Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้

Published by ศิริวรรณ มุนินคํา, 2021-03-10 08:30:18

Description: แผนการจัดการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

3. การตง้ั เกณฑ์ในจาแนกประเภทจะตอ้ งคานงึ ถงึ อะไร (แนวการตอบ: วัตถปุ ระสงคใ์ นการจาแนกประเภท) ขั้นท่ี 4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) ครูใหค้ วามรู้เพ่ิมเตมิ เก่ยี วกับพฤตกิ รรมท่ีแสดงถงึ การมีทักษะการจาแนกประเภท ดงั น้ี 1. สามารถจาแนกหรือเรียบเรยี งลาดับวัตถุหรือเหตุการณ์ตามท่กี าหนดมาให้ได้ 2. สามารถบอกเกณฑ์ทีค่ นอนื่ ใชจ้ าแนกหรือเรียบเรยี งลาดับวัตถหุ รอื เหตกุ ารณท์ ี่กาหนดให้ 3. สามารถจาแนกหรือเรยี บเรียงลาดับวตั ถุหรอื เหตุการณ์ทตี่ นเองกาหนดข้นึ 4. สามารถเขียนแผนผังจาแนกประเภทได้ทุกกรณี ขน้ั ท่ี 5 ขั้นประเมนิ ผล (Evaluation) 8. ครใู ห้นกั เรยี นสรุปความคิดรวบยอด เร่ือง ทกั ษะการจาแนกประเภท 9. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเกยี่ วกบั “ทกั ษะการจาแนกประเภท” 10. นกั เรียนแตล่ ะคนพิจารณาว่า มีจดุ ใดบ้างที่ยังไมเ่ ข้าใจหรือยังมีข้อสงสยั ถ้ามีครูชว่ ยอธบิ ายเพ่ิมเติมให้ นักเรยี นเขา้ ใจ 9. ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้ 9.1 สอ่ื - สื่อการสอน Power Point เร่ือง ทักษะการจาแนกประเภท - รายงานผลการทดลอง เรือ่ ง การจาแนกประเภท - สรุปความคิดรวบยอด เรื่อง ทักษะการจาแนกประเภท - แบบประเมินทักษะในการปฏิบัติการทดลอง - แบบประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 9.2 แหลง่ การเรยี นรู้ - ห้องเรียนวทิ ยาศาสตร์ - ห้องสมดุ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 10. การวัดและการประเมนิ ผล 10.1 การวัดผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วธิ กี ารวดั เครอื่ งมือ 1. ดา้ นความรู้ (K) - นักเรียนสรุปความคิด - สรปุ ความคิดรวบยอด - นกั เรียนมีความเข้าใจเกีย่ วกับทกั ษะการ รวบยอด เร่ือง ทักษะการ เร่อื ง ทกั ษะการจาแนก จาแนกประเภท จาแนกประเภท ประเภท

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วิธกี ารวัด เครือ่ งมอื 2. ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) - ครูสงั เกตพฤติกรรมใน - แบบประเมนิ ทักษะใน - นักเรียนสามารถปฏิบัติการทดลอง โดย การปฏบิ ัตกิ ารทดลอง การปฏิบตั กิ ารทดลอง ใช้ทักษะการจาแนกประเภทไดอ้ ย่างถกู ต้อง ของนักเรียน 3. ด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) - ครูประเมินคุณลักษณะ - แบบประเมนิ - นักเรียนเป็นผู้ท่ีมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และ อนั พึงประสงค์ คณุ ลักษณะอนั พงึ ม่งุ มนั่ ในการทางาน ประสงค์ 10.2 เกณฑ์การประเมนิ ผล ระดบั คุณภาพ 10.2.1 ดา้ นความรู้ (K) (4) (3) (2) (1) - นักเรียนมคี วามเข้าใจเกี่ยวกับ ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ ทกั ษะการจาแนกประเภท นักเรยี นได้ นกั เรียนได้ นกั เรียนได้ นักเรยี นได้ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ สรุปความคิด สรุปความคดิ สรปุ ความคดิ สรปุ ความคดิ รวบ รวบยอด 9-10 รวบยอด 7-8 รวบยอด 5-6 ยอดตา่ กว่า 5 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน 10.2.2 ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) (4) ระดบั คุณภาพ (1) ดีมาก (3) (2) ปรบั ปรุง - นกั เรยี นสามารถปฏบิ ตั ิการ นักเรยี นได้ ดี พอใช้ นกั เรียนได้ ทดลอง โดยใชท้ ักษะการจาแนก คะแนนจาก นักเรยี นได้ นกั เรยี นได้ คะแนนจากการ ประเภทได้อย่างถกู ต้อง การประเมนิ คะแนนจากการ คะแนนจากการ ประเมินทักษะ ทกั ษะในการ ประเมนิ ทักษะ ประเมนิ ทักษะ ในการ ปฏบิ ตั ิการ ในการ ในการ ปฏบิ ตั กิ าร ทดลอง ปฏิบตั กิ าร ปฏบิ ตั กิ าร ทดลองต่ากวา่ 8 14-16 คะแนน ทดลอง 11-13 ทดลอง คะแนน คะแนน 8-10 คะแนน

11.2.3 คุณลกั ษณะ (A) ระดบั คุณภาพ - นักเรียนเป็นผทู้ ่มี วี ินยั ใฝ่เรียนรู้ (4) (3) (2) (1) และมงุ่ มัน่ ในการทางาน ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ นักเรียนได้ นักเรยี นได้ นกั เรยี นได้ นกั เรยี นได้ คะแนนจากการ คะแนนจาก คะแนนจาก คะแนนจากการ ประเมนิ การประเมนิ การประเมนิ ประเมนิ คุณลักษณะ คุณลักษณะ คุณลักษณะ คุณลักษณะอนั อนั พงึ ประสงค์ อันพึงประสงค์ อนั พึงประสงค์ พึงประสงค์ตา่ 11-12 คะแนน 9-10 คะแนน 6-8 คะแนน กว่า 6 คะแนน

บทปฏบิ ตั ิการ เรือ่ ง การจาแนกประเภท จดุ ประสงค์ของการทดลอง 1. นักเรียนสามารถปฏิบัตกิ ารทดลอง โดยใชท้ กั ษะการจาแนกประเภทไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง วัสด/ุ อุปกรณท์ ่ใี ชใ้ นการทดลอง - น้าตาลกลูโคส - แป้งผดั หนา้ - ผงชอล์ก - โซดาปง้ิ ขนม (NaHCO3) - แปง้ ข้าวโพด - นา้ ส้มสายชู - สรละลายไอโอดีน - นา้ กล่นั - ช้อนชา - ถว้ ยพลาสติก วธิ ีการทดลอง 1. นาถว้ ยพลาสตกิ มา 3 ใบ ใส่น้ากลัน่ 50 cm3 ลงในถว้ ยพลาสติกใบที่ 1 ใสน่ ้าส้มสายชู 50 cm3 ลงใน ถว้ ยพลาสติกใบที่ 2 และใสส่ ารละลายไอโอดีน 50 cm3 ลงในถว้ ยพลาสตกิ ใบที่ 3 2. ตกั นา้ ตาลกลูโคสประมาณครึ่งช้อนชาใส่ของในของเหลวท่ีบรรจอุ ยูใ่ นถ้วยพลาสติกตามขอ้ 1 คนให้ เขา้ กัน สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงและบนั ทึกผล 3. ทาการทดลองซา้ ตามข้อ 1 และขอ้ 2 โดยใช้แป้งผัดหน้า ผงชอล์ก ผงฟู โซดาป้งิ ขนม และแป้ง 4. ขา้ วโพดแทนนา้ ตาลกลูโคส

น้ากลนั่ 50 5. น้าสม้ สายชู 50 สารละลาย นา้ ตาลกลโู คสครึง่ ชอ้ นชา cm3 cm3 ไอโอดีน 50 cm3 ถ้วยพลาสตกิ ใบท่ี ถว้ ยพลาสติกใบที่ ถ้วยพลาสติกใบที่ ถว้ ยพลาสติกใบท่ี ถ้วยพลาสติกใบท่ี ถว้ ยพลาสตกิ ใบท่ี 1 2 3 1 2 3 ทาการทดลองซา้ โดยใชแ้ ปง้ ผัดหน้า คนให้เขา้ กนั สงั เกตการ ผงชอล์ก ผงฟู โซดาป้งิ ขนม และแป้ง เปล่ยี นแปลงและบนั ทกึ ผล ข้าวโพดแทนน้าตาลกลโู คส

รายงานผลการทดลอง เรื่อง การจาแนกประเภท วนั ที่ทาการทดลอง.....................................................................................................เวลา................................. สมาชกิ กลุ่ม 1. ชื่อ................................................................................................................เลขท.่ี .......................... 2. ชอ่ื ................................................................................................................เลขที่........................... 3. ช่อื ................................................................................................................เลขที่........................... 4. ชื่อ................................................................................................................เลขที่........................... 5. ช่อื ................................................................................................................เลขท่.ี .......................... 6. ชื่อ................................................................................................................เลขท.ี่ ..... ..................... จดุ ประสงค์ ............................................................................................................................. ............................................. .......................................................................................................................................................................... สมมติฐาน ............................................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................................. ............................................. ตัวแปรต้น .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................. ตัวแปรตาม ............................................................................................................................. ............................................. .......................................................................................................................................................................... ตวั แปรควบคุม ............................................................................................................................. ............................................. ..........................................................................................................................................................................

ตารางบันทกึ ผลการทดลอง สรุปผลการทดลอง ........................................................................................................................... ................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................... ........................................................................................... ............... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. อภปิ รายผลการทดลอง ............................................................................................................................................................... ............... ...................................................................................................................... ........................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................ ......................................................................................... ..... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ..............................................................................................................................................................................

แบบประเมนิ ทักษะในการปฏิบตั กิ ารทดลอง สมาชิกกลุ่ม 1. …………………………………………………………………………………………………………………… 2. …………………………………………………………………………………………………………………… 3. …………………………………………………………………………………………………………………… 4. …………………………………………………………………………………………………………………… 5. …………………………………………………………………………………………………………………… 6. …………………………………………………………………………………………………………………… คาชแี้ จง : ใหค้ รูผสู้ อนประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของผเู้ รียนในการปฏิบัตกิ ิจกรรมการทดลอง โดยใหร้ ะดบั คะแนนลงในตารางทตี่ รงกับพฤติกรรมของผู้เรยี นเป็นรายกลุม่ ลาดับ เกณฑ์การประเมินผล ระดบั คะแนน ท่ี 4321 1. วธิ ีดาเนนิ การทดลอง 2. การปฏบิ ตั ิการทดลอง 3. ความคล่องแคล่วในการทาการทดลอง 4. ความสามคั คีและการชว่ ยเหลือกันภายในกลมุ่ เกณฑ์การให้คะแนน 4 หมายถงึ ผ้เู รียนมีพฤติกรรมการแสดงออกดมี าก 3 หมายถึง ผูเ้ รยี นมีพฤติกรรมการแสดงดี 2 หมายถึง ผ้เู รยี นมีพฤติกรรมการแสดงออกพอใช้ 1 หมายถงึ ผู้เรยี นไม่มีพฤติกรรมการแสดงออกเลย ควรปรับปรงุ เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพต้องได้ระดับคะแนน 2 ขน้ึ ไปจึงจะผ่านเกณฑ์ (8 คะแนน) 14-16 คะแนน อยู่ในระดับดมี าก 11-13 คะแนน อยใู่ นระดบั ดี 8-10 คะแนน อยใู่ นระดับพอใช้ ตา่ กว่า 8 คะแนน อยู่ในระดับควรปรับปรุง สรปุ การประเมิน ลงชอื่ …………………………………………ผ้ปู ระเมนิ ผ่าน……………………. (นางสาวศริ วิ รรณ มนุ นิ คา) ไม่ผ่าน……………….. ………./………./………

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ท่ี ชือ่ - สกลุ มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มั่นในการ รวม ทางาน 432143214321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27

เกณฑก์ ารให้คะแนน ประเดน็ การ (4) ระดับการปฏิบตั ิ (1) ประเมนิ ดีมาก (3) (2) ปรับปรุง ดี พอใช้ 1. มีวนิ ัย สง่ งานครบทุกชิน้ สง่ งานครบทุกช้นิ ส่งงานช้าเปน็ บางครง้ั สง่ งานช้าเป็นประจา ก่อนเวลาท่ีกาหนด ตามเวลาทีก่ าหนด หรือไม่ส่งงานเลย ทุกครงั้ 2. ใฝ่เรยี นรู้ ต้งั ใจเรยี น มคี วาม ตั้งใจเรยี น มีความ ต้ังใจเรียน แต่ขาด ไมค่ ่อยต้งั ใจเรยี น พยายามในการ พยายามในการเรียนรู้ ความพยายาม ขาดความพยายาม คน้ ควา้ หาความรู้จาก ในห้องเรยี น ซักถาม ซกั ถามคาตอบ ไม่มีการซกั ถามเพื่อ แหลง่ เรียนรู้ต่างๆ บอ่ ยครัง้ บางครงั้ หาคาตอบ ซักถามเพ่ือคาตอบ ทุกครั้ง 3. มงุ่ มน่ั ในการ มคี วามกระตือรอื รน้ มีความกระตือรือร้น มีความกระตือรือร้น ขาดความ ทางาน ทางานสาเรจ็ ถูกต้อง ทางานสาเร็จถูกต้อง ทางานสาเร็จ แต่ กระตือรอื รน้ ต่อการ ตามเวลาทีก่ าหนด แต่ชา้ เกนิ เวลาที่ เนือ้ หาไมถ่ กู ต้อง ทางาน งานไมเ่ สรจ็ กาหนด บางส่วน หรือไม่ ตามเวลาท่ีกาหนด ถูกต้อง และเนือ้ หาไม่ถกู ต้อง เกณฑ์การประเมินต้องได้ระดับคะแนน 2 ข้ึนไปจึงจะผ่านเกณฑ์ (6คะแนน) 11-12 คะแนน อยูใ่ นระดับดีมาก 9-10 คะแนน อยู่ในระดบั ดี 6-8 คะแนน อยูใ่ นระดบั พอใช้ ตา่ กวา่ 6 คะแนน อย่ใู นระดบั ควรปรบั ปรุง สรุปการประเมนิ ลงชื่อ…………………………………………ผู้ประเมิน ผ่าน……………………. (นางสาวศริ วิ รรณ มุนนิ คา) ไม่ผ่าน……………….. ………./………./……….

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 9 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 – 3 ปกี ารศึกษา 2563 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เวลา 2 ชัว่ โมง ภาคเรยี นที่ 2 หนว่ ยที่ 2 เรื่อง ทักษะทางวิทยาศาสตร์ ผู้สอน นางสาว ศิรวิ รรณ มนุ ินคา แผนการจัดการเรยี นรู้ เรอ่ื ง ทกั ษะการวดั 1. ผลการเรียนรู้ 4. ทดลองเกีย่ วกับทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรด์ า้ นความสามารถในการใช้เครอ่ื งมอื วัดได้ อย่างถูกต้อง 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นักเรียนสามารถอธบิ ายเกย่ี วกบั ทกั ษะการวัดได้ (K) 2. นักเรยี นสามารถปฏบิ ัติกจิ กรรม โดยใช้ทักษะการวดั ได้อย่างถูกต้อง (P) 3. นักเรียนเปน็ ผูท้ ี่มีวนิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ และมงุ่ ม่ันในการทางาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ 1. ทักษะการวดั 4. ทกั ษะการเรียนรู้ 1. ทกั ษะวิทยาศาสตร์ - การสงั เกต - การอภปิ รายและลงข้อสรุป 5. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ - มวี ินัย - ใฝ่เรียนรู้ - มุง่ มั่นในการทางาน 6.สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน/สมรรถนะของศตวรรษที่ 21 - ความสามารถในการส่ือสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแก้ปญั หา

7. สาระสาคัญ ทักษะการวัด (Measuring) หมายถึง การใช้เคร่ืองมือสาหรับการวัดข้อมูลในเชิงปริมาณของสิ่งต่างๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลเป็นตัวเลขในหน่วยการวัดที่ถูกต้อง แม่นยา ท้ังน้ีการใช้เคร่ืองมือจาเป็นต้องเลือกใช้ให้ เหมาะสมกับสงิ่ ที่ต้องการวดั 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขัน้ ท่ี 1 ขน้ั สร้างความสนใจ (Engagement) ครูนาเขา้ สบู่ ทเรยี น โดยใช้คาถามถามนกั เรยี น ดงั นี้ 1. นกั เรียนรหู้ รือไมว่ ่าทักษะการวัด คืออะไร (แนวการตอบ: การใช้เครื่องมือสาหรับการวัดข้อมูลในเชิงปริมาณของส่ิงต่างๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลเป็น ตวั เลขในหน่วยการวดั ท่ถี ูกตอ้ ง แม่นยา) 2. ครแู จ้งใหน้ ักเรียนฟังว่า ในคาบนนี้ กั เรยี นจะได้เรียน เรอ่ื ง ทักษะการวดั ขน้ั ท่ี 2 ข้ันสารวจและค้นหา (Exploration) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสืบค้นข้อมูลและศึกษาเกี่ยวกับทักษะการวัดจากห้องสมุดโรงเรียน และอินเทอร์เน็ต จากน้ันครูให้นักเรียนร่วมกันทาแผนผังมโนทัศน์ เร่ือง การใช้เครื่องมือวัด เม่ือทา เสร็จตัวแทนกลุ่มออกมานาเสนอหน้าชั้นเรียน จากนั้นครูใช้คาถามเพื่อทดสอบความเข้าใจของ นกั เรียน ดงั นี้ 1.1 หลังจากท่ีนักเรียนได้สืบค้นข้อมูลและศึกษาเกี่ยวกับทักษะการวัดแล้ว นักเรียนสามารถสรุป ทักษะการวัดว่าอยา่ งไร (แนวการตอบ: การใช้เคร่ืองมือสาหรับการวัดข้อมูลในเชิงปริมาณของสิ่งต่างๆ เพื่อให้ได้ข้อมูล เป็นตวั เลขในหน่วยการวดั ทถ่ี กู ต้อง แม่นยา) 1.2 สงิ่ สาคญั ในการวัด คอื อะไร (แนวการตอบ: เคร่อื งมือและวิธีการ) 1.3 รปู แบบของการวดั มีก่ีแบบ อะไรบ้าง (แนวการตอบ: 3 แบบ คือ การนบั จานวน การวัดโดยตรง และการวดั โดยอ้อม) 2. ครูอธิบายวิธีปฏิบัติกิจกรรม เรื่อง ทักษะการวัดให้นักเรียน จากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกัน ปฏิบัตกิ ิจกรรม

ขน้ั ที่ 3 ขน้ั อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation) ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั อภปิ รายและสร้างข้อสรุป โดยใชค้ าถาม ดงั นี้ 1. เพราะเหตใุ ดสมาชกิ ในกลมุ่ จึงวัดส่งิ ต่างๆ ไดไ้ มเ่ ทา่ กัน (แนวการตอบ: เกิดความคลาดเคลอื่ นในการวัด) 2. จะทาอย่างไรใหเ้ กดิ ความคลาดเคลื่อนในการวดั นอ้ ยทส่ี ุด (แนวการตอบ: เลือกใช้เครื่องมอื ท่ีไดม้ าตรฐาน นา่ เชอ่ื ถือ, ใช้เครื่องมือช้นิ เดียวกันจนจบการศึกษา ใช้ คนวัดคนเดยี วกันจนจบการศึกษาครั้งนนั้ , วัดหลายๆ ครัง้ แล้วหาค่าเฉลยี่ ) 3. การวัดมปี ระโยชน์อยา่ งไร (แนวการตอบ: ช่วยขยายขอบเขตของประสาทสมั ผัสทงั้ 5 ให้มีความนา่ เชอื่ ถอื มากขึ้น เพราะได้มกี าร ใช้เคร่ืองมือมาตรฐานต่างๆ มาช่วยอธบิ ายขอ้ มูล ซึง่ จะทาให้มคี วามเขา้ ใจตรงกนั ) ขน้ั ท่ี 4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) ครูให้ความร้เู พม่ิ เตมิ เก่ยี วกับการวัด ดงั นี้ ความหมายของการวดั การวัดเปน็ ความสามารถในการเลือกใชเ้ ครอ่ื งมอื ได้อยา่ งถูกต้องในการวัดสง่ิ ตา่ งๆ ทต่ี อ้ งการศึกษา เช่น ความกว้าง ความสูง ความหนา น้าหนัก ปริมาตร เวลา และอุณหภูมิ โดยวัดออกมาเป็นตัวเลขได้ถูกต้อง รวดเร็ว มหี น่วยกากับและสามารถอ่านค่าทีใ่ ช้วัดไดถ้ กู ตอ้ งใกลเ้ คียงความเปน็ จริงมากที่สดุ ประโยชนข์ องการวัด เป็นการช่วยขยายขอบเขตของประสาทสัมผัสท้ัง 5 ให้มีความน่าเช่ือถือมากข้ึน เพราะได้มีการใช้ เคร่อื งมือมาตรฐานตา่ งๆ มาชว่ ยอธบิ ายข้อมลู ซึ่งจะทาให้มีความเข้าใจตรงกัน เช่น เม่ือเราบอกว่า “เชือกเส้น นย้ี าวมาก” เป็นการคาดคะเนจากการเหน็ ด้วยตา คนฟงั จะนึกไม่ออกว่ายาวเท่าไหร่ แต่ละคนก็จะนึกถึงความ ยาวทต่ี ่างๆ กนั จนกว่าเราจะบอกว่า “เชอื กเสน้ นยี้ าว 10 เมตร” ทุกคนก็จะเข้าใจได้ตรงกนั ความคลาดเคล่อื นทีเ่ กดิ จากการวดั 1. ความคลาดเคลือ่ นโดยบังเอญิ เปน็ ความคลาดเคลือ่ นที่เกิดข้นึ จากการอ่านค่าทว่ี ัดได้ผิดพลาด หรอื คา่ ทอี่ า่ นไดถ้ ูกตอ้ ง แตบ่ ันทึกผดิ พลาด 2. ความคลาดเคลือ่ นเปน็ ระบบ ซง่ึ เกดิ ข้นึ จากการใชว้ ิธกี ารวดั ไม่ถกู ต้อง ข้ันที่ 5 ข้ันประเมินผล (Evaluation) 1. ครูใหน้ ักเรยี นทาใบงาน เรอ่ื ง การวดั 2. ครูและนักเรียนรว่ มกันอภิปรายเกย่ี วกบั “ทักษะการวัด”

3. นักเรยี นแต่ละคนพิจารณาว่า มจี ดุ ใดบ้างท่ียงั ไม่เข้าใจหรือยงั มีข้อสงสยั ถา้ มคี รูชว่ ยอธบิ ายเพ่ิมเติมให้ นักเรยี นเขา้ ใจ 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 สอื่ - สอื่ การสอน Power Point เรื่อง ทกั ษะการวัด - กิจกรรม เร่ือง ทกั ษะการวัด - ใบงาน เร่ือง การวดั - แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 9.2 แหลง่ การเรียนรู้ - ห้องเรยี นวทิ ยาศาสตร์ - หอ้ งสมุดโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 10. การวดั และการประเมนิ ผล 10.1 การวดั ผล จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วธิ กี ารวดั เครอ่ื งมือ 1. ดา้ นความรู้ (K) - นักเรียนทาใบงาน เรื่อง - ใบงาน เรอ่ื ง การวัด - นักเรียนสามารถอธบิ ายเก่ียวกับทกั ษะ การวัด การวดั ได้ 2. ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) - นักเรียนทากิจกรรม - กิจกรรม เร่ือง ทักษะ - นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้ เรอ่ื ง ทักษะการวดั การวัด ทักษะการวดั ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 3. ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A) - ครูประเมินคุณลักษณะ - แบบประเมิน - นักเรียนเป็นผู้ท่ีมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และ อนั พึงประสงค์ คณุ ลกั ษณะอนั พึง ม่งุ ม่ันในการทางาน ประสงค์

10.2 เกณฑ์การประเมนิ ผล ระดบั คณุ ภาพ 10.2.1 ดา้ นความรู้ (K) (4) (3) (2) (1) - นกั เรียนสามารถอธบิ าย ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ เกี่ยวกับทักษะการวดั ได้ นกั เรยี นได้ นักเรยี นได้ นกั เรียนได้ นักเรียนได้ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ ทาใบงาน 9-10 ทาใบงาน 7-8 ทาใบงาน 5-6 ทาใบงานต่ากว่า คะแนน คะแนน คะแนน 5 คะแนน 10.2.2 ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) (4) ระดบั คุณภาพ (1) ดมี าก (3) (2) ปรบั ปรงุ - นักเรยี นสามารถปฏิบัติกิจกรรม นกั เรียนได้ ดี พอใช้ นกั เรยี นได้ โดยใช้ทกั ษะการวัดได้อยา่ งถูกตอ้ ง คะแนนจาก นกั เรยี นได้ นักเรียนได้ คะแนนจากการ การทากิจกรรม คะแนนจากการ คะแนนจากการ ทากิจกรรมตา่ 14-16 คะแนน ทากิจกรรม ทากจิ กรรม กว่า 8 คะแนน 11-13 คะแนน 8-10 คะแนน 10.2.3 คุณลักษณะ (A) ระดบั คุณภาพ - นกั เรียนเปน็ ผู้ทม่ี ีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ (4) (3) (2) (1) และมุ่งม่ันในการทางาน ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ นกั เรียนได้ นักเรียนได้ นกั เรยี นได้ นกั เรียนได้ คะแนนจากการ คะแนนจาก คะแนนจาก คะแนนจากการ ประเมนิ การประเมิน การประเมิน ประเมิน คณุ ลกั ษณะ คุณลกั ษณะ คณุ ลกั ษณะ คณุ ลักษณะอนั อนั พงึ ประสงค์ อันพึงประสงค์ อนั พึงประสงค์ พึงประสงค์ตา่ 11-12 คะแนน 9-10 คะแนน 6-8 คะแนน กว่า 6 คะแนน

กจิ กรรม เรือ่ ง ทักษะการวัด สมาชกิ กลุ่ม 1. ชือ่ ................................................................................................................เลขที.่ .......................... 2. ชือ่ ................................................................................................................เลขท.ี่ .......................... 3. ชอ่ื ................................................................................................................เลขที.่ .......................... 4. ชอ่ื ................................................................................................................เลขท่.ี .......................... 5. ช่อื ................................................................................................................เลขท่ี........................... 6. ชอ่ื ................................................................................................................เลขที่........................... คาชีแ้ จง: ใหน้ ักเรยี นเลือกใช้อุปกรณ์ทค่ี รจู ดั เตรยี มไวใ้ ห้ แลว้ ทาการวดั วตั ถุ พรอ้ มทงั้ บนั ทกึ ผลท่ไี ด้เครอ่ื งมือท่ี ใชใ้ นการวดั และหนว่ ยของการวัดลงในตาราง ตารางบนั ทึกผลของการวัด สงิ่ ที่วัด ปริมาณ ครงั้ ทีว่ ัด เคร่ืองมือทใี่ ช้วดั หนว่ ยของการวดั 1 2 3 เฉลี่ย 1. โตะ๊ นกั เรียน ความกวา้ ง ความยาว ความสงู 2. กลอ่ งชอลค์ น้าหนัก ปรมิ าตร 3. ก้อนหิน น้าหนกั ปรมิ าตร 4. นา้ อุณหภมู ิ ปรมิ าตร

ใบงาน เรอ่ื ง การวัด คาช้แี จง: ใหน้ ักเรียนทาการวดั ความยาวของเสน้ ตรงขา้ งลา่ งน้ี (ใชท้ ศนยิ ม ๑ ตาแหน่ง) แล้วบันทกึ ผลท่ไี ดจ้ าก การวดั ลงในช่องว่างท่ีเวน้ ไว้ โดยไมต่ ้องบอกผลของการวัดแกส่ มาชกิ ในกล่มุ จนกว่าทุกคนในกลุ่มจะทาการ วดั เสรจ็ เรียบร้อยแลว้ _________________________________________ สมาชิกคนที่ 1 วดั ได้.................................................................เซนติเมตร สมาชิกคนท่ี 2 วดั ได้.................................................................เซนติเมตร สมาชิกคนท่ี 3 วดั ได.้ ................................................................เซนติเมตร สมาชิกคนที่ 4 วัดได.้ ................................................................เซนตเิ มตร สมาชกิ คนที่ 5 วดั ได้.................................................................เซนติเมตร สมาชกิ คนที่ 6 วดั ได้.................................................................เซนตเิ มตร คาถาม 1. จากเสน้ ตรงท่กี าหนดให้ สมาชิกทุกคนในกลุ่มวดั ไดผ้ ลเป็นอย่างไรเทา่ กันหรอื ไม่ ถ้าในกรณีทว่ี ัดได้ไม่เทา่ กนั ใหบ้ อกเหตุผลวา่ ทาไมจงึ เปน็ เช่นนั้น และจะแก้ปญั หาของกลุม่ ไดอ้ ย่างไร เพอ่ื ให้ ได้มาซึ่งคาตอบของกลมุ่ เพียงคาตอบเดยี ว ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ....................................................................................................................................................................... .... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. .................................................................................... ....................................................................................... ............................................................................................................................. ..............................................

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ท่ี ชือ่ - สกลุ มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มั่นในการ รวม ทางาน 432143214321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27

เกณฑก์ ารให้คะแนน ประเดน็ การ (4) ระดับการปฏิบตั ิ (1) ประเมนิ ดีมาก (3) (2) ปรับปรุง ดี พอใช้ 1. มีวนิ ัย สง่ งานครบทุกชิน้ สง่ งานครบทุกช้นิ ส่งงานช้าเปน็ บางครง้ั สง่ งานช้าเป็นประจา ก่อนเวลาท่ีกาหนด ตามเวลาทีก่ าหนด หรือไม่ส่งงานเลย ทุกครงั้ 2. ใฝ่เรยี นรู้ ต้งั ใจเรยี น มคี วาม ตั้งใจเรยี น มีความ ต้ังใจเรียน แต่ขาด ไมค่ ่อยต้งั ใจเรยี น พยายามในการ พยายามในการเรียนรู้ ความพยายาม ขาดความพยายาม คน้ ควา้ หาความรู้จาก ในห้องเรยี น ซักถาม ซกั ถามคาตอบ ไม่มีการซกั ถามเพื่อ แหลง่ เรียนรู้ต่างๆ บอ่ ยครัง้ บางครงั้ หาคาตอบ ซักถามเพ่ือคาตอบ ทุกครั้ง 3. มงุ่ มน่ั ในการ มคี วามกระตือรอื รน้ มีความกระตือรือร้น มีความกระตือรือร้น ขาดความ ทางาน ทางานสาเรจ็ ถูกต้อง ทางานสาเร็จถูกต้อง ทางานสาเร็จ แต่ กระตือรอื รน้ ต่อการ ตามเวลาทีก่ าหนด แต่ชา้ เกนิ เวลาที่ เนือ้ หาไมถ่ กู ต้อง ทางาน งานไมเ่ สรจ็ กาหนด บางส่วน หรือไม่ ตามเวลาท่ีกาหนด ถูกต้อง และเนือ้ หาไม่ถกู ต้อง เกณฑ์การประเมินต้องได้ระดับคะแนน 2 ข้ึนไปจึงจะผ่านเกณฑ์ (6คะแนน) 11-12 คะแนน อยูใ่ นระดับดีมาก 9-10 คะแนน อยู่ในระดบั ดี 6-8 คะแนน อยูใ่ นระดบั พอใช้ ตา่ กวา่ 6 คะแนน อย่ใู นระดบั ควรปรบั ปรุง สรุปการประเมนิ ลงชื่อ…………………………………………ผู้ประเมิน ผ่าน……………………. (นางสาวศริ วิ รรณ มุนนิ คา) ไม่ผ่าน……………….. ………./………./……….

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 10 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 - 3 ปกี ารศึกษา 2563 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เวลา 2 ช่ัวโมง ภาคเรยี นที่ 2 หนว่ ยท่ี 2 เรื่อง ทกั ษะทางวิทยาศาสตร์ ผู้สอน นางสาว ศิรวิ รรณ มุนินคา แผนการจัดการเรยี นรู้ เรือ่ ง ทกั ษะการวัด 1. ผลการเรียนรู้ 4. ทดลองเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ดา้ นความสามารถในการใชเ้ ครอ่ื งมือวัดได้ อยา่ งถูกต้อง 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. นกั เรยี นมีความเขา้ ใจเกี่ยวกับทักษะการวดั (K) 2. นักเรยี นสามารถปฏบิ ัตกิ จิ กรรม โดยใชท้ กั ษะการวดั ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง (P) 3. นักเรยี นเป็นผู้ทีม่ ีวนิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ และมงุ่ มั่นในการทางาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ 1. ทกั ษะการวดั 4. ทักษะการเรียนรู้ 1. ทกั ษะวิทยาศาสตร์ - การสังเกต - การอภิปรายและลงขอ้ สรุป 5. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ - มีวินัย - ใฝเ่ รียนรู้ - มุง่ มนั่ ในการทางาน 6.สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น/สมรรถนะของศตวรรษท่ี 21 - ความสามารถในการสอ่ื สาร - ความสามารถในการคดิ - ความสามารถในการแกป้ ัญหา

7. สาระสาคัญ ทักษะการวัด (Measuring) หมายถึง การใช้เคร่ืองมือสาหรับการวัดข้อมูลในเชิงปริมาณของสิ่งต่างๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลเป็นตัวเลขในหน่วยการวัดท่ีถูกต้อง แม่นยา ทั้งน้ีการใช้เคร่ืองมือจาเป็นต้องเลือกใช้ให้ เหมาะสมกับส่งิ ทต่ี อ้ งการวัด 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขั้นที่ 1 ขน้ั สรา้ งความสนใจ (Engagement) ครูนาเขา้ สูบ่ ทเรยี น โดยใชค้ าถามทบทวนสงิ่ ที่นกั เรียนไดเ้ รียนในคาบทผี่ า่ นมา ดังน้ี 1. ทักษะการวดั คอื อะไร (แนวการตอบ: การใช้เคร่ืองมือสาหรับการวัดข้อมูลในเชิงปริมาณของสิ่งต่างๆ เพ่ือให้ได้ข้อมูลเป็น ตัวเลขในหน่วยการวดั ที่ถูกตอ้ ง แม่นยา) 2. รปู แบบของการวัดมกี ่ีแบบ อะไรบ้าง (แนวการตอบ: 3 แบบ คอื การนบั จานวน การวัดโดยตรง และการวดั โดยออ้ ม) ขนั้ ที่ 2 ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) 1. ครูแจ้งให้นักเรียนฟังว่าในคาบนี้นักเรียนจะได้ปฏิบัติกิจกรรมการวัดอัตราการเต้นของหัวใจ จากน้ัน ครอู ธบิ ายวธิ ปี ฏิบัตกิ ิจกรรม 2. นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ ปฏิบัติกิจกรรมการวัดอัตราการเต้นของหวั ใจ เมอ่ื ปฏบิ ัติกิจกรรมเสรจ็ ตัวแทนกลุ่ม ออกมานาเสนอผลการปฏิบตั ิกจิ กรรมหนา้ ช้นั เรียน ข้นั ที่ 3 ขั้นอธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation) ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั อภปิ รายและสรา้ งขอ้ สรุป โดยใช้คาถาม ดังน้ี 1. อตั ราการเต้นของหวั ใจในครั้งที่ 1, 2, 3 เหมือนหรอื ต่างกนั อย่างไร (แนวการตอบ: ตา่ งกัน แตอ่ ตั ราการเตน้ ของหวั ใจทงั้ 3 คร้ังมีคา่ ใกล้เคียงกัน) 2. นอกจากการวดั ชีพจรทขี่ ้อมือแลว้ เราสามารถวัดชพี จรบริเวณส่วนใดของรา่ งกายได้อีกบา้ ง (แนวการตอบ: คอ ขมับ แขน และขาหนีบ) 3. เราสามารถใชเ้ ครือ่ งมอื อะไรวัดชพี จรได้อีกนอกจากนวิ้ มือ (แนวการตอบ: เครือ่ งวัดชีพจร)

ขัน้ ที่ 4 ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) ครใู ห้ความรูเ้ พิ่มเตมิ เก่ยี วกับเครือ่ งวัดชพี จร ดงั นี้ ประวัตคิ วามเปน็ มาของเคร่ืองวัดชีพจร เครื่องวัดชีพจรเครื่องแรกน้ันยังไม่ได้อยู่ในรูปของนาฬิกา ผลิตขึ้นมาในปี 1977 จุดประสงค์เพื่อใช้ใน การฝึกซ้อมทีมสกีในประเทศฟินแลนด์ ในลักษณะทดสอบระดับความเข้มข้นในการฝึก (intensity training) จากน้นั เป็นต้นมาการวดั ชพี จรท่ีใชใ้ นกีฬาจงึ ได้รบั การตอบรับเป็นอย่างดี (เครอื่ งวดั ชพี จรแบบใช้ปลายน้ิวมือ คิดคน้ โดย University of Oulu Electronics Laboratory) สว่ นประกอบของเครื่องวดั ชีพจร เครื่องวัดชพี จรรุ่นใหม่ๆ มักประกอบดว้ ยกนั 2 ส่วน ได้แก่ 1. อุปกรณส์ ่งสัญญานชีพจร (Transmitter) สว่ นใหญม่ กั อยู่ในรูปตดิ หน้าอก ค่กู บั สายคาด 2. ตวั รบั สัญญาน (Receiver) ในปจั จุบนั มกั อยู่ในรูปของนาฬิกา โทรศัพทส์ มารท์ โฟน ในขณะท่ียุคก่อนสายคาดหนา้ อกทาจากพลาสติก เพื่อง่ายต่อการนาสญั ญานชพี จร แต่ในปัจจุบันไดถ้ กู ปรับเปล่ียนเป็นวัสดทุ ่ีทาจากผ้า ติดด้วยตัวประมวลผลกลาง เพื่อวิเคราะห์สัญญานชีพจรอีกที การส่งสัญญาน จาก Transmitter เมื่อเซ็นเซอร์ตรวจจับการเต้นของหัวใจ สัญญานวิทยุจะถูกส่งออกไปและเปลี่ยนแปลงเปน็ ตัวเลขอัตราชีพจร สัญญานนี้อาจถูกส่งออกในรูปแบบธรรมดาท่ัวไป หรืออาจถูกเข้ารหัสให้ใช้ได้กับตัวรับที่ถกู กาหนดไว้เพียงอย่างเดียว (เข้ารหัสโดย Bluetooth, ANT) เพื่อให้สัญญานในแต่ละอุปกรณ์ไม่ถูกรบกวน แทรกแซงซง่ึ กันและกนั ประเภทของเคร่อื งวัดชพี จร 1. นาฬกิ าวดั ชีพจรแบบไม่มีสายคาดหนา้ อก วิธีการใชง้ านคอื ใชน้ ้วิ แตะตวั รับเซน็ เซอรท์ ี่ตดิ มากับนาฬิกา จากนน้ั อัตราชีพจรจะข้นึ ไปแสดงที่หน้าจอนาฬิกาโดยอตั โนมัติ เหมาะสาหรับผู้ท่ีใชไ้ มบ่ ่อย อย่างไรก็ตาม รายละเอียด ผลลพั ธ์จะไม่ละเอยี ดเท่ากับนาฬิกาที่ใชส้ ายคาดหน้าอก

2. นาฬกิ าวัดชีพจรใช้สายคาดหน้าอก หลากหลายแบรนด์ไดน้ าเสนอนาฬิกาประเภทนี้เพือ่ ใหผ้ ู้ใชน้ าไปใช้ใน การออกกาลังกายครอบคลมุ ถงึ ด้านสุขภาพ ดว้ ยคุณสมบตั ิทหี่ ลากหลาย สามารถนาค่าชพี จรมาวิเคราะห์ ใน ดา้ นต่างๆ บอกถึงจานวนแคลอร่ีทใี่ ช้ แสดงอตั ราเกีย่ วกบั การหายใจของผู้ใช้ วดั ความเร็ว วดั ระยะทาง วัด ความสงู ชนั วดั อณุ หภมู ิ มี GPS ในตัวฯลฯ ซึง่ ส่วนใหญน่ าฬิกาท่ีมีคุณสมบตั ิย่ิงมากยง่ิ มีราคาสงู บางรนุ่ ออกแบบมาสาหรับกฬี านั้นๆ โดยเฉพาะ ไม่วา่ จะเป็นวงิ่ ปั่นจกั รยาน ฟิตเนส ยกน้าหนัก ว่ายนา้ ปีนเขา สกี 3. นาฬิกาวัดชีพจรแบบรดั ข้อมือ ปัจจบุ นั ได้มีการคิดค้นนาฬิกาวัดชพี จรโดยอ่านค่าจากชีพจรบรเิ วณข้อมอื ทาใหส้ ะดวกต่อผู้ใชบ้ างคนที่ไมต่ อ้ งการใช้สายคาดหน้าอก ในขณะเดียวกันเทคโนโลยนี เี้ พ่งิ เปิดตวั อาจยังมีไม่ สมบูรณแ์ บบในขน้ั ต้น รวมถงึ ราคาทีค่ ่อนขา้ งสูง จงึ ยังไม่เป็นทแี่ พรห่ ลายนัก เชื่อว่าในอนาคตหากถูกพัฒนาต่อ ยอดไปเรื่อยๆ อาจเปน็ อีกทางเลอื กหนึ่งของผู้ใชท้ ี่ต้องการความสะดวกสบายได้ดที ีเดยี ว 4. เซ็นเซอร์วัดชีพจร ออกแบบเพ่ือใช้คู่กบั โทรศพั ท์สมาร์ทโฟน เช่ือมตอ่ ผา่ น Bluetooth โดยมี Application รองรบั การใชง้ าน ทาใหง้ า่ ยตอ่ ผ้ใู ช้ทม่ี สี มาร์ทโฟนไว้ในครอบครองอยู่แลว้ ข้ันที่ 5 ขัน้ ประเมินผล (Evaluation) 1. ครใู หน้ กั เรียนสรุปความคิดรวบยอด เร่อื ง ทกั ษะการวัด 2. ครูและนกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายเกีย่ วกับ “ทกั ษะการวัด” 3. นกั เรยี นแต่ละคนพจิ ารณาว่า มีจดุ ใดบ้างทีย่ ังไมเ่ ข้าใจหรือยังมีข้อสงสยั ถา้ มีครูชว่ ยอธิบายเพ่ิมเติมให้ นกั เรียนเข้าใจ 9. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้ 9.1 สื่อ - สื่อการสอน Power Point เรือ่ ง ทักษะการวดั - กิจกรรมการวดั อตั ราการเตน้ ของหวั ใจ - การสรปุ ความคิดรวบยอด เรือ่ ง ทกั ษะการวัด - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

9.2 แหล่งการเรยี นรู้ - หอ้ งเรยี นวิทยาศาสตร์ - ห้องสมดุ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 10. การวดั และการประเมินผล 10.1 การวดั ผล จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วธิ ีการวดั เครอ่ื งมอื 1. ด้านความรู้ (K) - นักเรียนสรุปความคิด - สรปุ ความคิดรวบยอด - นักเรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับทกั ษะการ รวบยอด เรื่อง ทักษะการ เรอื่ ง ทกั ษะการวัด วัด วดั 2. ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) - นักเรียนทากจิ กรรมการ - กจิ กรรมการวัดอัตรา - นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้ วดั อัตราการเตน้ ของหวั ใจ การเต้นของหัวใจ ทกั ษะการวัดไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง 3. ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) - ครูประเมินคุณลักษณะ - แบบประเมนิ - นักเรียนเป็นผู้ท่ีมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และ อันพงึ ประสงค์ คุณลักษณะอนั พึง มงุ่ ม่นั ในการทางาน ประสงค์ 10.2 เกณฑ์การประเมินผล ระดับคณุ ภาพ 10.2.1 ดา้ นความรู้ (K) (4) (3) (2) (1) - นกั เรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกบั ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ ทกั ษะการวัด นักเรยี นได้ นกั เรียนได้ นักเรยี นได้ นักเรียนได้ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ สรุปความคดิ สรุปความคิด สรุปความคดิ สรปุ ความคิดรวบ รวบยอด 9-10 รวบยอด 7-8 รวบยอด 5-6 ยอดต่ากว่า 5 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

10.2.2 ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) (4) ระดบั คุณภาพ (1) ดีมาก (3) (2) ปรับปรุง - นกั เรยี นสามารถปฏบิ ตั ิกิจกรรม นักเรียนได้ ดี พอใช้ นักเรยี นได้ โดยใชท้ ักษะการวดั ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง คะแนนจาก นักเรียนได้ นักเรียนได้ คะแนนจากการ การทากิจกรรม คะแนนจากการ คะแนนจากการ ทากิจกรรมตา่ 14-16 คะแนน ทากิจกรรม ทากจิ กรรม กว่า 8 คะแนน 11-13 คะแนน 8-10 คะแนน 10.2.3 คุณลกั ษณะ (A) ระดับคุณภาพ - นกั เรยี นเปน็ ผูท้ มี่ วี นิ ัย ใฝ่เรียนรู้ (4) (3) (2) (1) และมุง่ มัน่ ในการทางาน ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง นักเรียนได้ นักเรียนได้ นกั เรียนได้ นกั เรียนได้ คะแนนจากการ คะแนนจาก คะแนนจาก คะแนนจากการ ประเมิน การประเมนิ การประเมิน ประเมิน คุณลักษณะ คุณลักษณะ คุณลกั ษณะ คณุ ลักษณะอนั อันพงึ ประสงค์ อนั พงึ ประสงค์ อนั พึงประสงค์ พึงประสงค์ตา่ 11-12 คะแนน 9-10 คะแนน 6-8 คะแนน กว่า 6 คะแนน

กิจกรรม การวัดอัตราการเตน้ ของหวั ใจ สมาชิกกลุ่ม 1. ชือ่ ................................................................................................................เลขที่........................... 2. ชื่อ................................................................................................................เลขท่ี........................... 3. ชือ่ ................................................................................................................เลขที่........................... 4. ชื่อ................................................................................................................เลขท.่ี .......................... 5. ชอ่ื ................................................................................................................เลขที.่ .......................... 6. ช่ือ................................................................................................................เลขท.่ี .......................... คาชีแ้ จง: 1. ใหน้ กั เรยี นใชน้ ว้ิ ชแี้ ละน้ิวกลางแตะข้อมืออีกข้างหนึ่งของตนเองบริเวณทร่ี ู้ว่ามีการเต้นของชีพจร 2. นบั จานวนครง้ั ในการเต้นเปน็ เวลา 1 นาที จากนั้นบันทึกผล 3. ทาตามขอ้ 1 และข้อ 2 ใหค้ รบ 3 ครัง้ แลว้ หาค่าเฉล่ียจานวนการเตน้ ของชพี จรในเวลา 1 นาที ตารางค่าเฉลี่ยอตั ราการเต้นของหัวใจ ในเวลา 1 นาที ครง้ั ท่ี อตั ราการเต้นของหัวใจ (คร้ัง/นาท)ี 1 2 3 เฉลยี่ 1. อัตราการเต้นของหวั ใจในคร้งั ที่ 1, 2, 3 เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. การวัดชีพจรทขี่ อ้ มือแล้วเรายงั สามารถวดั ชีพจรบรเิ วณส่วนใดของร่างกายได้อกี บ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. เราสามารถใช้เครอื่ งมืออะไรวดั ชพี จรได้อกี นอกจากนิ้วมอื ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ท่ี ชือ่ - สกลุ มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มั่นในการ รวม ทางาน 432143214321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27

เกณฑก์ ารให้คะแนน ประเดน็ การ (4) ระดับการปฏิบตั ิ (1) ประเมนิ ดีมาก (3) (2) ปรับปรุง ดี พอใช้ 1. มีวนิ ัย สง่ งานครบทุกชิน้ สง่ งานครบทุกช้นิ ส่งงานช้าเปน็ บางครง้ั สง่ งานช้าเป็นประจา ก่อนเวลาท่ีกาหนด ตามเวลาทีก่ าหนด หรือไม่ส่งงานเลย ทุกครงั้ 2. ใฝ่เรยี นรู้ ต้งั ใจเรยี น มคี วาม ตั้งใจเรยี น มีความ ต้ังใจเรียน แต่ขาด ไมค่ ่อยต้งั ใจเรยี น พยายามในการ พยายามในการเรียนรู้ ความพยายาม ขาดความพยายาม คน้ ควา้ หาความรู้จาก ในห้องเรยี น ซักถาม ซกั ถามคาตอบ ไม่มีการซกั ถามเพื่อ แหลง่ เรียนรู้ต่างๆ บอ่ ยครัง้ บางครงั้ หาคาตอบ ซักถามเพ่ือคาตอบ ทุกครั้ง 3. มงุ่ มน่ั ในการ มคี วามกระตือรอื รน้ มีความกระตือรือร้น มีความกระตือรือร้น ขาดความ ทางาน ทางานสาเรจ็ ถูกต้อง ทางานสาเร็จถูกต้อง ทางานสาเร็จ แต่ กระตือรอื รน้ ต่อการ ตามเวลาทีก่ าหนด แต่ชา้ เกนิ เวลาที่ เนือ้ หาไมถ่ กู ต้อง ทางาน งานไมเ่ สรจ็ กาหนด บางส่วน หรือไม่ ตามเวลาท่ีกาหนด ถูกต้อง และเนือ้ หาไม่ถกู ต้อง เกณฑ์การประเมินต้องได้ระดับคะแนน 2 ข้ึนไปจึงจะผ่านเกณฑ์ (6คะแนน) 11-12 คะแนน อยูใ่ นระดับดีมาก 9-10 คะแนน อยู่ในระดบั ดี 6-8 คะแนน อยูใ่ นระดบั พอใช้ ตา่ กวา่ 6 คะแนน อย่ใู นระดบั ควรปรบั ปรุง สรุปการประเมนิ ลงชื่อ…………………………………………ผู้ประเมิน ผ่าน……………………. (นางสาวศริ วิ รรณ มุนนิ คา) ไม่ผ่าน……………….. ………./………./……….

แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 11 ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 - 3 กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีการศึกษา 2563 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 2 ช่วั โมง หน่วยที่ 2 เร่อื ง ทักษะทางวิทยาศาสตร์ แผนการจดั การเรียนรู้ เรอื่ ง ทักษะการคานวณ ผู้สอน นางสาว ศิรวิ รรณ มุนินคา 1. ผลการเรยี นรู้ 4. ทดลองเกี่ยวกับทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านความสามารถในการใช้เครือ่ งมือวัดได้ อยา่ งถูกต้อง 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. นักเรียนมีความเข้าใจเกย่ี วกบั ทักษะการคานวณ (K) 2. นกั เรยี นสามารถคานวณเกีย่ วกับนา้ หนกั และสว่ นสงู ได้ (P) 3. นักเรียนเป็นผทู้ ี่มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ และมงุ่ มนั่ ในการทางาน (A) 3. สาระการเรียนรู้ 1. ทกั ษะการคานวณ 4. ทกั ษะการเรยี นรู้ 1. ทกั ษะวทิ ยาศาสตร์ - การสังเกต - การอภิปรายและลงขอ้ สรุป 5. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ - มีวินยั - ใฝเ่ รียนรู้ - มงุ่ ม่ันในการทางาน 6.สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น/สมรรถนะของศตวรรษท่ี 21 - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคดิ - ความสามารถในการแกป้ ญั หา

7. สาระสาคญั ทักษะการคานวณ (Using numbers) หมายถึง การนับจานวนของวัตถุ และการนาตัวเลขท่ีได้จาก นับ และตวั เลขจากการวัดมาคานวณดว้ ยสตู รคณิตศาสตร์ เชน่ การบวก การลบ การคณู การหาร เปน็ ตน้ 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 ข้ันสรา้ งความสนใจ (Engagement) ครนู าเขา้ ส่บู ทเรยี น โดยใช้คาถามถามนักเรียน ดังนี้ 1. นักเรยี นรู้หรอื ไม่วา่ ทักษะการคานวณ คืออะไร (แนวการตอบ: การนับจานวนของวัตถุ และการนาตัวเลขที่ได้จากนับ และตัวเลขจากการวัดมา คานวณดว้ ยสตู รคณิตศาสตร)์ 2. ครแู จ้งให้นักเรียนฟังวา่ ในคาบนี้จะไดเ้ รียนเก่ียวกับทกั ษะการคานวณ ขัน้ ที่ 2 ข้ันสารวจและค้นหา (Exploration) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาเก่ียวกับทักษะการคานวณจากอินเทอร์เน็ตหรือห้องสมุด โรงเรียน 2. หลังจากที่นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาเกี่ยวกับทักษะการคานวณเสร็จ ครูอธิบายวิธีการปฏิบัติกิจกรรม ทักษะการคานวณ 3. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกันปฏิบัติกจิ กรรมทักษะการคานวณ เม่ือปฏิบัติกจิ กรรมแล้วให้นักเรียนบันทึก ลงในใบงาน เรื่อง ทกั ษะการคานวณทค่ี รูแจกให้ ขั้นท่ี 3 ขนั้ อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายและสรา้ งขอ้ สรปุ โดยใชค้ าถาม ดงั นี้ 1. ในกลมุ่ นักเรียนใครมนี ้าหนกั มากทีส่ ุด และมีน้าหนกั เทา่ ไหร่ (แนวการตอบ: ตามการช่ังนา้ หนักของนักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ) 2. ในกลมุ่ นักเรยี นใครมนี ้าหนักนอ้ ยท่ีสดุ และมีนา้ หนักเท่าไหร่ (แนวการตอบ: ตามการชั่งน้าหนกั ของนกั เรียนแต่ละกล่มุ ) 3. คนที่มีน้าหนักมากทีส่ ดุ มีน้าหนักมากกวา่ คนท่นี ้าหนักน้อยท่ีสุดเท่าไร (แนวการตอบ: ตามความคดิ ของนกั เรยี น) 4. ส่วนสงู เฉลีย่ ของนกั เรียนในกลุม่ ทัง้ หมดเทา่ ไร (แนวการตอบ: ตามความคิดของนักเรียน) 5. นา้ หนักเฉลี่ยของนักเรยี นในกลุ่มทัง้ หมดเทา่ ไร (แนวการตอบ: ตามความคิดของนักเรยี น)

6. หลังจากท่นี ักเรียนได้ปฏิบัติกจิ กรรมทักษะการคานวณแล้ว นกั เรียนสามารถสรปุ ทักษะการคานวณได้ วา่ อยา่ งไร (แนวการตอบ: การนับจานวนของวัตถุ และการนาตัวเลขที่ได้จากนับ และตัวเลขจากการวัดมา คานวณดว้ ยสูตรคณิตศาสตร์) 7. คา่ ทีไ่ ด้จากการคานวณสามารถนาไปทาอะไร (แนวการตอบ: นาไปใชใ้ นการสรุปผลการทดลอง การอธิบาย และตรวจสอบสมมตฐิ าน) ขั้นที่ 4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) ครใู ห้ความรูเ้ พ่มิ เตมิ เกย่ี วกบั พฤติกรรมที่แสดงว่าเกดิ ทกั ษะการคานวณ ดงั นี้ 1. คานวณไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง รวดเร็ว 1.1 บอกวธิ ีคานวณได้ 1.2 คิดคานวณได้ถกู ต้อง 1.3 แสดงวิธีคดิ คานวณได้ 2. หาคา่ เฉล่ยี ได้ 2.1 บอกวธิ กี ารหาคา่ เฉลยี่ ได้ 2.2 หาค่าเฉลีย่ ได้ 2.3 แสดงวิธหี าค่าเฉล่ยี ได้ 3. นบั และใช้ตวั เลขแสดงจานวนสง่ิ ของทน่ี ับไดถ้ ูกตอ้ ง 3.1 นับจานวนสิง่ ของได้ถูกตอ้ ง 3.2 ใชต้ วั เลขแสดงจานวนท่ีนบั ได้ 3.3 ตดั สนิ ว่าของในกลมุ่ ใดมีจานวนเทา่ กนั หรือต่างกัน 4. ระบุหน่วยที่ใช้หลังจากคานวณได้อย่างถกู ต้อง ขัน้ ท่ี 5 ข้ันประเมินผล (Evaluation) 11. ครูใหน้ ักเรยี นสรปุ ความคิดรวบยอด เรือ่ ง ทกั ษะการคานวณ 12. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันอภิปรายเกีย่ วกบั “ทกั ษะการคานวณ” 13. นกั เรียนแต่ละคนพจิ ารณาว่า มจี ดุ ใดบา้ งทีย่ งั ไม่เข้าใจหรือยังมีข้อสงสยั ถ้ามีครูชว่ ยอธิบายเพ่ิมเติมให้ นกั เรยี นเข้าใจ 9. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้ 9.1 ส่อื - สือ่ การสอน Power Point เรื่อง ทกั ษะการคานวณ - ใบงาน เรอื่ ง ทกั ษะการคานวณ

- สรปุ ความคิดรวบยอดเรอ่ื ง ทักษะการคานวณ - แบบประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 9.2 แหลง่ การเรยี นรู้ - หอ้ งเรียนวทิ ยาศาสตร์ - หอ้ งสมดุ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 10. การวัดและการประเมินผล 10.1 การวดั ผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธกี ารวดั เคร่อื งมอื 1. ดา้ นความรู้ (K) - นักเรียนสรุปความคิด - สรุปความคิดรวบยอด - นักเรยี นมีความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการ รวบยอด เรื่อง ทักษะการ เรื่อง ทักษะการคานวณ คานวณ คานวณ 2. ด้านทักษะกระบวนการ (P) - นักเรยี นทาใบงาน เรื่อง - ใบงาน เรอ่ื ง ทักษะการ - นักเรียนสามารถคานวณเก่ียวกับน้าหนัก ทกั ษะการคานวณ คานวณ และส่วนสูงได้ 3. ด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) - ครูประเมินคุณลักษณะ - แบบประเมิน - นักเรียนเป็นผู้ที่มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และ อันพึงประสงค์ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ม่งุ ม่นั ในการทางาน ประสงค์ 10.2 เกณฑก์ ารประเมินผล ระดับคุณภาพ 10.2.1 ด้านความรู้ (K) (4) (3) (2) (1) - นกั เรยี นมคี วามเข้าใจเกี่ยวกบั ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ทักษะการคานวณ นกั เรียนได้ นกั เรยี นได้ นกั เรียนได้ นกั เรยี นได้ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ สรปุ ความคดิ สรุปความคิด สรุปความคิด สรุปความคดิ รวบ รวบยอด 9-10 รวบยอด 7-8 รวบยอด 5-6 ยอดต่ากวา่ 5 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

10.2.2 ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) (4) ระดบั คุณภาพ (1) ดมี าก (3) (2) ปรบั ปรงุ - นกั เรยี นสามารถคานวณ นกั เรยี นได้ ดี พอใช้ นกั เรยี นได้ เกยี่ วกบั นา้ หนักและสว่ นสงู ได้ คะแนนจาก นกั เรยี นได้ นกั เรียนได้ คะแนนจากการ การทาใบงาน คะแนนจากการ คะแนนจากการ ทาใบงานต่ากวา่ 14-16 คะแนน ทาใบงาน11-13 ทาใบงาน 8 คะแนน คะแนน 8-10 คะแนน 10.2.3 คุณลักษณะ (A) ระดับคุณภาพ - นักเรียนเปน็ ผ้ทู ม่ี วี ินยั ใฝ่เรยี นรู้ (4) (3) (2) (1) และมงุ่ ม่นั ในการทางาน ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง นักเรยี นได้ นกั เรยี นได้ นกั เรียนได้ นักเรยี นได้ คะแนนจากการ คะแนนจาก คะแนนจาก คะแนนจากการ ประเมิน การประเมนิ การประเมนิ ประเมนิ คุณลักษณะ คณุ ลักษณะ คณุ ลักษณะ คุณลักษณะอัน อันพึงประสงค์ อนั พึงประสงค์ อนั พงึ ประสงค์ พึงประสงค์ตา่ 11-12 คะแนน 9-10 คะแนน 6-8 คะแนน กวา่ 6 คะแนน

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ท่ี ชือ่ - สกลุ มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มั่นในการ รวม ทางาน 432143214321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27

เกณฑก์ ารให้คะแนน ประเดน็ การ (4) ระดับการปฏิบตั ิ (1) ประเมนิ ดีมาก (3) (2) ปรับปรุง ดี พอใช้ 1. มีวนิ ัย สง่ งานครบทุกชิน้ สง่ งานครบทุกช้นิ ส่งงานช้าเปน็ บางครง้ั สง่ งานช้าเป็นประจา ก่อนเวลาท่ีกาหนด ตามเวลาทีก่ าหนด หรือไม่ส่งงานเลย ทุกครงั้ 2. ใฝ่เรยี นรู้ ต้งั ใจเรยี น มคี วาม ตั้งใจเรยี น มีความ ต้ังใจเรียน แต่ขาด ไมค่ ่อยต้งั ใจเรยี น พยายามในการ พยายามในการเรียนรู้ ความพยายาม ขาดความพยายาม คน้ ควา้ หาความรู้จาก ในห้องเรยี น ซักถาม ซกั ถามคาตอบ ไม่มีการซกั ถามเพื่อ แหลง่ เรียนรู้ต่างๆ บอ่ ยครัง้ บางครงั้ หาคาตอบ ซักถามเพ่ือคาตอบ ทุกครั้ง 3. มงุ่ มน่ั ในการ มคี วามกระตือรอื รน้ มีความกระตือรือร้น มีความกระตือรือร้น ขาดความ ทางาน ทางานสาเรจ็ ถูกต้อง ทางานสาเร็จถูกต้อง ทางานสาเร็จ แต่ กระตือรอื รน้ ต่อการ ตามเวลาทีก่ าหนด แต่ชา้ เกนิ เวลาที่ เนือ้ หาไมถ่ กู ต้อง ทางาน งานไมเ่ สรจ็ กาหนด บางส่วน หรือไม่ ตามเวลาท่ีกาหนด ถูกต้อง และเนือ้ หาไม่ถกู ต้อง เกณฑ์การประเมินต้องได้ระดับคะแนน 2 ข้ึนไปจึงจะผ่านเกณฑ์ (6คะแนน) 11-12 คะแนน อยูใ่ นระดับดีมาก 9-10 คะแนน อยู่ในระดบั ดี 6-8 คะแนน อยูใ่ นระดบั พอใช้ ตา่ กวา่ 6 คะแนน อย่ใู นระดบั ควรปรบั ปรุง สรุปการประเมนิ ลงชื่อ…………………………………………ผู้ประเมิน ผ่าน……………………. (นางสาวศริ วิ รรณ มุนนิ คา) ไม่ผ่าน……………….. ………./………./……….

แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 12 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 – 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 หน่วยที่ 2 เร่อื ง ทกั ษะทางวิทยาศาสตร์ เวลา 2 ชว่ั โมง แผนการจัดการเรียนรู้ เรอื่ ง ทกั ษะความสัมพันธร์ ะหวา่ งสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา ผู้สอน นางสาว ศริ ิวรรณ มุนนิ คา 1. ผลการเรยี นรู้ 5. ทดลองเกี่ยวกับทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรด์ า้ นการระบุความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสเปส กับสเปสและสเปสกบั เวลาได้อยา่ งถูกต้อง 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. นักเรียนมีความเข้าใจเกีย่ วกบั ทักษะความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา (K) 2. นกั เรียนสามารถปฏิบัตกิ จิ กรรม โดยใช้ทักษะความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสเปสกบั สเปสและสเปสกบั เวลา (P) 3. นักเรยี นเปน็ ผู้ที่มวี ินัย ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งม่นั ในการทางาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ 1. ทกั ษะความสมั พันธ์ระหวา่ งสเปสกับสเปสและสเปสกบั เวลา 4. ทกั ษะการเรียนรู้ 1. ทกั ษะวทิ ยาศาสตร์ - การสงั เกต - การอภปิ รายและลงขอ้ สรปุ 5. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ - มวี นิ ยั - ใฝเ่ รียนรู้ - มงุ่ ม่ันในการทางาน 6. สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น/สมรรถนะของศตวรรษที่ 21 - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคดิ - ความสามารถในการแก้ปัญหา

7. สาระสาคญั ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสของวัตถุ ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่าง 3 มิติ กับ 2 มิติ ความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่งที่อยู่ของวัตถุหนึ่งกับวัตถุหน่ึง ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสของวัตถุกับ เวลา ได้แก่ ความสัมพันธ์ของการเปล่ียนแปลงตาแหน่งของวัตถุกับช่วงเวลา หรือความสัมพันธ์ของสเปสของ วตั ถทุ เี่ ปลย่ี นไปกับชว่ งเวลา 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขั้นท่ี 1 ข้นั สร้างความสนใจ (Engagement) ครูนาเขา้ สู่บทเรียน โดยการทบทวนความรู้ที่นักเรียนไดเ้ รยี นในคาบที่ผ่านมา ดังน้ี 1. ทกั ษะการคานวณ คอื อะไร (แนวการตอบ: การนับจานวนของวัตถุ การนาตัวเลขท่ีได้จากนับ และตัวเลขจากการวัดมาคานวณ ด้วยสูตรคณติ ศาสตร์) 2. พฤติกรรมท่ีแสดงวา่ เกิดทักษะการคานวณมีอะไรบา้ ง (แนวการตอบ: การคานวณไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง หาค่าเฉล่ียได้ นบั และใชต้ วั เลขแสดงจานวนส่งิ ของท่ีนับได้ ถกู ตอ้ ง และระบุหนว่ ยท่ีใช้หลงั จากคานวณไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง) 3. ครูแจ้งให้นักเรียนฟังว่า ในคาบน้ีนักเรียนจะได้เรียน เร่ือง ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกบั เวลา ข้ันท่ี 2 ข้ันสารวจและค้นหา (Exploration) 1. ครูให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาเก่ียวกับทักษะความสัมพันธร์ ะหวา่ งสเปสกบั สเปสและสเปสกับ เวลาจากหอ้ งสมุดโรงเรยี นหรอื อินเทอรเ์ นต็ 2. หลังจากท่ีนักเรียนศึกษาทักษะความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลาเสร็จ ครูอธิบาย วิธีการปฏิบัตกิ ิจกรรมการหาความสมั พันธร์ ะหว่างสเปสกบั สเปสและสเปสกับเวลา 3. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มร่วมกันปฏบิ ตั ิกจิ กรรม เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสรจ็ ตวั แทนกลมุ่ ออกมานาเสนอหน้าชั้น เรียน ข้ันที่ 3 ขัน้ อธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation) ครูและนักเรียนร่วมกันอภปิ รายและสรา้ งขอ้ สรุปโดยใช้คาถาม ดังน้ี 1. วยั ใดที่รา่ งกายมีรปู รา่ งขนาดใหญท่ ส่ี ุด (แนวการตอบ: วยั ผใู้ หญ่)

2. วัยใดที่รา่ งกายมรี ปู รา่ งขนาดเลก็ ท่ีสุด (แนวการตอบ: วัยทารก) 3. เพราะเหตใุ ดวยั ทารกจงึ ต้องการอาหารประเภทโปรตีนมากท่สี ุด (แนวการตอบ: เด็กทารกต้องการโปรตีนมาก เพื่อใช้สร้างเนื้อเยื่อต่างๆ ของร่างกายท่ีเจริญเติบโต อยา่ งรวดเร็ว) ข้ันที่ 4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) ครูให้ความรูเ้ พม่ิ เติมเกีย่ วกบั ทกั ษะความสมั พนั ธร์ ะหว่างสเปสกบั สเปสและสเปสกับเวลา ดงั น้ี สเปส หมายถึง ท่ีว่างหรืออวกาศ สเปสของวัตถุ หมายถึง ทางที่วัตถุนั้นครองที่หรือกินอยู่ และมี รูปร่างลักษณะเช่นเดียวกับวัตถุน้ัน โดยทั่วไปแล้วสเปสของวัตถุจะมี 3 มิติ คือ ความกว้าง ความยาว และ ความสูง (หรือความหนา) ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสของวัตถุ ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างมิติ 3 มิติ กับ 2 มิติ ความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่งที่อยู่ของวัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุหนึ่ง ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสของวตั ถุ กับเวลา ได้แก่ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งการเปลยี่ นแปลงตาแหน่งท่ีอยูข่ องวตั ถกุ ับเวลา หรือความสัมพนั ธร์ ะหว่าง การเปล่ียนขนาดหรือปริมาณของวัตถุกับเวลา อาจกล่าวโดยภาพรวมได้ว่า การใช้ความสัมพันธ์เกี่ยวกับสเปส หมายถึง ความสามารถในการระบุความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสงิ่ ต่อไปน้ี คอื 1. ความสัมพันธ์ระหว่าง 2 มิติกบั 3 มติ 2. สง่ิ ท่อี ยู่หน้ากระจกเงากบั ภาพทป่ี รากฏในกระจกเงาว่าจะเป็นซา้ ยขวาของกันและกันอย่างไร 3. ตาแหนง่ ทอี่ ยู่ของวตั ถุหน่งึ กบั อีกวตั ถหุ นึ่ง 4. การเปลีย่ นแปลงตาแหนง่ ท่อี ยู่ของวัตถุกบั เวลาหรือสเปสของวัตถุทเ่ี ปลยี่ นไปกับเวลา ขั้นที่ 5 ข้ันประเมนิ ผล (Evaluation) 1. ครูให้นักเรียนสรุปความคิดรวบยอด เร่ือง การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับ เวลา 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับ “ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับ เวลา” 3. นกั เรยี นแตล่ ะคนพจิ ารณาว่า มีจุดใดบ้างทย่ี ังไมเ่ ขา้ ใจหรือยังมีข้อสงสัย ถา้ มีครูชว่ ยอธิบายเพ่ิมเติมให้ นกั เรียนเขา้ ใจ 9. ส่อื /แหล่งการเรียนรู้ 9.1 ส่อื - ส่อื การสอน Power Point เรื่อง ทกั ษะความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสเปสกบั สเปสและสเปสกับเวลา - กิจกรรมการหาความสัมพันธ์ระหวา่ งสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา - การสรปุ ความคิดรวบยอด เรอ่ื ง การหาความสัมพนั ธร์ ะหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกบั เวลา - แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์

9.2 แหลง่ การเรียนรู้ - หอ้ งเรยี นวทิ ยาศาสตร์ - ห้องสมุดโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 10. การวัดและการประเมินผล 10.1 การวัดผล จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ วธิ ีการวัด เคร่ืองมอื 1. ดา้ นความรู้ (K) - นกั เรยี นสรปุ ความคดิ - สรปุ ความคดิ รวบยอด - นักเรียนมคี วามเข้าใจเกย่ี วกับทกั ษะ รวบยอด เรื่อง การหา เรอ่ื ง การหาความสมั พนั ธ์ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสเปสกับสเปส ความสัมพันธ์ระหว่าง ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกบั เวลา สเปสกบั สเปสและสเปส และสเปสกับเวลา กับเวลา 2. ด้านทักษะกระบวนการ (P) - นักเรยี นทากิจกรรม - กิจกรรมการหา - นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้ การหาความสมั พันธ์ ความสมั พันธร์ ะหว่าง ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส ระหว่างสเปสกับสเปส สเปสกับสเปสและสเปส และสเปสกับเวลา และสเปสกบั เวลา กบั เวลา 3. ด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) - ครูประเมินคุณลักษณะ - แบบประเมนิ - นักเรียนเป็นผู้ท่ีมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และ อันพงึ ประสงค์ คณุ ลกั ษณะอันพงึ มงุ่ มนั่ ในการทางาน ประสงค์ 10.2 เกณฑ์การประเมินผล ระดบั คุณภาพ 10.2.1 ดา้ นความรู้ (K) (4) (3) (2) (1) - นกั เรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกบั ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ทักษะความสมั พันธ์ระหวา่ งสเปส กับสเปสและสเปสกับเวลา นักเรียนได้ นกั เรยี นได้ นักเรยี นได้ นักเรียนได้ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ สรปุ ความคิด สรปุ ความคดิ สรุปความคดิ สรปุ ความคดิ รวบ รวบยอด 9-10 รวบยอด 7-8 รวบยอด 5-6 ยอดต่ากว่า 5 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

10.2.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P) (4) ระดบั คุณภาพ (1) ดมี าก (3) (2) ปรับปรุง - นักเรยี นสามารถปฏิบตั กิ ิจกรรม นักเรียนได้ ดี พอใช้ นกั เรยี นได้ โดยใช้ทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง คะแนนจาก นกั เรยี นได้ นักเรยี นได้ คะแนนจากการ สเปสกบั สเปสและสเปสกบั เวลา การทากิจกรรม คะแนนจากการ คะแนนจากการ ทากิจกรรมตา่ 14-16 คะแนน ทากจิ กรรม ทากิจกรรม กวา่ 8 คะแนน 11-13 คะแนน 8-10 คะแนน 10.2.3 คุณลกั ษณะ (A) ระดับคุณภาพ - นักเรียนเปน็ ผูท้ ่ีมวี นิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ (4) (3) (2) (1) และมงุ่ ม่ันในการทางาน ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ นักเรยี นได้ นักเรียนได้ นกั เรยี นได้ นักเรยี นได้ คะแนนจากการ คะแนนจาก คะแนนจาก คะแนนจากการ ประเมิน การประเมนิ การประเมิน ประเมิน คุณลักษณะ คุณลักษณะ คณุ ลักษณะ คณุ ลกั ษณะอนั อันพงึ ประสงค์ อนั พงึ ประสงค์ อนั พึงประสงค์ พึงประสงค์ตา่ 11-12 คะแนน 9-10 คะแนน 6-8 คะแนน กวา่ 6 คะแนน

กิจกรรม ทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสเปสกบั สเปสและสเปสกับเวลา สมาชิกกลุ่ม 1. ชื่อ................................................................................................................เลขที.่ .......................... 2. ชื่อ................................................................................................................เลขที.่ .......................... 3. ชอ่ื ................................................................................................................เลขท.ี่ .......................... 4. ชอ่ื ................................................................................................................เลขท่ี........................... 5. ชื่อ................................................................................................................เลขท.ี่ .......................... 6. ชอื่ ................................................................................................................เลขที.่ .......................... คาชแ้ี จง: ให้นักเรยี นวาดภาพการเจรญิ เติบโตของมนุษย์จากวัยทารก วัยเดก็ วยั ผใู้ หญ่ และวัยชรา คาถาม 1. วยั ใดท่ีรา่ งกายมรี ปู ร่างขนาดใหญท่ ีส่ ุด............................................................................................................. 2. วยั ใดที่รา่ งกายมีรูปรา่ งขนาดเล็กทีส่ ุด.............................................................................................................. 3. เพราะเหตุใดวัยทารกจงึ ต้องการอาหารประเภทโปรตีนมากทสี่ ุด.................................................................... ........................................................................................................................................................................

ใบงาน เรอ่ื ง ทักษะการคานวณ คาชี้แจง: ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มชั่งน้าหนัก วดั ส่วนสูงของตัวเองแล้วบันทึกผลลงในใบงาน พรอ้ มกับ เปรยี บเทียบข้อมลู ตารางบนั ทกึ นา้ หนักและสว่ นสูง ชอื่ -สกุล ระดบั เกณฑ์ นา้ หนกั สว่ นสูง อว้ น ผอม ปกติ 1. 2. 3. 4. 5. 6. นา้ หนักเทียบกบั เกณฑม์ าตรฐาน คาถาม 1. ในกลุ่มนักเรียนใครมีนา้ หนักมากทสี่ ดุ และมีน้าหนกั เท่าไหร่...................................................................... .................................................................................................................................................................... 2. ในกลุ่มนกั เรยี นใครมนี ้าหนกั นอ้ ยที่สุด และมนี ้าหนักเทา่ ไหร่..................................................................... .................................................................................................... ............................................................... 3. คนที่มีนา้ หนกั มากท่ีสดุ มนี ้าหนักมากกว่าคนที่น้าหนักน้อยที่สดุ เทา่ ไร...................................................... 4. สว่ นสูงเฉลย่ี ของนักเรียนในกลุ่มทง้ั หมดเท่าไร............................................................................................ 5. นา้ หนกั เฉลี่ยของนกั เรียนในกลมุ่ ทัง้ หมดเทา่ ไร........................................................................................... 6. นักเรยี นคดิ วา่ ตนเองมีการเจรญิ เตบิ โตหรือไม่ ดจู ากอะไร..........................................................................

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ท่ี ชือ่ - สกลุ มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มั่นในการ รวม ทางาน 432143214321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27

เกณฑก์ ารให้คะแนน ประเดน็ การ (4) ระดับการปฏิบตั ิ (1) ประเมนิ ดีมาก (3) (2) ปรับปรุง ดี พอใช้ 1. มีวนิ ัย สง่ งานครบทุกชิน้ สง่ งานครบทุกช้นิ ส่งงานช้าเปน็ บางครง้ั สง่ งานช้าเป็นประจา ก่อนเวลาท่ีกาหนด ตามเวลาทีก่ าหนด หรือไม่ส่งงานเลย ทุกครงั้ 2. ใฝ่เรยี นรู้ ต้งั ใจเรยี น มคี วาม ตั้งใจเรยี น มีความ ต้ังใจเรียน แต่ขาด ไมค่ ่อยต้งั ใจเรยี น พยายามในการ พยายามในการเรียนรู้ ความพยายาม ขาดความพยายาม คน้ ควา้ หาความรู้จาก ในห้องเรยี น ซักถาม ซกั ถามคาตอบ ไม่มีการซกั ถามเพื่อ แหลง่ เรียนรู้ต่างๆ บอ่ ยครัง้ บางครงั้ หาคาตอบ ซักถามเพ่ือคาตอบ ทุกครั้ง 3. มงุ่ มน่ั ในการ มคี วามกระตือรอื รน้ มีความกระตือรือร้น มีความกระตือรือร้น ขาดความ ทางาน ทางานสาเรจ็ ถูกต้อง ทางานสาเร็จถูกต้อง ทางานสาเร็จ แต่ กระตือรอื รน้ ต่อการ ตามเวลาทีก่ าหนด แต่ชา้ เกนิ เวลาที่ เนือ้ หาไมถ่ กู ต้อง ทางาน งานไมเ่ สรจ็ กาหนด บางส่วน หรือไม่ ตามเวลาท่ีกาหนด ถูกต้อง และเนือ้ หาไม่ถกู ต้อง เกณฑ์การประเมินต้องได้ระดับคะแนน 2 ข้ึนไปจึงจะผ่านเกณฑ์ (6คะแนน) 11-12 คะแนน อยูใ่ นระดับดีมาก 9-10 คะแนน อยู่ในระดบั ดี 6-8 คะแนน อยูใ่ นระดบั พอใช้ ตา่ กวา่ 6 คะแนน อย่ใู นระดบั ควรปรบั ปรุง สรุปการประเมนิ ลงชื่อ…………………………………………ผู้ประเมิน ผ่าน……………………. (นางสาวศริ วิ รรณ มุนนิ คา) ไม่ผ่าน……………….. ………./………./……….

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 13 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 – 3 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 หนว่ ยท่ี 2 เรื่อง ทักษะทางวิทยาศาสตร์ เวลา 2 ช่วั โมง แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ทักษะความสัมพนั ธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา ผูส้ อน นางสาว ศริ ิวรรณ มุนินคา 1. ผลการเรียนรู้ 5. ทดลองเกีย่ วกับทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ดา้ นการระบุความสมั พันธ์ระหว่างสเปส กับสเปสและสเปสกับเวลาได้อยา่ งถูกต้อง 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. นกั เรยี นสามารถอธบิ ายเก่ียวกับทกั ษะความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา (K) 2. นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง โดยใช้ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกบั เวลา (P) 3. นักเรียนเปน็ ผู้ท่ีมวี นิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งม่ันในการทางาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ 1. ทักษะความสมั พนั ธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา 4. ทกั ษะการเรียนรู้ 1. ทักษะวิทยาศาสตร์ - การสังเกต - การตง้ั สมมติฐานและการกาหนดตัวแปร - การทดลอง - การอภปิ รายและลงขอ้ สรปุ 5. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - มวี ินัย - ใฝเ่ รยี นรู้ - มุ่งมั่นในการทางาน

6.สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน/สมรรถนะของศตวรรษท่ี 21 - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแก้ปัญหา 7. สาระสาคัญ ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสของวัตถุ ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่าง 3 มิติ กับ 2 มิติ ความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่งท่ีอยู่ของวัตถุหน่ึงกับวัตถุหนึ่ง ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสของวัตถุกับ เวลา ได้แก่ ความสัมพันธ์ของการเปล่ียนแปลงตาแหน่งของวัตถุกับช่วงเวลา หรือความสัมพันธ์ของสเปสของ วตั ถทุ ่ีเปล่ียนไปกบั ชว่ งเวลา 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นท่ี 1 ข้นั สรา้ งความสนใจ (Engagement) ครนู าเขา้ ส่บู ทเรียน โดยการทบทวนความรทู้ ่นี กั เรยี นไดเ้ รียนในคาบท่ีผา่ นมา ดงั น้ี 1. ทักษะความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสเปสกบั สเปสและสเปสกับเวลาคืออะไร (แนวการตอบ: ความชานาญในการสังเกตรูปร่างของวตั ถุ โดยเปรียบเทียบกบั ตาแหนง่ ของผสู้ งั เกตกับ การมองในทิศทางต่างๆ กัน โดยการเคล่ือนที่ การผ่า การหมุน การตัดวัตถุ และบอกผลที่เกิดข้ึนจาก การเปลี่ยนแปลงได้ เพอื่ บอกความสมั พันธ์ของมิตแิ ละภาวะการณ์นนั้ ) 2. ครูแจ้งให้นักเรียนฟังว่า ในคาบน้ีนักเรียนจะได้ปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง เร่ือง ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างสเปสกบั สเปสและสเปสกบั เวลา ข้นั ท่ี 2 ข้ันสารวจและค้นหา (Exploration) 1. ครูใช้คาถามทดสอบความเข้าใจของนักเรียนเก่ียวกับทักษะความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา 2. จากน้ันครูอธิบายวิธีการปฏบิ ัติกิจกรรมการทดลอง เร่ือง ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา 3. นักเรียนแต่ละกล่มุ รว่ มกนั ปฏิบตั กิ ิจกรรมการทดลอง และตวั แทนกลมุ่ ออกมานาเสนอผลการทดลอง หน้าชน้ั เรยี น

ขัน้ ที่ 3 ข้นั อธิบายและลงขอ้ สรุป (Explanation) ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายและสร้างขอ้ สรปุ โดยใช้คาถาม ดงั น้ี 1. รูป ก. มรี ปู รา่ งและลกั ษณะอยา่ งไร (แนวการตอบ: รปู ลกู บาศก์ มรี ะนาบสมมาตร 9 ระนาบ) 2. รูป ข. มีรูปรา่ งและลักษณะอยา่ งไร (แนวการตอบ: รูปกลอ่ ง มีระนาบสมมาตร 3 ระนาบ) 3. รูป ค. มีรูปรา่ งและลักษณะอย่างไร (แนวการตอบ: รูปทรงกระบอก มีระนาบสมมาตรตัดผ่านจุดศูนย์กลางของวงกลมไดจ้ านวนมาก และ มอี ีกหนึง่ ระนาบอยใู่ นแนวก่งึ กลางความสงู ของทรงกระบอก) 4. รูป ง. มีรูปร่างและลกั ษณะอย่างไร (แนวการตอบ: รปู ปรซิ ึมฐานสามเหลี่ยมดา้ นเทา่ มีระนาบสมมาตร 4 ระนาบ) 5. รปู จ. มรี ปู รา่ งและลกั ษณะอยา่ งไร (แนวการตอบ: รปู พรี ะมิดฐานสเ่ี หล่ยี มจัตุรัส มีระนาบสมมาตร 4 ระนาบ) 6. หลังจากที่นักเรียนได้ปฏิบัติการทดลองนักเรียนสามารถสรุปทักษะความสัมพันธ์ระหว่างสเปส กับสเปสและสเปสกบั เวลาไดว้ า่ อย่างไร (แนวการตอบ: สเปสของวัตถุใดๆ หมายถึง ที่ว่างที่วัตถุนั้นครองท่ี ซึ่งจะมีรูปร่างเหมือนวัตถุนั้น เช่น สเปสของแผ่นกระดาษรูปส่ีเหล่ียมผืนผ้าก็คือ เน้ือท่ีซึ่งกระดาษแผ่นน้ีทับอยู่ ซ่ึงจะมีรูปร่างเป็น ส่ีเหลย่ี มผนื ผ้าเท่ากับแผ่นทีท่ ับอยู่) ขัน้ ที่ 4 ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา เป็นความชานาญในการสังเกต รูปร่างของวัตถุ โดยเปรียบเทยี บกบั ตาแหน่งของผู้สังเกตกับการมองในทิศทางต่างๆ กนั โดยการเคลื่อนที่ การ ผ่า การหมุน การตัดวัตถุ และบอกผลท่ีเกิดข้ึนจากการเปล่ียนแปลงได้ สังเกตการณ์เคล่ือนไหวขอวัตถุ โดย สามารถเห็นและจัดกระทากับวัตถุ และเหตุการณ์เก่ียวกับรูปร่าง เวลา ระยะทาง ความเร็ว ทิศทาง และการ เคลื่อนไหว เพื่อบอกความสัมพันธ์ของมิติและภาวะการณ์นั้น หรือความสามารถในการหาความสัมพันธ์ ระหว่าง 3 มิติ กับ 2 มิติ ระหว่างตาแหน่งท่ีอยู่ของวตั ถุหนง่ึ กับอีกวัตถุหน่ึง ระหว่างสเปสของวัตถุกับเวลา ซึ่ง ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างการเปล่ียนแปลงตาแหน่งที่อยู่ของวัตถุกับเวลาหรือระหว่างสเปสของวัตถุที่ เปล่ียนไปกบั เวลา

ขน้ั ที่ 5 ข้ันประเมินผล (Evaluation) 1. ครูให้นกั เรียนทาใบงาน เร่อื ง การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกบั สเปสและสเปสกับเวลา 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับ “ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับ เวลา” 3. นักเรียนแต่ละคนพจิ ารณาว่า มีจดุ ใดบ้างท่ียงั ไม่เข้าใจหรือยังมีข้อสงสยั ถ้ามคี รูช่วยอธบิ ายเพ่ิมเติมให้ นกั เรยี นเข้าใจ 9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ 9.1 สอ่ื - สอ่ื การสอน Power Point เรือ่ ง ทักษะความสัมพันธร์ ะหวา่ งสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา - กจิ กรรม ทักษะความสัมพันธ์ระหวา่ งสเปสกบั สเปสและสเปสกับเวลา - ใบงาน เรอื่ ง การหาความสัมพนั ธร์ ะหว่างสเปสกบั สเปสและสเปสกับเวลา - แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 9.2 แหลง่ การเรียนรู้ - หอ้ งเรียนวทิ ยาศาสตร์ - ห้องสมดุ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 10. การวดั และการประเมินผล 10.1 การวดั ผล จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วธิ กี ารวดั เครื่องมือ 1. ด้านความรู้ (K) - นักเรยี นทาใบงาน เร่ือง - ใบงาน เรอื่ ง การหา - นกั เรียนสามารถอธบิ ายเกย่ี วกบั ทักษะ การหาความสัมพันธ์ ความสัมพนั ธ์ระหว่าง ความสมั พันธ์ระหวา่ งสเปสกับสเปส ระหวา่ งสเปสกบั สเปส สเปสกบั สเปสและสเปส และสเปสกับเวลา และสเปสกับเวลา กับเวลา 2. ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) - นักเรยี นทากจิ กรรม - กจิ กรรม ทักษะ - นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมการ ทกั ษะความสัมพนั ธ์ ความสัมพนั ธ์ระหว่าง ทดลอง โดยใช้ทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง ระหวา่ งสเปสกบั สเปส สเปสกับสเปสและสเปส สเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา และสเปสกับเวลา กบั เวลา 3. ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) - ครูประเมินคุณลักษณะ - แบบประเมิน - นักเรียนเป็นผู้ท่ีมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และ อันพึงประสงค์ คณุ ลักษณะอันพงึ มุง่ ม่นั ในการทางาน ประสงค์

10.2 เกณฑ์การประเมินผล ระดบั คณุ ภาพ 11.2.1 ด้านความรู้ (K) (4) (3) (2) (1) ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ - นักเรยี นสามารถอธบิ าย นกั เรียนได้ นักเรียนได้ นกั เรียนได้ นกั เรียนได้ เกยี่ วกับทักษะความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ สเปสกบั สเปสและสเปสกบั เวลา ทาใบงาน 9-10 ทาใบงาน 7-8 ทาใบงาน 5-6 ทาใบงานต่ากวา่ คะแนน คะแนน คะแนน 5 คะแนน 10.2.2 ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) (4) ระดบั คุณภาพ (1) ดมี าก (3) (2) ปรับปรงุ - นักเรยี นสามารถปฏิบัตกิ ิจกรรม นักเรยี นได้ ดี พอใช้ นกั เรียนได้ การทดลอง โดยใช้ทักษะ คะแนนจาก นกั เรียนได้ นกั เรียนได้ คะแนนจากการ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสเปสกับสเปส การทากิจกรรม คะแนนจากการ คะแนนจากการ ทากิจกรรมตา่ และสเปสกบั เวลา 14-16 คะแนน ทากิจกรรม11- ทากจิ กรรม กวา่ 8 คะแนน 13 คะแนน 8-10 คะแนน 10.2.3 คุณลักษณะ (A) ระดบั คุณภาพ - นกั เรยี นเป็นผูท้ ม่ี ีวินยั ใฝเ่ รยี นรู้ (4) (3) (2) (1) และม่งุ มั่นในการทางาน ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ นกั เรยี นได้ นกั เรียนได้ นักเรยี นได้ นักเรียนได้ คะแนนจากการ คะแนนจาก คะแนนจาก คะแนนจากการ ประเมนิ การประเมิน การประเมิน ประเมิน คณุ ลกั ษณะ คุณลกั ษณะ คุณลกั ษณะ คุณลกั ษณะอัน อนั พึงประสงค์ อันพงึ ประสงค์ อนั พึงประสงค์ พงึ ประสงค์ตา่ 11-12 คะแนน 9-10 คะแนน 6-8 คะแนน กว่า 6 คะแนน

กิจกรรม ทกั ษะความสัมพนั ธร์ ะหว่างสเปสกบั สเปสและสเปสกับเวลา สมาชกิ กลุ่ม 1. ชอ่ื ................................................................................................................เลขที่........................... 2. ชอ่ื ................................................................................................................เลขที.่ .......................... 3. ชอ่ื ................................................................................................................เลขท.ี่ .......................... 4. ชื่อ................................................................................................................เลขท.่ี .......................... 5. ชอื่ ................................................................................................................เลขท.่ี .......................... 6. ช่อื ................................................................................................................เลขท.ี่ .......................... วัสดุอุปกรณ์ 1. ดนิ นา้ มัน 2. มีด 3. กระจกเงา วิธีการทดลอง ปั้นดินน้ามันให้มีรูปทรงต่างๆ ตามภาพที่กาหนดให้ แล้วใช้มีดตัดตามระนาบทนี่ ักเรียนคิดว่าเป็น ระนาบสมมาตร ใชก้ ระจกเงาส่องดูว่าระนาบทตี่ ดั นน้ั เป็นระนาบสมมาตรจริงหรอื ไม่ สาหรบั วัตถทุ ่ตี ดั ได้ อาจใช้วธิ ีตดั แลว้ สอ่ งดกู ับกระจกเงา เพ่ือหาระนาบสามาตร แตว่ ัตถุที่ตดั ไม่ได้ ตอ้ งใช้วิธจี ินตนาการในการหาระนาบสมมาตร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook