Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นักพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ

นักพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ

Published by Suhaila.mareh, 2021-05-07 04:25:03

Description: นักพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ

Keywords: นักพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ

Search

Read the Text Version

แนวข้อสอบ พระราชบญั ญัตขิ ้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 1. พระราชบญั ญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ มีผลบงั คบั เม่ือใด ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. วันถดั จากวันประกาศในราชกจิ จานุเบกษา ข. วันท่ี 11 กนั ยายน 2540 ค. เม่ือพ้นกาํ หนดเก้าสบิ วันนับแต่วันประกาศในราชกจิ จานุเบกษา ง. ข้อ ก. และข้อ ข. 2. ข้อใดเป็นเหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัตขิ ้อมูลข่าวสารของทางราชการ ข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้อง ก. ให้ประชาชนมีโอกาสรับร้ขู ้อมูลข่าวสารเก่ยี วกบั การดาํ เนนิ การต่างๆของรัฐ ข. รับรองสทิ ธขิ องประชาชนในการเข้าถงึ ข้อมูลข่าวสารของราชการ ค. ข้อมูลข่าวสารของราชการท้งั หมด หรือส่วนใหญ่สามารถเปิ ดเผยได้ ภายใต้หลักการท่วี ่า “เปิ ดเผยเป็น หลัก ปกปิ ดเป็นข้อยกเว้น” ง. ประชาชนต้องเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของทางราชการได้ทุกกรณีไม่มีข้อยกเว้น 3. ข้อใด เป็นข้อมูลข่าวสาร ก. แฟ้ มข้อมูลรายงานของนายประสพดี ข. ภาพถ่าย ฟิ ล์มของนายบัญชา ค. การบนั ทกึ ภาพเสยี งโดยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ของนายอาทติ ย์ ง. ถูกทุกข้อ 4. ข้อใด เป็นความหมายของข้อมูลข่าวสารของราชการ ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. ข้อมูลข่าวสารท่อี ยู่ในความครอบครองของอาํ เภอ ข. ข้อมูลข่าวสารท่อี ยู่ในการควบคุมดูแลของจงั หวัด ค. ข้อมูลข่าวสารในการครอบครองและควบคุมไม่ว่าเป็นข้อมูลเก่ยี วกบั ข่าวสารเก่ยี วกบั เอกชน ง. ไม่มีข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง

5. หน่วยงานของรัฐ ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. จังหวัด อาํ เภอ ข. อบจ. เมืองพัทยา เทศบาล อบต. ค. ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภมู ภิ าค ราชการส่วนท้องถ่นิ รัฐวิสาหกจิ ส่วนราชการสงั กดั รัฐสภา ง. ศาลเฉพาะในส่วนท่เี ก่ยี วกบั การพิจารณาพิพากษาคดี 6. ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล หมายความว่า ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. ประวัติการมภี รรยาน้อยของนายอาทติ ย์ ข. ประวัติการทาํ งานของนายสดุ ท่รี ัก ค. ประวัตกิ ารตายของนายทองดี ง. หมายเลขบัตรประจาํ ตัวประชาชนของนายจุงเบย 7. ความหมายของคนต่างด้าว ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. ถ้าผู้จัดการหรือกรรมการ สมาชิกของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนเกนิ ก่งึ หน่งึ เป็นของคนต่างด้าว ไม่ให้ถือว่า เป็นคนต่างด้าว ข. สมาคมลามามีสมาชิกเกนิ ก่งึ หน่งึ เป็นคนต่างด้าว ค. มูลนิธใิ ส่ใจมวี ัตถุประสงคเ์ พ่ือประโยชน์ของคนต่างด้าว ง. นายลองจที ่ไี ม่มสี ญั ชาติไทยและไม่มีถ่ินท่อี ยู่ในประเทศไทย 8. ตาํ แหน่งเป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี และมีอาํ นาจออกฎกระทรวงเพ่ือปฎิบัตติ าม พระราชบัญญัติ น้ี ก. นายจุงเบยเป็นนายกรฐั มนตรี ข. นางโอเคเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ค. นายสดุ ยอดเป็นรองนายกรัฐมนตรีท่ไี ด้รับมอบหมาย ง. นายโปรโมช่ันเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม

9. กฎกระทรวงเพ่ือปฎิบตั ิตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540มีผลบงั คับ เม่ือใด ก. วันถดั จากวันประกาศในราชกจิ จานุเบกษา ข. เม่ือประกาศในราชกจิ จานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ ค. ผ่านความเหน็ ชอบจากคณะรัฐมนตรี ง. มผี ลบงั คับใช้ทนั ที 10. สาํ นักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการจัดต้งั อยู่ในหน่วยงานใด ก. สาํ นกั นายกรัฐมนตรี ข. สาํ นักปลัดสาํ นักนายกรัฐมนตรี ค. สาํ นกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย ง. สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 11. สาํ นกั งานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ มหี น้าท่ปี ฎบิ ัตงิ านดงั น้ี ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. เก่ยี วกบั งานวิชาการและธรุ การให้แก่คณะกรรมการและคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิ ดเผยข้อมูล ข่าวสาร ข. สอดส่องดูแลและให้คาํ แนะนาํ เก่ยี วกบั การดาํ เนนิ งานของเจ้าหน้าท่ขี องรัฐและหน่วยงานของรัฐ ค. ประสานงานกบั หน่วยงานของรัฐ ง. ให้คาํ ปรึกษาแก่เอกชนเก่ยี วกบั การปฏบิ ัติตามพระราชบัญญัติน้ี 12. พระราชบญั ญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 กาํ หนดหลักการสาํ คญั เก่ยี วกบั ข้อมูลข่าวสาร ของ ทางราชการท่อี ยู่ในความครอบครองของหน่วยงานของรัฐไว้อย่างไร ก. ปกปิ ดเป็นหลัก เปิ ดเผยเป็นข้อยกเว้น ข. เปิ ดเผยเป็นหลัก ปกปิ ดเป็นข้อยกเว้น ค. เปิ ดเผยบ้าง ปกปิ ดบ้างตามความเหมาะสม ง. เปิ ดเผยบ้าง ข้นึ อยู่กบั หัวหน้าหน่วยงาน

13. ข้อมูลข่าวสารประเภทใดบ้าง ท่หี น่วยงานของรัฐต้องนาํ ไปลงพิมพ์ในราชกจิ จานุเบกษา ข้อใดกล่าว ไม่ ถูกต้อง ก. โครงสร้างและการจดั องคก์ รในการดาํ เนินงาน ข. แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจ่ายประจาํ ปี ของปี ท่กี าํ ลังดาํ เนนิ การ ค. สรปุ อาํ นาจหน้าท่ที ่สี าํ คญั และวิธกี ารดาํ เนนิ งาน ง. กฎ มตคิ ณะรัฐมนตรี ข้อบงั คับ คาํ ส่งั หนังสอื เวียน ระเบยี บ แบบแผน นโยบาย หรือการตคี วาม ท้งั น้ี เฉพาะท่จี ดั ให้มขี ้ึนโดยมีสภาพอย่างกฎ เพ่ือให้มผี ลเป็นการทว่ั ไปต่อเอกชนท่เี ก่ยี วข้อง 14. ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 กาํ หนดให้ข้อมูลข่าวสารท่ตี ้องเปิ ดเผย เป็น การท่วั ไป โดยพิมพ์ในราชกจิ จานุเบกษา คอื ข้อมูลประเภทใด ก. คู่มือหรือคาํ ส่งั เก่ยี วกบั วิธปี ฏบิ ตั ิงานของเจ้าหน้าท่ขี องรัฐ ซ่ึงมผี ลกระทบถงึ สทิ ธหิ น้าท่ขี อง เอกชน ข. กฎ มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคบั คาํ ส่งั หนังสอื เวียน ระเบยี บท่มี สี ภาพอย่างกฎ ค. สญั ญาสมั ปทาน ง. ผลการพิจารณา หรือคาํ วินจิ ฉัยท่มี ีผลโดยตรงต่อเอกชน 15. ข้อมูลข่าวสารของราชการในข้อใดท่ปี ระชาชนสามารถเข้าตรวจดูได้ ก. นโยบาย และแผนงานขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ ข. โครงการ และงบประมาณรายจ่ายขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน ค. สญั ญาร่วมทุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ กบั เอกชนในการจัดบริการสาธารณะ ง. ถูกทุกข้อ 16. ข้อใดไม่ใช่ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ก. ประวัติอาชญากรรมของนายเอ ข. ประวัตสิ ุขภาพของนายบี ค. ฐานะทางการเงนิ ของนายซี ง. ข้อมูลเก่ยี วกบั รัฐบาลปัจจุบัน

17. ข้อใดไม่ใช่ข้อมูลข่าวสารของราชการ ก. ประวัตกิ ารสมรสของนายมี ข. ประวัติสถติ ิสาํ มะโนครัวของประชากร ค. ข้อมูลทะเบยี นราษฎรของอาํ เภอ ง. ประวัติพนักงานบริษัท 18. บุคคลย่อมมสี ทิ ธเิ ข้าตรวจดู ขอสาํ เนาหรือขอสาํ เนาท่มี คี าํ รับรองถูกต้องของข้อมูลข่าวสาร ข้อใด กล่าว ไม่ถูกต้อง ก. บุคคลไม่ว่าจะมสี ่วนได้เสยี เก่ยี วข้องหรือไม่กต็ าม ข. คนต่างด้าวจะมีสทิ ธนิ ้ัน ให้เป็นตามท่กี าํ หนดในกฎกระทรวง ค. ในการน้ใี ห้คาํ นงึ ถงึ การช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยประกอบด้วย ง. ต้องเป็นบุคคลมีส่วนได้เสยี และเก่ยี วข้องเทา่ น้นั 19. ข้อใดกล่าวถูกต้องเก่ยี วกบั ข้อมูลข่าวสารของราชการ ก. ข่าว ความรู้ต่างๆท่คี นอ่านได้ ข. ข้อมูลข่าวสารเก่ยี วกบั ส่งิ เฉพาะบุคคล เช่น การศกึ ษา ประวัตสิ ขุ ภาพ ค. ภาพวาด แผนท่ี ภาพถ่ายต่างๆ ซ่ึงบอกความหมาย ง. ข้อมูลข่าวสารท่อี ยู่ในความรับผดิ ชอบหรือการครอบครองของราชการ 20. หน่วยงานไม่ใช่หน่วยงานของรัฐท่อี ยู่ในบังคับของพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ ก. รัฐวิสาหกจิ เช่น การไฟฟ้ า ข. ส่วนราชการสงั กดั รัฐสภา ค. หน่วยงานอสิ ระของรัฐ เช่น สาํ นกั งานตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ง. ศาลท่เี ก่ยี วกบั การพิจารณาพิพากษาคดี

21. คนต่างด้าว จะมสี ทิ ธเิ ข้าตรวจดู ขอสาํ เนาหรือขอสาํ เนาท่มี ีคาํ รับรองถูกต้องของข้อมูลข่าวสารให้เป็น ตามกฎหมายใด ก. กฎกระทรวงออกโดยนายกรัฐมนตรี ข. กฎกระทรวงออกโดยคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ค. กฎกระทรวงออกโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ง. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย 22. ถ้ามีบุคคลใด ขอข้อมูลข่าวสารอ่นื ใดของราชการและคาํ ขอของผู้น้นั ระบุข้อมูลข่าวสารท่ตี ้องการใน ลักษณะท่อี าจเข้าใจได้ตามสมควร ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. ให้บุคคลน้นั ร้องขอต่อคณะกรรมการวินจิ ฉัยการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารก่อน ข. ให้หน่วยงานของรัฐผู้รับผดิ ชอบจัดหาข้อมูลข่าวสารน้นั ค. จัดหาข้อมูลข่าวสารน้ันให้แก่ผู้ขอภายในเวลาอนั สมควร ง. จัดหาข้อมูลข่าวสารน้นั ภายในเวลาอนั สมควรเว้นแต่ผู้น้นั ขอจาํ นวนมากหรือบ่อยคร้ังโดยไม่มี เหตุผลอนั สมควร 23. ข้อมูลข่าวสารของราชการใด มีสภาพท่อี าจบุบสลายง่าย ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. หน่วยงานของรัฐอาจขอขยายในการจดั หาให้ในสภาพอย่างหน่งึ อย่างใดเพ่ือให้เกดิ ความเสยี หาย แก่ข้อมูล ข่าวสารน้นั กไ็ ด้ ข. หน่วยงานของรัฐอาจขอขยายในจัดทาํ สาํ เนาให้ในในสภาพอย่างหน่งึ อย่างใดเพ่ือให้เกดิ ความ เสยี หายแก่ ข้อมูลข่าวสารน้นั กไ็ ด้ ค. เป็นการแปรสภาพเป็นเอกสารจากข้อมูลข่าวสารท่บี ันทกึ ไว้ในระบบบันทกึ ภาพหรือเสยี ง ระบบ คอมพิวเตอร์ หรือระบบอ่นื ใด ง. หากเป็นการจดั ทาํ วิเคราะห์ จาํ แนก รวบรวม หรือจดั ให้มขี ้นึ ใหม่ ห้ามไม่ให้หน่วยงานของรัฐ จดั หาให้ 24. หน่วยงานของรัฐจะจัดหาข้อมูลข่าวสารข้อมูลข่าวน้นั ให้กไ็ ด้ หากเหน็ ว่าผู้ขอน้นั ก. มใิ ช่แสวงหาผลประโยชนท์ างการค้า ข. เป็นเร่ืองจาํ เป็น เพ่ือปกป้ องสทิ ธเิ สรีภาพสาํ หรับผู้น้นั ค. เป็นเร่ืองท่จี ะเป็นประโยชนแ์ ก่สาธารณะ ง. ถูกทุกข้อ

25. แม้ว่าข้อมูลข่าวสารท่ขี อจะอยู่ในความควบคุมดูแลของหน่วยงานหรืออยู่ในครอบครองของหน่วยงาน ของ รัฐอ่นื กต็ าม ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. ให้หน่วยงานของรัฐท่รี ับคาํ ขอให้คาํ แนะนาํ กบั ผู้ย่ืนคาํ ขอข้อมูลข่าวสาร ข. ให้คาํ แนะนาํ เพ่ือไปย่ืนขอต่อหน่วยงานของรัฐท่คี วบคุมดูแลข้อมูลข่าวสารน้นั โดยไม่ชักช้า ค. ถ้าหน่วยงานผู้รับคาํ ขอเหน็ ว่าข้อมูลข่าวสารจดั ทาํ โดยหน่วยงานของรัฐแห่งอ่นื และได้ระบุห้าม การ เปิ ดเผยไว้ ให้ส่งคาํ ขอน้ันให้หน่วยงานของรัฐผู้จดั ทาํ ข้อมูลข่าวสารน้นั พิจารณาเพ่ือมคี าํ ส่งั ต่อไป ง. หน่วยงานผู้รับคาํ ขอต้องปฎิเสธทนั ทกี รณีไม่อยู่ในความควบคุมของหน่วยงานตน 26. ผู้ใดเหน็ ว่าหน่วยงานรัฐไม่จัดพิมพ์ข้อมูลข่าวสาร หรือปฎิบัตหิ น้าท่ลี ่าช้า หรือเหน็ ว่าตนไม่ได้รับ ความ สะดวกโดยไม่เหตุอนั สมควร ผู้น้นั มสี ทิ ธริ ้องเรียนต่อใคร ก. นายกรัฐมนตรี ข. หัวหน้าหน่วยงานน้นั ค. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสร ง. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ 27. ในกรณีท่มี กี ารร้องเรยี นต่อคณะกรรมการ คณะกรรมการต้องพิจารณาให้แล้วเสรจ็ ภายในก่วี ัน ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน 28. ในคณะกรรมการพิจารณาไม่เสรจ็ กรณีจาํ เป็นท่มี เี หตจุ าํ เป็นให้ขยายเวลาออกไปได้ แต่ต้องแสดง เหตแุ รวมเวลาท้งั หมดแล้วต้องไม่เกนิ ก่วี ัน ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน

29. ข้อมูลข่าวสารราชการใด ท่หี น่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าท่ขี องรัฐอาจมคี าํ ส่งั มิให้เปิ ดเผยกไ็ ด้ ข้อใด กล่าว ไม่ถูกต้อง ก. การเปิ ดเผยจะก่อให้เกดิ ความเสยี หายต่อความม่นั คงของประเทศ ความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศ หรือ ความม่นั คงในทางเศรษฐกจิ หรือการคลังของประเทศ ข. การเปิ ดเผยจะก่อให้เกดิ การบังคับใช้กฎหมายเส่อื มประสทิ ธภิ าพ หรือไม่อาจสาํ เรจ็ ตาม วัตถุประสงค์ได้ ไม่ว่าจะเก่ยี วกบั การฟ้ องคดี การป้ องกนั การปราบปราม การทดสอบ การตรวจสอบ หรือการรู้แหล่งท่มี า ของข้อมูลข่าวสารหรือไม่กต็ าม ค. รายงานการแพทยห์ รือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลซ่ึงการเปิ ดเผยจะเป็นการรกุ ล้ําสทิ ธสิ ่วนบุคคล โดยไม่ สมควร ง. ข้อมูลข่าวสารของราชการท่กี ่อให้เกดิ ความเสยี หายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ 30. ในกรณีท่เี จ้าหน้าท่ขี องรัฐมีคาํ ส่งั มใิ ห้เปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารใด ผู้ย่ืนคาํ ขออาจอุทธรณต์ ่อใคร ก. คณะกรรรมการวินจิ ฉัยการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร ข. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ค. หัวหน้าหน่วยงานท่เี ก่ยี วข้อง ง. นายกรัฐมนตรี 31. ในกรณที ่เี จ้าหน้าท่ขี องรัฐมีคาํ ส่งั มิให้เปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารใด ผู้ย่ืนคาํ ขออาจอทุ ธรณ์ภายในก่วี ัน ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน 32. ในกรณที ่เี จ้าหน้าท่ขี องรัฐเหน็ ว่า การเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการใด อาจกระทบถึงประโยชน์ได้ เสยี ของผู้ใด ให้เจ้าหน้าท่ขี องรัฐแจ้งให้ผู้น้ันเสนอคาํ คดั ค้านภายในเวลาท่กี าํ หนด ซ่ึงต้องไม่น้อยกว่าก่วี ัน นบั แต่ วันท่ไี ด้รับแจ้ง ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน

33.ในกรณที ่เี จ้าหน้าท่ขี องรัฐมีคาํ ส่งั มใิ ห้เปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารใด หรือมคี าํ ส่งั ไม่รับฟังคาํ คดั ค้านของผู้มี ประโยชน์ได้เสยี ผู้น้ันอาจอทุ ธรณน์ ับแต่วันวันท่รี ับแจ้งคาํ ส่งั น้ัน โดยย่ืนคาํ อุทธรณต์ ่อใคร ก. คณะกรรรมการวินจิ ฉัยการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร ข. คณะกรรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ค. หัวหน้าหน่วยงานกาํ กบั ดูแลข้อมูล ง. นายกรัฐมนตรี 34.การพิจารณาเก่ยี วกบั ข้อมูลข่าวสารท่มี ีคาํ ส่งั มใิ ห้เปิ ดเผยน้นั ไม่ว่าจะเป็นการพิจารณาของ คณะกรรมการ คณะกรรมการวินจิ ฉัยการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารหรือศาลกต็ าม ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. ต้องดาํ เนินการพิจารณาโดยมใิ ห้ข้อมูลข่าวสารน้นั เปิ ดเผยบุคคลอ่นื ข. มิให้ข้อมูลข่าวสารน้นั เปิ ดเผยบุคคลอ่นื ท่จี าํ เป็นแก่การพิจาณา ค. ในกรณีจาํ เป็นจะพิจารณาลับหลังคู่กรณหี รือคู่ความฝ่ ายใดกไ็ ด้ ง. ต้องพิจารณาอย่างเปิ ดเผยโดยให้คู่ความท้งั สองฝ่ ายรับทราบด้วย 35. การเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารใดแม้จะเข้าข่ายต้องมีความรับผดิ ชอบตามกฎหมายใด ให้ถือว่าเจ้าหน้าท่ี ของ รัฐไม่ต้องรับผดิ หากเป็นการกระทาํ โดยสจุ ริต ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. เจ้าหน้าท่ขี องรัฐได้ดาํ เนินการโดยถูกต้องตามระเบียบ ข. เจ้าหน้าท่ขี องรัฐในระดับตามกาํ หนดในกฎกระทรวงมีคาํ ส่งั เปิ ดเผยเป็นการท่วั ไป ค. เฉพาะแก่บุคคลใดเพ่ือประโยชน์อนั สาํ คัญย่งิ กว่าท่เี ก่ยี วกบั ประโยชนส์ าธารณะ หรือชีวิต ร่างกาย สขุ ภาพ หรือประโยชนอ์ ่นื ของบุคคล ง. การเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารตามข้างต้น ให้หน่วยงานของรัฐพ้นจากความรับผดิ ตามกฎหมายหาก จะมใี น กรณีดงั กล่าว 36. เพ่ือประโยชน์แห่งหมวดน้ี “บุคคล” หมายความว่าพระราชบัญญัตขิ ้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 ตามข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. บุคคลธรรมดาท่มี สี ญั ชาตไิ ทย ข. บุคคลธรรมดาท่ไี ม่มีสญั ชาติไทยแต่มถี ่นิ อยู่ในประเทศไทย ค. บุคคลธรรมดาท่ไี ด้เสยี ภาษีตามกฎหมาย ง. ไม่มีข้อกล่าวไม่ถูกต้อง

37.หน่วยงานของรัฐต้องปฏบิ ัติเก่ยี วกบั การจดั ระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลดังต่อไปน้ี ข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้อง ก. ต้องจดั ให้มีระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลเพียงเทา่ ท่เี ก่ยี วข้องและจาํ เป็นเพ่ือการดาํ เนินงานของ หน่วยงานของรัฐให้สาํ เรจ็ ตามวัตถุประสงค์เทา่ น้นั ข. หน่วยงานของรัฐต้องแจ้งเจ้าของข้อมูลทราบล่วงหน้า ลักษณะการใช้ข้อมูลตามปกติ และกรณีท่ี ขอข้อมูล น้นั เป็นกรณที ่อี าจใช้ข้อมูลได้โดยสมัครใจเทา่ น้ัน กฎหมายบังคับมไิ ด้ ค. พยายามเกบ็ ข้อมูลข่าวสารโดยตรงจากเจ้าของข้อมูล โดยเฉพาะอย่างย่ิงในกรณีท่จี ะกระทบถึง ประโยชน์ ได้เสยี โดยตรงของบุคคลน้นั ง. ตรวจสอบแก้ไขข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลในความรับผดิ ชอบให้ถูกต้องอยู่เสมอ 38. หน่วยงานของรัฐจะเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลท่อี ยู่ในความควบคุมดูแลของตนต่อหน่วยงาน ของรัฐ แห่งอ่นื หรือผู้อ่นื โดยปราศจากความยินยอมเป็นหนังสอื ของเจ้าของข้อมูลท่ใี ห้ไว้ล่วงหน้าหรือ ขณะน้นั มิได้ เว้นแต่เป็นการเปิ ดเผยดงั น้ี ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. เปิ ดเผยต่อเจ้าหน้าท่ขี องรัฐเพ่ือการป้ องกนั การฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย การสบื สวน การ สอบสวน หรือการฟ้ องคดี ไม่ว่าเป็นคดปี ระเภทใดกต็ าม ข. บริษัทสายสบื ในการสบื หาข้อมูลส่วนบุคคลท่เี ก่ียวข้อง ค. เป็นการให้ซ่ึงจาํ เป็นเพ่ือการป้ องกนั หรือระงับอนั ตรายต่อชีวิตหรือสขุ ภาพของบุคคล ง. ต่อหน่วยงานของรัฐท่ที าํ งานด้านการวางแผนหรือการสถิติหรือสาํ มะโนต่างๆ 39.ข้อมูลใด ท่หี น่วยงานรัฐอาจมคี าํ ส่งั มใิ ห้เปิ ดเผยกไ็ ด้ ก. การบงั คับใช้กฎหมายเส่อื ประสทิ ธภิ าพได้ถ้าเปิ ดเผย ข. รายงานการแพทยห์ รือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลซ่ึงอาจก่อให้เกดิ การรุกล้ําสทิ ธสิ ่วนบุคคล ค. ส่งิ พิมพ์ท่ตี ้องพิมพ์อ้างองิ ในราชกจิ จานุเบกษา ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และข้อ ข. 40.ข้อมูลข่าวสารของราชการท่อี าจก่อให้เกดิ ความเสยี หายต่อสถาบันพระมหากษัตริยจ์ ะเปิ ดเผยได้ เพ่ือ คัดเลือกไว้ให้ประชาชนได้ศึกษาค้นคว้า เม่ือครบก่ปี ี ก. 20 ปี ข. 30 ปี ค. 70 ปี ง. 75 ปี

41.การเปิ ดเผยจะก่อให้เกดิ ความเสยี หาต่อความม่ันคงของประเทศ ความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศ หรือ ความ ม่ันคงในทางเศรษฐกจิ หรือการคลังประเทศ เพ่ือคัดเลือกไว้ให้ประชาชนได้ศึกษาค้นคว้า เม่ือครบ ก่ปี ี ก. 20 ปี ข. 30 ปี ค. 70 ปี ง. 75 ปี 42. ข้อมูลข่าวสารของราชการท่หี น่วยงานของรัฐ ไม่ประสงคจ์ ะเกบ็ รักษาหรือมีอายุครบกาํ หนด นบั แต่ วันท่ี เสรจ็ ส้นิ การจดั ให้มีข้อมูลข่าวสารน้ัน ให้หน่วยงานของรัฐส่งมอบให้หน่วยงานใด หรือหน่วยงานอ่นื ของรัฐ ตามกาํ หนดในพระราชกฤษฎกี า เพ่ือคัดเลือกไว้ให้ประชาชนได้ศึกษาค้นคว้า ก. สาํ นกั หอสมุดแห่งชาติ กรมศลิ ปากร ข. สาํ นกั หอจดหมายเหตแุ ห่งชาติ กรมศิลปากร ค. สาํ นักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร ง. สาํ นักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศลิ ปากร 43. ถ้าหน่วยงานของรัฐไม่เปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบต่อการกระทาํ ดังกล่าวมีสทิ ธิ ดาํ เนนิ การอย่างไร ก. ร้องเรียนต่อคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ และอทุ ธรณต์ ่อคณะกรรมการข้อมูล ข่าวสารของ ราชการ ข. ร้องเรียนต่อคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ และอุทธรณต์ ่อคณะกรรมการวินจิ ฉัยการ เปิ ดเผย ข้อมูลข่าวสาร ค. ร้องเรียนต่อหน่วยงาน และฟ้ องต่อศาลปกครอง ง. ร้องเรียนต่อคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ และอุทธรณ์ต่อนายกรัฐมนตรี 44. ข้อใดไม่ถูกต้อง ก. ข้อมูลข่าวสาร หมายความรวมถึง ส่งิ ท่สี ่อื ความหมายให้รู้เร่ืองราว ข้อมูล ด้วยการบันทกึ โดย เคร่ือง คอมพิวเตอร์ ข. ข้อมูลข่าวสารของราชการ หมายความรวมถึง ข้อมูลข่าวสารเก่ยี วกบั เอกชนท่อี ยู่ในความ ครอบครองของ รัฐ ค. ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลหมายความถงึ ข้อมูลข่าวสารเก่ยี วกบั ส่งิ เฉพาะตวั ของบุคคลท่อี ยู่ใน ความ ครอบครองของรัฐ ง. เจ้าหน้าท่ขี องรัฐหมายถึงผู้ปฏบิ ตั ิงานให้แก่หน่วยงานของรัฐ

45. หน่วยงานของรัฐต้องส่งข้อมูลข่าวสารประเภทใด ลงพิมพ์ในราชกจิ จานุเบกษา ก. โครงสร้าง และการจัดองค์การในการดาํ เนินงานของหน่วยงานของรัฐ ข. รายช่ือ ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างในหน่วยงานของรัฐ ค. คาํ ส่งั เก่ยี วกบั การปฏบิ ัติงานภายในส่วนราชการ ง. งบประมาณรายจ่ายประจาํ ปี ของปี ท่กี าํ ลังดาํ เนินการของหน่วยงานของรัฐ 46. ข้อใดไม่ใช่ข่าวสารประเภทท่หี น่วยงานของรัฐต้องจดั ไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ ก. ผลการพิจารณาของหน่วยงานของรัฐท่มี ีผลโดยตรงต่อเอกชน ข. สรปุ อาํ นาจหน้าท่ที ่สี าํ คญั และวิธกี ารดาํ เนินงาน ค. มติคณะรัฐมนตรี หรือมตคิ ณะกรรมการแต่งต้งั โดยกฎหมาย ง. แผนงาน โครงการและงบประมาณรายจ่ายประจาํ ปี ของปี ท่กี าํ ลังดาํ เนนิ การ 47. ข้อใดไม่ใช่หน้าท่ขี องหน่วยงานของรัฐ ในการปฏบิ ตั ิตามพระราชบญั ญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ ก. ส่งข้อมูลข่าวสารของราชการลงพิมพ์ในราชกจิ จานุเบกษา ข. จัดข้อมูลข่าวสารไว้ให้ประชาชนตรวจดู ค. จัดหาข้อมูลข่าวสารให้แก่ผู้ขอในเวลาอนั สมควร ง. จดั ทาํ สาํ เนาและรับรองข้อมูลข่าวสารให้กบั ประชาชนทุกคร้ังตามประสงค์ท่ขี อ 48. ข้อใดเป็นข่าวสารท่กี าํ หนดว่าห้ามเปิ ดเผย เว้นแต่จะครบเจด็ สบิ ห้าปี ก. ข่าวสารท่กี ารเปิ ดเผยจะก่อให้เกดิ ความเสยี หายต่อความม่ันคงของประเทศ ข. ข่าวสารท่กี ารเปิ ดเผยจะก่อให้เกดิ ความเสยี หายต่อความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศ ค. ข่าวสารท่อี าจให้เกดิ ความเสยี หายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ง. ถูกทุกข้อ

49. ข้อใดเป็นข่าวสารท่หี น่วยงานของรัฐอาจมีคาํ ส่งั มิให้เปิ ดเผย ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. ข่าวสารท่อี าจก่อให้เกดิ ความเสยี หายต่อสถาบนั พระมหากษัตริย์ ข. ข่าวสารท่กี ารเปิ ดเผยจะก่อให้เกดิ อนั ตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัยของบุคคลใดบุคคลหน่ึง ค. ข่าวสารท่กี ารเปิ ดเผยจะก่อให้เกดิ ความเสยี หายต่อความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศ ง. ถูกเฉพาะข้อ ข และ ค 50. กรณที ่มี ีการคดั ค้านคาํ ส่งั เปิ ดเผยข้อมูล และเจ้าหน้าท่ขี องรัฐมคี าํ ส่งั ไม่รับฟ้ องคาํ คดั ค้าน เจ้าหน้าท่ี ของรัฐ จะเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารน้นั ได้เม่ือใด ก. เปิ ดเผยได้ทนั ที ข. เปิ ดเผยเม่ือได้ล่วงพ้นกาํ หนดระยะเวลาอทุ ธรณ์ ค. เปิ ดเผยได้เม่ือล่วงพ้น 30 วันไปแล้ว ง. เปิ ดเผยเม่ือได้ล่วงพ้น 45 วันไปแล้ว 51. การอุทธรณค์ าํ ส่งั มใิ ห้เปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร ต้องอทุ ธรณ์ต่อใคร ก. ศาลปกครอง ข. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ค. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร ง. ศาลอุทธรณ์ 52.ข้อใดเป็นการออกระเบยี บเพ่ือยกเว้นการบังคบั ใช้เก่ยี วกบั หลักเกณฑก์ ารเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารของ ราชการท่ถี ูกต้องท่สี ดุ ก. สาํ นกั ข่าวกรองแห่งชาติเป็นผู้ออกระเบียบ ข. สาํ นักงานสภาความม่นั คงแห่งชาตเิ ป็นผู้ออกระเบยี บ ค. หน่วยงานของรัฐอาจออกระเบยี บ โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของ ราชการ ง. ถูกทุกข้อ

53. ข้อใดเป็นการวางระบบข้อมูลข่าวสารของราชการท่ถี ูกต้อง ข้อใดกล่าวผดิ ก. ตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลในความรับผดิ ชอบให้ถูกต้องอยู่เสมอ ข. จัดให้มีระบบรักษาความปลอดภัยให้แก่ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ค. จัดให้มีการลงพิมพ์ในราชกจิ จานุเบกษา ง. ตรวจสอบแก้ไขข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลในความรับผดิ ชอบให้ถูกต้องเป็นประจาํ ทุกปี 54. ผู้ขอข้อมูลมีสทิ ธริ ้องเรียนต่อคณะกรรมการในกรณีหน่วยงานของรัฐไม่ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายในข้อใด กล่าว ไม่ถูกต้อง ก. ไม่จดั ข้อมูลข่าวสารไว้ให้ประชาชนดู ข. ปฏบิ ตั หิ น้าท่ลี ่าช้า ค. ไม่อาํ นวยความสะดวกโดยไม่มีเหตุอนั ควร ง. ไม่จดั ทาํ กรณีต้อง จดั ทาํ วิเคราะห์ จาํ แนก รวบรวม หรือจัดให้มีข้นึ ใหม่ 55. กรณคี ณะกรรมการได้รับข้อร้องเรียนไม่ปฏบิ ัตติ ามพระราชบัญญัตขิ ้อมูลข่าวสาร ของราชการของ หน่วยงานของรัฐ คณะกรรมการต้องพิจารณาให้แล้วเสรจ็ ภายในก่วี ัน ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน 56. ข้อใดไม่ถูกต้อง เก่ยี วกบั การปฏบิ ัตงิ านหน่วยงานของรัฐในการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ท่ี อยู่ใน ความควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ ก. การเปิ ดเผยต้องได้รับความยนิ ยอมจากเจ้าของข้อมูลซ่ึงได้ให้ไว้ล่วงหน้า ข. การเปิ ดเผยต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลในเวลาท่จี ะเปิ ดเผย ค. หน่วยงานของรัฐมีอาํ นาจเปิ ดเผยข้อมูลท่อี ยู่ในความควบคุมดูแลได้ทุกรณไี ม่จาํ เป็นต้องได้รับ ความยินยอม ง. ถูกเฉพาะข้อ ก และ ข

57. กรณีหน่วยงานของรัฐไม่แก้ไขเปล่ียนแปลงข้อมูลให้ตรงตามคาํ ขอของเจ้าของข้อมูล เจ้าของข้อมูลมี สทิ ธิ อทุ ธรณ์ต่อใครภายในระยะเวลาเท่าใด ก. อทุ ธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร ภายใน 15 วัน ข. อุทธรณต์ ่อคณะกรรมการวินจิ ฉัยการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร ภายใน 30 วัน ค. อุทธรณต์ ่อคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ภายใน 30 วัน ง. อทุ ธรณต์ ่อคณะกรรมการรับเร่ืองราวร้องทุกข์ ภายใน 30 วัน 58. หน่วยงานท่มี ีหน้าท่เี กบ็ รักษาเอกสารประวัติศาสตร์ตามพระราชบญั ญัติน้ี คอื บุคคลในข้อใด ก. พิพิธภัณฑ์ ข. หอจดหมายแห่งชาติ ค. กรมสารสนเทศ ง. สาํ นกั งานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ 59. ตาํ แหน่งใดเป็นประธานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร ตามท่กี าํ หนดในพระราชบญั ญัตนิ ้ี ก. นายจุงเบยดาํ รงตาํ แหน่งนายกรัฐมนตรี. ข. นายโดดเด่นรัฐมนตรีซ่ึงนายกรัฐมนตรีมอบหมาย ค. นายแน่นหนารัฐมนตรีประจาํ สาํ นักนายกรัฐมนตรี ง. นางแน่นอกรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร 60. ตาํ แหน่งใดต่อไปน้ี ไม่ได้เป็นกรรมการในคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ตามท่กี าํ หนดใน พระราชบัญญัติน้ี ก. นายชงมาปลัดสาํ นกั นายกรัฐมนตรี นายปราบภัยปลัดกระทรวงกลาโหม นายโคนม ปลัดกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ นายคงเดชปลัดกระทรวงมหาดไทย ข. นายการดเี ป็นผู้อาํ นวยการสาํ นักงบประมาณ นายสดุ ลับผู้อาํ นวยการสาํ นักข่าวกรองแห่งชาติ และนายชง ดเี ลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร นายรับร้ปู ลัดกระทรวงการต่างประเทศ ค. นายหนกั แน่นเลขาธกิ ารสภาความม่นั คงแห่งชาติ นายเรียนดีเลขาธกิ ารข้าราชการพลเรือน นาย ตคี วาม เลขาธกิ ารคณะกรรมการกฤษฎีกา ง. นายใส่ใจปลัดกระทรวงพาณิชย์ นายยอดเย่ียมปลัดกระทรวงยุติธรรม นายเอกิ เกริก ปลัดกระทรวง กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร

61. ข้อใดไม่ใช่อาํ นาจหน้าท่ขี องคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ก. สอดส่องการดูแลการดาํ เนินงานของหน่วยงานของรัฐในการปฏบิ ัติตามพระราชบญั ญัติ ข. ให้คาํ แนะนาํ เก่ยี วกบั การดาํ เนนิ งานของหน่วยงานของรัฐในการปฏบิ ัตกิ ารตามพระราชบัญญัติ ค. ให้คาํ ปรึกษาแก่เจ้าหน้าท่ขี องรัฐหรือหน่วยงานของรัฐเก่ยี วกบั การปฎบิ ัติตามพระราชบัญญัตนิ ้ี ตามท่ไี ด้ รับคาํ ขอ ง. กาํ หนดหลักเกณฑก์ ารเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ 62. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ มวี าระการดาํ รงตาํ แหน่งคราวละก่ี ปี ข้อใดกล่าวถูกต้องท่สี ดุ ก. 2 ปี นบั แต่วันท่รี ับแต่งต้งั ข. 3 ปี นบั แต่วันท่รี ับแต่งต้ัง ค. 3 ปี นบั แต่วันท่รี ับแต่งต้งั อาจได้รับแต่งต้งั ใหม่ได้ ง. 4 ปี นับแต่วันท่รี ับแต่งต้ัง อาจได้รับแต่งต้ังใหม่ได้ 63. ใครเป็นผู้แต่งต้งั ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ก. ประธานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ข. นายกรัฐมนตรี ค. รัฐมนตรีซ่ึงนายกรัฐมนตรีมอบหมาย ง. คณะรัฐมนตรี 64. กรรมการในคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ มจี าํ นวนท้งั ส้นิ ก่คี น ก. 19 คน ข. 21 คน ค. 23 คน ง. 25 คน

65. กรรมการในคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ รวมกบั เลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการ รวมเป็น ก่ี คนท้งั หมด ก. 20 คน ข. 24 คน ค. 25 คน ง. 26 คน 66. ใครเป็นผู้แต่งต้งั ข้าราชการของสาํ นกั ปลัดสาํ นกั นายกรัฐมนตรีเป็นเลขานุการและและ ผู้ช่วยเลขานุการ ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรีซ่ึงนายกรัฐมนตรีมอบหมาย ค. คณะรัฐมนตรี ง. ปลัดสาํ นักนายกรัฐมนตรี 67. คาํ ส่งั ขยายเวลาไม่เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการของหน่วยงานของรัฐมกี าํ หนดคราวละเกนิ ก่ปี ี ไม่ได้ ก. 2 ปี ข. 3 ปี ค. 4 ปี ง. 5 ปี 68. กรณีท่หี น่วยงานของรัฐปฏเิ สธว่าไม่มีข้อมูลข่าวสารตามท่มี ีคาํ ขอ ถ้าผู้ขอไม่เช่ือว่าเป็นความจริงควร ดาํ เนินการอย่างไร ก. ร้องเรียนต่อคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการเพ่ือให้ตรวจสอบ ข. ร้องเรียนต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารเพ่ือให้ตรวจสอบ ค. ย่นื คาํ ร้องต่อศาลเพ่ือให้ศาลมคี าํ ส่งั ง. ถูกทุกข้อ

69. การแต่งต้งั คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร ต้องดาํ เนินการอย่างไร ก. นายกรัฐมนตรีเป็นผู้ใช้อาํ นาจในการแต่งต้งั ข. คณะรัฐมนตรีแต่งต้งั ตามข้อเสนอของคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ค. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการเป็นผู้มอี าํ นาจแต่งต้งั ง. เลือกต้งั คณะกรรมการในคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ 70. อาํ นาจหน้าท่ขี องคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. วินิจฉัยอทุ ธรณ์คาํ ส่งั มใิ ห้เปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร ข. วินจิ ฉัยอทุ ธรณค์ าํ ส่งั ไม่รับฟังคาํ คดั ค้านการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร ค. วินจิ ฉัยอุทธรณค์ าํ ส่งั ไม่ให้แก้ไขเปล่ียนแปลงหรือลบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ง. เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎกี าและการออกกฎกระทรวงหรือระเบียบของคณะรัฐมนตรา พระราชบัญญัติน้ี 71. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร แต่ละคณะจะต้องมีกรรมาการไม่น้อยกว่าก่คี น ก. 3 คน ข. 5 คน ค. 7 คน ง. 9 คน 72. การส่งคาํ อทุ ธรณ์ จากคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการไปยงั คณะกรรมการวินิจฉัยการ เปิ ดเผย ข้อมูลข่าวสารเพ่ือพิจารณา จะต้องทาํ ภายในก่วี ันนบั แต่วันท่คี ณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของ ราชการได้รับ อุทธรณ์ ก. 3 วัน ข. 5 วัน ค. 7 วัน ง. 15 วัน

73. การไม่ปฏบิ ตั ติ ามคาํ ส่งั ของคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ท่สี ่งั ให้เรียกบุคคลมาให้ถ้อยคาํ หรือ ส่งให้ส่งพยานหลักฐาน มโี ทษเพียงใด ก. โทษท้งั จาํ ท้งั ปรับ ข. โทษปรับสถานเดียวไม่มีโทษจาํ คุก ค. มีโทษจาํ คุกสถานเดยี ว ไม่มโี ทษปรับ ง. ไม่มโี ทษทางอาญา 74. ผู้ใดฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏบิ ตั ิตามข้อจาํ กดั หรือเง่อื นไขท่เี จ้าหน้าท่ขี องรัฐกาํ หนดตามพระราชบัญญัติ ข้อมูล ข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 มีโทษอย่างไร ก. ต้องระวางโทษจาํ คุกไม่เกนิ หน่งึ ปี หรือปรับไม่เกนิ สองหม่ืนบาท ข. ต้องระวางโทษจาํ คุกไม่เกนิ สองปี หรือปรับไม่เกนิ สองหม่ืนบาท ค. ต้องระวางโทษจาํ คุกไม่เกนิ สามปี หรือปรับไม่เกนิ สามหม่ืนบาท ง. ต้องระวางโทษจาํ คุกไม่เกนิ ส่ปี ี หรือปรับไม่เกนิ ส่หี ม่ืนบาท 75. ใครเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พระราชบัญญัตขิ ้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 ก. พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ ข. นายชวน หลีกภัย ค. ค.นายบรรหาร ศลิ ปอาชา ง. ตาํ รวจโททกั ษิณ ชินวตั ร 76. สาํ นกั งานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการมีช่ือย่อว่าอะไร ก. สขร. ข. สขม. ค. สขก. ง. สขช.

77. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 บงั คับใช้เม่อื พ้นกาํ หนดก่วี ัน ก. ถัดจากวัดประกาศในราชกจิ จานุเบกษา ข. 90 วัน ค. 120 วัน ง. 180 วัน 78. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 บังคับใช้วันท่ี ก. 9 มกราคม 2540 ข. 9 ธนั วาคม 2539 ค. 9 ธนั วาคม 2540 ง. 10 ธนั วาคม 2540 79. ข้อมูลข่าวสารคือ ก. ส่งิ ท่สี ่อื ความหมายให้รู้เร่ืองราวข้อเทจ็ จริงข้อมลู หรือส่งิ ใด ๆ ข. การส่อื สารถงึ กนั ค. ข่าวท่นี กั ข่าวนาํ เสนอ ง. ถูกทุกข้อ 80. ข้อมูลข่าวสารของราชการคอื ก. ข้อมูลข่าวสารท่อี ยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ ข. ข้อมูลข่าวสารท่อี ยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของเอกชน ค. ข้อมูลข่าวสารท่อี ยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของรัฐและเอกชน ง. ข้อมูลข่าวสารท่อี ยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของมูลนธิ ิ

81. ข้อใดคอื ความหมาของคนต่างด้าว ก. บุคคลธรรมดาท่มี ีสญั ชาติไทย แต่ไม่มถี ่นิ ท่อี ยู่ในประเทศไทย ข. บุคคลธรรมดาท่ไี ม่มีสญั ชาตไิ ทย แต่มีถ่ินท่อี ยู่ในประเทศไทย ค. บุคคลธรรมดาท่มี สี ญั ชาตไิ ทย และมีถ่นิ ท่อี ยู่ในประเทศไทย ง. บุคคลธรรมดาท่ไี ม่มีสญั ชาติไทย และไม่มถี ่นิ ท่อี ยู่ในประเทศไทย 82. ข้อใดต่อไปน้ถี ือว่าเป็นคนต่างด้าว ก. บริษัทชุมชนของเราจาํ กดั มีคนต่างด้าวถอื หุ้นไม่เกนิ ก่งึ หน่งึ ข. สมาคมรักไทยมีสมาชิกท้งั หมด 988 คน เป็นคนต่างด้าว 450 คน ค. มูลนธิ ไิ ก่ชนไทยท่มี วี ัตถุประสงคเ์ พ่ือประโยชน์ของคนต่างด้าว ง. สมาคมส้เู พ่ือแผ่นดิน ท่มี วี ัตถุประสงค์เพ่ือประโยชน์ของคนไทย 83. ข้อใดไม่ใช่หน้าท่ขี องสาํ นกั งานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร ก. ปฏบิ ัติงานเก่ยี วกบั งานวิชาการและธุรการให้แก่ คณะกรรมการ ข. ให้คาํ ปรึกษาแก่เอกชนในการปฏบิ ตั ติ าม พ.ร.บ. น้ี ค. ประสานงานกบั หน่วยงานของรัฐ ง. ให้คาํ ปรึกษาแก่หน่วยงานรัฐในการปฏบิ ัติตาม พ.ร.บ. น้ี 84. ข้อมูลข่าวสารตามข้อใดต้องลงพิมพ์ในราชกจิ จานุเบกษา ก. โครงสร้างและการจัดองค์กรในการดาํ เนนิ งาน ข. สรุปอาํ นาจหน้าท่ที ่สี าํ คบั และวิธดี าํ เนินงาน ค. สถานท่ตี ิดต่อเพ่ือของรับข้อมูลข่าวสาร ง. ถูกทุกข้อ

85. ข้อมูลข่าวสารตามข้อใดต้องจัดไว้ให้ประชาชนได้เข้าตรวจดู ก. ผลการพิจารณาหรือคาํ วินิจฉัยท่มี ผี ลโดยตรงต่อเอกชน ข. แผนงาน โครงการ งบประมาณรายจ่ายปะจาํ ปี ค. สญั ญาสมั ปทานท่เี ป็นการผูกขาดตดั ตอน ง. ถูกทุกข้อ 86. ผู้ใดเหน็ ว่าหน่วยงานของรัฐไม่จดั ข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนได้เข้าตรวจดูสามารร้องเรียนต่อ หน่วยงานใด ก. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของทางราชการ ข. คณะกรรมการวินิจฉัยข้อมูลข่าวสารของทางราชการ ค. ศาลปกครอง ง. คตส. 87. เม่ือมกี ารร้องเรียนว่าหน่วยงานของรัฐไม่จัดข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนได้เข้าตรวจดูให้ คณะกรรมการ พิจารณาให้แล้วเสรจ็ ภายในก่วี ัน ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 60 วัน ง. 90 วัน 88. กรณมี ีเหตจุ าํ เป็นคณะกรรมการไม่สามารถพิจารณาให้แล้วเสรจ็ ภายในเวลา ให้ขยายเวลาออกไปได้ แต่ ต้องแสดงเหตผุ ลและรวมเวลาท้งั หมดแล้วต้องไม่เกนิ ก่วี ัน ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 60 วัน ง. 90 วัน

89. ข้อมูลข่าวสารตามข้อใดจะเปิ ดเผยมิได้ ก. ข้อมูลข่าวสารท่อี าจกอ่ ให้เกดิ ความเสยี หายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ข. มติคณะรัฐมนตรี ค. รายงานแพทย์ ง. ข้อมูลส่วนตัว 90. ข้อมูลข่าวสารข้อใดท่หี น่วยงานของรัฐอาจมีคาํ ส่งั มใิ ห้เปิ ดเผย ก. ข้อมูลข่าวสารท่อี าจก่อให้เกดิ ความเสยี หายต่อความม่นั คงของประเทศ ข. การเปิ ดเผยอาจทาํ ให้การบงั คบั ใช้กฎหมายเส่อื มประสทิ ธภิ าพ ค. การเปิ ดเผยอาจก่อให้เกดิ อนั ตรายต่อชีวิต ง. ถูกทุกข้อ 91. เจ้าหน้าท่ขี องรัฐเหน็ ว่าการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารอาจกระทบกบั ส่วนได้เสยี ของผู้ใด ให้เจ้าหน้าท่แี จ้ง ให้ผู้ น้นั คัดค้านภายในก่ีวัน ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน 92. ถ้าเจ้าหน้าท่มี คี าํ ส่งั มใิ ห้เปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารผู้น้นั อาจอุทธรณต์ ่อคณะกรรมวินจิ ฉัยการเปิ ดเผย ข้อมูล ข่าวสารภายในก่วี นั ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน

93. ถ้าเจ้าหน้าท่มี คี าํ ส่งั ไม่รับฟังคาํ คัดค้านของผู้มีประโยชน์ได้เสยี ผู้น้ัน อาจอทุ ธรณต์ ่อคณะกรรมวินิจฉัย การ เปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารภายในก่วี ัน ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน 94. “บุคคล” ในความหมายข้อใดถูกต้อง ก. บุคคลธรรมดาท่ไี ม่มสี ญั ชาติไทย ข. บุคลธรรมดาท่มี ีสญั ชาตไิ ทย ค. บุคคลท่ไี ม่มสี ญั ชาติไทย และไม่มถี ่ินท่อี ยู่ในประเทศไทย ง. ถูกทุกข้อ 95. หน่วยงานของรัฐจะเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลได้ในกรณีใด ก. ได้โดยไม่ต้องได้ความยนิ ยอม ข. ไม่ได้เลยไม่ว่ากรณใี ดๆ ค. ถ้าได้รับความยนิ ยอมเป็นหนังสอื ไว้ล่วงหน้า ง. ได้ถ้าบุคคลท่เี ก่ยี วข้องยนิ ยอม 96. หน่วยงานของรัฐจะเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลโดยไม่ต้องได้รับความยนิ ยอมได้ในกรณีใดบ้าง ก. ต่อหน่วยงายของรัฐด้านการวางแผน ข. เป็นการให้เพ่ือประโยชน์ในการศกึ ษาวิจัย ค. ต่อจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศลิ ปากร ง. ถูกทุกข้อ

97. ผู้ใดเหน็ ว่าข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลเก่ยี วกบั ตนไม่ถูกต้องให้ ยืนคาํ ร้องเพ่ือขอแก้ไขต่อหน่วยงานใด ก. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของทางราชการ ข. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร ค. หน่วยงานของรัฐท่คี วบคุมดูแลข้อมูลข่าวสาร ง. ถูกทุกข้อ 98. ผู้ใดเหน็ ว่าข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลเก่ยี วกบั ตนไม่ถูกต้องให้ ยืนคาํ ร้องเพ่ือขอแก่ไข เปล่ียนแปลง ถ้า หน่วยงานของรัฐไม่แก่ไข เปล่ียนแปลง ให้อทุ ธรณ์ต่อใคร ก. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของทางราชการ ข. คณะกรรมการวินจิ ฉัยการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร ค. หน่วยงานของรัฐท่คี วบคุมดูแล ง. ศาลปกครอง 99. ผู้ใดเหน็ ว่าข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลเก่ยี วกบั ตนไม่ถูกต้องให้ ยืนคาํ ร้องเพ่ือขอแก่ไข เปล่ียนแปลง ถ้า หน่วยงานของรัฐไม่แก่ไข เปล่ียนแปลง ให้อทุ ธรณ์ต่อคณะกรรมการดังกล่าว ภายในก่วี ัน ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน 100. ข้อมูลข่าวสารท่ไี ม่ประสงค์จะเกบ็ รักษา หรือมอี ายุครบกาํ หนดให้ส่งมอบให้แก่หน่วยงานใด ก. สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ข. หอจดหมายเหตแุ ห่งชาติ กรมศิลปากร ค. กระทรวงวัฒนธรรม ง. กรมการศาสนา

101. ข้อมูลข่าวสารท่อี าจก่อให้เกดิ ความเสยี หายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ จะจดั ให้ประชาชนได้ศกึ ษา ค้นคว้าเม่อื มอี ายุครบก่ปี ี ก. 60 ปี ข. 75 ปี ค. 80 ปี ง. 100 ปี ข้นึ ไป 102. ข้อมูลท่อี าจจะก่อให้เกดิ ความเสยี หายต่อความม่ันคงขอประเทศ จะจัดให้ประชาชนได้ศึกษาค้นคว้า เม่ือ มอี ายุครบก่ปี ี ก. 20 ปี ข. 25 ปี ค. 35 ปี ง. 75 ปี ข้นึ ไป 103. รายงานแพทยซ์ ่ึงการเปิ ดเผยจะเป็นการรุกลาํ้ สทิ ธสิ ่วนบุคคลโดยไม่สมควร จะจัดให้ประชาชนได้ ศกึ ษา ค้นคว้าเม่อื มอี ายุครบก่ปี ี ก. 20 ปี ข. 25 ปี ค. 35 ปี ง. 75 ปี ข้นึ ไป 104. หน่วยงานของรัฐเหน็ ว่าข้อมูลข่าวสารใดไม่สมควรเปิ ดเผย ให้ขยายเวลาได้ไม่เกนิ คราวละก่ปี ี ก. 2 ปี ข. 3 ปี ค. 5 ปี ง. 7 ปี

105. บุคคลใดไม่ได้เป็นคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ก. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ข. ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ค. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ง. ปลัดกระทรวงยุตธิ รรม 106. ใครเป็นผู้แต่งต้งั ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ก. คณะรัฐมนตรี ข. รัฐสภา ค. นายกรัฐมนตรี ง. พระมหากษัตริย์ 107. ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการมที ้งั หมดก่คี น ก. 6 คน ข. 9 คน ค. 12 คน ง. 15 คน 108. ใครเป็นเลขานุการคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ก. ปลัดสาํ นกั นายกรัฐมนตรี ข. บุคคลท่ปี ลัดสาํ นกั นายกรัฐมนตรีแต่งต้ัง ค. เลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร ง. บุคคลท่นี ายกรัฐมนตรีแต่งต้งั 109. ปลัดสาํ นกั นายกรัฐมนตรีแต่งต้งั ผู้ช่วยเลขานุการได้ก่คี น ก. 1 คน ข. 2 คน ค. 3 คน ง. 4 คน

110. ผู้ทรงคุณวุฒิท่เี ป็นคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ มวี าระในการดาํ รงตาํ แหน่งคราวละก่ปี ี ก. 3 ปี นบั แต่วันท่ไี ด้รับการสรรหา ข. 3 ปี นบั แต่วันท่ไี ด้รับการแต่งต้ัง ค. 4 ปี นับแต่วันท่ไี ด้รับการสรรหา ง. 4 ปี นับแต่วันท่ไี ด้รับการแต่งต้งั 111. การพ้นจากตาํ แหน่งของผู้ทรงคุณวุฒิในข้อใดไม่ถูกต้อง ก. ตาย ข. คณะรัฐมนตรีให้ออกเพราะมคี วามประพฤติเส่อื มเสยี ค.ลาออก ง.นายกรัฐมนตรีให้ออกเพราะมคี วามบกพร่อง 112. ใครเป็นผู้แต่งต้งั คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร ก. คณะรัฐมนตรี ข. รัฐสภา ค. นายกรัฐมนตรี ง. พระมหากษัตริย์ 113. ข้อใดไม่ใช่ความรู้ความเช่ียวชาญของคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร ก. ความม่ันคงของประเทศ ข. เศรษฐกจิ และการคลังของประเทศ ค. การบริหารประเทศ ง. การบงั คบั ใช้กฎหมาย 114. ให้คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการส่งคาํ อทุ ธรณใ์ ห้คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิ ดเผยข้อมูล ข่าวสารภายในก่วี ัน นบั แต่ท่ไี ด้รับคาํ อุทธรณ์ ก. 7 วัน ข. 12 วัน ค. 15 วัน ง. 30 วัน

115. ผู้ใดไม่ปฏบิ ตั ติ ามคาํ ส่งั ของคณะกรรมการ (ตามมาตรา 32) ไม่มาให้ถ้อยคาํ ส่งวัตถุเอกสาร หรือ พยานหลักฐาน ต้องระวางโทษตามข้อใด ก. จาํ คุกไม่เกนิ 3 เดือน ปรับไม่เกนิ 5,000 บาท หรือท้งั จาํ ท้งั ปรับ ข. จาํ คุกไม่เกนิ 3 ปี ปรับไม่เกนิ 5,000 บาท หรือท้งั จาํ ท้งั ปรับ ค. จาํ คุกไม่เกนิ 3 เดือน ปรับไม่เกนิ 20,000 บาท หรือท้งั จาํ ท้งั ปรับ ง. จาํ คุกไม่เกนิ 3 ปี ปรับไม่เกนิ 15,000 บาท หรือท้งั จาํ ท้งั ปรับ 116. ผู้ใดฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏบิ ัติตามข้อจาํ กดั หรือเงือนไขท่เี จ้าหน้าท่ขี องรัฐกาํ หนด (ตามมาตรา 20) ต้อง ระวาง โทษตามข้อใด ก. จาํ คุกไม่เกนิ 1 เดอื น ปรับไม่เกนิ 20,000 บาท หรือท้งั จาํ ท้งั ปรับ ข. จาํ คุกไม่เกนิ 1 ปี ปรับไม่เกนิ 20,000 บาท หรือท้งั จาํ ท้งั ปรับ ค. จาํ คุกไม่เกนิ 10 ปี ปรับไม่เกนิ 20,000 บาท หรือท้งั จาํ ท้งั ปรับ ง. จาํ คุกไม่เกนิ 10 ปี ปรับไม่เกนิ 200,000 บาท หรือท้งั จาํ ท้งั ปรับ 117. ค่าธรรมเนียมในการทาํ ขอทาํ สาํ เนาจากหน่วยงานของรัฐข้อใดไม่ถูกต้อง (ออกตามประกาศ) ก. เอ 4 หน้าละไม่เกนิ 1 บาท ข. บี 4 หน้าละไม่เกนิ 2 บาท ค. กระดาษพิมพ์เขียวเอ 2 หน้าละไม่เกนิ 8 บาท ง. กระดาษพิมพ์เขยี วเอ 1 หน้าละไม่เกนิ 20 บาท 118. กฎหมายใดถ้าไม่ขดั หรือแย้งกบั พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ให้บงั คับใช้ต่อไป ก. ระเบยี บว่าด้วยการักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 ข. ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 ค. พระราชบญั ญัติวิธปี ฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ง. พระราชบญั ญัติความรับผดิ ทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี พ.ศ. 2539

119. พระราชบญั ญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มกี ่หี มวด ก. 5 หมวด และบทเฉพาะกาล ข. 6 หมวด และบทเฉพาะกาล ค. 7 หมวด และบทเฉพาะกาล ง. 8 หมวด และบทเฉพาะกาล 120. พระราชบญั ญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มีก่มี าตรา ก. 40 มาตรา ข. 41 มาตรา ค. 43 มาตรา ง. 45 มาตรา 121. ข้อมูลข่าวสารของราชการ คืออะไร ก. ข้อมูลข่าวสารท่อี ยู่ในความครอบครองของหน่วยงานของรัฐ ข. ข้อมูลข่าวสารท่อี ยู่ควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ ค. ข้อมูลข่าวสารเก่ยี วกบั การดาํ เนนิ งานของรัฐ ง. ถูกทุกข้อ 122. ข้อใดไม่ใช่ความหมายของหน่วยงานของรัฐ ก. ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภมู ภิ าค ราชการส่วนท้องถ่นิ ข. ศาลในส่วนท่เี ก่ยี วกบั การพิจารณาพิพากษาคดี ค. รัฐวิสาหกจิ ส่วนราชการสงั กดั รัฐสภา ง. องค์กรควบคุมการประกอบวิชาชีพ หน่วยงานอสิ ระของรัฐ 123.ผู้ใดเป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตขิ ้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ.2540 ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุตธิ รรม ข. รัฐมนตรีประจาํ สาํ นักนายกรัฐมนตรี ค. นายกรัฐมนตรี

ง. ปลัดกระทรวงมหาดไทย 124. หน่วยงานของรัฐต้องส่งข้อมูลข่าวสารใดไปลงพิมพ์ในราชกจิ จานุเบกษา ก.โครงสร้างและการจดั องค์กรในการดาํ เนินงาน ข. มติคณะรัฐมนตรี ข้อบงั คับ คาํ ส่งั หนงั สอื เวียน ค. สรปุ อาํ นาจหน้าท่ที ่สี าํ คญั และวิธดี าํ เนินงาน ง. ถูกทุกข้อ 125.กฎ ระเบยี บ คาํ ส่งั มตคิ ณะรัฐมนตรี ถ้ายงั ไม่ได้ลงพิมพ์ในราชกจิ จานุเบกษา จะมผี ลอย่างไร ก. นาํ มาบังคับในทางท่ไี ม่เป็นคุณแก่ผู้ใดไม่ได้ ข. เป็นโมฆะ ค. เป็นโมฆยี ะ ง. ไม่มผี ลบงั คับในทางกฎหมาย 126.บุคคลใดมสี ทิ ธเิ ข้าตรวจดู ขอสาํ เนาหรือขอสาํ เนาท่มี ีคาํ รับรองถูกต้องของข้อมูลข่าวสารได้ ก. บุคคลท่มี ีส่วนได้เสยี เก่ยี วข้อง ข. บุคคลท่ไี ม่มีส่วนได้เสยี ค. คนต่างด้าว ง. ถูกทุกข้อ 127. ข้อมูลข่าวสารท่หี น่วยงานของรัฐจัดให้แก่ผู้ขอต้องเป็นข้อมูลข่าวสารประเภทใด ก. อยู่ในสภาพพร้อมท่จี ะให้ได้ ข. ต้องนาํ ไปจดั ทาํ วิเคราะห์ จาํ แนก หรือรวบรวมก่อน ค. ต้องจัดข้นึ มาใหม่ โดยไม่สอดคล้องกบั อาํ นาจหน้าท่ตี ามปกตขิ องหน่วยงานของรัฐ ง. ไม่มขี ้อถูก

128. เม่อื มกี ารร้องเรียนเก่ยี วกบั หน่วยงานของรัฐไม่จดั หาข้อมูลข่าวสารจะต้องร้องเรียนต่อใคร ก. ปลัดสาํ นักนายกรัฐมนตรี ข. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ค. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร ง. ประธานรัฐสภา 129. ในกรณีเจ้าหน้าท่ขี องรัฐมคี าํ ส่งั มใิ ห้เปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร ผู้ขอจะอทุ ธรณต์ ่อใคร ก. ปลัดสาํ นกั นายกรัฐมนตรี ข. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ค. คณะกรรมการวินจิ ฉัยการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร ง. ประธานรัฐสภา 130. การย่นื อทุ ธรณค์ าํ ส่งั ของเจ้าหน้าท่ขี องรัฐท่มี ใิ ห้เปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร ต้องอทุ ธรณ์ภายใน กาํ หนดเวลาเทา่ ใด ก. 15 วัน นบั แต่วันย่นื คาํ ขอ ข. 15 วัน นบั แต่วันท่ไี ด้รับแจ้งคาํ ส่งั ค. 30 วัน นับแต่วันย่นื คาํ ขอ ง. 30 วัน นบั แต่วันท่ไี ด้รับแจ้งคาํ ส่งั 131. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร คณะหน่งึ ต้องมไี ม่น้อยกว่าก่คี น ก. 3 คน ข. 5 คน ค. 7 คน ง. 9 คน 132. ผู้ใดมิได้เป็นคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ก. ปลัดกระทรวงกลาโหม ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ค. ปลัดกระทรวงการคลัง ง. ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร 133. ข้อมูลข่าวสารท่ไี ม่ต้องเปิ ดเผยตามมาตรา 14 มกี าํ หนดเวลาครบก่ปี ี หากหน่วยงานของรัฐจะส่ง ข้อมูลข่าวสารมอบให้แกห่ อจดหมายเหตแุ ห่งชาติ ก. 50 ปี ข. 75 ปี ค. 100 ปี ง. ไม่มกี าํ หนดเวลา 134. ข้อมูลข่าวสารท่หี น่วยงานของรัฐอาจมคี าํ ส่งั มใิ ห้เปิ ดเผยตามมาตรา 15 มีกาํ หนดเวลาครบก่ปี ี หาก หน่วยงานของรัฐจะส่งข้อมูลข่าวสารมอบให้แก่หอจดหมายเหตุแห่งชาติ ก. 10 ปี ข. 15 ปี ค. 20 ปี ง. 25 ปี 135.ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. เปิ ดเผยเพ่ือประโยชน์ในการศกึ ษาวิจัย โดยระบุช่ือหรือส่วนท่ที าํ ให้รู้ว่าเป็นข้อมูลข่าวสารส่วน บุคคลท่เี ก่ยี วกบั บุคคลใด ข. เปิ ดเผยได้ เม่ือได้รับความยินยอมเป็นหนงั สอื ของเจ้าของข้อมูลท่ใี ห้ไว้ล่วงหน้า ค. เปิ ดเผยต่อเจ้าหน้าท่ขี องรัฐ เพ่ือการป้ องกนั การฝ่ าผนื หรือไม่ปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย ง. เปิ ดเผยต่อเจ้าหน้าท่ขี องรัฐในหน่วยงานของตน เพ่ือการนาํ ไปใช้ตามอาํ นาจหน้าท่ขี องหน่วยงาน ของรัฐแห่งน้ัน

ข้อ 1 ง. ข้อ 31 ก. ข้อ 61 ง. ข้อ 91 ก. ข้อ 2 ง. ข้อ 32 ก. ข้อ 62 ค. ข้อ 92 ก. ข้อ 3 ง. ข้อ 33 ข. ข้อ 63 ง. ข้อ 93 ก. ข้อ 4 ง. ข้อ 34 ง. ข้อ 64 ค. ข้อ 94 ข. ข้อ 5 ง. ข้อ 35 ง. ข้อ 65 ง. ข้อ 95 ค. ข้อ 6 ก. ข้อ 36 ค. ข้อ 66 ง. ข้อ 96 ง. ข้อ 7 ก. ข้อ 37 ข. ข้อ 67 ง. ข้อ 97 ค. ข้อ 8 ก. ข้อ 38 ข. ข้อ 68 ง. ข้อ 98 ข. ข้อ 9 ข. ข้อ 39 ง. ข้อ 69 ข. ข้อ 99 ข. ข้อ 10 ข. ข้อ 40 ง. ข้อ 70 ง. ข้อ 100 ข. ข้อ 11 ข. ข้อ 41 ก. ข้อ 71 ง. ข้อ 101 ข. ข้อ 12 ข. ข้อ 42 ข. ข้อ 72 ค. ข้อ 102 ก. ข้อ 13 ข. ข้อ 43 ข. ข้อ 73 ก. ข้อ 103 ก. ข้อ 14 ข. ข้อ 44 ค. ข้อ 74 ก. ข้อ 104 ค. ข้อ 15 ง. ข้อ 45 ก. ข้อ 75 ก. ข้อ 105 ง. ข้อ 16 ง. ข้อ 46 ข. ข้อ 76 ก. ข้อ 106 ก. ข้อ 17 ง. ข้อ 47 ง. ข้อ 77 ข. ข้อ 107 ข. ข้อ 18 ง. ข้อ 48 ค. ข้อ 78 ค. ข้อ 108 ข. ข้อ 19 ง. ข้อ 49 ก. ข้อ 79 ก. ข้อ 109 ข. ข้อ 20 ง. ข้อ 50 ข. ข้อ 80 ก. ข้อ 110 ข. ข้อ 21 ก. ข้อ 51 ค. ข้อ 81 ง. ข้อ 111 ง. ข้อ 22 ก. ข้อ 52 ค. ข้อ 82 ค. ข้อ 112 ก. ข้อ 23 ง. ข้อ 53 ง. ข้อ 83 ง. ข้อ 113 ก. ข้อ 24 ง. ข้อ 54 ง. ข้อ 84 ง. ข้อ 114 ก. ข้อ 25 ง. ข้อ 55 ก. ข้อ 85 ง. ข้อ 115 ก. ข้อ 26 ง. ข้อ 56 ค. ข้อ 86 ก. ข้อ 116 ข. ข้อ 27 ข. ข้อ 57 ค. ข้อ 87 ข. ข้อ 117 ง. ข้อ 28 ง. ข้อ 58 ข. ข้อ 88 ค. ข้อ 118 ก. ข้อ 29 ง. ข้อ 59 ข. ข้อ 89 ก. ข้อ 119 ค. ข้อ 30 ก. ข้อ 60 ง. ข้อ 90 ง. ข้อ 120 ค.

ข้อ121. ง. ข้อ122. ข. ข้อ123. ค. ข้อ124. ง. ข้อ125. ก. ข้อ126. ง. ข้อ127. ก. ข้อ128. ข. ข้อ129. ค. ข้อ130 ข. ข้อ131. ก. ข้อ132. ง. ข้อ133. ข. ข้อ134. ค. ข้อ135. ก.

แนวข้อสอบ พระราชบญั ญตั กิ องทุนหมู่บ้านและชุมชนเมอื งแห่งชาติ 1. กองทุนหม่บู า้ น หมายความวา่ ขอ้ ใดกล่าวถกู ตอ้ งท่ีสุด ก. กองทุนหมู่บา้ น ข. กองทุนชุมชนเมือง ค. กองทุนตาบล ง. กองทุนชุมชนเมือง กองทุนหมู่บา้ น 2. ชุมชนเมือง ไม่ไดห้ มายความถึงขอ้ ใดต่อไปน้ี ก. กรุงเทพมหานคร ข. ชุมชนในเขตเทศบาล ค. เมืองพทั ยา ง. ชุมชนในเขตองคก์ ารบริหารส่วนตาบล 3. ใครเป็นผรู้ ักษาการตามพระราชบญั ญตั ิกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ ก. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย ข. ปลดั กระทรวงมหาดไทย ค. อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถิ่น ง. นายกรัฐมนตรี 4. ใครมีอานาจออกประกาศและระเบียบเพอ่ื ปฏิบตั ิการตามพระราชบญั ญตั ิกองทุนหมู่บา้ นและ ชุมชนเมือง แห่งชาติ ก. นายกรัฐมนตรี ข. รองนายกรัฐมนตรีที่รับมอบหมาย ค. อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถิ่น ง. ปลดั กระทรวงมหาดไทย 5. กองทุนหม่บู า้ นที่จดทะเบียนมีฐานะอยา่ งไร ก. บริษทั ข. SME ค. สหกรณ์ ง. นิติบุคคล

6. วตั ถุประสงคข์ องกองทุนหมู่บา้ นหรือกองทุนชุมชนเมือง ที่จดทะเบียนขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกตอ้ ง ก. เพอื่ พฒั นาองคค์ วามรู้ คุณภาพชีวติ สวสั ดิภาพ และสวสั ดิการของสมาชิกหรือประชาชนในหม่บู า้ นหรือ ชุมชนเมือง ข. ใหก้ ยู้ มื เงินแก่กองทุนหม่บู า้ นอื่น เพ่ือประโยชนใ์ นการสร้างความเขม้ แขง็ ใหแ้ ก่เศรษฐกิจของ หมู่บา้ นหรือ ชุมชนเมือง ค. รับฝากเงินจากสมาชิกและจดั หาทุนจากแหล่งเงินทุนอื่น เพ่อื ดาเนินการตามวตั ถุประสงค์ ง. เป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวยี นเพ่อื บรรเทาความเดือนร้อนเร่งด่วนสาหรับประชาชนโดยไม่มีดอกเบ้ีย 7. ทุนหรือทรัพยส์ ินในการดาเนินการของกองทุนหมู่บา้ น ประกอบดว้ ย ขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกตอ้ ง ก. ดอกผล รายได้ หรือผลประโยชน์ที่เกิดจากเงินหรือทรัพยส์ ินของกองทุนหม่บู า้ น ข. เงินหรือทรัพยส์ ินท่ีกองทุนหมู่บา้ นไดร้ ับบริจาคโดยปราศจากเงื่อนไขหรือขอ้ ผกู พนั ใดๆ ค. เงินอุดหนุนจากรัฐบาล ง. เงินอุดหนุนจากภาคเอกชน 8.ขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกตอ้ งเกี่ยวกบั กองทุนและชุมชนเมืองแห่งชาติ ก. มีฐานะเป็นนิติบุคคล ข. เป็นหน่วยงานของรัฐ ค. มีวตั ถุประสงคเ์ พื่อสนบั สนุนการเสริมสร้างกระบวนการพ่ึงพาตนเองของหมู่บา้ นหรือชุมชนเมือง ง. เป็นผจู้ ดั หาแหล่งเงินทุนและประสานงานในการกยู้ มื เงินระหวา่ งประชาชน 9. กรรมการกองทุนหมู่บา้ น ตอ้ งเป็นผทู้ ี่มีคุณสมบตั ิและไม่มีลกั ษณะตอ้ งหา้ มตามระเบียบท่ี คณะกรรมการ กาหนด และใหค้ านึงถึงเรื่องใด ก. ชายหญิงมีจานวนเท่ากนั ข. ชายมากวา่ หญิง ค. หญิงมากกวา่ ชาย ง. ชายและหญิงในสัดส่วนท่ีใกลเ้ คียงกนั 10. คณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ น มีอานาจหนา้ ที่ต่อไปน้ี ขอ้ ใดกล่าวไม่ถกู ตอ้ ง ก. พิจารณาเงินกยู้ มื ใหแ้ ก่สมาชิก ข. สารวจ และจดั ทาขอ้ มลู เกี่ยวกบั การประกอบอาชีพ ค. ทานิติกรรม สัญญา หรือดาเนินการเกี่ยวกบั ภาระผกู พนั ของกองทุนหมู่บา้ น

ง. รับสมาชิกและจดั ทาทะเบียนสมาชิกและใหส้ มาชิกพน้ จากการเป็นสมาชิก 11. ในกรณีที่มีการเลิกกองทุนหม่บู า้ น บรรดากิจการ ทรัพยส์ ิน สิทธิ และหน้ีสินของกองทุน หมู่บา้ นน้นั ให้ เป็นไปตามขอ้ ใด ก. ตกเป็นของกองทุนหมู่บา้ นอื่นหรือหมู่บา้ นใกลเ้ คียง ข. ตกเป็นของสานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอ ค. ตกเป็นของแผน่ ดิน ง. ตกเป็นของกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกาหนด 12. คณะกรรมการ หมายความวา่ อยา่ งไร ขอ้ ใดกล่าวถกู ตอ้ งที่สุด ก. คณะกรรมการหม่บู า้ น ข. คณะกรรมการชุมชนเมือง ค. คณะกรรมการกองทุนหม่บู า้ น และคณะกรรมการหมู่บา้ น ง. คณะกรรมการกองทุนชุมชนเมืองแห่งชาติและคณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ น 13. วตั ถุประสงคข์ องการจดั ต้งั กองทุนหม่บู า้ น ขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกตอ้ ง ก. รับฝากเงินจากประชาชนและจดั ทุนจากแหล่งเงินกอู้ ื่น ข. ใหก้ ยู้ มื เงินกองทุนหมู่บา้ นอ่ืน เพอ่ื ประโยชนใ์ นการสรางความเขม้ แขง็ ใหแ้ ก่เศรษฐกิจชุมชนเมือง ค. เป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวยี นสาหรับการลงทุนเพ่ือพฒั นาอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ เพิ่มรายได้ และลดรายจ่าย ง. เป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวยี นเพอ่ื บรรเทาความเดือนร้อนเร่งด่วนสาหรับประชาชนในหม่บู า้ น 14. ใครเป็นผมู้ ีหนา้ ที่ยนื่ จดทะเบียนกองทุนหมู่บา้ นต่อนายทะเบียนกองทุนหมู่บา้ นตามที่ คณะกรรมการ กาหนด ก. กาน้นั ข. ผใู้ หญ่บา้ น ค. ประธานชุมชนในหม่บู า้ น ง. คณะผจู้ ดั ต้งั กองทุนหมู่บา้ น 15. กิจการของกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ ไม่อยใู่ นบงั คบั แห่งกฎหมายใด ก. กฎหมายวา่ ดว้ ยประกนั สงั คม ข. กฎหมายวา่ ดว้ ยเงินทดแทน ค. กฎหมายวา่ ดว้ ยแรงงานสมั พนั ธ์

ง. ไม่มีขอ้ ใดกล่าวถูกตอ้ ง 16. ขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกตอ้ งกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ ก. ไม่เป็นส่วนราชกการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยวธิ ีการงบประมาณ ข. ไม่เป็นรัฐวสิ าหกิจตามกฎหมายวา่ ดว้ ยวธิ ีการงบประมาณ ค. กิจการของกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ ไม่อยใู่ นบงั คบั แห่งกฎมายวา่ ดว้ ยการคุม้ ครอง แรงงาน ง. เป็นหน่วยงานของรัฐ มีฐานะเป็นนิติบุคคล 17. เงินของกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ ส่วนที่ยงั มิไดจ้ ดั สรรใหแ้ ก่กองทุนหมู่บา้ นจะ ดาเนินการอยา่ งไร ก. นาฝากธนาคาร ข. นาหาผลประโยชน์ ค. ซ้ือหลกั ทรัพยข์ องรัฐบาล ง. ใหส้ ่วนราชการอื่นยมื ไปทดรองจ่าย 18. คณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ เรียกโดยยอ่ วา่ อยา่ งไร ก. กทบ. ข..ก.ท.บ. ค. กท.บ. ง.ก.ทบ. 19. ใครเป็นประธานกรรมการ ของคณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ ก. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลงั ข. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย ค. ปลดั กระทรวงมหาดไทย ง. นายกรัฐมนตรี 20. ใครเป็นรองประธานกรรมกรรมการ คนท่ี 1 คณะกรรมการกองทุนหม่บู า้ นและชุมชนเมือง แห่งชาติ ก. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย ข. ปลดั กระทรวงมหาดไทย ค. อธิบดีกรมการพฒั นาชุมชน ง. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลงั

21. ใครเป็นรองประธานกรรมกรรมการ คนท่ี 2 คณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมือง แห่งชาติ ก. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย ข. ปลดั กระทรวงมหาดไทย ค. อธิบดีกรมการพฒั นาชุมชน ง. อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถิ่น 22. พระราชบญั ญตั ิกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. 2547 มีผลบงั คบั ใชเ้ มื่อใด ก. วนั ท่ี 30 ธนั วาคม 2547 ข. วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2547 ค. วนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตน้ ไป ง. วนั ท่ีนายกรัฐมนตรีรับสนองพระบรมราชโองการ 23. พระราชบญั ญตั ิกองทุนหม่บู า้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. 2547 อาศยั ตามกฎหมายในการตราข้ึน ก. พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผน่ ดิน ข. พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ค. พ.ร.บ.วธิ ีการงบประมาณ ง. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย 24. พระราชบญั ญตั ิกองทุนหม่บู า้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. 2547 ตราข้นึ โดย ก. คาแนะนาของสภาผแู้ ทนราษฎร ข. คาแนะนาของวฒุ ิสภา ค. คาแนะนาของรัฐสภา ง. คาแนะนาและยนิ ยอมของรัฐสภา 25. ตาแหน่งใดต่อไปน้ี ไม่ไดเ้ ป็นกรรมการโดยตาแหน่งของคณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นและ ชุมชนเมือง แห่งชาติ ก. เลขาธิการนายรัฐมนตรี ข. อธิบดีกรมการพฒั นาชุมชน ค. อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถิ่น ง. ผอู้ านวยการสานกั งบประมาณ 26. ผทู้ รงคุณวฒุ ิของคณะกรรมการกองทุนหม่บู า้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ ซ่ึงมาจากผแู้ ทน กรรมการ กองทุนหมู่บา้ นจานวนก่ีคน

ก. 5 คน ข.6 คน ค. 12 คน ง. 14 คน 27. กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิของคณะกรรมการกองทุนหม่บู า้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ มีวาระ อยา่ งไร ขอ้ ใด กล่าวถกู ตอ้ งที่สุด ก. 2 ปี ข. 4 ปี ค. 2 ปี และอาจไดร้ ับแต่งต้งั อีกได้ แต่ไม่เกินสองวาระติดต่อกนั ง. 2 ปี และอาจไดร้ ับแต่งต้งั อีกได้ 28. ประธานกรรมการแต่งต้งั กรรมการผทู้ รงคุณวุฒิของคณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นและชุมชน เมือง แห่งชาติ ตามหลกั เกณฑว์ ธิ ีการใด ก. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยประกาศกาหนด ข. รัฐมนตรีประกาศกาหนด ค. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลงั ประกาศกาหนด ง. ปลดั กระทรวงมหาดไทยประกาศกาหนด 29. ประธานกรรมการแต่งต้งั กรรมการผทู้ รงคุณวุฒิของคณะกรรมการกองทุนหม่บู า้ นและชุมชน เมือง แห่งชาติ ตามหลกั เกณฑว์ ธิ ีการใด ก. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยประกาศกาหนด ข. รัฐมนตรีประกาศกาหนด ค. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลงั ประกาศกาหนด ง. ปลดั กระทรวงมหาดไทยประกาศกาหนด 30. กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิของคณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ พน้ จาก ตาแหน่งเม่ือ ขอ้ ใดกล่าวไม่ถกู ตอ้ ง ก. ลาออก ข. นายกรัฐมนตรีใหอ้ อก ค. เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ ง. ไดร้ ับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดใหจ้ าคุก

31. คณะกรรมการกองทุนหม่บู า้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ มีอานาจหนา้ ที่ดงั น้ี ขอ้ ใดกล่าวไม่ ถกู ตอ้ ง ก. กาหนดนโยบาย และแนวทางการบริหารกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติและสานกั งาน ข. ออกระเบียบเก่ียวกบั หลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเง่ือนไขในการจดั ต้งั และจดทะเบียนกองทุนหมู่บา้ น ค. ออกระเบียบเกี่ยวกบั คุณสมบตั ิและลกั ษณะตอ้ งหา้ มของสมาชิก ง. รายงานผลการดาเนินการ ปัญหาและอุปสรรค ใหน้ ายกรัฐมนตรีทราบอยา่ งนอ้ ยปี ละ 1 คร้ัง 32. คณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ มีอานาจหนา้ ท่ีดงั น้ี ขอ้ ใดกล่าวไม่ ถูกตอ้ ง ก. กาหนดนโยบาย และแนวทางการบริหารกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติและสานกั งาน ข. ออกระเบียบเก่ียวกบั หลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเง่ือนไขในการจดั ต้งั และจดทะเบียนกองทุนหมู่บา้ น ค. ออกระเบียบเกี่ยวกบั คุณสมบตั ิและลกั ษณะตอ้ งหา้ มของสมาชิก ง. รายงานผลการดาเนินการ ปัญหาและอุปสรรค ใหน้ ายกรัฐมนตรีทราบอยา่ งนอ้ ยปี ละ 1 คร้ัง 33. หากการดาเนินการของคณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ มีปัญหาและ อุปสรรค จะตอ้ งรายงานต่อใคร ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลงั ค. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย ง. คณะรัฐมนตรี 34. การติดตามผลและประเมินผลการดาเนินการของคณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นแลว้ รายงาน ต่อใคร ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลงั ค. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย ง. คณะรัฐมนตรี 35. ขอ้ ใดไม่เป็นอานาจของคณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ ก. จดั หาเงินทุนของกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ และจดั สรรเงินใหแ้ ก่กองทุนหมู่บา้ น ข. ออกระเบียบเกี่ยวกบั หลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงื่อนไขในการจดั ต้งั และจดทะเบียนกองทุนหมู่บา้ น ค. ออกระเบียบเก่ียวกบั การประชุมของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทางาน ง. จดั ทางบการเงินของกองทุนหม่บู า้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติใหร้ ัฐสภาทราบอยา่ งนอ้ ยปี ละ 1 คร้ัง 36. ท่ีปรึกษาของคณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติอาจไดร้ ับค่าตอบแทน ตามระเบียบ ที่คณะกรรมการกาหนด โดยไดร้ ับความเห็นชอบจากใคร

ก. คณะรัฐมนตรี ข. รัฐสภา ค. วฒุ ิสภา ง. กระทรวงการคลงั 37. ที่ปรึกษาของคณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติอาจไดร้ ับค่าตอบแทน ตามระเบียบ ท่ีคณะกรรมการกาหนด โดยไดร้ ับความเห็นชอบจากใคร ก. คณะรัฐมนตรี ข. รัฐสภา ค. วฒุ ิสภา ง. กระทรวงการคลงั 38. กองทุนหม่บู า้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ มีสานกั งานใหญ่ เรียกวา่ “สานกั งานกองทุนหม่บู า้ น และชุมชน เมืองแห่งชาติ” เรียกโดยยอ่ วา่ ก. สกบช. ข. กทบ. ค. กบมช. ง. สทบ. 39. สานกั งานกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ มีอานาจหนา้ ท่ีดงั น้ี ยกเวน้ ก. รายงานผลการปฏิบตั ิงานประจาปี ของสานกั งานต่อคณะรัฐมนตรี ข. ติดตามและประเมินผลการดาเนินการของคณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นหรือคณะกรรมการ กองทุนชุมชนเมือง ค. เป็นสานกั งานเลขานุการของคณะกรรมการกองทุนหม่บู า้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ ง. ดาเนินการหรือมอบหมายใหห้ น่วยงานอ่ืนๆ ดาเนินการในส่วนที่เก่ียวขอ้ งกบั กองทุนหมู่บา้ นและรายงานผล ต่อคณะกรรมการ 40. ใครเป็นนายทะเบียนกองทุนหมู่บา้ น ขอ้ ใดกล่าวถูกตอ้ ง ก. อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถ่ิน ข. อธิบดีกรมการพฒั นาชุมชน ค. นายอาเภอ ง. ผอู้ านวยการสานกั งานกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ

41. ใครผบู้ งั คบั บญั ชาพนกั งานลกู จา้ ง และรับผดิ ชอบการบริหารกิจการของสานกั งานกองทุน หมู่บา้ นและ ชุมชนเมืองแห่งชาติ ก. ผอู้ านวยการสานกั งานกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ ข. นายกรัฐมนตรี ค. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลงั ง. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย 42. สานกั งานกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติจดั ทางบการเงินแสดงฐานะการเงินและ รายงาน แสดงผลการปฏิบตั ิงานของกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ ภายในกี่วนั ขอ้ ใด กล่าวถูกตอ้ งท่ีสุด ก. 30 วนั นบั แต่วนั สิ้นปี งบประมาณ ข. 30 วนั นบั แต่วนั สิ้นปี บญั ชี ค. 90 วนั นบั แต่วนั สิ้นปี งบประมาณ ง. 120 วนั นบั แต่วนั สิ้นปี บญั ชี 43. ใหม้ ีการตรวจสอบภายในเกี่ยวกบั การเงิน การบญั ชี และการพสั ดุของกองทุนหมู่บา้ นและ ชุมชนเมือง แห่งชาติแลว้ รายงานผลการตรวจสอบใหค้ ณะกรรมการทราบอยา่ งนอ้ ยปี ละเท่าใด ก. 1 คร้ัง ข. 2 คร้ัง ค. ทุกไตรมาส ง. ทุก 3 เดือน 44. การปิ ดบญั ชีกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติใหก้ ระทาปี ละเท่าใด ก. 1 คร้ังตามรอบปี บญั ชี ข. 1 คร้ังตามรอบปี งบประมาณ ค. 2 คร้ังตามรอบปี บญั ชี ง. 2 คร้ังตามรอบปี งบประมาณ 45. การปิ ดบญั ชีกองทุนหม่บู า้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติใหจ้ ดั ส่งงบใหก้ บั หน่วยงานใด ภายใน 120 วนั ก. คณะรัฐมนตรี ข. กรมบญั ชีกลาง ค. กระทรวงการคลงั ง. สานกั งานตรวจเงินแผน่ ดิน

46. ใคร มีอานาจหนา้ ที่กากบั ดูแลกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติโดยทว่ั ไป ก. คณะรัฐมนตรี ข. กรมบญั ชีกลาง ค. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลงั ง. นายกรัฐมนตรี 47. ในกรณีเห็นวา่ กองทุนหม่บู า้ น ดาเนินจดั การกองทุนหม่บู า้ นในลกั ษณะท่ีอาจเป็นเหตุใหเ้ กิด ความ เสียหายแก่กองทุนหมู่บา้ น หรือไม่ปฏิบตั ิตามประกาศ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั หรือคาส่ัง ใหใ้ คร เป็นผสู้ ง่ั ระงบั การจ่ายเงินของกองทุนหมู่บา้ น ก. คณะรัฐมนตรี ข. ผอู้ านวยการสานกั งานกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ ค. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลงั ง. ผอู้ านวยการสานกั งบประมาณ 48. ในกรณีกองทุนหม่บู า้ น ไม่เห็นดว้ ยกบั การระงบั การจ่ายเงินของกองทุนหม่บู า้ น ใหม้ ีสิทธิ อุทธรณ์ต่อ ใคร ก. คณะรัฐมนตรี ข. ผอู้ านวยการสานกั งานกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ ค. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลงั ง. คณะกรรมการกองทุนหม่บู า้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ 49. ในกรณีกองทุนหม่บู า้ น ไม่เห็นดว้ ยกบั การระงบั การจ่ายเงินของกองทุนหม่บู า้ น ใหม้ ีสิทธิ อุทธรณ์ ภายในกี่วนั นบั แต่ไดร้ ับคาส่ัง ก. 7 วนั ข. 15 ค. 30 วนั ง. 60 วนั 50. เม่ือมีไดก้ ารจดั ต้งั กองทุนหม่บู า้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติตามพระราชบญั ญตั ิกองทุนหมู่บา้ น และ ชุมชนเมืองใหห้ น่วยงานยตุ ิดาเนินการ และใหโ้ อนบรรดากิจการ ทรัพยส์ ิน หน้ี เงิน งบประมาณ รายไดแ้ ละ ลูกจา้ งของกองทุน ก. กองทุนหมู่บา้ น (เอกชน)

ข. กองทุนหมู่บา้ น (รัฐวสิ าหกิจ) ค. กองทุนหม่บู า้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ (ภาครัฐ) ง. กองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) 51. ใครเป็นกรรมการและเลขานุการคณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ ก. ปลดั กระทรวงมหาดไทย ข. ผอู้ านวยการสานกั งานกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ ค. ผอู้ านวยการสานกั งบประมาณ ง. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี 52. ใครเป็นผรู้ ับสนองพระบรมราชโองการ พระราชบญั ญตั ิกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมือง แห่งชาติ ก. นายชวน หลีกภยั ข. พนั ตารวจโท ทกั ษิณ ชินวตั ร ค. พลเอก ชวลิต ยงใจยทุ ธ ง. พลเอก สุรยทุ ธ์ จุลานนท์

ขอ้ 1 ง. ขอ้ 19 ง. ขอ้ 37 ง. ขอ้ 2 ง. ขอ้ 20 ง. ขอ้ 38 ง. ขอ้ 3 ง. ขอ้ 21 ก. ขอ้ 39 ก. ขอ้ 4 ก. ขอ้ 22 ข. ขอ้ 40 ง. ขอ้ 5 ง. ขอ้ 23 ง. ขอ้ 41 ก. ขอ้ 6 ง. ขอ้ 24 ง. ขอ้ 42 ง. ขอ้ 7 ง. ขอ้ 25 ค. ขอ้ 43 ก. ขอ้ 8 ง. ขอ้ 26 ง. ขอ้ 44 ข. ขอ้ 9 ง. ขอ้ 27 ค. ขอ้ 45 ง. ขอ้ 10 ง. ขอ้ 28 ข. ขอ้ 46 ง. ขอ้ 11 ง. ขอ้ 29 ข. ขอ้ 47 ข. ขอ้ 12 ง. ขอ้ 30 ข. ขอ้ 48 ง. ขอ้ 13 ก. ขอ้ 31 ง. ขอ้ 49 ง. ขอ้ 14 ง. ขอ้ 32 ง. ขอ้ 50 ง. ขอ้ 15 ง. ขอ้ 33 ง. ขอ้ 51 ข. ขอ้ 16 ง. ขอ้ 34 ง. ขอ้ 52 ข. ขอ้ 17 ง. ขอ้ 35 ง. ขอ้ 18 ก. ขอ้ 36 ง.

แนวข้อสอบ พระราชบญั ญัตผิ ู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และแก้ไขเพมิ่ เติม 1. พระราชบญั ญตั ิน้ีใหใ้ ชบ้ งั คบั ต้งั แต่วนั ...............ในราชกิจจานุเบกษาเป็นตน้ ไป ก.วนั ประกาศ ข.พน้ 7 วนั ประกาศ ค.พน้ 15 วนั ประกาศ ง.ถดั จากวนั ประกาศ ตอบ ง.ถดั จากวนั ประกาศ มาตรา ๒ พระราชบญั ญตั ิน้ีใหใ้ ชบ้ งั คบั ต้งั แต่วนั ถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตน้ ไป 2. “ผสู้ ูงอาย”ุ หมายความวา่ ก.บุคคลซ่ึงมีอายเุ กินหา้ สิบหา้ ปี บริบูรณ์ข้ึนไปและมีสัญชาติไทย ข.บุคคลซ่ึงมีอายเุ กินหกสิบปี บริบูรณ์ข้ึนไปและมีสัญชาติไทย ค.บุคคลซ่ึงมีอายเุ กินหกสิบหา้ ปี บริบรู ณ์ข้ึนไปและมีสัญชาติไทย ง.บุคคลซ่ึงมีอายเุ กินเจด็ สิบปี บริบูรณ์ข้ึนไปและมีสัญชาติไทย ตอบ. ข.บุคคลซ่ึงมีอายเุ กินหกสิบปี บริบูรณ์ข้ึนไปและมีสญั ชาติไทย มาตรา ๓ ในพระราชบญั ญตั ิน้ี “ผสู้ ูงอาย”ุ หมายความวา่ บุคคลซ่ึงมีอายเุ กินหกสิบปี บริบรู ณ์ข้ึนไปและมีสัญชาติไทย 3. “กองทุน” หมายความวา่ ก.กองทุนพฒั นาผสู้ ูงอายุ ข.กองทุนส่งเสริมผสู้ ูงอายุ ค.กองทุนผสู้ ูงอายุ ง.กองทุนผคู้ นชรา ตอบ ค.กองทุนผสู้ ูงอายุ มาตรา ๓ ในพระราชบญั ญตั ิน้ี “กองทุน” หมายความวา่ กองทุนผสู้ ูงอายุ 4. “คณะกรรมการ” หมายความวา่

ก. คณะกรรมการผสู้ ูงอายแุ ห่งชาติ ข. คณะกรรมการผสู้ ูงอายุ ค.คณะกรรมการส่งเสริมผสู้ ูงอายุ ง.คณะกรรมการพฒั นาผสู้ ูงอายุ ตอบ ก. ก. คณะกรรมการผสู้ ูงอายแุ ห่งชาติ มาตรา ๓ ในพระราชบญั ญตั ิน้ี “คณะกรรมการ” หมายความวา่ คณะกรรมการผสู้ ูงอายแุ ห่งชาติ 5. ใหม้ ีคณะกรรมการผสู้ ูงอายแุ ห่งชาติ เรียกโดยยอ่ วา่ ก.กผส. ข.ก.ผส. ค.กผ.ส. ง.ก.ผ.ส. ตอบ ก. กผส. มาตรา ๔ ใหม้ ีคณะกรรมการผสู้ ูงอายแุ ห่งชาติ เรียกโดยยอ่ วา่ “กผส.” 6.คณะกรรมการผสู้ ูงอายแุ ห่งชาติ ผใู้ ดเป็นประธาน ก.นายกรัฐมนตรี ข.รองนายกรัฐมนตรี ค.รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์ ง.ปลดั กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์ ตอบ ก.นายกรัฐมนตรี มาตรา ๔ ใหม้ ีคณะกรรมการผสู้ ูงอายแุ ห่งชาติ เรียกโดยยอ่ วา่ “กผส.” ประกอบดว้ ย (๑) นายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ (๒) รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์ เป็นรอง ประธานกรรมการ คนที่หน่ึง

(๓) ประธานสมาคมสภาผสู้ ูงอายแุ ห่งประเทศไทยในพระราชูปถมั ภส์ มเดจ็ พระศรีนคริน ทราบรมราชชนนี เป็นรองประธานกรรมการ คนที่สอง (๔) ปลดั กระทรวงการคลงั ปลดั กระทรวงการต่างประเทศ ปลดั กระทรวงการพฒั นา สังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ ปลดั กระทรวงมหาดไทย ปลดั กระทรวงแรงงาน ปลดั กระทวง ศกึ ษาธิการ ปลดั กระทรวงสาธารณสุข ปลดั กรุงเทพมหานคร ผอู้ านวยการสานกั งบประมาณ เลขาธิการคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประธานสภาสงั คมสงเคราะห์แห่ง ประเทศไทยในพระบรมราชูปถมั ภ์ เลขาธิการสภากาชาดไทย เป็นกรรมการโดยตาแหน่ง (๕) กรรมการผทู้ รงคุณวุฒิซ่ึงคณะรัฐมนตรีแต่งต้งั จากผแู้ ทนองคก์ รเอกชนที่เกี่ยวขอ้ ง กบั งานในดา้ นการคุม้ ครอง การส่งเสริม และการสนบั สนุนสถานภาพ บทบาท และกิจกรรมของผสู้ ูงอายุ จานวนไม่เกินหา้ คน (๖) กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิซ่ึงคณะรัฐมนตรีแต่งต้งั จานวนไม่เกินหา้ คน ใหผ้ อู้ านวยการสานกั งานส่งเสริมสวสั ดิภาพและพทิ กั ษเ์ ด็ก เยาวชน ผดู้ อ้ ยโอกาส คนพิการและผสู้ ูงอายุ กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์ เป็นกรรมการและ เลขานุการ ผอู้ านวยการสานกั ส่งเสริมและพิทกั ษผ์ สู้ ูงอายุ สานกั งานส่งเสริมสวสั ดิภาพและพิทกั ษเ์ ดก็ เยาวชน ผดู้ อ้ ยโอกาส คนพกิ ารและผสู้ ูงอายุ กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษยแ์ ละ ผอู้ านวยการสถาบนั เวชศาสตร์ผสู้ ูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เป็นผชู้ ่วยเลขานุการการแต่งต้งั กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิซ่ึงเป็นผแู้ ทนองคก์ รเอกชนตาม (๕) ใหแ้ ต่งต้งั จากบุคคลซ่ึงองคก์ รเอกชนไดเ้ ลือก กนั เอง และการแต่งต้งั กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิใหแ้ ต่งต้งั จากบุคคลซ่ึงไม่เป็นขา้ ราชการท่ีมีตาแหน่งหรือ เงินเดือนประจา พนกั งานหรือลูกจา้ งของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐรัฐวสิ าหกิจ ราชการส่วนทอ้ งถ่ิน หรือองคก์ รอ่ืนของรัฐ เวน้ แต่เป็นผสู้ อนในสถาบนั อุดมศกึ ษาของรัฐหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการในการเลือกและ การพน้ จากตาแหน่งของผแู้ ทนองคก์ รเอกชนใหเ้ ป็นไปตามระเบียบที่รัฐมนตรีกาหนด ท้งั น้ี โดยใหก้ รรมการ ตาม (๑) (๒) (๓) (๔) และ (๕)ดาเนินการสรรหาและพจิ ารณาคดั เลือกผทู้ รงคุณวฒุ ิเสนอใหค้ ณะรัฐมนตรี แต่งต้งั เป็นกรรมการตาม (๖) 7. กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิซ่ึงคณะรัฐมนตรีแต่งต้งั มีวาระอยใู่ นตาแหน่งคราวละ.....นบั แต่วนั ท่ีไดร้ ับแต่งต้งั และอาจไดร้ ับแต่งต้งั อีกได้ แต่ตอ้ งไม่เกิน.....วาระตดิ ต่อกนั ก. 4 - 2 ข. 4 – 3


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook