Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ ม.ปลาย N-net

คู่มือ ม.ปลาย N-net

Description: คู่มือ ม.ปลาย สมบูรณ์

Search

Read the Text Version



ก คาํ นํา สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ในปจจุบัน ทําให การจัดกระบวนการเรียนรู กศน. ไมสามารถดําเนินการไดตามปกติ สํานักงาน กศน. มีนโยบายให สถานศึกษาในสังกัด ปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเรียนการสอนผานระบบออนไลน เพ่ือใหนักศึกษา สามารถเรียนรูไดทุกที่ทุกเวลา และสํานักงาน กศน.จังหวัดพิจิตร มีหนาท่ีสงเสริม สนับสนุน ใหสถานศึกษาในสังกัด มีรปู แบบการจัดกระบวนการเรียนรูท่หี ลากหลาย มีวิธกี ารจัดการเรียนการสอน ใหม ีความเหมาะสม เพือ่ ใหผูเรยี นเกิดการเรียนรูอยา งตอ เน่ือง การจัดทําคูมือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายบุคคล ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เลมนี้ เปน การพฒั นาจากคูม ือยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนรายบุคคล ปก ารศกึ ษา 2563 โดยมีวตั ถปุ ระสงค เพื่อใหผูเรียนไดศึกษาเรียนรูดวยตนเอง ใหเกิดทักษะการอานและทักษะทางวิชาการเพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ภายในเลมประกอบดวยรายละเอียดสรุปเน้ือหาตามสาระการเรียนรูจํานวน 14 รายวิชา แบบทดสอบหลังเรียน และแบบบนั ทึกการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายบุคคล เพื่อให ผูเรียนไดประเมินตนเอง และพัฒนาตนเองอยางตอเน่ือง ตามจุดมุงหมายของหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ขอขอบคุณคณะผูจัดทําทุกทาน ในการมีสวนรวมดําเนินการพัฒนาคูมือเลมน้ีใหสําเร็จ ลุลวง ดวยดี อันจะเปนประโยชนแกครูและผูเรียนโดยตรงตอไป และหวังเปนอยางยิ่งวาคูมือยกระดับ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนรายบุคคล ระดบั ประถมศกึ ษา เลม นจี้ ะเปนประโยชนต อผเู รียน ในการเรยี นรเู พ่ือ พัฒนาตนเองใหมีผลสัมฤทธ์ิทางการศกึ ษาสูงขึ้น ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และยกระดับการสอบทางการศึกษาระดับชาติดานการศึกษานอกระบบ โรงเรียน (N-NET) ของสถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแหง ชาต(ิ องคก ารมหาชน) สํานักงานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวดั พิจิตร กรกฎาคม 2564

สารบัญ ข คาํ นํา หนา สารบัญ ก คาํ ช้แี จงการใชค มู ือยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นรายบคุ คล ข ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ปก ารศึกษา 2564 รายวชิ าทักษะการเรยี นรู รหัสวชิ า ทร31001 1 2 สรปุ เนื้อหาสําคัญจากบทเรยี น 2 แบบทดสอบรายวชิ าทกั ษะการเรยี นรู 6 รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า พท31001 12 สรปุ เน้ือหาสําคัญจากบทเรยี น 12 แบบทดสอบรายวิชาภาษาไทย 24 รายวิชาภาษาอังกฤษเพอื่ ชีวิตและสังคม รหสั วชิ า พต31001 29 สรปุ เน้ือหาสาํ คญั จากบทเรียน 29 แบบทดสอบรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อชวี ิตและสังคม 40 รายวชิ าคณติ ศาสตร รหัสวชิ า พค31001 45 สรุปเนอ้ื หาสําคญั จากบทเรียน 46 แบบทดสอบรายวิชาคณิตศาสตร 71 รายวิชาวิทยาศาสตร รหสั วิชา พว31001 75 สรุปเนื้อหาสาํ คญั จากบทเรียน 75 แบบทดสอบรายวชิ าวทิ ยาศาสตร 86 รายวชิ าชอ งทางการขยายอาชีพ รหัสวชิ า อช31001 90 สรปุ เน้ือหาสําคัญจากบทเรยี น 90 แบบทดสอบรายวิชาชองทางการขยายอาชีพ 96 รายวิชาทกั ษะการขยายอาชพี รหสั วชิ า อช31002 100 สรปุ เนือ้ หาสาํ คัญจากบทเรยี น 100 แบบทดสอบรายวิชาทักษะการขยายอาชีพ 103 รายวชิ าพฒั นาอาชีพใหมีความม่ันคง รหัสวิชา อช31003 107 สรปุ เน้อื หาสําคญั จากบทเรียน 107 แบบทดสอบรายวชิ าพฒั นาอาชพี ใหม คี วามม่นั คง 116

สารบญั (ตอ) ค รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง รหัสวชิ า ทช31001 หนา สรุปเนื้อหาสําคญั จากบทเรียน แบบทดสอบรายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง 120 120 รายวิชาสขุ ศกึ ษา พลศกึ ษา รหัสวชิ า ทช31002 125 สรปุ เนื้อหาสําคัญจากบทเรยี น 129 แบบทดสอบรายวชิ าสุขศกึ ษา พลศกึ ษา 129 136 รายวชิ าศลิ ปศึกษา รหัสวชิ า ทช31003 140 สรุปเนอ้ื หาสําคญั จากบทเรยี น 140 แบบทดสอบรายวชิ าศลิ ปศกึ ษา 146 150 รายวชิ าสงั คมศึกษา รหัสวิชา สค31001 150 สรปุ เนอ้ื หาสาํ คญั จากบทเรียน 157 แบบทดสอบรายวิชาสังคมศึกษา 161 161 รายวิชาศาสนาและหนา ทพี่ ลเมือง รหัสวชิ า สค31002 172 สรปุ เนื้อหาสําคญั จากบทเรยี น 176 แบบทดสอบรายวิชาศาสนาและหนาทีพ่ ลเมอื ง 176 184 รายวชิ าการพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สงั คม รหสั วชิ า สค31003 188 สรุปเนื้อหาสาํ คัญจากบทเรยี น 190 แบบทดสอบรายวิชาการพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม 191 192 เฉลยแบบทดสอบ 198 แบบบนั ทกึ การพฒั นาทกั ษะวิชาการผเู รียนรายบคุ คล เกณฑการประเมินผลการพฒั นาทักษะวชิ าการผูเ รยี นรายบุคคล บรรณานกุ รม คณะผูจัดทาํ

1 คําชี้แจงการใชคมู อื ยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรียนรายบุคคล คมู ือยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นรายบุคคล ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ปการศกึ ษา 2564 เลมนี้จัดทําขึ้นเพ่ือพัฒนาผูเรียน ใหมีความรูความสามารถทางดานวิชาการ ในรายวิชาบังคับตาม หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ในการศึกษาเอกสารเลมน้ี ผเู รยี นควรปฏิบตั ิ ดังน้ี 1. ผเู รียนสาํ รวจวิชาที่ตนเองลงทะเบยี นเรียนในปก ารศกึ ษา 2564 2. ผเู รียนศึกษาเนอื้ หารายวชิ าทต่ี นเองลงทะเบยี นเรยี น หรือรายวชิ าอื่นๆ ท่ีตอ งการเรียนรู 3. หลงั จากศึกษาในรายวิชานัน้ ๆ แลว ผเู รยี นตองทําแบบทดสอบ แลว นาํ มาเฉลยแบบทดสอบ 4. ผูเรียนบันทึกคะแนนผลการทดสอบรายวิชาในแบบบันทึกการพัฒนาทักษะวิชาการผูเรียน รายบุคคล (อยทู ายเลม ) เพ่ือเปน แนวทางในการพฒั นาตนเองตอ เนอื่ ง 5. ใหผเู รียนศึกษาคนควาหาความรเู พิ่มเติมในรายวิชาตา งๆ ไดจ ากแบบเรียนตามหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ไดจาก แหลงเรียนรูและส่ือออนไลนอ ่ืนๆ

รายวิชาทักษะการเรียนรู รหัสวิชา ทร31001 จดุ ประสงคก ารเรียนรู 1. นักศึกษาสามารถบอกความหมายและความสาํ คญั ของการเรยี นรูดวยตนเองได 2. นักศึกษาสามารถกําหนดเปาหมายและวางแผนการเรียนรูดวยตนเองบนทักษะของการแสวงหา ความรู ทกั ษะในการแกปญหา และเทคนิคการเรียนรดู ว ยตนเองได 3. นักศึกษามีเจตคติที่ดีตอ การเรียนรูดวยตนเองและบอกปจจัยท่ีทําใหสามารถเรียนรูดวยตนเองให ประสบความสาํ เร็จได ขอบเขตเนอ้ื หา การเรียนรูในรายวิชาทักษะการเรียนรู เปนความรูเกี่ยวกับการเรียนรูดวยตนเอง การใชแหลง เรียนรู การจัดการความรู การคิดเปน และการวิจัยอยางงาย ในสวนของรายวิชา การเรียนรูดวยตนเอง เปนสาระการเรียนรูเก่ียวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรู ในดานการเรียนรูดวยตนเอง เปดโอกาสให ผเู รยี นไดศกึ ษา คนควา ฝกทกั ษะในการเรยี นรูด วยตนเอง เพื่อมงุ เสริมสรางใหผ เู รียนมีนิสัยรักการเรยี นรู ซง่ึ เปนทักษะพน้ื ฐานของบุคคลแหงการเรียนรทู ่ยี ัง่ ยนื เพ่อื ใชเปน เครอื่ งมือในการชีน้ าํ ตนเองในการเรยี นรู ไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิต การเรียนรูดวยตนเอง (Self-Directed Learning) เปนแนวทางการเรียนรู หนึ่งทส่ี อดคลองกับการเปลย่ี นแปลงของสภาพปจจบุ นั ไดด วยตนเอง เพ่อื ท่ตี นเองสามารถดํารงชวี ติ อยูใน สังคมทม่ี ีการเปลย่ี นแปลงอยตู ลอดเวลาไดอยา งเปน ปกตสิ ุข บทที่ 1 การเรียนรดู วยตนเอง การเรียนรูดวยตนเอง (Self-Directed Learning) เปนแนวทางการเรียนรูหนึ่งท่ีสอดคลองกับ การเปลย่ี นแปลงของสภาพปจจบุ ัน การเรียนรูดวยตนเอง เปนหลักการทางการศึกษาท่ีมีแนวคิดพ้ืนฐานมาจากทฤษฎีของ กลุมมนุษยนิยม(Humanism) ซ่ึงเช่อื วา มนุษยท ุกคนมีธรรมชาตเิ ปนคนดี มเี สรภี าพและความเปน ตนเอง มีความเปนปจ เจกชน มีศกั ยภาพ และการรบั รูต นเอง มคี วามเปนจริงในสิ่งที่ตนสามารถเปน ได มีการรับรู มีความรับผิดชอบและความเปนมนุษย ดังน้ัน การท่ีผูเรียนสามารถเรียนรูดวยตนเองได นับวาเปน คุณลักษณะที่ดีซ่ึงมีอยูในตัวบุคคลทุกคน ผูเรียนควรจะมีคุณลักษณะของการเรียนรูดวยตนเอง การ เรียนรูดวยตนเองจัดเปนกระบวนการเรียนรตู ลอดชวี ิต ยอมรับในศักยภาพของผูเรียนวาผูเรียนทุกคน มี ความสามารถที่จะเรียนรูสิ่งตางๆ ไดดวยตนเอง เพ่ือที่ตนเองสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมท่ีมีการ เปล่ยี นแปลงอยูตลอดเวลาไดอ ยางเปนปกติสขุ

3 องคป ระกอบของการเรียนรดู วยตนเอง มีดังนี้ 1. การวิเคราะหความตอ งการของตนเอง 2. การกาํ หนดจดุ มุงหมายในการเรียน โดยเริม่ จากบทบาทของผูเ รียนเปนสําคญั ผเู รียน ควรศึกษาจุดมงุ หมายของวิชาแลวเขยี นจดุ มงุ หมายในการเรียนของตนใหชัดเจน 3. การวางแผนการเรยี น ใหผ เู รยี นกาํ หนดแนวทางการเรียนตามวัตถุประสงคทีร่ ะบไุ ว 4. การแสวงหาแหลง วทิ ยาการทั้งทีเ่ ปน แหลง เรียนรูแ ละบุคคล 4.1 แหลง วทิ ยาการทีเ่ ปน ประโยชนในการศึกษาคน ควา เชน หองสมุด พพิ ิธภณั ฑเปน ตน 4.2 ทกั ษะตา ง ๆ ท่ีมีสว นชว ยในการแสวงแหลง วิทยาการไดอยางสะดวกรวดเร็ว เชน ทักษะการต้งั คําถาม ทักษะการอา น 5. การประเมนิ ผลควรประเมนิ ผลการเรยี นดว ยตนเองตามที่กําหนดจุดมงุ หมายของการเรียนไว บทท่ี 2 การใชแหลงเรยี นรู ความรูหรอื ขอ มลู สารสนเทศเกดิ ข้ึนและพัฒนาอยา งตอ เนื่องตลอดเวลาและมีการเผยแพรถ งึ กัน โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศภายในไมก่ีวินาที ทาํ ใหมนุษยตอ งเรียนรูกับส่ิงท่ีเปลี่ยนแปลงใหม ๆ เพอื่ ให สามารถรเู ทาทนั เหตุการณ และนํามาใชใหเ กิดประโยชนตอ การดาํ รงชวี ิตไดอยา งมีความสขุ ความหมายของแหลงเรียนรู แหลง เรยี นรู หมายถงึ บรเิ วณศูนยรวม บอ เกดิ แหงการเรียนรู หรือ ท่ีท่ีมีสาระเน้ือหาเปนขอมูล ความรู ความสําคัญของแหลงเรียนรู แหลงเรียนรูมีบทบาทสําคัญใน การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน เปนแหลงที่มขี อมูล ความรู ตามวัตถุประสงคของแหลงเรยี นรูนั้น เชน สวนสัตว ใหความรูเร่ืองสัตว พิพธิ ภัณฑใหความรูเรื่องโบราณวตั ถุสมัยตางๆ และเปนส่ือการเรยี นรู สมัยใหมทีก่ อ ใหเ กิดทักษะ และชว ยการเรยี นรสู ะดวกรวดเรว็ เชน อินเทอรเ น็ต แหลง เรยี นรมู ี 6 ประเภทดังนี้ 1. แหลง เรยี นรูประเภทบุคคล 2. แหลง เรยี นรปู ระเภทธรรมชาติ 3. แหลง เรยี นรปู ระเภทวสั ดแุ ละสถานท่ี 4. แหลง เรียนรปู ระเภทส่ือ 5. แหลง เรียนรปู ระเภทเทคนิค 6. แหลงเรียนรูประเภทกิจกรรม บทท่ี 3 การจัดการความรู แนวคิดเกย่ี วกบั การจดั การความรู ความหมายของการจัดการความรู (Management) หมายถึง กระบวนการในการเขาถึงความรู และการถายทอด ความรูที่ตองดําเนินการรวมกันกับผูปฏิบัติงาน ซ่ึงอาจเริ่มตนจากการบงชี้ความรูท่ีตองการใชการสราง และแสวงหาความรู การประมวลเพื่อกลัน่ กรอง

4 ความรู การจัดการความรูใหเปนระบบ การสรางชองทางเพ่ือการสื่อสารกับผูเก่ียวของ การแลกเปล่ียน ความรู การจัดการสมัยใหม กระบวนการทางปญญา เปนสิ่งสําคัญในการคิด ตัดสินใจ และสงผลใหเ กิด การกระทําการจัดการจึงเนน ไปที่การปฏิบัติความรู (Knowledge) หมายถงึ ความรทู ี่ควบคูก บั การปฏบิ ัติ การจัดการความรูเปนการเรียนรูจากการปฏิบัติ นําผลจากการปฏิบัติมาแลกเปล่ียนเรียนรูกัน เสริมพลังของการแลกเปล่ยี นเรียนรดู วยการชืน่ ชม ทําใหเปนกระบวนการแหง ความสุข ความภูมใิ จและ การเคารพเห็นคุณคาซ่ึงกันและกัน ทักษะเหลาน้ีไปสูการสรางนิสัยคิดบวก มองโลกในแงดี และ สรางวฒั นธรรมในองคกรทผี่ คู นสัมพันธก ันดวยเร่อื งราวดี ๆ กระบวนการจัดการความรู เปนกระบวนการแบบหน่ึงท่ีจะชวยใหองคกรเขาถึงข้ันตอนที่ทําให เกิดการจัดการความรูหรือพัฒนาการของความรูท่ีจะเกิดขึ้นภายในองคกรมีข้ันตอน 7 ขั้นตอน คือ 1. การบงชี้ความรู 2. การสรางและแสวงหาความรู 3. การจัดการความรูใหเปนระบบ 4. การประมวล และกล่ันกรองความรู 5. การเขา ถึงความรู 6. การแบง ปนแลกเปลีย่ นความรู 7. การเรยี นรู บทที่ 4 การคิดเปน การคิดเปน คอื การใชขอมูลอยางนอ ย 3 ประการมาประกอบการตัดสนิ ใจ ขอมลู ดา นวิชาการ ขอ มูลเกี่ยวกับตนเอง ขอมูลเก่ียวกับสังคมและสิ่งแวดลอม การท่ีเปนผูรูจักปญหาเรื่องทุกข รูจักสาเหตุ แหงทุกข ซึ่งมีอยูในตนเองและสภาพแวดลอม รูจักคิดวิเคราะหหาวิธีบําบัดทุกข และใชวิธีท่ีเหมาะสม ในการดับทุกขจึงจะเกิดความสุข แนวความคิดเรื่องคิดเปนมีองคป ระกอบที่สําคัญในเชิงปรัชญา 3 สวน กลาวคือ เปาหมายสูงสุดของชีวิตมนุษย คือ ความสุข มนุษยจึงแสวงหาวิธีการตางๆ เพื่อท่ีจะมุงไปสู ความสุขนั้น แตเ น่อื งจากมนุษยมีความแตกตา งกันโดยพื้นฐานท้ังทางกายภาพ อารมณ สังคม จติ ใจและ ภาวะแวดลอม ทําใหความตอ งการของคนแตละคนมีความแตกตางกัน การใหคุณคา และความหมายของ ความสุขของมนุษยจึงแตกตางกัน การแสวงหาความสุขที่แตกตางกันนั้น ขึ้นอยูกับการตัดสินใจของคน แตละคน การตัดสินใจน้ันจําเปนจะตองใชขอมูลอยางรอบดาน ซึ่งโดยหลักการของการคิดเปน มนุษย ควรจะใชขอมูลอยางนอย 3 ดาน คือ ขอมูลตนเอง ซึ่งเปนขอมูลเกี่ยวกับตนเอง ทั้งทางดานกายภาพ สุขภาพอนามัยความพรอมตาง ๆ ขอมูลสังคมซึ่งเปนขอมูลเก่ียวกับสภาพแวดลอม ครอบครัว สังคม วัฒนธรรม ความเชื่อ ประเพณี คานิยมตลอดจนกรอบคุณธรรม จริยธรรม และขอมูลทางวิชาการ คือ ความรูที่เกี่ยวขอ งกับเรื่องที่ตอ งคิด ตัดสินใจนั้นๆ วามีหรือไมเพียงพอท่ีจะนําไปใชหรือไม การใชขอมูล อยางรอบดานนี้ จะชวยใหการคิดตัดสินใจเพ่ือแสวงหาความสุขของมนุษยเปนไปอยางรอบคอบ เรียกวิธีการคิดตัดสินใจน้ีวา “คิดเปน” และเปนความคิดที่มีพลวัต คือ ปรับเปล่ียนไดเสมอ เมื่อขอมูล เปล่ยี นแปลงไปเปาหมายชวี ติ เปล่ยี นไป

5 บทที่ 5 การวิจยั อยางงา ย เม่ือไดยินคําวา “การวิจัย” คนสวนใหญจ ะรูสึกวาเปนเร่ืองที่ทํายาก มีขั้นตอนมาก ตองใชเวลานาน ตองมีความรูในการสรางเครื่องมือการวิจัยและการใชสถิติตาง ๆ ทําใหหลายคนไมอยากทําวิจัย ขอ เท็จจริงคือ การวิจัยมีหลายระดับตัง้ แตระดับยาก ๆ ซับซอน ทต่ี องใชความรูทางวิชาการดานตาง ๆ และใชเวลาเปนปในการทําวิจัยแตล ะเร่อื งจนถึงการวิจยั ท่ีงาย ดังน้ันการวิจัยจึงไมใชเ รือ่ งยากอยา งท่ีคิด เสมอไป คําถามคือ การวิจัยคืออะไร ทําไมตองทาํ วิจัย ทําแลวไดประโยชนอยางไร การวิจัยเปนการหา คําตอบทอ่ี ยากรูท่สี งสยั ที่เปน ปญหาขอของใจ แตคาํ ตอบนั้น ตองเชอื่ ถือได ไมใชการคาดเดา หรอื คดิ สรุป ไปเองโดยใชความรูสึก วิธีการหาคําตอบจึงตอง เปนกระบวนการขั้นตอน อยางเปนระบบ ผลที่ไดจาก การทาํ วจิ ยั นอกจากจะไดรบั คาํ ตอบทตี่ อ งการรแู ลว ผูว ิจัยเองก็ไดประโยชนจ ากการทําวจิ ยั คอื การเปน คนชา งคดิ ชา งสงั เกต ศึกษาคนควาหาความรูและเขยี นเรียบเรียงอยา งเปนระบบ หมายเหตุ : ใหนักศึกษาไดศึกษาเพิ่มเติมจากหนังสือแบบเรียนรายวิชาทักษะการเรียนรู (ทร31001)

6 แบบทดสอบรายวชิ าทกั ษะการเรยี นรู ทร31001 จงเลอื กคําตอบทถ่ี ูกตอ งทสี่ ุดเพยี งคาํ ตอบเดียว 1. การจดั ทําสารสนเทศเผยแพรความรูนั้น ขอ ใดที่ถกู ตอ งทสี่ ุด ก. ชักจงู ใหคนคลอยตามใหมากทสี่ ดุ ข. หาเหตุผลใหค นเชือ่ มากทส่ี ุด ค. เปน ความคิดสรางสรรคและถกู ตอง ง. ตามกระแสนยิ ม อยใู นเทรนดท ีค่ นสวนใหญชอบ 2. การจดั การความรดู ว ยตนเองนนั้ สามารถทําไดโ ดยวธิ ใี ด ก. สงั เกต ข. ความรดู วยตวั เอง ค. วิเคราะหค าํ ตอบ ง. ตั้งคําถามดว ยตวั เอง 3. ขอใดไมใ ชห ลักการในการพฒั นาตนเอง ก. สง่ั ตนเอง ข. กาํ กบั ตนเอง ค. สญั ญากบั ตนเอง ง. การควบคมุ ตนเอง 4. ขอ ใดเปน ความเชอื่ พนื้ ฐานของการศึกษานอกระบบ ก. ทกุ คนตัดสินใจเอง ข. ทกุ คนเออื้ อาทรกนั ค. ทกุ คนมีความรกั ใครกัน ง. ทุกคนตองการความสขุ 5. ขอ ใดนยิ ามคําวา “ปญ หา” ไดดที ีส่ ดุ ก. สภาวะท่ขี ดั ขอ งหมองใจ ข. สง่ิ ทที่ ําใหทนทุกข ลําบาก ค. สิ่งทีอ่ ดั อัน้ บอกไมถกู อธิบายยาก ง. ชองวางท่ียงั ไมอ าจไปถงึ เปา หมายทพ่ี ึงพอใจ

7 6. ขอมูลในการคิดเปน มอี ะไรบาง ก. ขอ มลู ทว่ั ไปและขอมลู ขัดแยง ข. ขอมูลสารสนเทศและขอมูลความรู ค. ขอมูลอักษร ขอ มูลภาพ ตัวเลข เสยี ง ง. ขอ มลู ตนเอง สงั คม สง่ิ แวดลอมและวิชาการ 7. การคิดเปน หมายถึง ก. คิดอยา งอจั ฉรยิ ะ ข. คดิ แกป ญหาดวยวธิ กี ารอันแยบยล ค. การคดิ แกป ญหาดวยคุณธรรมอนั ดงี าม ง. ควบคมุ อารมณเ พราะ EQ สําคัญท่สี ุด 8. ความสําคัญของการคดิ เปน คอื ก. ทําใหคิดไดกวางไกล ข. รูจกั การเกรงใจและเขา ใจ ค. ไมจริงจงั เครง เครียดจนเกนิ ไป ง. ทาํ ใหเขา ใจและยอมรบั ความจรงิ ท่เี กดิ ข้นึ 9. ขอใดคอื ประโยชนแ ละความสําคญั ของการจัดการเรยี นรู ก. การจดั การความรทู าํ ใหไ ดเปรียบคนอืน่ ไมม ใี ครสูไ ด ข. การจัดการความรูเ ปน การเอื้อประโยชนตอธรุ กิจ ทาํ ใหคนจดั การความรูรํา่ รวย ค. การจัดการความรูทําใหกลาที่จะทาํ งานที่ยากลาํ บาก ไมว า งานนั้นจะเสย่ี งอันตรายแคไหนก็ตาม ง. การจัดการความรู ทาํ ใหส ามารถหรอื ตดั สนิ ใจ วางแผนดําเนินงานตาง ๆ ไดอยา งถูกตอ ง ชดั เจน แมน ยํา 10. วารสารเปน ทรพั ยากรสารสนเทศประเภทใด ก. สือ่ โสตทัศน ข. วสั ดยุ อ สวน ค. สื่อสิ่งพมิ พ ง. สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส

8 11. ขอใดคือลักษณะการเรียนรดู ว ยตนเอง ก. การเรยี นรูโดยการสาธติ ข. การเรยี นรทู ีไ่ มพ่งึ บุคคลอนื่ ค. การเรยี นรทู ใี่ ชเงนิ ทุนของตนเอง ง. การเรียนรทู ่ีเนนผเู รยี นเปนศูนยก ลาง 12. ปจจัยสาํ คญั สําหรับผูท ่เี รียนรูดวยตนเองคอื ขอ ใด ก. การมคี รอบครัวท่ีดี ข. การมีเพ่อื นบา นท่ีดี ค. การมีเพื่อนรว มงานทดี่ ี ง. การมคี วามพรอ มในการเรยี นรทู ี่ดี 13. การเรียนรแู บบใดท่ีนักศกึ ษาสามารถนาํ ไปใชใหเ กดิ ประโยชนไ ดม ากท่สี ดุ ก. การเรียนรโู ดยกลุม ข. การเรยี นรดู วยตนเอง ค. การเรยี นรโู ดยบังเอิญ ง. การเรยี นรจู ากสถาบนั การศกึ ษา 14. ขอใด ไมใ ช รปู แบบการเรียนรูด วยตนเอง ก. การใชโครงงานเรยี น ข. การทาํ สัญญาการเรยี น ค. การเรียนแบบตวั ตอ ตวั ง. การเรียนรแู บบบรรยาย 15. นักศึกษาสามารถแลกเปล่ียนเรียนรไู ดโดยวธิ ใี ด ก. การละทิ้งงานทท่ี าํ ข. การลอกงานเพอ่ื น ค. การถอดองคความรู ง. การหลอกลอ ใหค นอ่นื ชว ยงาน 16. ขอใด ไมใ ช วิธีการฝก ทักษะเพือ่ การเรียนรู ก. ฝกสังเกต ฝกบันทกึ ข. ฝก การเขยี น ฝก การคัดลอก ค. ฝก ต้ังคาํ ถาม ฝก แสวงหาคาํ ตอบ ง. ฝกบูรณาการเช่ือมโยงความรู ฝก การนาํ เสนอ

9 17. คํากลา วที่วา “ทุกคนมีพรสวรรค แตความสามารถตอ งอาศยั ความเพยี ร” เปน คาํ ของใคร ก. ขงจือ้ ข. โธมสั เอดสิ นั ค. ไมเคิล จอรแ ดน ง. จอรน ดี รอ กกเี ฟลเลอร 18. ขอ ใด ไมใ ช พนื้ ฐานของการศกึ ษาหาความรดู วยตนเอง ก. ทักษะการฟง ข. ทักษะการคดิ ค. ทักษะการเขยี น ง. ทกั ษะการพดู อาน 19. ขอ ใด ไมใ ช ปญ หาของการเรยี นรูดวยตนเอง ก. ไมม เี วลาจะศกึ ษาดวยตนเอง ข. ไมก ลา ท่ีจะเรียนรดู วยตนเอง ค. ไมมเี คร่ืองมอื เขาถึงแหลงเรยี นรู ง. ไมมีงบประมาณไปศึกษาแหลง เรยี นรู 20. แหลง เรยี นรใู นขอ ใดท่ีนักศึกษาสามารถเรียนรูไ ดตลอดชวี ติ ก. ชุมชน ข. โรงเรยี น ค. โรงพยาบาล ง. มหาวิทยาลัย 21. การเรียนรูดว นตนเองแบบ กศน. คอื การเรยี นรใู นขอ ใด ก. มแี รงจงู ใจอยากเรียนกเ็ รียน ข. แสวงหาความรดู ว ยตนเองทงั้ หมด ค. มีการวางแผนและใชสัญญาการเรยี นรู ง. ผเู รยี นตองบริหารเวลารับผิดชอบตนเองท้ังหมด 22. ขอ ใดตอ ไปน้ี ไมใชค วามสําคัญของการเรียนรดู ว ยตนเอง ก. ทาํ ใหผ ูเรียนมคี วามตงั้ ใจและมแี รงจูงใจสงู ข. ทําใหเ ปน คนมคี วามคดิ ริเรมิ สรา งสรรค ค. มเี หตผุ ลและทาํ งานรวมกบั ผอู นื่ ได ง. มีระเบียบวินัยในตัวเองสูง

10 23. วันหน่ึงออดสังเกตเห็นมดพากันขนไขอพยพที่หนึ่งไปยังอีกที่หน่ึง พอวันรุงข้ึนฝนก็ตกทําใหออดได เรียนรูเร่ืองใดจากการสังเกต ก. มดทําใหฝนตกได ข. ถามดไมข นไขฝ นกไ็ มตก ค. มดจะไขหรอื ไมฝนก็ตกได ง. พฤติกรรรมของมดสามารถพยากรณอากาศได 24. แหลงเรยี นรใู นชุมชนท่เี ปน ศาสนสถานตา ง ๆ เปน แหลงเรยี นรปู ระเภทใด ก. ประเภทกิจกรรม ข. ประเภทธรรมชาติ ค. ประเภทวัตถุและสถานที่ ง. ประเภทเทคนิคสง่ิ ประดิษฐค ิดคน 25. การเรยี นรูด วยตนเองใหประสบความสําเร็จไมค วรปฏบิ ตั ติ นในขอใด ก. คน หาความสนใจและความตองการในสิ่งทีต่ นเองตองการเรียนรู ข. วางแผนการเรยี นรโู ดยพิจารณาจากเปา หมายและความถนดั ของตนเอง ค. ดําเนินกจิ กรรมการเรยี นรูดว ยตนเองตามแผนทีว่ างไวดว ยความรบั ผดิ ชอบ ง. คนควา หาความรูในส่งิ ท่ีตนเองสนใจ อยูในหองสมดุ ทัง้ วนั โดยไมยุง เกยี่ วกบั ใคร 26. ผูเรยี นไดว ิเคราะหความตอ งการในการเรียนรูของตนเองและรบั รูค วามสามารถของตนเองเปน ขั้นตอนการวางแผนการเรียนรูดวยตนเองในขอ ใด ก. การประเมินผลการเรียนรู ข. การออกแบบแผนการเรียนรู ค. การกําหนดจุดมงุ หมายในการเรียนรู ง. การวเิ คราะหค วามตองการในการเรียนรู 27. ส่งิ สําคญั ท่ีสุดท่ีผเู รยี นควรปฏิบตั ิในการพูดคอื ขอใด ก. การคิดกอ นพูด ข. การเปดโอกาสใหผ ฟู งไดมสี ว นรวม ค. การใชว จนภาษาและอวัจนภาษาในการพูด ง. การพดู อยางเปน ธรรมชาตแิ ละเปน ตัวของตัวเอง

11 28. ผูเรยี นทตี่ องฝก การทําแผนผงั ความคดิ เพอ่ื เผยแพรความรไู ดอ ยางมีประสิทธภิ าพควรปฏบิ ัตอิ ยา งไร ก. ใชสีและรูปภาพท่ีหลากหลายอยางสวยงาม ข. เขยี นขอ ความใหสน้ั เขา ใจ และทอ งจําไดงา ย ค. คดั สรรรปู ภาพที่สวยงาม นาจดจํา และสามารถแทนคาํ พูดทต่ี อ งการสอ่ื สารได ง. ใชความคดิ สรางสรรคในการวาดภาพท่โี ดดเดน เพอื่ กระตนุ ความสนใจและจดจาํ งาย 29. ผเู รียนทตี่ อ งการคนควาเก่ยี วกับเครือ่ งมือทางการเกษตรในสมัยอยุธยา ควรคนหาขอ มลู จาก แหลงเรียนรูประเภทใด ก. หอ งสมุด ข. พิพธิ ภัณฑ ค. ศูนยการเรียนรู ง. อทุ ยานการศึกษา 30. หากผเู รียนตองการจดั ทําและเผยแพรเทคนิคการปลูกกลว ยกลบั หวั รปู แบบใหม ทไี่ ดผลผลิต จาํ นวนมากจากผรู ู ควรเลือกใชแ หลง เรียนรูประเภทใด ก. หองสมุดอาํ เภอ ข. ปราชญชาวบาน ค. อุทยานการศึกษา ง. เครอื ขายอินเทอรเ น็ต

รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา พท31001 จดุ ประสงคการเรยี นรู 1. นักศกึ ษาสามารถบอกจดุ มงุ หมายของการฟง การดู การพดู ตลอดจนสามารถพูดในโอกาสตาง ๆ 2. นักศึกษาสามารถจับใจความสําคัญ เลาเรื่อง ตีความ อานในใจ อานออกเสียง วิเคราะห วจิ ารณ ประเมนิ คา การเลอื กหนังสือหรือสารสนเทศ ตลอดจนการมมี ารยาทในการอาน 3. นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการเขียนเรียงความ เขียนจดหมาย เขียนขอโตแยง เขียน รายงาน เขียนคําขวัญ เขียนประกาศ เขียนเชิญชวน เขียนอางอิง การยอความ และ การเลอื กใชถอ ยคาํ ในการแตง คําประพนั ธ 4. นักศกึ ษาสามารถบอกชนดิ และหนา ทขี่ องคาํ ประโยค และการนาํ ไปใชอยางถูกตอง 5. นักศึกษาสามารถใชเครื่องหมายวรรคตอน อักษรยอ คําราชาศัพท หลักการประชุม การอภิปราย การโตว าที 6. นกั ศึกษามีความเขาใจในวรรณกรรมและวรรณคดีท่อี านสามารถแสดงความคิดเห็น วจิ ารณ หรือประเมินคาวรรณกรรมหรอื วรรณคดเี ร่อื งนน้ั และนาํ มาประยุกตใ ชในชีวิตจรงิ ขอบเขตเนอื้ หา ภาษาไทยเปนเอกลกั ษณของชาติไทย ซึง่ มตี ัวอักษรไทยเปน ของเราเอง เรามิไดยืมภาษาของชาติ อนื่ มาใช เราใชภาษาไทยของเราท้ังภาษาพูดและภาษาเขียน เราเห็นอกั ษรไทยของเราอยางภาคภูมิใจ ภาษาไทยเปน ปจ จยั สําคัญในการดํารงชวี ติ เปนเครือ่ งมอื ในการตดิ ตอส่อื สารระหวางคนไทยดวยกนั ไม วา จะเปนการฟง การพูด การอาน หรือการเขียน เราคนไทยจําเปนตองใชภาษาไทยติดตอส่อื สารอยู ตลอดเวลา การใชภ าษาไทยอยางถูกตองจะมผี ลทําใหเราดํารงชีวิตอยูในสงั คมไทยไดอ ยา งไมมีความสุข ทุกคนจึงควรตองมีความรู ความเขาใจเก่ียวกับการฟง การดู การอาน การเขียน หลักการใชภาษา วรรณคดีและวรรณกรรม และสามารถนาํ ไปประยุกตใ ชไ ดอ ยางถูกตอง เหมาะสมตามกาลเทศะ และการ แสดงกริ ยิ ามารยาทที่เรียบรอย มีสัมมาคารวะ จะทาํ ใหค นอ่นื มีความรกั ใครในตวั เรา ฉะน้ัน ผูเรียนควรท่ี จะรถู ึงคุณคา ตลอดจนรักและหวงแหนภาษาไทยเพอื่ ใหค งอยคู ูกับคนไทยตลอดไป บทที่ 1 การฟง การดู การฟงและการดู หมายถึง การท่ีมนุษยรับรูเร่ืองราวตางๆ จากแหลงของเสียงหรือภาพ หรือ เหตกุ ารณ ซ่งึ เปนการฟงจากผพู ดู โดยตรงหรอื ฟง และดูผานอปุ กรณ หรือสิง่ ตาง ๆ แลว เกิดการรบั รแู ลว นาํ ไปใชประโยชนไ ด โดยตอ งศึกษาจนเกดิ ความถกู ตองวอ งไวไดป ระสทิ ธิภาพ

13 หลักการฟงและการดูทดี่ ี 1. ตอ งรจู ดุ มุง หมายของการฟง การดู และตองจดบันทึกเพ่ือเตอื นความจํา 2. ตอ งฟง และดูโดยปราศจากอคติ เพ่อื การวเิ คราะหว จิ ารณท่ีตรงประเด็น จดุ มงุ หมายของการฟง และการดู 1. เพือ่ ความรู สวนใหญเ ปนเรอ่ื งทางวิชาการเพอื่ พัฒนาสตปิ ญ ญาของตน 2. เพอ่ื ความเพลดิ เพลนิ ไดแ ก การฟงเพลง ฟง ดนตรี ดภู าพยนตร ฟง นิทาน เปน ตน 3. เพื่อความซาบซ้ึงตองมีพื้นฐานในเร่ืองท่ีฟงและดู จึงจะเกิดประโยชน เชน ฟงบทกลอน กวนี พิ นธ ดภู าพนามธรรมตา ง ๆ 4. เพ่ือวิเคราะหเรื่องจากสาร เปนทักษะตอจากการฟงและดู แลวสรุปจับใจความสําคัญ วิเคราะหวาสิ่งใดเปนขอเท็จจริง สิ่งใดเปนขอคิดเห็น ส่ิงใดเปนเหตุ สิ่งใดเปนผล เพ่ือจะใชขอมูล ในการประเมนิ คาและการตดั สนิ ใจ การจับใจความ การจับใจความสําคัญ เปนการอาน/ฟงเพ่ือใหทราบวา ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไหร และผลเปน อยางไร และจดบันทกึ ใจความสาํ คัญไว หลกั การจบั ใจความสาํ คัญ มีวธิ ีปฏิบตั ิดังน้ี 1. ตง้ั ใจอาน/ฟง 2. คดิ ตั้งคําถาม และตอบคําถามจากเร่ือง ใคร ทําอะไร ท่ีไหน เมื่อไหร ผลเปนอยางไร และให ขอคิดอยา งไร แลว เขยี นเปน แผนภาพโครงเรอื่ ง 3. เขยี นเรียบเรยี งสรปุ ใจความสําคญั ของเร่ืองดวยสาํ นวนภาษาของตนเอง 4. อา นทบทวน เพื่อตรวจสอบความเรียบรอย และความถกู ตอ ง การสรุปประเดน็ ประเด็น คือ สาระสําคญั ใจความสําคัญ แกน ของเรื่อง ดังนั้นเราจึงตองฝกทักษะใน การจบั ประเด็นเพราะเราตองส่อื สารและรับสารจากผูอ ่ืน มารยาทในการฟง 1. ฟง ดวยความต้ังใจ สงบ มองหนาผูพูด ปรบมือเมื่อชอบใจ 2. เมอ่ื มีขอ สงสัยควรถามเมอ่ื ผูพดู เปดโอกาสใหถามไมค วรถามแทรกขณะท่ผี ูพ ูดกาํ ลังพูดอยู 3. ไมส ง เสยี งรบกวนผอู ่ืน และไมค วรแสดงทา ทางไมพ อใจเมอื่ ไมช อบใจ 4. ไมค วรเดินเขาเดนิ ออกขณะท่ีผพู ดู กําลงั พดู หากมีความจําเปน ควรทาํ ความเคารพกอ น มารยาทในการดู 1. ดูอยา งต้งั ใจ สงบเรยี บรอย และปรบมอื เม่อื จบการแสดง 2. ไมคยุ หรอื หยอกเลนในขณะทดี่ ู ไมลุกเดินไปมา และไมส งเสียงดงั รบกวนผอู น่ื 3. ไปถงึ สถานทท่ี ีม่ กี ารแสดงกอนเวลา ประมาณ 15 นาที 4. ไมน ําอาหารและเครื่องด่มื เขา ไปในงาน

14 บทที่ 2 การพูด การพูดมคี วามสาํ คญั ตอชีวิตมนุษยเปนอันมาก ผทู ี่ประสบความสาํ เรจ็ ในธุรกิจการงาน การคบหา สมาคมกับผูอื่น ตลอดจนการทําประโยชนแกสังคมลวนแตเปนผูที่มีประสิทธิภาพในการพูดท้ังสิ้น การพูดมีความสําคัญตอ ตนเอง เพราะถาผูพูดมีศิลปะในการพดู ก็จะเปนคุณแกตนเอง สวนในดา นสังคม นั้น เน่ืองจากเราตองคบหาสมาคมและพ่ึงพาอาศัยกัน การที่จะอยูรวมกันอยางมีความสุขนั้นจําเปน ตองเปน คนท่ี “พดู ด”ี คือพูดไพเราะ นา ฟง และพูดถกู ตอ งดว ย มารยาทในการพดู การพูดของคนเราจําเปนอยางย่ิงที่จะตองมีหลักเกณฑ รูจักกาลเวลา และที่สําคัญตองคํานึงถึง มารยาททดี่ ใี นการพดู ดวย มารยาทในการพดู แบงเปน 2 ประเภท คือ 1. มารยาทในการพดู ระหวางบุคคล 2. มารยาทในการพดู ในทส่ี าธารณะ มารยาทในการพูดระหวางบุคคล 1. เรอื่ งท่พี ดู ควรเปนเร่ืองท่ที ง้ั 2 ฝา ย มีความสนใจและพอใจรว มกนั 2. ไมพ ูดเรือ่ งของตนเองมากจนเกินไป ควรฟง ในขณะทอ่ี กี ฝายหนงึ่ พูดไมสอดแทรกเมอ่ื เขาพูดยงั ไมจ บ 3. พดู ตรงประเด็น อาจออกนอกเรือ่ งบา งพอผอนคลายอารมณ 4. เคารพความคิดเหน็ ของผูอ่นื ไมบ ังคับใหผ อู ื่นเช่ือหรอื คิดเหมือนตน ฯลฯ มารยาทในการพดู ในทสี่ าธารณะ 1. แตง กายใหส ุภาพเรียบรอยเหมาะแกโ อกาสและสถานที่ 2. มาถงึ สถานท่ีพดู ใหตรงเวลาหรอื กอนเวลาเลก็ นอย 3. กอนพูดควรแสดงความเคารพตอผูฟ งตามธรรมเนยี มนิยม 4. ไมแสดงกริ ยิ าอาการอนั ไมส มควรตอหนาทปี่ ระชุม 5. ใชค าํ พูดทใี่ หเกียรติแกผ ฟู งเสมอ 6. ไมพ ูดพาดพงิ ถึงเรือ่ งสวนตวั ของบคุ คลอื่นในที่ประชุม 7. ไมพดู หยาบโลนหรือตลกคะนอง 8. พดู ใหด งั พอไดยนิ ท่ัวกันและไมพดู เกินเวลาทกี่ ําหนด ขอควรคาํ นงึ ในการสอ่ื สารดวยการพดู 1. การพดู ใหเ หมาะสมกับบคุ คล ตองวิเคราะหใ นเรอื่ งตอ ไปนี้ คอื วยั เพศ ระดบั การศึกษา อาชีพ ความสนใจพิเศษเพื่อเตรียมเร่อื งที่จะพดู ไดอยา งเหมาะสม 2. การพูดใหเหมาะกับกาลเทศะ ควรพิจารณาวาจะพูดในโอกาสใด การพูดน้ันเปนทางการ มากนอ ยแคไหน

15 3. การพูดใหผูอื่นเขาใจตรงตามความประสงค ควรใชภาษาบงบอกความตองการหรือความมุง หมายใหชัดเจน หลกี เลีย่ งการตคี วามหลายแงห ลายมุม 4. การพูดสรุปใจความสําคัญจากเร่ืองท่ีฟงหรืออาน เปนการพัฒนาการใชภาษาใหสัมพันธกัน ทุกดาน และอาศัยความสามารถในการสรุปความจากเร่ืองที่ฟงหรืออานไดอยางถูกตอง ซ่ึงจะชวยให ผรู บั สารเขาใจเจตนาของผูส ง สารไดอ ยางถูกตองรวดเร็ว 5. การพูดแสดงความคดิ เหน็ เปน การใชทกั ษะการฟง การอา น การพูด และการคดิ ใหสัมพันธกัน ตองอาศัยการฝกฝนใหเกิดความชํานาญ เพราะการพูดแสดงความคิดเหน็ ผูพูดตองใชทง้ั ความรู ความคิด เหตุผลหรอื หลักการตา ง ๆ หลายอยางประกอบกนั ความคดิ เห็นจงึ จะมีคณุ คานาเช่อื ถอื ประโยชนข องการส่ือสารดวยการพูด 1. การพูดมีประโยชนตอ ตนเอง เพราะเปนการถายทอดความรู ความคิด ความรูสึกของผูพูดไป ยังผูฟง การพูดจะชวยใหเ ราทาํ กิจการงานตางๆ ไดสําเร็จ และชวยใหเกิดมิตรภาพ ตลอดจนความเขา ใจ ซึง่ กนั และกันได 2. การพูดมีประโยชนตอสังคม เพราะเปนการแลกเปลี่ยน ความรู ความคิด และความรูสึก ซงึ่ กันและกัน การพูดที่มีเจตนาดีและสรางสรรคจะชวยพัฒนาสังคมไดมากในบางครั้งการพูดอาจทําให เกิดความสุข ความบนั เทิงแกผ อู ่ืนไดอ กี ดวย บทท่ี 3 การอา น การอาน หมายถึง การเก็บรวบรวมความคิดที่ปรากฏในหนังสือที่อาน ซ่ึงในการอานผูอาน มีพฤตกิ รรมในการรบั รู การแปลความ ความเขา ใจความหมายจากการตีความ ลกั ษณะของนักอา นที่ดี 1. มีความตงั้ ใจ หรือมีสมาธแิ นวแนในการอา น 2. มคี วามอดทน หมายถงึ สามารถอา นหนงั สอื ไดในระยะเวลานานโดยไมเบอื่ 3. อา นไดเ รว็ และเขา ใจความหมายของคาํ 4. มีความรูพ น้ื ฐานพอสมควร ท้งั ดา นความรูทัว่ ไป ถอยคํา สํานวนโวหาร ฯลฯ 5. มีนสิ ัยจดบันทกึ รวบรวมความรคู วามคิดที่ไดจากการอา น 6. มคี วามจําดี คือ จําขอ มลู ของเรอ่ื งได 7. มคี วามรเู รอ่ื งการหาขอ มูลจากหองสมุด เพราะจะชว ยประหยัดเวลาในการหาขอมลู 8. ชอบสนทนากับผมู ีความรแู ละนกั อานดวยกนั . 9. หมั่นทบทวน ติดตามความรทู ีต่ อ งการทราบหรอื ขอ มูลทเี่ ปลีย่ นแปลงตลอดเวลา 10. มีวิจารณญาณในการอาน คือ แยกเนื้อหาขอเทจ็ จรงิ เพ่ือกนั สงิ่ ที่เปน ประโยชนไ วใชตอไป

16 ความมุง หมายในการอา น 1. อานเพ่อื ความรู เนนการอานเร่ืองราวตา ง ๆ ทีต่ อ งการใหเกดิ ความรู 2. อา นเพ่อื ศึกษา เปนการอา นอยางจริงจงั เชน การอา นตาํ รา และหนงั สอื วชิ าการตา ง ๆ 3. อานเพื่อความคิด เปนการอานเพื่อใหเขาใจสาระของเนื้อเร่ืองเปนแนวทางในการริเร่ิม สง่ิ ตา ง ๆ ซึง่ เปนความคิดอนั ไดป ระโยชนจ ากการอาน 4. อานเพื่อวเิ คราะหว ิจารณ เปนการอานเพื่อความรอู ยางลึกซง้ึ ทาํ ใหส ามารถแสดงความคดิ เห็น จากเรอื่ งทีอ่ า นได เชน การอา นบทความ ขาว เปน ตน 5. อานเพื่อความเพลิดเพลิน เปนการอานเพื่อเปล่ียนแปลงกิจกรรม เปนการผอนคลาย เพอื่ ใหเ กิดความรืน่ รมย การอา นชนดิ นขี้ ึน้ อยูกบั ความพอใจของผอู า นเปน สําคัญ 6. อานเพ่ือใชเวลาอยางสรางสรรค หมายถึง การอานที่ไมไดมุงหวังสิ่งหน่ึงส่ิงใดโดยเฉพาะ เปน การอานเมือ่ มเี วลาวา งขณะรอคอยกจิ กรรมอื่น ๆ องคป ระกอบของการอาน 1. การเขา ใจความหมายของคาํ ผูอ านตอ งมีความเขาใจในความหมายท่ีถกู ตองของคาํ ศัพทท กุ คํา 2. การเขาใจความหมายของกลุมคํา ความหมายของกลุมคําน้ันจะชวยทําใหผูอานเขาใจ ความหมายของเน้ือความอยางตอ เน่ือง 3. การเขาใจประโยค หมายถึง การนําความหมายของกลุมคําแตละกลุมมาสัมพันธกัน จนไดค วามหมายเปนประโยค 4. การเขา ใจยอหนา ผอู านตอ งเขา ใจขอ ความในแตละยอ หนา และสามารถมองเหน็ ความสมั พันธ ของทกุ ยอหนา อันจะทาํ ใหเ ขา ใจความสาํ คญั ของเร่อื งไดทง้ั หมด บทท่ี 4 การเขยี น การเขียน หมายถึง การถายทอดความรูสึกนึกคิด และความตองการของบุคคลออกมาเปน สัญลกั ษณค ือตวั อักษร เพ่ือส่อื ความหมายใหผูอืน่ เขาใจ การเขียนจึงมีความจําเปนอยา งยง่ิ ตอ การส่ือสาร ในชีวติ ประจาํ วัน จุดมุงหมายของการเขียน 1. การเขียนเพ่ือเลาเรื่อง เปนการเขียนเพ่ือถายทอดเรื่องราวประสบการณความรู โดยนําเสนอ ขอมูลท่ีถูกตองตามความเปนจริง และมีลําดับข้ันตอนในการนําเสนอที่ชัดเจน การเขียนอาจเรียง ตามลําดบั เหตุการณ โดยภาษาทีใ่ ชตอ งกระชับรัดกุมเขา ใจงาย 2. การเขียนเพ่ืออธิบาย เปนการเขียนชี้แจง ไขปญ หา บอกวธิ ีทาํ ส่ิงใดส่งิ หนึ่งโดยมงุ หวังใหผ ูอา น เกิดความเขาใจ จึงตองเขยี นตามลาํ ดบั ข้ันตอน เหตุการณ เหตผุ ล โดยแบงเปนหัวขอ หรอื ยอหนายอย ๆ เพ่ือใหเ กิดความเขา ใจงา ยย่งิ ข้นึ

17 3. การเขียนเพ่ือแสดงความคิดเห็น เปนการเขียนแสดงความคิดของผเู ขียนในเรื่องตาง ๆ ซึง่ อาจ เปน เรื่องของการเสนอแนวความคิด คาํ แนะนาํ ขอคิด ขอเตือนใจ หรอื บทปลุกใจ โดยผเู ขยี นตองมีขอ มูล หรือประเด็นที่จะกลาวถึง จากน้ันจึงแสดงความคิดของตนที่อาจสนับสนุนหรือขัดแยง หรือนําเสนอ แนวคิดใหมเพ่ิมเติมจากประเด็นขอมูลที่มีอยู ท้ังน้ีเพื่อใหผูอานคลอยตามความคิดเห็นของผูเขียน ดวย เหตุนผ้ี เู ขียนจึงตองมีขอเทจ็ จริง หลักฐาน เหตุผลสนับสนนุ ความคดิ เหน็ ของตน 4. การเขียนเพ่ือชักจูงใจ เปนการเขียนโนมนาวเชิญชวนใหผูอานสนใจในขอเขียนที่นําเสนอ ซ่งึ รวมถึงการเขียนเพื่อเปล่ียนความรูสึก ทัศนคตขิ องผูอานใหคลอยตามกบั ขอความที่เขยี นดวย ผเู ขียน จําเปนตองมีความรูความเขาใจในหลักจิตวิทยาพื้นฐานของมนุษย เพ่ือเลือกใชวิธีจูงใจไดเหมาะสมกับ บคุ คล นอกจากนี้ขอเขียนท่ีชักจูงใจจะตองประกอบดวยเหตุและผลที่นาเชื่อถือและตองแสดงใหผูอาน ประจกั ษไดวาผเู ขียนเปน ผมู คี ุณธรรม สมควรแกก ารคลอ ยตาม 5. การเขียนเพ่ือสรางจินตนาการ เปนการเขียนท่ีผูเขียนเลือกใชถอยคําอยางประณีต เพ่ือถายทอดความรสู ึกและจินตนาการของตนออกมาใหผูอานเกิดภาพตามที่ตนเองตองการ การเขียน ในลักษณะน้ีจะเปนการเขียนเชิงสรางสรรคท่ีปรากฏออกมาในรูปบทรอยกรอง เรื่องส้ัน นวนิยาย บทละคร บทภาพยนตร การเลือกเรอ่ื งในการเขยี น 1. เลือกเร่ืองที่ผูเขียนถนัดและสนใจ จะทําใหมีความสุขกบั การเขียนและสามารถสรางสรรคงาน เขียนที่ดมี ีคณุ คา ได 2. เลือกเร่อื งทผ่ี ูเขยี นมคี วามรแู ละประสบการณจ ะสามารถหาขอมูลท่ถี กู ตอ ง นาเชอ่ื ถอื ได 3. เลือกเรื่องท่ีผูอานสนใจ ความสนใจของผูอานจะแตกตางกันตามเพศ วัยการศึกษา ฯลฯ ซึ่งมีสวนทําใหเรื่องที่เขียนสําหรับผูอานแตละกลุมแตกตางกัน ผูอานแตละกลุมก็จะสนใจอานเพราะ สามารถนําความรูไปประยกุ ตใ ชก ับสภาพการดาํ เนินชีวติ จริงของตนได 4. เลอื กเร่ืองทีส่ ามารถจํากดั ขอบเขตได การจํากัดขอบเขตของเรอ่ื งไมใ หกวางหรือแคบจนเกินไป จะทาํ ใหก ารเขยี นครอบคลุมเนอ้ื หางานเขยี นมีความสมบูรณ 5. เลือกเร่ืองท่ีเปนประโยชน ผูเขียนควรเขียนเรื่องที่จะทําใหผูอานไดรับความรูใหแนวคิด ใหค วามเพลดิ เพลิน และชว ยจรรโลงสังคมปลูกฝงใหผอู า นเปน ผูมศี ลี ธรรม จริยธรรม ลกั ษณะของงานเขยี นทีด่ ี 1. ชัดเจน ผเู ขยี นตอ งเลือกใชคาํ ทม่ี คี วามหมายเดนชัด อานเขา ใจงา ย ไมคลุมเครอื 2. ถูกตอ ง ในการเขยี นตองคาํ นึงถึงความถูกตอ งทัง้ ในดานการใชภาษา ความนิยมและเหมาะสม กับกาลเทศะ 3. กะทัดรัด ทว งทาํ นองการเขียนจะตอ งมลี ักษณะใชถ อ ยคาํ นอ ยแตไดความหมายชดั เจน

18 4. มีนํ้าหนัก งานเขียนที่ดีตองมีลักษณะเราความสนใจ สรางความประทับใจ ซ่ึงเปนผลมาจาก การเนนคํา การเรียงลําดับคาํ ในประโยค การใชภาพพจน 5. มีความเรียบงาย งานเขียนท่ีใชคําธรรมดาท่ีเขาใจงาย ไมใชคําฟุมเฟอย ไมเขียนอยางวกวน ไมใชค ําปฏเิ สธซอ นปฏิเสธ จะมีผลทาํ ใหผ อู า นเกิดความเขาใจและเกิดความรูสกึ กับงานเขียนน้ันไดง าย บทที่ 5 หลกั การใชภ าษา ธรรมชาติของภาษา 1. ภาษาในความหมายอยา งแคบ คือ ภาษาพูดของคน 2. ทกุ วนั นี้ ยงั มีอกี หลายภาษาทไี่ มมีภาษาเขยี น 3. แตละกลุม กาํ หนดภาษากันเอง เสียงในแตล ะภาษาจึงมคี วามหมายไมต รงกัน 4. ลกั ษณะของภาษาทั่ว ๆ ไป 4.1 มเี สยี งสระและพยัญชนะ (วรรณยุกตม บี างภาษาเชน ไทย, จีน) 4.2 ขยายใหใ หญข ึ้นได 4.3 มคี ํานาม, กริยา, คําขยาย 4.4 เปล่ยี นแปลงได 4.5 ภาษาเปลี่ยนแปลงได เพราะสิ่งแวดลอมเปลี่ยน เชน ขายตัว ศักดินา จริต สําสอน เพราะการพดู ไดแก การกรอนเสียง และกลมกลืนเสยี ง เสยี งในภาษาไทย อักษรควบ - อักษรนาํ อกั ษรควบ มี 2 แบบ คือ 1. ควบแท -> ออกเสยี งพยัญชนะตนท้งั 2 เสียง เชน ปลา ครมี เปน ตน 2. ควบไมแท -> ออกเสียงพยัญชนะตนตัวแรกตวั เดยี ว มี 2 กรณี ดงั นี้ - แสรง จรงิ เศรษฐี เศรา - ออกเสยี ง ทร เปน ซ เชน ไทร ทราย ทรุด อกั ษรนํา คือ คําที่ 1. อานหรอื เขียนแบบ มี \"ห\" นาํ พยญั ชนะตน อีกตัว เชน หลอก หรู หนี หวาด ตลาด (ตะ-หลาด) ปรอท(ปะ-หรอด) ตลก(ตะ-หลก) ดิเรก (ด-ิ เหรก) 2. อา นหรอื เขยี นแบบ มี \"อ\" นํา “ย” ไดแก อยา อยู อยาง อยาก

19 เสยี งพยญั ชนะตน เสยี งพยญั ชนะตน คือ เสียงท่ีนําเสียงสระ เสยี งพยญั ชนะตน มีอยู 2 ประเภท คือ 1. เสียงพยญั ชนะเดี่ยว = ออกเสยี ง เสียงพยญั ชนะตน เสยี งเดียว เชน มา วิน ตี นกุ หมู 2. เสียงพยัญชนะประสม ออกเสียง เสียงพยัญชนะตนสองเสียงควบกัน เชน กราบ ความ ปราม เสยี งพยญั ชนะทา เสียงพยญั ชนะทา ย คอื เสยี งพยญั ชนะทอ่ี ยูหลงั เสยี งสระ เสยี งพยญั ชนะทาย มี 8 เสยี ง คอื แมกก แมกด แมก บ แมกม แมก น แมก ง แมเกย แมเ กอว เสยี งสระ 1. เสียงสระส้ัน ยาวใหด ูตอนท่ีออกเสยี ง อยาดูที่รูป เชน วดั = ออกเสียงสระส้ัน ,ชา ง = สระส้ัน ,เทา = สระยาว ,เนา = สระสั้น ,น้าํ = สระยาว ,ช้าํ = สระสัน้ 2. เสียงสระ มี 2 ประเภท คือ สระประสม มี 6 เสยี ง คอื อัวะ อัว เอือะ เออื เอยี ะ เอยี สระเดีย่ ว มี 18 เสยี ง คอื สระท่ีไมใ ช อัวะ อวั เออื ะ เออื เอยี ะ เอีย 3. เสียงวรรณยกุ ต มี 5 ระดบั คอื สามญั เอก โท ตรี จัตวา 4. พยางค คือ เสยี งทอี่ อกมา 1 ครงั้ มี 2 ประเภท คือ พยางคเ ปด พยางคที่ไมม ีตัวสะกด เชน เธอ มา ลา สู พยางคปด พยางคท ี่มีเสียงตวั สะกด เชน ไป รบ กบั เขา คาํ 1. คาํ มลู = คําด้งั เดมิ เชน กา เธอ วิง่ วนุ ไป มา 2. คําซํ้า = คํามูล 2 คําที่เหมือนกันทุกประการ คําที่สองเราใสไมยมกแทนได เชน วิ่งว่ิง (ว่ิงๆ) บางทคี ําทเ่ี หมอื นกนั มาชิดกนั ไมใชค ําซา้ํ เพราะความหมายไมเ หมือนกนั เชน เขามีทีท่ ีบ่ างนา 3. คําซอน (คําคู) คํามูลที่มีความหมายเหมือนหรือคลายไมก็ตรงขามมารวมกัน เชน เก็บออก จติ ใจ ผคู น สรางสรรค ขนมนมเนย ถวยชาม แข็งแรง เดด็ ขาด ตัดสนิ ดึงดนั ชว่ั ดี ถห่ี า ง 4. คําประสม คํามูล 2 คํามารวมกันเปนคําใหม และคําใหมนั้นมีเคาความของคําเดิมท่ีนํามา รวมกนั เชน นา้ํ พรกิ ปลาทู ขนมปง ไสกรอก ไกย า ง ผา พนั คอ เลอื กตั้ง เจาะขาว โหมโรง ปากหวาน 5. คาํ สมาส คาํ บาลี+สนั สกฤต 2 คํามารวมกัน (บาลีทง้ั คูกไ็ ด สนั สกฤตท้ังคูกไ็ ด คาํ บาล+ี สนั สกฤตกไ็ ด) ถาคําท่ีเอามารวมกนั เปนคาํ ภาษาอื่นท่ีไมใชภ าษาบาลี สันสกฤต ก็จะไมใ ช คําสมาส วธิ สี ังเกตคําสมาสอยา งงา ย คอื คําสมาสจะอานตอเนือ่ งเสยี งระหวา งคํา ก็คอื เวลาอานตรงกลาง จะออกเสยี งสระดวย เชน ราช (ชะ) การ อบุ ัติ (ต)ิ เหตุ

20 6. คําสนธิ คาํ สมาสประเภทท่ีเราเอาพยัญชนะตัวสดุ ทายของคาํ หนา ไปแทนท่ี \"อ\" ตัวแรกของคํา หลัง เชน ชล+อาลยั = ชลาลยั ศิลป + อากร = ศิลปากร วิธีการจะดวู า คําไหนเปน คําสมาสหรอื สนธิ คือแยกคาํ 2 คาํ ออกจากกนั - ถา แยกออกเปนคําไดเ ลย = คาํ สมาส - ถาแยกแลวตอ งเติม\"อ\" ไปทค่ี ําหลงั = คําสนธิ ชนิดของคํา 1. คํานาม คอื คาํ ทใ่ี ชเรยี กชื่อสิง่ ตาง ๆ เชน ตู โตะ เกาอ้ี 2. คํากริยา คือ คําแสดงการกระทาํ เชน เดิน น่งั ว่งิ นอน คยุ กิน 3. คําวิเศษณ คือคํา ขยาย เชน แดง ดาํ สูง ตาํ่ เปรย้ี ว หวาน 4. คําเชื่อม มี 2 ประเภท คือ บพุ บท สันธาน วธิ ีดูใหด ูขอความท่ตี ามมา - สันธานจะตองตามดวยประโยค เชน ปลาหมอตายเพราะปากไมด ี - บุพบทจะตามดวยขอความทไ่ี มใชประโยค เชน ปลาหมอตายเพราะปาก ประโยค 1. เจตนาประโยคมี 3 อยาง = แจง ใหท ราบ (บอกเลา) ถามใหตอบ (คําถาม) บอกใหทาํ (คาํ ส่งั ) 2. โครงสรางของประโยค หมายถึง สวนประกอบของประโยค คือ ประธาน กริยา กรรม สว นขยาย เชน พอฉนั กันขาวเกงมาก (ประธาน ขยาย (พอ ) กริยา กรรม ขยาย (กนิ ) ขยาย (เกง) 3. ชนดิ ของประโยค มี 3 ชนดิ -ประโยคความเดยี ว: มปี ระธาน กรยิ า กรรม อยางละตัว -ประโยคความซอน: มี 2 ประโยคมารวมกนั ใชค ําเชอ่ื วา ท่ี ซงึ่ อัน วา ให -ประโยคความรวม: มี 2 ประโยคมารวมกันดวยคําเช่ือมคําใดก็ได ยกเวน ที่ ซ่ึง อัน วา ให (ถา ใช ท่ี ซึง่ อนั วา ให เชื่อม จะเปนประโยคความซอ น) 4. จํานวนประโยค ปกติจบ 1 ประโยค = นับเปน 1 ประโยค ถามีคําเชื่อมคือวาประโยคนั้น ยงั เปน ประโยคเดียวกับขางหนา เชน เขากินขา วแลว 1. เขากนิ ขาวแลว ตอนน้ีเขาเขานอนแลว 2. เขากนิ ขาวกอ นจะเขานอน 5. วลี คือ กลุมคาํ ที่ไมใ ชประโยค บางทกี ็ยาวจนเกือบจะเปน ประโยค แตก ็ไมใชประโยค วธิ ดี วู า จะเปนวลีหรือประโยค ถาอา นแลวเหมอื นจะไมจบ แสดงวาเปน วลี แตถาอานแลวรูส กึ วามันจบก็ คือประโยค เชน แมเ ราจะอา นหนังสอื สอบมากขนานไหน = วลี, กระดาษทว่ี างบนโตะตวั นั้น = วลี, เธอ กลับบานไปแลว = ประโยค, ทุกทุกคราวที่มองฟา = วลี

21 ระดบั ภาษา ระดบั ภาษามี 5 ระดบั 1. พธิ ีการ ใชในพิธี คําพดู จะดูหรหู รา อลังการ ดเู ปน พธิ ี 2. ทางการ ใชในเชิงวชิ ากร ประชุมใหญ ๆ เร่อื งท่ตี อ งการแบบแผน คําพดู จะเปนภาษาเขยี น 3. ก่ึงทางการ ใชในที่ประชุมเล็ก ๆ เร่ืองที่ตองมีแบบแผนบาง คําพูดจะมีท้ังภาษาเขียนและ ภาษาพูดผสมกัน 4. สนทนา ใชค ุยกนั ทวั่ ๆ ไป แตกม็ ีความสุภาพดว ยภาษาก็จะเปน ภาษาทเ่ี ราใชค ุยกัน 5. กนั เอง ใชคุยกบั คนทีส่ นทิ สนมคนุ เคยกนั บทท่ี 6 วรรณคดีและวรรณกรรม วรรณกรรม หมายถึง งานเขียนที่แตงขึ้นหรืองานศิลปะ ท่ีเปนผลงานอันเกิดจากการคิด และ จินตนาการ แลวเรียบเรียงนํามาบอกเลา บนั ทึก ขับรอ ง หรือส่ือออกมาดวยกลวิธีตา ง ๆ โดยทั่วไปแลว จะแบงวรรณกรรมเปน 2 ประเภท คอื 1. วรรณกรรมลายลักษณ คอื วรรณกรรมที่บันทึกเปนตวั หนังสอื 2. วรรณกรรมมุขปาฐะ ไดแก วรรณกรรมทเี่ ลาดว ยปาก ไมไดจดบนั ทึก อาทิ ตํานานพ้ืนบา น ดวยเหตนุ ี้ วรรณกรรมจงึ มีความหมายครอบคลุมกวา งถึงประวตั ิ นิทาน ตํานาน เรื่องเลา เร่ืองส้ัน นวนยิ าย บทเพลง คําคม เปนตน การแบง ชนดิ ของวรรณกรรมไทย 1. รอ ยแกว เปนขอความเรยี งท่ีแสดงเนื้อหา เรือ่ งราวตา ง ๆ 2. รอยกรอง เปนขอความที่มีการใชคําท่ีสัมผัส คลองจอง ทําใหสัมผัสไดถึงความงามของ ภาษาไทย รอ ยกรองมหี ลายแบบ คอื โคลง ฉนั ท กาพย กลอน และรา ย ประเภทของวรรณกรรม วรรณกรรมน้แี บง ออกเปน 2 ประเภท สารคดี หมายถึง หนังสือท่ีแตงข้ึนเพ่ือมุงใหความรู ความคิด ประสบการณแกผูอาน ซ่ึงอาจใช รูปแบบรอ ยแกว หรอื รอ ยกรองก็ได บันเทิงคดี คือ วรรณกรรมที่แตงขึ้นเพ่ือมุงใหความเพลิดเพลิน สนุกสนาน บันเทิงแกผูอาน จงึ มกั เปนเร่ืองที่มเี หตกุ ารณและตวั ละคร วรรณคดี หมายถึง วรรณกรรมหรืองานเขียนทีย่ กยองกนั วา ดี มีสาระ และมีคณุ คา ทางวรรณศลิ ป การใชคําวาวรรณคดี เพ่ือประเมินคาของวรรณกรรมเกิดข้ึนในพระราชกฤษฎีกา ตั้งวรรณคดีสโมสร ในสมัยรชั กาลที่ 6 (พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลาเจา อยหู วั ) เม่ือวันท่ี 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2457

22 ประเภทของวรรณคดี การศึกษาวรรณคดโี ดยวิเคราะหตามประเภท สามารถแบง ไดเปนประเภทตาง ๆ ไดดังตอไปนี้ วรรณคดีคําสอน วรรณคดีศาสนา วรรณคดีนิทาน วรรณคดีลิลิต วรรณคดีนิราศ วรรณคดีเสภา วรรณคดีบทละคร วรรณคดีเพลงยาว วรรณคดคี ําฉันท วรรณคดคี าํ หลวง วรรณคดีปลกุ ใจ วรรณคดยี อพระเกียรติ บทท่ี 7 ภาษากับชอ งทางการประกอบอาชพี การประกอบอาชีพนักพดู และนกั เขยี น มีดังนี้ การประกอบอาชพี นกั พดู ผทู ม่ี ีความสนใจและรกั ท่ีจะเปน นกั พูดจะตองเปนผทู ่มี ีความรู ความสามารถหรือคณุ สมบัติ ดังน้ี ก. นกั จัดรายการวิทยุ หนาทข่ี องนกั จดั รายการวิทยุ แบง ได 3 ประการ คือ 1. เพื่อบอกกลาว เปนการรายงาน ถายทอดส่ิงท่ีไดประสบ พบเห็นใหผูฟงไดรับรู อยา งตรงไปตรงมา 2. เพอื่ โนมนา วใจ เปนการพยายามท่จี ะทําใหผฟู ง มคี วามเหน็ คลอยตามหรอื โตแยง 3. เพื่อใหความรู เปนความพยายามที่จะใหผูฟงเกิดความพึงพ อใจ มีความสุขใจ ลกั ษณะของนักจดั รายการวทิ ยุ มดี ังน้ี 1. เปน ผมู จี ติ ใจใฝร ู 2. วอ งไวตอ การรบั รขู อมูลขาวสาร 3. มีมนษุ ยสัมพนั ธท ่ดี ี 4. มีจิตใจกวางขวาง เห็นอกเหน็ ใจผอู ืน่ 5. มีความอดทนตอแรงกดดันตา ง ๆ ข. พธิ กี ร – ผปู ระกาศ คณุ ลักษณะของผทู าํ หนาที่พธิ ีกร - ผปู ระกาศ มีดงั น้ี 1. บุคลิกภาพภายนอกตองดูดี มีความโดดเดน ดูนาประทับใจ มีลักษณะท่ีเปนมิตร เนื่องจาก การเปน พิธีกร – ผูประกาศ จะตองพบปะกบั ผูคนหรือผฟู ง 2. นํา้ เสียงนมุ นวล นาฟง การใชน้ําเสียงเปนสิ่งสําคัญ การใชอักขระจะตองถกู ตอง ออกเสียงดัง ฟง ชัด การเวนวรรคตอน คําควบกลํ้าจะตองสม่ําเสมอ นํ้าเสียงนาฟง ไมแข็งกระดาง เวลาพูดหรืออาน ขาวควรมีสีหนา ยิ้มแยมและนาํ้ เสยี งที่ชวนฟงเพอ่ื ใหผฟู ง รสู ึกสบายเมือ่ ไดฟง 3. ภาพลกั ษณท ่ีดี ควรเปนตัวอยางท่ดี ีนาเชื่อถือสําหรับผฟู ง หรอื ผูชม การปรากฏตัวในงานตา ง ๆ ควรมีการแตง กายท่ีสภุ าพเรยี บรอยเหมาะสมกบั สถานการณนัน้ ๆ

23 4. ความรูรอบตัว ผูที่จะทําหนาที่พิธีกร – ผูประกาศ จะตองเปนผูที่สนใจใฝรูเรื่องราวขาวสาร ขอมูลท่ีทันสมัย เกาะติดสถานการณวามีอะไรเกิดขึ้นบาง กับใคร ท่ีไหน ที่สําคัญตองเปนผูท่ีพรอม จะเรียนรเู รอ่ื งราวใหม ๆ อยูเสมอ รจู ักวิเคราะหขา วสารทไ่ี ดร ับฟงมาใหเ ขาใจกอ นท่ีจะเผยแพรใ หผอู ่ืนได 5. ตรงตอเวลา การตรงตอเวลาถือวาเปนเร่ืองสําคัญมากท้ังผูที่ทําหนาท่ีพิธีกร - ผูประกาศ จะตองมีเวลาใหทีมงานไดใหขอมูล อธิบายประเด็นเนื้อหาสาระ กระบวนการข้ันตอนตาง ๆ ถาไมพรอม หลงั พลาดพลัง้ ไป ทมี งานคนอน่ื ๆ จะเดอื ดรอนและเสียหายตามไปดว ย 6. รูจักแกปญหาเฉพาะหนา การเปนพิธีกร - ผูประกาศ ถึงแมวาจะมีการเตรียมความพรอมท่ี เรียบรอยดีแลว แตเหตุการณเฉพาะหนาบางครั้งอาจจะเกิดขึ้นได โดยที่ไมไ ดคาดไว พิธีกร - ผูประกาศ จะตองมปี ฏิภาณไหวพริบในการแกป ญ หาเฉพาะหนาได การประกอบอาชพี นกั เขียน ผทู จ่ี ะเปนนกั เขียนมืออาชีพจะตอ งเปนผูรูจกั จดบันทึก ใฝรู ใฝแสวงหาความรูอยางตอเนอื่ งหรือ แมแตเปนนักอาน เพราะเช่ือวาการเปนผูอานมากยอมรูมาก มีขอมูลในตนเองมาก เม่ือตนเองมีขอมูล มากจะสามารถดึงความรูขอ มูลในตนเองมาใชในการส่ือสารใหผ ูอา นหรือผูรบั สารไดรับรหู รือไดประโยชน ตวั อยางของอาชีพนักเขียน ไดแก การเขียนขาว การเขยี นโฆษณา การแตงคําประพันธ การเขยี นเร่ือง สนั้ การเขียนสารคดี การเขยี นบทละคร การเขยี นบทวิทย-ุ โทรทศั น การแตง เพลง ฯลฯ ซง่ึ ตวั อยา ง เหลานี้ ลวนแตผเู ขียนสามารถสรางชิ้นงานใหเกิดรายไดท้ังสิ้น เพียงแตผูเขยี นจะมีความรัก ความสนใจ ทีจ่ ะเปน นักเขียนหรอื ไม หมายเหตุ : ใหนกั ศึกษาไดศ ึกษาเพิ่มเติมจากหนงั สือแบบเรยี นรายวชิ าภาษาไทย (พท31001)

24 แบบทดสอบรายวิชาภาษาไทย พท31001 จงเลือกคําตอบทถ่ี ูกตองที่สดุ เพียงคําตอบเดยี ว 1. คาํ พูดในขอใดเหมาะสมท่ีผเู รยี นจะพูดกับครู ก. ครคู รบั มาหาผมหนอ ย ผมมีเรือ่ งจะปรึกษา ข. ผมแคท าํ ผดิ นดิ เดยี วเอง ครูถงึ กบั ทาํ เปน เร่ืองใหญเ ลยหรอื ครบั ค. กระโปรงสวยคะ เหมอื นของคุณแมห นู ตวั ที่ใหแ มบ านไปแลว คะ ง. คุณครคู ะ พรุงน้ีสะดวกก่โี มง หนูจะมาปรกึ ษาการทํารายงานคะ 2. ชีวติ คนเราเหมือนทรายเม็ดเลก็ ในทะเลทราย สดุ แตล มจะหอบไปทางไหน แตทา ยทส่ี ุดก็ตอ งรวงหลน และจมหายไปกับพ้ืนทรายดวยกันทั้งส้ิน บางคนเปนเพียงเม็ดทรายในทะเลทราย ขณะท่ีบางคนเปน ทรายที่ถูกหลอ หลอมใหเ ปน เครื่องแกว เจียระไน คําท่ีขดี เสนใต ตคี วามหมายไดต รงตามขอใด ก. ทรายทสี่ วยงามยอ มมีราคาสงู ข. ทรายท่ถี กู หลอหลอมจนเปนแกวทสี่ วยงาม ค. ผทู ไี่ ดรับการอบรมสงั่ สอนจนเปน บคุ คลทมี่ คี ุณคา ง. ผูที่ผานการทําศลั ยกรรมใหม ีรูปงามเหมือนแกวเจยี ระไน 3. สงั คมทกุ วนั นี้ มนษุ ยรจู กั การผลิตอาหารอยา งประณีตมากขึน้ รจู กั ปรับปรงุ สภาพแวดลอมให สะดวกสบายมากขึ้น ทง้ั นีด้ ว ยความกา วหนาทางเทคโนโลยนี ัน่ เอง แตเ มื่อเทียบกับอดีตแลว สุขภาพ ของผูค นปจจุบนั กลบั แยลงเพราะกินมากเกนิ ไป แตออกกาํ ลงั กายนอ ยเกนิ ไป จึงทาํ ใหเกิด โรคตา ง ๆ ได งายข้ึน ขอ ความนไี้ มมลี ักษณะตามขอใด ก. กลาวซํ้า ข. เปรียบเทียบ ค. อธิบายเหตุผล ง. นําเสนออยา งเปน ขั้นตอน 4. ยามจนคนเคียดแคน ชงิ ชัง ยามม่ังมีคนประนงั นอบนอ ม เฉกพฤกษดกนกหวัง เวียนสู เสมอมา ปางหมดผลนกพรอม พรากสิ้นบนิ หนีฯ

25 คาํ ประพนั ธน้สี อดคลอ งกบั สํานวนไทยในขอใด ก. นกไรไ มโ หด ข. นกมหี ู หนูมปี ก ค. ช้นี กปนปลายไม ง. นกนอ ยทํารงั แตพ อตัว 5. อายครูไซรถอ ยรู วิชา อายแกราชาคลา ยศแท อายแกภ รรยาหา บตุ รแต ไหนนา อายกบั ทาํ บญุ แลว สขุ นน้ั ฤามี คําประพนั ธนม้ี แี นวคดิ ในการดาํ เนินชีวติ สอดคลอ งกับขอ ใด ก. ทกุ คนควรรจู ักบทบาทหนาที่ของตน ข. หากหวงั ผลสงิ่ ใดควรกลาทําในส่งิ ท่ีจะเหน็ ผลนัน้ ค. การอยรู ว มกันในสังคมควรรจู กั การใหและรับอยางพอดี ง. เกดิ เปน คนตอ งรจู กั เหนียมอายจึงจะประสบความสําเรจ็ 6. เมื่อตองการรายละเอียดเก่ยี วกับการสมคั รเรยี น การสอบ ของ กศน. ควรสืบคน โดยตรงจากเว็บไซตใด ก. สาํ นกั งานการศึกษานอกระบบ www.nfe.go.th ข. สํานกั งานการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน www.obec.go.th ค. สถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแหงชาติ www.niets.or.th ง. สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี www.scimath.org 7. ขอแสดงความชื่นชมผูจัดงานทมี่ ีความตั้งใจแนวแนในเร่ืองสงเสรมิ การอานหนังสือ เพ่ือปลูกฝงใหคน ในสังคมมคี วามใฝรูชอบทีจ่ ะแสวงหาความรจู ากการอานหนังสอื ดี อันเปน เคร่ืองชวยขยายโลกทัศน และ ทัศนคติใหกวางขวาง กอใหเกิดปญญาความรอบรูใหสามารถพัฒนาตน พัฒนาความคิดและจิตใจของ ผูอาน การที่คนในสังคมเห็นความสําคัญของหนังสือ รักการอาน การแสวงหาความรู มีสติปญญาเปน ส่ิงสําคัญขอหน่ึงที่บงบอกความเปนอารยะประการหนึ่ง ผูไมยอหยอนในการแสวงหาความรู เช่ือไดวาเปนผูสามารถนําความเจริญมาสูตนและสังคมได จึงควรท่ีทุกภาคสวนจะชวยกันทุกทางที่จะ รณรงคสงเสรมิ ใหนกั เรียน นักศกึ ษา ตลอดจนประชาชนท่ัวไปรักการอานหนังสือ และสนับสนนุ เก้ือกูล ผูผลิตใหสามารถผลิตหนังสือท่ีดีใหคุณแกผูอาน ( พระราชดํารัสของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจากรม- สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เม่ือคร้ังทรงดํารงพระราชอิสริยยศ เปนสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานพระราชดํารัสเปดงานสัปดาห หนงั สอื แหง ชาติ )

26 ขอ ใดไมแสดงใหเห็นความสาํ คญั ในการรักการอา นตามพระราชดาํ รนิ ี้ ก. ทําใหไดรบั ความรแู ละเกดิ สตปิ ญ ญา ข. ทําใหผ ูอานมีทัศนคติท่กี วางขวางขน้ึ ค. ทาํ ใหผ อู านไดมโี ลกทัศนท ่กี วางขวางขน้ึ ง. ทาํ ใหเ กิดการพง่ึ พาอาศยั กันกบั วงการผลติ หนงั สอื 8. ขอใดเปน การเขียนพรรณนา ก. อนสุ าวรยี ส นุ ทรภูต ัง้ อยูที่ตําบลกรํ่า อําเภอแกรง จงั หวัดระยอง ข. ฉนั รสู กึ มอื เย็นเฉยี บ หวั ใจกห็ ววิ ๆ อยา งไรพกิ ล รสู กึ โลกท้งั โลกแควงควา ง ค. ประวตั ศิ าสตรเ ปน คาํ สมาส เกิดจากคํา ประวัติ กับ ศาสตร เมือ่ แปลความจากหลังมาหนา หมายถึง ความรวู าดวยความเปนมา ง. ประโยชนของการเดินกะลา ก็คือ ชวยฝกการทรงตัว ตองระวังไมใหตกกะลาชวงแรกอาจจะเจ็บ แตฝ ก บอ ย ๆ จะชนิ และหายเจ็บไปเอง 9. ขอ ใดคือคํานาํ ของเรยี งความ ก. วิธีทํามากานกลวยก็ไมยาก เลือกตัดใบกลวย แลวเอามีดเลาะใบกลวยออก แตเหลือไวที่ปลาย เล็กนอ ยเปน หางมา ข. ปจจัยส่ีของมนุษย ไดแก อาหาร เคร่ืองนุงหม ท่ีอยูอาศัย และยารักษาโรค ถาขาดประการใด ประการหนงึ่ มนษุ ยก็ไมอ าจมชี วี ติ อยไู ด จงึ ควรศกึ ษาความสาํ คญั ของปจจยั ส่ี ดงั ตอไปน้ี ค. ลักษณะเดนพิเศษของนกอินทรี คือ มีสายตาคมดีเยี่ยม เปนนักลาตัวยง ขณะบินสูง มันสามารถ มองเหน็ เหยอื่ ไดไกล ต้งั แตพ นื้ ท่รี าบจนถึงเหยือ่ ทีอ่ ยูสงู ๆ ง. ในอนาคต เราสามารถรูไดวาโลกของเราจะเปนอยางไร เม่ือเราทราบถึงปญหาและผลกระทบของ ปรากฏการณเรือนกระจก เราจึงควรนําแนวทางมาแกไ ขเพือ่ ใหเ กดิ ประโยชนแกโลกของเราตอ ไป 10. กค็ รูนน้ั เลา คอยเซา ซี้ เฝาช้ผี ดิ ถูกทกุ สถาน สอนสงั่ สรา งสมอดุ มการณ ................................ ขอใดเตมิ ลงในชอ งวา งใหถูกตอ งตามฉันทลักษณแ ละไดใจความเหมาะสม ก. เปน ผูนําชีวิตจติ วิญญาณ ข. ขอประทานความรใู หค รูน้ี ค. ครคู ือผูป ระสาทความรอบรู ง. ใหสืบสานคุณธรรมความเปน คน

27 11. ฉนั พดู อยางงี้ เธอก็วาอยางงน้ั พอฉันวาอยา งง้ัน เธอไปอยางโงน จะเอายังไงกบั ฉันอกี คําที่ขีดเสนใตแสดงถึงการเปลย่ี นแปลงทางภาษาเนอ่ื งจากสาเหตุใด ก. อิทธิพลของภาษาอนื่ ข. การเลียนภาษาของเดก็ ค. เกดิ การสรางคําใหมข ้ึนมาใช ง. การพูดจากันในชีวิตประจาํ วัน 12. ช่ือสตั วขอ ใดเปน การต้งั ช่อื จากการเลยี นเสยี งธรรมชาติ ก. มา ววั ควาย ข. ลิง คา ง ชะนี ค. นก ไก กวาง ง. กา แมว ตกุ แก 13. “เร่อื งน้คี ณุ ตองอธบิ ายมาใหล ะเอียด คนจะไดเขาใจชัดเจน”ขอ ความนีส้ อดคลอ งกบั สํานวนใด ก. แจงส่ีเบีย้ ข. จับแพะชนแกะ ค. พดู เปนตอ ยหอย ง. สอนหนังสือสังฆราช 14. ขอใดมีเจตนาตางจากขออน่ื ก. เม่อื คืนฉันนอนดึกจึงตน่ื สาย ข. ไมเ ปน ไรหรอก ฝนตกลงมาพอดี ขอหยบิ รม กอ น ค. ออกจากบานแลว ลอ็ กประตรู ั้วใหเรยี บรอยดวยนะ ง. พักน้ีขโมยชมุ เสียดว ย เมื่อคืนก็เขาบา นตรงขามเรานะ 15. ขอใดใชค ําไมเ หมาะสม ก. สมเดจ็ พระสงั ฆราช พระราชทานพรแกช าวไทย ข. เมื่อเชาน้พี ระครอู าพาธ ทานจึงไมอ อกบณิ ฑบาต ค. พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัวโปรดการเลนกีฬาหลายชนดิ ง. สมเดจ็ พระบรมราชนิ ีทรงบาตรในวนั คลา ยวนั พระราชสมภพ

28 16. ขอ ใดใชโวหารอุปมา คือ เปรยี บเทียบสิง่ หน่งึ เหมอื นกับอกี สง่ิ หนงึ่ ก. อนั ท่ีจรงิ หญิงชายยอ มหมายรกั มิใชจักตดั ทางท่ีสรางสม แมจักรักรักไวใ นอารมณ อยา ชักชมนอกหนาเปน ราคี ข. หนังสือเหมอื นเพ่ือนชีวิตเข็มทิศโลก ใหสขุ โศกใหปญ ญาใหหนาที่ จําคดิ รูประทีปสองตรองชวั่ ดี สมศักด์ศิ รสี มคณุ คา พฒั นาคน ค. สองหูแววแวว เสียงสําเนียงหวน เสียงครางครวญชวนใหฤทัยหมอง เสยี งนั้นแววแผวมานา ขนพอง คือเสยี งของความจนขน แคน เอย ง. อนั แมท ัพจับไดแ ลวไมฆ า ไปขา งหนาศึกจะใหญขึน้ ใจหาย ตองตําหรบั จับใหม่นั คั้นใหตาย จะทาํ รา ยภายหลังยากลําบากครนั 17. เนอ้ื ความในขอ ใดมีลักษณะเปน คําสอน ก. เศรษฐกจิ บิดผนั ทุกวนั นี้ กระดกู ซ่โี ครงของชาติอาจผุแหวง ข. เธอจะเปนบงั บูชาหนา องคพ ระ หรอื เธอจะเปน ดอกไมไ รก ลิ่นสี ค. แผนดินไทยไทยรักสลกั จิต ใครจะคิดรักแดนไทยเทา ไทยเลา ง. ความประมาทเปนหนทางแหง ความตาย ทง้ั หญงิ ชายพงึ สังวรไวสอนตน 18. พระชาลีจึ่งกระซิบบอกแกวกัณหาวา กัณหาเอยเจาคอยยอง ครั้งเหยียบตองใบไม ไหวกริบ เขาขยบิ ตาใหแ กวกณั หาหมอบ คําประพนั ธนปี้ รากฏคุณลกั ษณะของตวั ละครตามขอใด ก. ความซอื่ สตั ย ข. ความกลาหาญ ค. ความจงรักภกั ดี ง. ความฉลาดรอบคอบ 19. การใชภ าษาเพอื่ สื่อสารในอาชพี ใหป ระสบผลสําเร็จควรปฏิบัติตามขอ ใด ก. จรงิ ใจ ไมปด บงั อาํ พราง ใชภาษาและทา ทีสุภาพ ข. แสดงเหตุและผลตรงไปตรงมาเพอื่ โตแยง ใหไดรบั ชัยชนะ ค. ใชภ าษาสภุ าพและตองเอาใจลูกคา ทุกกรณีเพราะลูกคา คือพระเจา ง. ตอ งรูจกั โอนออนผอ นตามผบู งั คับบญั ชาเพ่อื ความกา วหนาของตน 20 บคุ คลตอไปน้ใี ชภาษาไทยในงานอาชีพของตนไดเหมาะสม ยกเวน ขอใด ก. แพทย : คณุ ปา ปว ยเปน อะไรมาครับ เลาใหห มอฟง หนอยไดไหม ข. พนักงานบรกิ ารบนเครื่องบนิ : ผูโดยสารคะ กรุณาปด สญั ญาณโทรศัพทด วยคะ ค. พยาบาล : คุณลุงนง่ั รอตรงนก้ี อนนะคะ เมือ่ ถึงควิ แลว พยาบาลจะเรยี กชือ่ คุณลงุ คะ ง. พนกั งานรกั ษาความปลอดภยั : อีกสบิ นาทีตกึ จะปด ขึ้นบนตกึ ไมไดแ ลว หยดุ เด๋ยี วน้ีครับ

รายวิชาภาษาอังกฤษเพ่อื ชีวติ และสังคม รหสั วิชา พต31001 จดุ ประสงคก ารเรยี นรู นักศกึ ษามีความรู ความเขา ใจ ทกั ษะและเจตคติเก่ียวกับ ภาษาทา ทาง การฟง พูด อาน เขียน ภาษาตางประเทศ ดวยประโยคท่ีซับซอนมากขึ้นในชีวิตประจําวัน และงานอาชีพของตน ถูกตองตาม หลกั ภาษาวฒั นธรรม และกาลเทศะของเจา ของภาษา ขอบเขตเนอ้ื หา การออกเสียงเช่ือมโยง (Linking Sound) วิธีการอานออกเสียงเช่ือมโยงระหวางคําใน ภาษาอังกฤษท่ีถูกตองตามกฎเกณฑของภาษาอังกฤษ การออกเสียงตามระดับเสียงสูง - ตํ่า (Intonation) วิธีการออกเสียงของประโยคลกั ษณะตางๆ ซง่ึ จะตองออกเสยี งสูง - ต่าํ ใหถ กู ตองเพือ่ ใหส ่ือ ความหมายท่ีผูพูดตองการ ประโยคประเภทเดียวกัน ถาออกเสียงสูง - ต่ํา ตางกันจะใหความรูสึกที่ ตางกัน รวมไปถึงการตีความหมายจากนํ้าเสียงของผอู ่ืนวามีความรูสึกดีใจ เสียใจ พึงพอใจ ไมพึงพอใจ ซาบซ้งึ ผิดหวัง ปรารถนาดี ชน่ื ชมหรือเหน็ ใจ การใชน้าํ เสยี งแสดงความรสู ึกของตวั เองในโอกาสตางๆ บทที่ 1 Everyday English ภาษาอังกฤษเปนภาษาในลักษณะ ภาษา intonation ซ่ึงหมายถึง การใชเสียงสูง - ต่ําขึ้นอยูกับ ประโยคท่ีใชต า งกบั ภาษาไทยที่ใชวรรณยุกต เปน ตัวกํากับของเสียงสงู ตา่ํ ประโยคในรปู แบบตางกนั จะใช เสยี งสงู ต่าํ แตกตางกนั เชน When do you want to be paid? (คณุ ตองการชาํ ระเงินเมือ่ ไร) 1. การอา นออกเสียงพยญั ชนะ 1.1 การอานออกเสยี งพยัญชนะ s z ch sh การออกเสียง s ออกเสียงเหมอื น ส การออกเสียง z ออกเสยี งเหมือน ซ แตม ีเสียงกอง ใชล นิ้ แตะโดนฟน แลวพน ลมออกมา การออกเสียง ch ออกเสยี งเหมือน ช ใหกกั ลมกอนออกเสียง แลวพนลมส้ันๆ การออกเสียง sh ออกเสียงเหมอื น ช ใหห อ ปาก แลว พนลมยาวๆ 1.2 การอานออกเสียงคํากริยา (verb) ชองที่ 2 (past tense) อานออกเสยี งได 3 แบบ /id/ = อิด (ออกเสยี งหนกั ) สําหรับคํากรยิ า (verb) ที่ลงทา ย t และ d การอา นออกเสยี งพยัญชนะ การออกเสียง สงู -ตา่ํ การอานออกเสียงหนกั เบา เสยี งเช่ือมระหวางคาํ

30 บทที่ 2 Should You Do ? การใชพ จนานุกรม Dictionary 1. หลักการคนหาคําศัพทภาษาอังกฤษจาก Dictionary ทุกเลมทุกสํานักพิมพใชหลักการเรียง ตามตวั อกั ษร a - z 2. กอ นใช Dictionary เลม ใดใหผูเรยี นศึกษาวธิ ีใช / คําแนะนําการใช Dictionary ใหเขาใจ กอน จะทาํ ใหก ารคน หาคําศพั ทจาก Dictionary ไดเขาใจงา ยยิง่ ขึ้น 3. สัญลกั ษณใ น Dictionary มีหลักการสังเกตดงั นี้ 3.1 คาํ ศัพทพิมพต ัวหนา 3.2 ( ) คาํ ในวงเล็บ แสดงถงึ คาํ อานของศพั ทน ั้นๆ 3.3 ‘- เคร่อื งหมาย stress (เนน เสียงหนกั ) 3.4 อกั ษรยอ ของชนดิ ของคําของศัพทคําน้นั มดี งั นี้ n. – noun – คํานาม pron. – pronoun – คําสรรพนาม v. – verb – คาํ กริยา adv. – adverb – คาํ กริยาวเิ ศษณ adj. – adjective– คาํ คุณศัพท conj. – conjunction - คาํ สันธาน A. – Antonym – ความหมายตรงขาม Syn. – synonym – ความหมายเหมอื นกนั 3.5 คําศัพทท่ีเปน Verb (คํากริยา) บางเลมจะใหรูปแบบกริยา 3 ชองและรูปแบบ -ing มาให เลยหรือยกตวั อยา ง (Ex) ประโยคทใี่ ชคาํ ศพั ทน้นั ๆ Example: difficult (adj.) ยาก ลาํ บาก– difficultly (adv.) การใชพจนานกุ รม การวิเคราะหศ พั ท รากศพั ท บทที่ 3 Hello Could You Tell Me ? การพูดคุย ติดตอทางโทรศัพท 1. การพดู คุย ตดิ ตอ แบบไมเปนทางการ เปนการพูดคยุ กบั ผคู ุนเคยใกลช ิดสนิทสนม เชน พอแม เพอื่ นฝงู เครอื ญาติ ใชภ าษาพดู คยุ หรือโตตอบแบบไมเปน ทางการ (Informal language) 2. การพูดคุยติดตอแบบเปนทางการ เปนการติดตอเพ่อื สอบถามขอมลู ติดตอ ทางธุรการ ติดตอ ราชการ ใชภ าษาโตตอบ หรอื สํานวนแบบทางการ (Formal language)

31 2.1 Informal สถานการณ ผเู รียกสาย (caller) ผูรบั (Receptionist) ทักทาย Hello ขอพดู กับผพู ดู ปลายทาง Is Jane home? A: Is Jane there? B: Can I speak to Jane? A: It’s Jane. B: Jane’s speaking. บทที่ 4 Culture Differences การใชภ าษาส่อื สาร / มารยาททางสังคม ภาษากาย - Blow a kiss. (สง จบู ) 2. Give me a big hug. (โอบกอด) 3. Shake hands. ภาษาพูด - แนะนําตนเอง May I introduce myself? Let me introduce myself? การขึน้ ตนประโยคดว ย May, Let, Would, Could แสดงถงึ การขออนุญาตกอ นท่จี ะทําการอยา งใดอยาง หนึ่งทสี่ ุภาพ การแสดงความยนิ ดี ภาษา/มารยาททางสงั คม Congratulations on ………………………….. ขอแสดงความยนิ ดีในโอกาส .............................. I’m very glad to hear + Sentence ฉันดีใจท่ีไดท ราบขา ว ....................................... แสดงความเสียใจ I’m sorry to + V1 I’m sorry for + (n.) การใช Preposition for + Noun to + V1 ประเพณี วัฒนธรรม การขอความชวยเหลือ Would you please + V1 ……………………? Would you please open the window? Can you help me + V1? Can you help me lift this box?

32 กลาวชน่ื ชมในความสามารถ / ในผลงาน เปรียบเทียบโครงสรา งภาษา How nice + ประโยค / noun - How nice he is. (เขาด/ี สุภาพจังเลย) - Subject + look + adj. - He looks smart. (เขาดเู ทหจัง) การกลาวอวยพรในโอกาสวนั สําคัญ / ใหกาํ ลังใจ Happy birthday / Happy New Year / Merry Christmas May God bless you? (ขอพระเจา อวยพรใหคณุ ) May God be with you? (ขอพระเจาคมุ ครองคณุ ) เปรียบเทยี บโครงสรางภาษาไทย/องั กฤษ มลี ักษณะประโยคคลา ยคลงึ กัน ดังนี้ ประโยคความเดยี ว (Simple Sentence) Subject + V + Object - Bobby bought the clothes. = ประธาน + กรยิ า + กรรม - She is reading a book. = ภาคประธาน + ภาคแสดง - Linda opens the store. = ภาคประธาน + กริยา + กรรมตรง - I like his idea. = ภาคประธาน + กรยิ า + กรรมตรง ประโยคความรวม (Compound Sentence) คือ ประโยคเด่ยี ว 2 ประโยครวมกัน โดย มคี าํ สันธาน (Conjunction) เชอื่ ม เชน and, but, or, for, so, nor, yet(,) มีเคร่ืองหมายจุลภาคค่นั ประโยคความผสม (Compound Complex Sentence) คือ ประโยคเดี่ยวอยางนอย 3 ประโยคข้ึนไปเชื่อมดว ย การเปรียบเทียบ สภุ าษิต Coordinate conjunction และ Subordinate conjunction. บทท่ี 5 News & News Headline Headline (พาดหัวขาว) - การเขียนพาดหัวขา วแบบทว่ั ไปมี 5 ลักษณะใหญๆ (Sentence Structure of News Headline) 1. S + V.1 อยา งแรกจะเปนเหตกุ ารณทป่ี ระโยคเตม็ เปน S+v2 ธรรมดา (Past Simple) : Suvarnabhumi fire kills 1 worker มาจากประโยค Suvarnabhumi fire killed 1 worker.

33 2. S + to infinitive อยางทส่ี องน้จี ะเปนเหตกุ ารณทป่ี ระโยคจริงกลา วถงึ อนาคต (Future) : PM to visit Japa มาจากประโยค Prime Minister is going to visit Japan. 3. S + V.3 อยางทีส่ ามจะใชเ พ่ือบอกวาประธานถูกกระทํา (Passive) : 3 cops killed in the series of fatal attacks มาจากประโยค 3 cops were killed in the series of fatal attacks. 4. S + V.ing อยางที่สใี่ ชเ พอื่ แสดงวา เปนการกระทําตอ เนอ่ื ง (Continuous) : 10 missing in flash flood มาจากประโยค 10 people is still missing in the flash flood. 5. S + to be V.3 อยางที่หา จะบอกวา ประธานจะถกู กระทาํ ในอนาคต (Passive - Future) : Abducted American to be released soon มาจากประโยค An abducted American will be released soon. ประเภทของขาว ถามตอบคําถามจากขาว องคประกอบขา ว คาํ ศัพท วลี ในขา ว บทท่ี 6 Self-Sufficiency Economy โครงสรางประโยคเงือ่ นไข (Conditional Sentence หรือ If-clause) ประโยคทใี่ ชในบทความ เร่ือง Self-sufficiency Economy มีโครงสราง Conditional Sentences ที่ควรศึกษา If-clause หรือ Conditional sentences คอื ประโยคเงื่อนไข ‘ถา...แลว ’ เปนประโยคท่ีประกอบดวย 2 สวน คือ สวน ทเ่ี ปน if (สาเหตุ/เงอ่ื นไข) และสวนท่เี ปนประโยคท่วั ไป ซึง่ เปนผลท่ีจะเกดิ ข้ึน

34 ประโยคเงอื่ นไขนมี้ ีท้ังหมด 4 ประเภทหลกั ๆ ดังนี้ Type Usage Structure If-clause Main-clause Type เหตุการณทเ่ี ปนความจริง If + S + V1 S + v1 S + will/be going to Zero Type 1 1. เหตุการณที่เปนเหตุเปนผล If + S + V1 กัน + infinitive verb 2. เหตุการณท่ีคาดวาจะ เปนไปไดจ ริง Type 2 เหตุการณที่ไมเปนความจริงใน If + S + V2 S + would + infinitive ปจจุบัน และจะไมเกิดข้ึนใน verb อนาคต Type 3 เหตุการณที่แสดงเง่ือนไขใน If + S + has/have S + would + have อดีตที่ไมสามารถเปนจริงไดใน + V3 + past participle ปจ จุบัน Type Zero – เหตกุ ารณท่เี ปน ความจริง ตวั อยา ง If it rains, the grass gets wet. (ถา ฝนตก หญาก็เปยก) Type 1 – เหตกุ ารณท เี่ ปนเหตุเปนผลกัน, เหตกุ ารณท ี่คาดวาจะเปน ไปไดจริง ตัวอยาง If you don't hurry, you will miss the train. (ถา เธอไมร ีบ เธอจะขนึ้ รถไปไมท ัน) Type 2 – เหตุการณท ่ีไมเปนความจริงในปจจบุ ัน และจะไมเ กิดข้ึนในอนาคต ตวั อยาง If you went to bed earlier, you would not be so tired. (ถาเธอเขานอนเรว็ เธอก็ไมตองเหนื่อยแบบน)ี้ Type 3 – เหตุการณที่แสดงเงื่อนไขในอดีตท่ไี มสามารถเปน จริงไดใ นปจจุบนั ตัวอยา ง If I had accepted that promotion, I would have been working in NASA. (ถาฉันตกลงรับตาํ แหนง น้นั ฉันคงไดท าํ งานท่ีนาซาไปแลว

35 ศพั ท เศรษฐกิจพอเพยี ง โครงสรางประโยคเงื่อนไข บทท่ี 7 Have You Exercise Today ? Modal Verb คือ กริยาชวยซึ่งนํามาใชรวมกับคํากริยาหลักและตองคํานึงถึงสถานการณดวย เพราะคํากริยาเหลานี้จะมีความหมายตามแตสถานการณท่ีใช หรือเปน Auxiliary Verb น่ันเอง (เพียงบางตัวไมท ั้งหมด) ไปใชรวมกบั กริยาตัวอื่น เพื่อใหเปนวลกี ริยา (Verb Phrase) ข้ึนมา กรยิ าชวยน้ี จะตามหลังดวยกริยา (กริยาชอง 1) เสมอ ไดแก Can, Could, Will, Would, Shall, Should, May, Might , Must, Ought to, had better etc. Modal Verbs ตางจาก verb ปกติอยา งไร? 1. Modal Verbs ไมต องเติม s ไมวา ประธานจะเปนตัวไหน Ex 1. I will visit Japan next year. Ex 2. She can speak Italian. 2. สามารถทาํ เปน ประโยคปฏเิ สธหรอื ประโยคคาํ ถามไดเ ลยโดยไมต อ งใชกริยาชวยตวั อื่น เชน do, does Ex 1. Students can’t enter this room. Ex 2. Can you pass me the sugar? 3. หลงั Modal Verbs ตอ งตามดวย infinitive verbs (verb รปู ธรรมดาที่ไมเตมิ -ing, -ed, to, s หรอื es) Ex 1. I should arrive by lunch time. Ex 2. You must study hard. หลักการใช Modal Verbs Can/Could รปู ปฏิเสธของ Can คอื Can not (Can’t) รูปปฏิเสธของ Could คอื Could not (Couldn’t) - ใชบอกความสามารถ โดย Can บอกความสามารถในปจจบุ ัน Could บอกความสามารถในอดีต Ex 1. He can fix computers. (เขาสามารถซอมคอมพวิ เตอรไ ด) Ex 2. When I was younger, I could run marathons without a problem. (ตอนฉันเด็ก ๆ ฉันสามารถว่งิ มาราธอนไดโดยไมมปี ญ หา)

36 - ใชถ ามเพ่ือขออนุญาต, ใหการอนุญาตหรือไมอนุญาต, รองขอบางสง่ิ บางอยาง, เสนอการชวยเหลือ โดย Could มคี วามสุภาพมากกวา Can Ex 1. Can I use this restroom please? (ฉนั สามารถใชห องนํ้านีไ้ ดไ หม?) - ใชบอกสิ่งที่เปนไปไดหรือเกิดขึ้น โดย Could บอกส่ิงที่เกิดข้ึนในอดตี มีโครงสราง Could + have + past participle (V.3) Ex 1. It can get very hot there at night. (ตอนกลางคนื มันจะรอ นมาก ๆ) Will/Would รปู ปฏเิ สธของ Will คอื Will not (Won’t) รูปปฏิเสธของ Would คือ Would not (Wouldn’t) - Will ใชบอกสงิ่ ทคี่ าดการณว าจะเกิดข้ึนในอนาคต, บอกความตัง้ ใจ Ex 1. I will visit Japan next year. (ฉันจะไปญ่ปี นุ ปหนา) - Would ใชพูดถึงเหตุการณท่ีจะเกิดข้ึนในอดีต, ใชขอรองอยางสภุ าพ, บอกความตองการ และใชใน ประโยคเงื่อนไข Ex 1. I knew that Nid would be successful. (ฉันรูว า นดิ จะประสบความสาํ เร็จ) Shall/Should รูปปฏเิ สธของ Shall คือ Shall not (Shan’t) รูปปฏิเสธของ Should คอื Should not (Shouldn’t) - Shall ใชในการเสนอแนะ ช้แี นะ เสนอความชว ยเหลือ Ex. Shall I carry your bags for you? (ฉันถอื กระเปาใหคุณไหม?) หมายเหตุ: ในปจจุบันไมคอยใช Shall แตบางครั้งอาจเจอไดในการพูดอยางเปนทางการ และบาง เอกสารทางกฎหมาย สําหรับภาษาอังกฤษในชวี ิตประจําวันจะเจอ Shall มากทส่ี ุดในประโยคคาํ ถามย่ืน ขอเสนอ หรือเสนอแนะ ชกั ชวน วา Shall I…? / Shall we…? - Should แปลวา ควรจะ... ใชใ นการแนะนาํ Ex 1. I think you should stop smoking. (ฉนั คิดวา คุณควรเลกิ สบู บหุ รีน่ ะ) May/Might May และ Might แปลวา อาจจะ สามารถใชแทนกนั ได แต Might จะสอื่ วามโี อกาสเกิดข้นึ ไดน อยกวา รปู ปฏเิ สธของ May คือ May not รูปปฏิเสธของ Might คือ Might not (Mightn’t) - ใชบอกความเปนไปได หรือสง่ิ ที่อาจจะเกิดข้นึ Ex. She may be in danger. (เธออาจจะตกอยูในอนั ตราย)

37 - ใชใ นการใหอ นุญาต, ขออนุญาต Ex 1. May I borrow your phone? (ฉนั ขอยมื โทรศัพทคุณไดไหม?) Must - แปลวา ตอ ง ใชพูดถงึ สิ่งท่ีตองทํา สิง่ จาํ เปน ทข่ี าดไมได Ex 1. I must finish my work. (ฉนั ตองทาํ งานใหเ สร็จ) - เมื่อเปน รปู ปฏเิ สธ Must not (Mustn’t) จะหมายถงึ ขอ หา ม, ไมอนุญาตใหทาํ Ex. You mustn’t drink that. (คณุ หา มด่มื ส่ิงนัน้ นะ) Ought to Ought to แปลวา ควรจะ เปนคําที่คนสมัยกอนใชกัน ปจจุบันนี้ไมคอยใชกันแลว จะใช should มากกวา ? Ex. We ought to help the poor. = We should help the poor. (เราควรจะชว ยเหลือคนจน) คาํ ศพั ท การออกกาํ ลังกาย กรยิ าชว ย Present perfect tense บทท่ี 8 Shall We Save Energy ? โครงสรา งประโยคคําสงั่ หรือคาํ หา ม (Imperative sentences) Imperative sentence คืออะไร? Imperative sentence คือ การใชคํากริยา Infinitive without to (V.1ที่ไมมี to) มาขึ้น ตนประโยคเพอ่ื ใหป ระโยคน้ันเปน ประโยคคําสั่ง, ตักเตือน, แนะนําสง่ั สอน, เชอื้ เชิญ หรือถา เติม please เขาไปจะเปนประโยคขอรอง ทั้งนี้ข้ึนอยูกับนํ้าเสียงของผูพูด, ความสัมพันธระหวางผูพูดกับผูฟง และ เจตนาในการส่ือความหมาย ที่สําคัญประโยค Imperative sentence จะลงทายดวยเคร่ืองหมายวรรค ตอน full-stop (.) หรือ exclamation mark (!) เสมอ เชน Be quiet. (จงเงียบ) Come here! (มาน่ี) Sit down! (นง่ั ลง) รปู แบบและโครงสรา งประโยคคาํ ส่ัง Imperative sentence

38 Imperative sentence ในรูปแบบประโยคบอกเลา - ใช Verb base form (V.1) ขึ้นตนประโยคแลวตามดวยส่ิงที่จะสั่งใหทํา หรืออาจใช Verb แคคาํ เดียวก็ได เชน Stop! (หยุด) Come here! (มานี)่ Open the door. (จงเปด ประต)ู - ใช Verb ‘be’ ข้ึนตนประโยค เชน Be careful. (จงระวัง) Be a good boy. (จงเปนเด็กดี) Be kind to children. (จงมีเมตตาตอ เด็ก ๆ) Imperative sentence ในรูปแบบประโยคปฏเิ สธ - การทํา Imperative sentence เปนรูปแบบประโยคปฏเิ สธ เพียงแคว าง don’t (do not) หนา คํากริยา Don’t + V.1 เชน Don’t go! (อยาไป) Don’t touch me. (อยา มาแตะตอ งตวั ฉัน) - Imperative sentence ท่ขี ้ึนตนดว ยกริยา ‘be’ ก็เชน เดยี วกนั เพียงวาง don’t หนากริยา be เชน Don’t be noisy. (อยาสง เสียงดัง) Imperative sentence ในเชิงขอรอ ง เราสามารถใช Imperative sentence ในเชิงขอรองได โดยเพียงเติม Please เขาไปวางไวหนา หรือท ายปร ะโย คก็ได เพ่ื อใหดู สุภาพ ข้ึน เชน Please sit down. ห รือ Sit down, please. (กรุณาน่ังลง) Be quiet, please. (กรุณาเงียบ) Please don’t smoke here. (กรุณาอยาสูบบุหร่ี ตรงน้)ี Imperative sentence ในเชิงเชอ้ื เชิญ Imperative sentence ในเชิงเช้ือเชิญ เปนประโยคคําสั่งท่ีรวมถึงตัวผูพูดเขาไปดวย ทําไดโดย เติม Let’s ไวหนาคํากริยา และถาเปนในรูปปฏิเสธ ใช Let’s not วางหนาคํากริยา มีโครงสรางคือ Let’s / Let’s not + V.1 เชน Let’s stop now. (ตอนน้ีหยุดกันเถอะ) Let’s not tell him about it. (อยาบอกเขาเกีย่ วกับเร่อื งน้ันเลยเถอะ) วธิ ีตอบ ถาม Let’s ก็ตอบดวย Let’s เชน Yes, let’s. / No, let’s not ขอสังเกต: ใน Imperative sentence ไมมีประธาน (Subject) โดยละประธานซึ่งคือ สรรพนามบุรษุ ท่ี 2 ‘You’ ไว Imperative sentence กรณพี เิ ศษ 1. Imperative sentence แบบมีประธาน (Subject) แมวาปกติแลว Imperative sentence ไมตองใสประธาน (สรรพนามบุรุษที่ 2 ‘You’) แตบางครั้งเราสามารถสรา งประโยค Imperative แบบมี ประธานชัดเจนได เชน You be quiet! (คณุ เงียบ!) You, don’t touch me! (แก อยา มาถูกตัวฉนั นะ) 2. ประโยคคาํ สง่ั แบบนามธรรม เราสามารถแสดงความหวงั หรอื ความปรารถนาและขอเสนอแนะ ดว ยรูปแบบประโยค Imperative ได ซึง่ ประโยคเหลา น้ีไมใ ชคําส่ังจริง ๆ เชน Have a nice day. (ขอใหเปนวนั ทด่ี นี ะ)

39 If there’s no soy milk try almond milk. (ถา ไมม ีนมถ่ัวเหลอื งกล็ องนมอัลมอนดส )ิ 3. ประโยค Imperative กับ Do ถาตอ งการเนน Imperative sentence ใหเปนประโยคขอรอง, ขอโทษ และตําหนมิ ากขึ้น ก็เติม Do หนาคาํ กริยา อกี ทัง้ ยงั มคี วามสุภาพมากขนึ้ ดว ย เชน Do tell me about her. (ชว ยเลา เรื่องของหลอนใหผมฟงหนอยนะ) Do try to keep the noise down, lady. (ลองเบาเสยี งลงหนอ ยนะสาว ๆ) 4. ใชประโยค Imperative กับ always, never, ever โดยวางคําเหลาน้ีหนาคํากริยาชอง 1 (V.1) เชน Always remember my advice. (จงจําคําแนะนําฉันไวเสมอ) Never run in this room. (อยาว่ิงในหอ งน)้ี 5. Imperative sentence กับ and บางครงั้ เรากใ็ ชป ระโยค Imperative กับ and แทนประโยค เงื่อนไข (if-clause) เชน Work hard, and you will succeed in the end. (จงมุงมั่นทํางานหนัก และคุณจะประสบความสําเร็จในทายที่สุด) ประโยคนี้ใชแทนประโยค if-clause ที่วา If you work hard, you will succeed in the end. (ถาคณุ มุงมัน่ ทาํ งานหนัก คณุ จะประสบความสําเร็จในทายทสี่ ดุ ) 6. ใชประโยค Imperative กับ Question tag เราสามารถนํา question tag อยาง can you?, Can’t you? Could you? Will you? Won’t you? Would you? มาวางไวหลังประโยค Imperative ได เชน Don’t smoke in this room, will you? (อยา สบู บหุ รใ่ี นหองน้ี จะทําไหม) Open the door, will you? (เปดประตหู นอย จะเปด ใหไหม) คาํ ศัพทพ ลังงาน ประโยคคําสง่ั /คาํ หา ม หมายเหตุ : ใหนักศึกษา ไดศึกษาเพ่ิมเติมจากหนังสือแบบเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อชีวิต และสงั คม พต31001

40 แบบทดสอบรายวิชาภาษาอังกฤษเพ่อื ชีวิตและสังคม พต31001 จงเลอื กคาํ ตอบทถ่ี กู ตอ งท่สี ดุ เพยี งคําตอบเดียว 1. Which word has the same sound as “jean”? a. gender b. garden c. garbage d. garage 2. Which word start with the same sound as “ugly”? a. united b. uniform c. until d. union 3. Which one of the following word lists is in alphabetical order? a. decision deface digest digress dresses b. meat mayor mead mind mile c. splash splay spiel spigot spice d. vex via vale violin vise 4. Don’t be cross with the child for being late? “cross” is______ in this sentence. a. slang b. expression c. derivative d. colloquial 5. A: Can I speak to Bob please? B: Sorry .He’s not in just now. A: .................... a. May I take a message? b. I’ll put you through. c. What is your name please? d. Would you give him a message please?

41 6. A: ............... B: Just a moment please. I'll put you through. a. Speaking. b. Can I speak to John please? c. Well, I expect you are busy. d. Well, would you give John a message please? 7. I can’t hear you. This is a very bad.................................. If you hang up, I’ll ring you back. a. line b. number c. wire d. phone Ken: Excuse me, Could you tell me how to get to the bank, please? Joe: _____8____You walk down Sukhumvit Road and then turn right to Nongkla Road. It is on your right hand. Ken: Oh, ______9________ Joe: ______10________ 8. a. Yes, thank you. b. No, it isn’t. c. Yes, exactly. d. No, sorry. 9. a. Thank you very much. b. that’s good idea. c. take care of yourself. d. have a nice trip. 10. a. Thank you very much. b. You’re welcome. c. How do you do. d. See you later.

42 Directions: Read the passage and choose the best answer in questions 11-12. Phuket Pearl Farm Raided Phuket - Pearl shells worth 300,000 baht were stolen in a raid on an island by five men in a long-tail boat on Thursday. Under cover of darkness, the armed held up three guards who were asleep at the Naga Pearl Co. farm and fished from the seabed 12 baskets containing 126 shells. 11. The Headline of the news is……………. a. Phuket - Pearl shells. b. Phuket Pearl Farm Raided c. Under cover of darkness, the armed held up three guards d. Pearl shells worth 300,000 baht 12. Where did the raid take place? a. Naga Pearl Co. farm b. on an island c. in a long-tail boat d. in the northern 13. If people eat too much, they ______ fat? a. get b. gets c. got d. have got 14. If he hadn't been driving so fast, he _______ the motorcyclist. a. would hit b. had hit c. wouldn't have hit d. Hits

43 15. If you ________ your job, you ________ around the world. a. would have left / traveled b. leave / can travel c. leave / travel d. left / could travel 16. The children are not allowed to cross the street alone because they _____ have an accident. a. ought b. can c. shall d. might 17. If you are ill, you _____ go to see the doctor. a. should b. might c. had to d. may 18. A : ____ you like to go fishing with me ? B : It's nice of you to ask, but I don't think so. a. Would b. Must c. May d. Might 19. Situation : A lot of students are playing in the classroom. Teacher says, “________________” a. Stop playing. b. Don’t stop. c. Stop talking. d. Don’t say.

44 20. At the massage, you must change your clothes in the ………………… a. Do not cross the field b. Don’t eat in class! c. Don’t shout at your friend. d. Be humble.

รายวิชาคณิตศาสตร รหัสวิชา พค31001 จุดประสงคการเรยี นรู 1. นกั ศกึ ษาสามารถแสดงความสัมพนั ธข องจํานวนตางๆ ในระบบจํานวนจริงได 2. นักศึกษาสามารถอธิบายความหมายและหาผลลัพธท่ีเกิดจากการบวก การลบ การคูณ และหาร จํานวนจรงิ ที่อยใู นรูปเลขยกกําลังท่มี เี ลขชีก้ าํ ลังเปน จํานวนตรรกยะ และจาํ นวนจรงิ ในรปู กรณฑไ ด 3. นกั ศกึ ษาสามารถเขียนแผนภาพแทนเซตและนาํ ไปใชแ กป ญ หาทเี่ ก่ียวกับการหาสมาชิกของเซตได 4. มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับจํานวนและการดําเนินการ เลขยกกําลังท่ีมีเลขช้ีกําลังเปนจํานวน ตรรกยะ เซต และการใหเ หตผุ ล อัตราสวนตรโี กณมิติ และการนาํ ไปใชการใชเ ครือ่ งมอื และการออกแบบ ผลติ ภัณฑ สถิติเบอื้ งตนและความนาจะเปน ขอบเขตเน้ือหา จํานวนและการดําเนินการ จํานวนจริง สมบัติของจํานวนจริงเก่ียวกับการบวกและการคูณ สมบัติ การเทา กนั และการไมเ ทา กนั คา สัมบูรณ เลขยกกําลังที่มีเลขช้ีกําลังเปนจํานวนตรรกยะ การบวก การลบ การคูณ การหาร จํานวนที่ มีเลขชีก้ าํ ลงั เปนจํานวนตรรกยะ และจาํ นวนจรงิ ท่อี ยใู นรปู กรณฑ เซต การดําเนินการของเซต แผนภาพเวนน- ออยเลอรและการแกปญหา การใหเ หตผุ ล การใหเหตุผลแบบอุปนัยและนริ นยั การอา งเหตผุ ล อัตราสวนตรีโกณมิติและการนําไปใช อัตราสวนตรีโกณมิติ อัตราสวนตรีโกณมิติของ มมุ 30 องศา 45 องศา และ 60 องศา การนาํ อัตราสวนตรีโกณมิติไปใชในการแกปญหาเก่ียวกับการหา ระยะทางและความสูง การใชเคร่ืองมือและการออกแบบผลิตภัณฑ การสรางรูปทางเรขาคณิตโดยใชเคร่ืองมือและการ ออกแบบผลิตภณั ฑ สถติ ิเบอ้ื งตน การวิเคราะหขอ มูลเบ้ืองตน การหาคากลางของขอมลู โดยใชคาเฉล่ียเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม และการนาํ เสนอขอมูล ความนาจะเปน กฎเกณฑเบือ้ งตนเกี่ยวกบั การนบั ความนา จะเปนของเหตุการณ

46 บทท่ี 1 จาํ นวนและการดาํ เนนิ การ 1. ความสมั พันธข องระบบจํานวนจรงิ 1.1 โครงสรางของจํานวนจรงิ จํานวนจรงิ (Real number) ประกอบดว ยจํานวนตรรกยะและจํานวนอตรรกยะ 1.2 จาํ นวนตรรกยะ ( Rational number ) ประกอบดวย จาํ นวนเตม็ ทศนิยมซํ้า และเศษสวน 1.2.1 จํานวนเตม็ ซ่งึ แบง เปน 3 ชนิด คอื 1. จาํ นวนเตม็ บวก (I ) หรอื จาํ นวนนบั (N)  I+= N= {1, 2, 3 ...} 2. จาํ นวนเตม็ ศูนย มีจาํ นวนเดียว คือ {0} 3. จาํ นวนเต็มลบ (I )  I = {-1, -2, -3 ...} 1.2.2 เศษสว น เชน 3 , 3 3 ,  5 เปน ตน 4 4 7 1.2.3 ทศนิยมซํ้า เชน 1.3 จาํ นวนอตรรกยะ( Irrational Number ) คือจาํ นวนท่ีไมใชจ ํานวนตรรกยะ เขยี นไดใ นรูปทศนยิ ม ไมซ า้ํ เชน 2 มคี า เทา กับ 1.414213...


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook