Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

Published by ศิริวรรณ มุนินคํา, 2021-09-21 11:17:49

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

Keywords: https://drive.google.com/file/d/12-DMDxzIwmMz-j9x66aGvvcaeOxKedFT/view?usp=sharing

Search

Read the Text Version

6.สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน/สมรรถนะของศตวรรษที่ 21 - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคดิ - ความสามารถในการแกป้ ัญหา 7. สาระสาคัญ ทกั ษะการจาแนกประเภท (Classifying) หรือการจัดจาแนก หมายถึง การจดั จาแนกสงิ่ ของหรือ เหตกุ ารณ์ออกเปน็ ประเภทตา่ งๆ โดยพจิ ารณาจากลกั ษณะทเ่ี หมอื นกัน มีความสมั พนั ธก์ นั หรอื ความแตกต่าง กับสง่ิ ของหรอื เหตกุ ารณ์ 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั ท่ี 1 ขัน้ สร้างความสนใจ (Engagement) ครนู าเขา้ สบู่ ทเรียน โดยใช้คาถามทบทวนสงิ่ ท่นี ักเรยี นไดเ้ รยี นในคาบทแ่ี ลว้ ดงั น้ี 1. ทกั ษะการจาแนกประเภทคืออะไร (แนวการตอบ: การจดั จาแนกสงิ่ ของหรอื เหตกุ ารณ์ออกเปน็ ประเภทตา่ งๆ) ขนั้ ที่ 2 ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) 1. ครใู ชค้ าถามทดสอบความเข้าใจของนักเรยี น 2. ครูแจ้งใหน้ กั เรยี นฟังว่า ในคาบนี้จะได้ปฏิบตั ิกิจกรรมการทดลอง เรือ่ ง การจาแนกประเภท พรอ้ มท้ัง อธบิ ายวิธีการทดลองให้นกั เรยี นฟัง 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง เม่ือทาการทดลองเสร็จตัวแทนกลุ่มออกมานาเสนอ หนา้ ชั้นเรยี น ขั้นที่ 3 ขัน้ อธิบายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) ครแู ละนักเรียนอภปิ รายผลการทดลอง เร่อื ง การจาแนกประเภท เพอื่ สร้างข้อสรปุ รว่ มกนั จากน้นั ครูใชค้ าถาม ถามนกั เรียน เพ่ือลงข้อสรปุ เกี่ยวกบั ทกั ษะการจาแนกประเภท ดังน้ี 1. เกณฑท์ ใ่ี ชใ้ นการจาแนกประเภทมกี ีอ่ ย่าง อะไรบา้ ง (แนวการตอบ: 3 อย่าง ได้แก่ ความเหมือน ความแตกต่าง และความสัมพนั ธ)์ 2. สิ่งของกลมุ่ เดียวกนั สามารถจาแนกประเภทหลายวธิ ีไดห้ รือไม่ (แนวการตอบ: ได้ เพราะการจาแนกประเภทขนึ้ อยู่กับเกณฑ์ทต่ี ้ังขึ้น ดังน้ันส่ิงของกลมุ่ เดียวกันอาจ จาแนกประเภทได้หลายวธิ ี)

3. การต้ังเกณฑ์ในจาแนกประเภทจะตอ้ งคานึงถงึ อะไร (แนวการตอบ: วัตถุประสงค์ในการจาแนกประเภท) ขน้ั ที่ 4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) ครูใหค้ วามรเู้ พมิ่ เตมิ เกยี่ วกบั พฤติกรรมทแ่ี สดงถงึ การมที ักษะการจาแนกประเภท ดังน้ี 1. สามารถจาแนกหรอื เรียบเรียงลาดบั วตั ถุหรือเหตกุ ารณต์ ามท่กี าหนดมาให้ได้ 2. สามารถบอกเกณฑ์ทีค่ นอื่นใชจ้ าแนกหรอื เรียบเรยี งลาดบั วตั ถุหรอื เหตุการณท์ ี่กาหนดให้ 3. สามารถจาแนกหรอื เรียบเรียงลาดบั วัตถุหรือเหตกุ ารณท์ ่ตี นเองกาหนดข้นึ 4. สามารถเขยี นแผนผงั จาแนกประเภทได้ทกุ กรณี ขน้ั ท่ี 5 ขั้นประเมนิ ผล (Evaluation) 8. ครูให้นักเรียนสรุปความคิดรวบยอด เรอื่ ง ทักษะการจาแนกประเภท 9. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายเกี่ยวกับ “ทกั ษะการจาแนกประเภท” 10. นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า มีจดุ ใดบา้ งที่ยังไมเ่ ข้าใจหรือยงั มขี อ้ สงสยั ถ้ามีครูชว่ ยอธิบายเพ่ิมเตมิ ให้ นกั เรียนเข้าใจ 9. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้ 9.1 ส่ือ - สอื่ การสอน Power Point เรอ่ื ง ทักษะการจาแนกประเภท - รายงานผลการทดลอง เรอ่ื ง การจาแนกประเภท - สรุปความคดิ รวบยอด เร่ือง ทกั ษะการจาแนกประเภท - แบบประเมนิ ทกั ษะในการปฏิบตั กิ ารทดลอง - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 9.2 แหล่งการเรียนรู้ - หอ้ งเรียนวิทยาศาสตร์ - หอ้ งสมดุ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 10. การวดั และการประเมินผล 10.1 การวดั ผล จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วธิ กี ารวดั เครอื่ งมือ 1. ดา้ นความรู้ (K) - นักเรียนสรุปความคิด - สรปุ ความคิดรวบยอด - นกั เรยี นมีความเขา้ ใจเกีย่ วกับทกั ษะการ รวบยอด เรื่อง ทักษะการ เร่อื ง ทกั ษะการจาแนก จาแนกประเภท จาแนกประเภท ประเภท

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วธิ ีการวดั เคร่ืองมือ 2. ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) - ครสู ังเกตพฤติกรรมใน - แบบประเมินทกั ษะใน - นักเรียนสามารถปฏิบัติการทดลอง โดย การปฏบิ ัตกิ ารทดลอง การปฏบิ ัตกิ ารทดลอง ใชท้ ักษะการจาแนกประเภทไดอ้ ย่างถูกต้อง ของนกั เรียน 3. ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) - ครูประเมินคุณลักษณะ - แบบประเมิน - นักเรียนเป็นผู้ท่ีมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และ อนั พงึ ประสงค์ คุณลักษณะอนั พึง มงุ่ มนั่ ในการทางาน ประสงค์ 10.2 เกณฑก์ ารประเมนิ ผล ระดบั คุณภาพ 10.2.1 ดา้ นความรู้ (K) (4) (3) (2) (1) - นักเรียนมคี วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ทกั ษะการจาแนกประเภท นกั เรียนได้ นกั เรยี นได้ นกั เรยี นได้ นักเรยี นได้ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ สรปุ ความคิด สรปุ ความคิด สรปุ ความคดิ สรปุ ความคดิ รวบ รวบยอด 9-10 รวบยอด 7-8 รวบยอด 5-6 ยอดต่ากว่า 5 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน ระดบั คุณภาพ 10.2.2 ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) (4) (3) (2) (1) ดีมาก ปรบั ปรงุ - นกั เรยี นสามารถปฏบิ ัติการ นักเรยี นได้ ดี พอใช้ นักเรียนได้ ทดลอง โดยใชท้ ักษะการจาแนก คะแนนจาก คะแนนจากการ ประเภทได้อย่างถูกตอ้ ง การประเมิน นักเรียนได้ นักเรียนได้ ประเมนิ ทกั ษะ ทักษะในการ ในการ ปฏบิ ัติการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ ปฏิบัติการ ทดลอง ทดลองตา่ กว่า 8 14-16 คะแนน ประเมินทกั ษะ ประเมนิ ทกั ษะ คะแนน ในการ ในการ ปฏิบัติการ ปฏบิ ัติการ ทดลอง 11-13 ทดลอง คะแนน 8-10 คะแนน

11.2.3 คุณลกั ษณะ (A) ระดบั คุณภาพ - นักเรยี นเป็นผทู้ ่มี วี ินยั ใฝ่เรียนรู้ (4) (3) (2) (1) และมงุ่ มัน่ ในการทางาน ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ นักเรียนได้ นักเรยี นได้ นกั เรียนได้ นกั เรียนได้ คะแนนจากการ คะแนนจาก คะแนนจาก คะแนนจากการ ประเมนิ การประเมนิ การประเมนิ ประเมนิ คุณลักษณะ คุณลักษณะ คุณลักษณะ คุณลักษณะอัน อนั พงึ ประสงค์ อันพึงประสงค์ อนั พึงประสงค์ พึงประสงค์ต่า 11-12 คะแนน 9-10 คะแนน 6-8 คะแนน กว่า 6 คะแนน

บทปฏิบตั ิการ เร่อื ง การจาแนกประเภท จดุ ประสงค์ของการทดลอง 1. นักเรยี นสามารถปฏบิ ัตกิ ารทดลอง โดยใชท้ กั ษะการจาแนกประเภทได้อยา่ งถูกต้อง วัสด/ุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง - น้าตาลกลโู คส - แปง้ ผัดหนา้ - ผงชอลก์ - โซดาปิ้งขนม (NaHCO3) - แปง้ ข้าวโพด - น้าสม้ สายชู - สรละลายไอโอดนี - นา้ กลัน่ - ช้อนชา - ถว้ ยพลาสติก วธิ กี ารทดลอง 1. นาถ้วยพลาสตกิ มา 3 ใบ ใส่นา้ กลน่ั 50 cm3 ลงในถว้ ยพลาสติกใบที่ 1 ใส่น้าส้มสายชู 50 cm3 ลงใน ถว้ ยพลาสตกิ ใบท่ี 2 และใสส่ ารละลายไอโอดีน 50 cm3 ลงในถ้วยพลาสติกใบที่ 3 2. ตกั น้าตาลกลโู คสประมาณคร่งึ ชอ้ นชาใสข่ องในของเหลวทบี่ รรจอุ ยูใ่ นถ้วยพลาสติกตามข้อ 1 คนให้ เขา้ กนั สงั เกตการณ์เปลี่ยนแปลงและบนั ทึกผล 3. ทาการทดลองซา้ ตามขอ้ 1 และขอ้ 2 โดยใช้แป้งผัดหนา้ ผงชอล์ก ผงฟู โซดาปงิ้ ขนม และแปง้ 4. ข้าวโพดแทนน้าตาลกลูโคส

น้ากล่ัน 50 5. น้าสม้ สายชู 50 สารละลาย นา้ ตาลกลูโคสครงึ่ ชอ้ นชา cm3 cm3 ไอโอดนี 50 cm3 ถ้วยพลาสตกิ ใบท่ี ถว้ ยพลาสตกิ ใบที่ ถ้วยพลาสตกิ ใบที่ ถว้ ยพลาสตกิ ใบท่ี ถ้วยพลาสตกิ ใบท่ี ถ้วยพลาสตกิ ใบท่ี 1 2 3 1 2 3 ทาการทดลองซา้ โดยใชแ้ ปง้ ผัดหนา้ คนใหเ้ ขา้ กัน สงั เกตการ ผงชอลก์ ผงฟู โซดาปง้ิ ขนม และแป้ง เปลยี่ นแปลงและบนั ทกึ ผล ข้าวโพดแทนน้าตาลกลโู คส

รายงานผลการทดลอง เรื่อง การจาแนกประเภท วนั ที่ทาการทดลอง.....................................................................................................เวลา................................. สมาชกิ กล่มุ 1. ชอ่ื ................................................................................................................เลขท.่ี .......................... 2. ชอ่ื ................................................................................................................เลขที่........................... 3. ชื่อ................................................................................................................เลขที่........................... 4. ชอ่ื ................................................................................................................เลขที่........................... 5. ชอ่ื ................................................................................................................เลขท่.ี .......................... 6. ชื่อ................................................................................................................เลขท.ี่ .......................... จุดประสงค์ ............................................................................................................................. ............................................. .......................................................................................................................................................................... สมมตฐิ าน ............................................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................................. ............................................. ตวั แปรตน้ .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................. ตัวแปรตาม ............................................................................................................................. ............................................. .......................................................................................................................................................................... ตวั แปรควบคมุ ............................................................................................................................. ............................................. ..........................................................................................................................................................................

ตารางบันทกึ ผลการทดลอง สรุปผลการทดลอง ........................................................................................................................... ................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. อภปิ รายผลการทดลอง .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................... ........................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ..............................................................................................................................................................................

แบบประเมนิ ทกั ษะในการปฏิบตั ิการทดลอง สมาชิกกลุ่ม 1. …………………………………………………………………………………………………………………… 2. …………………………………………………………………………………………………………………… 3. …………………………………………………………………………………………………………………… 4. …………………………………………………………………………………………………………………… 5. …………………………………………………………………………………………………………………… 6. …………………………………………………………………………………………………………………… คาชแ้ี จง : ใหค้ รผู สู้ อนประเมินจากการสงั เกตพฤตกิ รรมของผู้เรยี นในการปฏิบัตกิ จิ กรรมการทดลอง โดยให้ระดบั คะแนนลงในตารางที่ตรงกับพฤตกิ รรมของผู้เรียนเป็นรายกลุม่ ลาดบั เกณฑก์ ารประเมินผล ระดับคะแนน ท่ี 4 3 21 1. วธิ ีดาเนนิ การทดลอง 2. การปฏิบตั กิ ารทดลอง 3. ความคล่องแคลว่ ในการทาการทดลอง 4. ความสามัคคีและการชว่ ยเหลอื กนั ภายในกลมุ่ เกณฑ์การใหค้ ะแนน 4 หมายถึง ผูเ้ รยี นมีพฤติกรรมการแสดงออกดมี าก 3 หมายถึง ผู้เรยี นมีพฤติกรรมการแสดงดี 2 หมายถึง ผเู้ รียนมพี ฤตกิ รรมการแสดงออกพอใช้ 1 หมายถงึ ผ้เู รยี นไม่มพี ฤตกิ รรมการแสดงออกเลย ควรปรบั ปรงุ เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพตอ้ งได้ระดบั คะแนน 2 ขน้ึ ไปจึงจะผ่านเกณฑ์ (8 คะแนน) 14-16 คะแนน อยู่ในระดับดมี าก 11-13 คะแนน อย่ใู นระดับดี 8-10 คะแนน อยู่ในระดับพอใช้ ตา่ กว่า 8 คะแนน อยู่ในระดบั ควรปรบั ปรุง สรปุ การประเมนิ ลงชื่อ…………………………………………ผ้ปู ระเมิน ผ่าน……………………. (นางสาวศริ วิ รรณ มนุ นิ คา) ไมผ่ า่ น……………….. ………./………./………

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ ท่ี ชือ่ - สกลุ มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มั่นในการ รวม ทางาน 432143214321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ประเดน็ การ (4) ระดบั การปฏิบตั ิ (1) ประเมนิ ดีมาก (3) (2) ปรบั ปรุง ดี พอใช้ 1. มีวนิ ยั ส่งงานครบทกุ ช้ิน ส่งงานครบทกุ ชิ้น สง่ งานช้าเปน็ บางคร้ัง สง่ งานช้าเปน็ ประจา ก่อนเวลาท่กี าหนด ตามเวลาทกี่ าหนด หรือไมส่ ง่ งานเลย ทุกครั้ง 2. ใฝเ่ รยี นรู้ ตงั้ ใจเรียน มคี วาม ต้งั ใจเรยี น มคี วาม ต้ังใจเรยี น แต่ขาด ไมค่ ่อยตัง้ ใจเรียน พยายามในการ พยายามในการเรยี นรู้ ความพยายาม ขาดความพยายาม ค้นคว้าหาความรู้จาก ในห้องเรยี น ซักถาม ซักถามคาตอบ ไม่มกี ารซักถามเพ่อื แหล่งเรยี นรตู้ า่ งๆ บอ่ ยครง้ั บางครง้ั หาคาตอบ ซักถามเพอ่ื คาตอบ ทกุ ครั้ง 3. มุง่ มน่ั ในการ มีความกระตือรือรน้ มีความกระตือรอื ร้น มีความกระตือรือร้น ขาดความ ทางาน ทางานสาเรจ็ ถูกต้อง ทางานสาเรจ็ ถูกตอ้ ง ทางานสาเรจ็ แต่ กระตือรือร้นตอ่ การ ตามเวลาทกี่ าหนด แต่ชา้ เกินเวลาท่ี เนอื้ หาไมถ่ ูกต้อง ทางาน งานไม่เสรจ็ กาหนด บางสว่ น หรอื ไม่ ตามเวลาทกี่ าหนด ถูกต้อง และเน้อื หาไมถ่ กู ตอ้ ง เกณฑ์การประเมนิ ต้องได้ระดับคะแนน 2 ข้นึ ไปจงึ จะผา่ นเกณฑ์ (6คะแนน) 11-12 คะแนน อยใู่ นระดับดีมาก 9-10 คะแนน อยู่ในระดับดี 6-8 คะแนน อยใู่ นระดบั พอใช้ ตา่ กวา่ 6 คะแนน อยู่ในระดับควรปรบั ปรุง สรปุ การประเมนิ ลงชื่อ…………………………………………ผู้ประเมิน ผ่าน……………………. (นางสาวศิรวิ รรณ มุนินคา) ไมผ่ ่าน……………….. ………./………./……….

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 9 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 – 3 ปกี ารศึกษา 2564 กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เวลา 2 ชว่ั โมง ภาคเรยี นที่ 1 หน่วยที่ 2 เรื่อง ทกั ษะทางวทิ ยาศาสตร์ ผสู้ อน นางสาว ศิรวิ รรณ มุนินคา แผนการจดั การเรยี นรู้ เร่ือง ทกั ษะการวัด 1. ผลการเรยี นรู้ 4. ทดลองเกย่ี วกบั ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ดา้ นความสามารถในการใช้เครอ่ื งมอื วัดได้ อยา่ งถกู ต้อง 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. นกั เรียนสามารถอธิบายเกย่ี วกบั ทกั ษะการวดั ได้ (K) 2. นักเรยี นสามารถปฏิบตั กิ ิจกรรม โดยใช้ทกั ษะการวดั ได้อย่างถกู ตอ้ ง (P) 3. นักเรียนเปน็ ผู้ที่มวี นิ ัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งม่นั ในการทางาน (A) 3. สาระการเรียนรู้ 1. ทักษะการวัด 4. ทักษะการเรยี นรู้ 1. ทักษะวทิ ยาศาสตร์ - การสังเกต - การอภปิ รายและลงขอ้ สรปุ 5. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ - มีวนิ ัย - ใฝเ่ รยี นรู้ - มงุ่ ม่นั ในการทางาน 6.สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน/สมรรถนะของศตวรรษที่ 21 - ความสามารถในการสอื่ สาร - ความสามารถในการคดิ - ความสามารถในการแก้ปัญหา

7. สาระสาคัญ ทกั ษะการวัด (Measuring) หมายถึง การใช้เครอื่ งมือสาหรบั การวัดขอ้ มลู ในเชงิ ปรมิ าณของสงิ่ ต่างๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลเป็นตัวเลขในหน่วยการวัดท่ีถูกต้อง แม่นยา ท้ังนี้การใช้เคร่ืองมือจาเป็นต้องเลือกใช้ให้ เหมาะสมกับส่ิงทีต่ อ้ งการวดั 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขัน้ ท่ี 1 ขัน้ สรา้ งความสนใจ (Engagement) ครูนาเขา้ สู่บทเรยี น โดยใชค้ าถามถามนกั เรยี น ดังน้ี 1. นกั เรียนรู้หรอื ไมว่ ่าทกั ษะการวัด คืออะไร (แนวการตอบ: การใช้เคร่ืองมือสาหรับการวัดข้อมลู ในเชิงปริมาณของสิ่งต่างๆ เพ่ือใหไ้ ด้ข้อมลู เป็น ตวั เลขในหน่วยการวัดทีถ่ ูกต้อง แม่นยา) 2. ครแู จ้งให้นกั เรียนฟงั วา่ ในคาบนนี้ กั เรียนจะไดเ้ รยี น เร่ือง ทกั ษะการวัด ขน้ั ท่ี 2 ข้ันสารวจและค้นหา (Exploration) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสืบค้นข้อมูลและศึกษาเก่ียวกับทักษะการวัดจากห้องสมุดโรงเรยี น และอินเทอร์เน็ต จากนั้นครูให้นักเรียนร่วมกนั ทาแผนผังมโนทัศน์ เรื่อง การใช้เคร่ืองมือวัด เม่ือทา เสร็จตัวแทนกลุ่มออกมานาเสนอหน้าช้ันเรียน จากนั้นครูใช้คาถามเพ่ือทดสอบความเข้าใจของ นกั เรยี น ดังน้ี 1.1 หลังจากที่นักเรียนได้สืบค้นข้อมูลและศึกษาเก่ียวกับทักษะการวัดแล้ว นักเรียนสามารถสรุป ทกั ษะการวดั วา่ อยา่ งไร (แนวการตอบ: การใช้เครื่องมือสาหรบั การวัดข้อมลู ในเชิงปริมาณของสง่ิ ต่างๆ เพื่อให้ได้ข้อมูล เปน็ ตวั เลขในหน่วยการวัดที่ถกู ตอ้ ง แม่นยา) 1.2 สง่ิ สาคญั ในการวัด คอื อะไร (แนวการตอบ: เครื่องมือและวิธีการ) 1.3 รูปแบบของการวดั มกี แี่ บบ อะไรบ้าง (แนวการตอบ: 3 แบบ คือ การนับจานวน การวดั โดยตรง และการวดั โดยออ้ ม) 2. ครูอธิบายวิธีปฏิบัติกิจกรรม เรื่อง ทักษะการวัดให้นักเรียน จากน้ันให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกัน ปฏบิ ตั ิกิจกรรม

ขน้ั ที่ 3 ข้นั อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation) ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายและสรา้ งขอ้ สรุป โดยใชค้ าถาม ดงั นี้ 1. เพราะเหตใุ ดสมาชกิ ในกลุ่มจึงวดั สง่ิ ต่างๆ ได้ไมเ่ ท่ากนั (แนวการตอบ: เกดิ ความคลาดเคลือ่ นในการวดั ) 2. จะทาอย่างไรให้เกดิ ความคลาดเคลือ่ นในการวัดน้อยทสี่ ดุ (แนวการตอบ: เลือกใชเ้ คร่อื งมือทไ่ี ดม้ าตรฐาน น่าเช่อื ถอื , ใช้เครื่องมอื ชิน้ เดยี วกันจนจบการศึกษา ใช้ คนวดั คนเดียวกันจนจบการศกึ ษาครงั้ นัน้ , วัดหลายๆ ครั้ง แลว้ หาคา่ เฉลีย่ ) 3. การวดั มปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร (แนวการตอบ: ช่วยขยายขอบเขตของประสาทสมั ผัสทง้ั 5 ให้มีความน่าเช่อื ถอื มากข้นึ เพราะไดม้ กี าร ใชเ้ ครอื่ งมอื มาตรฐานตา่ งๆ มาชว่ ยอธบิ ายขอ้ มลู ซง่ึ จะทาให้มคี วามเข้าใจตรงกนั ) ข้นั ท่ี 4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) ครใู ห้ความรู้เพ่ิมเติมเกี่ยวกบั การวัด ดงั น้ี ความหมายของการวัด การวัดเป็นความสามารถในการเลือกใชเ้ คร่อื งมือไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งในการวัดสงิ่ ต่างๆ ทต่ี ้องการศึกษา เช่น ความกว้าง ความสูง ความหนา น้าหนัก ปรมิ าตร เวลา และอุณหภูมิ โดยวดั ออกมาเปน็ ตวั เลขได้ถูกต้อง รวดเร็ว มหี น่วยกากับและสามารถอา่ นคา่ ท่ใี ชว้ ดั ไดถ้ กู ตอ้ งใกล้เคยี งความเปน็ จรงิ มากทส่ี ุด ประโยชนข์ องการวัด เป็นการช่วยขยายขอบเขตของประสาทสัมผัสทั้ง 5 ให้มีความน่าเชื่อถือมากข้ึน เพราะได้มีการใช้ เคร่ืองมือมาตรฐานตา่ งๆ มาช่วยอธบิ ายข้อมลู ซ่งึ จะทาให้มคี วามเขา้ ใจตรงกนั เชน่ เมอ่ื เราบอกว่า “เชอื กเส้น น้ยี าวมาก” เปน็ การคาดคะเนจากการเหน็ ดว้ ยตา คนฟงั จะนึกไม่ออกว่ายาวเท่าไหร่ แตล่ ะคนกจ็ ะนกึ ถึงความ ยาวทตี่ ่างๆ กัน จนกวา่ เราจะบอกวา่ “เชอื กเสน้ น้ียาว 10 เมตร” ทุกคนก็จะเขา้ ใจไดต้ รงกนั ความคลาดเคล่ือนท่ีเกดิ จากการวดั 1. ความคลาดเคลอื่ นโดยบงั เอญิ เปน็ ความคลาดเคลอ่ื นทเ่ี กดิ ขึน้ จากการอา่ นค่าทว่ี ัดได้ผดิ พลาด หรอื คา่ ท่อี า่ นไดถ้ กู ตอ้ ง แตบ่ นั ทึกผิดพลาด 2. ความคลาดเคลื่อนเปน็ ระบบ ซง่ึ เกิดข้นึ จากการใช้วิธกี ารวัดไม่ถูกต้อง ข้ันท่ี 5 ขั้นประเมนิ ผล (Evaluation) 1. ครูใหน้ กั เรียนทาใบงาน เร่ือง การวัด 2. ครูและนักเรยี นร่วมกันอภปิ รายเกยี่ วกบั “ทักษะการวัด”

3. นกั เรยี นแตล่ ะคนพิจารณาวา่ มจี ุดใดบ้างที่ยงั ไม่เข้าใจหรอื ยงั มีข้อสงสัย ถ้ามคี รูชว่ ยอธิบายเพ่มิ เติมให้ นักเรียนเข้าใจ 9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 ส่ือ - สอ่ื การสอน Power Point เรอ่ื ง ทกั ษะการวัด - กจิ กรรม เร่ือง ทกั ษะการวดั - ใบงาน เร่ือง การวัด - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ - หอ้ งเรียนวิทยาศาสตร์ - ห้องสมุดโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 10. การวัดและการประเมนิ ผล 10.1 การวัดผล จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ วธิ ีการวดั เครือ่ งมอื 1. ดา้ นความรู้ (K) - นักเรียนทาใบงาน เร่อื ง - ใบงาน เรื่อง การวดั - นกั เรียนสามารถอธิบายเกี่ยวกบั ทกั ษะ การวัด การวัดได้ 2. ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) - นักเรยี นทากจิ กรรม - กิจกรรม เรอ่ื ง ทักษะ - นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้ เรอ่ื ง ทกั ษะการวัด การวดั ทักษะการวดั ได้อย่างถูกตอ้ ง 3. ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A) - ครูประเมินคุณลักษณะ - แบบประเมนิ - นักเรียนเป็นผู้ท่ีมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และ อนั พงึ ประสงค์ คณุ ลกั ษณะอันพงึ มุ่งมั่นในการทางาน ประสงค์

10.2 เกณฑ์การประเมนิ ผล ระดับคุณภาพ 10.2.1 ดา้ นความรู้ (K) (4) (3) (2) (1) - นักเรียนสามารถอธิบาย ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง เกี่ยวกบั ทกั ษะการวัดได้ นกั เรียนได้ นกั เรยี นได้ นกั เรียนได้ นกั เรียนได้ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ ทาใบงาน 9-10 ทาใบงาน 7-8 ทาใบงาน 5-6 ทาใบงานตา่ กว่า คะแนน คะแนน คะแนน 5 คะแนน 10.2.2 ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) (4) ระดบั คุณภาพ (1) ดีมาก (3) (2) ปรบั ปรงุ - นักเรยี นสามารถปฏิบตั ิกิจกรรม นักเรียนได้ ดี พอใช้ นักเรียนได้ โดยใชท้ กั ษะการวัดได้อย่างถูกตอ้ ง คะแนนจาก นกั เรียนได้ นกั เรยี นได้ คะแนนจากการ การทากจิ กรรม คะแนนจากการ คะแนนจากการ ทากิจกรรมตา่ 14-16 คะแนน ทากิจกรรม ทากิจกรรม กว่า 8 คะแนน 11-13 คะแนน 8-10 คะแนน 10.2.3 คุณลักษณะ (A) ระดับคุณภาพ - นักเรียนเปน็ ผทู้ ่มี ีวินยั ใฝ่เรียนรู้ (4) (3) (2) (1) และม่งุ ม่ันในการทางาน ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ นกั เรยี นได้ นักเรียนได้ นกั เรียนได้ นกั เรียนได้ คะแนนจาก คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจาก การประเมิน ประเมนิ ประเมนิ การประเมิน คณุ ลักษณะ คณุ ลกั ษณะ คณุ ลกั ษณะ คณุ ลกั ษณะอัน อนั พงึ ประสงค์ อนั พงึ ประสงค์ อนั พึงประสงค์ พึงประสงค์ตา่ 11-12 คะแนน 9-10 คะแนน 6-8 คะแนน กว่า 6 คะแนน

กิจกรรม เรื่อง ทกั ษะการวดั สมาชกิ กลุ่ม 1. ชื่อ................................................................................................................เลขที่........................... 2. ชื่อ................................................................................................................เลขท.ี่ .......................... 3. ชอ่ื ................................................................................................................เลขที่........................... 4. ชอ่ื ................................................................................................................เลขท.่ี .......................... 5. ชอ่ื ................................................................................................................เลขท.่ี .......................... 6. ชอ่ื ................................................................................................................เลขท่.ี .......................... คาชแี้ จง: ใหน้ ักเรยี นเลอื กใช้อปุ กรณ์ทค่ี รจู ดั เตรียมไว้ให้ แล้วทาการวัดวัตถุ พร้อมทั้งบนั ทกึ ผลท่ไี ด้เครอื่ งมอื ท่ี ใช้ในการวัด และหน่วยของการวดั ลงในตาราง ตารางบนั ทึกผลของการวดั สิ่งทีว่ ัด ปรมิ าณ ครงั้ ทว่ี ดั เคร่อื งมอื ที่ใช้วดั หนว่ ยของการวดั 1 2 3 เฉลีย่ 1. โตะ๊ นักเรียน ความกว้าง ความยาว ความสูง 2. กลอ่ งชอล์ค น้าหนกั ปรมิ าตร 3. กอ้ นหนิ นา้ หนัก ปริมาตร 4. นา้ อณุ หภมู ิ ปริมาตร

ใบงาน เรอ่ื ง การวัด คาช้ีแจง: ให้นกั เรียนทาการวดั ความยาวของเส้นตรงขา้ งล่างนี้ (ใชท้ ศนิยม ๑ ตาแหน่ง) แล้วบันทกึ ผลท่ไี ดจ้ าก การวดั ลงในช่องวา่ งท่ีเวน้ ไว้ โดยไมต่ อ้ งบอกผลของการวดั แก่สมาชกิ ในกลุ่ม จนกว่าทกุ คนในกลมุ่ จะทาการ วัดเสรจ็ เรียบรอ้ ยแลว้ _________________________________________ สมาชกิ คนที่ 1 วัดได.้ ................................................................เซนตเิ มตร สมาชิกคนที่ 2 วัดได.้ ................................................................เซนตเิ มตร สมาชกิ คนที่ 3 วัดได.้ ................................................................เซนตเิ มตร สมาชิกคนที่ 4 วัดได.้ ................................................................เซนตเิ มตร สมาชิกคนที่ 5 วัดได.้ ................................................................เซนตเิ มตร สมาชิกคนที่ 6 วดั ได้.................................................................เซนตเิ มตร คาถาม 1. จากเสน้ ตรงที่กาหนดให้ สมาชิกทุกคนในกลุ่มวัดไดผ้ ลเปน็ อย่างไรเท่ากันหรอื ไม่ ถ้าในกรณที ่วี ัดได้ไม่เท่ากนั ใหบ้ อกเหตุผลว่าทาไมจึงเปน็ เชน่ น้นั และจะแกป้ ญั หาของกลมุ่ ไดอ้ ยา่ งไร เพอ่ื ให้ ไดม้ าซ่งึ คาตอบของกลมุ่ เพยี งคาตอบเดยี ว ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ....................................................................................................................................................................... .... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ..............................................

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ ท่ี ชือ่ - สกลุ มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มั่นในการ รวม ทางาน 432143214321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ประเดน็ การ (4) ระดบั การปฏิบตั ิ (1) ประเมนิ ดีมาก (3) (2) ปรบั ปรุง ดี พอใช้ 1. มีวนิ ยั ส่งงานครบทกุ ช้ิน ส่งงานครบทกุ ชิ้น สง่ งานช้าเปน็ บางคร้ัง สง่ งานช้าเปน็ ประจา ก่อนเวลาท่กี าหนด ตามเวลาทกี่ าหนด หรือไมส่ ง่ งานเลย ทุกครั้ง 2. ใฝเ่ รยี นรู้ ตงั้ ใจเรียน มคี วาม ต้งั ใจเรยี น มคี วาม ต้ังใจเรยี น แต่ขาด ไมค่ ่อยตัง้ ใจเรียน พยายามในการ พยายามในการเรยี นรู้ ความพยายาม ขาดความพยายาม ค้นคว้าหาความรู้จาก ในห้องเรยี น ซักถาม ซักถามคาตอบ ไม่มกี ารซักถามเพ่อื แหล่งเรยี นรตู้ า่ งๆ บอ่ ยครง้ั บางครง้ั หาคาตอบ ซักถามเพอ่ื คาตอบ ทกุ ครั้ง 3. มุง่ มน่ั ในการ มีความกระตือรือรน้ มีความกระตือรอื ร้น มีความกระตือรือร้น ขาดความ ทางาน ทางานสาเรจ็ ถูกต้อง ทางานสาเรจ็ ถูกตอ้ ง ทางานสาเรจ็ แต่ กระตือรือร้นตอ่ การ ตามเวลาทกี่ าหนด แต่ชา้ เกินเวลาท่ี เนอื้ หาไมถ่ ูกต้อง ทางาน งานไม่เสรจ็ กาหนด บางสว่ น หรอื ไม่ ตามเวลาทกี่ าหนด ถูกต้อง และเน้อื หาไมถ่ กู ตอ้ ง เกณฑ์การประเมนิ ต้องได้ระดับคะแนน 2 ข้นึ ไปจงึ จะผา่ นเกณฑ์ (6คะแนน) 11-12 คะแนน อยใู่ นระดับดีมาก 9-10 คะแนน อยู่ในระดับดี 6-8 คะแนน อยใู่ นระดบั พอใช้ ตา่ กวา่ 6 คะแนน อยู่ในระดับควรปรบั ปรุง สรปุ การประเมนิ ลงชื่อ…………………………………………ผู้ประเมิน ผ่าน……………………. (นางสาวศิรวิ รรณ มุนินคา) ไมผ่ ่าน……………….. ………./………./……….

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 10 ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1 - 3 ปีการศกึ ษา 2564 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เวลา 2 ชัว่ โมง ภาคเรียนที่ 1 หนว่ ยท่ี 2 เร่อื ง ทกั ษะทางวิทยาศาสตร์ ผู้สอน นางสาว ศริ ิวรรณ มุนินคา แผนการจัดการเรียนรู้ เรือ่ ง ทกั ษะการวดั 1. ผลการเรยี นรู้ 4. ทดลองเกีย่ วกับทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรด์ า้ นความสามารถในการใช้เคร่ืองมือวดั ได้ อยา่ งถูกต้อง 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นกั เรียนมคี วามเข้าใจเก่ียวกับทกั ษะการวัด (K) 2. นกั เรียนสามารถปฏบิ ตั กิ ิจกรรม โดยใช้ทักษะการวัดได้อยา่ งถกู ตอ้ ง (P) 3. นกั เรยี นเปน็ ผู้ที่มีวินัย ใฝเ่ รยี นรู้ และมงุ่ มั่นในการทางาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ 1. ทกั ษะการวดั 4. ทักษะการเรยี นรู้ 1. ทกั ษะวิทยาศาสตร์ - การสังเกต - การอภิปรายและลงข้อสรุป 5. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ - มีวนิ ยั - ใฝเ่ รียนรู้ - มุ่งม่นั ในการทางาน 6.สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น/สมรรถนะของศตวรรษที่ 21 - ความสามารถในการสอ่ื สาร - ความสามารถในการคดิ - ความสามารถในการแกป้ ัญหา

7. สาระสาคญั ทักษะการวัด (Measuring) หมายถงึ การใชเ้ ครื่องมอื สาหรับการวดั ข้อมลู ในเชงิ ปริมาณของส่ิงต่างๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลเป็นตัวเลขในหน่วยการวัดท่ีถูกต้อง แม่นยา ทั้งนี้การใช้เครื่องมือจาเป็นต้องเลือกใช้ให้ เหมาะสมกบั สง่ิ ท่ตี อ้ งการวัด 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขั้นท่ี 1 ข้นั สร้างความสนใจ (Engagement) ครูนาเข้าสู่บทเรียน โดยใช้คาถามทบทวนสง่ิ ท่ีนักเรียนไดเ้ รยี นในคาบทผ่ี ่านมา ดังน้ี 1. ทักษะการวดั คืออะไร (แนวการตอบ: การใช้เคร่ืองมือสาหรบั การวัดข้อมูลในเชิงปรมิ าณของส่ิงต่างๆ เพ่ือใหไ้ ด้ข้อมูลเป็น ตัวเลขในหนว่ ยการวดั ที่ถูกต้อง แม่นยา) 2. รปู แบบของการวัดมีกี่แบบ อะไรบ้าง (แนวการตอบ: 3 แบบ คอื การนับจานวน การวดั โดยตรง และการวดั โดยอ้อม) ข้นั ที่ 2 ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) 1. ครูแจ้งใหน้ ักเรียนฟังว่าในคาบนี้นักเรียนจะได้ปฏิบัติกิจกรรมการวัดอตั ราการเต้นของหวั ใจ จากนั้น ครูอธบิ ายวิธปี ฏบิ ตั กิ ิจกรรม 2. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มปฏบิ ัติกิจกรรมการวัดอตั ราการเตน้ ของหวั ใจ เมอ่ื ปฏิบัตกิ ิจกรรมเสรจ็ ตัวแทนกลมุ่ ออกมานาเสนอผลการปฏิบัตกิ ิจกรรมหน้าชนั้ เรียน ขั้นท่ี 3 ขนั้ อธิบายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) ครูและนักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายและสร้างข้อสรปุ โดยใช้คาถาม ดงั น้ี 1. อตั ราการเตน้ ของหวั ใจในครงั้ ที่ 1, 2, 3 เหมอื นหรอื ตา่ งกันอยา่ งไร (แนวการตอบ: ตา่ งกัน แต่อัตราการเต้นของหวั ใจทง้ั 3 คร้ังมคี ่าใกล้เคียงกนั ) 2. นอกจากการวดั ชพี จรท่ขี อ้ มอื แลว้ เราสามารถวดั ชีพจรบริเวณส่วนใดของร่างกายไดอ้ ีกบา้ ง (แนวการตอบ: คอ ขมับ แขน และขาหนบี ) 3. เราสามารถใชเ้ คร่อื งมอื อะไรวดั ชีพจรได้อกี นอกจากนิ้วมอื (แนวการตอบ: เคร่ืองวดั ชีพจร)

ขนั้ ที่ 4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) ครใู ห้ความรู้เพิม่ เติมเก่ียวกับเคร่ืองวดั ชีพจร ดังนี้ ประวัติความเป็นมาของเคร่ืองวดั ชีพจร เคร่ืองวัดชีพจรเครอื่ งแรกนั้นยงั ไมไ่ ดอ้ ยู่ในรปู ของนาฬิกา ผลติ ขน้ึ มาในปี 1977 จดุ ประสงคเ์ พอื่ ใช้ใน การฝึกซ้อมทีมสกีในประเทศฟินแลนด์ ในลักษณะทดสอบระดับความเข้มข้นในการฝึก (intensity training) จากนัน้ เป็นตน้ มาการวดั ชพี จรทใี่ ชใ้ นกีฬาจึงได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี (เครื่องวัดชพี จรแบบใช้ปลายนิ้วมอื คดิ คน้ โดย University of Oulu Electronics Laboratory) ส่วนประกอบของเคร่ืองวัดชีพจร เคร่อื งวัดชีพจรรุ่นใหม่ๆ มักประกอบดว้ ยกัน 2 ส่วน ได้แก่ 1. อุปกรณส์ ง่ สญั ญานชีพจร (Transmitter) สว่ นใหญ่มกั อยู่ในรปู ตดิ หน้าอก คู่กับสายคาด 2. ตวั รบั สญั ญาน (Receiver) ในปัจจุบันมักอย่ใู นรปู ของนาฬิกา โทรศพั ทส์ มารท์ โฟน ในขณะท่ียคุ ก่อนสายคาดหน้าอกทาจากพลาสตกิ เพื่อง่ายตอ่ การนาสัญญานชีพจร แต่ในปัจจุบันได้ถูก ปรบั เปล่ียนเป็นวัสดุทีท่ าจากผ้า ตดิ ด้วยตวั ประมวลผลกลาง เพ่ือวเิ คราะหส์ ัญญานชพี จรอกี ที การสง่ สัญญาน จาก Transmitter เม่อื เซ็นเซอร์ตรวจจับการเต้นของหวั ใจ สญั ญานวิทยุจะถูกสง่ ออกไปและเปล่ียนแปลงเป็น ตัวเลขอัตราชพี จร สัญญานนี้อาจถกู ส่งออกในรปู แบบธรรมดาทวั่ ไป หรอื อาจถกู เขา้ รหัสให้ใชไ้ ดก้ ับตวั รับที่ถูก กาหนดไว้เพียงอย่างเดียว (เข้ารหัสโดย Bluetooth, ANT) เพื่อให้สัญญานในแต่ละอุปกรณ์ไม่ถูกรบกวน แทรกแซงซ่งึ กันและกัน ประเภทของเคร่ืองวดั ชีพจร 1. นาฬกิ าวดั ชีพจรแบบไมม่ สี ายคาดหน้าอก วิธีการใชง้ านคอื ใชน้ ิ้วแตะตัวรับเซ็นเซอร์ทีต่ ดิ มากบั นาฬกิ า จากนั้นอัตราชีพจรจะขน้ึ ไปแสดงทห่ี น้าจอนาฬิกาโดยอัตโนมัติ เหมาะสาหรับผูท้ ใี่ ช้ไม่บอ่ ย อย่างไรกต็ าม รายละเอยี ด ผลลพั ธจ์ ะไมล่ ะเอยี ดเท่ากบั นาฬกิ าที่ใช้สายคาดหนา้ อก

2. นาฬิกาวดั ชพี จรใช้สายคาดหนา้ อก หลากหลายแบรนด์ไดน้ าเสนอนาฬกิ าประเภทนเี้ พือ่ ใหผ้ ใู้ ช้นาไปใช้ใน การออกกาลงั กายครอบคลมุ ถึงดา้ นสุขภาพ ดว้ ยคณุ สมบตั ทิ ห่ี ลากหลาย สามารถนาค่าชพี จรมาวิเคราะห์ ใน ดา้ นต่างๆ บอกถงึ จานวนแคลอรท่ี ี่ใช้ แสดงอตั ราเกี่ยวกบั การหายใจของผ้ใู ช้ วดั ความเรว็ วัดระยะทาง วัด ความสูงชัน วดั อณุ หภูมิ มี GPS ในตัวฯลฯ ซ่ึงสว่ นใหญน่ าฬกิ าทม่ี คี ุณสมบัติย่งิ มากยงิ่ มรี าคาสงู บางรุน่ ออกแบบมาสาหรบั กีฬาน้ันๆ โดยเฉพาะ ไมว่ า่ จะเป็นวิ่ง ป่ันจกั รยาน ฟิตเนส ยกน้าหนกั วา่ ยน้า ปีนเขา สกี 3. นาฬิกาวัดชีพจรแบบรัดข้อมือ ปจั จุบนั ไดม้ กี ารคดิ คน้ นาฬิกาวัดชีพจรโดยอ่านค่าจากชีพจรบรเิ วณข้อมอื ทาใหส้ ะดวกตอ่ ผใู้ ชบ้ างคนท่ไี มต่ อ้ งการใชส้ ายคาดหน้าอก ในขณะเดียวกนั เทคโนโลยีนเ้ี พง่ิ เปดิ ตวั อาจยังมีไม่ สมบรู ณแ์ บบในข้นั ตน้ รวมถึงราคาที่ค่อนขา้ งสงู จงึ ยงั ไมเ่ ปน็ ทีแ่ พรห่ ลายนัก เชอื่ วา่ ในอนาคตหากถกู พัฒนาต่อ ยอดไปเรอ่ื ยๆ อาจเป็นอกี ทางเลอื กหนง่ึ ของผ้ใู ชท้ ่ีต้องการความสะดวกสบายไดด้ ที ีเดยี ว 4. เซน็ เซอรว์ ดั ชีพจร ออกแบบเพ่อื ใชค้ ูก่ ับโทรศพั ท์สมาร์ทโฟน เชอื่ มตอ่ ผ่าน Bluetooth โดยมี Application รองรับการใชง้ าน ทาใหง้ า่ ยต่อผู้ใชท้ ม่ี สี มาร์ทโฟนไวใ้ นครอบครองอยแู่ ลว้ ขั้นท่ี 5 ขั้นประเมินผล (Evaluation) 1. ครูให้นักเรียนสรุปความคิดรวบยอด เร่อื ง ทกั ษะการวดั 2. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั อภปิ รายเกยี่ วกับ “ทกั ษะการวัด” 3. นกั เรียนแต่ละคนพจิ ารณาว่า มจี ดุ ใดบา้ งท่ยี งั ไมเ่ ขา้ ใจหรือยงั มขี ้อสงสยั ถา้ มคี รชู ่วยอธบิ ายเพ่มิ เตมิ ให้ นักเรียนเข้าใจ 9. ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้ 9.1 ส่อื - สือ่ การสอน Power Point เร่อื ง ทักษะการวัด - กจิ กรรมการวดั อตั ราการเตน้ ของหวั ใจ - การสรปุ ความคิดรวบยอด เรอ่ื ง ทักษะการวดั - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

9.2 แหลง่ การเรียนรู้ - ห้องเรยี นวทิ ยาศาสตร์ - ห้องสมดุ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 10. การวดั และการประเมนิ ผล 10.1 การวัดผล จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ วิธีการวัด เคร่อื งมอื 1. ดา้ นความรู้ (K) - นักเรียนสรุปความคิด - สรปุ ความคิดรวบยอด - นกั เรยี นมคี วามเขา้ ใจเกยี่ วกับทกั ษะการ รวบยอด เร่ือง ทักษะการ เรอ่ื ง ทกั ษะการวัด วัด วัด 2. ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) - นกั เรยี นทากจิ กรรมการ - กจิ กรรมการวัดอตั รา - นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้ วดั อตั ราการเตน้ ของหวั ใจ การเต้นของหัวใจ ทกั ษะการวัดไดอ้ ย่างถูกต้อง 3. ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) - ครูประเมินคุณลักษณะ - แบบประเมิน - นักเรียนเป็นผู้ท่ีมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และ อันพงึ ประสงค์ คณุ ลักษณะอันพึง มงุ่ มนั่ ในการทางาน ประสงค์ 10.2 เกณฑ์การประเมนิ ผล ระดับคุณภาพ 10.2.1 ดา้ นความรู้ (K) (4) (3) (2) (1) - นกั เรยี นมคี วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ ทักษะการวดั นักเรียนได้ นกั เรียนได้ นกั เรียนได้ นักเรียนได้ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ สรปุ ความคิด สรปุ ความคดิ สรปุ ความคิด สรปุ ความคิดรวบ รวบยอด 9-10 รวบยอด 7-8 รวบยอด 5-6 ยอดต่ากว่า 5 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

10.2.2 ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) (4) ระดบั คุณภาพ (1) ดีมาก (3) (2) ปรับปรุง - นกั เรยี นสามารถปฏิบตั กิ ิจกรรม นักเรียนได้ ดี พอใช้ นักเรยี นได้ โดยใชท้ ักษะการวดั ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง คะแนนจาก นักเรียนได้ นักเรยี นได้ คะแนนจากการ การทากจิ กรรม คะแนนจากการ คะแนนจากการ ทากจิ กรรมต่า 14-16 คะแนน ทากิจกรรม ทากิจกรรม กว่า 8 คะแนน 11-13 คะแนน 8-10 คะแนน 10.2.3 คุณลกั ษณะ (A) ระดับคุณภาพ - นกั เรยี นเปน็ ผทู้ มี่ วี นิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ (4) (3) (2) (1) และมุง่ มัน่ ในการทางาน ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ นกั เรียนได้ นักเรียนได้ นกั เรยี นได้ นักเรียนได้ คะแนนจากการ คะแนนจาก คะแนนจาก คะแนนจากการ ประเมิน การประเมนิ การประเมิน ประเมิน คุณลกั ษณะ คุณลักษณะ คุณลักษณะ คณุ ลักษณะอนั อนั พึงประสงค์ อันพงึ ประสงค์ อนั พงึ ประสงค์ พึงประสงค์ตา่ 11-12 คะแนน 9-10 คะแนน 6-8 คะแนน กวา่ 6 คะแนน

กิจกรรม การวัดอตั ราการเต้นของหวั ใจ สมาชิกกลุ่ม 1. ชอื่ ................................................................................................................เลขที่........................... 2. ชอ่ื ................................................................................................................เลขที่........................... 3. ชอ่ื ................................................................................................................เลขที่........................... 4. ชอ่ื ................................................................................................................เลขท.่ี .......................... 5. ชอื่ ................................................................................................................เลขที.่ .......................... 6. ชื่อ................................................................................................................เลขท.่ี .......................... คาชแี้ จง: 1. ใหน้ ักเรียนใช้นิ้วชี้และนว้ิ กลางแตะขอ้ มอื อกี ข้างหนึง่ ของตนเองบรเิ วณทรี่ ้วู า่ มกี ารเต้นของชีพจร 2. นบั จานวนครง้ั ในการเต้นเปน็ เวลา 1 นาที จากนนั้ บันทกึ ผล 3. ทาตามขอ้ 1 และข้อ 2 ใหค้ รบ 3 ครั้ง แลว้ หาค่าเฉลีย่ จานวนการเต้นของชพี จรในเวลา 1 นาที ตารางค่าเฉลย่ี อตั ราการเต้นของหวั ใจ ในเวลา 1 นาที ครั้งท่ี อัตราการเตน้ ของหัวใจ (ครั้ง/นาท)ี 1 2 3 เฉลยี่ 1. อตั ราการเต้นของหัวใจในครงั้ ที่ 1, 2, 3 เหมอื นหรอื ตา่ งกนั อย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. การวัดชพี จรท่ขี ้อมอื แลว้ เรายงั สามารถวัดชพี จรบรเิ วณสว่ นใดของร่างกายได้อกี บ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. เราสามารถใช้เคร่อื งมอื อะไรวดั ชีพจรไดอ้ ีกนอกจากนว้ิ มอื ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ ท่ี ชือ่ - สกลุ มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มั่นในการ รวม ทางาน 432143214321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ประเดน็ การ (4) ระดบั การปฏิบตั ิ (1) ประเมนิ ดีมาก (3) (2) ปรบั ปรุง ดี พอใช้ 1. มีวนิ ยั ส่งงานครบทกุ ช้ิน ส่งงานครบทกุ ชิ้น สง่ งานช้าเปน็ บางคร้ัง สง่ งานช้าเปน็ ประจา ก่อนเวลาท่กี าหนด ตามเวลาทกี่ าหนด หรือไมส่ ง่ งานเลย ทุกครั้ง 2. ใฝเ่ รยี นรู้ ตงั้ ใจเรียน มคี วาม ต้งั ใจเรยี น มคี วาม ต้ังใจเรยี น แต่ขาด ไมค่ ่อยตัง้ ใจเรียน พยายามในการ พยายามในการเรยี นรู้ ความพยายาม ขาดความพยายาม ค้นคว้าหาความรู้จาก ในห้องเรยี น ซักถาม ซักถามคาตอบ ไม่มกี ารซักถามเพ่อื แหล่งเรยี นรตู้ า่ งๆ บอ่ ยครง้ั บางครง้ั หาคาตอบ ซักถามเพอ่ื คาตอบ ทกุ ครั้ง 3. มุง่ มน่ั ในการ มีความกระตือรือรน้ มีความกระตือรอื ร้น มีความกระตือรือร้น ขาดความ ทางาน ทางานสาเรจ็ ถูกต้อง ทางานสาเรจ็ ถูกตอ้ ง ทางานสาเรจ็ แต่ กระตือรือร้นตอ่ การ ตามเวลาทกี่ าหนด แต่ชา้ เกินเวลาท่ี เนอื้ หาไมถ่ ูกต้อง ทางาน งานไม่เสรจ็ กาหนด บางสว่ น หรอื ไม่ ตามเวลาทกี่ าหนด ถูกต้อง และเน้อื หาไมถ่ กู ตอ้ ง เกณฑ์การประเมนิ ต้องได้ระดับคะแนน 2 ข้นึ ไปจงึ จะผา่ นเกณฑ์ (6คะแนน) 11-12 คะแนน อยใู่ นระดับดีมาก 9-10 คะแนน อยู่ในระดับดี 6-8 คะแนน อยใู่ นระดบั พอใช้ ตา่ กวา่ 6 คะแนน อยู่ในระดับควรปรบั ปรุง สรปุ การประเมนิ ลงชื่อ…………………………………………ผู้ประเมิน ผ่าน……………………. (นางสาวศิรวิ รรณ มุนินคา) ไมผ่ ่าน……………….. ………./………./……….

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 11 ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 - 3 กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ปีการศกึ ษา 2564 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 2 ชว่ั โมง หน่วยที่ 2 เร่อื ง ทักษะทางวทิ ยาศาสตร์ แผนการจดั การเรียนรู้ เร่อื ง ทกั ษะการคานวณ ผู้สอน นางสาว ศริ ิวรรณ มุนินคา 1. ผลการเรียนรู้ 4. ทดลองเกี่ยวกบั ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรด์ ้านความสามารถในการใชเ้ คร่อื งมอื วดั ได้ อยา่ งถกู ตอ้ ง 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. นกั เรียนมีความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ทักษะการคานวณ (K) 2. นกั เรยี นสามารถคานวณเกีย่ วกับน้าหนกั และสว่ นสงู ได้ (P) 3. นักเรียนเปน็ ผทู้ ่ีมีวนิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ และมงุ่ ม่ันในการทางาน (A) 3. สาระการเรียนรู้ 1. ทกั ษะการคานวณ 4. ทกั ษะการเรียนรู้ 1. ทกั ษะวทิ ยาศาสตร์ - การสังเกต - การอภิปรายและลงขอ้ สรุป 5. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ - มีวนิ ยั - ใฝ่เรียนรู้ - มงุ่ ม่ันในการทางาน 6.สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน/สมรรถนะของศตวรรษท่ี 21 - ความสามารถในการสอื่ สาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแกป้ ัญหา

7. สาระสาคัญ ทักษะการคานวณ (Using numbers) หมายถึง การนับจานวนของวัตถุ และการนาตัวเลขที่ไดจ้ าก นับ และตัวเลขจากการวัดมาคานวณดว้ ยสูตรคณติ ศาสตร์ เชน่ การบวก การลบ การคณู การหาร เปน็ ตน้ 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขั้นที่ 1 ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) ครนู าเข้าสูบ่ ทเรียน โดยใช้คาถามถามนักเรียน ดงั น้ี 1. นกั เรยี นรูห้ รือไม่ว่าทกั ษะการคานวณ คืออะไร (แนวการตอบ: การนับจานวนของวัตถุ และการนาตัวเลขที่ได้จากนับ และตัวเลขจากการวัดมา คานวณด้วยสูตรคณติ ศาสตร)์ 2. ครูแจง้ ให้นกั เรียนฟงั วา่ ในคาบนีจ้ ะไดเ้ รียนเกย่ี วกับทักษะการคานวณ ขัน้ ที่ 2 ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาเกี่ยวกับทักษะการคานวณจากอินเทอร์เน็ตหรือห้องสมุด โรงเรียน 2. หลังจากท่ีนักเรยี นแต่ละกล่มุ ศึกษาเกี่ยวกับทักษะการคานวณเสร็จ ครูอธิบายวิธีการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ทกั ษะการคานวณ 3. นักเรียนแต่ละกล่มุ รว่ มกนั ปฏิบตั ิกจิ กรรมทักษะการคานวณ เม่ือปฏบิ ัตกิ ิจกรรมแล้วใหน้ ักเรยี นบันทกึ ลงในใบงาน เรื่อง ทกั ษะการคานวณทีค่ รแู จกให้ ขั้นท่ี 3 ขนั้ อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) ครแู ละนกั เรียนร่วมกันอภปิ รายและสรา้ งขอ้ สรุป โดยใช้คาถาม ดงั นี้ 1. ในกล่มุ นกั เรียนใครมีนา้ หนักมากทีส่ ดุ และมีน้าหนักเทา่ ไหร่ (แนวการตอบ: ตามการช่งั นา้ หนกั ของนกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ) 2. ในกลุ่มนกั เรียนใครมนี ้าหนกั นอ้ ยทส่ี ดุ และมนี า้ หนักเทา่ ไหร่ (แนวการตอบ: ตามการชั่งนา้ หนักของนกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ) 3. คนทม่ี นี ้าหนักมากที่สดุ มนี ้าหนักมากกวา่ คนท่ีน้าหนกั นอ้ ยทีส่ ดุ เท่าไร (แนวการตอบ: ตามความคิดของนกั เรยี น) 4. สว่ นสงู เฉลย่ี ของนักเรียนในกลมุ่ ทั้งหมดเทา่ ไร (แนวการตอบ: ตามความคดิ ของนกั เรียน) 5. นา้ หนกั เฉลีย่ ของนกั เรียนในกลุ่มท้งั หมดเทา่ ไร (แนวการตอบ: ตามความคดิ ของนักเรยี น)

6. หลงั จากทนี่ กั เรียนได้ปฏบิ ัติกิจกรรมทักษะการคานวณแลว้ นักเรยี นสามารถสรปุ ทกั ษะการคานวณได้ ว่าอยา่ งไร (แนวการตอบ: การนับจานวนของวัตถุ และการนาตัวเลขท่ีได้จากนับ และตัวเลขจากการวัดมา คานวณดว้ ยสูตรคณิตศาสตร์) 7. คา่ ท่ไี ด้จากการคานวณสามารถนาไปทาอะไร (แนวการตอบ: นาไปใชใ้ นการสรุปผลการทดลอง การอธิบาย และตรวจสอบสมมตฐิ าน) ขน้ั ที่ 4 ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration) ครูให้ความรูเ้ พิ่มเติมเกย่ี วกบั พฤตกิ รรมท่ีแสดงวา่ เกิดทกั ษะการคานวณ ดงั น้ี 1. คานวณไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง รวดเร็ว 1.1 บอกวธิ คี านวณได้ 1.2 คิดคานวณได้ถูกต้อง 1.3 แสดงวธิ คี ดิ คานวณได้ 2. หาคา่ เฉลี่ยได้ 2.1 บอกวิธกี ารหาคา่ เฉลี่ยได้ 2.2 หาค่าเฉลย่ี ได้ 2.3 แสดงวิธหี าค่าเฉลย่ี ได้ 3. นบั และใชต้ วั เลขแสดงจานวนสิง่ ของที่นับได้ถกู ต้อง 3.1 นบั จานวนส่งิ ของได้ถูกต้อง 3.2 ใชต้ ัวเลขแสดงจานวนทนี่ ับได้ 3.3 ตัดสนิ วา่ ของในกลมุ่ ใดมีจานวนเท่ากนั หรอื ต่างกนั 4. ระบุหน่วยที่ใช้หลงั จากคานวณได้อย่างถกู ตอ้ ง ข้นั ที่ 5 ขนั้ ประเมนิ ผล (Evaluation) 11. ครใู ห้นกั เรียนสรปุ ความคดิ รวบยอด เร่อื ง ทักษะการคานวณ 12. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันอภปิ รายเกย่ี วกับ “ทักษะการคานวณ” 13. นักเรยี นแตล่ ะคนพิจารณาวา่ มจี ุดใดบ้างทย่ี งั ไมเ่ ข้าใจหรือยงั มีขอ้ สงสัย ถา้ มคี รูช่วยอธบิ ายเพิ่มเตมิ ให้ นกั เรยี นเข้าใจ 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 ส่ือ - สื่อการสอน Power Point เรื่อง ทกั ษะการคานวณ - ใบงาน เร่ือง ทักษะการคานวณ

- สรุปความคิดรวบยอดเรอ่ื ง ทักษะการคานวณ - แบบประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 9.2 แหล่งการเรียนรู้ - หอ้ งเรียนวทิ ยาศาสตร์ - ห้องสมุดโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 10. การวัดและการประเมินผล 10.1 การวดั ผล จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วธิ ีการวัด เครอื่ งมอื 1. ดา้ นความรู้ (K) - นักเรียนสรุปความคิด - สรปุ ความคิดรวบยอด - นกั เรยี นมคี วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั ทกั ษะการ รวบยอด เรื่อง ทักษะการ เรอ่ื ง ทกั ษะการคานวณ คานวณ คานวณ 2. ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) - นกั เรยี นทาใบงาน เรอ่ื ง - ใบงาน เร่ือง ทักษะการ - นกั เรียนสามารถคานวณเกย่ี วกบั น้าหนัก ทักษะการคานวณ คานวณ และสว่ นสงู ได้ 3. ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) - ครูประเมินคุณลักษณะ - แบบประเมนิ - นักเรียนเป็นผู้ที่มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และ อันพงึ ประสงค์ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ มุ่งมัน่ ในการทางาน ประสงค์ 10.2 เกณฑ์การประเมนิ ผล ระดบั คุณภาพ 10.2.1 ดา้ นความรู้ (K) (4) (3) (2) (1) - นักเรียนมีความเข้าใจเก่ยี วกบั ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง ทกั ษะการคานวณ นกั เรียนได้ นักเรยี นได้ นักเรยี นได้ นักเรยี นได้ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ สรปุ ความคดิ สรปุ ความคดิ สรปุ ความคดิ สรปุ ความคดิ รวบ รวบยอด 9-10 รวบยอด 7-8 รวบยอด 5-6 ยอดตา่ กว่า 5 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

ระดบั คุณภาพ 10.2.2 ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) (4) (3) (2) (1) ดีมาก ปรับปรุง - นักเรยี นสามารถคานวณ นกั เรียนได้ ดี พอใช้ นักเรยี นได้ เก่ยี วกบั น้าหนักและสว่ นสงู ได้ คะแนนจาก คะแนนจากการ การทาใบงาน นกั เรยี นได้ นกั เรยี นได้ ทาใบงานตา่ กวา่ 14-16 คะแนน 8 คะแนน คะแนนจากการ คะแนนจากการ ทาใบงาน11-13 ทาใบงาน คะแนน 8-10 คะแนน 10.2.3 คณุ ลกั ษณะ (A) ระดบั คุณภาพ - นักเรียนเป็นผทู้ ่ีมีวินยั ใฝ่เรยี นรู้ (4) (3) (2) (1) และมงุ่ ม่ันในการทางาน ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง นักเรียนได้ นกั เรียนได้ นกั เรียนได้ นักเรยี นได้ คะแนนจากการ คะแนนจาก คะแนนจาก คะแนนจากการ ประเมิน การประเมิน การประเมนิ ประเมิน คุณลักษณะ คุณลักษณะ คณุ ลกั ษณะ คณุ ลกั ษณะอนั อนั พึงประสงค์ อันพึงประสงค์ อันพึงประสงค์ พึงประสงค์ตา่ 11-12 คะแนน 9-10 คะแนน 6-8 คะแนน กว่า 6 คะแนน

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ ท่ี ชือ่ - สกลุ มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มั่นในการ รวม ทางาน 432143214321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ประเดน็ การ (4) ระดบั การปฏิบตั ิ (1) ประเมนิ ดีมาก (3) (2) ปรบั ปรุง ดี พอใช้ 1. มีวนิ ยั ส่งงานครบทกุ ช้ิน ส่งงานครบทกุ ชิ้น สง่ งานช้าเปน็ บางคร้ัง สง่ งานช้าเปน็ ประจา ก่อนเวลาท่กี าหนด ตามเวลาทกี่ าหนด หรือไมส่ ง่ งานเลย ทุกครั้ง 2. ใฝเ่ รยี นรู้ ตงั้ ใจเรียน มคี วาม ต้งั ใจเรยี น มคี วาม ต้ังใจเรยี น แต่ขาด ไมค่ ่อยตัง้ ใจเรียน พยายามในการ พยายามในการเรยี นรู้ ความพยายาม ขาดความพยายาม ค้นคว้าหาความรู้จาก ในห้องเรยี น ซักถาม ซักถามคาตอบ ไม่มกี ารซักถามเพ่อื แหล่งเรยี นรตู้ า่ งๆ บอ่ ยครง้ั บางครง้ั หาคาตอบ ซักถามเพอ่ื คาตอบ ทกุ ครั้ง 3. มุง่ มน่ั ในการ มีความกระตือรือรน้ มีความกระตือรอื ร้น มีความกระตือรือร้น ขาดความ ทางาน ทางานสาเรจ็ ถูกต้อง ทางานสาเรจ็ ถูกตอ้ ง ทางานสาเรจ็ แต่ กระตือรือร้นตอ่ การ ตามเวลาทกี่ าหนด แต่ชา้ เกินเวลาท่ี เนอื้ หาไมถ่ ูกต้อง ทางาน งานไม่เสรจ็ กาหนด บางสว่ น หรอื ไม่ ตามเวลาทกี่ าหนด ถูกต้อง และเน้อื หาไมถ่ กู ตอ้ ง เกณฑ์การประเมนิ ต้องได้ระดับคะแนน 2 ข้นึ ไปจงึ จะผา่ นเกณฑ์ (6คะแนน) 11-12 คะแนน อยใู่ นระดับดีมาก 9-10 คะแนน อยู่ในระดับดี 6-8 คะแนน อยใู่ นระดบั พอใช้ ตา่ กวา่ 6 คะแนน อยู่ในระดับควรปรบั ปรุง สรปุ การประเมนิ ลงชื่อ…………………………………………ผู้ประเมิน ผ่าน……………………. (นางสาวศิรวิ รรณ มุนินคา) ไมผ่ ่าน……………….. ………./………./……….

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 12 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 หน่วยที่ 2 เร่อื ง ทกั ษะทางวิทยาศาสตร์ เวลา 2 ชว่ั โมง แผนการจัดการเรียนรู้ เรอ่ื ง ทักษะความสัมพันธร์ ะหวา่ งสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา ผูส้ อน นางสาว ศริ วิ รรณ มุนินคา 1. ผลการเรยี นรู้ 5. ทดลองเกีย่ วกับทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรด์ า้ นการระบคุ วามสมั พันธ์ระหวา่ งสเปส กับสเปสและสเปสกบั เวลาได้อยา่ งถกู ตอ้ ง 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. นกั เรียนมคี วามเขา้ ใจเก่ียวกบั ทกั ษะความสัมพนั ธร์ ะหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกบั เวลา (K) 2. นักเรยี นสามารถปฏบิ ัตกิ จิ กรรม โดยใช้ทกั ษะความสัมพนั ธร์ ะหว่างสเปสกบั สเปสและสเปสกบั เวลา (P) 3. นักเรียนเปน็ ผู้ท่ีมวี ินยั ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งม่นั ในการทางาน (A) 3. สาระการเรียนรู้ 1. ทกั ษะความสัมพันธร์ ะหวา่ งสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา 4. ทกั ษะการเรียนรู้ 1. ทักษะวทิ ยาศาสตร์ - การสงั เกต - การอภปิ รายและลงข้อสรุป 5. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ - มีวนิ ัย - ใฝเ่ รียนรู้ - มุง่ ม่นั ในการทางาน 6. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน/สมรรถนะของศตวรรษที่ 21 - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแก้ปัญหา

7. สาระสาคัญ ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสของวัตถุ ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่าง 3 มิติ กับ 2 มิติ ความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่งที่อยู่ของวัตถุหน่ึงกับวัตถุหน่ึง ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสของวัตถุกับ เวลา ได้แก่ ความสัมพันธ์ของการเปลีย่ นแปลงตาแหน่งของวัตถุกับช่วงเวลา หรือความสัมพันธ์ของสเปสของ วัตถุทีเ่ ปล่ยี นไปกับชว่ งเวลา 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ข้ันที่ 1 ขน้ั สรา้ งความสนใจ (Engagement) ครูนาเขา้ ส่บู ทเรียน โดยการทบทวนความร้ทู ่ีนกั เรียนไดเ้ รียนในคาบทผ่ี ่านมา ดังนี้ 1. ทักษะการคานวณ คืออะไร (แนวการตอบ: การนับจานวนของวัตถุ การนาตัวเลขท่ีได้จากนับ และตัวเลขจากการวัดมาคานวณ ด้วยสตู รคณิตศาสตร์) 2. พฤติกรรมที่แสดงว่าเกดิ ทกั ษะการคานวณมอี ะไรบา้ ง (แนวการตอบ: การคานวณไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง หาคา่ เฉลี่ยได้ นับและใช้ตัวเลขแสดงจานวนส่ิงของทีน่ บั ได้ ถูกตอ้ ง และระบุหน่วยที่ใชห้ ลงั จากคานวณได้อย่างถกู ต้อง) 3. ครูแจ้งใหน้ ักเรยี นฟงั วา่ ในคาบน้ีนกั เรยี นจะไดเ้ รียน เร่ือง ทักษะความสัมพนั ธร์ ะหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกบั เวลา ขัน้ ที่ 2 ข้ันสารวจและค้นหา (Exploration) 1. ครูใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันศึกษาเกีย่ วกับทกั ษะความสมั พันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกบั เวลาจากหอ้ งสมุดโรงเรียนหรืออนิ เทอรเ์ น็ต 2. หลงั จากทน่ี กั เรียนศกึ ษาทักษะความสมั พันธร์ ะหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลาเสร็จ ครูอธิบาย วิธีการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมการหาความสมั พันธร์ ะหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา 3. นกั เรยี นแต่ละกลุม่ ร่วมกนั ปฏบิ ัติกิจกรรม เม่อื ปฏิบตั ิกิจกรรมเสรจ็ ตัวแทนกลมุ่ ออกมานาเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น ขนั้ ที่ 3 ข้ันอธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) ครแู ละนักเรียนร่วมกันอภปิ รายและสรา้ งขอ้ สรุปโดยใช้คาถาม ดังน้ี 1. วัยใดทรี่ ่างกายมีรปู ร่างขนาดใหญ่ที่สดุ (แนวการตอบ: วยั ผใู้ หญ)่

2. วยั ใดที่รา่ งกายมรี ปู รา่ งขนาดเล็กที่สดุ (แนวการตอบ: วยั ทารก) 3. เพราะเหตุใดวยั ทารกจงึ ตอ้ งการอาหารประเภทโปรตนี มากที่สุด (แนวการตอบ: เด็กทารกต้องการโปรตีนมาก เพ่ือใช้สร้างเน้ือเยื่อต่างๆ ของร่างกายที่เจริญเติบโต อยา่ งรวดเรว็ ) ขั้นท่ี 4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) ครใู ห้ความร้เู พิ่มเติมเก่ยี วกับทกั ษะความสมั พันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกบั เวลา ดงั นี้ สเปส หมายถึง ท่ีว่างหรืออวกาศ สเปสของวัตถุ หมายถึง ทางท่ีวัตถุน้ันครองที่หรือกินอยู่ และมี รูปร่างลักษณะเช่นเดียวกับวัตถุน้ัน โดยทั่วไปแล้วสเปสของวัตถุจะมี 3 มิติ คือ ความกว้าง ความยาว และ ความสูง (หรือความหนา) ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสของวัตถุ ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างมติ ิ 3 มิติ กับ 2 มิติ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตาแหน่งทอ่ี ยขู่ องวัตถหุ นึ่งกับอีกวัตถุหน่งึ ความสัมพนั ธ์ระหว่างสเปสของวัตถุ กับเวลา ได้แก่ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างการเปลี่ยนแปลงตาแหนง่ ทอ่ี ยขู่ องวัตถุกบั เวลา หรือความสัมพันธ์ระหว่าง การเปลย่ี นขนาดหรอื ปริมาณของวัตถุกับเวลา อาจกล่าวโดยภาพรวมได้วา่ การใชค้ วามสมั พันธ์เกยี่ วกับสเปส หมายถึง ความสามารถในการระบุความสมั พันธ์ระหวา่ งสิ่งต่อไปนี้ คือ 1. ความสมั พันธร์ ะหว่าง 2 มิตกิ บั 3 มิต 2. ส่ิงทอ่ี ยหู่ นา้ กระจกเงากบั ภาพทป่ี รากฏในกระจกเงาว่าจะเปน็ ซ้ายขวาของกนั และกันอย่างไร 3. ตาแหนง่ ทีอ่ ยู่ของวตั ถุหนงึ่ กับอีกวตั ถุหน่งึ 4. การเปลย่ี นแปลงตาแหนง่ ทอ่ี ย่ขู องวัตถุกบั เวลาหรือสเปสของวัตถทุ ่เี ปล่ียนไปกบั เวลา ข้ันที่ 5 ขนั้ ประเมนิ ผล (Evaluation) 1. ครูให้นักเรียนสรุปความคิดรวบยอด เร่ือง การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกบั สเปสและสเปสกบั เวลา 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับ “ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกบั เวลา” 3. นักเรียนแต่ละคนพิจารณาวา่ มจี ุดใดบา้ งทย่ี ังไม่เข้าใจหรือยังมขี อ้ สงสัย ถา้ มีครชู ่วยอธบิ ายเพ่มิ เติมให้ นกั เรียนเขา้ ใจ 9. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 9.1 ส่อื - ส่อื การสอน Power Point เร่อื ง ทกั ษะความสมั พันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา - กจิ กรรมการหาความสมั พันธร์ ะหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา - การสรุปความคิดรวบยอด เรอ่ื ง การหาความสัมพันธร์ ะหว่างสเปสกบั สเปสและสเปสกับเวลา - แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

9.2 แหล่งการเรียนรู้ - หอ้ งเรยี นวิทยาศาสตร์ - ห้องสมุดโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 10. การวัดและการประเมินผล 10.1 การวดั ผล จุดประสงค์การเรยี นรู้ วิธีการวดั เคร่อื งมอื 1. ด้านความรู้ (K) - นกั เรยี นสรปุ ความคดิ - สรุปความคิดรวบยอด - นักเรยี นมีความเข้าใจเกีย่ วกับทักษะ รวบยอด เรอ่ื ง การหา เรื่อง การหาความสมั พนั ธ์ ความสมั พันธ์ระหวา่ งสเปสกบั สเปส ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกบั เวลา สเปสกบั สเปสและสเปส และสเปสกบั เวลา กับเวลา 2. ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) - นักเรยี นทากจิ กรรม - กิจกรรมการหา - นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้ การหาความสมั พนั ธ์ ความสัมพันธ์ระหวา่ ง ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส ระหว่างสเปสกับสเปส สเปสกบั สเปสและสเปส และสเปสกับเวลา และสเปสกบั เวลา กับเวลา 3. ดา้ นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A) - ครูประเมินคุณลักษณะ - แบบประเมนิ - นักเรียนเป็นผู้ท่ีมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และ อนั พงึ ประสงค์ คุณลกั ษณะอันพึง มุ่งมนั่ ในการทางาน ประสงค์ 10.2 เกณฑ์การประเมนิ ผล ระดบั คุณภาพ 10.2.1 ดา้ นความรู้ (K) (4) (3) (2) (1) - นกั เรียนมคี วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ ทักษะความสัมพนั ธ์ระหว่างสเปส กับสเปสและสเปสกับเวลา นักเรยี นได้ นักเรยี นได้ นกั เรยี นได้ นักเรียนได้ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ สรปุ ความคิด สรปุ ความคิด สรปุ ความคิด สรปุ ความคดิ รวบ รวบยอด 9-10 รวบยอด 7-8 รวบยอด 5-6 ยอดต่ากว่า 5 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

10.2.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P) (4) ระดบั คุณภาพ (1) ดมี าก (3) (2) ปรับปรงุ - นกั เรยี นสามารถปฏบิ ัตกิ ิจกรรม นักเรียนได้ ดี พอใช้ นักเรยี นได้ โดยใช้ทกั ษะความสมั พันธ์ระหว่าง คะแนนจาก นกั เรยี นได้ นักเรยี นได้ คะแนนจากการ สเปสกบั สเปสและสเปสกบั เวลา การทากจิ กรรม คะแนนจากการ คะแนนจากการ ทากจิ กรรมตา่ 14-16 คะแนน ทากจิ กรรม ทากิจกรรม กวา่ 8 คะแนน 11-13 คะแนน 8-10 คะแนน 10.2.3 คุณลกั ษณะ (A) ระดบั คุณภาพ - นักเรียนเป็นผทู้ ่ีมีวินัย ใฝเ่ รยี นรู้ (4) (3) (2) (1) และมงุ่ มน่ั ในการทางาน ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง นักเรยี นได้ นักเรียนได้ นกั เรยี นได้ นักเรยี นได้ คะแนนจากการ คะแนนจาก คะแนนจาก คะแนนจากการ ประเมิน การประเมิน การประเมนิ ประเมนิ คุณลักษณะ คุณลักษณะ คณุ ลักษณะ คณุ ลักษณะอนั อันพึงประสงค์ อันพงึ ประสงค์ อันพึงประสงค์ พึงประสงค์ตา่ 11-12 คะแนน 9-10 คะแนน 6-8 คะแนน กวา่ 6 คะแนน

กจิ กรรม ทกั ษะความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสเปสกบั สเปสและสเปสกบั เวลา สมาชิกกลมุ่ 1. ชอ่ื ................................................................................................................เลขท.่ี .......................... 2. ชอ่ื ................................................................................................................เลขที่........................... 3. ช่ือ................................................................................................................เลขท่.ี .......................... 4. ชอ่ื ................................................................................................................เลขท่.ี .......................... 5. ช่อื ................................................................................................................เลขท.ี่ .......................... 6. ช่อื ................................................................................................................เลขท่ี........................... คาชแ้ี จง: ใหน้ ักเรยี นวาดภาพการเจรญิ เติบโตของมนุษย์จากวัยทารก วัยเดก็ วยั ผู้ใหญ่ และวัยชรา คาถาม 1. วยั ใดทร่ี า่ งกายมีรปู รา่ งขนาดใหญท่ ่สี ดุ ............................................................................................................. 2. วัยใดที่ร่างกายมีรปู ร่างขนาดเล็กทส่ี ดุ .............................................................................................................. 3. เพราะเหตใุ ดวัยทารกจงึ ตอ้ งการอาหารประเภทโปรตีนมากทสี่ ุด.................................................................... ........................................................................................................................................................................

ใบงาน เรือ่ ง ทกั ษะการคานวณ คาชแ้ี จง: ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ชั่งน้าหนัก วดั ส่วนสงู ของตัวเองแล้วบันทึกผลลงในใบงาน พรอ้ มกบั เปรยี บเทียบขอ้ มลู ตารางบนั ทกึ นา้ หนักและส่วนสงู ชือ่ -สกุล ระดบั เกณฑ์ นา้ หนัก ส่วนสูง อว้ น ผอม ปกติ 1. 2. 3. 4. 5. 6. นา้ หนักเทยี บกบั เกณฑม์ าตรฐาน คาถาม 1. ในกลุม่ นักเรยี นใครมนี า้ หนกั มากท่ีสุด และมีนา้ หนกั เท่าไหร.่ ..................................................................... .................................................................................................................................................................... 2. ในกลุ่มนักเรยี นใครมีนา้ หนักนอ้ ยทสี่ ุด และมีน้าหนกั เท่าไหร.่ .................................................................... ................................................................................................................................................................... 3. คนทม่ี นี ้าหนักมากทส่ี ุด มนี ้าหนักมากกว่าคนท่นี า้ หนกั น้อยทสี่ ุดเท่าไร...................................................... 4. สว่ นสงู เฉล่ยี ของนักเรยี นในกลุ่มทงั้ หมดเท่าไร............................................................................................ 5. นา้ หนักเฉล่ยี ของนกั เรยี นในกลมุ่ ทง้ั หมดเท่าไร........................................................................................... 6. นักเรยี นคิดว่าตนเองมีการเจรญิ เตบิ โตหรอื ไม่ ดจู ากอะไร..........................................................................

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ ท่ี ชือ่ - สกลุ มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มั่นในการ รวม ทางาน 432143214321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ประเดน็ การ (4) ระดบั การปฏิบตั ิ (1) ประเมนิ ดีมาก (3) (2) ปรบั ปรุง ดี พอใช้ 1. มีวนิ ยั ส่งงานครบทกุ ช้ิน ส่งงานครบทกุ ชิ้น สง่ งานช้าเปน็ บางคร้ัง สง่ งานช้าเปน็ ประจา ก่อนเวลาท่กี าหนด ตามเวลาทกี่ าหนด หรือไมส่ ง่ งานเลย ทุกครั้ง 2. ใฝเ่ รยี นรู้ ตงั้ ใจเรียน มคี วาม ต้งั ใจเรยี น มคี วาม ต้ังใจเรยี น แต่ขาด ไมค่ ่อยตัง้ ใจเรียน พยายามในการ พยายามในการเรยี นรู้ ความพยายาม ขาดความพยายาม ค้นคว้าหาความรู้จาก ในห้องเรยี น ซักถาม ซักถามคาตอบ ไม่มกี ารซักถามเพ่อื แหล่งเรยี นรตู้ า่ งๆ บอ่ ยครง้ั บางครง้ั หาคาตอบ ซักถามเพอ่ื คาตอบ ทกุ ครั้ง 3. มุง่ มน่ั ในการ มีความกระตือรือรน้ มีความกระตือรอื ร้น มีความกระตือรือร้น ขาดความ ทางาน ทางานสาเรจ็ ถูกต้อง ทางานสาเรจ็ ถูกตอ้ ง ทางานสาเรจ็ แต่ กระตือรือร้นตอ่ การ ตามเวลาทกี่ าหนด แต่ชา้ เกินเวลาท่ี เนอื้ หาไมถ่ ูกต้อง ทางาน งานไม่เสรจ็ กาหนด บางสว่ น หรอื ไม่ ตามเวลาทกี่ าหนด ถูกต้อง และเน้อื หาไมถ่ กู ตอ้ ง เกณฑ์การประเมนิ ต้องได้ระดับคะแนน 2 ข้นึ ไปจงึ จะผา่ นเกณฑ์ (6คะแนน) 11-12 คะแนน อยใู่ นระดับดีมาก 9-10 คะแนน อยู่ในระดับดี 6-8 คะแนน อยใู่ นระดบั พอใช้ ตา่ กวา่ 6 คะแนน อยู่ในระดับควรปรบั ปรุง สรปุ การประเมนิ ลงชื่อ…………………………………………ผู้ประเมิน ผ่าน……………………. (นางสาวศิรวิ รรณ มุนินคา) ไมผ่ ่าน……………….. ………./………./……….

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 13 กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 – 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 หนว่ ยท่ี 2 เรอื่ ง ทกั ษะทางวิทยาศาสตร์ เวลา 2 ชวั่ โมง แผนการจดั การเรยี นรู้ เรอื่ ง ทักษะความสมั พนั ธ์ระหว่างสเปสกบั สเปสและสเปสกบั เวลา ผู้สอน นางสาว ศริ วิ รรณ มนุ ินคา 1. ผลการเรียนรู้ 5. ทดลองเกี่ยวกบั ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ดา้ นการระบุความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสเปส กับสเปสและสเปสกบั เวลาไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. นกั เรยี นสามารถอธิบายเกี่ยวกบั ทักษะความสัมพันธร์ ะหวา่ งสเปสกบั สเปสและสเปสกบั เวลา (K) 2. นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง โดยใช้ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา (P) 3. นกั เรียนเปน็ ผู้ทมี่ ีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และม่งุ ม่ันในการทางาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ 1. ทกั ษะความสัมพันธ์ระหวา่ งสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา 4. ทกั ษะการเรยี นรู้ 1. ทักษะวทิ ยาศาสตร์ - การสังเกต - การตัง้ สมมติฐานและการกาหนดตัวแปร - การทดลอง - การอภิปรายและลงขอ้ สรปุ 5. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - มวี นิ ยั - ใฝเ่ รยี นรู้ - มุง่ ม่นั ในการทางาน

6.สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน/สมรรถนะของศตวรรษที่ 21 - ความสามารถในการส่ือสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแกป้ ญั หา 7. สาระสาคญั ทักษะการหาความสัมพนั ธ์ระหว่างสเปสกับสเปสของวัตถุ ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่าง 3 มิติ กับ 2 มิติ ความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่งท่ีอยู่ของวัตถุหน่ึงกับวัตถุหน่ึง ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสของวัตถุกับ เวลา ได้แก่ ความสัมพนั ธ์ของการเปลยี่ นแปลงตาแหน่งของวัตถุกับช่วงเวลา หรือความสมั พนั ธข์ องสเปสของ วตั ถทุ ีเ่ ปลยี่ นไปกบั ชว่ งเวลา 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั ท่ี 1 ขัน้ สรา้ งความสนใจ (Engagement) ครนู าเข้าส่บู ทเรียน โดยการทบทวนความรู้ทนี่ กั เรียนไดเ้ รียนในคาบทผ่ี า่ นมา ดงั นี้ 1. ทักษะความสัมพันธ์ระหวา่ งสเปสกบั สเปสและสเปสกับเวลาคอื อะไร (แนวการตอบ: ความชานาญในการสังเกตรูปร่างของวตั ถุ โดยเปรยี บเทียบกับตาแหน่งของผสู้ ังเกตกบั การมองในทิศทางตา่ งๆ กัน โดยการเคลอ่ื นที่ การผ่า การหมนุ การตดั วตั ถุ และบอกผลทเ่ี กิดข้ึนจาก การเปลยี่ นแปลงได้ เพอ่ื บอกความสัมพนั ธข์ องมิตแิ ละภาวะการณ์น้นั ) 2. ครูแจ้งใหน้ ักเรยี นฟังว่า ในคาบนี้นักเรยี นจะได้ปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง เร่ือง ทักษะความสมั พันธ์ ระหวา่ งสเปสกบั สเปสและสเปสกับเวลา ขัน้ ท่ี 2 ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) 1. ครูใช้คาถามทดสอบความเข้าใจของนักเรียนเก่ียวกับทักษะความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา 2. จากนั้นครอู ธิบายวธิ กี ารปฏิบตั ิกิจกรรมการทดลอง เรื่อง ทักษะความสมั พนั ธร์ ะหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกบั เวลา 3. นกั เรยี นแต่ละกล่มุ รว่ มกันปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการทดลอง และตวั แทนกลุ่มออกมานาเสนอผลการทดลอง หนา้ ชน้ั เรยี น

ข้นั ที่ 3 ขั้นอธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation) ครแู ละนักเรียนร่วมกนั อภปิ รายและสรา้ งขอ้ สรุป โดยใชค้ าถาม ดังน้ี 1. รูป ก. มรี ปู รา่ งและลักษณะอยา่ งไร (แนวการตอบ: รูปลกู บาศก์ มีระนาบสมมาตร 9 ระนาบ) 2. รปู ข. มีรปู ร่างและลกั ษณะอยา่ งไร (แนวการตอบ: รูปกล่อง มีระนาบสมมาตร 3 ระนาบ) 3. รปู ค. มีรูปรา่ งและลักษณะอย่างไร (แนวการตอบ: รปู ทรงกระบอก มรี ะนาบสมมาตรตัดผ่านจุดศูนย์กลางของวงกลมได้จานวนมาก และ มีอกี หนึ่งระนาบอยใู่ นแนวกง่ึ กลางความสงู ของทรงกระบอก) 4. รูป ง. มรี ปู ร่างและลักษณะอยา่ งไร (แนวการตอบ: รูปปริซมึ ฐานสามเหลยี่ มดา้ นเท่า มีระนาบสมมาตร 4 ระนาบ) 5. รูป จ. มีรปู รา่ งและลักษณะอยา่ งไร (แนวการตอบ: รปู พีระมดิ ฐานสเ่ี หล่ียมจตั ุรัส มรี ะนาบสมมาตร 4 ระนาบ) 6. หลังจากท่ีนักเรียนได้ปฏิบัติการทดลองนักเรียนสามารถสรุปทักษะความสัมพันธ์ระหว่างสเปส กับสเปสและสเปสกบั เวลาได้วา่ อยา่ งไร (แนวการตอบ: สเปสของวัตถใุ ดๆ หมายถึง ทวี่ า่ งที่วัตถุน้นั ครองที่ ซ่งึ จะมีรูปร่างเหมอื นวัตถุนน้ั เช่น สเปสของแผ่นกระดาษรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าก็คือ เนื้อท่ีซ่ึงกระดาษแผ่นน้ีทับอยู่ ซ่ึงจะมีรูปร่างเป็น ส่ีเหลยี่ มผนื ผ้าเทา่ กับแผ่นทีท่ บั อยู่) ขนั้ ท่ี 4 ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration) ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา เป็นความชานาญในการสงั เกต รปู ร่างของวตั ถุ โดยเปรียบเทยี บกับตาแหน่งของผสู้ ังเกตกับการมองในทิศทางตา่ งๆ กนั โดยการเคลือ่ นที่ การ ผ่า การหมุน การตัดวัตถุ และบอกผลท่ีเกิดข้ึนจากการเปล่ียนแปลงได้ สังเกตการณ์เคลื่อนไหวขอวัตถุ โดย สามารถเหน็ และจดั กระทากับวัตถุ และเหตกุ ารณ์เก่ียวกับรูปรา่ ง เวลา ระยะทาง ความเรว็ ทิศทาง และการ เคล่ือนไหว เพื่อบอกความสัมพันธ์ของมิติและภาวะการณ์น้ัน หรือความสามารถในการหาความสัมพันธ์ ระหว่าง 3 มิติ กบั 2 มิติ ระหว่างตาแหน่งทอ่ี ยขู่ องวตั ถหุ นึ่งกับอีกวตั ถหุ นง่ึ ระหว่างสเปสของวตั ถกุ ับเวลา ซึ่ง ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างการเปล่ียนแปลงตาแหน่งที่อยู่ของวัตถุกับเวลาหรือระหว่างสเปสของวัตถุท่ี เปล่ียนไปกับเวลา

ข้ันที่ 5 ขัน้ ประเมนิ ผล (Evaluation) 1. ครใู ห้นกั เรยี นทาใบงาน เรอื่ ง การหาความสัมพนั ธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกบั เวลา 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับ “ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับ เวลา” 3. นกั เรยี นแต่ละคนพจิ ารณาวา่ มจี ดุ ใดบา้ งทย่ี ังไมเ่ ขา้ ใจหรอื ยังมีข้อสงสยั ถ้ามีครชู ว่ ยอธิบายเพ่มิ เติมให้ นกั เรยี นเข้าใจ 9. ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้ 9.1 สอ่ื - ส่อื การสอน Power Point เร่อื ง ทักษะความสัมพนั ธ์ระหว่างสเปสกบั สเปสและสเปสกบั เวลา - กิจกรรม ทักษะความสัมพนั ธ์ระหว่างสเปสกบั สเปสและสเปสกบั เวลา - ใบงาน เรื่อง การหาความสมั พนั ธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกบั เวลา - แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 9.2 แหลง่ การเรียนรู้ - ห้องเรยี นวิทยาศาสตร์ - หอ้ งสมุดโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 10. การวดั และการประเมนิ ผล 10.1 การวัดผล จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ วธิ ีการวดั เครอ่ื งมอื 1. ดา้ นความรู้ (K) - นักเรยี นทาใบงาน เร่อื ง - ใบงาน เรอ่ื ง การหา - นักเรียนสามารถอธบิ ายเก่ียวกับทกั ษะ การหาความสัมพันธ์ ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสเปสกบั สเปส ระหวา่ งสเปสกบั สเปส สเปสกบั สเปสและสเปส และสเปสกบั เวลา และสเปสกบั เวลา กบั เวลา 2. ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) - นกั เรียนทากจิ กรรม - กิจกรรม ทักษะ - นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมการ ทักษะความสมั พนั ธ์ ความสมั พนั ธ์ระหว่าง ทดลอง โดยใช้ทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง ระหวา่ งสเปสกบั สเปส สเปสกบั สเปสและสเปส สเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา และสเปสกบั เวลา กับเวลา 3. ดา้ นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A) - ครูประเมินคุณลักษณะ - แบบประเมิน - นักเรียนเป็นผู้ที่มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และ อนั พงึ ประสงค์ คณุ ลักษณะอันพึง มงุ่ มน่ั ในการทางาน ประสงค์

10.2 เกณฑ์การประเมินผล ระดบั คุณภาพ 11.2.1 ด้านความรู้ (K) (4) (3) (2) (1) ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ - นกั เรยี นสามารถอธบิ าย นักเรยี นได้ นักเรียนได้ นกั เรียนได้ นักเรียนได้ เกี่ยวกับทกั ษะความสมั พันธร์ ะหวา่ ง คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ สเปสกบั สเปสและสเปสกบั เวลา ทาใบงาน 9-10 ทาใบงาน 7-8 ทาใบงาน 5-6 ทาใบงานตา่ กวา่ คะแนน คะแนน คะแนน 5 คะแนน 10.2.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P) (4) ระดบั คุณภาพ (1) ดีมาก (3) (2) ปรับปรงุ - นกั เรียนสามารถปฏิบัตกิ จิ กรรม นกั เรยี นได้ ดี พอใช้ นักเรียนได้ การทดลอง โดยใช้ทักษะ คะแนนจาก นกั เรียนได้ นกั เรยี นได้ คะแนนจากการ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสเปสกบั สเปส การทากจิ กรรม คะแนนจากการ คะแนนจากการ ทากิจกรรมต่า และสเปสกบั เวลา 14-16 คะแนน ทากจิ กรรม11- ทากิจกรรม กวา่ 8 คะแนน 13 คะแนน 8-10 คะแนน 10.2.3 คณุ ลกั ษณะ (A) ระดบั คุณภาพ - นักเรยี นเป็นผทู้ ม่ี ีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ (4) (3) (2) (1) และม่งุ มัน่ ในการทางาน ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง นกั เรยี นได้ นกั เรียนได้ นกั เรียนได้ นักเรยี นได้ คะแนนจาก คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจาก การประเมนิ ประเมนิ ประเมิน การประเมิน คณุ ลักษณะ คุณลกั ษณะ คณุ ลกั ษณะ คณุ ลกั ษณะอัน อนั พงึ ประสงค์ อนั พงึ ประสงค์ อนั พงึ ประสงค์ พึงประสงค์ตา่ 11-12 คะแนน 9-10 คะแนน 6-8 คะแนน กว่า 6 คะแนน