับสนุนการเรียนรู้ 6). หลักสูตรมีการจัดหาวัสดุ หรืออุปกรณ์ ให้กับอาจารย์เพ่ือใช้ประกอบการเรียนการสอนเพื่อให้การ จัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากขึ้น ผลสรุปการการดาเนินต่างจะถูกบันทึกใน องค์ประกอบที่ 6 ส่ิง สนับสนนุ การเรียนรู้ 7). ในการบริหารอาจารย์ในหลักสูตรให้มีกระบวนการ หรือข้ันตอนการดาเนินงานท่ีสอดคล้องและมี ทศิ ทางเดียวกนั นั้น หลกั สูตรให้อาจารย์เขา้ มามีส่วนร่วมในการบรหิ ารหลกั สตู รตั้งแต่กระบวนการหรอื ข้ันตอนการ วางแผนของหลักสูตร การเสนอโครงการ กิจกรรม การเรียนการสอน และงบประมาณท่ีต้องใช้ จนได้แผนโดย ภาพรวมของหลักสตู รเพ่ือส่งใหค้ ณะเพ่ือจดั ทาเป็นแผนปฏบิ ัตริ าชการของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 8). อาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลักสูตรใช้แผนปฏิบัติราชการคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดาเนินงาน ของหลักสูตรเพ่ือให้เป็นไปตามแผนท่ีวางไว้ โดยทุกโครงการหรือกิจกรรมของปีการศึกษา 2560 สามารถ ดาเนินการตามแผนท่วี างไว้ หากโครงการใดต้องการเลื่อนวันจัดกิจกรรมกจ็ ะมกี ารบันทึกเพื่อแจง้ แต่ทางคณะตาม กลไกทวี่ างไว้ โดยมีประธานหลกั สตู รเป็นผู้คอยสอบถามการดาเนินการอยเู่ สมอว่ามีความราบร่นื ดีไหม ซ่ึงก็พบว่า ไม่ไดพ้ บปญั หาแต่อยา่ งใด (เอกสารอ้างอิงท่ี 4.1-3 : คู่มือการประเมินผลและพัฒนาอาจารย์http://www.vru.ac.th/about_vru/staff.php) (เอกสารอา้ งองิ ท่ี 4.1-4 :เอกสารเครอ่ื งมอื ประเมิน(สายวชิ าการ) (http://www.vru.ac.th/about_vru/staff.php)  การประเมนิ กระบวนการ/การทบทวนระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงประเดน็ ท่ีเกิดจากการทบทวน) กิจกรรมบางกิจกรรมอาจมีความต้องการจัดในระหว่างปี แต่ไม่ได้ถูกวางแผนมาล่วงหน้า เช่น กิจกรรม อบรมเพมิ่ ความรูใ้ หก้ บั นกั ศกึ ษา บางครั้งทางหลกั สตู รเห็นว่าเปน็ เรอ่ื งท่คี วรจดั ทันที  การปรับปรุงระบบกลไก/กระบวนการตามผลการทบทวน(โดยต้องแสดงผลที่เกดิ จากการปรบั ปรุง) อาจตอ้ งมีบางโครงการเตรียมงบประมาณเผื่อไว้ แบบรายงานผลการดาเนนิ การของหลักสตู ร ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2560 : หน้า 14

 ผลท่เี กิดจากการปรบั ปรงุ (โดยตอ้ งแสดงผลที่เกดิ ขน้ึ เห็นชดั เจนเปน็ รูปธรรม) จากการปรับปรุงกลไกและดาเนินการในปีที่ผ่านมา หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ได้กาหนดบทบาท หนา้ ทีข่ องอาจารยท์ ุกท่าน ผา่ นโครงการต่างๆ พร้อมทั้งงบประมาณ ทาให้โครงการต่างๆ สาเร็จลลุ ่วงไปได้ ในการ ภาระงานสอน อาจารยแ์ ต่ละทา่ นมงี านสอนเกนิ 12 ภาระงานทุกคน ทกุ ๆ หมูเ่ รียนล้วนมีอาจารยท์ ีป่ รึกษาชดั เจน และไดร้ บั สิ่งสนบั สนุนการเรียนรู้ตามแต่ทางคณะจะมีงบประมาณมาให้ - ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์  เป้าหมายของระบบ (เชิงปริมาณ/เชงิ คณุ ภาพ) 1) อาจารยม์ ีผลงานวิชาการอยา่ งนอ้ ย 1 เรอื่ ง / คน 2) อาจารย์ทุกคนมแี ผนการศกึ ษาตอ่ หรือการขอตาแหน่งทางวิชาการ 3) อาจารย์ทุกคนมีผลงานทางวิชาการ 4) อาจารย์ทกุ คนจะต้องระบคุ วามเชยี่ วชาญเฉพาะด้าน  ระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงขน้ั ตอน) เน้นป.เอก กับ ผศ. ร.ศ. ระบบ/ขัน้ ตอน กลไก/ผรู้ บั ผิดชอบ หลกั สูตรสารวจข้อมูลความตอ้ งการพัฒนาตนเองของอาจารย์ผูร้ ับผดิ ชอบหลกั สตู ร หลกั สูตร ประชุมหลักสูตรเพ่ือสรุปผลการสารวจข้อมูลความต้องการพัฒนาศักยภาพ อาจารย์ และร่วมกัน หลักสตู ร คณะ จดั ทาแผนพฒั นาบคุ ลากรประจาปี และเสนอต่อคณะ กรรมการบรหิ ารคณะ หลักสตู รรว่ มกนั วางแผนกิจกรรม และวางแผนการใช้งบประมาณตามท่ไี ดร้ ับ หลักสตู ร หลักสูตรดาเนินการการควบคุมกากับ ส่งเสริมให้อาจารย์พัฒนาตนเองในการ สร้างผลงานทาง หลักสูตร วชิ าการอย่างตอ่ เนอ่ื ง กรรมการบริหาร ประเมนิ ผลการพัฒนาตนเองของอาจารยผ์ ้รู บั ผิดชอบหลกั สตู ร หลักสูตร หลกั สูตรประเมินกระบวนการส่งเสรมิ และพัฒนาอาจารย์ หลกั สูตร,คณะ  การดาเนนิ การตามระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงการทางาน) 1). หลักสูตรได้มีการนาผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตรมาพิจารณา รว่ มกันเกี่ยวกับ การส่งเสริมหรือพัฒนาอาจารย์ อาทิ เช่น ผลงานวิจัยของอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตรมีจานวน น้อย จึงมกี ารกระตุ้น และสง่ เสริมให้อาจารยม์ กี ารทาวิจัย และเข้ารว่ มงานทางวชิ าการต่างๆ มากย่ิงขึ้น ทาให้ในปี การศึกษาทผ่ี ่านมาอาจารย์ทุกท่านต่างมีผลงานทางวชิ าการ 2). แจ้งและส่งเสริม สนับสนุนให้อาจารย์ทุกคนในหลักสตู รมีการพัฒนาตนเอง โดยเข้าอบรมใน โครงการต่างๆ ท่ี สามารถพฒั นาตนเอง พฒั นางานทเ่ี กย่ี วข้องกับวิทยาการคอมพิวเตอร์และศาสตร์ทเี่ กยี่ วขอ้ ง ทา ให้อาจารยท์ กุ ท่านมผี ลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 บทความ แบบรายงานผลการดาเนินการของหลักสตู ร ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2560 : หนา้ 15

3). หลักสูตรสารวจข้อมูลความต้องการพัฒนาตนเองของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ประชุม เพอื่ สรุปผล การสารวจความตอ้ งการพัฒนาศกั ยภาพอาจารย์ และรว่ มกนั จัดทาแผนพัฒนาบุคลากรประจาปเี สนอ ต่อคณะ กรรมการบริหารคณะนอกจากนี้ทางหลักสูตรได้จดั ทาแผนพัฒนาบคุ ลากรรายบุคลเพ่ือเข้าสู่ตาแหนง่ ทาง วิชาการ โดยมีขั้นตอนดงั นี้ 3.1) รวบรวมคุณสมบัตพิ ืน้ ฐานของอาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลักสตู รทุกคน เช่น ผลงานทางวิชาการ (ดใู นหัวขอ้ 4.2.3 ผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสตู ร) ความเช่ยี วชาญ เปน็ ต้น ช่ืออาจารย์ ความเช่ียวชาญ ผศ.ววิ ัฒน์ ชนิ นาทศริ กิ ุล ผศ. ณฏั ฐิรา ศุขไพบูลย์ - System Development , Web Programming, Net Programming, Data Mining อ.สุนี ปญั จะเทวคุปต์ - Software Development ,- System Development ,- Information System, Distance อ.ดาวรถา วีระพนั ธ์ Education อ.ประณมกร อมั พรพรรด์ิ - Web Application, - Internet of things, - Software Development อ.วิศรตุ ขวญั คุม้ - การพฒั นาศกั ยภาพชุมชน, - การพฒั นานวัตกรรมดา้ นการเรียนการสอน, - Web Application Development อ.ณฐั รดี อนุพงค์ -Data mining and Knowledge Discovery, -Business Analytics and Research อ.ชวลิต โควีระวงศ์ -Enterprise Management Information System - Machine learning, - Image recognition, - Computer simulated experiments , - Search algorithm , - Data mining - Data Analysis, - Information System, - Data Networking, - Quality of Service, - Internet of things - Web development, - Mobile app development, - Internet of Things, - Line API developer, - Machine Learning , - Deep Learning , - Artificial Intelligence, - Logistics Planning 3.2) ในการประชุมของหลักสูตรให้อาจารย์แสดงความประสงค์ในการพัฒนาตนเองว่าต้องการ พัฒนาตนเองในด้านใด หรือต้องการให้หลักสูตรสนับสนุนเร่ืองใดจากกระบวนการบริหารและพัฒนาอาจารย์ของ หลักสูตร โดยให้อาจารย์แต่ละคนกาหนดแผนการเรยี นตอ่ หรือขอตาแหนง่ ทางวิชาการ  การประเมินกระบวนการ/การทบทวนระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงประเดน็ ที่เกิดจากการทบทวน) กลไกทผ่ี า่ นในการส่งเสริมการมีผลงานทางวชิ าการยงั ไมไ่ ด้มีการระบุคุณภาพของผลงาน แบบรายงานผลการดาเนนิ การของหลกั สูตร ภาคการศึกษาที่ 1 ปกี ารศึกษา 2560 : หนา้ 16

 การปรับปรุงระบบกลไก/กระบวนการตามผลการทบทวน(โดยต้องแสดงผลทเ่ี กิดจากการปรบั ปรงุ ) ควรมีการระบุคุณภาพของผลงาน เช่น ผลงานประชุมวิชาการควรเป็นลักษณะนาเสนอปากเปล่าไม่ใช่ แบบโปสเตอร์ หรือวารสารควรอยู่ในกลุ่ม TCI มาตรฐาน และควรอยู่ในสาขาวิชาท่ีเก่ียวข้องกับวิทยาการ คอมพิวเตอร์  ผลทีเ่ กดิ จากการปรบั ปรุง(โดยต้องแสดงผลที่เกดิ ข้นึ เห็นชัดเจนเปน็ รปู ธรรม) ผลจากการพัฒนากระบวนการ พบว่า อาจารย์มีผลงานวิชาการอย่างน้อย 1 เร่ือง / คน ทาให้มีผลงาน วิชาการเพ่ิมขึ้นจากปีท่ีผ่านมา ซึ่งจะอธิบายไว้ใน 4.2.3 อาจารย์ทุกคนมีแผนการศึกษาต่อหรือแผนการขอ ตาแหนง่ ทางวชิ าการ และอาจาจารยท์ กุ คนมกี าระบุความเชี่ยวชาญเฉพาะดา้ น รายการหลกั ฐานอา้ งอิง รหสั เอกสาร รายการเอกสารหลักฐาน 4.1-1 คาสงั่ แต่งต้ังอาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลกั สตู ร http://bit.ly/2LmYWSY 4.1-2 คาสัง่ แต่งตง้ั อาจารย์ประจาหลักสตู ร http://bit.ly/2LmYWSY 4.1-3 คู่มือการประเมินผลและพัฒนาอาจารย์ (http://www.vru.ac.th/about_vru/staff.php) 4.1-4 เอกสารเครอื่ งมอื ประเมนิ (สายวชิ าการ) (http://www.vru.ac.th/about_vru/staff.php) 4.1-5 ใบกจิ กรรมพัฒนาหลักสูตร-Productive-Learning-2-6-2561 http://bit.ly/2LmYWSY 4.1-6 กาหนดแผนการเรียนตอ่ หรือขอตาแหนง่ ทางวชิ าการ 2560 http://bit.ly/2LmYWSY 4.1-7 แผนงบโครงการปี 60 http://bit.ly/2LmYWSY การประเมินตนเองจากผลการดาเนินงาน ผลการ คะแนนการ การบรรลุ ตวั บง่ ชี้ เป้าหมาย 2560 ดาเนนิ งาน ประเมนิ เป้าหมาย 3 ระดับ 3 ระดบั ไมบ่ รรลุ 4.1 การบรหิ ารและพัฒนาอาจารย์ 4 ระดบั แบบรายงานผลการดาเนนิ การของหลกั สตู ร ภาคการศึกษาที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 : หน้า 17

ตวั บ่งชี้ท่ี 4.2 คุณภาพอาจารย์ 4.2.1 ร้อยละของอาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลกั สูตรทม่ี คี ุณวุฒปิ รญิ ญาเอก ผลการดาเนนิ งาน อาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลักสูตร จานวน 5 คน มคี ณุ วฒุ ิปรญิ ญาเอก จานวน 0 คน ได้แก่ ลาดบั ช่ือ-สกุล 1- วธิ ีการคานวณ 1. คานวณค่ารอ้ ยละของอาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสูตรทม่ี วี ุฒปิ ริญญาเอก 0x 100 = รอ้ ยละ 0 0 คะแนน 5 2. แปลงคา่ ร้อยละทคี่ านวณได้ในข้อ 1 เทยี บกบั คะแนนเตม็ 5 0 x5= 5 รายการหลักฐานอ้างอิง รหัสเอกสาร รายการเอกสารหลกั ฐาน 4.2.1-1 - การประเมนิ ตนเองจากผลการดาเนนิ งาน ตวั บ่งชี้ เปา้ หมาย ผลการ คะแนนการ การบรรลุ 2560 ดาเนนิ งาน ประเมนิ เปา้ หมาย รอ้ ยละ 0 0 คะแนน ไมบ่ รรลุ 4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบ ป.ตรี 20 % หลักสตู รทมี่ คี ุณวุฒปิ รญิ ญาเอก ป.โท 60 % ป.เอก 100 % แบบรายงานผลการดาเนินการของหลักสตู ร ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศกึ ษา 2560 : หน้า 18

4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตรท่ดี ารงตาแหน่งทางวิชาการ ผลการดาเนินงาน อาจารยผ์ ูร้ ับผิดชอบหลักสูตร จานวน 5 คน ดารงตาแหน่งทางวชิ าการ จานวน 2 คน ได้แก่ ลาดบั ชอ่ื -สกุล 1 ผศ.วิวฒั น์ ชนิ นาทศิริกลุ 2 ผศ.ณฎั ฐิรา ศุขไพบลู ย์ วธิ ีการคานวณ 1. คานวณคา่ รอ้ ยละของอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสตู รทด่ี ารงตาแหน่งทางวิชาการ 2 x 100 = ร้อยละ 40 5 2. แปลงคา่ รอ้ ยละท่ีคานวณไดใ้ นข้อ 1 เทยี บกบั คะแนนเตม็ 5 3.33 คะแนน 40 x 5 = 60 รายการหลกั ฐานอ้างอิง รหัสเอกสาร รายการเอกสารหลกั ฐาน 4.2.2-1 คาส่งั แต่งตั้งอาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลกั สตู ร http://bit.ly/2LmYWSY การประเมนิ ตนเองจากผลการดาเนินงาน ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย ผลการ คะแนนการ การบรรลุ 2560 ดาเนินงาน ประเมนิ เปา้ หมาย รอ้ ยละ 40 3.33 คะแนน ไม่บรรลุ 4.2.2 รอ้ ยละของอาจารย์ผ้รู ับผิดชอบ ป.ตรี 60 % หลกั สตู รทีด่ ารงตาแหน่งทางวิชาการ ป.โท 80 % ป.เอก 100 % แบบรายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 : หน้า 19

4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผ้รู บั ผิดชอบหลักสูตร หมายเหตุ** พจิ ารณาจากผลงานของอาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลักสตู รที่มรี ายชอื่ ณ วันส้นิ สุดปกี ารศึกษานัน้ โดยไม่ ต้องนาระยะเวลาในการผ้รู บั ผดิ ชอบหลักสตู รมาพิจารณา ผลการดาเนินงาน - มีอาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลักสูตร จานวน 5 คน - มีผลงานวชิ าการของอาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลักสตู ร ทง้ั หมด จานวน 5 เรอ่ื ง โดยมีรายละเอยี ดการดาเนินงานดงั น้ี วธิ กี ารคานวณ 1. คานวณคา่ รอ้ ยละของผลรวมถว่ งนา้ หนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลกั สตู ร 1.4 x 100 = รอ้ ยละ 28 5 2. แปลงคา่ รอ้ ยละที่คานวณได้ในขอ้ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 28 x 5 = 5 คะแนน 20 ข้อมูลประกอบการพจิ ารณาคุณภาพผลงานทางวิชาการ ที่ ข้อมูลพนื้ ฐาน คา่ ช่ือ-สกลุ อาจารย์ ชอื่ ผลงานวิชาการ/งานสรา้ งสรรค์ นา้ หนกั 1. จริ ชั ญา วงศอ์ าษา สนุ ี ปญั จะเทวคปุ ต์ คุณภาพผลงานวิชาทางวชิ าการ และวศิ รตุ ขวัญคุ้ม. (2560). \"การพัฒนา ระบบการจัดการฟารม์ เป็ดเนอ้ื \". การ - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการ 0.20 1. ผศ.ววิ ัฒน์ ประชมุ วิชาการระดบั ชาติ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี คร้งั ที่ 5, 25 พฤษภาคม ฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเน่ือง ชนิ นาทศริ ิกลุ 2560 2. ภูเบศร์ มาบกลาง, ดาวรถา วรี ะพนั ธ์ จากการประชุมวิชาการระดบั ชาติ 2. อ.วศิ รุต และววิ ัฒน์ ชนิ นาทศริ กิ ุล. (2560). \"การ วิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบการจัดการ ขวัญคมุ้ เรยี นการสอนออนไลน์ หลกั สูตรวิทยาการ คอมพิวเตอร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฎั วไลย 3. อ.ณฐั รดี อลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ\"์ . การ ประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ วทิ ยาศาสตร์ อนุพงค์ 1 4. อ.สุนี ปญั จะเทวคุปต์ แบบรายงานผลการดาเนนิ การของหลกั สตู ร ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2560 : หนา้ 20

ที่ ข้อมูลพน้ื ฐาน ค่า ชื่อ-สกลุ อาจารย์ ช่ือผลงานวชิ าการ/งานสรา้ งสรรค์ น้าหนัก และเทคโนโลยี ครั้งที่ 5, 25 พฤษภาคม 2560 3. ศักดิ์ดา และคนาเว และณฐั รดี อนุพงค.์ (2560). \"การออกแบบและวิเคราะหแ์ อป พลเิ คชนั คานวณแคลอร\"ี . การประชุม วชิ าการระดบั ชาติ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี คร้ังที่ 5, 25 พฤษภาคม 2560 4. วศิ รตุ ขวญั ค้มุ . (2560). \"การทดสอบ ประสิทธภิ าพการทางานของอัลกอริทมึ การคน้ หาสาหรับการจาลองการทดลอง ดว้ ยคอมพิวเตอร์\". การประชมุ วิชาการ ระดบั ชาติ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครัง้ ที่ 5, 25 พฤษภาคม 2560 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการ 0.40 ฉบับสมบูรณ์ท่ีตีพิมพ์ในรายงานสืบเน่ือง จากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หรือในวารสารทางวิชาการระดับชาติท่ี ไม่อยู่ในฐานข้อมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. ห รื อ ร ะ เบี ย บ ค ณ ะ ก ร ร ม ก าร ก า ร 2 อุด มศึกษ าว่าด้วย ห ลักเกณ ฑ์ การ พจิ ารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการ เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2556 แต่สถาบันนาเสนอสภาสถาบันอนุมัติ และจัดทาเป็นประกาศให้ทราบเป็นการ ท่ัวไป และแจ้งให้ ก.พ.อ./กกอ. ทราบ ภายใน 30 วนั นับแตว่ ันที่ออกประกาศ - ผลงานทีไ่ ดร้ ับการจดอนสุ ทิ ธบิ ตั ร 0.40 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการ 0.60 1. อ.ณฐั รดี 1. ดาวรถา วีระพันธ์ และณัฐรดี อนุพงค์. ฉบับสมบูรณ์ท่ีตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ อนพุ งค์ (2560). \"การพัฒนาส่ือการเรียนรู้การ์ตูน 3 ทปี่ รากฏในฐานขอ้ มูล TCI กล่มุ ท่ี 2 มัลติมีเดีย 2 มิติ เร่ืองอยู่อย่างพอเพียง ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต\". วารสารวไลย อลงกรณป์ ริทศั น์ 7(3). - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการ 0.80 4 ฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ ระดับนานาชาตทิ ีไ่ ม่อย่ใู นฐานขอ้ มลู ตาม แบบรายงานผลการดาเนนิ การของหลกั สูตร ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 : หนา้ 21

ที่ ข้อมูลพน้ื ฐาน ค่า ช่ือ-สกลุ อาจารย์ ชื่อผลงานวิชาการ/งานสร้างสรรค์ นา้ หนัก ป ร ะ ก า ศ ก .พ .อ . ห รื อ ร ะ เบี ย บ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร อุ ด ม ศึ ก ษ า ว่า ด้ ว ย ห ลั ก เก ณ ฑ์ ก าร พิ จ าร ณ า ว าร ส า ร ท า ง วิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทาง วิชาการ พ.ศ. 2556 แต่สถาบันนาเสนอ สภาสถาบนั อนมุ ัตแิ ละจัดทาเป็นประกาศ ให้ทราบเป็นการทั่วไป และแจ้งให้ ก.พ.อ./กกอ.ทราบภายใน 30 วันนับแต่ วันท่ีออกประกาศ (ซ่ึงไม่อยู่ใน Beall’s list) หรือตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กล่มุ ที่ 1 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการ 1.00 - - ฉ บั บ ส ม บู ร ณ์ ที่ ตี พิ ม พ์ ใ น วารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ ปรากฏในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบ คณะกรรมการการอุดมศึกษา ว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทาง วชิ าการสาหรบั การเผยแพรผ่ ลงานทาง วิชาการ พ.ศ.2556 - ผลงานไดร้ ับการจดสทิ ธิบัตร 1.00 - - ผลงานวิชาการรับใช้สังคมท่ีได้รับการ 1.00 - 5 ประเมินผ่านเกณฑ์การขอตาแหน่งทาง วชิ าการแลว้ - ผลงานวิจัยท่ีหน่วยงานหรือองค์กร 1.00 ระดบั ชาตวิ ่าจา้ งใหด้ าเนินการ - ผลงานค้นพบพันธุ์พืช พันธ์ุสัตว์ ที่ 1.00 คน้ พบใหมแ่ ละไดร้ บั การจดทะเบียน - ตาราหรือหนังสือหรืองานแปลท่ีได้รับ 1.00 การประเมินผ่านเกณฑ์การขอตาแหน่ง ทางวิชาการแล้ว - ตาราหรือหนงั สอื หรอื งานแปลทผี่ ่าน 1.00 การพิจารณาตามหลักเกณฑ์การประเมนิ ตาแหน่งทางวิชาการ แตไ่ มไ่ ด้นามา ขอรบั การประเมินตาแหนง่ ทางวิชาการ แบบรายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปีการศึกษา 2560 : หน้า 22

ท่ี ข้อมูลพน้ื ฐาน คา่ ชอ่ื -สกลุ อาจารย์ ชือ่ ผลงานวชิ าการ/งานสรา้ งสรรค์ น้าหนัก คุณภาพงานสร้างสรรค์ 0.20 - งานสรา้ งสรรคท์ ม่ี ีการ 0.40 0.60 6 เผยแพรส่ ู่สาธารณะในลักษณะใด 0.80 ลกั ษณะหนงึ่ หรือผา่ นสอื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 1.00 Online 7 - งานสรา้ งสรรค์ทีไ่ ดร้ บั การเผยแพร่ใน ระดับสถาบัน 8 - งานสรา้ งสรรคท์ ่ีได้รับการเผยแพรใ่ น ระดบั ชาติ 9 - งานสรา้ งสรรค์ท่ีไดร้ ับการเผยแพร่ใน ระดับความรว่ มมือระหวา่ งประเทศ 10 - งานสรา้ งสรรคท์ ไ่ี ดร้ ับการเผยแพร่ใน ระดบั ภูมิภาคอาเซียน/นานาชาติ 11 จานวนอาจารยผ์ ูร้ ับผดิ ชอบทง้ั หมด รวมทัง้ ท่ีปฏิบตั งิ านจรงิ และลาศึกษาตอ่ 12 จานวนนักวจิ ัยผรู้ บั ผดิ ชอบทั้งหมด รวมท้งั ทปี่ ฏบิ ตั ิงานจริงและลาศกึ ษาตอ่ รายการหลักฐานอา้ งอิง รหัสเอกสาร รายการเอกสารหลักฐาน 4.2.3-1 http://www.astcconference.com/resource/images/thumbnail_96.jpg 4.2.3-2 http://www.astcconference.com/view.php?id=96 4.2.3-3 http://acad.vru.ac.th/Journal/journal%207_3/7_3_6.pdf การประเมนิ ตนเองจากผลการดาเนนิ งาน ตวั บ่งชี้ เปา้ หมาย ผลการ คะแนนการ การบรรลุ 2560 ดาเนินงาน ประเมนิ เป้าหมาย รอ้ ยละ 28 5 คะแนน 4.2.3 ผลงานวชิ าการของอาจารย์ ป.ตรี 20 % บรรลุ ผู้รบั ผิดชอบหลกั สูตร ป.โท 40 % ป.เอก 60 % แบบรายงานผลการดาเนนิ การของหลกั สูตร ภาคการศึกษาที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 : หน้า 23

ตวั บ่งชีท้ ี่ 4.3 ผลท่เี กดิ กบั อาจารย์ ผลการดาเนินงาน หลักสูตรมผี ลการดาเนินงานผลทีเ่ กิดกับอาจารย์ มรี ายละเอียดดงั นี้ - อตั ราการคงอย่ขู องอาจารย์ หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสตู รจานวน 5 ท่าน ซ่ึงอาจารย์มีความเพียงพอต่อสัดส่วนจานวนนักศึกษาที่ใช้สาหรับการบริหารจัดการหลักสูตรและจัดการ เรียนการสอนตามมาตรฐานของหลักสูตร และแนวโน้มอัตราการคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้ังแต่ปี การศึกษา 2558-2560 แสดงอัตราการคงอยรู่ ้อยละดังน้ี ลาดบั ปกี ารศึกษา 2558 ปกี ารศกึ ษา 2559 ปกี ารศกึ ษา 2560 1 1) ผศ.สมบรู ณ์ ภู่พงศกร 1) ผศ.สมบูรณ์ ภพู่ งศกร 1) อาจารยว์ ศิ รตุ ขวญั คุ้ม 2 2) อาจารย์สุนี ปญั จะเทวคุปต์ 2) อาจารย์สุนี ปัญจะเทวคุปต์ 2) อาจารย์สุนี ปญั จะเทวคปุ ต์ 3 3) ผศ.ววิ ัฒน์ ชินนาทศิริกลุ 3) ผศ.วิวัฒน์ ชินนาทศริ ิกุล 3) ผศ.วิวฒั น์ ชินนาทศริ กิ ุล 4 4) ผศ.ณัฎฐริ า ศขุ ไพบูลย์ 4) ผศ.ณฎั ฐิรา ศุขไพบลู ย์ 4) ผศ.ณัฎฐิรา ศขุ ไพบลู ย์ 5 5) อาจารย์ดาวรถา วีระพันธ์ 5) อาจารย์ดาวรถา วีระพนั ธ์ 5) อาจารย์ณัฐรดี อนพุ งค์ รอ้ ยละอัตรา รอ้ ยละ 100 รอ้ ยละ 100 รอ้ ยละ 100 การคงอยู่ หมายเหตุ** อัตราคงอยู่ของอาจารย์ให้พิจารณาจากรายชื่ออาจารย์ประจาหลักสูตรว่ามีการเปล่ียนแปลงในแต่ละปี ตัง้ แต่หลกั สตู รใหม/่ ปรบั ปรงุ ทีไ่ ด้รับการอนุมตั ิ/เห็นชอบจากสภาพมหาวทิ ยาลัยให้เปดิ ดาเนินการ อัตราการคงอยู่ของอาจารย์ตั้งแต่ปีการศึกษา 2558-2560 จากการสารวจอัตราการคงอยู่ของอาจารย์มี ผลการดาเนินการดังน้ี อัตราคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรปีการศึกษา 2558 (เดือนสิงหาคม 2558 – เดือนพฤษภาคม 2559) คิดร้อยละอัตราคงอยู่ร้อยละ 100 และในปีการศึกษา 2559 (เดือนสิงหาคม 2559 – เดือนพฤษภาคม 2560) คิดร้อยละอตั ราคงอยู่ร้อยละ 100 เช่นเดียวกนั ซ่งึ ในช่วงปกี ารศึกษา 2558 – 2559 ไม่มี การเปลี่ยนแปลงอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรแต่อย่างใดซึ่งทางหลักสูตรสามารถรักษาอาจารย์ให้อยู่กับ มหาวิทยาลัยได้ดี และทาให้การบริหารจัดการห ลักสูตรสามารถดาเนิน การไป ด้วยความเรียบ ร้อย และใน ปี การศึกษา 2560 (เดือนสิงหาคม 2560 – เดือนพฤษภาคม 2561) ได้มีการเปลี่ยนแปลงอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตรเพื่อให้เป็นไปตามเงื่อนไขของมหาวิทยาลัย โดย ผศ.สมบูรณ์ ภู่พงศกร ได้เกษียณอายุราชการซ่ึงทาง หลักสูตรไดแ้ ต่งตัง้ อาจารย์วิศรุต ขวัญคุ้ม มาทดแทน และแต่งตัง้ อาจารย์ณัฐรดี อนุพงค์ มาแทนอาจารย์ดาวรถา วีระพันธ์ ซึง่ มีคณุ วฒุ ิตรง ถึงแมว้ า่ ทางหลกั สตู รจะการเปลยี่ นแปลงอาจารย์จานวน 2 ท่าน มาทดแทน ในดา้ นการ บริหารจัดการหลักสูตรก็มีการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของหลักสูตรไปได้อย่างต่อเนื่องเพราะอาจารย์ที่มาทดแทน อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรก็เป็นอาจารย์ประจาหลักสูตรอยู่แล้ว ซ่ึงไม่ได้รบั อาจารย์ใหม่เข้ามาทดแทนจึงไม่ได้ แบบรายงานผลการดาเนินการของหลกั สตู ร ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2560 : หน้า 24

ส่งผลถึงการบริหารจัดการของทางหลักสูตรแต่อย่างใด ดังน้ันอัตราการคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบในปี การศกึ ษา 2558 - 2560 มอี ตั ราคงอยู่คิดเป็นรอ้ ยละ 100 เช่นเดียวกนั - ความพงึ พอใจของอาจารย์ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มีการประชุมคณะกรรมการประจา หลักสูตรเพื่อกากับ ติดตามและทบทวน ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร เช่นกากับและติดตามการจัดทา รายละเอียดของรายวิชา ผลการดาเนินการของรายวิชา การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา รวมไปถึงด้านการ บริหารและพัฒนาอาจารย์ โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเข้าร่วมการประชุมมากกว่า ร้อยละ 80 ทุกครั้ง ทา ให้ติดตามและทบทวน เร่ืองต่าง ๆ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และแต่ละปีการศึกษาทางหลักสูตรจะมีการ ประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจาหลักสูตรต่อการบริหารจัดการ หลักสตู ร เพอ่ื เปน็ แนวทางในการปรับปรงุ การบรหิ ารจัดการหลักสูตรแสดงผลการประเมินดงั นี้ ปี รายการประเมิน อาจารย์ อาจารยป์ ระจา ผลการ การศึกษา ผู้รบั ผดิ ชอบ หลักสูตร เปรียบ หลักสูตร เทียบ ผลการประเมินความพึงพอใจ 2558 ด้านการบรหิ ารและพฒั นาอาจารย์ 1.การรบั และแตง่ ตัง้ อาจารยป์ ระจาหลักสูตร 5 คน ( X = 4.27) 2 คน ( X = 4.33) ระดับดี 2.ระบบการบรหิ ารอาจารย์ 5 คน ( X = 4.24) 2 คน ( X = 4.30) ระดบั ดี 3.ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ 5 คน ( X = 4.28) 2 คน ( X = 4.30) ระดบั ดี ด้านการบริหารจัดการหลกั สูตร 5 คน ( X = 4.37) 2 คน ( X = 4.36) ระดบั ดี ด้านกระบวนการเรียนการสอนและการวัดประเมินผล 5 คน ( X = 4.48) 2 คน ( X = 4.44) ระดบั ดี ดา้ นสิง่ สนับสนนุ การเรียนรู้ 5 คน ( X = 4.35) 2 คน ( X = 4.38) ระดับดี ประเมินภาพรวมทกุ ด้าน X = 4.33 X = 4.35 ระดับดี 2559 ดา้ นการบรหิ ารและพฒั นาอาจารย์ 1.การรับและแต่งตั้งอาจารย์ประจาหลกั สูตร 5 คน ( X = 4.47) 3 คน ( X = 4.33) ระดบั ดี 2.ระบบการบริหารอาจารย์ 3.ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ 5 คน ( X = 4.52) 3 คน ( X = 4.47) ระดบั ดีมาก 5 คน ( X = 4.36) 3 คน ( X = 4.33) ระดบั ดี ด้านการบริหารจดั การหลกั สูตร 5 คน ( X = 4.31) 3 คน ( X = 4.33) ระดบั ดี ด้านกระบวนการเรยี นการสอนและการวดั ประเมนิ ผล 5 คน ( X = 4.43) 3 คน ( X = 4.42) ระดับดี ดา้ นส่งิ สนบั สนุนการเรยี นรู้ 5 คน ( X = 4.45) 3 คน ( X = 4.33) ระดบั ดี ประเมนิ ภาพรวมทกุ ด้าน X = 4.42 X = 4.36 ระดับดี 2560 ดา้ นการบริหารและพฒั นาอาจารย์ 1.การรับและแต่งตงั้ อาจารยป์ ระจาหลักสูตร 5 คน ( X = 4.53) 3 คน ( X = 4.56) ระดบั ดีมาก แบบรายงานผลการดาเนนิ การของหลกั สตู ร ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2560 : หน้า 25

ปี รายการประเมนิ อาจารย์ อาจารยป์ ระจา ผลการ การศกึ ษา ผ้รู บั ผดิ ชอบ หลักสตู ร เปรยี บ หลกั สูตร เทียบ ผลการประเมินความพึงพอใจ 2.ระบบการบริหารอาจารย์ 5 คน ( X = 4.56) 3 คน ( X = 4.53) ระดบั ดีมาก 3.ระบบการสง่ เสริมและพฒั นาอาจารย์ 5 คน ( X = 4.48) 3 คน ( X = 4.53) ระดบั ดีมาก ด้านการบริหารจัดการหลักสตู ร 5 คน ( X = 4.37) 3 คน ( X = 4.52) ระดบั ดีมาก ด้านกระบวนการเรยี นการสอนและการวดั ประเมนิ ผล 5 คน ( X = 4.53) 3 คน ( X = 4.54) ระดบั ดีมาก ดา้ นสิ่งสนบั สนุนการเรียนรู้ 5 คน ( X = 4.60) 3 คน ( X = 4.58) ระดบั ดีมาก ประเมนิ ภาพรวมทุกด้าน X = 4.51 X = 4.54 ระดบั ดี มาก หมายเหตุ** ความพึงพอใจของอาจารย์ให้พิจารณาความพึงพอใจของอาจารย์ประจาหลักสูตรท้ัง 5 คน ท่ีได้ทาหน้าที่ ประจาหลักสูตร เป็นการประเมินความพึงพอใจของอาจารยป์ ระจาหลกั สูตรตอ่ กระบวนการท่ไี ด้ดาเนินการ ให้กบั อาจารย์ตามกิจกรรมตา่ งๆ ผลจากการประเมินความพึงพอใจต่อการบริหารหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ปี พ.ศ. 2558-2560 ได้ ประเมินด้านต่างๆ ดังน้ี ด้านการบริหารและพัฒนาอาจารย์ ซึ่งได้ ประเมินด้านต่าง ๆ 1.การรับและแต่งต้ัง อาจารย์ประจาหลักสูตร 2.ระบบการบริหารอาจารย์ 3.ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ ซึ่งจากระดับการ ประเมินความพึงพอใจปี พ.ศ. 2558-2560 มีระดับผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตรและอาจารย์ประจาหลักสูตรมีแนวโน้มดีขึ้น ส่วนด้านการบริหารจัดการหลกั สูตร ด้านกระบวนการเรียน การสอนและการวัดประเมินผล และด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ จากตารางสรุปผลก็มีผลการประเมินความพึง พอใจที่ดีขึน้ เช่นเดียวกัน รายการหลักฐานอ้างอิง รหัสเอกสาร รายการเอกสารหลักฐาน 4.3-1 รายละเอยี ดการแกไ้ ขหลกั สูตร (สมอ.08) 4.3-2 รายงานสรุปผลประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ประจาหลักสูตรต่อการบริหารจัดการ หลกั สตู ร การประเมนิ ตนเองจากผลการดาเนนิ งาน ตวั บง่ ชี้ เป้าหมาย 2560 ผลการ คะแนนการ การบรรลุ ดาเนินงาน ประเมนิ เป้าหมาย 4.3 ผลทเี่ กิดกบั อาจารย์ 4 ระดบั 4 ระดบั 4 คะแนน บรรลุ หมายเหต*ุ กรณหี ลกั สูตรที่มีการดาเนินงานไม่ถงึ ระยะเวลา 3 ปี ใหม้ ีค่าเปา้ หมายการดาเนินงาน ระดบั 3 แบบรายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2560 : หนา้ 26

หมวดที่ 3 นกั ศกึ ษาและบณั ฑิต 1.ข้อมลู นกั ศึกษาท่ีรบั เขา้ /จานวนนกั ศกึ ษาคงอยู่ ปกี ารศึกษาที่ จานวนท่ี จานวนนักศกึ ษาคงอยู่ (คน) รับเข้า รบั เข้า 2557 2558 2559 2560 52 38 32 30 2557 63 2558 34 25 24 24 2559 27 27 20 2560 48 48 รวม 52 63 83 122 ข้อมูล ณ วนั ท่ี 24 เดือนมิถนุ ายน 2561 2. ปจั จัย/ทม่ี ีผลต่อจานวนนักศึกษาตามแผนการศึกษา เมอ่ื พิจารณาอัตราการคงอยขู่ องนักศึกษาที่เข้าศึกษาในแต่ละปีการศึกษาพบว่าแนวโน้มเป็นไปในทางดีขึ้นดงั นี้ เข้าปีการศึกษา 2557 มีอัตราคงอยู่ 48.39% (สิ้นปีการศึกษา 2560 ยังมีนักศึกษาคงอยู่ 33.87 % สาเร็จ การศึกษา 14.52 %) เข้าปีการศึกษา 2558 มีอัตราคงอยู่ 70.59 % เข้าปีการศึกษา 2559 มีอัตราคงอยู่ 74.07% เข้าปีการศึกษา 2560 มีอัตราคงอยู่ 100.00% ปัจจัยที่ส่งผลให้อัตราคงอยู่ไม่ครบตามจานวนท่ีรับเข้ามา นั้น สาเหตุหน่ึงมาจากการให้กองทุนกู้ยืมเพ่ือการศึกษาจากรัฐบาล อาจไม่ต่อเนื่อง ทาให้นักศึกษาท่ีขาดทุนทรัพย์ใน การศึกษาต้องพักการเรียน หรืออกกลางคัน โดยปัจจุบัน มีจานวนนักศึกษาที่ขอทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษาประมาณ 10 % ของจานวนนักศึกษาในแต่ละรนุ่ และผู้ปกครองมีปัญหาทางการเงิน กรณีภาคพิเศษเนื่องมาจากปัญหาทางการเงินและ ปญั หามาจากการทางานเช่นการย้ายทีท่ างาน การเปล่ียนเวลาทางาน 3. จานวนผู้สาเรจ็ การศึกษา จานวนท่ี จานวนผสู้ าเร็จ รอ้ ยละ รับเข้า การศกึ ษา (คน) ปกี ารศกึ ษาท่ีรบั เข้า 32.14 28 9 19.57 2554 46 9 4.23 2555 71 3 14.52 2556 62 9 2557 แบบรายงานผลการดาเนนิ การของหลักสตู ร ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 : หนา้ 27

4. ปัจจัยที่มผี ลกระทบต่อการสาเร็จการศกึ ษา ปัญหาเร่อื งการทาโครงงานพเิ ศษ ซึ่งนกั ศกึ ษายังมปี ัญหาในดา้ นการวิเคราะหร์ ะบบงาน และการพัฒนา ระบบงาน นอกจากนีย้ ังมีปญั หาดา้ นการเรยี น การต้องเรยี นเพ่ิมในรายวิชาที่มกี ารสอบไม่ผา่ น และปัญหา ทางดา้ นการเงนิ ทาใหต้ ้องหยุดเรยี นกลางคนั และออกไปทางาน ปญั หาการยา้ ยทีท่ างานทาใหไ้ มส่ ามารถมาเรียน และทาโครงงานได้อย่างต่อเนื่อง องคป์ ระกอบที่ 2 บณั ฑติ ตวั บ่งช้ีที่ 2.1 คณุ ภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดับอดุ มศึกษาแหง่ ชาติ ผลการดาเนินงาน การสารวจความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิต ต่อคุณภาพของบัณฑิตปริญญา ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอดุ มศึกษาแหง่ ชาติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอดุ มศกึ ษาแห่งชาติ (Thai Qualifications Framework for Higher Education: TQF) ในมุมมองของผู้ใช้บัณฑิตของบัณฑิตท่ีสาเร็จการศึกษา ระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม 2559 – 31 กรกฎาคม 2560 ซึ่งเก็บในช่วงเดอื นมีนาคม-เมษายน 2561 โดยแบบสอบถามมีเน้ือหาสอดคล้องกับ คณุ ลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามท่ีหลักสูตรกาหนดไว้ใน มคอ.2 ซ่ึงครอบคลมุ ผลการเรียนรู้อย่างน้อย 5 ด้าน มีผลการประเมินของหลักสตู ร หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ มดี งั นี้ ข้อมูลประกอบการพิจารณา ที่ รายการข้อมลู พืน้ ฐาน จานวน/ คะแนน 1 จานวนผู้สาเรจ็ การศึกษาระดบั ปริญญาตรีทั้งหมด 29 2 จานวนบณั ฑติ ทไี่ ด้รบั การประเมินจากผใู้ ชบ้ ัณฑติ ทั้งหมด 9 3 รอ้ ยละของผใู้ ชบ้ ัณฑติ ทไ่ี ดร้ บั การประเมิน (/*100) 31.03 4 ผลรวมของค่าคะแนนทไ่ี ด้จากการประเมนิ บณั ฑติ 38.66 5 คะแนนเฉลี่ยทไ่ี ดจ้ ากการประเมนิ บัณฑติ (คะแนนเตม็ 5) (/) 4.30 *หมายเหตุ จานวนบณั ฑติ ทร่ี บั การประเมินจากผใู้ ชบ้ ณั ฑิตจะต้องไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 20 ของจานวนบัณฑติ ท่สี าเรจ็ การศกึ ษา วธิ ีการคานวณ 38.66 = 4.30 คะแนน 9 แบบรายงานผลการดาเนนิ การของหลักสตู ร ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 : หน้า 28

สรุปผลการสารวจความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิต ต่อคุณภาพของบัณฑิตปริญญา ตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai Qualifications Framework for Higher Education: TQF) ในมุมมองของผู้ใช้บัณฑิตของบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษา จาแนกตาม ผลการเรียนรูใ้ นแตล่ ะดา้ นของ หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ หัวข้อประเมนิ คา่ เฉลย่ี ส่วนเบี่ยงเบน (MEAN) มาตรฐาน (S.D.) 1.ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ 1.1 ความมที ัศนคตทิ ี่ดตี ่อการทางาน และมจี รรยาบรรณในวิชาชีพ 4.76 0.43 1.2 ความเสยี สละ/มจี ติ สาธารณะ 4.60 0.49 1.3 ความมุง่ มน่ั ขยันหมน่ั เพียร 4.60 0.49 1.4 ความอ่อนน้อม มีสมั มาคารวะ มีวนิ ัย เคารพกฎระเบยี บ ข้อบงั คบั 4.80 0.40 ขององค์กร 5.00 0.00 1.5 ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบ 2.ดา้ นความรคู้ วามสามารถทางวิชาการ/วชิ าชพี 4.80 0.40 2.1 ความรู้ความชานาญในหลกั สตู รวิชาที่สาเร็จ 4.28 0.45 2.2 ความสามารถในการประยกุ ต์ความรู้มาใช้ในการปฏบิ ตั ิงานจริง 4.20 0.40 2.3 สามารถนาเทคโนโลยีพ้ืนฐานไปพัฒนาและแก้ปญั หางานไดอ้ ยา่ งมี 4.20 0.40 ประสิทธิภาพ 4.40 0.49 2.4 ความรู้ ความเขา้ ใจในวิชาชพี และงานทีร่ ับผดิ ชอบ 2.5 ความรู้เทา่ ทนั ความก้าวหนา้ ทางวทิ ยาการ 4.40 0.49 3.ด้านทักษะทางปญั ญา 4.20 0.40 3.1 ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ แกป้ ญั หาทีเ่ กดิ ขึน้ อย่างเป็นระบบ 4.04 0.66 3.2 ความสามารถเชื่อมโยง บูรณาการหลักทฤษฏีมาใช้กบั งานอยา่ ง 4.00 0.63 สรา้ งสรรค์ 4.00 0.63 3.3 การแกป้ ัญหาเฉพาะหน้า 3.4 ความสามารถในการรบั รู้/เรียนรูง้ าน 3.80 0.75 3.5 ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ 4.40 0.49 4.00 0.63 แบบรายงานผลการดาเนนิ การของหลกั สตู ร ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปีการศึกษา 2560 : หน้า 29

หัวข้อประเมนิ คา่ เฉลี่ย สว่ นเบี่ยงเบน (MEAN) มาตรฐาน (S.D.) 4.ดา้ นทกั ษะความสมั พันธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรบั ผดิ ชอบ 4.40 0.49 4.1 ความสามารถทางานรว่ มกบั ผู้อ่นื ได้ / ทางานเป็นทีมได้ 4.60 0.49 4.2 การรบั ฟังความคิดเห็นและการให้ความร่วมมือ 4.40 0.49 4.3 ความสามารถในการติดต่อสื่อสาร 4.20 0.40 4.4 การปรบั ตวั และมีมนุษยสมั พนั ธ์ 4.60 0.49 4.5 ความฉลาดทางอารมณ์ / การควบคมุ อารมณ์ 4.20 0.40 5.ดา้ นการสอ่ื สารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 4.00 0.63 5.1 การสื่อสาร และการแสดงออก 4.00 0.63 5.2 ความสามารถในการพดู เขยี น และนาเสนอ (ภาษาไทย) ได้ดี 4.00 0.63 5.3 สามารถในการพูด อา่ น เขยี น (ภาษาต่างประเทศ) ได้ใน 3.60 0.80 ระดบั พน้ื ฐาน 5.4 ความรอบรเู้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและนาไปประยุกตใ์ ช้กับงาน 4.20 0.40 5.5 สามารถใช้เทคนิคพ้นื ฐานทางสถิตแิ ละคณิตศาสตรเ์ พอื่ วเิ คราะห์และ 4.20 0.40 นาเสนองาน ค่าเฉลี่ยรวม 5 ด้าน 38.66/9= 4.30 0.61 การประเมนิ ตนเองจากผลการดาเนินงาน เป้าหมาย ผลการ คะแนนการ การบรรลุ 2560 ดาเนนิ งาน ประเมิน เป้าหมาย ตัวบ่งช้ี ค่าเฉล่ยี 4.30 ไม่บรรลุ 4.50 4.30 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน คุณวฒุ ิระดับอดุ มศึกษาแหง่ ชาติ แบบรายงานผลการดาเนนิ การของหลกั สูตร ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปีการศึกษา 2560 : หนา้ 30

ตวั บง่ ช้ที ่ี 2.2 (ปรญิ ญาตรี) ร้อยละของบณั ฑิตปรญิ ญาตรที ่ไี ด้งานทาหรอื ประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี ผลการดาเนนิ งาน ผลการสารวจภาวะการมีงานทาของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี ของหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ จากบัณฑิตปริญญาตรีที่สาเร็จการศึกษาใน หลักสูตรภาคปกติ ภาคพิเศษ ระหว่างวันท่ี 1 สิงหาคม 2559 – 31 กรกฎาคม 2560 โดยมีการสารวจระหว่าง เดือนมีนาคม – เมษายน 2561 ซ่ึงมีรายละเอียดผลการประเมนิ ดงั นี้ ขอ้ มูลประกอบการพจิ ารณา ท่ี รายการข้อมลู พน้ื ฐาน จานวน 1 จานวนบณั ฑติ ระดับปรญิ ญาตรีทง้ั หมด 29 2 จานวนบัณฑติ ระดบั ปรญิ ญาตรีทต่ี อบแบบสารวจเร่ืองการมงี านทาภายใน 1 ปี หลงั สาเร็จ 27 การศกึ ษา 3 จานวนบัณฑติ ระดบั ปรญิ ญาตรที ไ่ี ด้งานทาภายใน 1 ปหี ลงั สาเร็จการศึกษา (ไม่นบั รวมผู้ที่ 17 ประกอบอาชพี อสิ ระ) 4 จานวนบัณฑติ ระดบั ปรญิ ญาตรีทป่ี ระกอบอาชีพอิสระ 0 5 จานวนผสู้ าเร็จการศึกษาระดับปรญิ ญาตรที ่ีมีงานทากอ่ นเขา้ ศกึ ษา 4 6 จานวนบัณฑติ ระดับปรญิ ญาตรที ศ่ี กึ ษาตอ่ ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา 0 7 จานวนบัณฑติ ระดับปรญิ ญาตรีทอี่ ุปสมบท 0 8 จานวนบณั ฑติ ระดบั ปรญิ ญาตรีที่เกณฑ์ทหาร 1 9 จานวนบัณฑติ ระดบั ปรญิ ญาตรีทมี่ ีกิจการของตนเองที่มรี ายไดป้ ระจาอยแู่ ล้ว 0 10 ร้อยละของบณั ฑิตระดับปริญญาตรีทีไ่ ด้งานทาหรอื ประกอบอาชพี อิสระภายใน 1 ปีหลังสาเรจ็ 77.27 การศึกษา (+)/----- 11 รอ้ ยละของบณั ฑติ ท่ีตอบแบบสอบถาม (/*100) 93.10 หมายเหตุ* จานวนบณั ฑติ ทตี่ อบแบบสารวจจะตอ้ งไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 70 ของจานวนบณั ฑติ ที่สาเร็จการศึกษา วิธกี ารคานวณ 1. คานวณค่ารอ้ ยละของบณั ฑิตปริญญาตรที ไ่ี ดง้ านทาหรอื ประกอบอาชพี อิสระภายใน 1 ปี 17(17) x 100 = รอ้ ยละ 77.27 27-4-1(22) 2. แปลงค่าร้อยละทีค่ านวณ ไดใ้ นข้อ 1 เทยี บกบั คะแนนเตม็ 5 77.27 x 5 = 3.86 คะแนน 100 แบบรายงานผลการดาเนินการของหลักสตู ร ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2560 : หนา้ 31

การวิเคราะหผ์ ลท่ไี ด้ ผลการสารวจความคิดเห็นความพึงพอใจของผใู้ ช้บัณฑิตต่อการปฏิบัติงานของบัณฑิต ของหลักสูตรวิทยาศาสตร บัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ พบว่ามีค่าเฉล่ียทุกด้านอยู่ในระดับดี (4.30) โดยบัณฑิตได้คะแนนประเมินสูง ที่สุดคือ ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ ส่วนผลการสารวจภาวะการมีงานทาของบัณฑิตปริญญาตรี พบว่ามีจานวนผสู้ าเร็จการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรีทง้ั หมด 29 คน มผี ตู้ อบตอบแบบสารวจทั้งหมด 27 คน คิดเป็นร้อยละ 93.10 ซ่ึงมีบัณฑิตระดบั ปริญญาตรีทไี่ ด้งานทาหรอื ประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปีหลังสาเร็จการศกึ ษา จานวน 17 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 77.27 ถือว่าหลักสูตรหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สามารถผลิต บัณฑติ ระดบั ปรญิ ญาตรีได้ตรงตามความความต้องการของตลาดแรงงาน รายการหลักฐานอ้างอิง รหสั เอกสาร รายการเอกสารหลักฐาน 2.1-2.2 ฐานขอ้ มลู ขอ้ มลู ภาวะการมงี านทาของบณั ฑติ ทสี่ าเรจ็ การศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2559 การประเมนิ ตนเองจากผลการดาเนินงาน ตวั บง่ ชี้ เป้าหมาย ผลการ คะแนนการ การบรรลุ 2560 ดาเนินงาน ประเมนิ เป้าหมาย 3.86 ไม่บรรลุ 2.2 รอ้ ยละของบณั ฑติ ปรญิ ญาตรที ่ีไดง้ าน รอ้ ยละ รอ้ ยละ 77.27 ทาหรอื ประกอบอาชพี อสิ ระภายใน 1 ปี 80 แบบรายงานผลการดาเนนิ การของหลกั สตู ร ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 : หน้า 32

องคป์ ระกอบท่ี 3 นักศึกษา - การรับนักศกึ ษา • เปา้ หมายของระบบ (เชงิ ปริมาณ/เชงิ คุณภาพ) 1. จานวนผูส้ มัครเป็นไปตามแผนการเรียนทีก่ าหนดไว้คอื นกั ศึกษาจานวน 30 คน 2. คุณสมบตั ขิ องผสู้ มคั รโดยมีคณุ วฒุ ิเป็นไปตามที่หลกั สตู รกาหนดไวใ้ น มคอ 2 • ระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงขั้นตอน) ในการรับนักศึกษา หลักสูตรจะกาหนดคุณสมบัติ จานวนนักศึกษาท่ีต้องการรับ แล้วประสานงานกับ คณะ สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนจะเป็นผู้ดาเนินการรับสมัคร เมื่อได้ผู้สมัครแล้วจะแจ้งให้หลักสูตรส่ง รายช่ือคณาจารย์ซ่ึงจะทาหน้าที่คุมสอบและสอบสัมภาษณ์ เพื่อดาเนินการออกคาส่ังแต่งต้ัง อาจารย์ที่ได้รับ แต่งตั้งจะดาเนินการคุมสอบและสอบสัมภาษณ์ และส่งผลการสอบสัมภาษณ์ให้แก่สานักส่งเสริมวิชาการ เมื่อ สานักส่งเสริมวิชาการประกาศผลและ แจ้งให้ผู้สมัครมารายงานตัวแล้ว หลักสูตรและมหาวิทยาลัยจะมีการจัด ปฐมนิเทศให้แก่นักศึกษา นอกจากน้ีหลักสูตรยังได้จัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมให้แก่นักศึกษาด้วย โดยมี รายละเอียดข้ันตอนดังน้ี 1.กาหนดรูปแบบการรบั สมัคร มหาวิทยาลัยมีรูปแบบการรับสมัครหลายรูปแบบ ได้แก่ โควตา ทุนการศึกษา รอบแอดมิสชัน และ รอบรับตรง และสอบตรงรอบพิเศษส่วนท่ขี าด ซงึ่ มีรายละเอยี ดดงั น้ี 1.1 การรบั สมคั รรปู แบบโควตา มกี ารกาหนดโควตาประเภทต่างๆในการรับสมัคร เช่น โควตาผลการเรียนดี โควตานักเรียนกิจกรรม โควตานักเรียนผู้มีคุณธรรมและบาเพ็ญประโยชน์ โควตายุวชนเพื่อท้องถ่ิน โครวต้าโรงเรียนเครือข่าย โควตา องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ 1.2 การรบั สมัครรูปแบบทนุ การศึกษา รับสมัครทุนการศึกษาสาหรับปีการศึกษา 2560 มีทุนการศึกษาได้แก่ ทุนการศึกษาส่งเสริม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทุนการศึกษาความสามารถพิเศษและจิตอาสา และทุนการศึกษาผู้มีความสามารถ พิเศษด้านกีฬา 1.3 การรับรอบแอดมิชช่นั 1.4 รอบรับตรง 1.5 สอบตรงรอบพเิ ศษสว่ นท่ีขาด 2. ข้ันตอนการรับสมคั ร 1. มหาวิทยาลยั มกี าหนดรูปแบบการรับสมคั รนักศกึ ษา 2. ร่างกาหนดการรบั นกั ศกึ ษา แบบรายงานผลการดาเนนิ การของหลกั สตู ร ภาคการศึกษาท่ี 1 ปีการศึกษา 2560 : หน้า 33

3. จัดทาบันทึกถึงคณะเพื่อสอบถามจานวน และคุณสมบัติของผู้สมัครท่ีสาขาวิชาต้องการรับ โดย สานักสง่ เสริมวิชาการและงานทะเบยี น 3.1 คณะจัดส่งบันทึกให้กับสาขาวิชาเพ่ือสอบถามจานวน และคุณสมบัติของผู้สมัครที่หลักสูตร ต้องการรับ 3.2 หลักสูตรมีการประชุมเพ่ือร่วมวางแผนกาหนดจานวน และคุณสมบัติของผู้สมัครท่ีสาขาวิชา ต้องการรับ ประเภทโควตาที่ต้องการรับ 3.3 หลกั สูตรส่งรายละเอียดจานวน และคุณสมบัตขิ องผูส้ มคั รท่ีสาขาวิชาต้องการรับให้กับคณะ 3.4 คณะดาเนินการรวบรวมรายละเอียดจานวน และคุณสมบัติของผู้สมัครที่สาขาวิชาต้องการรับ และจัดทาบนั ทึกส่งใหส้ านักสง่ เสริมวชิ าการและงานทะเบียน 4. สานกั สง่ เสริมวชิ าการและงานทะเบียนจดั ทาประกาศรบั สมคั รทนุ การศึกษา รบั ตรง และ Admission 5. สานกั ส่งเสริมวชิ าการและงานทะเบียนจดั ทาค่มู ือรบั สมัครนกั ศกึ ษา(เปน็ รูปเลม่ และออนไลน์) 6. สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ร่วมกับงานประชาสัมพันธ์ คณะและหลักสูตรประชาสัมพันธ์ การรับสมคั ร และดาเนินการเปดิ การรบั สมัคร 7. สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนจัดทาบันทึกถึงธนาคารกรุงไทย เปิด-ปิดระบบการชาระเงิน ออนไลน์ 8. สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนจัดทาบันทึกถึงคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ออกข้อสอบ วิชาคิดวิเคราะห์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ออกข้อสอบวิชา ภาษาไทย สังคม ภาษาอังกฤษ และ เหตุการณป์ ัจจุบนั 9. สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนทาบันทึกถึงคณะขอรายชื่ออาจารย์คุมสอบข้อเขียนและสอบ สัมภาษณ์ 9.1 คณะจัดส่งบันทึกให้กบั หลักสตู รเพือ่ ขอรายช่ืออาจารย์คุมสอบข้อเขียนและสอบสมั ภาษณ์ 9.2 หลกั สตู รมีการประชุมร่วมกนั เพอื่ รว่ มกันพิจารณาคดั เลือกอาจารยค์ ุมสอบ 9.3 หลกั สตู รจัดทาบนั ทึกส่งรายชอ่ื อาจารยค์ มุ สอบข้อเขยี นและสอบสมั ภาษณ์ 10. สานักสง่ เสริมวชิ าการและงานทะเบยี นจัดสอบขอ้ เขยี นและสอบสัมภาษณว์ นั เดยี วกัน (3 รอบ) 11. มหาวิทยาลยั ประกาศรายชื่อผมู้ ีสิทธิเ์ ขา้ ศึกษาหลังสอบขอ้ เขียนและสอบสัมภาษณ์เรียบรอ้ ยแล้ว 12. มหาวิทยาลัยกาหนดวันรายงานตัวชาระเงินลงทะเบียน (3 รอบ) โดยให้มาชาระเงินภายในวันท่ี กาหนด เพียง 1 วัน ตั้งแต่เวลา 08.30 – 15.30 น. 13. เตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเขา้ ศกึ ษาเพ่ือปรับพืน้ ฐานความรขู้ องนกั ศึกษาให้เหมาะกับหลกั สูตร 14. ประเมินผลการดาเนินการรบั สมคั รและเตรยี มความพรอ้ ม แบบรายงานผลการดาเนินการของหลกั สตู ร ภาคการศึกษาท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2560 : หน้า 34

แบบรายงานผลการดาเนนิ การของหลกั สตู ร ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 : หนา้ 35

• การดาเนนิ การตามระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงการทางาน) หลกั สตู รมีการดาเนินการรบั สมัครทก่ี าหนดไว้ สาหรับปกี ารศึกษา 2560 ซ่งึ มรี ายละเอยี ดดังน้ี 1. มหาวิทยาลัยได้มีการกาหนดรูปแบบการรับสมัคร มี สมัคร 5 รูปแบบ ได้แก่ โควตา ทุนการศึกษา แอดมิชชนั่ และ รอบรบั ตรง และสอบตรงรอบพเิ ศษสว่ นทข่ี าด 2. สานกั ส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบียน มกี ารจัดร่างกาหนดการรบั นกั ศึกษา 3. สานักสง่ เสริมวิชาการและงานทะเบียน มกี ารจัดทาบันทึกไปยังคณะเพื่อขอจานวน และคุณสมบตั ิของ ผู้สมคั รท่สี าขาวชิ าตอ้ งการรับ โดยหลกั สูตรได้มีการกาหนดจานวนการรบั และคณุ สมบตั ิของผู้สมัครดังน้ี ผู้สาเร็จการศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลายหรอื เทยี บเทา่ จานวน 30 คน 4. ส านั ก ส่ งเส ริม วิช าก ารแ ล ะงาน ท ะเบี ยน จัด ท าป ระก าศ รับ ส มั ค ร ผ่ าน ท างเว็บ ไซ ต์ ท่ี http://ent.vru.ac.th/UPDATE/pages/Homepage.php และบอรด์ ประกาศชั้น 2 อาคาร 100 ปี 5. หลักสูตรสง่ ตัวแทนร่วมประชาสมั พันธ์หลกั สตู รร่วมกบั คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7. สานกั ส่งเสริมวชิ าการจดั ทาขอ้ สอบ 8. สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนทาบันทึกถึงคณะขอรายชื่ออาจารย์คุมสอบข้อเขียนและสอบ สัมภาษณ์ 9. หลักสูตรพิจารณาคัดเลือกอาจารย์คุมสอบโดยให้คณาจารย์ทุกท่านมีส่วนร่วมในการคุมสอบและสอบ สัมภาษณ์ โดยประธานหลักสูตรจะเป็นผู้ประสานงานกับคณาจารย์ หลักสูตรจัดทาบันทึกส่งรายชื่ออาจารย์คุม สอบข้อเขยี นและสอบสัมภาษณ์โดยหลกั สตู รส่งอาจารย์ประจาหลักสตู รดังรายช่ือปรากฏตามคาส่ังแต่งตัง้ 10. สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนมีการดาเนินการจัดสอบข้อเขียนและสอบสัมภาษณ์วัน โดย หลักสูตรมีการดาเนินการสอบสัมภาษณ์โดยพิจารณาคะแนนสอบข้อเขียนและผลการสัมภาษณ์เป็นเกณฑ์ในการ รับเขา้ ศกึ ษาโดยมีรายละเอียดการดาเนนิ การดังน้ี ผสู้ มคั รตอ้ งผา่ นการสอบข้อเขียน ผู้สมัครต้องมีความรู้ความเขา้ ใจพ้ืนฐานทีใ่ ช้ในการเรยี นด้านวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ จากน้ันส่งรายชอื่ นกั ศึกษาที่มสี ิทธเ์ิ ขา้ ศกึ ษาแก่สานกั ส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น 11.สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนจัดทาประกาศรายช่ือผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาหลังสอบข้อเขียน และ สอบสัมภาษณ์เรียบร้อยแล้ว เผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์รับสมัครออนไลน์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ใน พระบรมราชูปถัมภ์ และเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมวิชาการ http://acad.vru.ac.th และติดประกาศไว้บริเวณช้ัน 2 อาคาร 100 ปี สมเด็จพระศรีนครนิ ทร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ 12.สานกั สง่ เสริมวชิ าการและงานทะเบียนกาหนดวันรายงานตัวชาระเงินลงทะเบยี น โดยให้มาชาระเงิน ภายในวันทกี่ าหนด ตงั้ แตเ่ วลา 08.30 – 15.30 น. 13. เตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษากรณีนักศึกษามีคุณสมบัติไม่ครบถว้ นตามเกณฑท์ ่กี าหนดในประกาศ รับ โดยหลักสตู รมกี ารดาเนินการดงั น้ี แบบรายงานผลการดาเนินการของหลกั สตู ร ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2560 : หนา้ 36

จัดกจิ กรรมเตรียมความพรอ้ มโดยจัดอบรมความรู้พ้นื ฐานด้านคณิตศาสตร์ ภาษาองั กฤษ และ ทักษะการ แกป้ ัญหาดว้ ยขั้นตอนวิธี และมกี ารจัดกิจกรรมปฐมนเิ ทศ ประเมินผลการดาเนินการรบั สมัครและเตรยี มความ พร้อม • การประเมินกระบวนการ/การทบทวนระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงประเด็นที่เกิดจากการ ทบทวน) การประเมินกระบวนการจะนารายงานสรุปผลการรับนักศึกษาปีการศึกษา 2559 และรายงานการ ประเมินคุณภาพการศึกษา รวมท้ังรายงานสรุปผลจานวนนักศึกษาท่ีมีคุณสมบัติตามที่หลักสูตรกาหนด มา พิจารณา ในปีการศกึ ษา 2559 มจี านวนนักศึกษาแรกเข้า 27 คนซึ่งตา่ กว่าจานวนที่กาหนดไว้ในแผนของหลกั สูตร ปรับปรุง 2555 คือ 40 คน หลักศุตรจึงได้นาเสนอในที่ประชุมคณะกรรมการบริหารคณะให้เพิ่มการรับประเภท โควตาที่จะใช้ในการรับสมัครนักศึกษาเพ่ิมขึ้น และมีการปรับปรุงกระบวนการประชาสัมพันธ์หลักสูตร โดยมีการ ลงไปทโ่ี รงเรียนกลุ่มเป้าหมาย และเพ่ิมช่องทางการประชาสัมพันธ์หลักสตู รทางออนไลน์ โดยประชาสัมพันธผ์ ่าน เพจและเว็บไซต์ของหลักสูตร ในปีการศึกษา2559 ได้มีการปรับปรุงหลักสูตรปรับปรุงสาหรับปี 2560 โดยปรับ จานวนนักศึกษาในแผนให้สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงคือ กาหนดจานวนรับนักศึกษาไว้ 30 คน หลงั จากการ ประชุมคณะกรรมการบริหารคณะแล้วหลักสูตรได้นามาปรับปรุงแผนการรับนักศึกษาสาหรับช่องทางที่กาหนด และได้รับนักศึกษาตามช่องทางต่างๆได้ครบตามจานวนท่ีกาหนดไว้ตามแผนใน มคอ 2 ของหลักสูตรปรับปรุงปี 2560 ดังนี้ ตารางแสดงจานวนนกั ศึกษาที่รบั มาตามชอ่ งทางท่ีกาหนดปกี ารศึกษา 2560 ประเภท จานวนทกี่ าหนด จานวนท่ีมาเรียน รับตามแผน โควตา้ คณะ 10 4 โควต้าโรงเรียนเครอื ข่าย 10 0 ทุนการศึกษา 10 1 แอดมสิ ชัน 20 0 สมคั รตรงรอบ1 30 2 สมคั รตรงรอบ2 30 7 สมคั รตรงรอบ3 30 2 สมคั รตรงรอบ4 30 7 สอบตรงพเิ ศษสว่ นทีข่ าด 10 7 รวมทั้งหมด 30 ท่ีมา : สานกั ส่งเสริมวชิ าการและงานทะเบียน ข้อมลู ณ.เดือนสิงหาคม 2560 แบบรายงานผลการดาเนนิ การของหลกั สตู ร ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปีการศึกษา 2560 : หน้า 37

• การปรับปรุงระบบกลไก/กระบวนการตามผลการทบทวน(โดยต้องแสดงผลที่เกิดจากการ ปรบั ปรุง) หลังจากที่หลักสูตรได้เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ และประเภทการรับสมัครแล้ว มีนักเรียนสนใจมา สมัครในแต่ละประเภทการรับสมัครมากขน้ึ จนได้นกั ศึกษาครบตามเป้าหมายทก่ี าหนดไว้ในแผน ดงั แสดงในตาราง แสดงจานวนนักศกึ ษาทรี่ บั มาตามช่องทางทกี่ าหนดปกี ารศึกษา2560 • ผลท่ีเกิดจากการปรับปรงุ (โดยตอ้ งแสดงผลทเ่ี กดิ ข้นึ เหน็ ชดั เจนเปน็ รูปธรรม) ได้จานวนนักศึกษาครบตามที่กาหนดในแผนการเรียนในปีการศึกษา 2560 คือได้จานวนนักศึกษาที่มา ลงทะเบยี นเรียนจานวน 30 คน - การเตรยี มความพร้อมกอ่ นเขา้ ศึกษา(กรณีการรบั นักศกึ ษาทไ่ี ม่เป็นไปตามเกณฑท์ ี่หลักสตู รกาหนด) นักศึกษาท่ีหลักสูตรรับเข้ามาจานวน 30 คนนั้นมีคุณวูฒิเป็นไปตามท่ีกาหนดไว้ใน มคอ2คือสาเร็ จ การศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายหรอื เทยี บเท่า และมีคณุ สมบัติอื่นตามท่ีมหาวทิ ยาลัยกาหนดไว้ในการประกาศรับ สมัคร ในช่วงของการสัมภาษณ์ผู้สมัครน้ัน หลักสูตรพบว่านักศึกษาที่รับมานั้นอาจจะมีพ้ืนฐานความรู้ท่ีมีความ แตกต่างกัน ขาดทักษะในเรื่องภาษา คณิตศาสตร์ และอัลกอริทมึ นอกจากนี้นักศึกษาในรุ่นก่อนหน้ายงั ขาดความ เข้าใจในระบบการลงทะเบียนท่ีมีการเปลี่ยนแปลงใหม่ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมและแก้ปัญหาดังกล่าว หลกั สตู รจงึ ได้จดั การเตรยี มความพรอ้ มเป็น 2 ส่วนคือ เตรียมความพร้อมด้านวิชาการ และเตรียมความพร้อมดา้ น กระบวนการเรียนให้แก่นักศึกษาใหม่ของหลักสูตรในปีการศึกษา 2560 โดยกาหนดเป้าหมายเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพดังน้ี • เป้าหมายของระบบ (เชงิ ปรมิ าณ/เชิงคณุ ภาพ) นักศกึ ษาเข้ารว่ มกระบวนการเตรยี มความพร้อมร้อยละ 80 ของนกั ศึกษาท้งั หมด นักศกึ ษาผ่านการทดสอบความรรู้ ้อยละ 80 ของผเู้ ข้าอบรมทงั้ หมด • ระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงข้นั ตอน) ในกระบวนการเตรียมความพร้อมจะแยกกิจกรรมการเตรียมความพร้อม ออกจากกิจกรรมปฐมนิเทศ และกาหนดรูปแบบกิจกรรมท่ีแตกต่างกันโดยกิจกรรมเตรียมความพร้อมจะมีเน้ือหาเป็นการเสริมความรู้ด้าน วิชาการได้แก่ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ทักษะการแก้ปัญหาด้วยข้ันตอนวิธี ส่วนกิจกรรมปฐมนิเทศจะเน้นการ ให้ความรู้เก่ียวกับหลักสูตร การปรับตัวและวิธีการเรียนในมหาวิทยาลัยโดยมีการกาหนดกิจกรรมการสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างกัน และการถ่ายทอดประสบการณ์ด้านการเรียนจากนักศึกษารุ่นพี่ หลักสูตรมีการกาหนด กิจกรรมการปรับฐานความรู้และกิจกรรมปฐมนิเทศไว้ในแผนดาเนินงานโดยมีผู้ท่ีรับผิดชอบอย่างชัดเจนมีการ แบบรายงานผลการดาเนินการของหลกั สตู ร ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2560 : หน้า 38

แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน และดาเนินการวางแผนกิจกรรมและจัดกิจกรรมมีการประเมินความรู้ก่อน-หลัง การอบรม และประเมินความพึงพอใจตอ่ กจิ กรรมของผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม • การดาเนนิ การตามระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงการทางาน) หลักสูตรได้จัดกิจกรรมเตรียมความพร้อม และกิจกรรมปฐมนิเทศให้แก่นักศึกษาใหม่ก่อนเปิดภาคเรียน ของปีการศึกษา 2560 โดยมีการจัดเตรียมงบประมาณ และจัดทาโครงการปฐมนิเทศนักศึกษา และ โครงการ เตรียมความพร้อมนักศึกษา มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานและการประสานงานกับคณะกรรมการ นกั ศกึ ษาหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ เพื่อจดั ทาโครงการให้บรรลุตามเป้าหมาย • การประเมินกระบวนการ/การทบทวนระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงประเด็นที่เกิดจากการ ทบทวน) ในการประเมินกระบวนการเตรียมความพร้อม และการปฐมนิเทศ มีการการทบทวนเร่ืองกระบวนการ และกิจกรรมท่ีใช้ในการจัดปฐมนิเทศ เนื่องจากนักศึกษาในรุ่นก่อนหน้ายังมีปัญหาในเร่ืองการไม่เข้าใจแผนการ เรียนและขั้นตอนกระบวนการลงทะเบียนและการจองวิชา ดังนั้นเพ่ือแก้ปัญหานักศึกษาไม่เข้าใจเร่ืองการใช้ แผนการเรียน การจองรายวิชา และผลการเรียนที่มีผลต่อการจบการศึกษา จึงได้จัดกิจกรรมจาลองกระบวนการ ลงทะเบียนเรียนให้นักศึกษา และวิธีการคานวณผลการเรียน รวมท้ังการพิจารณาเงื่อนไขของการคงสภาพเป็น นกั ศกึ ษา • การปรับปรุงระบบกลไก/กระบวนการตามผลการทบทวน(โดยต้องแสดงผลท่ีเกิดจากการ ปรับปรุง) เน่ืองจากมีการปรับปรุงกระบวนการลงทะเบียนของมหาวทิ ยาลัยเป็นแบบใหม่ ซึ่งอาจสง่ ผลต่อการทาให้ นักศึกษาต้องปรับแผนการเรียนของตนเองหากไม่สามารถจองวิชาเรียนได้ ดังน้ันในการประเมินกระบวนการ เตรียมความพร้อม และการปฐมนิเทศ จึงมีการปรับกระบวนการให้ความรู้ในเร่ืองการลงทะเบียนเรียนแบบใหม่ ด้วยการจาลองสถานการณ์ให้นักศึกษาได้จัดการเรียนตามแผนการเรียนและเรียนรู้กระบวนการและปัญหาที่จะ เกดิ ขึ้นหากนักศกึ ษาไม่สามารถจองรายวิชาและเรียนวิชาได้ครบตามแผนการเรียน รวมท้ังเรียนรู้เร่ืองผลการเรยี น ทจี่ ะมผี ลต่อการสาเร็จการศึกษา หลังจากผ่านกิจกรรมไปแลว้ จากการสอบถามนักศึกษามีความเข้าใจและเรียนรู้ ว่า กระบวนการจองและลงทะเบียนเรียนให้ได้ตามแผนการเรียน รวมท้ังผลการเรียนของแต่ละวิชา จะมีผลกับ การสาเร็จการศกึ ษาตามเวลาทีก่ าหนด • ผลท่ีเกดิ จากการปรับปรงุ (โดยตอ้ งแสดงผลที่เกิดขนึ้ เหน็ ชดั เจนเปน็ รปู ธรรม) นักศึกษาเข้าใจกระบวนการลงทะเบียนเรียนแบบใหม่และสามารถปฏิบัติตามข้ันตอนการลงทะเบียน เรียน ลดปัญหาในการไม่เข้าจองรายวชิ าหรือเข้าจองรายวิชาไม่ทันในเวลาท่ีกาหนด มีความระมัดระวังมากขึ้นใน แบบรายงานผลการดาเนนิ การของหลักสตู ร ภาคการศึกษาท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2560 : หน้า 39

การลงทะเบียนเรียนให้ครบตามแผนการเรียน นอกจากน้ีนักศึกษายังมีความรู้เก่ียวกับกระบวนการวิเคราะห์ ข้นั ตอนการทางาน และการอธิบายการทางานเปน็ ขน้ั ตอนได้ รายการหลักฐานอ้างอิง รหัสเอกสาร รายการเอกสารหลกั ฐาน 3.1-1 คูม่ ือการรบั สมัครนกั ศึกษา2560 3.1-2 ประกาศมหาวทิ ยาลยั ฯ เร่อื งการใหท้ นุ การศกึ ษาส่งเสรมิ ศกั ยภาพทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี ฯ 3-1-3 ประกาศมหาวิทยาลยั ฯ เร่ืองการใหท้ นุ การศึกษาความสามารถพิเศษและจติ อาสา ฯ 3-1-4 ประกาศมหาวทิ ยาลัยฯ เรื่องการใหท้ นุ การศึกษาผ้มู คี วามสามารถพเิ ศษด้านกฬี า ฯ 3-1-5 คาสง่ั แต่งตงั้ อาจารยค์ ุมสอบและสอบสมั ภาษณ์ 3-1-6 คาสงั่ แตง่ ตงั้ คณะกรรมการดาเนินงานกิจกรรมปฐมนเิ ทศ 3-1-7 คาส่ังแต่งตง้ั คณะกรรมการเตรียมความพร้อมนกั ศกึ ษาใหม่ 3-1-8 โครงการปฐมนิเทศนักศกึ ษาใหม่ของหลกั สตู รวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ 3-1-9 โครงการเตรยี มความพรอ้ มนักศกึ ษาใหม่หลกั สูตรวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ 3-1-10 ใบ บ.3 นกั ศกึ ษา สาขาวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ การประเมนิ ตนเองจากผลการดาเนนิ งาน ตวั บง่ ช้ี เปา้ หมาย 2560 ผลการ คะแนนการ การบรรลุ ดาเนนิ งาน ประเมิน เป้าหมาย 3.1 การรบั นกั ศกึ ษา 4 ระดบั 3 ระดบั 3 คะแนน ไม่บรรลุ แบบรายงานผลการดาเนินการของหลกั สตู ร ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2560 : หนา้ 40

ตัวบง่ ชที้ ่ี 3.2 การสง่ เสริมและพัฒนานักศกึ ษา การส่งเสรมิ และพัฒนานักศกึ ษา 2558 เปา้ หมายของกระบวนการ หลักสตู รวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ได้กาหนดเปา้ หมายของกระบวนการการการสง่ เสริมและพัฒนานักศึกษา โดยระบไุ วใ้ นแผนพฒั นาหลักสูตร ปี 2558 ซ่ึงสอดคล้องกับ มคอ.2 ของหลกั สูตรและแผนคณะไวด้ ังดงั นี้ 1. ค่าเฉลยี่ ความพึงพอใจของนกั ศกึ ษาต่ออาจารย์ท่ปี รึกษามคี ่าเฉลย่ี ไม่น้อยกว่า 3.51 2. ร้อยละความสาเรจ็ ของการดาเนนิ การโครงการพฒั นาศักยภาพนกั ศึกษาและเสรมิ สรา้ งทักษะการ เรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 เทา่ กับรอ้ ยละ 80 3. อตั ราการลาออกกลางคันของนักศกึ ษาลดลงรอ้ ยละ 5 ตอ่ ปี กระบวนการ 1. กระบวนการควบคมุ ดูแลการใหค้ าปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวแก่นกั ศกึ ษา ระบบและกลไก 1. หลกั สตู รสง่ แบบฟอรม์ ขอแต่งตัง้ อาจารย์ท่ีปรึกษาไปยงั สานักส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น 2. หลกั สตู รประชมุ คัดเลือกและแตง่ ตั้งอาจารย์ท่ีปรึกษาและร่วมจดั ทาแผนการจดั การความเสีย่ งดา้ น นักศกึ ษา 3. อาจารยท์ ี่ปรึกษากาหนดปฏทิ ินการเขา้ พบชอ่ งทางติดต่อสื่อสารระหวา่ งนกั ศึกษาและอาจารย์ 4. ดาเนนิ งานตามปฏิทิน/ให้ความช่วยเหลอื นักศกึ ษาท่ีมีปญั หาหรอื ต้องการความชว่ ยเหลอื และสรปุ ผล การดาเนนิ งานในการให้คาปรึกษาเม่ือสน้ิ ภาคการศึกษาและรายงานต่อคณะกรรมการบริหารหลกั สูตร 5. ประเมนิ อาจารยท์ ่ีปรึกษาโดยนกั ศกึ ษา 2. กระบวนการพัฒนาศกั ยภาพนกั ศกึ ษาและเสรมิ สร้างทักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 1. หลักสตู รจัดทาแผนการพัฒนากระบวนการพฒั นาศักยภาพนักศึกษาและเสรมิ สรา้ งทักษะการเรยี นรู้ใน ศตวรรษที่ 21 เพื่อให้คณะพจิ ารณาจดั สรรงบประมาณในการดาเนนิ การ 2. คณะดาเนนิ การจัดกจิ กรรมพัฒนาผูน้ านักศกึ ษาและให้หลักสูตรส่งตวั แทนเขา้ ร่วม 3. หลกั สูตรจัดกจิ กรรมในการพฒั นาคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ การสร้างความผูกพนั กบั ความเป็น พลเมือง กิจกรรมสันทนาการ ศิลปะวัฒนธรรม และกิจกรรมพฒั นาทักษะในศตวรรษที่ 21 4. มหาวทิ ยาลัยสนบั สนุนทุนการศกึ ษาและช่วยเหลือนักศึกษาท่ีโอกาสทางการศึกษาจากดั 5.หลกั สูตรสรุปผลการดาเนนิ การโครงการหลงั เสรจ็ ส้ินโครงการในระบบ VRU Project Monitoring System 6. หลกั สูตรรายงานการดาเนินงานตามตัวบง่ ชีข้ องแผนทุกไตรมาส แบบรายงานผลการดาเนินการของหลักสตู ร ภาคการศึกษาที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 : หน้า 41

7. หลกั สตู รสรุปผลการดาเนินการแผนการพฒั นากระบวนการพฒั นาศกั ยภาพนักศึกษาและเสรมิ สรา้ ง ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เมื่อส้ินปีงบประมาณและปกี ารศึกษา 8. หลกั สตู รนาผลการดาเนินงานไปปรับปรุงการทางานในรอบต่อไป ผลการดาเนนิ การตามกระบวนการ 1 ผลการดาเนินการตามกระบวนการควบคมุ ดูแลการใหค้ าปรกึ ษาทางวิชาการและแนะแนวแกน่ กั ศกึ ษา 1.หลักสตู รเสนอตั้งอาจารยท์ ่ีปรกึ ษาต่อคณะ คณะเสนอสานกั สง่ เสริมวชิ าการและงานทะเบยี นเพื่อให้ มหาวิทยาลยั แต่งตั้ง มีหลักเกณฑท์ ่ีกาหนดคืออาจารย์ 1 คนเป็นทป่ี รึกษาได้ไมเ่ กนิ 2 กลุ่ม โดยในปี 2558 มีการ เสนอชอ่ื อาจารย์ทปี รึกษาของนักศึกษาในแต่ละรนุ่ ดงั นี้ นกั ศึกษาภาคปกติ รหสั 551224201 มนี กั ศึกษาทงั้ ส้นิ 34 คน ทีป่ รกึ ษาคอื ผศ.สมบรู ณ์ ภู่พงษ์พรและอ. ดาวรถา วรี ะพนั ธ์ รหัส 561224201 มีนักศึกษาท้งั ส้ิน 26 คน ทป่ี รกึ ษาคือ อ.สุนี ปัญจะเทวคปุ ต์ รหสั 561224202 มีนักศึกษาทัง้ สิ้น 29 คน ที่ปรกึ ษาคือ ผศ.วิวฒั น์ ชินนาทศริ กิ ลุ รหสั 571224201 มีนักศึกษาทงั้ ส้ิน 44 คน ที่ปรึกษาคือ อ.วศิ รุต ขวัญคมุ้ รหัส 581224201 มนี กั ศึกษาทง้ั สิน้ 34 คน ท่ปี รึกษาคือ อ.ดาวรถา วรี ะพนั ธ์ นักศกึ ษาภาคพเิ ศษ รหสั 552224201 มนี ักศึกษาท้งั สิ้น 18 คน ท่ีปรึกษาคือ ผศ.วิวัฒน์ ชนิ นาทศิรกิ ุล รหสั 562224201 มีนักศกึ ษาท้ังสิ้น 28 คน ทป่ี รึกษาคือ อ.วศิ รตุ ขวัญคุ้ม รหสั 62224202 มนี กั ศึกษาท้ังสิ้น 15 คน ที่ปรกึ ษาคือ อ.สุนี ปญั จะเทวคุปต์ รหสั 572224201 มีนกั ศกึ ษาทั้งส้ิน 19 คน ที่ปรกึ ษาคือ อ.ชวลิต โควีระ วงศ์ 2.สานกั ส่งเสริมวชิ าการกาหนดเวลาเขา้ พบของทป่ี รกึ ษาแต่ละคนดังนี้ อาจารย์ที่ปรึกษาพบนักศึกษาอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เป็นจานวน 4 ครั้งต่อเทอม และนักศึกษาใหม่ 5 ครั้งต่อเทอม สาหรับเวลาและสถานท่ีการพบอาจารย์ที่ปรึกษากับนักศึกษาให้ตรวจสอบจากตารางเรียน โดยมี กาหนดการพบนักศึกษาใช้เวลาในการพบที่ปรึกษา 1 ช่ัวโมง ต่อหมู่เรียน โดยนักศึกษาภาคปกติ วันพุธแรกของ เดอื นและนักศกึ ษาภาคพเิ ศษ วันเสารแ์ รกของเดือน 3. อาจารยท์ ่ีปรึกษาของนักศึกษา รหัส 581224201 เขา้ พบนักศกึ ษาในวันวันปฐมนเิ ทศนักศึกษาใหม่ และ อาจารยท์ ปี่ รึกษากาหนดชอ่ งทางในการตดิ ตอ่ สื่อสารระหว่างอาจารย์กบั นักศึกษาในชอ่ งทางต่างๆเชน่ Facebook หม่เู รียน ในวันเวลาทีน่ ัดหมายตามปฏทิ นิ กรณีเร่งด่วน นักศึกษาจะมีเบอร์โทรศัพท์อาจารย์ที่ปรึกษา ทกุ คน 4. อาจารย์ทป่ี รกึ ษาให้คาแนะนาช่วยเหลือด้านตา่ งๆ เช่นการลงทะเบียนเรียน และอื่นๆ ยกตวั อย่างเชน่ ดา้ นวชิ าการและการสนบั สนนุ การศกึ ษา ด้านบริการและพัฒนานักศึกษา และดา้ นอ่ืนๆ ได้แก่ พิจารณาคารอ้ ง ต่างๆ ของนกั ศกึ ษาและดาเนินการใหถ้ ูกตอ้ งตามระเบยี บ ประสานงานกบั อาจารยผ์ ูส้ อนและหน่วยงานตา่ ง ๆ ท่ี เกีย่ วขอ้ ง ให้คาตักเตือนกับนักศกึ ษาทีแ่ ตง่ กายไมเ่ รยี บร้อย หรือมคี วามประพฤติไม่เหมาะสม แบบรายงานผลการดาเนินการของหลักสตู ร ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปีการศกึ ษา 2560 : หนา้ 42

5. อาจารยท์ ีป่ รกึ ษาจดั เกบ็ ข้อมูลนักศกึ ษารายบุคคลและแกไ้ ขปัญหา ด้วยวธิ กี ารอาจารย์ท่ีปรึกษาจัดเก็บ ขอ้ มูลนักศกึ ษารายบุคคลและแก้ไขปัญหา ดว้ ยวิธกี ารการบันทกึ และการรายงานการปฏิบตั ิงานอาจารย์ทีป่ รึกษา จะตอ้ งบันทกึ การทางานไว้อย่างเป็นระบบ เป็นรายกรณี รายสัปดาห์ และรายเดือน นบั ต้ังแตน่ ักศึกษาเขา้ ศึกษา จนสาเรจ็ การศกึ ษาดังน้ี ในระบบ (http://cms.vru.ac.th) 6. หลักสูตรมกี ารจัดการความเส่ยี งในกรณีทน่ี ักศกึ ษามีผลการเรยี นตา่ โดยอาจารย์ที่ปรึกษาในแต่ละหมู่ เรียนจะใหค้ าแนะนากบั นักศึกษารายบุคคล และนาขอ้ มลู มาเข้าที่ประชุมเพือ่ หารือ และจัดทาโครงการเพือ่ แก้ไข ปัญหานักศึกษามีผลการเรยี นตา่ 2.ผลการดาเนินการตามกระบวนการพัฒนาศกั ยภาพนักศกึ ษาและเสรมิ สรา้ งทักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่21 1. หลักสูตรจดั ทาแผนการพัฒนากระบวนการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสรมิ สร้างทกั ษะการเรยี นรู้ใน ศตวรรษท่ี 21 เพื่อใหค้ ณะพิจารณาจดั สรรงบประมาณในการดาเนนิ การ 2. หลกั สูตรจัดกจิ กรรมในการพัฒนาคุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ การสรา้ งความผูกพันกับความเปน็ พลเมอื ง กิจกรรมสันทนาการ ศิลปะวัฒนธรรม และกิจกรรมพัฒนาทักษะในศตวรรษท่ี 21 โดยมีกิจกรรมที่ดาเนินการ ใน ปีการศึกษา 2558 ดังน้ี กิจกรรมการจัดการองค์ความรู้สู่นักศึกษาหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ กิจกรรม พัฒนาอัตลักษณ์และคุณลักษณะบัณฑิตหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ กิจกรรมพัฒนาบุคลิกภาพนักศึกษา หลักสูตรวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ กิจกรรมท่ีส่งเสริมการบริหารหลักสูตรในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเพ่ือ พัฒนานักศึกษา กิจกรรมท่ีพัฒนาศักยภาพนักศึกษาวิทยาการคอมพิวเตอร์สู่ประชาคมอาเซียน กิจกรรมที่พัฒนา ศักยภาพการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์นักศึกษาวิทยาการคอมพิวเตอร์ กิจกรรมศึกษาดูงานนักศึกษา หลักสูตรวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ กิจกรรมทะนุบารุงพระพุทธศาสนาฝึกปฏิบัติธรรมและพัฒนาอัตลักษณ์นักศึกษา วิทยาการคอมพิวเตอร์ กิจกรรมทะนุบารุง สืบสาน เผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรม นักศึกษาวิทยาการคอมพิวเตอร์ และชุมชน กิจกรรมเตรียมความพร้อมเพื่อสหกิจศึกษาและการฝึกประสบการณ์วิชาชีพวิทยาการคอมพิวเตอร์ และ กจิ กรรมคนดศี รีคอมพวิ เตอร์ 3. หลักสูตรสรปุ ผลการดาเนนิ การโครงการหลังเสรจ็ ส้ินโครงการในระบบ VRU Project Monitoring System 4. หลักสูตรรายงานการดาเนินงานตามตัวบง่ ชขี้ องแผนทุกไตรมาสให้กับคณะ 5. หลักสูตรสรปุ ผลการดาเนินการแผนการพัฒนากระบวนการพัฒนาศักยภาพนกั ศึกษาและเสริมสร้าง ทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เม่ือสนิ้ ปีงบประมาณและปกี ารศึกษา 6. หลกั สูตรนาผลการดาเนนิ งานไปปรับปรุงการทางานในรอบต่อไป เคร่ืองมอื ในการประเมนิ กระบวนการ 1. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาต่ออาจารย์ทีป่ รึกษา 2. รายงานการดาเนินการโครงการพัฒนาศักยภาพนักศกึ ษาและเสริมสรา้ งทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 แบบรายงานผลการดาเนินการของหลกั สูตร ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปกี ารศึกษา 2560 : หน้า 43

3. รายงานสถติ อิ ตั ราการลาออกกลางคนั ของนักศึกษา ผลการประเมินกระบวนการ ในปีการศึกษา 2558 หลกั สูตรวทิ ยาการคอมพิวเตอร์มผี ลการประเมนิ กระบวนการดังนี้ 1. คา่ เฉลีย่ ความพึงพอใจของนักศึกษาต่ออาจารย์ท่ีปรกึ ษามีคา่ เฉลีย่ 4.35 (มาก) 2. ร้อยละความสาเร็จของการดาเนินการโครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสรมิ สร้างทักษะการ เรยี นร้ใู นศตวรรษท่ี 21 เทา่ กับ 100 เปอรเ์ ซ็นต์ 3. อัตราการลาออกกลางคันของนกั ศึกษา 2558 ลดลงรอ้ ยละ 5 ต่อปี การปรับปรงุ กระบวนการ ในปีการศึกษา 2558 หลักสตู รไดน้ าผลการประเมินกระบวนการเขา้ ที่ประชมุ คณะกรรมการบรหิ าร หลักสตู รแลไดม้ ีการปรับปรุงกระบวนการดังน้ี 1. ค่าเฉลี่ยความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาตอ่ อาจารย์ท่ปี รึกษามคี ่าเฉล่ยี 4.35 พบว่าข้อทีม่ ีคา่ เฉล่ียต่าสดุ คอื ชอ่ งทางติดตอ่ กบั อาจารยท์ ีป่ รกึ ษามีเพยี งพอซงึ่ ได้คะแนน 4.30 หลกั สูตรได้มีการปรบั ปรงุ กระบวนการในปี การศกึ ษา 2559 คือ กาหนดใหอ้ าจารยป์ ระจาหลักสตู รเปน็ อาจารย์ท่ปี รึกษาแก่นกั ศกึ ษาทุกคนนน้ั ซง่ึ อาจจะใช้ อาจารยท์ ่ปี รึกษาหมเู่ รียน 2 คนต่อหมู่เรียน 2. โครงการท่ดี าเนินการในปีการศึกษา 2558 ไมป่ รากฏโครงการท่ีมีระดับความสาเร็จตา่ แตห่ ลกั สตู รได้ ปรบั ปรงุ โดยปรบั ลดและเพ่ิมโครงการให้มีความสอดคล้องเหมาะสม กบั การพฒั นานักศกึ ษาตาม มคอ.2 และ นโยบายของมหาวทิ ยาลัย 3. กลางคันของนักศึกษาปี 2558 รบั มา 34 คน ลาออกจานวน 10 คนมอี ัตราเทา่ กบั 40 เปอร์เซ็นตข์ อง นักศกึ ษาท้งั หมดท่รี บั มา พบว่าสาเหตุของการลาออกกลางคันของนักศึกษาเกิดจากนกั ศึกษาขาดความพร้อมใน การเรยี นในระดับอดุ มศึกษาหลกั สตู รไดป้ รบั ปรงุ กระบวนการคือ จดั ทาโครงการเตรยี มความพร้อมให้นักศกึ ษาที่ เข้าใหม่ ผลการประเมนิ การปรับปรงุ กระบวนการ ในปีการศึกษา 2558 หลักสตู รวิทยาการคอมพิวเตอรม์ ีผลการประเมินกระบวนการดงั นี้ 1. คา่ เฉลย่ี ความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาต่ออาจารย์ท่ปี รึกษามีค่าเฉล่ีย 4.51 2. ร้อยละความสาเร็จของการดาเนินการโครงการพฒั นาศักยภาพนักศึกษาและเสรมิ สรา้ งทักษะการ เรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 เทา่ กับ 100 เปอรเ์ ซ็น 3. อัตราการลาออกกลางคนั ของนกั ศกึ ษาลดลงร้อยละ 5 ต่อปี แบบรายงานผลการดาเนนิ การของหลกั สูตร ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 : หน้า 44

การส่งเสรมิ และพัฒนานกั ศกึ ษา 2559 เป้าหมายของกระบวนการ หลกั สตู รวิทยาการคอมพวิ เตอร์ได้กาหนดเป้าหมายของกระบวนการการการส่งเสรมิ และพฒั นานักศึกษา โดยระบไุ ว้ในแผนพัฒนาหลักสูตร ปี 2559 ซง่ึ สอดคล้องกับ มคอ.2 ของหลกั สตู รและแผนคณะไวด้ งั ดังน้ี 1. ค่าเฉล่ยี ความพงึ พอใจของนักศึกษาต่ออาจารย์ท่ปี รึกษามีคา่ เฉลีย่ ไมน่ ้อยกวา่ 3.51 2. รอ้ ยละความสาเร็จของการดาเนินการโครงการพฒั นาศักยภาพนักศกึ ษาและเสรมิ สร้างทกั ษะการ เรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 เท่ากับรอ้ ยละ 80 3. อตั ราการลาออกกลางคนั ของนักศึกษาลดลงร้อยละ 5 ต่อปี กระบวนการ 1. กระบวนการควบคุมดูแลการใหค้ าปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวแก่นกั ศึกษา ระบบและกลไก 1. สานักสง่ เสรมิ วิชาการและงานทะเบยี น สง่ แบบฟอรม์ ขอแต่งตงั้ อาจารย์ทปี่ รกึ ษาไปยังหลักสตู ร 2. หลักสตู รประชุมคดั เลือกและแตง่ ตัง้ อาจารยท์ ป่ี รึกษาและร่วมจดั ทาแผนการจัดการความเสี่ยงดา้ น นักศกึ ษา 3. อาจารย์ท่ปี รึกษากาหนดปฏทิ ินการเข้าพบชอ่ งทางตดิ ต่อสือ่ สารระหวา่ งนักศึกษาและอาจารย์ 4. จัดประชุมร่วมกันระหวา่ งคณะกรรมการบริหารหลกั สูตรกับอาจารย์ผสู้ อน 5. ดาเนินงานตามปฏทิ ิน/ใหค้ วามชว่ ยเหลอื นักศึกษาท่ีมปี ญั หาหรอื ตอ้ งการความช่วยเหลือและสรปุ ผล การดาเนินงานในการให้คาปรึกษาเม่ือส้ินภาคการศกึ ษาและรายงานต่อคณะกรรมการบริหารหลกั สูตร 6. ประเมนิ อาจารยท์ ่ีปรึกษาโดยนักศึกษา 7. ประชุมคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รเพ่ือนาผลการดาเนินงาน (การจัดการความเสีย่ งดา้ นนกั ศึกษา และผลการเรียน การใช้ชีวติ ) มาจัดการความรู้ในกระบวนการส่งเสริมและพัฒนานกั ศึกษา 8. นาผลการจดั การความรู้ในกระบวนการส่งเสรมิ และพฒั นานกั ศกึ ษาจัดทาเปน็ แนวปฏิบตั ิทด่ี ี 9. นาผลการปฏบิ ัตทิ ่ีดีในกระบวนการสง่ เสริมและพฒั นานักศึกษาท่ีได้ดาเนนิ การตามวงจร PDCA 2. กระบวนการพัฒนาศกั ยภาพนกั ศกึ ษาและเสรมิ สร้างทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 1. หลักสตู รจัดทาแผนการพัฒนากระบวนการพฒั นาศักยภาพนกั ศึกษาและเสรมิ สร้างทกั ษะการเรยี นรู้ใน ศตวรรษที่ 21 เพอื่ ใหค้ ณะพิจารณาจดั สรรงบประมาณในการดาเนนิ การ 2. คณะดาเนินการจดั กิจกรรมพฒั นาผูน้ านักศกึ ษาและให้หลกั สูตรสง่ ตัวแทนเขา้ ร่วม 3. หลักสูตรจัดกจิ กรรมในการพัฒนาคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ การสร้างความผกู พันกบั ความเปน็ พลเมือง กจิ กรรมสนั ทนาการ ศิลปะวฒั นธรรม และกจิ กรรมพฒั นาทักษะในศตวรรษท่ี 21 4. มหาวิทยาลัยสนับสนุนทุนการศกึ ษาและช่วยเหลือนักศึกษาที่โอกาสทางการศึกษาจากัด แบบรายงานผลการดาเนินการของหลักสตู ร ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2560 : หนา้ 45

5.หลักสตู รสรปุ ผลการดาเนินการโครงการหลังเสร็จสนิ้ โครงการในระบบ VRU Project Monitoring System 6. หลกั สูตรรายงานการดาเนินงานตามตวั บ่งชขี้ องแผนทุกไตรมาส 7. หลักสตู รสรุปผลการดาเนนิ การแผนการพัฒนากระบวนการพฒั นาศกั ยภาพนกั ศึกษาและเสรมิ สรา้ ง ทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 เมอ่ื ส้นิ ปีงบประมาณและปีการศึกษา 8. หลักสูตรนาผลการดาเนนิ งานไปปรับปรงุ การทางานในรอบต่อไป ผลการดาเนินการตามกระบวนการ 1.ผลการดาเนินการตามกระบวนการควบคุมดูแลการให้คาปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวแก่นักศกึ ษา 1.หลกั สูตรเสนอต้งั อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาต่อคณะ คณะเสนอสานักสง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบียนเพื่อให้ มหาวิทยาลัยแต่งตั้ง มีหลักเกณฑ์ที่กาหนดคืออาจารย์ 1 คนเป็นทปี่ รกึ ษาได้ไมเ่ กิน 2 กลุ่ม โดยในปี 2558 มีการ เสนอช่ืออาจารย์ทปี รึกษาของนักศึกษาในแต่ละรุ่นดังนี้ นกั ศึกษาภาคปกติ รหัส 561224201 มีนักศกึ ษาท้ังสนิ้ 26 คน ท่ปี รึกษาคือ อ.สุนี ปัญจะเทวคปุ ต์ รหัส 561224202 มีนักศึกษาทงั้ สิ้น 29 คน ทป่ี รกึ ษาคือ ผศ.ววิ ัฒน์ ชนิ นาทศิริกุล รหัส 571224201 มนี ักศึกษาท้ังส้ิน 44 คน ทป่ี รึกษาคือ อ.วศิ รตุ ขวัญคุม้ รหัส 581224201 มีนักศึกษาท้ังส้นิ 34 คน ที่ปรึกษาคือ อ.ดาวรถา วรี ะพนั ธ์ รหสั 591224201 มีนักศกึ ษาทัง้ สิ้น 27 คน ที่ปรึกษาคือ อ.ณัฐรดี อนุพงค์ นกั ศกึ ษาภาคพิเศษ รหสั 552224201 มีนักศึกษาทัง้ สิน้ 18 คน ทปี่ รกึ ษาคือ ผศ.วิวฒั น์ ชินนาทศิริกุล รหสั 562224201 มีนักศึกษาทง้ั สิน้ 28 คน ที่ปรึกษาคือ อ.วศิ รุต ขวญั คมุ้ รหัส 62224202 มนี กั ศกึ ษาท้งั สิน้ 15 คน ท่ีปรกึ ษาคือ อ.สุนี ปัญจะเทวคุปต์ รหัส 572224201 มีนักศกึ ษาทงั้ ส้ิน 19 คน ที่ปรกึ ษาคือ อ.ชวลติ โควีระ วงศ์ 2.สานกั สง่ เสรมิ วชิ าการกาหนดเวลาเข้าพบของท่ปี รึกษาแต่ละคนดังนี้ - อาจารย์ท่ีปรึกษาพบนักศึกษาอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เป็นจานวน 4 ครั้งต่อเทอม และนักศึกษา ใหม่ 5 ครั้งต่อเทอม สาหรับเวลาและสถานท่ีการพบอาจารย์ที่ปรึกษากับนักศึกษาให้ตรวจสอบจากตารางเรียน โดยมีกาหนดการพบนักศึกษาใช้เวลาในการพบท่ีปรึกษา 1 ช่ัวโมง ต่อหมู่เรยี น โดยนักศึกษาภาคปกติ วันพุธแรก ของเดอื นและนกั ศกึ ษาภาคพิเศษ วนั เสาร์แรกของเดอื น 3. อาจารย์ท่ีปรกึ ษาของนักศึกษา รหสั 591224201 เขา้ พบนกั ศึกษาในวนั วนั ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ และอาจารย์ท่ปี รึกษากาหนดช่องทางในการติดต่อสื่อสารระหวา่ งอาจารย์กบั นักศกึ ษาในชอ่ งทางต่างๆเชน่ Facebook หมู่เรียน ในวันเวลาท่นี ดั หมายตามปฏทิ นิ กรณีเร่งดว่ น นกั ศึกษาจะมีเบอร์โทรศพั ท์อาจารยท์ ่ปี รึกษา ทกุ คน 4. อาจารย์ทีป่ รึกษาใหค้ าแนะนาช่วยเหลอื ดา้ นตา่ งๆ เชน่ การลงทะเบียนเรียน และอืน่ ๆ ยกตัวอยา่ งเชน่ ดา้ นวิชาการและการสนบั สนุนการศึกษา ด้านบริการและพัฒนานักศกึ ษา และด้านอน่ื ๆ ได้แก่ พิจารณาคาร้อง ต่างๆ ของนักศึกษาและดาเนินการใหถ้ ูกต้องตามระเบยี บ ประสานงานกบั อาจารย์ผู้สอนและหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ที่ เก่ยี วขอ้ ง ให้คาตักเตอื นกับนักศกึ ษาท่แี ตง่ กายไม่เรียบร้อย หรอื มคี วามประพฤติไมเ่ หมาะสม แบบรายงานผลการดาเนินการของหลกั สูตร ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 : หน้า 46


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook