Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตำบลจอมประทัด อำเภอวัดเพลง จังหวัดราชบุรี

ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตำบลจอมประทัด อำเภอวัดเพลง จังหวัดราชบุรี

Description: ในปัจจุบันเมืองไทยเราได้กลายเป็นประเทศเปิดที่รับเอาความรู้และเทคโนโลยีของต่างชาติเข้ามาอย่างมากมาย ทำให้ไทยกลายเป็นประเทศที่มีความเจริญทางด้านเทคโนโลยี จากผลของการรับเอาวัฒนธรรมของชาติอื่นมานี้เอง ทำให้ประเทศของเรา ชุมชนของเรานึกถึงความสำคัญของภูมิปัญญาชาวบ้าน และเทคโนโลยีในท้องถิ่นอันดี ที่เคยสืบทอดกันมาช้านาน ปัจจุบัน วิถีชีวิตแบบ

Search

Read the Text Version

คำนำ ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นสิ่งที่บรรพบุรุษของไทยสร้างสมมาเป็นระยะเวลายาวนาน และเป็นสิ่งมีคุณค่ายิ่งที่ ชุมชนรุ่นหลังควรอนุรักษ์และสืบสานต่อไป ภูมิปัญญาส่วนใหญ่จะเชื่อมโยงสู่การนำมาใช้ประโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องถิ่น เช่น การทำบายศรี การเลี้ยงวัวลาน การทำสวนเตียน เป็นต้น ซึ่งเป็นภูมิ ปัญญาท้องถิ่นที่ตำบลจอมประทัดเป็นภูมิปัญญาที่ทรงคุณค่าแก่การจั ดเก็บเป็นE-bookและอนุรักษ์ภูมิปัญญา ท้องถน่ิ ท่สี ำคญั และมปี ระโยชนไ์ วไ้ มใ่ หส้ ูญหายไปจากชมุ ชน ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ U2T ตำบลจอมประทัด

สารบัญ เรื่อง หนา้ ภมู ิปญั ญาน้ำตาลมะม้าว 4 วัวลาน 30 ภูมปิ ญั ญาสวนเตียน 54 ภมู ิปัญญาการทำนาข้าว 79 ภูมิปญั ญาสมุนไพร 98 บายศรี 154 ช่างตีมดี ทวิ มะพรา้ วโบราณฯ 170 ชนั โรงนกั ผสมเกสรฯ 180



ความเป็นมาน้ำตาลมะพร้าว การทำน้ำตาลมะพร้าว เป็นอาชีพที่เกิดจากภูมิปัญญาของบรรพบุรุษในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามและ จังหวัดราชบุรี ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีการปลูกมะพร้าวมาก เมื่อได้ศึกษาถึงประวัติ แหล่งที่อยู่ และการประกอบอาชีพ สามารถสันนิษฐานไดว้ ่า การทำน้ำตาลมะพรา้ วนา่ จะเป็นภมู ปิ ัญญาของชาวไทยเชื้อสายมอญ ท่ีมาต้งั รกรากอยู่ใน บริเวณเขตพื้นที่ทั้งสอง ก่อนที่ความรู้เรื่องการทำน้ำตาลมะพร้าวจะแพร่ขยายออกไปสู่ชาวไทยเชื้อสายอื่น และ จากการศึกษาเชิงสืบค้น ได้ข้อสรุปตรงกันวา่ บรรพบุรุษไทยในอดตี รูจ้ กั ธรรมชาตขิ องต้นมะพร้าวเป็นอยา่ งดี จึง ปลูกมะพรา้ วกันมากในเขตพ้ืนท่ีดังกลา่ ว ความสำคัญน้ำตาลมะพรา้ ว ปัจจุบันภาคอุตสาหกรรมได้เข้ามามบี ทบาทในชุมชนเพ่ิมมากขึ้น มีพื้นที่ในการปลกู มะพร้าวเพือ่ นำมาทำ น้ำตาลมะพร้าวลดน้อยลง เนื่องจากเกษตรกรนั้นนิยมปลูกพืชชนิดอื่นที่มีรายได้ดีกว่าการปลูกมะพร้าวและ เยาวชนรุ่นใหม่ขาดความรู้ความสามารถในการทำน้ำตาลมะพร้าว อาจทำให้ภูมิปัญญาการทำน้ำตาลมะพร้าวสูญ หายไปในอนาคต การปลูกจิตสำนึกให้คนในท้องถิ่นตระหนักถึงคุณค่าแก่นสาระและความสำคัญของภูมิปัญญา น้ำตาลมะพร้าว สร้างจิตสำนึกของความเป็นคนท้องถิ่น ที่จะต้องร่วมกันอนุรักษ์ภูมิปัญญาที่เป็นเอกลักษณ์ของ ท้องถิ่น เพ่อื เปน็ ความภมู ใิ จในชมุ ชนทอ้ งถ่ินด้วย ในตำบลจอมประทัด การทำน้ำตาลมะพร้าวกระจายอยู่ทั่วไป โดยทำไว้ประกอบอาหารกันภายใน ครัวเรือน หากเหลอื แล้วจึงนำมาจำหนา่ ย โดยแรงงานเป็นคนในครอบครวั จงึ สามารถผลิตไดป้ ระมาณ ๖๐ กโิ ลกรัม ขึ้นไป การทำน้ำตาลมะพร้าวนั้นจะแบ่งเป็น ๒ รูปแบบคือ แบบน้ำตาลก้อน และแบบน้ำตาลไซรัป ราคาน้ำตาล มะพร้าวนั้นจะมีราคาแตกต่างกันไป ราคาตั้งแต่ กิโลกรัมละ ๔๐ บาท ไปถึงกิโลกรัมละ ๑๐๐ บาท ในตำบลจอม ประทัดนน้ั มีการทำน้ำตาลมะพร้าวทั้งหมด ๙ เตา ดงั นี้ ๑. นายแหวน ศรีโชติ ๒. นางฉลอม คุม้ นาน นางสร้อยระย้า สุขานันท์ ๓. นายนาวิน พวงศริ ิ ๔. นาย หลง เปลีย่ นสีทอง ๕. นางลำไย นิติเศรษฐ ๖. นายละเอียด รุงศรี ๗. นายมาโนช ร่งุ ศรี ๘. นายประสาน ขุนทอง ๙. นางเชาวลา นาคหาญ



อุปกรณ์สำหรบั ทำน้ำตาลมะพรา้ วมีดงั นี้ ๑. มดี ปาดตาล มีดปาดตาล คือ มีดที่มีขนาดใหญ่ ยาวประมาณ ๓๐ เซนติเมตร เป็นมีดรูปทรงปลากราย สันหนา สว่ นท้ายกว้างและตัดตรง ใบมดี คมมาก ดา้ มมีดทำจากไม้เน้ือแข็ง เช่น ไมเ้ ขลงเปน็ ไม้ตน้ ขนาดกลางถึงใหญ่ ซึ่งมีมี ความเหนียวเน้ือไมไ้ ม่แตกง่าย ฝักทำจากไม้กระท้อนซึ่งมนี ้ำหนักเบาทำใหส้ ามารถพกพาสะดวก มีดปาดตาลต้อง ลับคมด้วยหินมีดโกนเนื้อละเอียดอยู่เสมอ มีดปาดตาลจะถูกเก็บในฝักคาดไว้กับเอวด้านหลังของคนปาดตาล ปัจจบุ นั มดี ปาดตาลมรี าคาแพง บางเล่มมรี าคาสงู เกิน ๑,๐๐๐ บาท ภาพที่ ๒ มดี ปาดตาล ๒. อปุ กรณ์ครอบกันแมลง เมื่อทำการปาดจั่นหรือง่วงมะพร้าวเพื่อเก็บน้ำตาล ผึ้งและชันโรงจะมาตอม ซึ่งมากินน้ำหวานจาก กระบอกรองนำ้ ตาล และบางส่วนจะตกลงในกระบอก ทำใหน้ ้ำตาลเสยี หาย เกษตรกรจงึ ใชร้ กอ่อนของมะพร้าว ซึ่ง มีลักษณะเป็นเส้นใยสีน้ำตาลอยู่บริเวณก้านใบมะพร้าว มาห่อบริเวณปากกระบอก แต่เนื่องจากรกอ่อนนั้นห่อ ลำบากจงึ เปลี่ยนเป็นถุงพลาสตกิ แทน ภาพท่ี ๓ รกอ่อนมะพร้าว ภาพที่ ๔ ครอบกนั แมลงด้วยรกอ่ออมะพร้าว

ภาพท่ี ๕ ถงุ พลาสติก ภาพที่ ๖ ครอบกันแมลงดว้ ยถุงพลาสติก ๓. อปุ กรณส์ ำหรับมดั งวงมะพร้าว ในการปาดตาลจะเรม่ิ จากการมดั งวงหรอื จนั่ มะพรา้ วให้เป็นมัด เพ่ือง่ายต่อการปาดจน่ั โดยเกษตรกรจะใช้ เชอื กกลว้ ยหรือเชือกฟาง มดั ง่วงหรอื จ่นั มะพรา้ วเป็นปลอ่ งๆเขา้ ด้วยกัน หา่ งกนั ประมาณ ๒-๓ น้วิ โดยจะเรมิ่ มดั ตัง้ แต่โคนจน่ั ถงึ ปลายดอก แต่เนอ่ื งจากเชือกกล้วยนนั้ ขาดง่ายจงึ เปล่ยี นเป็นเชอื กฟางแทน ภาพท่ี ๗ เชอื กกลว้ ย ทีม่ า http://www.taladx.com วนั ท่สี บื คน้ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๔

ภาพที่ ๘ เชือกฟาง ภาพท่ี ๙ งวงหรอื จน่ั มะพร้าวทมี่ ัดเป็นปลอ่ งๆ ๔. อปุ กรณ์สำหรับการขน้ึ ปาดตาล เป็นไม้ไผ่ป่า ลักษณะไผ่ตรงมีตาของไผ่ยาว ๓-๔ นิ้ว พาดที่ต้นมะพร้าว ในอดีตใช้มีดบากต้นมะพรา้ วเรียกว่า ตาล บาก คือการบากต้นมะพร้าวเอาไว้เพื่อจะได้ปนี ขึ้นต้นได้ง่าย โดยไม่ต้องใช้พะองในการขึน้ ตาล (ต้นมะพร้าว) ใหพ้ อเหยียบปนี ต้นมะพร้าวได้ วิธนี ้ไี มน่ ยิ มเนอื่ งจากขน้ึ ปาดตาลยากและเกดิ อบุ ตั เิ หตงุ า่ ย

ภาพที่ ๑๐ พะองไม้ไผ่ ภาพท่ี ๑๑ การบากตน้ มะพร้าว ทีม่ า https://www.bloggang.com/m/viewdiary วันที่สบื ค้น ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๔ ๕. อปุ กรณร์ ับนำ้ ตาลสด ในการรองรับนำ้ ตาลมะพร้าว เกษตรกรจะนำกระบอกรองน้ำตาลซงึ่ มีทั้งกระบอกที่ทำจากไม้ไผ่ อลมู ิเนยี ม และพลาสติ กรองนำ้ ตาลจากจ่ันมีดังน้ี

กระบอกไม้ไผ่ ต้องเปน็ ไมไ้ ผ่แก่ ลำต้นใหญ่เป็นไมไ้ ผ่ป่า การตดั ไม้ไผต่ ้องตัดเหนือข้อ ๕-๖ เซนตเิ มตร แล้ว นำไปแช่นำ้ ๑ เดือน เพือ่ ไมใ่ หไ้ ม้ไผแ่ ตก เมื่อแชน่ ้ำครบกำหนดแล้วนำมาเกลาเอาเปลือกไม้ไผ่ออก เพือ่ ให้กระบอก มีน้ำหนักเบา เวลานำไปรองน้ำตาลมะพรา้ วงวงมะพรา้ วจะไดร้ ับนำ้ หนกั ไม่มากเกินไป แต่เนื่องจากปจั จุบันไม้ไผม่ ี จำนวนนอ้ ยและหาซื้อยาก เกษตรกรจึงเปลีย่ นมาใช้กระบอกพลาสตกิ และกระบอกอลูมิเนยี มแทน ภาพท่ี ๑๒ กระบอกไม้ กระบอกอลมู เิ นยี ม ทำมาจากอลูมิเนียมรูปทรงกระไบผ่อก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ๑๒ เซนตเิ มตร ยาว ๒๔ เซนติเมตร ขนาดบรรจุ ๒ ลิตร เกษตรกรไม่นิยมใช้เนื่องจากมีราคาสูงหาซื้อได้ยาก และตัวอะลูมิเนียม นำความ ร้อนง่ายทำใหง้ วงไหมแ้ ละนำ้ ตาลออกน้อย ภาพที่ ๑๓ กระบอกอลูมิเนียม กระบอกพลาสติก ทำจากพลาสติกรูปทรงกระบอก ขึ้นรูปจากบล็อค เส้นผ่านศูนย์กลาง 12 เซนติเมตร ยาว ๒๔ เซนติเมตร ขนาด บรรจุ ๒ ลิตร เกษตรกรนยิ มใช้ เน่อื งจากราคาถูก มีนำ้ หนกเบา เก็บรักษางา่ ย และทน ความร้อน

ภาพที่ ๑๔ กระบอกพลาสติก เทคนคิ การฆ่าเชื้อโรคในกระบอกสามารถทำไดโ้ ดยต้มในน้ำรอ้ นใหเ้ ดือด ตกั นำ้ เดือดเทใสก่ ระบอกทิ้งไว้ ๑ นาทแี ลว้ เทน้ำร้อนออก และนำกระบอกมานอนเรียงกนั เปน็ ชน้ั ๆ ภาพที่ ๑๕ ลวกกระบอก

ภาพท่ี ๑๖ การตากกระบอกตาล ๖. วัสดุถนอมและรกั ษาคุณภาพของนำ้ ตาล การเก็บน้ำตาลต้องเก็บในช่วงเช้า โดยเกษตรกรจะนำกระบอกที่ใส่ไม้พะยอมไว้ ไปแขวนไว้ตั้งแต่ชว่ งเชา้ และจะกลับมาเก็บในช่วงเย็น เพื่อให้น้ำตาลไม่เน่าเสีย เกษตรกรจึงนำไม้พะยอมที่อายุ ๑๐ ปีขึ้นไป มาใส่ลงใน กระบอก เดิมนั้นใชเ้ ปลือกพะยอม ปัจจบุ ันใชเ้ นื้อสบั เปน็ ช้ินเล็ก ๆ ใสใ่ นกระบอกรองนำ้ ตาล กอ่ นนำไปรองน้ำตาล สด ไม้พะยอมจะช่วยป้องกนั แบคทีเรีย ท่จี ะทำใหน้ ำ้ ตาลบดู ปรมิ าณของเศษไม้พะยอมท่ีใชจ้ ะต้องไม่มากหรือน้อย เกนิ ไป ถา้ ใสม่ ากเกินไป จะทำให้นำ้ ตาลมะพรา้ วฝาดและรสชาติขม หากใสน่ อ้ ยเกนิ ไป จะทำใหน้ ำ้ ตาลเนา่ เสีย เม่อื มนี ้ำตาลมะพร้าวอยใู่ นกระบอก พะยอมจะจมอยู่กน้ กระบอก ภาพที่ ๑๒ ไม้พะยอม

อุปกรณส์ ำหรับเคยี่ วนำ้ ตาลมดี ังนี้ ๑. กระทะ กระทะสำหรับเคี่ยวน้ำตาล จะมีหลายขนาดแตกต่างกัน ขนาดมาตรฐานตามขนาดของเตาจะอยู่ที่ ประมาณ ๗๕-๙๐ เซนติเมตร มหี ูจบั หรอื ไม่มกี ไ็ ด้ ในอดีตทำจากเหล็กล้วน ปจั จุบนั เปน็ เหลก็ ผสมน้ำหนกั เบา ก่อน การเคย่ี วนำ้ ตาล เกษตรกรจะต้มน้ำเปล่า และใช้ผา้ ชบุ น้ำอุ่นทำความสะอาดกระทะ และหลังจากการเค่ียวน้ำตาล ให้ใสน่ ้ำเปล่าท้งิ ไว้บนกระทะเพ่ือไม่ให้กระทะไหม้ ภาพท่ี ๑๓ กระทะ ๒. ไมว้ นี ้ำตาล (ลวดกระทุ้งน้ำตาล) ไมว้ นี ำ้ ตาลเป็นไม้กระแทกนำ้ ตาล เพือ่ ใหน้ ำ้ ตาลเยน็ เรว็ มลี ักษณะเปน็ เสน้ ลวดยาวกลมใหญ่ขดเป็น วงกลมเสน้ ผ่านศูนย์กลาง ๑๘ เซนติเมตร ด้ามไม้มีนำ้ หนักเบาและแขง็ เช่น ไมจ้ ำปา นำ้ หนกั รวม ๒.๕ กิโลกรมั ความยาว ๑๒๐ เซนติเมตร การเกบ็ รกั ษาทำความสะอาดและแขวนไวเ้ ปน็ แนวต้งั ในทแ่ี ห้งป้องกันการเกดิ สนมิ

ภาพท่ี ๑๔ ไมว้ ีนำ้ ตาลมะพรา้ ว ๓. กระชอน นำ้ ตาลทเ่ี ก็บได้ในกระบอกน้ันจะมีท้ังเศษไม้พะยอม, มด, ผึง้ หรอื แมลงต่างๆปนอยู่ในกระบอก ในอดีตใช้ ไม้ไผ่ถักและผ้าขาวบางในการกรอง แต่ในปัจจุบันใช้กระชอนกรองแทน น้ำตาลที่ได้หลังจากผ่านกระชอนจะมี ลกั ษณะใสขึน้ ภาพท่ี ๑๕ กระชอน

๔. กง กง รูปทรงกระบอก ใช้เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำตาลล้นขณะเคี่ยวตาล จะสานด้วยหวาย ในปัจจุบันนิยมใช้ เป็นสแตนเลส เนื่องจากอายกุ ารใช้งานทีย่ าวนานกวา่ กงหวาย ขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลาง ๖๕ เซนตเิ มตร ภาพที่ ๑๖ กงสานดว้ ยหวาย ภาพที่ ๑๗ กงสแตนเลส ๕. เตาตาล เตาตาลมีลกั ษณะเปน็ แถวตรง กอ่ ดว้ ยอฐิ แดง ฉาบดว้ ยปนู ขัดมันเพ่ือสะดวกต่อการทำความสะอาด มี ขนาดกว้าง ๑๑๐ เซนตเิ มตร ยาว ๕๐๐ เมตร สงู ๕๐๐ เซนติเมตร ซ่ึงแตล่ ะโรงตาลมสี ัดสว่ นแตกตา่ งกันไป ภาพที่ ๑๘ เตาตาล ส่วนที่จุดไฟ ภาพท่ี ๑๙ เตาตาล ส่วนทีต่ ้งั กระทะ

ภาพท่ี ๑๙ เตาตาล ๖. เชอ้ื เพลงิ ในการเคี่ยวน้ำตาล เกษตรกรมักใช้วัสดุเหลือใช้ในชุมชนมาเป็นเชื้อเพลิงเพื่อประหยัดต้นทุน ช่วยกำจัด เศษวสั ดเุ หลอื ใชใ้ นสวน เช่น ทางมะพร้าวแหง้ ทอ่ นไม้ ขเ้ี ล่อื ย กะลามะพร้าว กากมะพรา้ ว ปัจจุบนั เชือ้ เพลิงท่ีนิยม ใช้และให้ไฟแรงเรียงลำดับจากมากไปน้อยได้แก่ ขี้เลื่อย กะลามะพร้าว กากมะพร้าว และท่อนไม้ เชื้อเพลิงท่ี เกษตรกรนยิ มมาใชไ้ ดแ้ ก่ กากมะพร้าว ท่อนไม้ และข้ีเลื่อยเปน็ ต้น ภาพที่ ๒๐ กากมะพร้าว ภาพท่ี ๒๑ ท่อนไม้ ภาพที่ ๒๒ ขีเ้ ล่อื ย ๗. เนียน เนียน ใช้เพื่อขูดนำ้ ตาลออกจากกระทะ จะมี ๒ แบบ คือแบบไม้กับแบบปลายเหล็ก ภาพที่ ๒๓ เนียนแบบไม้ ภาพที่ ๒๔ เนยี นแบบปลายเหลก็

๘. รอง รอง ใช้รองกระทะเพือ่ พักน้ำตาลใหเ้ ย็นลง รองนำมาจากยางนอกของรถยนต์ ภาพท่ี ๒๕ รองยางรถยนต์ ขั้นตอนการทำการปาดตาล การโนม้ จนั่ การโน้มจั่นหรืองวง จะเริ่มเมื่อมะพร้าวออกงวงหรือจั่น ได้ประมาณ ๑ เดือน ความยาวของจั่นนั้นยาว ประมาณ ๓๕ เซนติเมตร จั่นที่สามารถทำการโน้มได้นั้นให้สักเกตที่โคนจั่นนับจากโคนจั่นขึ้นมาประมาณ ๘-๑๐ เซนตเิ มตร จะมีตมุ่ นูนขน้ึ มาเรียกวา่ ขยมุ่ ตีนหมา ภาพท่ี ๒๖ จนั่ อายุ ๑ เดือน

ภาพท่ี ๒๖ บรเิ วณขยมุ่ ตนี หมา ขนั้ ตอนท่ี ๑ ต้องเหนยี่ วงวงตาล เนื่องจากปกติงวงตาลจะช้ีข้ึนฟ้า ทำใหไ้ มส่ ามารถนำกระบอกมารองน้ำตาลสดได้ นำมดี กรดี กาบนอกที่โคนจั่นมะพรา้ วเฉยี งซา้ ยและขาว เพือ่ ใหโ้ นม้ สะดวก ภาพท่ี ๒๗ นำมดี กรีดทโี่ คนจ่ันมะพรา้ ว

ขั้นตอนที่ ๒ นำเชือกฟางผูกที่จั่นโน้มลงเรื่อย ๆ วันล่ะ ๕ เซนติเมตร ช่วงเวลาเที่ยงวัน ทุกๆวัน หากโน้มลงมาก เกินไปจะทำให้โคนจั่นหักทำให้นำ้ ตาลมะพร้าวไม่ไหล นำมีดปาดที่ปลายจัน่ ที่มีกาบหุ้มอยู่ ให้ปาดทุกวันที่โน้มจ่ัน จนกระท่ังมีน้ำตาลสดไหลออกมา ภาพที่ ๒๘ นำเชอื กฟางโน้มจ่ันลง ครง้ั ล่ะ ๕ เซนติเมตร และปาดทป่ี ลายจน่ั ภาพที่ ๒๘ วันที่ ๑ ภาพที่ ๒๘ วนั ท่ี ๒ ภาพท่ี ๒๘ วนั ท่ี ๓ ขั้นตอนที่ ๓ หลังจากโน้มจั่นจนสามารถนำกระบอกรองน้ำตาลได้แล้ว และมีน้ำตาลมะพร้าวไหลพอที่จะสามารถ รองน้ำตาลได้ ให้สังเกตท่ีพ้ืนดินตรงจุดทีน่ ำ้ ตาลหยดจะมรี อยน้ำตาลมะพร้าวหยดลงดนิ ใช้มีดกรีดทีโ่ คนเบาๆแลว้ ฉกี กาบทห่ี ้มุ ดอกจากโคนมาปล่ายจัน่ ออก ภาพท่ี ๒๙ รอยน้ำตาลมะพร้าวหยดลงดิน

ภาพที่ ๒๙ ฉีกกาบท่หี ุ้มดอกจากโคนมาปลายจั่นมะพร้าวออก ขั้นตอนที่ ๔ นำเชือกฟางมามัดเป็นปล่องๆสลับกันจนสุดปลายจั่น เพื่อไม่ให้ดอกมะพร้าวตาลบานออก หากบาน ออกจะทำใหป้ าดตาลไม่ได้และต้องเสยี จน่ั ไปเลย ภาพท่ี ๓๐ เชอื กฟางมามัดเป็นปล่องๆสลับกันจนสดุ ปลายจัน่ มะพร้าว

ขั้นตอนท่ี ๕ เตรยี มกระบอกรองนำ้ ตาล โดยใส่ไม้พะยอมทกี่ ้นกระบอกเล็กน้อยเพื่อกนั นำ้ ตาลบดู ภาพท่ี ๓๑ ใส่ไม้พะยอมทีก่ น้ กระบอกเลก็ น้อย ขั้นตอนที่ ๖ ใช้มีดปาดตาลปาดที่งวงตาลบาง ๆ นำกระบอกมารองน้ำตาล จะแบ่งเป็น ๒ ช่วงคือ ช่วงเช้า ตั้งแต่ เวลา ๗.๐๐ น. ถงึ ๑๐.๐๐ น. และชว่ งบ่าย ตัง้ แต่เวลา ๑๕.๐๐ น. ถงึ ๑๘.๐๐ น. โดยนำกระบอกตาลท่ีเตรียมมา ให้เท่ากับจำนวนกระบอกที่รองไว้เดิม ต่อจำนวนต้น ปลดกระบอกตาลลูกเดิมที่รองน้ำตาลไว้ จากนั้นใช้มีดปาด ตาลปาดที่งวงตาลบาง ๆ ประมาณ ๐.๒ - ๐.๓ เซนติเมตร นำกระบอกลูกใหม่มาเปลี่ยนเพื่อรองน้ำตาลแทน กระบอกลูกเดมิ และนำถงุ พาสตกิ ครอบกนั แมลง ภาพที่ ๓๒ ใชม้ ดี ปาดตาลปาดทง่ี วงตาลบาง ๆ

ภาพที่ ๓๒ นำกระบอกมารองนำ้ ตาล ภาพที่ ๓๒ นำถุงพลาสติกมาครอบกันแมลง การเคย่ี วทำนำ้ ตาล ขน้ั ตอนที่ ๑ ใชผ้ า้ ชุบน้ำอุ่นทำความสะอาดกระทะ และนำนำ้ ตาลสดท่ีได้กรองดว้ ยกระชอนเพ่ือเอาเศษไม้พะยอม หรือเศษผงอื่นๆออก จากน้นั เทน้ำตาลสดที่ไดล้ งในกระทะ ภาพที่ ๓๓ นำนำ้ ตาลท่ไี ด้กรองด้วยกระชอน

ขั้นตอนที่ ๒ เคีย่ วจนนำ้ ตาลเริม่ เดอื ดใช้กระชอนตกั ฟองท่ีมีเศษไม้พะยอมออก เคีย่ วไปเร่ือยๆจนเดือดเปน็ ฟอง เรียกว่าผดุ ดอกหมาก เมือ่ ฟองกำลงั ลน้ กระทะให้ใช้กงครอบกระทะไว้ เพ่ือป้องกันฟองล้นออกมานอกกระทะ ภาพที่ ๓๔ ตกั ฟองท่ีมเี ศษไม้พะยอม ภาพท่ี ๓๕ เดือดผดุ ดอกหมาก ภาพท่ี ๓๖ ใชก้ งครอบกระทะไว้เพื่อป้องกนั ฟองล้นออกมานอกกระทะ ข้นั ตอนท่ี ๓ เคยี่ วตอ่ ไปอกี ประมาณ ๒๕ นาทีนำ้ ตาลจะเร่ิมงวดลงจึงนำกงออก จะเดือดเป็นผุดปลาหมอ ใช้เนยี น ปาดนำ้ ตาลทีต่ ิดขอบกระทะออกเพือ่ ป้องกันไมใ่ หน้ ำ้ ตาลไหม้ เคยี่ วจนน้ำตาลเรมิ่ เหนยี วไดท้ ี่ สงั เกตได้โดยนำเกรยี ง ตกั น้ำตาลขนึ้ มา หากนำ้ ตาลไดท้ จ่ี ะไหลเป็นสายไม่ขาดชว่ ง หากทำน้ำตาลเป็นแบบไซรัปให้ยกก่อนตอนทย่ี ังมีฟอง ดอกหมากเดือนและสียังอ่อน

ภาพท่ี ๓๗ เดือดผุดปลาหมอ ขั้นตอนที่ ๔ ยกกระทะออกจากเตาวางไว้บนรอง ใช้ไม้วีน้ำตาลหมุนไม้วีเป็นวงกลมจะมีน้ำตาลกระจายออกข้าง กระทะหรือแกว่งไม้วีไปทางซ้ายและขวา แต่ล่ะคนจะมีวิธีการวีน้ำตาลแตกต่างกันไป ใช้เวลาวีประมาณ ๑๐ นาที จนน้ำตาลแห้งได้ที่ ภาพที่ ๓๘ ใช้ไมว้ ีนำ้ ตาล วีจนกระทั่งนำ้ ตาลแห้งได้ท่ี ขน้ั ตอนที่ ๕ เทใส่ภาชนะ หรอื หยอดใส่พมิ พ์รอจนน้ำตาลเย็น จึงเกบ็ ใสห่ ีบห่อเพ่ือจำหนา่ ยต่อไป ภาพท่ี ๓๙ หยอดนำ้ ตาลใส่พิมพ์

ความแตกต่างของน้ำตาลมะพรา้ วน้ำหอมกับนำ้ ตาลมะพรา้ วแกงหรือมะพร้าวใหญ่ ๑. นำ้ ตาลมะพรา้ วนำ้ หอมน้นั รสชาตหิ วานและหอม แตน่ ำ้ ตาลมะพร้าวแกงนั้นหวานและมัน ๒. น้ำตาลมะพร้าวน้ำหอมสดกับน้ำตาลมะพร้าวแกงสดเมื่อเคี่ยวจนเป็นก้อนแล้วปริมาณน้ำตาลมะพร้าว แกงจะมมี ากกวา่ ปัญหาของนำ้ ตาลมะพรา้ วแท้ ๑. น้ำตาลสดเป็นฟอง หมายถึง น้ำตาลเริ่มจะบูดแล้วทำให้เกิดเชื้อแบคทีเรียกินน้ำตาล โดยจะเกิดขึ้น ในช่วงที่อุณหภูมิของอากาศสูงประมาณ ๓๐-๔๐ องศาเซลเซียส และเชื้อแบคทีเรียจะทำการแพร่พันธุ์ในช่วง อุณหภูมิดังกล่าวได้ดี และเชื้อแบคทีเรียก็จะแบ่งตัวไปเรื่อย ๆอย่างรวดเร็ว ทำให้น้ำตาลมะพร้าวเสียเพราะมีเชื้อ โรคอยู่ ดังนั้นการเก็บน้ำตาลมะพร้าวจึงต้องเก็บน้ำตาลมะพร้าวในช่วงที่อากาศยังไม่ร้อนมาก จะได้ไม่มีเชื้อ แบคทเี รียในนำ้ ตาลสด น้ำตาลไม่เกดิ ฟอง นำ้ ตาลไม่เสยี ต้องนำนำ้ ตาลมะพรา้ วจากสวนมาต้มเคี่ยวให้เร็วที่สุดเพื่อ ปอ้ งกนั การเกิดเช้ือโรคและน้ำตาลไมเ่ สีย ใชเ้ วลาใหเ้ หมาะสม หากมีน้ำตาลสดจำนวนน้อยเกษตรกรจะน้ำมาเค่ียว เก็บไวใ้ ห้แหง้ และผสมกบั น้ำตาลสดทีเ่ คี่ยวในรอบถัดไป ๒. ปัญหาน้ำตาลมะพร้าวมีสีคล้ำ ไม่เป็นที่ต้องการของตลาด เกษตรกรจึงใช้สารฟอกขาวในน้ำตาล มะพร้าว สารฟอกขาวมีฤทธิ์เป็นสารกันบูดในตัว การที่เกษตรกรใส่สารฟอกขาวในกระบอกก่อนนำขึ้นไปรอง นำ้ ตาลก็จะทำให้น้ำตาลมะพร้าวไมเ่ สียง่าย แต่จะเปน็ การเพม่ิ สารฟอกขาวในน้ำตาล เมื่อนำมาเคี่ยวโดนความร้อน กจ็ ะเกดิ เป็นแก็ซและทำให้นำ้ ตาลมะพร้าวมสี ีขาว ปัญหาของการสบื ทอด ในปัจจุบันภูมิปัญญาน้ำตาลมะพร้าว มีจำนวนลดลงไปมากกว่าเม่ือก่อนเป็นจำนวนมาก และกำลังจะสูญ หายไปเนื่องจากเยาวชนรุ่นใหม่ ไม่มีความสนใจ เพราะการทำน้ำตาลมะพร้าวนั้นกระบวนการทำหลายขั้น นิยม ปลกู พชื ชนดิ อืน่ ทีม่ ีรายได้ดีกว่า ความเสยี่ งในการทำน้ำตาลมะพร้าว การทำน้ำตาลมะพร้าวนั้นมีความเสี่ยงหลายด้าน ตั้งแต่ผึ้งต่อย มีดปาดตาลบาด ตกจากพะอง แมลงดำ หนามกินยอดมะพร้าว แมลงดำหนามมีลักษณะคล้ายด้วงปีกแข็งลำตัวค่อนข้างแบน หัวและท้องมีสีน้ำตาล อก เหลืองปนส้ม ปีกมสี ดี ำ มักซ่อนตัวอยู่ตามใบอ่อนหรอื ใบทยี่ ังไม่คลี่ในต้นมะพรา้ ว คำแนะนำในการพิสจู น์น้ำตาลมะพรา้ วปลอม ๑. น้ำตาลปบ๊ี ปลอม มสี ีสดใสสวยงามเหมอื นกับเทียนไข ๒. มรี สหวานแหลมเหมอื นกับน้ำตาลโตนด (น้ำตาลเมอื งเพชร) ๓. เวลาบีด้ ู น้ำตาลจะติดน้ิว ซึง่ เปน็ ผลมาจากการใสแ่ บะแซทำใหเ้ หนยี วตดิ น้ิวมือ ๔. เมอื่ นำไปละลายกบั นำ้ กะทิ จะไดน้ ้ำกะทไิ ม่ข้น นำ้ กะทจิ ะใส ไม่หอมและไมอ่ รอ่ ย

๕. เมอื่ นำไปทำขนมสงั ขยา ขนมจะไมข่ ้นึ ฟู ๖. ถา้ ผสมนำ้ ตาลทรายมากกจ็ ะแขง็ มาก หักหรอื บ้ีออกยาก ตราประทับนำ้ ตาลมะพร้าว ในอดตี การทำน้ำตาลปบี ทุกโรงเตาตาลจะมตี ราประทับแตล่ ่ะโรงเตา เพอื่ ทราบทม่ี าของน้ำตาลมะพร้าวว่า มาจากโรงเตาตาลไหน ภาพที่ ๔๐ ตราประทบั น้ำตาลมะพรา้ ว ผูใ้ หข้ อ้ มลู นายบำเพญ็ นติ เิ ศรษฐ อยู่บ้านเลขท่ี 83 หมู่ที่ 1 ตำบลจอมประทัด อำเภอวัดเพลง จงั หวัดราชบรุ ี อาชีพ เกษตรกร นายแหวน ศรีโชติ อยบู่ า้ นเลขท่ี 3/1 หมทู่ ่ี 6 ตำบลจอมประทัด อำเภอวดั เพลง จงั หวดั ราชบุรี อาชพี เกษตรกร เอกสารอ้างอิง ภาพเชือกกลว้ ย http://www.taladx.com ภาพการบากตน้ มะพรา้ ว https://www.bloggang.com/m/viewdiary คำแนะนำในการพิสจู นน์ ้ำตาลมะพรา้ วปลอม https://www.technologychaoban.com/ ปัญหาของน้ำตาลมะพร้าวแท้ http://namtarn-ampawa.blogspot.com/ ประวตั ิความเป็นมาของนำ้ ตาลมะพรา้ ว https://sites.google.com/site/aadararandx/prawati- khwam-pen-ma-khxng-natal-maphraw

1.

ประวัตคิ วามเป็นมาวัวลานส่กู ฬี าพนื้ บา้ น ในอดีตเกษตรกรนำวัวที่ว่างหลังจากการทำนาโดยการใช้วัวช่วยในการนวดข้าวสู่การนำวัวมาว่ิง แข่งกันบนลานนวดข้าวโดยนำวัวมาแข่งกันวัดความเร็วฝีเท้าแข่งพละกำลังความอึดความแข็งแรงของวัว ตนเองโดยคนในท้องถิ่นซึ่งใช้วัววนนวดข้าวในลานวงกลมโดยใช้หลักเกียดเป็นจุดกลาง วัวของใ ครมี พละกำลังดี แข็งแรงมากก็จะวิ่งวนดีอยู่รอบนอก วัวตัวใดมีพละกำลังน้อยก็จะวิ่งอยู่วงในชิดหลักเกียด ตอ่ มามีการพนนั กันต่อสนุกสนานกันขึน้ ในวงนวดข้าว การแข่งขันววั ลานจึงกำเนิดขึ้นมาจากประเพณีและ วิถีการนวดข้าวต่อมาการแข่งวัวลานมีการพัฒนามาเรื่อยๆจากการแข่งประกว ดแค่ประลองความเร็วก็มี เพิ่มการประกวดวัวลานประเภทสวยงามด้วย ในปัจจุบันมีการจัดการแข่งขันในพื้นที่ใกล้เคียงได้แก่ จงั หวดั เพชรบุรแี ละจังหวัดกาญจนบุรี 1.1 การเลอื กลักษณะววั ลาน การเลือกดูลักษณะวัวลานที่จะนำไปแข่งเพื่อเป็นการกีฬาเพื่อความสนุกสนานของคนในท้องถ่ิน จะมีการเลือกลักษณะวัวที่มีความแข็งแรงมีพละกำลังมีฝีเท้าทีว่ ่ิงเร็ว และมกี ารดูลักษณะขวัญวัว โดยจะมี ขวญั 2 แบบ คือ ขวัญดีและขวญั ไม่ดี มลี ักษณะดังนี้ 1. ขวัญดี คือ ขวัญทคี่ นนิยมนำมาเล้ยี งไวม้ ีความเช่ือวา่ เลีย้ งแลว้ เปน็ สิริมงคลให้กบั ตนเองและคนใน ครอบครวั มดี งั น้ี 1.1 ขวัญเดิมจะอยตู่ รงกลางกระหม่อมของววั 1.2 ขวัญดี ที่อยู่ห่างจากหนอก 1 คืบ ออกไปทางด้านหลัง (ห่างจากหนอกออกไปทางด้านหลัง มากกว่า 1 คบื ไปจนถึงช่วงสะโพกถ้ามขี วญั อย่รู ะหวา่ งช่วงนี้ถือวา่ เปน็ ขวญั ด)ี 1.3 ขวัญตำ่ คือ ขวัญท่อี ยคู่ ่อนไปทางด้านหลงั จนเกอื บจะถึงบ้นั ทา้ ยของววั ภาพท่ี 1 ลกั ษณะขวญั ภาพท่ี 2 ลกั ษณะววั ทม่ี ขี วญั ดี

2. ขวัญที่ไม่นิยมนำมาเลี้ยงหรือขวัญไม่ดี คือ ขวัญที่นำมาเล้ียงเจ้าของมีความเชื่อว่า ถ้านำมาเลี้ยง นำเข้า มาในบ้านจะทำให้ทำมาค้าขายขาดทุนหรือค้าขายไม่ดีคนในครอบครัวจะมีอันเป็นไป เช่นการเจ็บป่วย ลักษณะวัวเหล่านี้จะไม่ค่อยมีคนต้องการ ถ้ามีอยู่แล้วก็เลี้ยงไว้ขายไม่นิยมนำไปประกวดและแข่งขัน โดยมี ลกั ษณะและตำแหนง่ ดังนี้ 2.1 ขวญั ฝจี ักร จะมีตำแหนง่ อย่บู รเิ วณกลางหน้าระหว่างตาดำทง้ั 2 ข้าง มลี ักษณะเหมือนเลขหน่งึ ไทย 2.2 ขวัญยักลม จะมีตำแหน่งอย่บู รเิ วณใตห้ นอกชิดกับหนอก 2.3 ขวญั ประจำกวน จะมตี ำแหน่งอยบู่ ริเวณข้างข้อเทา้ 2.4 ขวัญอีกาจกิ ปากโลง/ขวญั อีกาเคาะโลง จะมตี ำแหน่งอย่บู ริเวณขา้ งลำตัวขา้ งใดขา้ งหน่ึง 2.5 ขวัญชำรัว่ คอื ขวัญท่อี ย่บู รเิ วณอัณฑะของวัวถา้ คนบีบบรเิ วณนั้นววั จะฉี่ทนั ที 2.6 ขวัญปตั คาด คือขวญั ท่ีอยบู่ ริเวณสนั หลังส่วนท้ายของววั ภาพท่ี 3 ลกั ษณะววั ทม่ี ขี วญั ไม่นิยมนามาเลย้ี ง

1.2 สายพนั ธวุ์ ัวลาน สายพนั ธุข์ องวัวลานในชุมชนปัจจุบันเปน็ งานนำสายพันธ์ุมาจากเพชรบุรีและกาญจนบรุ ี โดยจะมีการผสม พันธุ์ 2 แบบ คือการผสมด้วยน้ำเชื้อ และวัวที่ผสมกับวัวโดยตรง การที่ใช้วัวผสมกับวัวโดยตรงจะดีกว่าการผสม ด้วยน้ำเชื้อ เพราะการใช้น้ำเช้ือผสมบางอันอาจจะเปน็ นำ้ เชื้อทีมท่ีสร้างขนึ้ มาเองไม่ได้เอาจากวัวจริงๆ ส่วนมากจะ เปน็ ววั พนั ธไ์ุ ทยตอ่ มามีการเล้ยี งไวข้ ายเนื้อดว้ ยจงึ มีพันธ์ุไทยผสมอเมริกนั บรามนั และพนั ธไ์ุ ทยผสมบราซิลด้วย ภาพท่ี 4 ววั พนั ธไุ์ ทย ภาพท่ี 5 ววั พนั ธไุ์ ทยผสมอเมรกิ นั บ รามนั 1.3 วิธกี ารเลี้ยงและการดแู ล เริ่มตั้งแต่วัวคลอดออกมาก็จะให้กินนมแม่จนถึง 1 ปี ก็จะนำมาสนสะพาย เพื่อเริ่มบังคับและสอนให้วัวรู้จัก ทางซ้ายทางขวา โดยการกระตุกเชือกไปทางซ้ายวัวก็จะหันซ้าย กระตุกไปทางขวาวัวก็จะหันขวาแล้วก็จับมา อาบนำ้ ตากแดด ดถู ้าไมส่ บายกห็ ายาใหว้ ัวกิน การสังเกตวัวไม่สบาย คือ วัวจะซึมๆใบหูตก ไม่กินหญ้า ไม่กินน้ำ จับดูใบหูหูจะร้อน ดูเวลาขับถ่ายดู ลักษณะว่าเป็นก้อนหรือถ่ายเป็นนำ้ ถ้าวัวถ่ายเป็นน้ำแสดงวา่ ววั มีอาการทอ้ งเสีย วัวกินเยอะแล้วท้องป่องถ้าเคาะ จะมเี สยี งปุกๆแสดงว่าวัวท้องอดื ตอ้ งซื้อยามาให้กนิ ซ้ือยาสมนุ ไพรทรี่ ้าน

โรคทเี่ กดิ ในววั ลาน ในการเลี้ยงวัวในอดีตจนถึงปัจจุบันระหว่างการเลี้ยงวัววัวจะมีอาการและมีโรคที่เกิดขึ้นในวัวอยู่ในช่วงต่างๆ ของการเลีย้ งวัว ดังนี้ 1. ววั ทอ้ งข้ึนหรือท้องอดึ มกั จะใช้ สมุนไพรทมี่ ีในชมุ ชนมารักษา เชน่ - หอมแดงตำจนละเอียดผสม กะปิ ใบกระเพรา ผสมน้ำ ลว้ งให้วัวกิน ในกรณีวัวทอ้ งเสีย มักใชเ้ ปลือกตน้ แค มา ต้มกับนำ้ กรอกให้วัวกนิ - หญา้ พันงู ตำใหแ้ หลกแลว้ นำไปขยำกบั นำ้ ซาวข้าวจากนั้นกรองเอาแต่นำ้ แล้วเอาให้วัวกิน 2. โรคเท้าเปื่อยปากเปื่อย ส่วนมากจะเกิดขึ้นในวัวช่วงฤดูฝน มักใช้ยาฆ่าเชื้อที่ซื้อที่คลีนิครักษาสัตว์ และวัวจะมี วธิ ีการรักษาตนเองโดยการแชเ่ ทา้ ในนำ้ ทีเ่ อาไวก้ นิ วัวบางตวั ก็จะหายเองได้ 1.4 การสนสายตะพาย เมอื่ ววั อายุประมาณ 1-2 ปี ชาวนาจบั ววั ผูกติดกบั ต้นไมใ้ ช้เหลก็ หมาดขนาดยาวประมาณ 15- 20 เซนตเิ มตร เสย้ี มปลายใหแ้ หลมแลว้ ลา้ งทำความสะอาด นำไปแทงเข้าไปท่เี นื้อเยื่อด้านในปลายจมูกของวัว ให้ทะลุถึงกันของช่องจมูกทั้งสอง จากนั้นใช้เชือกตะพายยาวประมาณ 100-120 เซนติเมตร ร้อยรูจมูกวัวอ้อมมา ทางดา้ นหลังเขาผูกเชอื กพอหลวม ๆ เชือกตะพายววั จะตดิ อย่กู บั วัวตลอดเวลา หลงั จากสนตะพายเสรจ็ ก็จะใส่อ้อม คอเพือ่ เป็นเชือกอีกเส้นแลว้ นำตุ้มมาสอดให้เชือกท้ัง2เส้นอยู่ในตมุ้ ดว้ ยกันทั้ง2ฝั่งเม่ือเวลาใช้งานชาวนาจะนำเชือก อีกเสน้ หน่งึ มาผูกกับเชือกตะพายวัวเชือกที่ผูกจะอยู่ทางด้านขวาหรือซา้ ยด้านใดดา้ นหนึ่งหากอยู่ทางด้านซ้าย เมื่อ ชาวนาดึงเชือกวัวจะเลี้ยงไปทางซ้าย หากชาวนาตะหวัดเชือกไปทางขวา วัวก็จะหันไปทางขวา ชาวนาจะใช้คำวา่ “เทา่ ”หมายถึง เล้ยี วไปทางขวาและใช้คำว่า “ทดั ” หมายความว่าให้เลย้ี วไปทางซ้าย อุปกรณก์ ารเจาะตะพาย ภาพท่ี 6 เหลก็ หมาด ภาพท่ี 7 เชอื กตะพาย ทาจากไมแ้ ดง ขนาดยาวประมาณ15-20 ขนาดยาวประมาณ 100-120 ซม. ซม.

ภาพท่ี 8 เชอื กออ้ มคอ ภาพท่ี 9 ตมุ้ ขนาดความยาวประมาณ 80-100 ซม. ทาจากเขากวางหรอื กระดูกตน้ ขาววั . ภาพท่ี 10 ตะพาย ภาพท่ี 11 ววั ใสต่ ะพาย 1.5 การตอนวัว คือการทำหมันวัวเพศผู้ส่วนมากคนที่เลี้ยงวัวที่จะนำไปวิ่งลานจะเริ่มตอนวัวตัวผู้ตั้งแต่ยังเด็ก เพื่อที่เวลานำวัวไปวิ่งวัวจะได้วิ่งเร็วไม่มีอาการจุกขณะแข่ง โดยการตอนวัวสมัยก่อนจะนำวัวนอนลงแล้วผูกยึดไว้ กับหลักแล้วนำสากทุบเข้าที่เส้นบริเวณลูกอัณฑะของวัวเพื่อให้เส้นแตก แต่ในปัจจุบันเป็นการจ้างผู้มีความ เชีย่ วชาญด้านตอนหรอื ทำหมันววั โดยจะใชว้ ิธีการเอาครีมคีบที่เส้น 2 เสน้ บรเิ วณลูกอัณฑะของววั ให้ขาดแทนการ ทบุ ในสมัยกอ่ น

1.6 วิถีชีวติ ในการเล้ยี งวัวใน 1 วัน เวลาประมาณ 7 โมงเช้านำเอาววั ออกมาอาบน้ำเมื่ออาบน้ำเสร็จแลว้ ก็นำวัวออกไปผูกให้กินฟาง หรือปล่อยเลี้ยงตามทุ่งนากินหญ้าเมื่อเวลาสายแดดเริ่มร้อนจะนำเอาวัวมาเข้าร่มพักผ่อนและให้หญ้าให้ ฟางกนิ ในร่มไปดว้ ยเม่อื วัวไดก้ ินละพักผ่อนแลว้ ก็จะนำววั มาอาบน้ำอกี รอบแลว้ นำเข้าคอกพักผอ่ น ภาพท่ี 12 การอาบน้าววั ภาพท่ี 13 การปล่อยววั เลย้ี งตามธรรมชาติ ภาพท่ี 14 การเกย่ี วหญา้ ใหว้ วั ภาพท่ี 15 เอาววั เขา้ ร่มพกั ผ่อน

ภาพท่ี 16 นาววั เขา้ คอกใหอ้ าหารพกั ผ่อน 1.7 วธื กี ารอาบนำ้ ววั ลาน ภาพท่ี 17 การอาบน้าววั 1. นำววั ไปผกู ไว้ทเี่ สาหรอื หลักเพอ่ื ยึดวัวไว้ไม่ใหเ้ ดินหนี 2. สมยั กอ่ นใช้กระป๋องตักนำ้ สาดใส่วัวปจั จบุ ันใช้สายยางฉีดนำ้ ใส่ไดเ้ พ่ือความสะดวก 3. นำฟางมาถตู วั ววั รอบๆตวั เพอ่ื ทำความสะอาดขดั ถูวัวโดยจะใชน้ ำรดที่ฟางใหฟ้ างเปียกก่อนฟางจะได้นิ่ม แล้วค่อยดูไปท่ีตวั วัวเพื่อที่เวลาฟางโดนตวั ววั ววั จะไดไ้ มเ่ จ็บ

4. นำน้ำฉดี ราดบริเวณตัวววั ใหท้ ่ัวตวั เพอ่ื เปน็ การลา้ งเศษสง่ิ สกปรกทขี่ ัดออกใหห้ ลดุ ออกไปล้างให้ท่วั ทัง้ ตวั 5. ผกู วัวตากแดดและลมไวซ้ ักครู่ใหว้ ัวตวั แห้งแล้วถึงนำเข้ารม่ เปน็ อนั เสร็จขั้นตอนในการอาบน้ำววั 1.๘ ประเภทอาหารสำหรับเลยี้ งวัวลาน 1. ฟาง ได้จากนาตัวเองหลักจากเกี่ยวข้าว 1 เดือน จะจ้างรถอัดฟางไปอัดที่นาตนเอง ในราคาก้อนละ 10 บาท 2. หญ้าขน เป็นหญ้าที่ขึ้นตามข้างถนนหรือข้างคลอง ประโยชน์ของหญ้าขน เพื่อให้วัวลานกินจะได้ไม่มี อาการท้องอดื และยังชว่ ยรักษาอาการแผลในกระเพาะอาหารของววั ไดแ้ บบธรรมชาตดิ ้วย 3. หญา้ สมยั หญ้าท่ีข้ึนตามท้องนา เพอื่ ใหว้ ัวลานกนิ จะได้ไม่มีอาการท้องอดื เพราะหญ้าในท้องนาย่อยง่าย แต่สว่ นมากววั จะเลอื กกินหญา้ ที่อ่อนจะไม่ค่อยให้กินหญา้ แก่ หญ้าที่แก่จะทำให้ววั ทอ้ งอดื ได้ 4. เกลอื ก้อน เพ่ือใหว้ ัวกนิ หญ้าไดเ้ ยอะขน้ึ เปน็ การเสริมไอโอดีนให้กับววั ภาพท่ี 18 หญา้ ขน ภาพท่ี 19 หญา้ สมยั

ภาพท่ี 20 ฟางอดั กอ้ น ภาพท่ี 21 เกลอื แร่กอ้ นกลม/เกลอื แร่ววั 2. ววั ลานสู่สนามแขง่ กฬี าววั ลานเป็นการละเล่นทม่ี วี วิ ฒั นาการมาจากการนวดขา้ ว เพราะลกั ษณะลานนวดขา้ วเป็น วงกลมโดยวธิ กี ารนวดขา้ วนนั้ ววั ทอ่ี ย่ใู กลจ้ ุดศนู ยก์ ลางไม่ต้องใชก้ าลงั มากเพราะอย่ใู นช่วงวงรอบสนั้ แต่ ววั ตวั ทอ่ี ยนู่ อกสดุ อย่หู ่างจากจดุ ศนู ยก์ ลางมากกว่าระยะทางทต่ี อ้ งหมุนรอบเลยยาวกว่าจงึ ตอ้ งเลอื กววั ท่ี มกี าลงั ฝีเทา้ ดี ชาวนาจงึ เกดิ คดิ นามาเป็นการแข่งขนั เป็นกฬี าและการละเล่นแข่งประกวดประชนั ฝีเท้า กนั เพ่อื ความสนุกสนานและยงั มผี ลต่อการค้าขายถ้าววั ตวั ไหนทช่ี นะบ่อยมกี าลงั ฝีเท้าดผี คู้ นก็จะสนใน มากทาใหม้ รี าคาสงู ขน้ึ แตป่ ัจจบุ นั ในการจดั การแข่งขนั จะจดั ในช่วงหน้าแลง้ ช่วงเดอื นมกราคม ถงึ เดอื นกรกฎาคม หลงั จากนัน้ จะไม่มกี ารจดั การแข่งขนั เพราะคนโบราณถอื ว่าช่วงเข้าพรรษาจะใหพ้ ระโคพกั ผ่อน เรยี กว่าเป็นช่วง พกั ผ่อนของพระโค และนอกจากเขา้ พรรษาแลว้ ถา้ เป็นวนั พระ ขน้ึ 15 ค่า 8 ค่า แรม 15 ค่า แรม 8 ค่า กจ็ ะไม่นาพระโคออกไปทางานและไปแขง่ ขนั เพราะถอื วา่ ทุกวนั พระเป็นวนั พกั ผ่อนของพระโค 2.1 สนามแขง่ ววั ลานในท้องถ่ิน 1. สนามววั ลานอาเภอบา้ นโป่ง จงั หวดั ราชบุรี 2. สนามววั ลานตาบลอ่างหนิ อาเภอเมอื ง จงั หวดั ราชบรุ ี 3. สนามววั ลานจงั หวดั เพชรบุรี

2.2 อปุ กรณ์การแข่งววั ลาน การแข่งขวญั ววั ลานจะทาการแข่งขนั กนั ในสนามขนาดใหญ่โดยจะมอี ุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการแข่งขนั ดงั น้ี 1. เสาเกยี ด ทาดว้ ยเสากลม ตอ้ งแขง็ แรงพอทจ่ี ะตา้ นทานแรงดงึ ของววั 18-19 ตวั ได้ เสาน้ีจะ ปักอย่กู ลางลานทว่ี งิ่ สาหรบั ผกู ววั ทจ่ี ะวง่ิ แขง่ ภาพท่ี 22 เสาเกยี ด/หลกั เกยี ด 2 เชอื กห่วงและเชอื กพวน เชอื กห่วงเป็นเชอื กทค่ี ลอ้ งไวท้ เ่ี สาเกยี ดสาหรบั ผกู ววั สว่ นเชอื กพวน คอื เชอื กทท่ี าบคอววั ผกู ตดิ กนั เป็นราวแลว้ ผกู กบั เชอื กหว่ งอกี ทหี น่งึ ภาพท่ี 23 เชอื กพวน

3. กระพอ้ สาหรบั การใหเ้ คร่อื งดม่ื และอาหารชกู าลงั ใหว้ วั ก่อนแขง่ ภาพท่ี 24 กระพอ้ 4. ววั ทใ่ี ชเ้ ล่นววั ลานจะมลี กั ษณะทส่ี าคญั คอื เป็นววั พนั ธไ์ ทยเพศผู้ แขง็ แรงอดทน ซง่ึ เจา้ ของ จะตอ้ งฝึกววั ใหค้ ุน้ เคยกบั คนจานวนมากๆ เพอ่ื ววั จะไดไ้ มต่ ่นื คน และจะตอ้ งใหอ้ าหารเสรมิ เชน่ M 150 น้าหวานเฮลบลบู อย และไขไ่ ก่ดบิ ผสมน้ากะทคิ นั้ สดหรอื นมถวั่ เหลอื งกไ็ ด้ ใหว้ วั กิน 7 วนั ตดิ ตอ่ กนั จนถงึ วนั แขง่ - ววั นอก คอื ววั ทอ่ี ย่ปู ลายเชอื กจะตอ้ งคดั เลอื กววั ทม่ี พี ละกาลงั เพราะจะตอ้ งวง่ิ ชนะววั ในใหไ้ ด้ - ววั คาน คอื ววั ทอ่ี ยู่ตดิ กบั หลกั เกยี ดนบั ตงั้ แตต่ วั ท่ี 1 – 18 ใชว้ ง่ิ วงในเพอ่ื ดพู ละกาลงั เปรยี บเทยี บ ตดั สนิ ววั นอก 2.3 กติกาการแขง่ ขนั จะใชว้ วั ในการแขง่ 19 ตวั แตจ่ ะดวู วั 1 ตวั คอื ตวั ท่ี 19 เรยี กวา่ ววั นอก และตวั ท่ี 1–18 เป็นววั แขง่ เรยี กว่าววั คาน 1. นาววั ทงั้ 19 ตวั ไปผกู ไวท้ ห่ี ลกั เกยี ด โดยนาตวั ท่ี 1 อยชู่ ดิ กบั หลกั เกยี ดและตวั ท่ี 2-18 เรยี ง หา่ งออกมาจนถงึ ตวั สุดทา้ ยคอื ตวั ท่ี 19 จะเป็นตวั ทอ่ี ย่นู อกสดุ 2. เม่อื จดั ววั เสรจ็ ทงั้ 19 โดยใหว้ วั ยนื เรยี งใหต้ รงกนั แลว้ ใช้ ปฏกั แทงทท่ี า้ ยววั เพอ่ื ใหว้ วั วง่ิ โดย เจา้ ของววั ทกุ ตวั จะแทงพรอ้ มกนั 3. กรรมการจะนบั รอบวงิ่ ไปเร่อื ย ๆโดยการแขง่ ขนั จะใชก้ รรมการตดั สนิ อย่างน้อย 3 คน 4. กรรมการสงั เกตดวู วั ตวั นอกถา้ ววั ตวั นอกวงิ่ นาหน้าววั ในทงั้ 18 ตวั โดยวดั จากการดหู วู วั ถา้ ววั ตวั ในอย่ตู ่ากว่าสวาบววั ตวั นอกถอื วา่ ววั ตวั นอกชนะววั คานแพ้ 5. หลงั จากทราบผลการแขง่ ขนั กจ็ ะนาววั ทงั้ 19 ตวั ออกจากสนามและนาววั ทจ่ี ะแขง่ รอบใหมเ่ ขา้ มา

ศพั ท์ท่ีใช้ในกลุ่มววั ลาน ลาดบั คาศพั ท์ ความหมาย 1 ทดั ขา้ งซา้ ย 2 เท่า ขา้ งขวา 3 ปฏกั (อา่ นว่า ปะ-ตกั ) อปุ กรณ์แทงววั ใหว้ ง่ิ 4 เปิด รอบทแ่ี ขง่ ขนั 5 เลา สายพนั ธ์ พอ่ พนั ธุ์ แมพ่ นั ธุ์ 6 ววั นอก ววั ตวั ทน่ี ามาแขง่ ขนั วดั พละกาลงั ตวั ทอ่ี ยนู่ อกสุด 7 ววั ใน ววั ตวั รองตวั ทเ่ี ทยี บการแขง่ ตงั้ แตว่ วั ตวั ท่ี 1-18 8 สวาบ (อ่านวา่ สะ-วาบ) ช่วงเอวดา้ นขา้ งทงั้ สองขา้ งของววั 9 หลกั เหยยี ด หลกั ววั ลาน 10 หู ววั วง่ิ เท่ากนั 3. ความสาคญั วิถีชีวิตคนกบั ววั เดมิ ชาวนาจะใชว้ วั ในการชว่ ยทานาตงั้ แตเ่ รม่ิ เตรยี มดนิ จนถงึ เกบ็ เกย่ี วผลผลติ ไดแ้ ก่ การใช้ ววั ไถนา การใชว้ วั คาดนา และการใชว้ วั นวดขา้ ว บา้ นไดท้ ท่ี านาจะเลย้ี งววั ทุกบา้ นประมาณบา้ นละ 2-4 ตวั เวลาถงึ หน้าเดอื นหก (เดอื นพฤษภาคม) กจ็ ะเอาววั ออกไปเตรยี มไถนาเตรยี มดนิ แลว้ ก็คาด นาแลว้ กใ็ ชค้ นดานา หลงั จากดานาเสรจ็ กจ็ ะปล่อยววั เล้ยี ง ถงึ เวลาเกย่ี วขา้ วกจ็ ะใชว้ วั นวดขา้ วโดย การใช้ ววั เหยยี บขา้ วโดยปักเสาสูงกลางลาน เรยี กว่า “หลกั เหยยี ด” แลว้ นาฟ่ อนขา้ วมาวางลอ้ ม หลกั เกียด แล้วผูกววั กบั หลกั ต้อนให้วงิ่ รอบๆหลกั เหยยี ด เพ่อื เหยยี บย่าไปบนฟ่ อนขา้ วจนกว่า เมลด็ ขา้ วสว่ นใหญ่หลุดออกจากรวงขา้ ว เพอ่ื ใหเ้ มลด็ ขา้ วรว่ งออกมา แลว้ เอาฟางขา้ วออกไปกองไว้ นอกลานพอเอาววั นวดขา้ วเสรจ็ คนสมยั ก่อนเขาจะดูจรติ ววั จรติ คอื ท่าทางในการเดนิ การวงิ่ ทส่ี ง่า งามของววั ว่าตวั ไหนจรติ ดนี ่าจะวง่ิ ลานได้ เลยลองเอาววั มาแข่งกนั ดูว่าตวั ไหนจะไดเ้ รว็ กว่าและ เดนิ แบบสงา่ งาม เลยเป็นทม่ี าของคาวา่ “ววั ลาน” ลุงสม ทองศลิ ย์ ผู้ทม่ี ภี ูมปิ ัญญาท้องถนิ่ คนสาคญั ของตาบลจอมประทดั ดา้ นการเล้ยี งววั ลานเล่าให้ ฟังว่ายอ้ นไปเม่อื 60 ปีก่อนวถิ ชี วี ติ คนกบั ววั ถอื ว่ามคี วามผกู พนั กนั มากมกี ารใชว้ วั ในการช่วยทานาช่วยใน การเดนิ ทางหรอื ว่าบรรทุกของหนักและมกี ารเล้ยี งวถิ ีการดาเนินชวี ติ อยู่ร่วมกนั ระหว่างคนกับววั จนเกดิ ความผูกพนั โดยมกี ารสบื ทอดการเล้ยี งมาจากบรรพบุรุษและสอนวธิ กี ารเล้ยี งววั และการใชว้ วั ในการทานา

ตงั้ แต่เดก็ โดยจะใช่ววั ช่วยทานาตงั้ แต่ขนั้ ตอนการเตรยี มดนิ ไปจนถงึ ขนั้ ตอนการเกบ็ เกย่ี วผลผลติ จะมกี าร ใชว้ วั ช่วยทานาในขนั้ ตอนตา่ งๆไดแ้ ก่ 1. การไถนา คอื การใชว้ วั 1 คู่ (ววั 2 ตวั ) โดยเป็นขนั้ ตอนในการเตรยี มดนิ ก่อนจะปลูกขา้ ว ภาพท่ี 25 การไถนา อปุ กรณ์การไถนา อปุ กรณ์การไถนาโดยการใชว้ วั ไถนาในอดตี เกษตรกรใชไ้ ถผกู กบั ววั โดยใชว้ วั เป็นกาลงั ในการดงึ ไถ เพอ่ื เป็นการเบาแรงคนในสมยั กอ่ นโดยมอี ุปกรณ์การไถนา ดงั น้ี 1. ตวั ไถ จะเป็นไมส้ ามช้นิ ไดแ้ ก่ - คนั ไถ คอื สว่ นทย่ี ่นื ออกไปดา้ นหน้า เพอ่ื เชอ่ื มต่อกบั สว่ นทผ่ี กู ควาย - หางไถ คอื สว่ นทช่ี าวนาใชจ้ บั เวลาไถ เป็นไมช้ น้ิ เดยี วทาใหเ้ ป็นลกั ษณะเอยี งจากหวั หมูมา จนถงึ ส่วนทจ่ี ะต่อเขา้ กบั คนั ไถจะเจารูสเ่ี ลย่ี มผนื ผา้ ทะลุช้นิ ไม้เพ่อื ต่อกบั คนั ไถ เหนือส่วนน้ี ขน้ึ ไปจะทาเป็นรปู โคง้ เพอ่ื สะดวกตอ่ การจบั - หวั หมู คือ ส่วนทใ่ี ช้ไถดนิ จะประกอบดว้ ยไม้หน่ึงช้นิ บากปลายให้แหลมและบาน เจาะรู เดอื ยตวั เมยี สเ่ี หลย่ี มสาหรบั ต่อเขา้ กบั หางไถ ส่วนทา้ ยจะทาเป็นรปู ท่อนกลมยาว เพ่อื รกั ษา

ระดบั ไถเวลาไถนา ส่วนประกอบทเ่ี ป็นตวั สว่ นหวั จะเป็นรูปทรงแหลมกลวงเรยี กว่า ผานไถ ใช้สวมเข้ากบั ตวั ไม้หวั หมูแล้วยดึ ตดิ ด้วยตะปู ส่วนท่เี ป็นแผ่นปลายแหลมรบั ข้นึ มาอกี ช้ิน เรยี กว่า ปะขางไถ (หรอื ใบไถ) ใชบ้ งั คบั ดนิ ทถ่ี ูกไถ หรอื ทเ่ี รยี กว่า ขไ้ี ถ ใหพ้ ลกิ ไปตามแนวท่ี ตอ้ งการ ทางบา้ นผมทอ่ี ุบลราชธานีขไ้ี ถจะพลกิ ออกไปทางขวามอื 2. แอก คอื ไมช้ น้ิ ทท่ี าเพอ่ื วางบนคอววั มลี กั ษณะเหมอื นเขาควายกางออกตรงกลางสงู ขน้ึ เพอ่ื ใหร้ บั พอดกี บั คอววั 3. ววั 1 คู่ คอื การนาววั 2 ตวั มาเป็นกาลงั ในการลากไถเพอ่ื เป็นการใชใ้ นการไถนา ภาพที่ 26 ตวั ไถ

ภาพท่ี 27 แอกสาหรบั ววั 2 ตวั ขนั้ ตอนการไถนา การไถนาเป็นการเตรยี มดนิ เพาะปลูก โดยการใชไ้ ถหวั หมูจะทาหน้าทต่ี ดั และย่อยดนิ ให้แตกแยก จากการเกาะจบั เป็นผนื ใหญ่ ช่วยพลกิ ดนิ และกลบวชั พชื ให้เป็นป๋ ุยหรอื อาหารพชื ต่อไปได้ โดยมกี ารไถ ทงั้ หมด 2 รอบ รอบแรกคอื การไถท้งิ หรอื เรยี กอกี ช่อื หน่ึงว่าไถดะ รอบท่ี 2 จะเป็นการไถแปลดิน โดยมี วธิ กี ารไถดงั น้ี 1. การไถท้งิ หรอื ไถดะ จะเป็นการไถนาท่มี ที งั้ ต้นหญ้าและฟางอยู่เป็นการไถเพ่อื ให้ดนิ ทแี ห้ง เป็นแผ่นอย่แู ตกแยกออกจากกนั และไถเพ่อื กลบหญ้าและฟางใหล้ งไปอย่ใู ตด้ นิ เพอ่ื เป็นป๋ ุย โดยใชว้ วั 2 ตวั แลว้ นาไถทเ่ี ตรยี มไวม้ าผูกกบั ววั หลงั จากนนั้ กน็ าววั ลงไปทท่ี ุ่งนาบรเิ วณท่จี ะไถโดยจะใชค้ น 2 คน คนหน่ึง จะอย่บู รเิ วณขา้ งหน้าววั เพอ่ื บงั คบั ววั ใหเ้ ลย้ี วซา้ ย เลย้ี วขวา โดยการกระตุกเชอื กทต่ี อ่ กบั ตะพาย สว่ นคนท่ี 2 จะอยขู่ า้ งหลงั ทาหน้าทจ่ี บั ไถใหต้ งั้ และจบั ไถเดนิ ตามววั ไป โดยการไถจะไถจากขา้ งนอกวนเขา้ จะเรม่ิ จากกา รวนขวาไปขา้ งในเร่อื ย ๆเหมอื นกน้ หอยจะไปสน้ิ สุดบรเิ วณตรงจุดก่งึ กลางของนาไร่นนั้ พอดี เสรจ็ แลว้ ก็จะ นาววั เดนิ ออกไปเลยไม่ตอ้ งไถวนออกจากนนั้ กเ็ ตรยี มไถแปลตอ่ 2. การไถแปล คอื การไถเพ่อื ตดี นิ ให้แตกอกี รอบโดยการใช้น้าเขา้ มาช่วยด้วยปล่อยน้าใส่นาให้ เปียกหรอื ว่าบางครงั้ นากอ็ าจจะมีน้าอย่แู ลว้ ตงั้ แต่ขนั้ ตอนการไถท้งิ โดยขนั้ ตอนการไถแปลก็จะไถลกั ษณะ เหมอื นกนั กบั ไถทง้ิ หรอื จะเรยี กว่าเป็นการไถซ้าการไถทง้ิ กไ็ ดเ้ พอ่ื ใหด้ นิ แตกแยกออกจากกนั ละเอยี ดมากขน้ึ และใสน่ ้าในนาเพม่ิ มากขน้ึ จากการไถทง้ิ พอเสรจ็ ขนั้ ตอนน้กี จ็ ะเป็นการเตรยี มขนั้ ตอนการคาดตอ่ เลย

2. การคราดนา คอื การใช้ววั 1 คู่ (ววั 2 ตวั ) ขนั้ ตอนการคาดเป็นการเตรยี มดนิ หลงั จากการไถเป็นการ คาดเอาเศษหญา้ กอหญา้ ทอ่ี ย่ใู นนาออกจากนาเพอ่ื ใหพ้ น้ื ทน่ี าเป็นพน้ื ทท่ี พ่ี รอ้ มในการเพราะปลกู อปุ กรณ์การคราดนา การคราดนาในอดตี จะเป็นการใช้อุปกรณ์การคราดทท่ี าจากไม้และใช้เช่อื มกบั ววั เป็นกาลงั ช่วยใน การตราดโดยจะมอี ปุ กรณ์และสว่ นประกอบ ดงั น้ี ภาพท่ี 28 คราด 1. คราด เป็นอุปกรณ์ทใ่ี ชท้ าสาหรบั ทาใหด้ นิ ทไ่ี ถแลว้ ละเอยี ด ประกอบดว้ ย - แม่คราด เป็นไมท้ ่อนเจาะรูกลมสาหรบั ใสล่ ูกคราด ทาจากไมป้ ระดู่ เน่ืองจากเป็นไม้ทแ่ี ขง็ แรงใช้ งานไดน้ าน - ลูกคราด เป็นท่อนไมก้ ลมๆ รปู เรยี วดา้ นปลายตเี ขา้ ไปในรูของตวั คราด โผล่ออกมาจากตวั คราด ประมาณ 10-15 ซม. แต่ละซ่หี ่างหนั ประมาณ 10-15 ซม. เช่นกนั (ขน้ึ อย่กู บั ผทู้ า ไม่มสี ตู รตายตวั ) ทาจาก ไมป้ ระดหู่ ากไมม่ สี ามารถใชไ้ มไ้ มแ้ ดงแทนได้ - โขนงคราด เป็นไมส้ องช้นิ ยาวท่ตี ่อระหว่างตวั คราด ขนานกลบั พน้ื ยาวจนถงึ แอกควาย เวลาใช้ งานควายจะอย่รู ะหวา่ งคนั คราด ทาจากไมล้ วกป่า เน่อื งจากมคี วามหนาและแขง็ แรงกว่าไมไ้ ผท่ วั่ ไป

- เสาจบั คาด เป็นเสาสองเสาท่ตี งั้ ข้ึนเพ่อื เป็นตวั ยดึ มอื จบั กบั ตวั คราด ทาจากไม้แดง เน่ืองจากมี ความแขง็ แรงหากไมม่ สี ามารถใชไ้ มป้ ระด่แู ทนได้ - มอื จบั คราด เป็นไมย้ าวทรงกลมสาหรบั จบั เวลาคราดนา ทาจากไมแ้ ดง เน่ืองจากมคี วามแขง็ แรง และทนทานหกั ยากหากไม่มสี ามารถใชไ้ มป้ ระดแู่ ทนได้ - ไมข้ นั ชะเนาะ คอื ไมท่ ใ่ี ชไ้ วเ้ ป็นตวั หมุนดงึ และยดึ เชอื กใหต้ งึ เพอ่ื ปรบั ความกวา้ งของคราด ทาจาก ไมแ้ ดงเน่อื งจากมคี วามแขง็ แรง 2. แอก คอื ไมช้ น้ิ ทท่ี าเพอ่ื วางบนคอววั มลี กั ษณะเหมอื นเขาควายกางออก ตรงกลางสงู ขน้ึ เพอ่ื ให้ รบั พอดกี บั คอววั 3. ววั 1 คู่ คอื การนาววั 2 ตวั มาเป็นกาลงั ในการลากคราดเพอ่ื เป็นการใชใ้ นการคราดนา ขนั้ ตอนการคราดนา การคราดก็ถอื เป็นอีกหน่ึงขนั้ ตอนในการเตรยี มดนิ โดยขนั้ ตอนน้ีจะเป็นการรวบรวมเศษหญ้าท่ี หลงเหลอื อย่ใู นแปลงนาหลงั จากมกี ารไถดะและไถแปรแลว้ เอาออกจากแปลงนา โดยสว่ นใหญ่ตวั คราดนา สมยั ก่อนจะทาจากไมโ้ ดยจะนาคราดมาเพ่อื ใชค้ ราดหรอื รวบรวมหญา้ ในแปลงนาใหเ้ ป็นกอง ๆ โดยใชแ้ รง ววั 2 ตวั ในการคราด โดยมขี นั้ ตอนการคราด ดงั น้ี 1. นาคราดทเ่ี ตรยี มไวม้ าผกู ต่อกบั ววั 2 ตวั แลว้ นาววั ลงไปทท่ี ่งุ นาบรเิ วณตอ้ งการคราด 2. เรมิ่ คราดจากมมุ ของคนั นาฝัง่ ไหนกอ่ นกไ็ ดโ้ ดยจะมคี นจบั คาดเดนิ ตามหลงั ววั 1 คน 3. พอววั เดนิ ไปถงึ อกี ฝัง่ ของคนั นาก็จะยกคราดและบงั คบั ใหว้ วั หนั กลบั มาและวางคลาดเดนิ วนกบั มาโดยขยบั ขน้ึ มาจากรอยเดมิ ทค่ี ราดไปแลว้ โดยทาแบบน้ไี ปเร่อื ยๆ วนกลบั ไปมาจะทวั่ นา 4. คราดซ้าเช่นเดมิ อกี จนกว่าดนิ จะแตกละเอียด พร้อมกบั ออกแรงกดคราดลงดนิ ขณะท่คี ราดอยู่ แลว้ ยกขน้ึ เพอ่ื ใหไ้ ดเ้ ศษหญา้ ทห่ี ลงเหลอื อยแู่ ลว้ เกบ็ ออกจากแปลงนาไปกองๆไวบ้ รเิ วณคนั นา 5. การคราดนาจะไม่ระบุว่าต้องคราดก่รี อบ ส่วนมากลกั ษณะดนิ แต่ละทุ่งนาจะไม่เหมอื นกนั มแี ขง่ บา้ งนิ่มบา้ งจงึ ใชก้ ารสงั เกตเอาว่าคราดจนดนิ ละเอยี ดนิ่มดแี ลว้ และดเู ศษหญา้ ในดนิ ดว้ ยวา่ เกบ็ ออกหมดรยึ งั ถ้าดนิ ระเอยี ดน่ิมดแี ล้วและเศษหญ้าในนาไม่มแี ล้วก็ถอื ว่าเป็นการเสรจ็ ในขนั้ ตอนการคราดและต่อไปก็จะ เป็นการเตรยี มการปลกู ขา้ วต่อไป

ภาพท่ี 29 การคราดนา ทม่ี า : www.mgronline.com วนั ทส่ี บื คน้ 20 พฤษภาคม 2564 3. การนวดข้าว คอื การใชว้ วั เหยยี บขา้ วโดยปักเสาสงู กลางลาน เรยี กวา่ “หลกั เกยี ด” จะใชว้ วั ประมาณ 2-4 ตวั โดยจานวนววั ทใ่ี ชข้ น้ึ อย่กู บั จานวนขา้ วและขนาดของลานขา้ ววา่ เยอะและกวา้ งแคไ่ หน อปุ กรณ์การนวดข้าวการนวดขา้ วในอดตี เกษตรกรจะใชว้ วั ในการช่วยนวดขา้ วโดยการนาววั มา เหยยี บย่าขา้ วในลานทจ่ี ดั เตรยี มไว้ แตใ่ นปัจจุบนั ใชเ้ ป็นรถนวดขา้ วหมดแลว้ เน่อื งจากมคี วามรวดเรว็ กว่า โดยมอี ุปกรณ์การนวดขา้ ว ดงั น้ี 1. หลกั เกยี ด คอื เสาทท่ี าจากไมแ้ ดงซ่งึ เป็นไมเ้ น้ือแขง็ มคี วามแขง็ แรงทนทานเน่ืองจากหลกั เกยี ด ตอ้ งใชเ้ ป็นจดุ กลางทใ่ี ชใ้ นการผกู ยดึ ววั หลายตวั ไวด้ งั นนั้ จงึ ตอ้ งใชไ้ มท้ แ่ี ขง็ แรงหากไม่มไี มแ้ ดง สามารถใชไ้ ม้ เตง็ และไมม้ ะค่าแทนได้ ความยาวของหลกั เกยี ดประมาณ 4 เมตร ฝังลงดนิ 1 เมตร บรเิ วณกลางลานนวด ขา้ ว ภาพท่ี 30 หลกั เกยี ด

2. เชอื กพวน คอื เชอื กเสน้ ใหญท่ รงกลมทม่ี คี วามหนาประมาณ 1 น้วิ ยาวประมาณ 2-4 เมตร ปลายเชอื กฝัง่ หน่งึ ทาเป็นห่วงเพอ่ื ผกู คอววั ภาพท่ี 31 เชอื กพวน 3. ปฏกั คอื อุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการแทงหรอื ทมิ่ ใหว้ วั เดนิ หรอื วง่ิ นวดขา้ วในลานโดยทาดา้ มจากไมล้ วก ไป เน่ืองจากมคี วามแขง็ ไม่เปราะหรอื หกั งา่ ยสามารถเกบ็ ไวใ้ ชไ้ ดน้ านใชเ้ ล้ยี งววั กไ็ ดด้ ว้ ยสว่ นปลายใสเ่ หลก็ แหลมเลก็ โผลอ่ อกมาประมาณ 4-5 เซนตเิ มตร เพอ่ื เป็นตวั ทมิ่ ใหว้ วั ตกในแลว้ เดนิ ภาพท่ี 32 ปฏกั ภาพท่ี 33 ปฏกั

4. ววั จะใชป้ ระมาณ 2 – 4 ตวั ขน้ึ อยกู่ บั ขนาดของลานและจานวนขา้ วทเ่ี กบ็ เกย่ี ว ขนั้ ตอนการนวดข้าว ภาพท่ี 34 การนวดขา้ ว 1. การเตรยี มลาน 1.1 เดิมคนสมยั ก่อนจะใช้ข้วี วั สดท่ที ่เี ก็บหลงั จากววั ข้ตี อนเช้า ต้องเก็บใส่กระสอบไว้ก่อน เพอ่ื ทจ่ี ะนามาใชใ้ นการทาลา 1.2 นาขว้ี วั ทเ่ี กบ็ ไวไ้ ปทาเป็นลานคลา้ ยๆกบั ใชป้ ูนเทเป็นลานกว้างๆโดยขนาดของลานทท่ี าข้นึ อยู่ กบั จานวนขา้ วของเขา้ ของนานัน้ ๆว่ามขี ้าวเยอะหรอื ขา้ วน้อยถ้ามีขา้ วเยอะก็จะทาเป็นลานกว้างพอท่วี าง ฟ่อนขา้ วทม่ี อี ย่โู ดยจะนาขว้ี วั สดๆหรอื ถ้าขว้ี วั ทเ่ี กบ็ ไวไ้ ม่เปียกพอกจ็ ะนาไปคลุกกบั น้าใหข้ ว้ี วั เหนียวๆเพ่อื จะ นามาทาเป็นลานหลงั จากทท่ี าเป็นลานแลว้ กจ็ ะตากไวเ้ ป็นเวลา 2 วนั เพอ่ื ทจ่ี ะใหล้ านแหง้ พรอ้ มนาฟ่อนขา้ ว มาวางได้

ภาพท่ี 35 การเตรยี มลาน 1.3 หลงั จากทาลานเสรจ็ กจ็ ะเป็นการนาหลกั เกยี ดไปตงั้ บรเิ วณกลางลานโดยหลกั เกยี ดนนั้ คน สมยั กอ่ นสว่ นมากจะใชไ้ มแ้ ดงเน่อื งจากมคี วามแขง็ มนั่ คงไมห่ กั งา่ ยความสงู ประมาณ 4 เมตร ฝังลงดนิ ลกึ ประมาณ 1.5 เมตร หลงั จากนนั้ กน็ าววั มาผกู ท่หี ลกั เกยี ดเพอ่ื เตรยี มนวดขา้ ว 1.4 นาฟ่อนขา้ วมาวางในลาน (ฟ่อนขา้ ว คอื การเกย่ี วขา้ วเป็นกาๆมารวมกนั ประมาณ 3-4 กา แลว้ มกั รวมกนั จะเรยี กวา่ 1 ฟ่อน) เป็นวงกลมรอบๆหลกั เกยี ด 1.5 ใชว้ วั นวดขา้ ว โดยการนาปฏกั ทม่ิ ทท่ี า้ ยววั เพ่อื ใหว้ วั เดนิ เป็นวงกลมหมุนรอบหลกั เกยี ดเหยยี บ ย่าฟ่อนขา้ วเพ่อื ใหเ้ มลด็ ขา้ วหลุดออกจากฟ่อนขา้ วโดยจะใหว้ วั เดนิ เหยยี บไปเร่อื ย ๆจนเมลด็ ขา้ วหลุดออก มากท่สี ุดส่วนเมล็ดข้าวท่ียงั มเี หลอื ติดอยู่ฟ่ อนข้าวชาวนาก็จะนาไปฟาดกับมอื เองเพ่อื ให้เมล็ดข้าวหลุด ออกมาใหห้ มด

ผใู้ ห้ขอ้ มลู ชื่อ – สกลุ : นายสม ทองศลิ ย์ ชื่อแลน่ : อว้ น วนั /เดือน/ปี เกิด : วนั ท่ี 10 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2502 อายุ : 62 ปี ที่อยู่ : บา้ นเลขท่ี 6 หม่ทู ่ี 7 บา้ นดอนกลาง ตาบลจอมประทดั อาเภอวดั เพลง จงั ราชบุรี รหสั ไปรษณยี ์ 70000 เบอรโ์ ทรศพั ท์ : - ประกอบอาชีพ : เกษตรกร ประวตั คิ วามเป็นมา เรม่ิ ตน้ จากการเลย้ี งววั ในสมยั เดก็ ตงั้ แต่รนุ่ บรรพบุรษุ พอเรยี นจบกอ็ อกมา ประกอบอาชพี ทานาตามบรรพบรุ ุษทท่ี าต่อกนั มาโดยการใชว้ วั ในการทานาก่อนท่ีจะนาววั มาช่วยทานาก็ ตอ้ งมกี ารเลย้ี งดแู ลและการฝึกฝนจนกว่าววั จะไถนาเป็นจงึ ทาใหเ้ กดิ ความผกู พนั ระหวา่ งคนกบั ววั เพราะตอ้ ง อยดู่ ว้ ยกนั ทกุ วนั จงึ รแู้ ละสงั เกตทกุ อยา่ งเกย่ี วกบั ววั ไดเ้ ม่อื ววั มอี าการแปลกๆ เชน่ ไม่สบาย หรอื ว่าววั ตอ้ งการผสมพนั ธแุ์ ละอาการของววั ทต่ี งั้ ทอ้ ง และตอ่ มาไดม้ กี ารนาววั หลงั จากว่าจากการทานามาแข่งวดั ความเรว็ และกาลงั ของววั กนั เพอ่ื ความสนุกสนาน จงึ เรม่ิ มคี วามเชย่ี วชาญดา้ นการดแู ลววั วา่ ดแู ลอยา่ งไรให้ ววั กนิ อะไรถงึ วง่ิ เรว็ และมคี วามรเู้ ร่อื งการเลกิ ววั ทเ่ี ป็นมงคลและมกี าลงั ดี จากประสบการณ์ในการเล้ยี งววั และจากการถ่ายทอดองคค์ วามรจู้ ากบรรพบุรุษ