Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้

Published by ศิริวรรณ มุนินคํา, 2021-03-10 08:30:18

Description: แผนการจัดการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

ตารางบันทกึ ผล ลกั ษณะ รปู ร่าง ก. ข. ค. ง. จ.

เฉลยกจิ กรรม ทักษะความสัมพนั ธร์ ะหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา สมาชกิ กลุ่ม 1. ชอ่ื ................................................................................................................เลขท่ี........................... 2. ช่ือ................................................................................................................เลขท่.ี .......................... 3. ชื่อ................................................................................................................เลขท.่ี .......................... 4. ช่อื ................................................................................................................เลขที่........................... 5. ชื่อ................................................................................................................เลขที.่ .......................... 6. ชอ่ื ................................................................................................................เลขท.่ี .......................... วสั ดอุ ุปกรณ์ 1. ดนิ นา้ มัน 2. มดี 3. กระจกเงา วิธกี ารทดลอง ปั้นดินน้ามันให้มีรูปทรงต่างๆ ตามภาพที่กาหนดให้ แล้วใช้มีดตัดตามระนาบทนี่ ักเรียนคิดว่าเปน็ ระนาบสมมาตร ใช้กระจกเงาส่องดวู า่ ระนาบที่ตดั นน้ั เปน็ ระนาบสมมาตรจริงหรอื ไม่ สาหรับวัตถทุ ต่ี ดั ได้ อาจใชว้ ิธีตดั แล้วสอ่ งดูกบั กระจกเงา เพื่อหาระนาบสามาตร แต่วัตถุที่ตัดไม่ได้ ต้องใช้วิธจี นิ ตนาการในการหาระนาบสมมาตร

ตารางบันทกึ ผล รปู รา่ ง ลักษณะ รูปลูกบาศก์ มีระนาบสมมาตร 9 ระนาบ ก. รปู กล่อง มรี ะนาบสมมาตร 3 ระนาบ ข. รปู ทรงกระบอก มรี ะนาบสมมาตรตดั ผา่ นจดุ ศนู ยก์ ลางของวงกลมได้จานวนมาก และมีอีก หนงึ่ ระนาบอยู่ในแนวก่ึงกลางความสงู ของ ทรงกระบอก ค. รูปปรซิ มึ ฐานสามเหล่ียมด้านเท่า มรี ะนาบ สมมาตร 4 ระนาบ ง. รปู พรี ะมิดฐานส่เี หลยี่ มจัตุรัส มรี ะนาบสมมาตร 4 ระนาบ จ.

ใบงาน เรือ่ ง การหาความสมั พันธ์ระหว่างสเปสกบั สเปสและสเปสกบั เวลา ตอนที่ 1 คาชแ้ี จง: ใหน้ กั เรียนพจิ ารณาวา่ วัตถตุ อ่ ไปน้ี วัตถใุ ดมีลกั ษณะสมมาตร 1. ระฆงั ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. อิฐ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. สม้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ถว้ ยกาแฟ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. รถยนต์ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. กล้วย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 7. อาคารเรียน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เฉลยใบงาน เร่ือง การหาความสมั พันธ์ระหว่างสเปสกบั สเปสและสเปสกบั เวลา ตอนที่ 1 คาช้ีแจง: ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาวา่ วตั ถุตอ่ ไปนี้ วตั ถุใดมีลักษณะสมมาตร 1. ระฆัง มลี กั ษณะสมมาตร 2. อฐิ มีลักษณะสมมาตร 3. ส้ม มีลักษณะสมมาตร 4. ถว้ ยกาแฟ เป็นรปู ทรงกระบอกและมีหู มีระนาบสมมาตรผ่านเส้นแบง่ ครง่ึ หูของถ้วยกาแฟตามแนวตงั้ 5. รถยนต์ รปู ทรงภายนอกรถมีระนาบสมมาตรในแนวแบ่งครง่ึ ตามแนวตง้ั จากหนา้ รถไปหลังรถ แต่ลกั ษณะ ภายในจะไม่สมมาตร เพราะมีพวงมาลยั อยู่ด้านเดยี วของรถ 6. กล้วย บางลกู มีลกั ษณะสมมาตร บางลูกก็ไมม่ ี 7. อาคารเรียน บางอาคารมลี ักษณะสมมาตร บางอาคารมีลกั ษณะไม่สมมาตร ขน้ึ อยกู่ ับลักษณะของอาคาร แตถ่ ้า พจิ ารณาภายในของอาคารเรียนด้วยจะไม่มรี ะนาบสมมาตร เพราะโครงสร้างภายในอาคารเรยี นจะไม่ สมมาตรกนั

ตอนที่ 2 คาชี้แจง: ใหน้ กั เรยี นเขียนภาพในกระจกเงาของรูปต่อไปน้ี ภาพ ภาพในกระจกเงา

ตอนที่ 2 คาชี้แจง: ใหน้ กั เรยี นเขียนภาพในกระจกเงาของภาพต่อไปน้ี ภาพ ภาพในกระจกเงา

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ท่ี ชือ่ - สกลุ มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มั่นในการ รวม ทางาน 432143214321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27

เกณฑก์ ารให้คะแนน ประเดน็ การ (4) ระดับการปฏิบตั ิ (1) ประเมนิ ดีมาก (3) (2) ปรับปรุง ดี พอใช้ 1. มีวนิ ัย สง่ งานครบทุกชิน้ สง่ งานครบทุกช้นิ ส่งงานช้าเปน็ บางครง้ั สง่ งานช้าเป็นประจา ก่อนเวลาท่ีกาหนด ตามเวลาทีก่ าหนด หรือไม่ส่งงานเลย ทุกครงั้ 2. ใฝ่เรยี นรู้ ต้งั ใจเรยี น มคี วาม ตั้งใจเรยี น มีความ ต้ังใจเรียน แต่ขาด ไมค่ ่อยต้งั ใจเรยี น พยายามในการ พยายามในการเรียนรู้ ความพยายาม ขาดความพยายาม คน้ ควา้ หาความรู้จาก ในห้องเรยี น ซักถาม ซกั ถามคาตอบ ไม่มีการซกั ถามเพื่อ แหลง่ เรียนรู้ต่างๆ บอ่ ยครัง้ บางครงั้ หาคาตอบ ซักถามเพ่ือคาตอบ ทุกครั้ง 3. มงุ่ มน่ั ในการ มคี วามกระตือรอื รน้ มีความกระตือรือร้น มีความกระตือรือร้น ขาดความ ทางาน ทางานสาเรจ็ ถูกต้อง ทางานสาเร็จถูกต้อง ทางานสาเร็จ แต่ กระตือรอื รน้ ต่อการ ตามเวลาทีก่ าหนด แต่ชา้ เกนิ เวลาที่ เนือ้ หาไมถ่ กู ต้อง ทางาน งานไมเ่ สรจ็ กาหนด บางส่วน หรือไม่ ตามเวลาท่ีกาหนด ถูกต้อง และเนือ้ หาไม่ถกู ต้อง เกณฑ์การประเมินต้องได้ระดับคะแนน 2 ข้ึนไปจึงจะผ่านเกณฑ์ (6คะแนน) 11-12 คะแนน อยูใ่ นระดับดีมาก 9-10 คะแนน อยู่ในระดบั ดี 6-8 คะแนน อยูใ่ นระดบั พอใช้ ตา่ กวา่ 6 คะแนน อย่ใู นระดบั ควรปรบั ปรุง สรุปการประเมนิ ลงชื่อ…………………………………………ผู้ประเมิน ผ่าน……………………. (นางสาวศริ วิ รรณ มุนนิ คา) ไม่ผ่าน……………….. ………./………./……….

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 14 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 – 3 ปกี ารศึกษา 2563 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เวลา 2 ชวั่ โมง ภาคเรยี นท่ี 2 หน่วยท่ี 2 เรื่อง ทกั ษะทางวิทยาศาสตร์ แผนการจัดการเรยี นรู้ เรอ่ื ง ทักษะการจดั กระทาและส่ือความหมายขอ้ มลู ผสู้ อน นางสาว ศิริวรรณ มุนนิ คา 1. ผลการเรยี นรู้ 6. ทดลองเกี่ยวกับทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ด้านการนาข้อมูลมาจัดกระทาเพ่ือให้ผู้อ่นื เข้าใจได้อย่างถกู ต้อง 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. นกั เรียนมคี วามเข้าใจเกย่ี วกบั ทกั ษะการจดั กระทาและสื่อความหมายข้อมลู (K) 2. นกั เรยี นสามารถปฏิบตั ิกจิ กรรม โดยใช้ทกั ษะการจดั กระทาและส่ือความหมายขอ้ มูล (P) 3. นกั เรยี นเป็นผู้ทม่ี ีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทางาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ 1. ทักษะการจดั กระทาและสือ่ ความหมายข้อมูล 4. ทักษะการเรยี นรู้ 1. ทกั ษะวิทยาศาสตร์ - การสังเกต - การอภปิ รายและลงขอ้ สรปุ 5. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ - มวี นิ ัย - ใฝเ่ รยี นรู้ - มุ่งม่ันในการทางาน 6.สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน/สมรรถนะของศตวรรษที่ 21 - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแกป้ ัญหา

7. สาระสาคัญ ทักษะการจัดกระทาและส่ือความหมายข้อมูล (Communication) หมายถึง การนาข้อมูลท่ีได้จาก การสงั เกตและการวัด มาจดั กระทาใหม้ คี วามหมาย โดยการหาความถี่ การเรยี งลาดบั การจัดกลมุ่ การคานวณ ค่า เพอ่ื ให้ผอู้ ื่นเขา้ ใจความหมายได้ดขี ้ึน ผ่านการเสนอในรปู แบบของตาราง แผนภมู ิ วงจร เขยี นหรือบรรยาย 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขน้ั ที่ 1 ขัน้ สร้างความสนใจ (Engagement) ครนู าเข้าสบู่ ทเรยี น โดยการใชค้ าถามกระตุ้นความสนใจของนักเรยี น ดังน้ี 1. ทักษะการจดั กระทาและสอื่ ความหมายข้อมูล คอื อะไร (แนวการตอบ: การนาข้อมูลท่ีได้จากการสังเกตและการวัด มาจัดกระทาให้มีความหมาย เพื่อให้ผู้อื่น เข้าใจความหมายไดด้ ีขึ้น) 2. ครูแจง้ ใหน้ ักเรียนฟังว่า วันน้ีนักเรียนจะไดเ้ รียนเรอื่ ง ทกั ษะการจัดกระทาและส่อื ความหมายข้อมลู ขน้ั ท่ี 2 ข้ันสารวจและค้นหา (Exploration) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาเกี่ยวกับทักษะการจัดกระทาและส่ือความหมายข้อมูลจาก หอ้ งสมดุ โรงเรยี นและอินเทอร์เนต็ 2. ครูแจ้งให้นักเรียนฟังว่า ในคาบนี้นักเรียนจะได้ปฏิบัติกิจกรรมการจัดกระทาและส่ือความหมาย ข้อมูล 3. ครูอธิบายวิธีการปฏิบัติกิจกรรมการจัดกระทาและสื่อความหมายข้อมูลให้นักเรียนฟัง จากน้ัน นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันปฏิบัติกิจกรรม เม่ือปฏิบัติกิจกรรมเสร็จตัวแทนกลุ่มออกมานาเสนอหนา้ ชน้ั เรียน ข้ันที่ 3 ข้นั อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation) ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายและลงข้อสรปุ เกี่ยวกบั กจิ กรรมการจัดกระทาและส่ือความหมายข้อมลู จากน้นั ครใู ช้คาถาม เพือ่ สรปุ เก่ยี วกับทักษะการจัดกระทาและสื่อความหมายข้อมูลโดยใช้คาถาม ดังนี้ 1. การจัดกระทา คอื อะไร (แนวการตอบ: การนาข้อมลู ดิบมาจดั ลาดบั จัดจาพวก หาความถ่ี หาความสัมพันธ์หรือคานวณใหม่) 2. การสอ่ื ความหมายข้อมลู คืออะไร (แนวการตอบ: การใช้วธิ ตี ่างๆ เพือ่ แสดงข้อมูลให้ผอู้ นื่ เข้าใจ เช่น การบรรยาย ใช้แผนภูมิ แผนภาพ วงจร กราฟ ตาราง สมการ ไดอะแกรม เป็นต้น) 3. นกั เรียนสามารถสรปุ ทักษะการจดั กระทาและสื่อความหมาข้อมลู ไดว้ ่าอย่างไร (แนวการตอบ: ความชานาญในการนาเสนอขอ้ มลู ในรปู แบบตา่ งๆ เพื่อให้ผอู้ ืน่ เข้าใจสิง่ ท่ีต้องการสอื่ ได้ ชดั เจน ถูกตอ้ งรวดเร็วและง่ายต่อการแปลความหมาย)

ข้ันที่ 4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) ครูใหค้ วามรเู้ พ่มิ เติมเก่ียวกับทักษะการจดั กระทาและส่อื ความหมายข้อมลู ดงั นี้ ทกั ษะการจัดกระทาและสื่อความหมายขอ้ มูล เป็นความชานาญในการนาเสนอข้อมลู ในรูปแบบต่าง ๆ เพ่ือใหผ้ ู้อืน่ เขา้ ใจสิง่ ทต่ี อ้ งการส่ือได้ชัดเจน ถูกต้องรวดเร็วและงา่ ยต่อการแปลความหมาย วิธใี นการนาเสนอข้อมูลมหี ลายวธิ ี เช่น การใชภ้ าษาพดู ภาษาเขียน แผนภาพ แผนภูมิ แผนที่ แผนผงั ตาราง กราฟ วงจรหรือสมการเป็นความชานาญในการหาความสัมพันธ์เชิงปริมาณ โดยมีวิธีการนับ การคิด คานวณโดยใช้วธิ บี วก ลบ คูณ หาร การใชต้ ัวเลขคิดสตู รทางวิทยาศาสตร์ ขัน้ ตอนการจัดกระทาและการสอ่ื ความหมายของหมายข้อมลู 1. เลอื กรูปแบบในการจดั ทานาเสนอใหเ้ หมาะสมกับข้อมลู 2. จัดกระทาข้อมลู ตามรูปแบบท่ีได้เลือกไว้ โดยอาจทาได้ ดังน้ี 2.1 จดั เรียงลาดับใหม่ 2.2 หาความถี่เม่ือมีข้อมลู ซ้า 2.3 แยกหมวดหมหู่ รือประเภท 2.4 คานวณหาคา่ ใหม่ 2.5 บรรยายลกั ษณะสิ่งใดสิ่งหนงึ่ หรอื สถานที่ด้วยขอ้ ความกะทัดรดั เหมาะสมจนสื่อความหมาย ใหผ้ ู้อ่ืนเขา้ ใจได้ ขนั้ ท่ี 5 ข้ันประเมนิ ผล (Evaluation) 1. ครูให้นกั เรียนสรุปความคดิ รวบยอด เร่อื ง ทักษะการจดั กระทาและสอื่ ความหมายขอ้ มลู 2. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันอภปิ รายเก่ยี วกับ “ทกั ษะการจัดกระทาและสอ่ื ความหมายข้อมลู ” 3. นกั เรียนแต่ละคนพจิ ารณาว่า มีจดุ ใดบา้ งทีย่ ังไม่เข้าใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามคี รชู ่วยอธบิ ายเพ่ิมเติมให้ นักเรยี นเข้าใจ 9. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้ 9.1 สอื่ - สื่อการสอน Power Point เรื่อง ทกั ษะการจัดกระทาและสอื่ ความหมายข้อมูล - กจิ กรรมการจดั กระทาและสือ่ ความหมายข้อมูล - การสรุปความคิดรวบยอด เรือ่ ง ทกั ษะการจัดกระทาและสื่อความหมายข้อมูล - แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 9.2 แหลง่ การเรียนรู้ - ห้องเรยี นวิทยาศาสตร์ - หอ้ งสมดุ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31

10. การวัดและการประเมินผล 10.1 การวดั ผล จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วธิ กี ารวัด เคร่ืองมอื 1. ด้านความรู้ (K) - นกั เรยี นสรุปความคดิ - สรปุ ความคดิ รวบยอด - นักเรยี นมีความเข้าใจเก่ยี วกับทกั ษะการ รวบยอด เร่อื ง ทักษะการ เรือ่ ง ทักษะการจัดกระทา จดั กระทาและส่ือความหมายข้อมลู จดั กระทาและส่ือ และสอื่ ความหมายข้อมลู ความหมายข้อมลู 2. ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) - นักเรยี นทากจิ กรรมการ - กจิ กรรมการจดั กระทา - นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้ จดั กระทาและสื่อ และส่ือความหมายข้อมูล ทักษะการจัดกระทาและส่ือความหมาย ความหมายข้อมลู ข้อมูล 3. ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A) - ครูประเมินคุณลักษณะ - แบบประเมิน - นักเรียนเป็นผู้ที่มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และ อันพึงประสงค์ คณุ ลกั ษณะอันพึง มงุ่ มัน่ ในการทางาน ประสงค์ 10.2 เกณฑ์การประเมินผล ระดบั คณุ ภาพ 10.2.1 ด้านความรู้ (K) (4) (3) (2) (1) - นักเรยี นมีความเข้าใจเก่ียวกบั ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ทักษะการจัดกระทาและส่อื ความหมายข้อมลู นกั เรยี นได้ นกั เรยี นได้ นกั เรยี นได้ นกั เรยี นได้ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ สรปุ ความคิด สรปุ ความคิด สรุปความคดิ สรปุ ความคิดรวบ รวบยอด 9-10 รวบยอด 7-8 รวบยอด 5-6 ยอดตา่ กว่า 5 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

10.2.2 ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) (4) ระดับคณุ ภาพ (1) ดมี าก (3) (2) ปรบั ปรงุ - นักเรยี นสามารถปฏบิ ัตกิ จิ กรรม นักเรยี นได้ ดี พอใช้ นกั เรยี นได้ โดยใชท้ ักษะการจดั กระทาและสื่อ คะแนนจาก นกั เรยี นได้ นกั เรยี นได้ คะแนนจากการ ความหมายข้อมูล การทากจิ กรรม คะแนนจากการ คะแนนจากการ ทากจิ กรรมตา่ 14-16 คะแนน ทากจิ กรรม ทากจิ กรรม กวา่ 8 คะแนน 11-13 คะแนน 8-10 คะแนน 11.2.3 คณุ ลักษณะ (A) ระดับคุณภาพ - นักเรียนเปน็ ผทู้ ม่ี ีวนิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ (4) (3) (2) (1) และมงุ่ มน่ั ในการทางาน ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ นกั เรียนได้ นักเรยี นได้ นกั เรยี นได้ นกั เรยี นได้ คะแนนจากการ คะแนนจาก คะแนนจาก คะแนนจากการ ประเมิน การประเมิน การประเมนิ ประเมนิ คณุ ลักษณะ คุณลกั ษณะ คณุ ลักษณะ คณุ ลกั ษณะอนั อันพึงประสงค์ อนั พึงประสงค์ อันพึงประสงค์ พงึ ประสงค์ตา่ 11-12 คะแนน 9-10 คะแนน 6-8 คะแนน กวา่ 6 คะแนน

กิจกรรม การจัดกระทาและสือ่ ความหมายข้อมูล สมาชิกกลุ่ม 1. ชอ่ื ................................................................................................................เลขที่........................... 2. ชอ่ื ................................................................................................................เลขท.่ี .......................... 3. ชื่อ................................................................................................................เลขท.ี่ .......................... 4. ช่อื ................................................................................................................เลขท.่ี .......................... 5. ช่ือ................................................................................................................เลขที่........................... 6. ชอ่ื ................................................................................................................เลขท่ี........................... คาช้ีแจง: จากสถานการณท์ ่กี าหนดให้ ให้นักเรยี นคิดวิธกี ารจดั กระทาและส่อื ความหมายข้อมูลขึ้นมาใหม่ ด้วยวิธกี ารที่เหมาะสม เพื่อให้ผอู้ น่ื เขา้ ใจดขี ้นึ 1. จงอ่านข้อความต่อไปน้ี “แมลง ก เมื่อเจรญิ เตบิ โตแลว้ จะออกไขภ่ ายในเวลา 3 วัน เม่ือ ก เติบโตจากดักแดซ้ ่ึงใช้เวลา 4 วนั ตัว หนอนได้ออกจากไขเ่ พยี ง 7 วันเท่าน้ัน ตัวหนอนของดักแด้จะกลายเปน็ ดักแด้ในเวลา 4 วัน” 2. น้าหนักของนักเรยี น 40 คน ในหอ้ ง ป.6/3 เปน็ กโิ ลกรัม ดงั น้ี 40 35 38 52 54 65 60 72 55 37 39 49 48 41 38 54 38 40 49 36 47 42 45 69 42 50 35 47 43 41 50 70 43 35 41 36 53 37 66 52

3. คุณแม่ของสมพรบันทึกอายุและสว่ นสูงของสมพรไว้ ดังนี้ อายุ 6 ปี สูง 111 ซม. อายุ 7 ปี สูง 117 ซม. อายุ 4 ปี สูง 102 ซม. อายุ 5 ปี สงู 105 ซม. อายุ 10 ปี สงู 130 ซม. อายุ 8 ปี สูง 119 ซม. อายุ 9 ปี สงู 123 ซม.

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ท่ี ชือ่ - สกลุ มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มั่นในการ รวม ทางาน 432143214321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27

เกณฑก์ ารให้คะแนน ประเดน็ การ (4) ระดับการปฏิบตั ิ (1) ประเมนิ ดีมาก (3) (2) ปรับปรุง ดี พอใช้ 1. มีวนิ ัย สง่ งานครบทุกชิน้ สง่ งานครบทุกช้นิ ส่งงานช้าเปน็ บางครง้ั สง่ งานช้าเป็นประจา ก่อนเวลาท่ีกาหนด ตามเวลาทีก่ าหนด หรือไม่ส่งงานเลย ทุกครงั้ 2. ใฝ่เรยี นรู้ ต้งั ใจเรยี น มคี วาม ตั้งใจเรยี น มีความ ต้ังใจเรียน แต่ขาด ไมค่ ่อยต้งั ใจเรยี น พยายามในการ พยายามในการเรียนรู้ ความพยายาม ขาดความพยายาม คน้ ควา้ หาความรู้จาก ในห้องเรยี น ซักถาม ซกั ถามคาตอบ ไม่มีการซกั ถามเพื่อ แหลง่ เรียนรู้ต่างๆ บอ่ ยครัง้ บางครงั้ หาคาตอบ ซักถามเพ่ือคาตอบ ทุกครั้ง 3. มงุ่ มน่ั ในการ มคี วามกระตือรอื รน้ มีความกระตือรือร้น มีความกระตือรือร้น ขาดความ ทางาน ทางานสาเรจ็ ถูกต้อง ทางานสาเร็จถูกต้อง ทางานสาเร็จ แต่ กระตือรอื รน้ ต่อการ ตามเวลาทีก่ าหนด แต่ชา้ เกนิ เวลาที่ เนือ้ หาไมถ่ กู ต้อง ทางาน งานไมเ่ สรจ็ กาหนด บางส่วน หรือไม่ ตามเวลาท่ีกาหนด ถูกต้อง และเนือ้ หาไม่ถกู ต้อง เกณฑ์การประเมินต้องได้ระดับคะแนน 2 ข้ึนไปจึงจะผ่านเกณฑ์ (6คะแนน) 11-12 คะแนน อยูใ่ นระดับดีมาก 9-10 คะแนน อยู่ในระดบั ดี 6-8 คะแนน อยูใ่ นระดบั พอใช้ ตา่ กวา่ 6 คะแนน อย่ใู นระดบั ควรปรบั ปรุง สรุปการประเมนิ ลงชื่อ…………………………………………ผู้ประเมิน ผ่าน……………………. (นางสาวศริ วิ รรณ มุนนิ คา) ไม่ผ่าน……………….. ………./………./……….

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 – 3 ปกี ารศึกษา 2563 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เวลา 2 ชัว่ โมง ภาคเรียนที่ 2 หนว่ ยที่ 2 เรอื่ ง ทักษะทางวิทยาศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรู้ เรือ่ ง ทกั ษะการจัดกระทาและส่ือความหมายข้อมูล ผ้สู อน นางสาว ศิริวรรณ มุนินคา 1. ผลการเรยี นรู้ 6. ทดลองเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรด์ า้ นการนาข้อมูลมาจดั กระทาเพือ่ ให้ผู้อื่น เขา้ ใจได้อย่างถูกต้อง 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นักเรยี นสามารถสบื คน้ ข้อมูลและมีความเข้าใจเกีย่ วกบั ทักษะการจัดกระทาและสอ่ื ความหมายข้อมูล (K) 2. นักเรียนสามารถปฏบิ ัติกิจกรรมการส่ือความหมายโดยแผนภาพไดอ้ ย่างถูกต้อง (P) 3. นักเรยี นเปน็ ผู้ท่ีมีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ และมุ่งมัน่ ในการทางาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ 1. ทักษะการจัดกระทาและสอ่ื ความหมายข้อมลู 4. ทักษะการเรยี นรู้ 1. ทักษะวทิ ยาศาสตร์ - การสังเกต - การอภปิ รายและลงข้อสรปุ 5. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ - มวี ินยั - ใฝ่เรยี นรู้ - มุ่งมน่ั ในการทางาน 6.สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น/สมรรถนะของศตวรรษท่ี 21 - ความสามารถในการส่อื สาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแก้ปญั หา

7. สาระสาคัญ ทักษะการจัดกระทาและสื่อความหมายข้อมูล (Communication) หมายถึง การนาข้อมูลท่ีได้จาก การสงั เกตและการวดั มาจดั กระทาใหม้ คี วามหมาย โดยการหาความถ่ี การเรยี งลาดับ การจัดกลุ่ม การคานวณ คา่ เพอื่ ใหผ้ อู้ นื่ เขา้ ใจความหมายได้ดขี ึ้น ผ่านการเสนอในรูปแบบของตาราง แผนภูมิ วงจร เขยี นหรอื บรรยาย 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขนั้ ท่ี 1 ข้นั สร้างความสนใจ (Engagement) ครูนาเขา้ สูบ่ ทเรียน โดยการใชค้ าถามทบทวนสิ่งท่ีนกั เรยี นไดเ้ รยี นในคาบท่ีผ่านมา ดงั น้ี 1. ทกั ษะการจัดกระทาและส่ือความหมายข้อมลู คืออะไร (แนวการตอบ: การนาข้อมูลท่ีได้จากการสังเกตและการวัด มาจัดกระทาให้มีความหมาย เพื่อให้ผู้อื่น เข้าใจความหมายไดด้ ีขน้ึ ) 2. ครูแจ้งใหน้ กั เรียนฟังว่า วันนี้นักเรยี นจะได้ปฏบิ ัติกิจกรรมการสื่อความหมายโดยแผนภาพ ข้ันที่ 2 ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) 1. ครูใช้คาถามทดสอบความเข้าใจของนักเรียนเกยี่ วกบั ทักษะการจัดกระทาและส่อื ความหมายขอ้ มูล 2. ครูอธิบายวิธีการปฏิบัติกิจกรรมการสื่อความหมายโดยแผนภาพให้นักเรียนฟัง จากนั้นนักเรียนแต่ละ กลมุ่ รว่ มกันปฏิบัติกิจกรรม เมอ่ื ปฏบิ ตั ิกิจกรรมเสรจ็ ตัวแทนกลมุ่ ออกมานาเสนอหน้าช้ันเรียน ขนั้ ท่ี 3 ขัน้ อธิบายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปเกี่ยวกับกิจกรรมการสื่อความหมายโดยแผนภาพ จากนั้นครูใช้ คาถาม เพื่อสรุปเก่ยี วกบั ทกั ษะการจัดกระทาและส่ือความหมายข้อมลู โดยใช้คาถาม ดงั นี้ 1. ส่งิ ท่ตี ้องคานึงถงึ ในการจัดกระทาและสอื่ ความหมายของข้อมูล คืออะไร (แนวการตอบ: ความชัดเจนหรือความสมบูรณ์ของข้อมูล ความถูกต้องแม่นยา ความไม่กากวม และ ความกะทดั รัด) 2. การจัดกระทาและส่ือความหมายของข้อมลู มีประโยชน์อยา่ งไร (แนวการตอบ: ใชใ้ นการตดิ ต่อ การทาแผนที่ ใช้ในการรวบรวมข้อมลู ทางวิทยาศาสตร์ให้เปน็ ระเบียบ มีความชัดเจนของขอ้ มูล เพื่อการอธบิ าย สรปุ ผล และสะดวกตอ่ การศึกษาคน้ คว้า) 3. นกั เรียนสามารถสรุปทักษะการจัดกระทาและสอื่ ความหมายของข้อมูลว่าหมายถงึ อะไร (แนวการตอบ: เป็นความสามารถในการนาข้อมูลมาส่ือสารให้ผู้อ่ืนรับรู้และเข้าใจข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง)

ข้ันท่ี 4 ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration) ครูใหค้ วามรเู้ พมิ่ เตมิ เกย่ี วกบั พฤติกรรมท่ีแสดงว่าเกิดทักษะการจดั กระทาและสอื่ ความหมายของข้อมลู ดังนี้ 1. เลือกรปู แบบในการนาเสนอขอ้ มูลได้ เชน่ 1.1 วฏั จกั รชีวิตของแมลง ใชร้ ปู แบบวงจร 1.2 วฏั จักรการหมนุ เวยี นของอากาศ ใช้รปู แบบแผนภูมิภาพ 2. บอกเหตุผลในการเลือกรปู แบบทนี่ าเสนอข้อมลู ได้ 3. ออกแบบการนาเสนอข้อมูลได้ ข้นั ที่ 5 ขนั้ ประเมินผล (Evaluation) 1. ครูให้นกั เรยี นทาใบงาน เรื่อง ทักษะการจัดกระทาและสื่อความหมายขอ้ มูล 2. ครูและนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายเกย่ี วกบั “ทกั ษะการจัดกระทาและสอ่ื ความหมายข้อมลู ” 3. นกั เรยี นแตล่ ะคนพิจารณาว่า มจี ุดใดบา้ งท่ยี ังไมเ่ ขา้ ใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามีครูชว่ ยอธบิ ายเพิ่มเติมให้ นกั เรยี นเขา้ ใจ 9. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ 9.1 สอ่ื - สอ่ื การสอน Power Point เรื่อง ทกั ษะการจดั กระทาและสอ่ื ความหมายข้อมลู - กิจกรรมการสือ่ ความหมายโดยแผนภาพ - ใบงาน เร่ือง ทักษะการจดั กระทาและสอ่ื ความหมายขอ้ มลู - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 9.2 แหล่งการเรียนรู้ - หอ้ งเรียนวทิ ยาศาสตร์ - หอ้ งสมดุ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 10. การวัดและการประเมนิ ผล วิธีการวัด เครอ่ื งมอื 10.1 การวดั ผล จุดประสงค์การเรยี นรู้ - นักเรียนทาใบงาน เรื่อง - ใบงาน เรอ่ื ง ทกั ษะการ 1. ดา้ นความรู้ (K) - นักเรยี นสามารถสืบคน้ ข้อมูลและมี ทักษะการจัดกระทาและ จัดกระทาและสื่อ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ทักษะการจดั กระทา และสือ่ ความหมายข้อมลู สอ่ื ความหมายข้อมลู ความหมายข้อมลู

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วธิ ีการวัด เครอื่ งมือ 2. ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) - นกั เรียนทากิจกรรมการ - กิจกรรมการสื่อ - นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมการส่ือ สอื่ ความหมายโดย ความหมายโดยแผนภาพ ความหมายโดยแผนภาพไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง แผนภาพ 3. ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) - ครูประเมินคุณลักษณะ - แบบประเมิน - นักเรียนเป็นผู้ท่ีมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และ อันพงึ ประสงค์ คณุ ลกั ษณะอนั พึง ม่งุ ม่นั ในการทางาน ประสงค์ 10.2 เกณฑ์การประเมนิ ผล ระดบั คณุ ภาพ 10.2.1 ด้านความรู้ (K) (4) (3) (2) (1) ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง - นกั เรียนสามารถสบื ค้นข้อมลู นักเรยี นได้ นกั เรียนได้ นักเรียนได้ นักเรยี นได้ และมคี วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั ทักษะการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ จัดกระทาและสื่อความหมายข้อมลู ทาใบงาน 9-10 ทาใบงาน 7-8 ทาใบงาน 5-6 ทาใบงานตา่ กวา่ คะแนน คะแนน คะแนน 5 คะแนน 10.2.2 ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) (4) ระดับคุณภาพ (1) ดีมาก (3) (2) ปรบั ปรุง - นักเรียนสามารถปฏิบตั กิ จิ กรรม นักเรียนได้ ดี พอใช้ นกั เรียนได้ การสือ่ ความหมายโดยแผนภาพได้ คะแนนจาก นกั เรียนได้ นักเรยี นได้ คะแนนจากการ อยา่ งถูกต้อง การทากจิ กรรม คะแนนจากการ คะแนนจากการ ทากจิ กรรมตา่ 14-16 คะแนน ทากจิ กรรม ทากจิ กรรม กวา่ 8 คะแนน 11-13 คะแนน 8-10 คะแนน

10.2.3 คุณลกั ษณะ (A) ระดบั คุณภาพ - นักเรียนเป็นผทู้ ่มี วี ินยั ใฝ่เรียนรู้ (4) (3) (2) (1) และมงุ่ มัน่ ในการทางาน ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ นักเรียนได้ นักเรยี นได้ นกั เรยี นได้ นกั เรยี นได้ คะแนนจากการ คะแนนจาก คะแนนจาก คะแนนจากการ ประเมนิ การประเมนิ การประเมนิ ประเมนิ คุณลักษณะ คุณลักษณะ คุณลักษณะ คุณลักษณะอนั อนั พงึ ประสงค์ อันพึงประสงค์ อนั พึงประสงค์ พึงประสงค์ตา่ 11-12 คะแนน 9-10 คะแนน 6-8 คะแนน กว่า 6 คะแนน

กจิ กรรมการสอ่ื ความหมายโดยแผนภาพ สมาชกิ กลุ่ม 1. ช่ือ................................................................................................................เลขท.่ี .......................... 2. ช่ือ................................................................................................................เลขท่.ี .......................... 3. ช่ือ................................................................................................................เลขท่ี........................... 4. ชอื่ ................................................................................................................เลขท.่ี .......................... 5. ชอ่ื ................................................................................................................เลขที่........................... 6. ชื่อ................................................................................................................เลขที.่ .......................... คาชี้แจง: ให้นกั เรียนเขยี นแผนภาพแสดงการส่งไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังนา้ เขื่อนภมู ิพล จงั หวัดตาก มาสู่ บ้านเรอื นประกอบคาอธบิ ายตอ่ ไปน้ี โรงไฟฟ้าพลังน้าที่เขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก จะผลิตไฟฟ้าที่มีแรงเคล่ือนไฟฟ้า 13,800 โวลต์ แรงเคลื่อนไฟฟ้าน้ีจะถูกแปลงโดยหม้อแปลงชงไฟฟ้าที่ตั้งอยู่ในบริเวณโรงไฟฟ้านั้นให้สูงขึ้นเป็น 230,000 โวลต์ แลว้ จึงปอ้ นเข้าสายไฟแรงสูง ซง่ึ เปน็ สายเปลอื ยไม่มีฉนวนหุ้ม มขี นาดใหญท่ าด้วยอลูมิเนียม พลังไฟฟ้าน้ี จะถูกส่งไปยังสถานีจ่ายไฟฟ้าย่อย ซึ่งตั้งอยู่บริเวณใกล้ๆ กันกับชุมชนท่ีจะใช้ไฟฟ้าน้ัน สถานีจ่ายไฟฟ้าย่อยจะ แปลงแรงเคลื่อนไฟฟ้าใหล้ ดลง 69,000 โวลต์ แล้วส่งเขา้ ไปในชมุ ชนไปยังสถานแี ปลงแรงเคล่ือนไฟฟ้าในชุมชน ซ่ึงทาหน้าท่ีแปลงแรงเคล่ือนไฟฟ้าจาก 69,000 โวลต์ให้เหลือ 12,000 โวลต์ ก่อนส่งไปตามสายไฟฟ้าท่ีขึงติด กับเสาไฟฟ้าที่ปักอยู่ท่ัวๆ ไปในชุมชน หม้อแปลงไฟฟ้าที่ติดอยู่ท่ีสายไฟฟ้าจะทาหน้าที่แปลงแรงเคลื่อนไฟฟ้า จาก 12,000 โวลต์ ให้เหลอื 380 หรือ 220 โวลต์ กอ่ นสง่ เขา้ ส่บู า้ นเรอื นตอ่ ไป

เฉลยกจิ กรรมการส่ือความหมายโดยแผนภาพ สมาชกิ กลุ่ม 1. ชื่อ................................................................................................................เลขท่ี........................... 2. ชื่อ................................................................................................................เลขท่ี........................... 3. ชอื่ ................................................................................................................เลขที.่ .......................... 4. ชือ่ ................................................................................................................เลขที่........................... 5. ชอื่ ................................................................................................................เลขท.ี่ .......................... 6. ชอ่ื ................................................................................................................เลขท.่ี .......................... คาชแี้ จง: ให้นกั เรียนเขยี นแผนภาพแสดงการสง่ ไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลงั น้าเข่ือนภูมพิ ล จังหวัดตาก มาสู่ บ้านเรอื นประกอบคาอธบิ ายตอ่ ไปน้ี โรงไฟฟ้าพลังน้าท่ีเข่ือนภูมิพล จังหวัดตาก จะผลิตไฟฟ้าที่มีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 13,800 โวลต์ แรงเคลื่อนไฟฟ้านี้จะถูกแปลงโดยหม้อแปลงชงไฟฟ้าที่ต้ังอยู่ในบริเวณโรงไฟฟ้าน้ันให้สูงขึ้นเป็น 230,000 โวลต์ แล้วจึงป้อนเขา้ สายไฟแรงสูง ซ่งึ เป็นสายเปลอื ยไม่มีฉนวนหุ้ม มขี นาดใหญ่ทาดว้ ยอลูมิเนยี ม พลงั ไฟฟ้านี้ จะถูกส่งไปยังสถานีจ่ายไฟฟ้าย่อย ซ่ึงต้ังอยู่บริเวณใกล้ๆ กันกับชุมชนที่จะใช้ไฟฟ้านั้น สถานีจ่ายไฟฟ้าย่อยจะ แปลงแรงเคลอื่ นไฟฟ้าให้ลดลง 69,000 โวลต์ แล้วสง่ เขา้ ไปในชุมชนไปยงั สถานีแปลงแรงเคลอ่ื นไฟฟา้ ในชุมชน ซึ่งทาหน้าที่แปลงแรงเคลื่อนไฟฟ้าจาก 69,000 โวลต์ให้เหลือ 12,000 โวลต์ ก่อนส่งไปตามสายไฟฟ้าที่ขึงติด กับเสาไฟฟ้าที่ปักอยู่ท่ัวๆ ไปในชุมชน หม้อแปลงไฟฟ้าที่ติดอยู่ที่สายไฟฟ้าจะทาหน้าท่ีแปลงแรงเคลื่อนไฟฟ้า จาก 12,000 โวลต์ ใหเ้ หลอื 380 หรือ 220 โวลต์ กอ่ นสง่ เขา้ สู่บ้านเรอื นต่อไป โรงไฟฟ้าพลังงานน้า 13,800 โวลต์ หมอ้ แปลงท่เี ขื่อน สายไฟฟา้ แรงสูง สถานไี ฟฟา้ ย่อย จากเขื่อนภูมพิ ล 230,000 โวลต์ บา้ นเรือน 380 โวลต์ หม้อแปลงไฟฟ้าที่เสา 69,000 โวลต์ 220 โวลต์ ใบงาน สถานแี ปลงแรงเคลอื่ นไฟฟ้า ชมุ ชน สายไฟฟา้ ตามเสาไฟ 12,000 โวลต์

ใบงาน เรื่อง ทักษะการจัดกระทาและสือ่ ความหมายข้อมูล คาชแี้ จง: ใหน้ ักเรียนตอบคาถามต่อไปนใ้ี ห้ถกู ต้อง 1. ให้นกั เรียนสอ่ื ความหมายของข้อมลู ในรปู ตาราง จากขอ้ ความต่อไปนีต้ ่อไปนี้ เดก็ ชายภพ มนี ้าหนัก 23 กิโลกรัม มสี ว่ นสงู 122 เซนติเมตร เด็กชายนรนิ ทร์ มนี ้าหนกั 25 กิโลกรัม มีส่วนสูง 126 เซนติเมตร เด็กหญิงพลอย มีน้าหนัก 23 กิโลกรัม มีส่วนสูง 125 เซนติเมตร เด็กหญิงแพรวา มี น้าหนัก 27 กิโลกรัม มีส่วนสูง 130 เซนติเมตร และเด็กหญิงปรางค์ มีน้าหนัก 32 กิโลกรัม มีส่วนสูง 134 เซนติเมตร 2. ใหน้ กั เรียนสอื่ ความหมายของข้อมลู ในรปู แผนภมู ิแทง่ จากข้อความต่อไปน้ีต่อไปนี้ ตาชมมีสวนขนัดหน่ึง ซง่ึ ปลูกต้นไม้ไว้หลายชนดิ เชน่ ทุเรยี น 150 ต้น มงั คดุ 200 ต้น สม้ 100 ต้น ชมพู่ 350 ตน้ 3. ใหน้ กั เรยี นสอ่ื ความหมายของข้อมูลในรปู วัฏจกั ร จากข้อความต่อไปน้ตี ่อไปนี้ คนและสตั วใ์ ชก้ ๊าซออกซิเจนในการหายใจ แล้วคายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในการสังเคราะห์แสง แล้วได้กา๊ ซออกซิเจนออกมา

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ท่ี ชือ่ - สกลุ มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มั่นในการ รวม ทางาน 432143214321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27

เกณฑก์ ารให้คะแนน ประเดน็ การ (4) ระดับการปฏิบตั ิ (1) ประเมนิ ดีมาก (3) (2) ปรับปรุง ดี พอใช้ 1. มีวนิ ัย สง่ งานครบทุกชิน้ สง่ งานครบทุกช้นิ ส่งงานช้าเปน็ บางครง้ั สง่ งานช้าเป็นประจา ก่อนเวลาท่ีกาหนด ตามเวลาทีก่ าหนด หรือไม่ส่งงานเลย ทุกครงั้ 2. ใฝ่เรยี นรู้ ต้งั ใจเรยี น มคี วาม ตั้งใจเรยี น มีความ ต้ังใจเรียน แต่ขาด ไมค่ ่อยต้งั ใจเรยี น พยายามในการ พยายามในการเรียนรู้ ความพยายาม ขาดความพยายาม คน้ ควา้ หาความรู้จาก ในห้องเรยี น ซักถาม ซกั ถามคาตอบ ไม่มีการซกั ถามเพื่อ แหลง่ เรียนรู้ต่างๆ บอ่ ยครัง้ บางครงั้ หาคาตอบ ซักถามเพ่ือคาตอบ ทุกครั้ง 3. มงุ่ มน่ั ในการ มคี วามกระตือรอื รน้ มีความกระตือรือร้น มีความกระตือรือร้น ขาดความ ทางาน ทางานสาเรจ็ ถูกต้อง ทางานสาเร็จถูกต้อง ทางานสาเร็จ แต่ กระตือรอื รน้ ต่อการ ตามเวลาทีก่ าหนด แต่ชา้ เกนิ เวลาที่ เนือ้ หาไมถ่ กู ต้อง ทางาน งานไมเ่ สรจ็ กาหนด บางส่วน หรือไม่ ตามเวลาท่ีกาหนด ถูกต้อง และเนือ้ หาไม่ถกู ต้อง เกณฑ์การประเมินต้องได้ระดับคะแนน 2 ข้ึนไปจึงจะผ่านเกณฑ์ (6คะแนน) 11-12 คะแนน อยูใ่ นระดับดีมาก 9-10 คะแนน อยู่ในระดบั ดี 6-8 คะแนน อยูใ่ นระดบั พอใช้ ตา่ กวา่ 6 คะแนน อย่ใู นระดบั ควรปรบั ปรุง สรุปการประเมนิ ลงชื่อ…………………………………………ผู้ประเมิน ผ่าน……………………. (นางสาวศริ วิ รรณ มุนนิ คา) ไม่ผ่าน……………….. ………./………./……….

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 16 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 – 3 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีการศกึ ษา 2563 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 2 ชว่ั โมง หนว่ ยที่ 2 เรอ่ื ง ทกั ษะทางวิทยาศาสตร์ แผนการจดั การเรยี นรู้ เร่ือง ทักษะการลงความเหน็ จากข้อมูล ผสู้ อน นางสาว ศิริวรรณ มนุ นิ คา 1. ผลการเรยี นรู้ 7. ทดลองเกี่ยวกับทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรด์ ้านการอธบิ ายข้อมูลได้อย่างถูกต้อง 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นกั เรยี นสามารถสบื ค้นขอ้ มลู และมีความเข้าใจเกีย่ วกับทกั ษะการลงความเห็นจากข้อมูลได้ (K) 2. นักเรียนสามารถปฏิบตั กิ ิจกรรม โดยใช้ทกั ษะการลงความเห็นจากขอ้ มลู ได้ (P) 3. นกั เรยี นเปน็ ผทู้ มี่ วี นิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ และม่งุ มน่ั ในการทางาน (A) 3. สาระการเรียนรู้ 1. ทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ้ มูล 4. ทักษะการเรียนรู้ 1. ทกั ษะวทิ ยาศาสตร์ - การสงั เกต - การทดลอง - การอภปิ รายและลงข้อสรุป 5. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ - มวี นิ ยั - ใฝเ่ รียนรู้ - ม่งุ ม่ันในการทางาน 6.สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น/สมรรถนะของศตวรรษท่ี 21 - ความสามารถในการสอื่ สาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแก้ปัญหา

7. สาระสาคญั ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring) หมายถึง การเพิ่มความคิดเห็นของตนต่อข้อมูลที่ไดจ้ าก การสงั เกตอยา่ งมีเหตผุ ลจากพน้ื ฐานความรหู้ รือประสบการณ์ทม่ี ี 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขน้ั ท่ี 1 ข้ันสร้างความสนใจ (Engagement) ครูนาเข้าสบู่ ทเรยี น โดยใช้คาถามเพ่อื ดงึ ดูดความสนใจของนักเรยี น ดงั น้ี 1. นกั เรยี นรหู้ รอื ไม่ว่าทกั ษะการลงความเหน็ จากข้อมลู คืออะไร (แนวการตอบ: การอธบิ ายผลทีไ่ ดจ้ ากการสังเกตอย่างมีเหตผุ ล โดยใชค้ วามรู้หรอื ประสบการณ์เดิม) 2. แล้วทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ้ มูลมีประโยชนอ์ ย่างไร (แนวการตอบ: ช่วยทาให้ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกตมีความหมายย่ิงขึ้น และช่วยให้การพิจารณา เหตกุ ารณห์ รอื ข้อมลู ตา่ งๆ อยา่ งมีเหตผุ ล ทาใหม้ ีความรอบคอบมากข้นึ ) 3. ครูแจง้ ให้นกั เรียนฟังว่า ในคาบนีน้ กั เรยี นจะไดเ้ รียน เรื่อง ทักษะการลงความเหน็ จากข้อมูล ขัน้ ที่ 2 ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสืบค้นและศึกษาเกี่ยวกับทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลจาก หอ้ งสมุดโรงเรยี นหรืออนิ เทอร์เน็ต 2. หลังจากท่ีนกั เรยี นศกึ ษาทกั ษะการลงความเหน็ จากข้อมลู เสรจ็ ครูอธิบายวิธกี ารปฏิบัตกิ ิจกรรมการลง ความเห็นจากข้อมูล 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันปฏิบัติกิจกรรมการลงความเหน็ จากข้อมูล เม่ือปฏิบัติกิจกรรมเสร็จตัวแทน แตล่ ะกลมุ่ ออกมานาเสนอผลการทดลองหนา้ ชนั้ เรยี น ขัน้ ที่ 3 ขั้นอธิบายและลงขอ้ สรุป (Explanation) ครูและนักเรยี นรว่ มกันอภิปรายและสรา้ งขอ้ สรุปรว่ มกัน ดงั นี้ 1. หลังจากทน่ี กั เรียนดูภาพที่ 1 นกั เรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง (แนวการตอบ: ตก๊ั แตนคลา้ ยใบไม้ ลาตวั เป็นปลอ้ ง อย่บู นใบไม้ เปน็ ต้น) 2. แล้วนกั เรยี นมีการลงความเห็นจากข้อมูลอย่างไร (แนวการตอบ: ต๊กั แตนกาลังนอนหลบั ตกั๊ แตนมีการพรางตวั กินใบไมเ้ ป็นอาหาร เป็นต้น) 3. หลังจากท่นี กั เรียนดูภาพที่ 2 นักเรยี นสังเกตเหน็ อะไรบ้าง (แนวการตอบ: มรี อยเทา้ ของสัตว์หลายชนิดปะปนกนั ) 4. แลว้ นกั เรียนมีการลงความเหน็ จากข้อมลู อย่างไร (แนวการตอบ: สตั วเ์ ลก็ กาลงั ว่ิงหนี มกี ารแยง่ อาหารกนั และกาลงั ต่อสูก้ นั )

5. นักเรยี นสามารถสรปุ ผลการทากจิ กรรมวา่ อยา่ งไร (แนวการตอบ: การลงความเห็นข้อมูลเกิดจากการสังเกตด้วยประสาทสมั ผสั ทงั้ 5 รวมกบั ความรู้ เดิม ประสบการณ์ความรู้ทมี่ ีอยู่ ข้อมลู จากความรู้เดิม ประสาทสัมผัสท้ัง 5 + ความรู้เดมิ = การลง ความเหน็ ) ข้ันท่ี 4 ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration) ครูให้ความรเู้ พมิ่ เตมิ เกย่ี วกับทักษะการลงความเหน็ จากข้อมูล ดงั นี้ การลงความคิดเห็นจากข้อมูล หมายถึง การอธิบายผลที่ได้จากการสังเกต โดยใช้ความรู้ เดิม ประสบการณ์เดมิ และเหตุผลหรือเพ่มิ ความคิดเหน็ สว่ นตวั ลงไปดว้ ย การลงความคดิ เหน็ ของแต่ละคนอาจ แตกต่างกนั ฉะนนั้ ในขอ้ มูลชุดเดียวกันการลงความคิดเห็นของคน 2 คน อาจแตกตา่ งกนั ขอ้ แตกต่างระหว่างการสังเกตและการลงความคดิ เหน็ จากขอ้ มลู การสังเกต เป็นการบอกสมบัติหรอื ลกั ษณะของวัตถุ ปรากฏการณต์ ่างๆ โดยการใชป้ ระสาท สัมผสั เช่น หู ตา จมูก ล้ิน หรอื กายสัมผสั ส่วนการลงความคิดเหน็ เป็นการบรรยายหรืออธิบายผลของการ สงั เกต หรือการใช้ประสาทสมั ผสั เข้าไปสัมผสั สิง่ ของ หรอื เหตกุ ารณ์ให้ได้ข้อมลู อย่างใดอย่างหน่งึ แลว้ เพม่ิ ความคิดเห็นส่วนตัวลงไปกับขอ้ มลู ดังกล่าว ตวั อย่าง เชน่ ข้อมูลจากการสังเกต การลงความคดิ เหน็ จากข้อมูล 1. มีรถ 2 คนั 1. รถคนั สีแดง ลากรถคันสีเขียว 2. รถคนั สแี ดงลากรถคนั สีเขียว เพราะรถคนั สีเขียวเสีย 2. รถคนั สีแดงลากรถคันสเี ขียว เพราะรถคันสีเขยี วน้ามนั หมด ข้นั ที่ 5 ขั้นประเมนิ ผล (Evaluation) 1. ครใู หน้ กั เรียนสรปุ ความคดิ รวบยอด เรือ่ ง ทักษะการลงความเห็นจากขอ้ มลู 2. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายเก่ยี วกบั “ทกั ษะการลงความเห็นจากข้อมูล” 3. นกั เรยี นแต่ละคนพิจารณาว่า มีจดุ ใดบา้ งทีย่ ังไมเ่ ขา้ ใจหรือยังมีข้อสงสยั ถ้ามีครูชว่ ยอธบิ ายเพ่ิมเติมให้ นักเรียนเขา้ ใจ 9. ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้ 9.1 สื่อ - ส่อื การสอน Power Point เรอ่ื ง ทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ้ มูล - กิจกรรมการลงความเห็นจากขอ้ มูล - การสรปุ ความคิดรวบยอด เร่อื ง ทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ้ มลู - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

9.2 แหล่งการเรยี นรู้ - ห้องเรียนวทิ ยาศาสตร์ - ห้องสมดุ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 10. การวัดและการประเมินผล 10.1 การวัดผล จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ วิธีการวดั เครอื่ งมอื 1. ด้านความรู้ (K) - นักเรียนสรุปความคิด - สรปุ ความคิดรวบยอด - นักเรยี นสามารถสบื ค้นข้อมูลและมี รวบยอด เรื่อง ทักษะการ เรอ่ื ง ทักษะการลง ความเข้าใจเกยี่ วกับทักษะการลง ลงความเหน็ จากข้อมลู ความเห็นจากข้อมูล ความเห็นจากข้อมูลได้ 2. ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) - นกั เรยี นทากิจกรรมการ - กิจกรรมการลง - นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้ ลงความเห็นจากข้อมูล ความเห็นจากข้อมลู ทกั ษะการลงความเหน็ จากข้อมลู ได้ 3. ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) - ครูประเมินคุณลักษณะ - แบบประเมนิ - นักเรียนเป็นผู้ที่มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และ อันพึงประสงค์ คณุ ลกั ษณะอันพึง มงุ่ มั่นในการทางาน ประสงค์ 10.2 เกณฑก์ ารประเมนิ ผล ระดบั คุณภาพ 10.2.1 ดา้ นความรู้ (K) (4) (3) (2) (1) ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ - นกั เรียนสามารถสืบค้นข้อมูล นักเรียนได้ นักเรยี นได้ นักเรียนได้ นกั เรยี นได้ และมคี วามเขา้ ใจเกีย่ วกบั ทักษะการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ ลงความเห็นจากข้อมลู ได้ สรปุ ความคิด สรุปความคิด สรปุ ความคิด สรุปความคดิ รวบ รวบยอด 9-10 รวบยอด 7-8 รวบยอด 5-6 ยอดต่ากว่า 5 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

10.2.2 ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) (4) ระดบั คุณภาพ (1) ดีมาก (3) (2) ปรับปรงุ - นักเรียนสามารถปฏบิ ตั กิ จิ กรรม นักเรยี นได้ ดี พอใช้ นักเรยี นได้ โดยใช้ทักษะการลงความเหน็ จาก คะแนนจาก นักเรยี นได้ นกั เรยี นได้ คะแนนจากการ ขอ้ มูลได้ การทากจิ กรรม คะแนนจากการ คะแนนจากการ ทากจิ กรรมตา่ 14-16 คะแนน ทากจิ กรรม ทากิจกรรม กว่า 8 คะแนน 11-13 คะแนน 8-10 คะแนน 10.2.3 คุณลกั ษณะ (A) ระดบั คุณภาพ - นักเรียนเป็นผทู้ ่ีมีวินัย ใฝเ่ รยี นรู้ (4) (3) (2) (1) และมุ่งมน่ั ในการทางาน ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง นักเรียนได้ นักเรียนได้ นกั เรียนได้ นกั เรียนได้ คะแนนจากการ คะแนนจาก คะแนนจาก คะแนนจากการ ประเมนิ การประเมนิ การประเมนิ ประเมนิ คณุ ลกั ษณะ คุณลักษณะ คณุ ลกั ษณะ คณุ ลักษณะอัน อันพึงประสงค์ อนั พงึ ประสงค์ อันพึงประสงค์ พึงประสงค์ตา่ 11-12 คะแนน 9-10 คะแนน 6-8 คะแนน กวา่ 6 คะแนน

กจิ กรรมการลงความเห็นจากข้อมูล สมาชิกกลุ่ม 1. ช่อื ................................................................................................................เลขท.ี่ .......................... 2. ชือ่ ................................................................................................................เลขท่.ี .......................... 3. ช่อื ................................................................................................................เลขท่ี........................... 4. ชื่อ................................................................................................................เลขท่.ี .......................... 5. ชื่อ................................................................................................................เลขที่........................... 6. ช่ือ................................................................................................................เลขท.่ี ..... ..................... คาช้แี จง: ให้นกั เรยี นสงั เกตและพจิ ารณาภาพที่ 1 พร้อมท้งั อธิบายสง่ิ ทเ่ี หน็ จากภาพลงในตาราง จากนน้ั สังเกตและพิจารณาภาพท่ี 2 พร้อมทง้ั อธบิ ายสิ่งท่ีเหน็ จากภาพลงในตาราง ภาพที่ 1 ภาพท่ี 2 ตารางบนั ทึกผลภาพที่ 1 การลงความเหน็ จากข้อมูล การสังเกต ตารางบนั ทึกผลภาพที่ 2 การลงความเหน็ จากข้อมูล การสังเกต สรปุ ผลการทากิจกรรม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ท่ี ชือ่ - สกลุ มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มั่นในการ รวม ทางาน 432143214321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27

เกณฑก์ ารให้คะแนน ประเดน็ การ (4) ระดับการปฏิบตั ิ (1) ประเมนิ ดีมาก (3) (2) ปรับปรุง ดี พอใช้ 1. มีวนิ ัย สง่ งานครบทุกชิน้ สง่ งานครบทุกช้นิ ส่งงานช้าเปน็ บางครง้ั สง่ งานช้าเป็นประจา ก่อนเวลาท่ีกาหนด ตามเวลาทีก่ าหนด หรือไม่ส่งงานเลย ทุกครงั้ 2. ใฝ่เรยี นรู้ ต้งั ใจเรยี น มคี วาม ตั้งใจเรยี น มีความ ต้ังใจเรียน แต่ขาด ไมค่ ่อยต้งั ใจเรยี น พยายามในการ พยายามในการเรียนรู้ ความพยายาม ขาดความพยายาม คน้ ควา้ หาความรู้จาก ในห้องเรยี น ซักถาม ซกั ถามคาตอบ ไม่มีการซกั ถามเพื่อ แหลง่ เรียนรู้ต่างๆ บอ่ ยครัง้ บางครงั้ หาคาตอบ ซักถามเพ่ือคาตอบ ทุกครั้ง 3. มงุ่ มน่ั ในการ มคี วามกระตือรอื รน้ มีความกระตือรือร้น มีความกระตือรือร้น ขาดความ ทางาน ทางานสาเรจ็ ถูกต้อง ทางานสาเร็จถูกต้อง ทางานสาเร็จ แต่ กระตือรอื รน้ ต่อการ ตามเวลาทีก่ าหนด แต่ชา้ เกนิ เวลาที่ เนือ้ หาไมถ่ กู ต้อง ทางาน งานไมเ่ สรจ็ กาหนด บางส่วน หรือไม่ ตามเวลาท่ีกาหนด ถูกต้อง และเนือ้ หาไม่ถกู ต้อง เกณฑ์การประเมินต้องได้ระดับคะแนน 2 ข้ึนไปจึงจะผ่านเกณฑ์ (6คะแนน) 11-12 คะแนน อยูใ่ นระดับดีมาก 9-10 คะแนน อยู่ในระดบั ดี 6-8 คะแนน อยูใ่ นระดบั พอใช้ ตา่ กวา่ 6 คะแนน อย่ใู นระดบั ควรปรบั ปรุง สรุปการประเมนิ ลงชื่อ…………………………………………ผู้ประเมิน ผ่าน……………………. (นางสาวศริ วิ รรณ มุนนิ คา) ไม่ผ่าน……………….. ………./………./……….

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 17 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 - 3 กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปกี ารศกึ ษา 2563 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 2 ชั่วโมง หนว่ ยท่ี 2 เร่ือง ทักษะทางวิทยาศาสตร์ แผนการจัดการเรยี นรู้ เรอ่ื ง ทกั ษะการลงความเหน็ จากข้อมลู ผู้สอน นางสาว ศิรวิ รรณ มนุ นิ คา 1. ผลการเรยี นรู้ 7. ทดลองเกยี่ วกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ดา้ นการอธบิ ายข้อมูลไดอ้ ย่างถูกต้อง 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. นกั เรยี นสามารถอธิบายทักษะการลงความเห็นจากข้อมลู ได้ (K) 2. นักเรียนสามารถทาการทดลอง โดยใชท้ กั ษะการลงความเหน็ จากข้อมลู ได้ (P) 3. นกั เรยี นเป็นผทู้ ่ีมวี นิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ และมงุ่ มัน่ ในการทางาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ 1. ทักษะการลงความเหน็ จากขอ้ มูล 4. ทกั ษะการเรยี นรู้ 1. ทักษะวทิ ยาศาสตร์ - การสงั เกต - การทดลอง - การอภิปรายและลงข้อสรุป 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - มีวนิ ัย - ใฝ่เรียนรู้ - มุ่งมน่ั ในการทางาน 6.สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน/สมรรถนะของศตวรรษที่ 21 - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแกป้ ญั หา

7. สาระสาคัญ ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring) หมายถึง การเพิ่มความคิดเห็นของตนตอ่ ข้อมูลที่ไดจ้ าก การสงั เกตอยา่ งมีเหตผุ ลจากพน้ื ฐานความรู้หรือประสบการณ์ทีม่ ี 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขน้ั ท่ี 1 ข้ันสรา้ งความสนใจ (Engagement) ครนู าเขา้ สบู่ ทเรียน โดยใชค้ าถามทบทวนส่งิ ท่นี ักเรยี นได้เรียนในคาบท่ผี ่านมา ดังน้ี 1. ทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ้ มูล คืออะไร (แนวการตอบ: การอธิบายผลที่ได้จากการสังเกตอยา่ งมีเหตุผล โดยใช้ความรู้หรือประสบการณเ์ ดิม) 2. การลงความเห็นจากขอ้ มูลและการสงั เกตแตกตา่ งกันอย่างไร (แนวการตอบ: การสังเกต เป็นการบอกสมบัติหรือลักษณะของวัตถุ ปรากฏการณ์ต่างๆ โดยการใช้ ประสาทสัมผัส เช่น หู ตา จมูก ล้ิน หรือกายสัมผัส ส่วนการลงความคิดเห็นจากข้อมูล เป็นการ บรรยายหรืออธิบายผลของการสงั เกต แล้วเพิม่ ความคิดเหน็ ส่วนตวั ลงไปกับข้อมลู ดงั กลา่ ว) ขน้ั ที่ 2 ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) 1. ครูใช้คาถามทดสอบความเข้าใจของนักเรียนเก่ียวกับทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จากน้ันครูแจ้ง ใหน้ ักเรียนฟังว่าในคาบนน้ี ักเรียนจะได้ปฏิบตั ิกจิ กรรมการทดลอง เร่อื ง การลงความเหน็ จากขอ้ มูล 2. ครูอธิบายวิธีการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง เร่ือง การลงความเห็นจากข้อมูล และให้นักเรียนแต่ละ กลุ่มรว่ มกนั ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมการทดลอง 3. เมื่อปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเสรจ็ ตัวแทนแตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอผลการทดลองหนา้ ชัน้ เรียน ข้ันที่ 3 ขนั้ อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation) ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายและสร้างขอ้ สรปุ รว่ มกัน ดังนี้ 1. เมื่อเพง่ มองดนิ สอสแี ดงแล้วหลบั ตา นักเรยี นเหน็ อะไร (แนวการตอบ: เหน็ ดนิ สอเปน็ สนี า้ เงินเขียว) 2. แล้วเมือ่ เพ่งมองดนิ สอสนี ้าเงนิ เขยี ว นักเรยี นเหน็ อะไร (แนวการตอบ: เห็นดินสอเป็นสแี ดง) 3. จากผลการทดลองนกั เรียนสามารถลงความเห็นไดว้ ่าอย่างไร (แนวการตอบ: นักเรียนที่ไม่เคยมีความรู้เรื่องสีเติมเต็มอาจตอบว่า เม่ือเพ่งมองวัตถุสีหน่ึงได้ภาพ ติดตามเป็นสีหนึ่ง แล้วเพ่งดูสีของวัตถุอีกอันหน่ึงท่ีมีสีเหมือนสีของภาพติดตามของวัตถุอันแรก จะได้ ภาพติดตามท่ีมีสีเหมือนสีของวัตถุอันแรก และนักเรียนที่มีความรู้เรื่องสีเติมเต็มอาจตอบว่า เมื่อ เพ่งมองสีหน่ึง แล้วปิดตาจะเหน็ ภาพติดตามเป็นสีเติมเต็มของสีนั้น (สีแดงและสีน้าเงินเขียวเป็นสีเตมิ เตม็ ซง่ึ กนั และกัน))

4. การลงความเหน็ ขึน้ อยู่กบั อะไรบา้ ง (แนวการตอบ: ประสบการณแ์ ละความรู้เดิมของผ้สู งั เกต) 5. นักเรยี นสามารถสรปุ ทกั ษะการลงความเหน็ จากข้อมูลว่าอยา่ งไร (แนวการตอบ: การอธิบายผลท่ีได้จากการสังเกตอยา่ งมีเหตุผล โดยใช้ความร้หู รือประสบการณ์เดมิ ) ขั้นที่ 4 ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกีย่ วกับพฤตกิ รรมท่ีแสดงถงึ การมีทักษะการลงความเหน็ จากข้อมูล ดงั นี้ ผู้ท่ีมีทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลจะต้องมีความสามารถ คือ อธิบายหรือสรุปโดยเพ่ิมความ คิดเห็นให้กับข้อมูลท่ีได้จากการสังเกต โดยใช้ความรู้หรือประสบการณ์เดิมมาช่วย การลงความคิดเห็นจาก ขอ้ มูลในเรื่องเดียวกันอาจลงความคดิ เห็นไดห้ ลายอยา่ ง ซึง่ อาจจะถกู หรือผิดก็ได้ ทง้ั นี้ขนึ้ อยู่กับปัจจัยหลกั ดงั น้ี 1. ความถูกตอ้ งของข้อมูล ถา้ ขอ้ มลู ที่เราสังเกตไดม้ ีความคลาดเคล่ือน การลงความเหน็ กจ็ ะไมถ่ ูกตอ้ ง 2. จานวนข้อมลู ถา้ เรามีขอ้ มูลมากเพยี งพอ การลงความเหน็ จะตอ้ งถูกมากยงิ่ ขึ้น 3. ประสบการณ์เดมิ การลงความเหน็ ส่วนหนง่ึ จะเกี่ยวขอ้ งกับประสบการณ์เดิมทีเ่ ราเคยพบเหตุการณ์ นัน้ ๆ มาแล้ว ถา้ เรามปี ระสบการณเ์ กี่ยวกบั เรอ่ื งน้ันดี จะทาให้การลงความเหน็ ถกู ต้องมากขึน้ ขนั้ ที่ 5 ข้ันประเมินผล (Evaluation) 1. ครใู ห้นกั เรยี นทาใบงาน เร่อื ง ทักษะการลงความเหน็ จากข้อมลู 2. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั อภิปรายเกยี่ วกบั “ทกั ษะการลงความเห็นจากข้อมูล” 3. นักเรยี นแต่ละคนพิจารณาว่า มจี ุดใดบ้างที่ยงั ไม่เข้าใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามคี รูช่วยอธิบายเพ่ิมเติมให้ นกั เรียนเข้าใจ 9. ส่อื /แหลง่ การเรยี นรู้ 9.1 สอื่ - สอ่ื การสอน Power Point เรอื่ ง ทกั ษะการลงความเห็นจากข้อมูล - รายงานผลการทดลอง เรอื่ ง การลงความเหน็ จากขอ้ มลู - ใบงาน เรอ่ื ง ทักษะการลงความเหน็ จากข้อมูล - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 9.2 แหลง่ การเรียนรู้ - หอ้ งเรียนวิทยาศาสตร์ - ห้องสมุดโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31

10. การวัดและการประเมนิ ผล วิธกี ารวดั เครือ่ งมือ 10.1 การวัดผล จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ - นักเรียนทาใบงาน เรื่อง - ใบงาน เร่ือง ทกั ษะการ 1. ดา้ นความรู้ (K) - นกั เรียนสามารถอธิบายทักษะการลง ทักษะการลงความเห็น ลงความเห็นจากขอ้ มูล ความเห็นจากข้อมูลได้ จากข้อมลู 2. ด้านทักษะกระบวนการ (P) - นักเรยี นทารายงานผล - รายงานผลการทดลอง - นักเรียนสามารถทาการทดลอง โดยใช้ การทดลอง เรื่อง การลง เร่ือง การลงความเหน็ ทกั ษะการลงความเหน็ จากข้อมูลได้ ความเหน็ จากข้อมูล จากข้อมลู 3. ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) - ครูประเมินคุณลักษณะ - แบบประเมนิ - นักเรียนเป็นผู้ท่ีมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และ อนั พงึ ประสงค์ คุณลกั ษณะอันพงึ ม่งุ มั่นในการทางาน ประสงค์ 10.2 เกณฑก์ ารประเมนิ ผล (4) ระดบั คณุ ภาพ (1) ดีมาก (3) (2) ปรับปรุง 10.2.1 ด้านความรู้ (K) นักเรยี นได้ ดี พอใช้ นักเรียนได้ คะแนนจากการ นักเรียนได้ นักเรยี นได้ คะแนนจากการ - นกั เรียนสามารถอธิบายทกั ษะ ทาใบงาน 9-10 คะแนนจากการ คะแนนจากการ ทาใบงานต่ากวา่ การลงความเหน็ จากข้อมูลได้ คะแนน ทาใบงาน 7-8 ทาใบงาน 5-6 5 คะแนน คะแนน คะแนน 10.2.2 ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) (4) ระดับคุณภาพ (1) ดีมาก (3) (2) ปรับปรงุ - นักเรยี นสามารถทาการทดลอง นักเรยี นได้ ดี พอใช้ นกั เรียนได้ โดยใชท้ ักษะการลงความเหน็ จาก คะแนนจาก นกั เรียนได้ นกั เรียนได้ คะแนนจากการ ขอ้ มูลได้ การทารายงาน คะแนนจากการ คะแนนจากการ รายงานผลการ ผลการทดลอง ทารายงานผล ทารายงานผล ทดลองต่ากวา่ 8 14-16 คะแนน การทดลอง การทดลอง คะแนน 11-13 คะแนน 8-10 คะแนน

10.2.3 คุณลกั ษณะ (A) ระดบั คุณภาพ - นักเรียนเป็นผทู้ ่มี วี ินยั ใฝ่เรียนรู้ (4) (3) (2) (1) และมงุ่ มัน่ ในการทางาน ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ นักเรียนได้ นักเรยี นได้ นกั เรยี นได้ นกั เรยี นได้ คะแนนจากการ คะแนนจาก คะแนนจาก คะแนนจากการ ประเมนิ การประเมนิ การประเมนิ ประเมนิ คุณลักษณะ คุณลักษณะ คุณลักษณะ คุณลักษณะอนั อนั พงึ ประสงค์ อันพึงประสงค์ อนั พึงประสงค์ พึงประสงค์ตา่ 11-12 คะแนน 9-10 คะแนน 6-8 คะแนน กว่า 6 คะแนน

ใบงาน เรอื่ ง ทกั ษะการลงความเหน็ จากข้อมูล คาช้ีแจง: นกั เรียนอา่ นขอ้ ความต่อไปน้ี แลว้ ตอบคาถาม การขับถ่ายเป็นระบบกาจัดของเสียออกจากร่างกายและช่วยควบคุมปริมาณของน้าในร่างกายให้ สมบูรณ์ ประกอบด้วย ไต ตบั และลาไส้ เปน็ ตน้ การปฏิบัติตนในการขับถ่ายของเสียให้เป็นปกติหรือเป็นกิจวัตรประจาวัน เป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่งต่อ สุขภาพอนามัยของมนุษย์ เราไม่ควรให้ร่างกายเกิดอาการท้องผูกเป็นเวลานาน เพราะจะทาให้เกิดเป็นโรค รดิ สีดวงทวารหนักได้ การปัสสาวะถือเป็นการขับถ่ายของเสียประการหน่ึงท่ีร่างกายเอาของเสียออกมา หากไม่ขับถ่าย ออกมาหรือกล้ันปัสสาวะไว้นานๆ จะทาให้เกิดเป็นโรคนิ่วในไตหรือทาให้กระเพาะปัสสาวะอักเสบ และไต อกั เสบได้ การด่ืมน้า การรับประทานผักผลไม้ทุกวัน จะช่วยให้ร่างกายขับถ่ายได้สะดวกข้ึน การรับประทาน อาหารที่ถูกสุขลักษณะ ตลอดจนการรับประทานอาหารท่ีมีเส้นใยอาหารเป็นประจาจะทาให้ร่างกายขับถ่าย ของเสียได้อย่างปกติ คาถาม 1. ทาอย่างไรร่างกายเราจึงจะขับถ่ายของเสยี ไดด้ ี .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ 2. การรับประทานผักผลไม้มากๆ มีผลดตี ่อการขบั ถา่ ยอยา่ งไร .............................................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................... ..................................... .............................................................................................. ............................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ........................................................................................... 3. หากเราไมด่ ่ืมน้า จะส่งผลเสยี ตอ่ ระบบขบั ถา่ ยอย่างไร .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................ ............................. ............................................................................................................................................................................

บทปฏิบัติการ เร่อื ง การลงความเหน็ จากข้อมลู จดุ ประสงคข์ องการทดลอง 1. นกั เรียนสามารถทาการทดลอง โดยใชท้ กั ษะการลงความเห็นจากข้อมูลได้ วัสดอุ ุปกรณ์ 1. ดนิ สอสแี ดง 2. ดินสอสเี ขียว วธิ กี ารทดลอง 1. ใหน้ กั เรียนถือดนิ สอสีแดง โดยให้หา่ งจากหน้าของนักเรียนประมาณ 20 เซนตเิ มตร จากน้นั ให้เพ่งดู ดินสอสีแดงประมาณ 30 วินาที แล้วหลบั ตา โดยใชม้ ือปดิ ตาดว้ ย เพื่อไมใ่ หแ้ สงเข้า นักเรียนสังเกตพบ อะไรบ้างในขณะปดิ ตา พรอ้ มท้งั บนั ทกึ ผลการสังเกต 2. ทาการทดลองซา้ โดยใช้ดินสอสีน้าเงินเขียว และบนั ทึกผลการสังเกต 1. 20 ซม. บนั ทึกผลการสงั เกต เพง่ ดูดินสอ 30 วนิ าที แลว้ หลับตา 2. 20 ซม. บนั ทึกผลการสงั เกต เพง่ ดูดินสอ 30 วินาที แล้วหลบั ตา

รายงานผลการทดลอง เรือ่ ง การลงความเหน็ จากข้อมลู วันทีท่ าการทดลอง.....................................................................................................เวลา................................. สมาชิกกลุ่ม 1. ชื่อ................................................................................................................เลขท.ี่ .............. ............ 2. ชอ่ื ................................................................................................................เลขที่............... ............ 3. ชอ่ื ................................................................................................................เลขท.ี่ .......................... 4. ช่ือ................................................................................................................เลขท.ี่ .............. ............ 5. ชื่อ................................................................................................................เลขท่.ี .......................... 6. ชอ่ื ................................................................................................................เลขท่.ี .............. ............ จุดประสงค์ ............................................................................................................................. ............................................. สมมติฐาน ............................................................................................................................. ............................................. ตวั แปรตน้ .......................................................................................................................................................................... ตัวแปรตาม ............................................................................................................................. ............................................. ตัวแปรควบคมุ ............................................................................................................................. ............................................. ตารางบันทกึ ผลการทดลอง ส่ิงท่ีสังเกต ผลการทดลอง ดินสอสแี ดง ดนิ สอสีเขยี ว

สรุปผลการทดลอง ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. อภปิ รายผลการทดลอง ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................................................... ....

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ท่ี ชือ่ - สกลุ มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มั่นในการ รวม ทางาน 432143214321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27

เกณฑก์ ารให้คะแนน ประเดน็ การ (4) ระดับการปฏิบตั ิ (1) ประเมนิ ดีมาก (3) (2) ปรับปรุง ดี พอใช้ 1. มีวนิ ัย สง่ งานครบทุกชิน้ สง่ งานครบทุกช้นิ ส่งงานช้าเปน็ บางครง้ั สง่ งานช้าเป็นประจา ก่อนเวลาท่ีกาหนด ตามเวลาทีก่ าหนด หรือไม่ส่งงานเลย ทุกครงั้ 2. ใฝ่เรยี นรู้ ต้งั ใจเรยี น มคี วาม ตั้งใจเรยี น มีความ ต้ังใจเรียน แต่ขาด ไมค่ ่อยต้งั ใจเรยี น พยายามในการ พยายามในการเรียนรู้ ความพยายาม ขาดความพยายาม คน้ ควา้ หาความรู้จาก ในห้องเรยี น ซักถาม ซกั ถามคาตอบ ไม่มีการซกั ถามเพื่อ แหลง่ เรียนรู้ต่างๆ บอ่ ยครัง้ บางครงั้ หาคาตอบ ซักถามเพ่ือคาตอบ ทุกครั้ง 3. มงุ่ มน่ั ในการ มคี วามกระตือรอื รน้ มีความกระตือรือร้น มีความกระตือรือร้น ขาดความ ทางาน ทางานสาเรจ็ ถูกต้อง ทางานสาเร็จถูกต้อง ทางานสาเร็จ แต่ กระตือรอื รน้ ต่อการ ตามเวลาทีก่ าหนด แต่ชา้ เกนิ เวลาที่ เนือ้ หาไมถ่ กู ต้อง ทางาน งานไมเ่ สรจ็ กาหนด บางส่วน หรือไม่ ตามเวลาท่ีกาหนด ถูกต้อง และเนือ้ หาไม่ถกู ต้อง เกณฑ์การประเมินต้องได้ระดับคะแนน 2 ข้ึนไปจึงจะผ่านเกณฑ์ (6คะแนน) 11-12 คะแนน อยูใ่ นระดับดีมาก 9-10 คะแนน อยู่ในระดบั ดี 6-8 คะแนน อยูใ่ นระดบั พอใช้ ตา่ กวา่ 6 คะแนน อย่ใู นระดบั ควรปรบั ปรุง สรุปการประเมนิ ลงชื่อ…………………………………………ผู้ประเมิน ผ่าน……………………. (นางสาวศริ วิ รรณ มุนนิ คา) ไม่ผ่าน……………….. ………./………./……….

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 18 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 - 3 กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีการศึกษา 2563 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 2 ช่วั โมง หนว่ ยท่ี 2 เรือ่ ง ทักษะทางวิทยาศาสตร์ แผนการจดั การเรียนรู้ เร่อื ง ทกั ษะการพยากรณ์ ผู้สอน นางสาว ศริ วิ รรณ มุนินคา 1. ผลการเรียนรู้ 8. ทดลองเกีย่ วกับทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ด้านการทานายหรือคาดคะเนสงิ่ ที่จะเกิดขึน้ ล่วงหนา้ ได้อยา่ งถูกต้อง 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นกั เรยี นมคี วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั ทักษะการพยากรณ์ (K) 2. นกั เรียนสามารถปฏิบตั ิกิจกรรม โดยใช้ทกั ษะการพยากรณ์ (P) 3. นกั เรยี นเป็นผูท้ มี่ วี ินัย ใฝเ่ รียนรู้ และมงุ่ มัน่ ในการทางาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ 1. ทกั ษะการพยากรณ์ 4. ทกั ษะการเรียนรู้ 1. ทกั ษะวิทยาศาสตร์ - การสงั เกต - การอภปิ รายและลงข้อสรปุ 5. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ - มีวินยั - ใฝเ่ รยี นรู้ - มุ่งมั่นในการทางาน 6.สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น/สมรรถนะของศตวรรษท่ี 21 - ความสามารถในการส่ือสาร - ความสามารถในการคดิ - ความสามารถในการแกป้ ัญหา

7. สาระสาคัญ ทักษะการพยากรณ์ (Predicting) หมายถึง การทานายหรือการคาดคะเนคาตอบ โดยอาศยั ขอ้ มูลท่ีได้ จากการสังเกตหรือการทาซ้า ผ่านกระบวนการแปรความหมายของข้อมูลจากสัมพันธ์ภายใต้ความรู้ทาง วทิ ยาศาสตร์ 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้นั ที่ 1 ขน้ั สร้างความสนใจ (Engagement) ครูนาเข้าสู่บทเรียน โดยใชค้ าถามถามนักเรยี น ดงั นี้ 1. นกั เรยี นรหู้ รอื ไม่ว่าทกั ษะการพยากรณ์ หมายถึงอะไร (แนวการตอบ: การทานาย หรือการคาดคะเนสง่ิ ทเี่ กดิ ขน้ึ ล่วงหน้า โดยอาศยั ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต หรือปรากฏการณ์ทเี่ กิดขึ้นซา้ ๆ) 2. ครูแจ้งให้นกั เรียนฟังวา่ ในคาบนจี้ ะเรียนเรื่อง ทักษะการพยากรณ์ ขั้นท่ี 2 ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสืบค้นและศึกษาเก่ียวกับทักษะการพยากรณ์จากห้องสมุดโรงเรียน หรืออินเทอร์เน็ต 2. หลังจากท่ีนักเรียนศึกษาทักษะการพยากรณ์เสร็จ ครูอธิบายวิธีการปฏิบัติกิจกรรมนักพยากรณ์…คน เกง่ 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันปฏิบัติกิจกรรม เม่ือปฏิบัติกิจกรรมเสร็จตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอ หนา้ ช้นั เรยี น ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) ครูและนักเรียนอภิปรายและสร้างข้อสรุปเกี่ยวกับกิจกรรมนักพยากรณ์…คนเก่งร่วมกัน จากนั้นครูใช้คาถาม เพ่ือลงข้อสรปุ เก่ียวกับทกั ษะการพยากรณ์โดยใชค้ าถาม ดังน้ี 1. การพยากรณม์ ีกปี่ ระเภท อะไรบา้ ง (แนวการตอบ: 2 ประเภท ได้แก่ การพยากรณ์ภายในขอบเขตของข้อมูลที่มีอยู่ และการพยากรณ์ ภายนอกขอบเขตของข้อมลู ท่ีมอี ยู่) 2. พฤตกิ รรมท่แี สดงวา่ เกิดทกั ษะการพยากรณ์มีอะไรบา้ ง (แนวการตอบ: ทานายผลท่ีจะเกิดข้ึนจากข้อมูลที่เป็นหลักการ กฎ หรือทฤษฎีที่มีอยู่ได้ ทานายผลที่ จะเกิดขึ้นภายในขอบเขตของข้อมูลเชิงปริมาณท่ีมีอยู่ได้ และทานายผลท่ีจะเกิดขึ้นภายนอกขอบเขต ของขอ้ มูลเชงิ ปรมิ าณทมี่ อี ย่ไู ด้)

3. นักเรยี นสามารถสรปุ ทกั ษะการพยากรณ์ได้ว่าอยา่ งไร (แนวการตอบ: การทานาย หรือการคาดคะเนส่ิงท่เี กดิ ข้ึนลว่ งหน้า โดยอาศยั ข้อมลู ท่ีได้จากการสังเกต หรอื ปรากฏการณ์ทีเ่ กดิ ขึน้ ซ้าๆ) ขน้ั ที่ 4 ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) ครูให้ความร้เู พิม่ เตมิ เก่ียวกบั ทกั ษะการพยากรณ์ ดงั น้ี ทกั ษะการพยากรณ์ เปน็ การคาดการณห์ รือการทานายเกี่ยวกบั เหตุการณ์ สถานการณ์ ตลอดจนผลที่ จะเกดิ ขึ้นลว่ งหนา้ โดยอาศัยหลัก กฎ ทฤษฎี รวมทัง้ ข้อมลู ท่ีได้จากการสังเกตหรือจากประสบการณ์ท่ีเกิดซ้า ๆ ในเรอ่ื งนัน้ มาชว่ ย ประเภทของการพยากรณ์ 1. การพยากรณภ์ ายในขอบเขตของขอ้ มลู ทมี่ ีอยู่ 2. การพยากรณภ์ ายนอกขอบเขตของข้อมูลทมี่ ีอยู่ ขน้ั ท่ี 5 ข้ันประเมนิ ผล (Evaluation) 1. ครูใหน้ ักเรียนสรุปความคดิ รวบยอด เรือ่ ง ทักษะการพยากรณ์ 2. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายเกย่ี วกับ “ทกั ษะการพยากรณ”์ 3. นกั เรียนแตล่ ะคนพจิ ารณาว่า มจี ุดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยังมีข้อสงสยั ถ้ามคี รชู ว่ ยอธบิ ายเพิ่มเติมให้ นกั เรยี นเขา้ ใจ 9. สอื่ /แหล่งการเรียนรู้ 9.1 สอ่ื - ส่ือการสอน Power Point เร่ือง ทักษะการพยากรณ์ - กิจกรรมนกั พยากรณ…์ คนเก่ง - การสรุปความคิดรวบยอด เร่อื ง ทักษะการพยากรณ์ - แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 9.2 แหลง่ การเรียนรู้ - ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ - ห้องสมดุ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook