Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธธรรม (ฉบับเดิม)

พุทธธรรม (ฉบับเดิม)

Published by Owent, 2020-05-14 01:59:16

Description: พุทธธรรม (ฉบับเดิม) เป็นบทธรรมของท่าน ป.อ.ปยุตโต เป็นหนังสือที่ชาวพุทธควรมีไว้ประจำบ้าน เป็นการบรรยายธรรมเพื่อให่สาธุชนอ่านเข้าใจง่ายขึ้น

Keywords: พุทธธรรม,ป.อ.ปยุตโต,หนังสือธรรม,dhamma,buddhism

Search

Read the Text Version

พุทธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 151 ใชในกระบวนการปฏบิ ตั ิธรรมใหเ ปนประโยชนไดมากพอสมควรในระยะตน ๆ แตจ ะถกู ปญ ญาเขา แทน ที่โดยส้นิ เชิงในทสี่ ุด ๔. ศรัทธาทีม่ งุ หมายในกระบวนการพัฒนาปญ ญาน้ัน อาจใหค วามหมายสั้นๆ วา เปนความซาบซงึ้ ดวย ม่ันใจในเหตผุ ลเทา ทีต่ นมองเหน็ คอื มน่ั ใจตนเองโดยเหตผุ ลวา จดุ หมายท่อี ยเู บือ้ งหนา นัน้ เปน ไปไดจ รงิ แท และมคี า ควรแกการทีต่ นจะดําเนินไปใหถงึ เปนศรทั ธาทเ่ี รา ใจใหอ ยากพสิ จู นค วามจรงิ ของเหตผุ ลที่ มองเหน็ อยูเ บอ้ื งหนา นั้นตอๆ ยิ่งๆ ขนึ้ ไป เปนบันไดขน้ั ตนสูความรู ตรงขามกับความรูสกึ มอบใจใหแ บบ อาเวค ซ่ึงทาํ ใหห ยดุ คดิ หาเหตุผลตอ ไป ๕. เพอ่ื ควบคุมศรทั ธาใหอยใู นความหมายที่ถกู ตอง ธรรมหมวดใดก็ตามในพุทธธรรม ถา มศี รทั ธาเปน สว น ประกอบขอหน่งึ แลว จะตองมปี ญญาเปน อกี ขอหนง่ึ ดว ยเสมอไป และตามปรกติศรทั ธายอมมาเปนขอ ทีห่ น่งึ พรอ มกบั ท่ีปญ ญาเปน ขอ สดุ ทาย แตใ นกรณีที่กลาวถงึ ปญญา ไมจาํ เปน ตอ งกลา วถงึ ศรทั ธาไว ดวย ปญญาจึงสาํ คญั กวาศรทั ธา ท้ังในฐานะเปนตัวคุม และในฐานะเปน องคป ระกอบที่จําเปน แมใ น แงค ณุ สมบตั ขิ องบคุ คล ผทู ไ่ี ดรบั ยกยอ งสงู สดุ ในพระพุทธศาสนา กค็ ือผูมปี ญญาสงู สดุ เชน พระสารี บตุ รอัครสาวก เปน ตน ศรัทธาแมแ ตท่ถี กู ตอง กถ็ ือเปน ธรรมขัน้ ตน ๖. คณุ ประโยชนของศรทั ธา เปนไปใน ๒ ลกั ษณะ คอื ในแนวหนึง่ ศรทั ธาเปนปจจัยใหเกิดปต ิ ซง่ึ ทําใหเ กดิ ปสสัทธิ (ความสงบเยือกเยน็ ) นําไปสสู มาธิและปญ ญาในทส่ี ดุ อกี แนวหนงึ่ ศรัทธาทําใหเ กดิ วิริยะ คอื ความเพยี รพยายามทจี่ ะปฏบิ ัติ ทดลองส่งิ ท่ีเชอ่ื ดว ยศรัทธานน้ั ใหเหน็ ผลประจกั ษจริงจังแกตน ซึ่งกน็ ํา ไปสูปญ ญาในทส่ี ุดเชนกนั คุณประโยชนทั้งสองน้ี จะเห็นวาเปน ผลจากความรูสกึ ในฝายอาเวค แตมี ความตระหนักในความตองการปญ ญาแฝงอยดู ว ยตลอดเวลา ๗. ศรทั ธาเปนไปเพือ่ ปญญา ดงั นน้ั ศรทั ธาจึงตอ งสงเสรมิ ความคดิ วิจยั วิจารณ จงึ จะเกดิ ความกา วหนา แก ปญ ญาตามจดุ หมาย นอกจากน้ี แมตวั ศรทั ธาน่ันเอง จะม่นั คงแนนแฟนได ก็เพราะไดค ิดเห็นเหตผุ ล จนม่นั ใจ หมดความเคลอื บแคลงสงสยั ใดๆ โดยนยั นี้ ศรทั ธาในพทุ ธธรรมจงึ สงเสริมการคนคิดหาเหตุ ผล การขอรองใหเช่ือกด็ ี การบงั คบั ใหย อมรบั ความจรงิ ตามท่กี าํ หนดก็ดี การขดู วยภัยแกผ ูไมเ ช่ือกด็ ี เปนวิธีการทเี่ ขา กนั ไมไ ดเ ลยกบั หลักศรัทธาน้ี ๘. ความเล่ือมใสศรทั ธาติดในบุคคล ถือวามีขอ เสียเปนโทษได แมแ ตความเลือ่ มใสตดิ ในองคพระศาสดา เอง พระพุทธเจาก็ทรงสอนใหละเสีย เพราะศรัทธาทแี่ รงดวยความรูส ึกทางอาเวค กลบั กลายเปน อปุ สรรคตอ ความหลดุ พนเปนอสิ ระโดยสมบูรณ ในขนั้ สดุ ทา ย ๙. ศรัทธาไมถ กู จัดเปน องคมรรค เพราะตัวการทจี่ ําเปนสําหรับการดาํ เนนิ กาวหนา ตอไปในมรรคาน้ี คอื ปญ ญาที่พว งอยูกบั ศรัทธานน้ั ตา งหาก และศรทั ธาท่จี ะถอื วาใชไ ดก็ตอ งมีปญ ญารองรับอยูดวย นอก จากน้ี ทานท่ีมีปญ ญาสูง เชน องคพระพุทธเจาเอง และพระปจเจกพุทธเจา ทรงเรมิ่ มรรคาที่ตวั ปญญา

พุทธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 152 ทเี ดยี ว ไมผา นศรทั ธา เพราะการสรางปญญาไมจาํ ตอ งเร่ิมที่ศรทั ธาเสมอไป (ดูเหตุเกดิ สมั มาทิฏฐิขา ง หนา) ดว ยเหตดุ งั กลาวน้ี ความหมายในขน้ั ศรทั ธาจงึ ถกู รวมเขาไวในองคม รรคขอ แรกคอื สมั มาทฏิ ฐิ ไม ตอ งแยกไวตา งหาก ๑๐. แมแ ตศ รัทธาทพี่ น จากภาวะเปน ความเชอ่ื งมงายแลว ถาไมด าํ เนนิ ตอไปถงึ ขัน้ ทดลองปฏิบตั เิ พอ่ื พสิ จู น ใหเ หน็ ความจรงิ ประจกั ษแกต น กไ็ มน ับวาเปนศรัทธาท่ถี ูกตอ งตามความหมายแทจ ริง เพราะเปน ศรทั ธาท่มี ไิ ดปฏบิ ัตหิ นาทตี่ ามความหมายของมนั จดั เปน การปฏบิ ัตธิ รรมผิดพลาด เพราะปฏิบัตอิ ยา ง ขาดวตั ถุประสงค ๑๑. แมศรทั ธาจะมีคณุ ประโยชนส ําคัญ แตใ นข้นั สูงสดุ ศรทั ธาจะตองหมดไป ถายังมีศรทั ธาอยู ก็แสดงวา ยังไมบ รรลุจดุ หมาย เพราะตราบใดท่ียงั เชือ่ ตอจดุ หมายน้ัน ก็ยอมแสดงวา ยงั ไมไดเ ขา ถึงจดุ หมายนัน้ ยังไมร ูเห็นจริงดวยตนเอง และตราบใดทยี่ ังมีศรัทธา ก็แสดงวา ยังตองอิงอาศยั สงิ่ อืน่ ยงั ตองฝาก ปญญาไวกบั ส่ิงอืน่ หรอื ผอู ่ืน ยงั ไมห ลุดพนเปนอสิ ระโดยสมบรู ณ โดยเหตุนศี้ รทั ธาจึงไมเปนคณุ สมบตั ิ ของพระอรหันต ตรงขา ม พระอรหนั ตกลบั มีคุณลักษณะวา เปนผไู มม ศี รัทธา (อัสสทั ธะ) ซึง่ หมายความ วา ไดรูเห็นประจักษ จงึ ไมต อ งเช่ือตอใครๆ หรือตอเหตุผลใดๆ อกี ๑๒. โดยสรปุ ความกาวหนา ในมรรคานี้ ดําเนินมาโดยลําดบั จากความเชอ่ื (ศรัทธา) มาเปน ความเห็นหรือ เขา ใจโดยเหตุผล (ทฏิ ฐ)ิ จนเปนการรกู ารเห็น (ญาณทสั สนะ) ในท่ีสดุ ซึ่งในขน้ั สุดทา ยเปนอนั หมด ภาระของศรทั ธาโดยส้นิ เชิง ๑๓. ศรทั ธามขี อบเขตความสําคญั และประโยชนแคไหนเพยี งใด เปน ส่ิงทีจ่ ะตอ งรเู ขาใจตามเปน จรงิ ไมควร ตีคาสงู เกินไป แตกไ็ มควรดูแคลนโดยเดด็ ขาด เพราะในกรณที ่ดี แู คลนศรทั ธา อาจกลายเปน การเขา ใจ ความหมายของศรัทธาผดิ เชน ผูทค่ี ิดวา ตนเชอ่ื ม่นั ในตนเอง แตก ลายเปนเชือ่ ตอกเิ ลสของตน ในรูป อหงั การมมงั การไป ซึง่ กลบั เปน ผลรา ยไปอกี ดา นหนง่ึ ๑๔. ในกระบวนการแหงความเจริญของปญญา (หรอื การพฒั นาปญ ญา) อาจกาํ หนดขน้ั ตอนทจี่ ดั วาเปน ระยะของศรทั ธาไดครา วๆ คือ ๑) สรางทศั นคตทิ มี่ เี หตผุ ล ไมเชื่อหรอื ยดึ ถือสงิ่ ใดสงิ่ หนง่ึ เพยี ง เพราะฟงตามๆ กันมา เปนตน (ตามแนวกาลามสตู ร) ๒) เปน ผคู ุมครองหรืออนรุ ักษสจั จะ (สจั จานุรักษ) คอื พดู จาํ กดั ขอบเขตของตนใหชดั วา เทาท่ตี นรูเห็นเขา ใจคอื แคน้นั เปน อยาง น้นั ๆ ไมเ อาความรเู หน็ เขา ใจของตนไปผูกขาดความจริง และยนิ ดี รบั ฟง หลักการ ทฤษฎี คาํ สอน ความเหน็ ตา งๆ ของทกุ ฝายทกุ ดาน ดวยใจท่ีเปน กลาง ไมดว นตดั สนิ ส่งิ ท่ยี ังไมร ไู มเ หน็ วา เปน เท็จ ไมยนื กรานยึดติดแตสิ่งท่ตี นรเู ทานน้ั วา ถกู ตองเปน จรงิ

พุทธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 153 ๓) เมอ่ื รับฟงทฤษฎี คําสอน ความเห็นตางๆ ของผอู ืน่ แลว พจิ ารณาเทาท่เี ห็นดวยปญ ญาตนวา เปนสงิ่ มีเหตผุ ล และเหน็ วาผแู สดงทฤษฎี คาํ สอน หรือความเหน็ นนั้ ๆ เปน ผูมีความ จริงใจ ไมลําเอียง มปี ญญา จึงเลือ่ มใส รบั เอามาเพือ่ คิดหา เหตผุ ลทดสอบความจรงิ ตอ ไป ๔) นําสง่ิ ทใ่ี จรบั มานัน้ มาขบคิดทดสอบดวยเหตุผล จนแนแกใ จ ตนวา เปน ส่ิงที่ถูกตองแทจริง อยา งแนน อน จนซาบซงึ้ ดว ย ความมั่นใจในเหตุผลเทาที่ตนมองเห็นแลว พรอ มทีจ่ ะลงมอื ปฏบิ ัตพิ สิ จู นทดลองใหรเู หน็ ความจริงประจกั ษตอไป ๕) ถา มคี วามเคลือบแคลงสงสยั รบี สอบถามดวยใจบริสทุ ธิ์ มงุ ปญ ญา มใิ ชด วยอหงั การมมงั การ พิสูจนเ หตุผลใหช ดั เจนเพอ่ื ใหศ รทั ธานนั้ ม่นั คงแนน แฟน เกดิ ประโยชนสมบูรณตามความ หมายของมนั - สรปุ คุณสมบัตแิ ละหนาที่ของศรทั ธาท่ีถูกตอง ศรทั ธาเปนจุดเรม่ิ ตน สําหรบั คนทัว่ ไป ที่จะเขา สูม ัชฌิมาปฏิปทา จงึ เปนธรรมสาํ คญั ทจ่ี ําเปน ตอ งเนน ให มาก วา จะตองเปนศรทั ธาที่ถูกตองตามหลักทีจ่ ะเปน สัมมาทฏิ ฐิ ในทีน่ ี้ จงึ ขอสรุปคุณสมบัตแิ ละการทําหนา ที่ ของศรทั ธาท่จี ะตองสมั พนั ธกับปญญา ไวเปนสวนเฉพาะอกี คร้งั หนึ่ง วา ๑. ศรัทธาตอ งประกอบดวยปญญา และนําไปสูปญ ญา ๒. ศรัทธาเกื้อหนนุ และนาํ ไปสปู ญ ญา โดย ก) ชวยใหป ญ ญาไดจดุ เร่มิ ตน เชน ไดฟ ง เร่ืองหรอื บุคคลใด แสดงสาระ มีเหตผุ ล นาเชอ่ื ถือหรอื นา เล่ือมใส เหน็ วาจะนาํ ไปสคู วามจริงได จงึ เรมิ่ ศกึ ษาคนควาจากจดุ หรอื แหลงน้นั ข) ชว ยใหป ญ ญามเี ปา หมายและทศิ ทาง เมอื่ เกดิ ศรทั ธาเปนเคาวา จะไดความจริงแลว ก็มงุ หนาไปทาง น้ัน เจาะลกึ ไปในเร่ืองนนั้ ไมพรา ไมจ ับจด ค) ชวยใหปญ ญามีพลงั หรอื ชว ยใหการพัฒนาปญ ญากา วไปอยา งเขม แขง็ คอื เม่อื เกดิ ศรัทธามั่นใจวา จะไดค วามจริง กม็ กี ําลังใจเพยี รพยายามศึกษาคน ควาอยางจรงิ จัง วิริยะกม็ าหนุน ดวยเหตนุ ้ี พระพทุ ธเจา จงึ ทรงแสดงหลักความเสมอกนั หรอื หลกั ความสมดลุ แหง อินทรีย ท่เี รยี กวา อนิ ทรยิ สมตา ไว โดยใหผปู ฏิบตั ทิ ั่วๆ ไป มศี รทั ธาท่ีเขา คูส มดุลกับปญญา ใหธรรมสองอยา งนี้ ชว ยเสรมิ กนั และ คมุ กนั ใหพอดี (เชน เดยี วกับวิริยะคือความเพยี ร ทจี่ ะตอ งเขา คสู มดลุ กบั สมาธิ เพอ่ื ใหว ริ ิยะไมเ ปน ความเพยี รที่ พลุงพลานรอ นรน และสมาธไิ มกลายเปนน่งิ เฉยหรือเกียจครานเฉ่ือยชา แตใ หเปน การกา วไปอยา งเรียบรื่นและ

พทุ ธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) 154 หนักแนนมัน่ คง ทง้ั นี้โดยมสี ติเปน ตัวกํากับ จัด ปรับ และรกั ษาความสมดลุ น้นั ไว ถา พดู กวา งๆ ก็ถือวาทง้ั ๕ อยา ง คือ ศรทั ธา วริ ยิ ะ สติ สมาธิ ปญ ญา ตอ งสมดลุ กนั ท้ังหมด) - พุทธพจนแ สดงหลกั ศรทั ธา 1- ทัศนคติตามแนวกาลามสูตร สําหรบั ทุกคน ไมว าจะเปนผนู ับถือทฤษฎี ลทั ธิ หรอื คาํ สอนอนั ใดอนั หนง่ึ อยแู ลว หรอื ยังไมน ับถือกต็ าม มหี ลักการตัง้ ทศั นคตทิ ่ีประกอบดวยเหตผุ ล ตามแนวกาลามสูตร ดงั นี้ พระพทุ ธเจา เสด็จจาริก ถงึ เกสปุตตนิคมของพวกกาลามะ ในแควน โกศล ชาวกาลามะไดยินกิตติศัพท ของพระองค จงึ พากนั ไปเฝา แสดงอาการตางๆ กัน ในฐานะยังไมเ คยนับถอื มากอน และไดทูลถามวา พระองคผ เู จรญิ มสี มณพราหมณพวกหนึ่งมาสูเ กสปตุ ตนคิ ม ทา นเหลาน้ันแสดงเชดิ ชแู ตวาทะ (ลทั ธ)ิ ของตนเทา นั้น แตยอมกระทบกระเทียบ ดูหม่ิน พูดกดวาทะฝายอืน่ ชกั จงู ไมใหเช่อื สมณพราหมณอกี พวกหน่ึง ก็มาสูเกสปุตตนคิ ม ทา นเหลา น้ัน ก็แสดงเชดิ ชแู ตว าทะของตนเทา นนั้ ยอ มกระทบกระเทียบ ดูหมิ่น พูดกดวา ทะฝายอืน่ ชักจงู ไมใหเ ชอื่ พวกขาพระองค มคี วามเคลือบแคลงสงสัยวา บรรดาสมณพราหมณเหลาน้นั ใครพดู จริง ใครพดู เทจ็ ? กาลามชนท้งั หลาย เปน การสมควรท่ีทา นทั้งหลายจะเคลอื บแคลง สมควรที่จะสงสยั ความ เคลอื บแคลงสงสัยของพวกทานเกิดขน้ึ ในฐานะ กาลามชนทัง้ หลาย ทานทัง้ หลาย - อยา ปลงใจเชือ่ โดยการฟง (เรียน) ตามกันมา (อนุสสวะ) - อยา ปลงใจเช่อื โดยการถือสืบๆ กันมา (ปรมั ปรา) - อยาปลงใจเชอื่ โดยการเลา ลอื (อิตกิ ริ า) - อยาปลงใจเช่ือ โดยการอา งตาํ รา (ปฏ กสัมปทาน) - อยา ปลงใจเชื่อ โดยตรรก (ตักกะ) - อยา ปลงใจเชอ่ื โดยการอนุมาน (นยะ) - อยา ปลงใจเชอื่ โดยการคิดตรองตามแนวเหตผุ ล (อาการปริวติ ักกะ) - อยา ปลงใจเชือ่ เพราะเขากันไดกับทฤษฎีของตน (ทฏิ ฐินิชฌานกั ขันติ) - อยาปลงใจเช่ือ เพราะมองเห็นรปู ลกั ษณะนาเช่ือ (ภพั พรูปตา) - อยาปลงใจเชอื่ เพราะนบั ถอื วา ทา นสมณะนเ้ี ปน ครขู องเรา (สมโณ โน ครูต)ิ เม่ือใด ทานท้งั หลายรูดว ยตนเองวา ธรรมเหลานี้เปนอกุศล ธรรมเหลา น้มี ีโทษ ธรรมเหลา นี้วญิ ชู นติ เตยี น ธรรมเหลาน้ีใครยึดถอื ปฏบิ ตั ิถวนถึงแลว จะเปน ไปเพือ่ มิใชประโยชนเกอื้ กลู เพอ่ื ความทกุ ข เมอ่ื น้ัน ทา น ท้งั หลายพึงละเสีย ฯลฯ เมอ่ื ใด ทานทงั้ หลายรดู ว ยตนเองวา ธรรมเหลา น้ีเปน กศุ ล ธรรมเหลาน้ีไมมีโทษ ธรรมเหลานวี้ ิญูชน สรรเสริญ ธรรมเหลานีใ้ ครยึดถือปฏิบัตถิ ว นถึงแลว จะเปน ไปเพ่ือประโยชนเ กือ้ กูล เพ่อื ความสขุ เมื่อนัน้ ทานท้ัง

พทุ ธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 155 หลายพึงถือปฏิบัติบาํ เพ็ญ (ธรรมเหลานั้น)ในกรณีท่ผี ฟู งยงั ไมรูไมเ ขาใจและยงั ไมมีความเชือ่ ในเร่ืองใดๆ กไ็ ม ทรงชักจูงความเช่ือ เปนแตท รงสอนใหพิจารณาตดั สนิ เอาตามเหตผุ ลทเี่ ขาเห็นไดดว ยตนเอง เชน ในเร่อื งความ เชอ่ื เกยี่ วกบั ชาตนิ ้ีชาติหนา ในแงจ ริยธรรม กม็ ีความในตอนทายของสตู รเดียวกนั นน้ั วา กาลามชนทง้ั หลาย อริยสาวกนน้ั ผมู ีจิตปราศจากเวรอยา งน้ี มจี ิตปราศจากความเบียดเบยี นอยา งน้ี มี จติ ไมเศรา หมองอยา งนี้ มจี ิตบรสิ ุทธอ์ิ ยางนี้ ยอ มไดประสบความอนุ ใจถงึ ๔ ประการ ตั้งแตใ นปจ จบุ ันนแ้ี ลว คือ ถา ปรโลกมีจริง ผลวบิ ากของกรรมท่ีทาํ ไวดีทําไวชวั่ มีจรงิ การทว่ี า เมอ่ื เราแตกกายทาํ ลายขนั ธไปแลว จะเขาถงึ สุคติโลกสวรรค ก็ยอมเปนส่งิ ทีเ่ ปนไปได น้ีเปนความอุนใจประการท่ี ๑ ทีเ่ ขาไดรับ ก็ถา ปรโลกไมม ี ผลวิบากของกรรมท่ที ําไวด ีทาํ ไวชว่ั ไมม ี เราก็ครองตนอยู โดยไมม ที ุกข ไมมีเวร ไมม ี ความเบยี ดเบยี น เปน สุขอยแู ตใ นชาติปจจุบนั นี้แลว นเ้ี ปน ความอนุ ใจประการที่ ๒ ที่เขาไดร ับ ก็ถาเม่อื คนทาํ ความชว่ั กเ็ ปน อันทาํ ไซร เรามิไดคิดการชวั่ รา ยตอ ใครๆ ท่ีไหนทกุ ขจ ักมาถกู ตอ งเราผูมไิ ด ทาํ บาปกรรมเลา น้ีเปน ความอนุ ใจประการที่ ๓ ทเี่ ขาไดร บั กถ็ าเมอ่ื คนทําความชัว่ ก็ไมช อื่ วาเปน อันทําไซร ในกรณนี ี้ เรากม็ องเหน็ ตนเปนผบู รสิ ทุ ธ์ิทง้ั สองดาน น้ี เปนความอุนใจประการท่ี ๔ ทีเ่ ขาไดร ับ สาํ หรับผูท่ยี งั ไมไ ดน บั ถอื ในลทั ธิศาสนาหรอื หลกั คาํ สอนใดๆ พระองค จะตรัสธรรมเปน กลางๆ เปน การ เสนอแนะความจรงิ ใหเขาคดิ ดว ยความปรารถนาดี เพื่อประโยชนแกตวั เขาเอง โดยมิตองคํานงึ วา หลักธรรมน้นั เปน ของผใู ด โดยใหเขาเปนตัวของเขาเอง ไมมกี ารชักจงู ใหเ ขาเช่ือหรือเล่อื มใสตอ พระองค หรือเขามาสอู ะไรสกั อยา งท่ีอาจจะเรียกวา ศาสนาของพระองค พึงสังเกตดว ยวา จะไมทรงอา งพระองค หรืออา งอํานาจเหนอื ธรรมชาตพิ ิเศษอนั ใด เปนเครื่องยนื ยนั คาํ สอนของพระองค นอกจากเหตุผลและขอเท็จจริงท่ีใหเขาพิจารณาเหน็ ดวยปญญาของเขาเอง เชน เรื่องในอ ปณณกสตู ร ซงึ่ แสดงใหเ ห็นเหตผุ ลท่ีควรประพฤติธรรม โดยไมตองใชวิธขี ดู วยการลงโทษและลอดว ยการให รางวัล ดงั น้ี :- พระพุทธเจาเสดจ็ จารกิ ถงึ หมบู านพราหมณช ือ่ สาลา พวกพราหมณค หบดชี าวหมูบานน้ี ไดท ราบ กิตตศิ พั ทข องพระองค จึงพากันไปเฝา แสดงอาการตางๆ ในฐานะอาคนั ตกุ ะท่ยี งั มิไดน ับถือกนั พระพทุ ธเจา ตรสั ถามวาคหบดีทง้ั หลาย พวกทานมีศาสดาทานใดทานหนึ่งที่ถกู ใจ ซ่ึงทา นทัง้ หลายมีศรัทธาอยางมเี หตผุ ล (อาการวตีสทั ธา) อยบู า งหรือไม ? ครนั้ พวกพราหมณคหบดีทลู ตอบวา “ไมม ”ี ก็ไดตรัสวา เมอ่ื ทานทั้งหลายยงั ไมไ ดศาสดาที่ถกู ใจ ก็ควรจะถอื ปฏบิ ตั หิ ลกั การทไี่ มผดิ พลาดแนน อน (อปณณก ธรรม) ดงั ตอไปนี้ ดว ยวาอปณ ณกธรรมนี้ เมอ่ื ถอื ปฏบิ ตั ถิ วนถึงแลว จกั เปนไปเพ่ือประโยชนเ กือ้ กลู เพอื่ ความ สุขสิ้นกาลนาน หลักการทไี่ มผ ดิ พลาดแนน อนนี้ เปนไฉน ?

พทุ ธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) 156 สมณพราหมณพวกหนงึ่ มวี าทะ มีทฏิ ฐิวา : ทานทใี่ หแ ลว ไมมีผล การบําเพ็ญทานไมม ผี ล การบชู าไมมี ผล ผลวบิ ากแหง กรรมทีท่ ําไวดีทาํ ไวชว่ั ไมม ี โลกนี้ไมม ี ปรโลกไมมี มารดาไมม ี บิดาไมม ี ฯลฯ สว นสมณ พราหมณอ กี พวกหนึ่ง มวี าทะ มที ิฏฐิท่เี ปน ขา ศกึ โดยตรงกับสมณพราหมณพวกน้ันทเี ดยี ววา : ทานท่ใี หแลวมี ผล การบาํ เพ็ญทานมีผล การบชู ามีผล ฯลฯ ทานทงั้ หลายเห็นเปน ไฉน ? สมณพราหมณเ หลา น้ี มีวาทะเปน ขา ศึกโดยตรงตอ กันมิใชห รอื ? เมอ่ื พราหมณค หบดที ลู ตอบวา “ใชอ ยา งนน้ั ” กต็ รัสตอ ไปวา ในสมณพราหมณ ๒ พวกนน้ั พวกที่มีวาทะ มีทฏิ ฐวิ า : ทานทใ่ี หแลวไมม ีผล การบําเพญ็ ทานไมม ผี ล ฯลฯ สาํ หรับพวกน้ี เปนอันหวังส่งิ ตอ ไปน้ไี ดคอื พวกเขาจะละทงิ้ กายสุจริต วจสี จุ รติ มโนสจุ ริต อันเปน กศุ ลธรรม ทงั้ ๓ อยางเสีย แลวจะยึดถอื ประพฤตกิ ายทุจรติ วจที ุจริต มโนทจุ รติ ซึ่งเปน อกุศลธรรมท้งั ๓ อยาง ขอนัน้ เปน เพราะเหตใุ ด ? ก็เพราะทานสมณพราหมณเหลา นัน้ ยอ มไมมองเหน็ โทษ ความทราม ความเศราหมอง แหง อกุศลธรรม และอานิสงสในเนกขมั มะ อนั เปน คณุ ฝายสะอาดผอ งแผวของกศุ ลธรรม อนงึ่ (หาก)เม่ือปรโลกมี เขาเห็นวา ปรโลกไมม ี ความเห็นของเขา กเ็ ปน มิจฉาทฏิ ฐิ (หาก)เม่อื ปรโลกมี เขาดาํ ริวา ปรโลกไมมี ความดาํ รขิ องเขาก็เปน มิจฉาสังกปั ปะ (หาก)เมอื่ ปรโลกมี เขากลาววา ปรโลกไมม ี วาจา ของเขาก็เปน มจิ ฉาวาจา (หาก)เม่อื ปรโลกมี เขากลาววา ปรโลกไมม ี เขาก็ทําตนเปนขาศกึ กบั พระอรหันตผรู ูป ร โลก (หาก)เมอื่ ปรโลกมี เขาทาํ ใหคนอื่นพลอยเห็นดว ยวา ปรโลกไมมี การทําใหพลอยเห็นดวยน้ัน กเ็ ปนการให พลอยเหน็ ดวยกับอสัทธรรม และดว ยการทาํ ใหคนอื่นพลอยเหน็ ดว ยกบั อสทั ธรรม เขากย็ กตนขม คนอนื่ โดยนยั น้ี เรมิ่ ตนทีเดยี ว เขาก็ละท้ิงความมีศีลดงี าม เขาไปต้ังความทุศีลเขา ไวเสยี แลว มที ั้งมจิ ฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกปั ปะ มจิ ฉาวาจา ความเปน ขาศกึ กบั อรยิ ชน การชวนคนใหเ ห็นดวยกบั อสทั ธรรม การยกตน การขม ผูอื่น บาปอกุศล ธรรมอเนกประการเหลานี้ ยอมมีข้ึนเพราะมิจฉาทิฏฐิเปนปจ จยั ในเรอ่ื งนน้ั คนที่เปน วญิ ู ยอมพจิ ารณาเหน็ ดังนีว้ า “ถาปรโลกไมมี ทา นผูน้ี เมื่อแตกกายทาํ ลายขนั ธ ไป กท็ าํ ตนใหสวสั ดี (ปลอดภยั ) ได แตถา ปรโลกมี ทา นผูน เ้ี ม่ือแตกกายทําลายขันธ กจ็ ะเขาถงึ อบาย ทคุ ติ วินิบาต นรก เอาเถอะ ถงึ วาใหปรโลกไมมจี ริงๆ ใหค ําของทา นสมณ-พราหมณเหลา นั้นเปน ความจรงิ กเ็ ถิด ถงึ กระน้นั บุคคลผูนี้กถ็ กู วิญชู นตเิ ตยี นไดใ นปจ จุบันนเี้ องวา เปนคนทุศีล มมี จิ ฉาทิฏฐิ เปนนัตถิกวาท ก็ถา ปร โลกมีจรงิ บคุ คลผูนกี้ เ็ ปน อนั ไดแตข อ เสยี หายทงั้ สองดา น คอื ปจ จุบนั ก็ถูกวิญชู นตเิ ตียน แตกกายทาํ ลายขนั ธ ไปแลว ก็เขา ถงึ อบาย ทุคติ วินิบาต นรก อกี ดวย” ฯลฯ สมณพราหมณพวกหนึง่ มีวาทะมีทิฏฐิวา “ความดับภพหมดสิ้นไมม ”ี สว นสมณพราหมณอ กี พวกหนึ่ง ซึง่ มีวาทะ มที ฏิ ฐทิ ี่เปนขาศึกโดยตรงกับสมณพราหมณพวกน้นั กลา ววา “ความดบั ภพหมดส้ินมีอยู” ฯลฯ ในเร่อื งน้นั คนท่ีเปนวิญู ยอมพิจารณาดงั นีว้ า ท่ที า นสมณพราหมณผ ูมีวาทะมที ฏิ ฐวิ า “ความดับภพ หมดส้นิ ไมม”ี น้ี เรากไ็ มไ ดเ ห็น แมท ีท่ า นสมณพราหมณผ ูมวี าทะมีทิฏฐวิ า “ความดับภพหมดส้ินมอี ยจู รงิ ” นี้ เรา

พุทธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตฺโต) 157 กไ็ มทราบเหมอื นกัน กเ็ มอื่ เราไมร ูไมเหน็ อยู จะกลา วยึดเดด็ ขาดลงไปวา อยา งนี้เทา นั้นจรงิ อยางอื่นเทจ็ ดงั น้ี ยอมไมเ ปนการสมควรแกเรา กถ็ าคําของพวกสมณพราหมณทม่ี ีวาทะมีทิฏฐวิ า “ความดับภพหมดสน้ิ ไมม ”ี เปนความจรงิ การท่ีเรา จะไปเกดิ ในหมูเ ทพผไู มม รี ูปเปน สัญญามยั ซึ่งกไ็ มเปนความผดิ อะไร กย็ อมเปนส่ิงท่ีเปนไปได ถาคําของพวก สมณพราหมณท ม่ี วี าทะมที ิฏฐวิ า “ความดับภพหมดสิ้นมีอยู” เปน ความจริง การทเ่ี ราจะปรนิ พิ พานไดใน ปจ จุบัน ก็ยอ มเปน ส่ิงทเี่ ปน ไปได แตทิฏฐขิ องสมณพราหมณฝา ยทม่ี วี าทะมที ฏิ ฐิวา “ความดับภพหมดสน้ิ ไมม”ี นี้ ใกลไ ปขา งการมีความ ยอมตดิ ใกลไ ปขางการผูกพนั ใกลไ ปขางการหลงเพลิน ใกลไ ปขางการหมกมนุ สยบ ใกลไปขางการยดึ มัน่ ถอื มน่ั สวนทิฏฐขิ องทานสมณพราหมณฝายท่ีมีวาทะมที ิฏฐวิ า “ความดบั ภพหมดสนิ้ มจี รงิ ” นัน้ ใกลไปขา งการไมม ี ความยอมติด ใกลไ ปขางการไมมีความผูกมัดตัว ใกลไ ปขา งการไมหลงเพลิน ใกลไ ปขางไมห มกมนุ สยบ ใกลไ ป ขา งไมมีการยึดมนั่ ถือม่นั เขาพจิ ารณาเหน็ ดงั นแ้ี ลว ยอมเปน ผปู ฏิบตั ิเพอื่ นิพพทิ า วริ าคะ นิโรธ แหงภพทงั้ หลาย เปน แท” -2 ทาทีแบบอนรุ กั ษส ัจจะ พทุ ธพจนต อ ไปนแ้ี สดงใหเห็นวา ความรูความคดิ เห็นในระดับทยี่ ังเปนความเช่อื และเหตุผล ยงั เปน ความรูความเหน็ ทีบ่ กพรอง มีทางผิดพลาด ยงั ไมชื่อวา เปนการเขาถึงความจรงิ แนะ ทานภารทวาช ธรรม ๕ ประการนี้ มวี ิบาก ๒ สวนในปจ จุบัน ทเี ดยี ว คือ ๑. ศรทั ธา - ความเชื่อ ๒. รุจิ - ความถกู ใจ ๓. อนสุ สวะ - การฟง (หรือเรียน) ตามกนั มา ๔. อาการปรวิ ติ ักกะ - การคิดตรองตามแนวเหตผุ ล ๕. ทฏิ ฐนิ ิชฌานักขันติ - ความเขา กันไดกบั ทฤษฎขี องตน(การเพงพนิ จิ ดว ย) ก็สิ่งที่เชือ่ สนทิ ทีเดยี ว กลบั เปน ของเปลา เปนของเท็จไปกม็ ี ถึงแมส ่ิงที่ไมเชื่อเลยทีเดยี ว แตกลบั เปน ของจริง แท ไมเปน อื่นเลยกม็ ีถงึ สิ่งที่ถกู กบั ใจชอบทีเดยี ว กลับเปนของเปลา เปน ของเทจ็ ไปเสยี ก็มี ถงึ แมส ิง่ ท่ี มิไดถกู กับใจชอบเลย แตกลบั เปนของจรงิ แท ไมเปน อนื่ เลยกม็ ี ถงึ สง่ิ ทเ่ี รียนตอ กนั มาอยางดีทีเดยี ว กลับเปน ของเปลา เปนของเท็จไปกม็ ี ถงึ แมสงิ่ ทม่ี ไิ ดเรยี นตามกันมาเลย แตก ลบั เปน ของจรงิ แท ไมเ ปน อื่นไปเลยก็มี ถงึ สง่ิ ทีค่ ิดตรองอยา งดแี ลว ทเี ดียว กลบั เปนของเปลา เปนของเทจ็ ไปเสยี กม็ ี ถงึ แมสิง่ ท่มี ไิ ดเปนอยางที่ คดิ ตรองเห็นไวเ ลย แตก ลับเปน ของจรงิ แท ไมเ ปน อืน่ ไปเลยกม็ ี ถงึ สิ่งทเี่ พงพนิ ิจไวเปนอยางดี (วาถกู ตองตรงตามทิฏฐิทฤษฎหี ลักการของตน) กลบั เปน ของเปลา เปน ของเท็จไปเสียก็มี ถงึ แมส ิง่ ท่ีไมเ ปนอยางที่เพงพินจิ เห็นไวเลย แตก ลับเปน ของจรงิ แท ไมเ ปนอ่นื เลยกม็ ี จากนน้ั

พุทธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 158 ทรงแสดงวธิ วี างตนตอ ความคดิ เหน็ และความเชือ่ ของตน และการรบั ฟงความคดิ เหน็ และความเชือ่ ของผอู น่ื ซงึ่ เรียกวาเปนทัศนคตแิ บบอนรุ ักษสจั จะ (สัจจานุรกั ข แปลเอาความวา คนรกั ความจริง) วาบุรษุ ผเู ปน วิญู เม่ือ จะอนุรกั ษสจั จะ ไมค วรลงความเห็นในเร่อื งน้นั เด็ดขาดลงไปอยา งเดยี ววา “อยางนี้เทา นนั้ จริง อยา งอื่นเหลว ไหล (ทง้ั นนั้ )”ถาแมนบุรษุ มคี วามเชื่อ (ศรทั ธา อยอู ยา งหนงึ่ ) เมอื่ เขากลาววา “ขาพเจามคี วามเชอื่ อยา งน้ี” ยัง ช่ือวา เขาอนุรักษสจั จะอยู แตจ ะลงความเหน็ เด็ดขาดลงไปเปน อยา งเดียววา “อยา งนเี้ ทา นนั้ จรงิ อยางอ่นื เหลวไหล (ท้งั น้ัน)” ไมไ ดกอน ดวยขอ ปฏิบัติเพียงเทาน้ี ชื่อวามกี ารอนรุ กั ษสัจจะ และคนผนู นั้ กช็ อ่ื วาอนรุ ักษส ัจจะ อีกท้งั เรากบ็ ญั ญตั ิ การอนุรักษส จั จะดวยการปฏิบัตเิ พยี งเทานี้ แตยังไมช ่อื วา เปน การหยงั่ รูสจั จะ ถา แมนบรุ ษุ มีความเห็นที่ถกู ใจ...มกี ารเรยี นตอ กันมา...มีการคดิ ตรองตามเหตุผล...มคี วามเหน็ ที่ตรง กับทฤษฎีของตนอยู (อยา งใดอยางหนึง่ ) เมื่อเขากลา ววา “ขา พเจา มีความเห็นทีถ่ กู ใจอยางน้ี...มกี ารเลา เรยี น มาอยางนี้...มีสงิ่ ทค่ี ดิ ตรองตามเหตผุ ลไดอ ยางน้ี...มีความเห็นตามทฤษฎขี องตนวา อยางน”้ี กย็ ังชื่อวา เขา อนุรกั ษส จั จะอยู แตจะลงความเหน็ เด็ดขาดลงไปเปนอยางเดยี ววา “อยางนีเ้ ทา นน้ั จริง อยางอน่ื เหลวไหล (ท้ัง นน้ั )” ไมไ ดกอ น ดวยขอปฏบิ ตั เิ พยี งเทาน้ี ชือ่ วา มีการอนรุ กั ษสัจจะ และคนผนู ัน้ กช็ อ่ื วาอนรุ กั ษส ัจจะ อกี ท้งั เรากบ็ ญั ญตั ิ การอนุรักษสจั จะดวยการปฏบิ ัติเพยี งเทานี้ แตย งั ไมชือ่ วาเปนการหยั่งรูสัจจะ ทาทนี ีป้ รากฏชดั เมื่อตรัสเจาะจงเก่ยี วกับพระพุทธศาสนา คอื ในคราวท่มี ีคนภายนอกกาํ ลงั พูด สรรเสริญบาง ติเตียนบาง ซงึ่ พระพทุ ธศาสนา พระภกิ ษุสงฆน ําเรอื่ งน้นั มาสนทนากัน พระพทุ ธเจาไดตรสั วา ภิกษทุ ้งั หลาย ถา มคี นพวกอื่นมากลา วตเิ ตียนเรา ติเตียนธรรม ติเตยี นสงฆ เธอท้ังหลายไมค วรอาฆาต ไมค วรเศราเสียใจ ไมควรแคนเคือง เพราะคาํ ตเิ ตยี นนัน้ ถาเธอทง้ั หลายโกรธเคอื ง หรือเศรา เสยี ใจเพราะคําติ เตียนน้ัน กจ็ ะกลายเปนอนั ตรายแกพ วกเธอทั้งหลายเองนนั่ แหละ (คอื ) หากคนพวกอื่นติเตียนเรา ติเตยี นธรรม ตเิ ตียนสงฆ ถาเธอทั้งหลายโกรธเคอื ง เศราเสยี ใจ เพราะคาํ ตเิ ตียนน้ันแลว เธอทงั้ หลายจะรชู ัดถอ ยคํานีข้ องเขา วา พูดถูก พูดผิด ไดละหรือ?” ภิกษทุ ง้ั หลายทลู ตอบวา “ไมอ าจรชู ดั ได” ภกิ ษทุ งั้ หลาย ถามีคนพวกอ่ืนกลาวตเิ ตยี นเรา ติเตยี นธรรม ติเตียนสงฆ ในกรณนี ้นั เม่ือไมเ ปน จรงิ พวกเธอก็พงึ แกใ หเ หน็ วา ไมเปนจริงวา “ขอน้ีไมเปน จรงิ เพราะอยา งนี้ๆ ขอนีไ้ มถ ูกตอ ง เพราะอยา งนๆ้ี สิ่งนี้ไม มีในพวกเรา ส่งิ นีห้ าไมไ ดในหมูพ วกเรา” ภกิ ษทุ งั้ หลาย ถามคี นพวกอน่ื กลา วชมเรา ชมธรรม ชมสงฆ เธอทงั้ หลายไมควรเรงิ ใจ ไมค วรดีใจ ไม ควรกระหยมิ่ ลาํ พองใจ ในคาํ ชมนนั้ ถา มคี นมากลา วชมเรา ชมธรรม ชมสงฆ หากเธอทั้งหลาย เรงิ ใจ ลาํ พอง

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 159 ใจแลวไซร ก็จะเปนอันตรายแกพ วกเธอเองนน่ั แหละ ถามีคนมากลา วชมเรา ชมธรรม ชมสงฆ ในกรณีนัน้ เมอื่ เปนความจริง พวกเธอก็ควรรบั รองวา เปน ความจริงวา “ขอ นเี้ ปน จริง เพราะอยางนๆ้ี ขอนถ้ี ูกตอ งเพราะอยา งนๆ้ี สิ่งน้มี ใี นพวกเรา สงิ่ นี้หาไดในหมพู วกเรา” ตอ จากการอนรุ กั ษสจั จะ พระพทุ ธเจา ทรงแสดงขอ ปฏบิ ตั เิ พือ่ ใหห ยง่ั รแู ละเขาถงึ สัจจะ และในกระบวน การปฏิบตั นิ ี้ จะมองเหน็ การเกดิ ศรทั ธา ความหมาย ความสําคญั และขอบเขตความสาํ คัญของศรทั ธาไปดวย ดงั น้ี ดวยขอ ปฏบิ ัติเทา ใด จงึ จะมกี ารหยัง่ รูสัจจะ และบุคคลจึงจะชอ่ื วาหยง่ั รูสจั จะ ? เม่อื ไดย นิ ขาววา มภี กิ ษุเขา ไปอาศยั หมบู า น หรือนิคมแหงใดแหง หน่ึงอยู คฤหบดีกด็ ี บุตรคฤหบดกี ด็ ี เขาไปหาภิกษุน้นั แลว ยอ มใครครวญดูในธรรมจาํ พวกโลภะ ธรรมจาํ พวกโทสะ ธรรมจําพวกโมหะวา ทานผนู ้ี มีธรรมจําพวกโลภะทจ่ี ะเปนเหตคุ รอบงําจิตใจ ทําใหกลา วไดท ้งั ทไ่ี มรูวา “ร”ู ท้งั ที่ไมเหน็ วา “เหน็ ” หรอื ทําให เท่ียวชกั ชวนคนอื่นใหเ ปนไปในทางทจี่ ะกอใหเ กิดทุกขช่วั กาลนานแกค นอน่ื ๆ หรอื ไม ? เมอ่ื เขาพิจารณาตัวเธออยู รูอ ยา งนวี้ า ทานผนู ้ีไมม ีธรรมจําพวกโลภะท่ีจะเปนเหตุครอบงําจิตใจ ทาํ ให กลา วไดทัง้ ที่ไมร ูว า “ร”ู ทงั้ ที่ไมเห็นวา “เห็น” หรอื ทาํ ใหเ ทย่ี วชกั ชวนคนอื่นใหเปนไปในทางท่ีจะกอ ใหเกดิ สิง่ ทีม่ ิ ใชประโยชนเกือ้ กูลและเกิดทกุ ขช วั่ กาลนานแกค นอ่ืนๆไดเลย อน่ึง ทา นผนู ีม้ ีกายสมาจาร วจีสมาจาร อยางคน ไมโ ลภ ธรรมทที่ า นผูนี้แสดง ก็ลกึ ซึ้ง เหน็ ไดย าก หยง่ั รูไดย าก เปน ของสงบ ประณตี ไมอาจเขาถึงไดดวยตรรก ละเอียดออ น บัณฑิตจงึ รูได ธรรมน้ันมิใชส ่ิงทคี่ นโลภจะแสดงไดง า ยๆ เมือ่ ใด เขาพิจารณาตรวจดู มองเหน็ วา เธอเปนผูบริสุทธิ์จากธรรมจําพวกโลภะแลว เม่อื น้ันเขายอมพจิ ารณาตรวจดเู ธอย่ิงๆ ขึ้นไปอกี ในธรรมจําพวก โทสะ ในธรรมจําพวกโมหะ ฯลฯ เมื่อใด เขาพจิ ารณาตรวจดู มองเหน็ วา เธอเปน ผบู รสิ ทุ ธ์ิจากธรรมจําพวกโมหะ แลว คราวนัน้ เขายอมฝงศรทั ธาลงในเธอ เขาเกิดศรทั ธาแลว ก็เขาหา เม่อื เขาหา กค็ อยนงั่ อยูใกล (คบหา) เมือ่ คอยนั่งอยใู กล ก็เง่ยี โสตลง (ต้งั ใจ คอยฟง) เมื่อเงีย่ โสตลง ก็ไดส ดับธรรม ครัน้ สดับแลว ก็ทรงธรรมไว ยอ มพจิ ารณาไตรต รองอรรถแหง ธรรมทที่ รง ไว เมอื่ ไตรต รองอรรถอยู ก็เหน็ ชอบดวยกับขอธรรมตามที่ (ทนตอการ)คิดเพงพิสจู น เมอ่ื เห็นชอบดว ยกบั ขอ ธรรมดังที่คดิ เพง พสิ ูจน ฉนั ทะกเ็ กดิ เมื่อเกิดฉันทะ ก็อุตสาหะ ครั้นอตุ สาหะแลว กเ็ อามาคดิ ทบทวนเทียบเคียง คร้ันเทียบเคยี งแลว กย็ อ มลงมือทําความเพียร เม่อื ลงมอื ทาํ ทมุ เทจติ ใจใหแ ลว กย็ อ มทาํ ปรมัตถสัจจะใหแ จง กับ ตวั และเห็นแจง แทงตลอดปรมตั ถสจั จะนั้นดว ยปญ ญา ดวยขอ ปฏิบัติเทาน้ี ช่อื วา มกี ารหย่ังรสู จั จะ และบคุ คลช่ือวา หยัง่ รสู ัจจะ และเรายอมบัญญตั กิ ารหย่ังรู สัจจะ (สัจจานุโพธ) ดว ยขอ ปฏบิ ัตเิ ทานี้ แตย ังไมชอ่ื วาเปน การเขา ถึงสัจจะกอ น ดวยขอปฏิบตั ิเทา ใด จึงมกี ารเขา ถงึ สัจจะ และคนจงึ ชอ่ื วาเขาถึงสจั จะ? การอาเสวนะ การเจรญิ การกระทําใหม าก ซ่งึ ธรรมเหลา นน้ั แหละชือ่ วา เปนการเขาถงึ สัจจะ (สัจจานุ ปต ติ) ฯลฯ

พทุ ธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 160 3- สรางศรทั ธาดว ยการใชปญญาตรวจสอบ สําหรบั คนสามญั ท่ัวไป ศรทั ธาเปนธรรมขั้นตนที่สาํ คัญยิ่ง เปนอปุ กรณช ักนําใหเ ดนิ หนา ตอ ไป เมอ่ื ใช ถูกตอ งจึงเปนการเรม่ิ ตนท่ีดี ทําใหการกาวหนา ไปสูจดุ หมายไดผ ลรวดเรว็ ข้ึน ดวยเหตนุ ี้ จึงปรากฏวา บางคราว ผมู ปี ญญามากกวา แตข าดความเชือ่ มัน่ กลับประสบความสาํ เรจ็ ชากวา ผมู ีปญญาดอยกวาแตมศี รทั ธาแรง กลา ในกรณีทศ่ี รัทธานั้นไปตรงกับสง่ิ ที่ถกู ตองแลว จงึ เปนการทนุ แรงทนุ เวลาไปในตัว ตรงกนั ขาม ถา ศรทั ธา เกดิ ในสิ่งทีผ่ ดิ ก็เปน การทําใหเขว ย่ิงหลงชกั ชาหนักขึน้ ไปอกี อยา งไรก็ดี ศรทั ธาในพทุ ธธรรม มเี หตุผลเปนฐานรองรับ มีปญญาคอยควบคมุ จงึ ยากทจ่ี ะผดิ นอกจาก พนวสิ ยั จรงิ ๆ และกส็ ามารถแกไขใหถกู ตอ งได ไมด งิ่ ไปในทางทีผ่ ิด เพราะคอยรบั รูเหตผุ ล คนควา ตรวจสอบ และทดลองอยตู ลอดเวลา การขาดศรัทธา เปนอุปสรรคอยางหนึง่ ซ่งึ ทาํ ใหช ะงกั ไมกาวหนา ตอ ไปในทศิ ทางทีต่ อ งการ ดังพุทธ พจนว า :- ภกิ ษทุ ้งั หลาย ภกิ ษรุ ปู ใดรูปหนง่ึ ยงั สลัดทงิ้ ตอในใจ ๕ อยา งไมไ ด ยงั ถอนส่ิงผกู รดั ใจ ๕ อยางไมได ขอ ทวี่ า ภกิ ษนุ น้ั จกั ถงึ ความเจริญงอกงามไพบลู ย ในธรรมวนิ ยั นี้ ยอมเปนสงิ่ ทเ่ี ปนไปไมไ ด ตอในใจทภี่ ิกษุน้ันยงั สลัดท้ิงไมไ ด คือ :- ๑. ภิกษุสงสยั เคลอื บแคลง ไมป ลงใจ ไมเลื่อมใสแนบสนทิ ในพระ ศาสดา... ๒. ภิกษุสงสัย เคลอื บแคลง ไมปลงใจ ไมเ ลอ่ื มใสแนบสนทิ ในธรรม... ๓. ภิกษสุ งสยั เคลือบแคลง ไมป ลงใจ ไมเ ลื่อมใสแนบสนิทในสงฆ. .. ๔. ภกิ ษสุ งสัย เคลือบแคลง ไมปลงใจ ไมเลื่อมใสแนบสนทิ ในสกิ ขา... ๕. ภิกษโุ กรธเคอื ง นอ ยใจ มจี ติ ใจกระทบกระท่งั เกดิ ความกระดา ง เหมือนเปน ตอเกดิ ขึ้นในเพอ่ื นพรหมจรรย. .. จิตของภกิ ษุผยู ังสงสัย เคลือบแคลง ไมปลงใจ ไมเล่ือมใสแนบสนทิ ในพระศาสดา...ในธรรม...ในสงฆ. .. ในสกิ ขา...โกรธเคือง ฯลฯ ในเพ่ือนพรหมจรรย ยอมไมน อ มไปเพอ่ื ความเพยี ร เพอื่ ความหมนั่ ฝก ฝนอบรม เพ่ือ ความพยายามอยางตอ เนื่อง เพอ่ื การลงมือทําความพยายาม ภิกษุผมู ีจิตทีย่ ังไมนอมไปเพ่อื ความเพียร...ช่อื วา มตี อในใจซง่ึ สลดั ทิ้งไมได... โดยนัยน้ี การขาดศรทั ธา มีความสงสัย แคลงใจ ไมเชือ่ มน่ั จึงเปนอปุ สรรคสาํ คัญในการพฒั นาปญ ญา และการกาวหนา ไปสูจดุ หมาย ส่งิ ที่ตอ งทาํ ในกรณีน้ีกค็ ือ ตองปลกู ศรทั ธา และกําจดั ความสงสัยแคลงใจ แต การปลกู ศรัทธาในทนี่ ี้ มิไดห มายถงึ การยอมรบั และมอบความไวว างใจใหโดยไมเคารพในคุณคา แหงการใช

พุทธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 161 ปญญา แตห มายถึงการคิดพิสูจนท ดสอบดว ยปญญาของตนใหเ ห็นเหตผุ ลชัดเจน จนมั่นใจ หมดความลงั เล สงสัย วธิ ที ดสอบนัน้ นอกจากที่กลาวในพทุ ธพจนต อนกอ นแลว ยงั มีพทุ ธพจนแ สดงตัวอยา งการคดิ สอบสวน กอนทจ่ี ะเกดิ ศรทั ธาอกี เชน ในขอความตอไปนี้ ซึ่งเปน คาํ สอนใหค ิดสอบสวนแมแ ตองคพ ระพทุ ธเจาเอง ดงั ตอ ไปนี้ :- “ภิกษุท้งั หลาย ภิกษผุ ตู รวจสอบ เมอื่ ไมรูว ิธกี าํ หนดวาระจติ ของผอู น่ื พงึ กระทําการพิจารณาตรวจสอบ ในตถาคต เพ่อื ทราบวา พระองคเปน สมั มาสมั พุทธ หรอื ไม” “ภกิ ษุผูตรวจสอบ เมอื่ ไมร วู ธิ ีกาํ หนดวาระจิตของผูอ ืน่ พึงพจิ ารณาตรวจสอบตถาคตในธรรม ๒ อยาง คอื ในสิง่ ทพ่ี ึงรูไดด ว ยตา และ หู วา - เทา ท่พี ึงรูไดดว ยตาและหู ธรรมทีเ่ ศราหมอง มีแกตถาคต หรือหาไม เม่ือเธอพิจารณาตรวจสอบ ตถาคตนั้น ก็ทราบไดวา ธรรมท่ีพึงรูไดด วยตาและหู ท่เี ศรา หมองของตถาคต ไมม ี - จากนั้น เธอก็พจิ ารณาตรวจสอบตถาคตใหย งิ่ ขึ้นไปอกี วา เทาทีพ่ งึ รูไ ดด ว ยตาและหู ธรรมที่ (ช่วั บาง ดีบา ง) ปนๆ กันไป มแี กตถาคต หรอื หาไม เมอ่ื เธอพิจารณาตรวจสอบตถาคตนั้น ก็ทราบไดว า เทาที่พึงรูไ ดด วย ตาและหู ธรรมท่ี (ดบี าง ชั่วบาง) ปนๆ กนั ไปของตถาคต ไมมี - จากนัน้ เธอก็พิจารณาตรวจสอบตถาคตใหยิ่งข้ึนไปอกี วา เทาทร่ี ไู ดดว ยตาและหู ธรรมท่ีสะอาดหมด จด มีแกตถาคตหรอื หาไม. ..เธอกท็ ราบไดว า เทาที่รูไดดวยตาและหู ธรรมทส่ี ะอาดหมดจดของตถาคตมีอยู - จากนั้น เธอกพ็ จิ ารณาตรวจสอบตถาคตน้นั ใหยงิ่ ข้นึ ไปอกี วา ทา นผนู ป้ี ระกอบพรอ มบรู ณซงึ่ กุศล ธรรมน้ี ตลอดกาลยาวนาน หรือประกอบชัว่ เวลานิดหนอย...เธอก็ทราบไดวา ทานผนู ี้ประกอบพรอ มบรู ณซึง่ กศุ ลธรรมนี้ ตลอดกาลยาวนาน มใิ ชประกอบช่ัวเวลานิดหนอ ย - จากนัน้ เธอก็พิจารณาตรวจสอบตถาคตนัน้ ใหย ่งิ ขนึ้ ไปอีกวา ทา นภกิ ษุผูน ี้ มีช่ือเสยี ง มเี กียรตยิ ศแลว ปรากฏขอ เสียหายบางอยางบางหรอื ไม (เพราะวา) ภิกษุ (บางทา น) ยังไมปรากฏมีขอเสียหายบางอยา ง จนกวา จะเปนผมู ชี อ่ื เสยี ง มีเกยี รติยศ ตอเมอ่ื ใดเปนผูมชี ่อื เสียง มีเกียรติยศ เมอื่ นนั้ จงึ ปรากฏมขี อ เสียหายบางอยาง... เธอก็ทราบไดวา ทา นภิกษุผนู ี้ เปนผมู ีชอ่ื เสียง มเี กยี รตยิ ศแลว ก็ไมปรากฏมีขอ เสียหายบางอยา ง (เชนนั้น) - จากน้นั เธอก็พจิ ารณาตรวจสอบตถาคตนนั้ ใหย ง่ิ ขึ้นไปอกี วา ทา นผูนี้ เปน ผูง ดเวน (อกุศล) โดยไมม ี ความกลวั มใิ ชผูงดเวน เพราะกลัว ไมเ สวนากามท้งั หลาย กเ็ พราะปราศจากราคะ เพราะหมดสนิ้ ราคะ หรือหา ไม. ..เธอกท็ ราบไดวา ทา นผูนี้ เปนผูง ดเวนโดยไมม คี วามกลวั มิใชผ ูง ดเวนเพราะกลัว ไมเ สวนากามทงั้ หลาย ก็ เพราะปราศจากราคะ เพราะหมดราคะ... หากมผี อู ื่นถามภกิ ษนุ ้ันวา ทานมเี หตุผล (อาการะ) หยัง่ ทราบ (อนั วยา) ไดอยางไร จงึ ทําใหก ลา วไดว า ทานผูนี้ เปน ผงู ดเวน โดยไมม ีความกลวั มใิ ชผ งู ดเวนเพราะกลวั ไมเ สวนากามทั้งหลาย ก็เพราะปราศจากราคะ หมดราคะ

พทุ ธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตฺโต) 162 ภกิ ษุเมื่อจะตอบแกใ หถูกตอ ง พงึ ตอบแกวา จรงิ อยา งน้นั ทา นผูนี้ เมือ่ อยใู นหมูก็ตาม อยูลาํ พังผเู ดยี วก็ ตาม ในท่นี ั้นๆ ผใู ดจะปฏิบัติตนไดด กี ต็ าม จะปฏบิ ตั ิตนไมดีกต็ าม จะเปนผูปกครองหมคู ณะก็ตาม จะเปน บางคนทตี่ ิดวนุ อยูในอามสิ กต็ าม จะเปนบางคนทไี่ มต ิดดว ยอามสิ กต็ าม ทา นผูน ไ้ี มด หู ม่ินคนนน้ั ๆ เพราะเหตุ นน้ั ๆ เลย ขาพเจาไดส ดบั ไดร ับฟงถอยคํามา จาํ เพาะพระพกั ตรของพระผมู พี ระภาคทเี ดียววา “เราเปนผงู ด เวนโดยไมม คี วามกลัว เรามิใชผงู ดเวน เพราะกลัว เราไมเ สวนากามทั้งหลาย ก็เพราะปราศจากราคะ เพราะหมด ราคะ” ภิกษุท้ังหลาย ในกรณนี ั้น พึงสอบถามตถาคตใหย งิ่ ขน้ึ ไปอกี วา เทาที่รูไ ดด วยตาและหู ธรรมท่เี ศรา หมองมแี กต ถาคตหรอื หาไม ตถาคตเมือ่ ตอบแก ก็จะตอบแกว า...ไมม ี ไมม ี ถามวา ธรรมท่ี (ดบี า ง ชว่ั บาง) ปนๆ กันไป มแี กต ถาคตหรอื หาไม ตถาคตเมือ่ ตอบแก ก็จะตอบแกวา ... ถามวา ธรรมที่สะอาดหมดจด มีแกต ถาคตหรอื หาไม ตถาคตเมือ่ ตอบแก ก็จะตอบแกวา...มี เรามีธรรม ทสี่ ะอาดหมดจดนน้ั เปน ทางดาํ เนนิ และเราจะเปน ผูมีตณั หาเพราะเหตุน้นั กห็ าไม - ศาสดาผูกลา วไดอยา งนแี้ ล สาวกจึงควรเขาไปหาเพือ่ สดับธรรม - ศาสดายอมแสดงธรรมแกสาวกนนั้ สงู ยิ่งข้นึ ไปๆ ประณีต (ขนึ้ ไป)ๆ ท้ังธรรมดํา ธรรมขาว เปรียบเทียบ ใหเห็นตรงกนั ขา ม - ศาสดาแสดงธรรมแกภกิ ษุ...อยา งใดๆ ภกิ ษุนัน้ รยู ง่ิ ธรรมบางอยางในธรรมนน้ั อยา งนั้นๆ แลว ยอ มถงึ ความตกลงใจในธรรมทั้งหลาย ยอมเลื่อมใสในศาสดาวา “พระผูมพี ระภาค เปนสัมมาสัมพุทธ ธรรมอันพระผู มพี ระภาคตรสั ไวดีแลว สงฆเปน ผปู ฏบิ ัตดิ ี” หากจะมีผอู น่ื ถามภกิ ษุน้ันตอ ไปอกี วา “ทา นมเี หตผุ ล (อาการะ) หยงั่ ทราบ (อันวยา) ไดอยางไร จึงทาํ ใหก ลา วไดว า พระผมู พี ระภาคเปนสัมมาสัมพทุ ธ ธรรมอนั พระผูม พี ระภาคตรัสไวด แี ลว สงฆเ ปนผปู ฏบิ ัตดิ ี?” ภกิ ษนุ ั้น เม่ือจะตอบใหถกู กพ็ ึงตอบวา “ขาพเจาเขาไปเฝาพระผมู พี ระภาค เพ่ือฟง ธรรม พระองคท รงแสดง ธรรมแกขา พเจา... พระองคแ สดง...อยา งใดๆ ขา พเจา รูยง่ิ ...อยา งนน้ั ๆ จึงถงึ ความตกลงใจในธรรมทงั้ หลาย จึง เลอื่ มใสในพระศาสดา...” ภกิ ษุทงั้ หลาย ศรัทธาของบุคคลผใู ดผหู น่งึ ฝงลงในตถาคต เกดิ เปน เคามูล เปน พื้นฐานท่ตี งั้ โดยอาการ เหลา น้ี โดยบทเหลา น้ี โดยพยญั ชนะเหลา นี้ เรียกวา ศรัทธาท่มี ีเหตุผล (อาการวตี) มกี ารเหน็ เปน มูลฐาน (ทัส สนมลู กิ า) ม่นั คง อนั สมณะ หรือพราหมณ หรอื เทพเจา หรอื มาร หรอื พรหม หรือใครๆในโลก ใหเคลือ่ นคลอน ไมไ ด การพจิ ารณาตรวจสอบธรรมในตถาคต เปนอยางนแ้ี ล และตถาคต ยอ มเปน อนั ไดร ับการพิจารณาตรวจ สอบดแี ลว โดยนยั น้ี” 4- ศรัทธาแมจะสาํ คัญ แตจ ะตดิ ตนั ถา อยูแ คศ รัทธา

พุทธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 163 พึงสังเกตวา แมแตค วามสงสัยเคลือบแคลงในพระพุทธเจา กไ็ มไดถ ูกถือวา เปน บาปหรอื ความช่วั เลย ถือวาเปนเพยี งสงิ่ ท่จี ะตอ งแกไขใหรแู นช ดั ลงไปจนหมดสงสัย ดวยวธิ ีการแหงปญ ญา และยังสง เสรมิ ใหใชความ คิดสอบสวนพิจารณาตรวจสอบอีกดวย เม่อื มผี ูใดประกาศตัวเองแสดงความเลื่อมใสศรทั ธาในพระพทุ ธเจา กอ น ทพี่ ระองคจะประทานความเห็นชอบ จะทรงสอบสวนกอ นวา ศรทั ธาปสาทะของเขามีเหตุผลเปนมูลฐานหรอื ไม เชน พระสารีบุตรเขาไปเฝา พระพุทธเจา กราบทลู วา: พระองคผ เู จริญ ขา พระองคเลือ่ มใสในพระผมู ีพระภาคอยางน้วี า สมณะกด็ ี พราหมณกด็ ี อื่นใด ท่จี ะมี ความรูยิง่ ไปกวา พระผูมีพระภาค ในทางสมั โพธญิ าณไดนน้ั ไมเ คยมี จักไมมี และไมม อี ยใู นบัดนี้ พระพทุ ธเจาตรัสตอบวา: สารีบตุ ร เธอกลา วอาสภิวาจา (วาจาอาจหาญ) ครง้ั น้ียิ่งใหญน กั เธอบันลือสี หนาทถือเด็ดขาดลงไปอยา งเดยี ววา ...ดังนีน้ ้ัน เธอไดใ ชจติ กาํ หนดรจู ติ ของพระอรหนั ตสมั มาสัมพุทธเจา ทุกๆ พระองค เทา ทมี่ ีมาในอดตี แลวหรือวา พระผูม ีพระภาคเหลา นั้นมีศีลอยางน้ี เพราะเหตุดังนี้ๆ ทรงมธี รรมอยางนี้ มีปญ ญาอยางน้ี มีธรรมเคร่ืองอยอู ยา งนี้ หลดุ พนแลว เพราะเหตดุ งั นๆี้ ? ส. มใิ ชอ ยางน้นั พระเจาขา พ. เธอไดใชจ ิตกําหนดรจู ิตของพระอรหันตสมั มาสัมพุทธเจาทุกๆ พระองค ท่ีจกั มใี นอนาคตแลว หรอื วา พระผูมีพระภาคเหลา น้นั จัก...เปนอยางน้ี เพราะเหตดุ งั นๆ้ี ? ส. มิใชอยา งน้ัน พระเจาขา พ. ก็แลวเราผูเ ปนอรหันตสัมมาสัมพทุ ธเจาในบัดน้ี เธอไดใ ชจ ติ กาํ หนดรูจิตแลว หรอื วา พระผมู พี ระภาค ทรง...เปนอยา งนี้ เพราะเหตุดังนี้ๆ ? ส. มใิ ชอ ยา งนั้น พระเจาขา พ. กใ็ นเรื่องน้ี เมอื่ เธอไมม ีญาณเพ่อื กาํ หนดรจู ิตใจพระอรหนั ตสมั มาสัมพุทธเจาในอดตี อนาคต และ ปจจบุ ันเชนนีแ้ ลว ไฉนเลา เธอจงึ ไดก ลา วอาสภวิ าจาอันยิ่งใหญน ักนี้ บันลอื สีหนาทถือเปนเดด็ ขาดอยา งเดยี ว (ดงั ทีก่ ลา วมาแลว ) ? ส. พระองคผ เู จรญิ ขาพระองคไมมญี าณกําหนดรูจติ ในพระ อรหนั ตสัมมาสัมพทุ ธเจา ท้ังในอดีต อนาคต และปจจบุ ัน กจ็ ริง แตกระนน้ั ขา พระองคท ราบการหย่งั แนวธรรม พระองคผ เู จรญิ เปรียบเหมือนเมืองชายแดนของพระราชา มปี อมแนน หนา มีกําแพงและเชิงเทินมน่ั คง มปี ระตูๆ เดียว คนเฝาประตูพระนครนนั้ เปน บัณฑิต เฉียบแหลม มปี ญ ญา คอยหามคนที่ตนไมร ูจกั ยอมใหแ ต คนที่รจู กั เขา ไป เขาเทยี่ วตรวจดูทางแนวกําแพงรอบเมืองน้นั ไมเ ห็นรอยตอ หรอื ชอ งกําแพง แมเพยี งท่แี มวลอด ออกได ยอ มคิดวา สัตวตวั โตทุกอยา งทุกตวั จะเขาออกเมืองนี้ จะตอ งเขาออกทางประตนู ีเ้ ทานน้ั ฉนั ใด ขา พระองคกท็ ราบการหยงั่ แนวธรรม ฉนั นน้ั เหมอื นกันวา พระผมู ีพระภาคอรหันตสมั มาสัมพุทธเจา ทกุ พระองค เทาท่มี ีมาแลว ในอดตี ทรงละนวิ รณ ๕ ทท่ี าํ จิตใหเศราหมอง ทําปญ ญาใหอ อ นกําลงั ไดแลว มีพระ

พทุ ธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 164 หฤทยั ตัง้ มัน่ ดใี นสตปิ ฏ ฐาน ๔ ทรงเจริญโพชฌงค ๗ ตามเปนจริง จงึ ไดต รัสรูอนตุ รสัมมาสัมโพธญิ าณ แม พระผมู ีพระภาคอรหันตสมั มาสัมพุทธเจาทุกพระองค ท่ีจะมีในอนาคต ก็จัก (ทรงทําอยางนัน้ ) แมพระผมู ีพระ ภาคอรหนั ตสัมมาสัมพทุ ธเจาในบัดนี้ ก็ทรงละนวิ รณ ๕...มพี ระทยั ตั้งม่นั ในสติปฏฐาน ๔ ทรงเจริญโพชฌงค ๗ ตามเปน จริง จึงไดต รสั รู อนตุ รสมั มาสมั โพธญิ าณ (เชนเดียวกนั ) ฯลฯ ความเล่อื มใสศรทั ธาตอ บคุ คลผใู ดผูหน่งึ นั้น ถา ใชใหถ ูกตอง คือเปนอปุ กรณส ําหรับชว ยใหกา วหนา ตอ ไป ก็ยอมเปนสง่ิ ที่มปี ระโยชน แตใ นเวลาเดยี วกนั ก็มขี อเสยี เพราะมกั จะกลายเปนความติดในบคุ คล และ กลายเปน อุปสรรคบนั่ ทอนความกา วหนา ตอไป ขอ ดขี องศรทั ธาปสาทะนัน้ เชน อริยสาวกผใู ด เล่อื มใสอยางยงิ่ แนว แนถ ึงทสี่ ดุ ในตถาคต อริยสาวกน้นั จะไมสงสัย หรือแคลงใจ ใน ตถาคต หรือ ศาสนา (คําสอน) ของตถาคต แทจรงิ สําหรับอรยิ สาวกผูมศี รัทธา เปน อนั หวงั สิ่งนี้ได คือ เขาจัก เปน ผูตง้ั หนา ทาํ ความเพยี ร เพื่อกาํ จดั อกุศลธรรมท้งั หลาย (และ) บําเพญ็ กศุ ลธรรมท้ังหลายใหพรอมบูรณ จัก เปน ผมู ีเรี่ยวแรง บากบน่ั อยา งมน่ั คง ไมทอดธรุ ะในกุศลธรรมทัง้ หลาย สวนขอเสียกม็ ี ดงั พทุ ธพจนวา ภกิ ษทุ ั้งหลาย ขอเสยี ๕ อยา งในความเล่อื มใสบุคคลมดี งั น้ี คอื ๑. บคุ คลเล่อื มใสยงิ่ ในบคุ คลใด บคุ คลนนั้ ตอ งอาบตั อิ นั เปนเหตใุ หสงฆยกวัตร เขาจึงคิดวา บุคคลผเู ปนที่รักที่ชอบใจของเราน้ี ถกู สงฆยกวัตรเสียแลว ... ๒. บุคคลเลือ่ มใสย่ิงในบคุ คลใด บคุ คลน้นั ตอ งอาบตั อิ นั เปน เหตใุ หสงฆบ งั คับใหน ง่ั ณ ทายสุด สงฆเ สียแลว... ๓. ...บุคคลนั้น ออกเดินทางไปเสยี ทอ่ี ่ืน... ๔. ...บุคคลน้ัน ลาสิกขาเสยี ... ๕. ...บุคคลน้นั ตายเสยี ... เขายอ มไมคบหาภกิ ษอุ นื่ ๆ เม่อื ไมค บหาภกิ ษอุ ่นื ๆ กย็ อมไมไ ดสดบั สทั ธรรม เมือ่ ไมไ ดสดบั สัทธรรม ก็ ยอ มเสื่อมจากสัทธรรม เมื่อความเลอื่ มใสศรัทธากลายเปนความรกั ขอ เสยี ในการท่คี วามลาํ เอยี งจะมาปดบังการใชปญญาก็ เกิดขึ้นอีก เชน ภิกษุทั้งหลาย สิ่ง ๔ ประการน้ี ยอ มเกดิ ขนึ้ ได คอื ความรกั เกดิ จากความรกั โทสะเกดิ จากความรัก ความรักเกดิ จากโทสะ โทสะเกดิ จากโทสะฯลฯ โทสะเกดิ จากความรกั อยางไร? บคุ คลทต่ี นปรารถนา รกั ใคร พอ ใจ ถกู คนอ่ืนประพฤตติ อ ดว ยอาการทีไ่ มปรารถนา ไมนา รักใคร ไมน า พอใจ เขายอ มมคี วามคิดวา บุคคลท่เี รา ปรารถนา รกั ใครพ อใจนี้ ถูกคน อืน่ ประพฤติตอ ดวยอาการที่ไมน าปรารถนา ไมนา รกั ใคร ไมนาพอใจ ดงั นี้ เขายอมเกิดโทสะในคนเหลา น้ัน ฯลฯ

พทุ ธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 165 แมแตความเลอ่ื มใสศรทั ธาในองคพ ระศาสดาเอง เมอื่ กลายเปนความรักในบคุ คลไป กย็ อ มเปน อปุ สรรคตอความหลุดพน หรอื อสิ รภาพทางปญญาในข้ันสงู สดุ ได พระพุทธเจาจงึ ทรงสอนใหล ะเสยี แมบ างครงั้ จะตอ งใชวิธีคอนขา งรนุ แรง กท็ รงทาํ เชน ในกรณขี องพระวักกลิ ซง่ึ มีความเล่อื มใสศรทั ธาในพระองคอยา งแรง กลา อยากจะติดตามพระองคไ ปทุกหนทุกแหง เพ่ือไดอยูใ กลชิด ไดเห็นพระองคอยเู สมอ ระยะสุดทายเมอื่ พระ วักกลิปวยหนักอยากเฝา พระพทุ ธเจา สง คนไปกราบทูล พระองคกเ็ สดจ็ มา และมีพระดํารสั เพอื่ ใหเ กิดอิสรภาพ ทางปญญาแกพ ระวักกลติ อนหนึ่งวา พระวกั กล:ิ ขาแตพระองคผเู จรญิ เปนเวลานานนกั แลว ขาพระองคปรารถนาจะไปเฝา เพื่อจะเหน็ พระผู มีพระภาคเจา แตรางกายของขาพระองค ไมม กี าํ ลงั เพยี งพอทจ่ี ะไปเฝา เห็นองคพ ระผมู พี ระภาคเจา ได พระพุทธเจา: อยาเลย วกั กลิ รา งกายอันเนาเปอยน้ี เธอเห็นไปจะมปี ระโยชนอะไร ดูกรวกั กลิ ผใู ดเหน็ ธรรม ผนู ั้นชอ่ื วาเหน็ เรา ผูใดเห็นเรา ผนู ั้นเห็นธรรม เมื่อเห็นธรรมน่ันแหละ วักกลิ จงึ จะช่ือวา เหน็ เรา เมือ่ เห็นเรา (ก็คือ) เห็นธรรม นอกจากน้ี ความกาวหนาเพียงในขน้ั ศรัทธา ยงั ไมเ ปนการมน่ั คงปลอดภัย เพราะยังตอ งอาศยั ปจ จัยภายนอก จึงยงั เส่ือมถอยได ดงั พทุ ธพจนวา ดูกรภัททาลิ เปรยี บเหมอื นบรุ ษุ มีตาขา งเดียว พวกมิตรสหายญาตสิ าโลหติ ของเขา พงึ ชว ยกันรกั ษาตา ขางเดียวของเขาไว ดวยคิดวา อยา ใหตาขา งเดยี วของเขานั้นตอ งเสียไปเลย ขอ นีฉ้ นั ใด ภิกษุบางรูปในธรรม วนิ ัยน้ี กฉ็ นั น้ันเหมือนกนั เธอประพฤติปฏิบัติเพียงดวยศรัทธาเพยี งดว ยความรัก ในกรณีน้ัน ภิกษทุ งั้ หลายยอ มดาํ ริกันวา ภิกษรุ ูปน้ี ประพฤตปิ ฏบิ ตั อิ ยูเ พียงดวยศรัทธา เพยี งดวย ความรกั พวกเราจักชว ยกันเรง รัดเธอ ยา้ํ แลว ยํ้าอกี ใหกระทาํ การณ โดยหวงั วา อยาใหสงิ่ ท่เี ปนเพยี งศรทั ธา เปน เพยี งความรกั นน้ั เสอ่ื มสูญไปจากเธอเลย น้แี ล ภทั ทาลิ คอื เหตุคอื ปจ จัย ทท่ี ําให (ตอง) คอยชวยกันเรงรัด ภกิ ษบุ างรปู ในศาสนานี้ ยํ้าแลวย้ําอกี ใหก ระทําการณ” ลาํ พงั ศรทั ธาอยา งเดียว เม่อื ไมก าวหนา ตอ ไปตามลําดับจนถงึ ขั้นปญ ญา ยอ มมผี ลอยใู นขอบเขตจาํ กดั เพียงแคส วรรคเทา น้นั ไมส ามารถใหบ รรลุจดุ หมายของพุทธธรรมได ดงั พทุ ธพจนว า ภิกษทุ ัง้ หลาย ในธรรมทเ่ี รากลาวไวดแี ลว ซึ่งเปน ของงา ย เปดเผย ประกาศไวช ดั ไมม ีเงอ่ื นงาํ ใดๆ อยา งน้ี - สําหรบั ภกิ ษุผูเปนอรหันตขณี าสพ...ยอ มไมม ีวฏั ฏะเพื่อจะบญั ญตั ิตอไป - ภิกษุทีล่ ะสงั โยชนเ บอ้ื งตํ่าท้งั หาไดแลว ยอ มเปนโอปปาตกิ ะ ปรนิ พิ พานในโลกน้นั ฯลฯ - ภกิ ษุทล่ี ะสังโยชนส ามไดแ ลว มีราคะ โทสะ โมหะเบาบาง ยอมเปน สกทาคามี ฯลฯ - ภิกษทุ ่ีละสังโยชนส ามได ยอ มเปน โสดาบัน ฯลฯ - ภกิ ษุที่เปนธัมมานุสารี เปน สัทธานสุ ารี ยอ มเปน ผูมีสมั โพธิเปนที่หมาย - ผูทมี่ เี พียงศรทั ธา มเี พียงความรักในเรา ยอ มเปน ผูมีสวรรคเ ปน ท่หี มาย 5- เม่ือรูเหน็ ประจกั ษด วยปญ ญา ก็ไมต องเช่ือดวยศรทั ธา

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 166 ในกระบวนการพฒั นาปญญา ที่ถือเอาประโยชนจ ากศรทั ธาอยางถูกตอ ง ปญ ญาจะเจรญิ ขนึ้ โดยลาํ ดบั จนถึงขนั้ เปน ญาณทัสสนะ คือเปนการรกู ารเห็น ในขัน้ นี้ จะไมต องใชค วามเชอื่ และความเหน็ อีกตอ ไป เพราะรู เห็นประจกั ษแกตนเอง จึงเปน ขัน้ ทพ่ี นขอบเขตของศรทั ธา ขอใหพิจารณาขอ ความในพระไตรปฎกตอไปน้ี ถาม: ทา นมสุ ลิ ะ โดยไมอาศยั ศรัทธา ไมอาศยั ความถูกกับใจคดิ ไมอาศยั การเรียนรตู ามกนั มา ไม อาศัยการคิดตรองตามแนวเหตผุ ล ไมอ าศัยความเขา กนั ไดกบั การทดสอบดว ยทฤษฎี ทานมุสลิ ะมกี ารรจู าํ เพาะ ตน (ปจจัตตญาณ) หรือวา เพราะชาติเปน ปจ จัย จึงมชี รามรณะ ? ตอบ: ทานปวฏิ ฐะ ผมยอมรู ยอมเหน็ ขอที่วา เพราะชาติเปนปจ จยั จึงมชี รามรณะนีไ้ ด โดยไมตอ งอาศัย ศรัทธา...ความถกู กบั ใจคดิ ...การเรยี นรูตามกันมา...การคิดตรองตามแนวเหตผุ ล...ความเขากันไดก ับการ ทดสอบดว ยทฤษฎีเลยทีเดยี ว (จากนถ้ี ามตอบหัวขออ่ืนๆ ในปฏิจจสมุปบาท ตามลาํ ดบั ท้ังฝา ยอนโุ ลม ปฏิโลม จนถงึ ภวนโิ รธ คอื นพิ พาน) อกี แหงหนง่ึ วา ถาม: มปี ริยายบางไหม ท่ีภกิ ษุจะใชพยากรณอรหัตตผลได โดยไมต องอาศัยศรัทธา ไมต องอาศยั ความ ถูกกับใจชอบ ไมตองอาศยั การเรียนรตู ามกันมา ไมต องอาศยั การคดิ ตรองตามแนวเหตผุ ล ไมต อ งอาศยั ความ เขา กนั ไดกบั การคดิ ทดสอบดวยทฤษฎี กร็ ชู ดั วา “ชาตสิ นิ้ แลว พรหมจรรยอยจู บแลว สงิ่ ทีต่ องทาํ ไดท ําแลว สงิ่ อื่นท่ตี อ งทําเพ่ือเปน อยางน้ี ไมม ีเหลืออยูอ กี ”? ฯลฯ ตอบ: ปรยิ ายน้ันมีอยู...คอื ภิกษเุ ห็นรูปดวยตา ยอมรชู ัดซึ่งราคะ โทสะ โมหะ ท่ีมีอยูใ นตัววา “ราคะ โทสะ โมหะ มีอยูในตัวของเรา” หรอื ยอ มรูช ัดซ่งึ ราคะ โทสะ โมหะ ท่ไี มมอี ยใู นตัววา “ราคะ โทสะ โมหะ ไมม ี ในตวั ของเรา” ถาม: เร่ืองท่ีวา...นี้ ตอ งทราบดวยศรัทธา หรือดว ยความถกู กบั ใจชอบ หรอื ดว ยการเรียนรูตามกันมา หรอื ดวยการคดิ ตรองตามแนวเหตุผล หรอื ดว ยความเขา กนั ไดกับการคิดทดสอบดวยทฤษฎี หรือไม ? ตอบ: ไมใ ชอยางนัน้ ถาม: เรื่องทีว่ า...นี้ ตองเหน็ ดว ยปญ ญาจึงทราบมิใชห รือ ? ตอบ: อยา งนน้ั พระเจา ขา สรุป: นี้กเ็ ปน ปรยิ าย (หน่ึง) ที่ภกิ ษจุ ะใชพยากรณอรหัตตผลได โดยไมต องอาศยั ศรทั ธา ฯลฯ (จากน้ี ถามตอบไปตามลาํ ดับอายตนะอืน่ ๆ ในทํานองเดยี วกนั จนครบทุกขอ ) เม่ือมญี าณทสั สนะ คือการรกู ารเห็นประจกั ษแลว จงึ ไมตอ งมศี รทั ธา คอื ไมตอ งเชือ่ ตอ ผใู ดอ่ืน ดงั นัน้ พทุ ธสาวกท่บี รรลคุ ณุ วิเศษตา งๆ จงึ รูและกลา วถึงสิ่งนัน้ ๆ โดยไมตอ งเชื่อตอ พระศาสดา เชน ไดมคี าํ สนทนา

พทุ ธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 167 ถามตอบระหวางนิครนถนาฏบตุ ร กบั จติ ตคฤหบดี ผูเปน พทุ ธสาวกฝา ยอุบาสกทมี่ ีชอื่ เสียงเช่ียวชาญในพุทธ ธรรมมาก วา นิครนถ: แนะ ทานคฤหบดี ทานเชื่อพระสมณะโคดมไหมวา สมาธทิ ่ไี มมวี ติ ก ไมมวี จิ าร มีอยู ความดับ แหงวติ กวิจารได มีอยู ? จติ ตคฤหบดี: ในเรอ่ื งน้ี ขา พเจา มิไดย ดึ ถอื ดวยศรัทธา ตอ พระผมู ีพระภาควา สมาธิท่ไี มมวี ติ ก ไมม ี วจิ าร มีอยู ความดบั แหงวิตกวจิ ารได มอี ยู ฯลฯ ขาพเจา นี้ ทันทที มี่ งุ หวงั ...กเ็ ขาปฐมฌานอยูได...เขาทุติย- ฌานอยไู ด...เขาตตยิ ฌานอยูได. ..เขา จตตุ ถฌานอยไู ด ขา พเจา นน้ั รูอ ยอู ยางน้ี เห็นอยอู ยางนี้ จึงไมยดึ ถือดวย ศรทั ธา ตอสมณะหรอื พราหมณผใู ดๆ วา สมาธิท่ีไมมวี ติ ก ไมมวี จิ าร มีอยู ความดบั แหง วติ กวิจารได มีอยู ดวยเหตุทีก่ ลาวมานี้ พระอรหันตซึ่งเปน ผูมีญาณทสั สนะถงึ ทสี่ ดุ จึงมีคณุ สมบัตอิ ยา งหนึง่ วา “อสั สัท ธะ” ซ่ึงแปลวา ผไู มมศี รัทธา คอื ไมตองเชอ่ื ตอ ใครๆ ในเรอ่ื งทต่ี นรเู หน็ ชดั ดว ยตนเองอยูแลว อยูเ หนอื ศรทั ธา หรอื ไมต องอาศัยศรทั ธา เพราะรูประจกั ษแลว ดังจะเหน็ ไดจากพุทธดํารัสสนทนากบั พระสารบี ุตรวา พระพุทธเจา : สารีบุตร เธอเชื่อไหมวา สทั ธนิ ทรียท ีเ่ จรญิ แลว กระทาํ ไดม ากแลว ยอมหยง่ั ลงสอู มตะ มี อมตะเปน ที่หมาย มีอมตะเปน ท่สี นิ้ สดุ วริ ยิ ินทรีย. ..สตนิ ทรยี . ..สมาธนิ ทรยี . ..ปญญินทรีย (ก็เชน เดียวกนั ) ? พระสารบี ุตร: ขา แตพระองคผเู จรญิ ในเรอ่ื งนี้ ขาพระองคม ไิ ดยดึ ถอื ดวยศรทั ธา ตอ พระผมู พี ระภาค... แทจ รงิ คนเหลาใด ยงั ไมรู ยงั ไมเ ห็น ยังไมทราบ ยงั ไมก ระทาํ ใหแจง ยังไมมองเหน็ ดว ยปญ ญา ชนเหลานัน้ จึงจะยึดถือดวยศรัทธาตอคนอ่นื ในเรอื่ งน.ี้ ..สวนคนเหลาใด รู เหน็ ทราบ กระทาํ ใหแ จง มองเห็นสงิ่ นี้ดว ย ปญญาแลว คนเหลานัน้ ยอ มไมมีความสงสยั ไมม ีความแคลงใจในเรอ่ื งนน้ั ... ก็ขาพระองคไดรู เหน็ ทราบ กระทําใหแจง มองเห็นส่ิงนี้ดวยปญญาแลว ขา พระองคจงึ เปนผูไมมคี วาม สงสยั ไมมีความแคลงใจในเรือ่ งน้ันวา สัทธินทรีย. ..วิริยินทรยี . ..สตินทรีย. ..สมาธนิ ทรยี . ..ปญญินทรยี  ทเี่ จรญิ แลว กระทาํ ใหม ากแลว ยอ มหยั่งลงสอู มตะ มอี มตะเปน ท่หี มาย มีอมตะเปนทส่ี ิน้ สุด พระพทุ ธเจา : สาธุ สาธุ สารีบุตร ฯลฯ เพ่ือสรปุ ความสาํ คญั และความดีเดน ของปญญา ขออางพุทธพจนว า ภิกษทุ งั้ หลาย เพราะเจริญ เพราะกระทําใหมาก ซึ่งอนิ ทรยี กอ่ี ยางหนอ ภิกษผุ ขู ณี าสพจงึ พยากรณ อรหัตตผล รชู ัดวา “ชาตสิ ิ้นแลว...ส่งิ อ่นื ท่จี ะตอ งทําเพ่ือเปน อยา งน้ี ไมม เี หลอื อยูอีก” ? เพราะเจรญิ เพราะ กระทําใหมาก ซึ่งอนิ ทรยี อ ยางเดยี ว ภิกษุผขู ณี าสพ ยอมพยากรณอรหัตตผลได... อนิ ทรยี อ ยา งเดยี วน้นั กค็ อื ปญ ญินทรยี  สาํ หรับอรยิ สาวกผูมีปญญา ศรทั ธาอนั เปนของคลอยตามปญญาน้ัน ยอ มทรงตัวอยูได วริ ยิ ะ... สติ...สมาธิ อันเปน ของคลอยตามปญญานน้ั ยอมทรงตัวอยูไ ด อนิ ทรียอ น่ื ๆ (คอื ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ) ลาํ พงั แตละอยางๆ ก็ดี หรือหลายอยางรวมกัน แตขาดปญ ญาเสยี เพียงอยางเดยี ว ก็ดี ไมอาจใหบรรลุผลสําเรจ็ น้ไี ด ปจจยั ใหเ กิดสมั มาทิฏฐิ

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 168 สมั มาทิฏฐิ เปน องคป ระกอบสาํ คญั ของมรรค ในฐานะทีเ่ ปน จดุ เร่มิ ตนในการปฏบิ ัตธิ รรม หรอื พดู ตาม แนวไตรสิกขา วา เปนข้นั เร่ิมแรกในระบบการศึกษาแบบพทุ ธ และเปน ธรรมที่ตอ งพฒั นาใหบริสุทธ์ิ แจง ชัด เปนอิสระมากขนึ้ ตามลาํ ดับ จนกลายเปนการตรสั รูใ นทส่ี ุด ดังกลาวมาแลว ดงั น้ันการสรางเสริมสัมมาทฏิ ฐิจงึ เปน สิ่งสาํ คัญยง่ิ มพี ทุ ธพจนแ สดงหลกั การสรางเสริมสัมมาทฏิ ฐไิ วดังนี้ ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ปจจัยเพ่ือความเกิดข้ึนแหงสมั มาทิฏฐิ มี ๒ อยา งดงั นี้ คอื ปรโตโฆสะ และ โยนิโส มนสิการ ๑. ปรโตโฆสะ = “เสยี งจากผอู นื่ ” คําบอกเลา ขา วสาร คาํ ชี้แจงอธิบาย การแนะนําชักจูง การสง่ั สอน การถายทอด การไดเรียนรจู ากผูอ นื่ (hearing or learning from others) ๒. โยนิโสมนสิการ = “การทาํ ในใจโดยแยบคาย” การพิจารณาสืบคนถึงตน เคา การใชค วามคิดสบื สาว ตลอดสาย การคิดอยางมีระเบียบ การรจู ักคดิ พจิ ารณาดว ยอบุ าย การคดิ แยกแยะออกดตู ามสภาวะของสงิ่ นน้ั ๆ โดยไมเอาความรสู กึ ดวยตัณหาอปุ าทานของตนเขา จบั (analytical reflection, critical reflection, systematic attention) ปจจัยทั้งสองอยา งน้ี ยอ มสนับสนนุ ซึง่ กันและกัน สําหรบั คนสามญั ซึ่งมปี ญญาไมแ กก ลา ยอมอาศยั การแนะนาํ ชักจงู จากผูอ่นื และคลอ ยไปตามคาํ แนะ นาํ ชกั จูงทฉี่ ลาดไดงาย แตก จ็ ะตองฝกหดั ใหสามารถใชค วามคดิ อยา งถูกวิธีดว ยตนเองไดด วย จงึ จะกา วหนา ไป ถึงทส่ี ุดได สว นคนทมี่ ีปญญาแกกลา ยอ มรูจกั ใชโ ยนิโสมนสิการไดด กี วา แตก ระน้นั กอ็ าจตอ งอาศยั คาํ แนะนาํ ท่ี ถกู ตอ งเปน เครื่องนาํ ทางในเบ้อื งตน และเปนเครื่องชว ยสง เสรมิ ใหก าวหนา ไปไดรวดเร็วยิง่ ข้นึ ในระหวา งการฝก อบรม การสรางเสริมสัมมาทิฏฐิ ดวยปจจัยอยางที่ ๑ (ปรโตโฆสะ) ก็คือ วธิ กี ารท่เี ริม่ ตน ดว ยศรทั ธา และอาศยั ศรทั ธาเปนสําคญั เมอ่ื นาํ มาใชป ฏิบัติในระบบการศกึ ษาอบรม จึงตอ งพจิ ารณาที่จะใหไ ดร บั การแนะนาํ ชกั จงู สงั่ สอน อบรมที่ไดผ ลดีทสี่ ุด คอื ตอ งมผี ูส ่งั สอนอบรมทเี่ พยี บพรอมดว ยคณุ สมบัติ มีความสามารถ และใชวิธีการอ บรมสงั่ สอนท่ไี ดผ ล ดงั นัน้ ในระบบการศึกษาอบรม จึงจํากัดใหไดป รโตโฆสะทีม่ งุ หมายดวยหลักทเ่ี รยี กวา กัลยาณมิตตตา คือความมีกัลยาณมิตร สวนปจ จยั อยา งท่ี ๒ (โยนิโสมนสิการ) เปนแกนหรอื องคป ระกอบหลักของการพฒั นาปญญา ซง่ึ จะตอ ง พจิ ารณาวา ควรใชความคดิ ใหถ กู ตองอยา งไร เมอ่ื นําปจ จยั ทั้งสองมาประกอบกนั นับวากลั ยาณมิตตตา (=ปรโตโฆสะทีด่ )ี เปน องคป ระกอบภายนอก และโยนโิ สมนสิการ เปน องคป ระกอบภายใน ถา ตรงขามจากนี้ คอื ไดผ ูไมเปนกัลยาณมิตร ทําใหป ระสบปรโตโฆสะทีผ่ ดิ พลาด และใชความคดิ ผดิ วธิ ี เปนอโยนิโสมนสิการ กจ็ ะไดร ับผลตรงขา ม คือ เปน มิจฉาทฏิ ฐิไปได

พทุ ธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 169 มพี ุทธพจนแ สดงปจจยั ทัง้ สองน้ี ในภาคปฏบิ ตั ขิ องการฝกอบรม พรอมท้งั ความสําคัญทค่ี วบคกู ัน ดงั นี้ ๑. สาํ หรับภกิ ษผุ ูยังตองศกึ ษา (เสขะ) ... เรามองไมเห็นองคประกอบภายนอกอ่นื ใด มปี ระโยชนม าก เทาความมีกลั ยาณมิตรเลย ๒. สําหรับภิกษผุ ูยังตอ งศึกษา (เสขะ) ... เรามองไมเหน็ องคป ระกอบภายในอ่ืนใด มปี ระโยชนมาก เทา โยนิโสมนสกิ ารเลยควรทําความเขาใจเก่ยี วกับปจ จยั ๒ อยา งนี้ โดยยอ ๑. ความมกี ลั ยาณมติ ร กัลยาณมิตร มไิ ดห มายถึงเพยี งแคเพ่อื นทด่ี ีอยางในความหมายสามัญ แตห มายถงึ บุคคลผูเพียบ พรอมดว ยคุณสมบตั ิท่จี ะสง่ั สอน แนะนาํ ชีแ้ จง ชักจูง ชว ยเหลอื บอกชองทาง ใหดาํ เนนิ ไปในมรรคาแหงการฝก ศึกษาอยา งถกู ตอ ง ในคัมภีรวสิ ุทธิมัคค ยกตวั อยางไว เชน พระพทุ ธเจา พระอรหนั ตสาวก ครู อาจารย และทา น ผูเปนพหสู ตู ทรงปญ ญา สามารถส่ังสอนแนะนําเปน ทปี่ รกึ ษาได แมจะออนวยั กวา ในกระบวนการพัฒนาปญญา ความมกี ลั ยาณมิตรน้ี จัดวา เปน ระดับความเจรญิ ปญ ญาในขัน้ ศรทั ธา สวนในระบบการศึกษาอบรม ความมกี ลั ยาณมติ ร มคี วามหมายครอบคลมุ ถงึ ตวั บุคคลผอู บรมสั่งสอน เชน ครู อาจารย เปน ตน คณุ สมบตั ขิ องผสู อนนั้น หลกั การ วิธีการ และอบุ ายตางๆ ในการสอน ตลอดจนการจดั ดาํ เนนิ การตา งๆ ทุกอยา ง ทผี่ มู ีหนาท่เี อือ้ อาํ นวยการศึกษาจะพึงจัดทาํ เพอื่ ใหการศกึ ษาไดผ ลดี เทา ที่เปน องค ประกอบภายนอกในกระบวนการพฒั นาปญ ญานน้ั ซงึ่ นับวา เปน เรือ่ งใหญ ทอ่ี าจนําไปบรรยายไดเปนอีกเร่ือง หนง่ึ ตางหาก ในที่น้ี จะยกพทุ ธพจนแสดงคุณสมบัตขิ องกัลยาณมติ ร มาเปน ตวั อยางเพียงชดุ หน่งึ ไดแก กลั ยาณมติ รธรรม ๗ ประการ ดงั นี้ ภกิ ษุท้ังหลาย ภิกษุประกอบดว ยธรรม ๗ ประการ เปนมติ ร ทคี่ วรเสวนา ควรคบหา แมจ ะถกู ขับไล ก็ ควรเขา ไปนัง่ อยูใ กลๆ กลาวคือ เปนผูนา รกั นาพอใจ ๑ เปน ผูนาเคารพ ๑ เปน ผนู ายกยอ ง ๑ เปนผรู ูจักพูด ๑ เปนผูอดทนตอ ถอ ยคํา ๑ เปน ผกู ลา วแถลงถอ ยท่ีลกึ ซง้ึ ได ๑ ไมช กั นําในเร่อื งทเี่ หลวไหลไมสมควร ๑ … จากน้ี จะแสดงเพยี งความสาํ คัญ และคณุ ประโยชน ของการมีกัลยาณมติ ร (กัลยาณมิตตตา) ไว พอให เห็นฐานะของหลักการขอ น้ีในพุทธธรรม ภกิ ษทุ ้งั หลาย เม่อื ดวงอาทิตยอ ทุ ัยอยู ยอมมแี สงอรณุ ขน้ึ มากอ นเปน บุพนิมิตฉนั ใดความมกี ลั ยาณมติ ร กเ็ ปนตวั นํา เปนบพุ นิมติ แหงการเกิดขึน้ ของอรยิ อษั ฎางคกิ มรรค แกภกิ ษุ ฉนั นน้ั ภิกษผุ มู กี ัลยาณมิตร พงึ หวงั ส่ิงนไ้ี ด คือ จักเจริญ จกั ทําใหมาก ซ่ึงอรยิ อัษฎางคิกมรรค ดกู รอานนท ความมีกลั ยาณมิตร... เทา กับเปนพรหมจรรยท้งั หมด ทเี ดียว เพราะวา ผมู กี ลั ยาณมิตร... พงึ หวงั สิง่ น้ไี ด คอื เขาจกั เจรญิ จักทําใหม าก ซึ่งอรยิ อษั ฎางคิกมรรค

พทุ ธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 170 อาศยั เราผเู ปน กลั ยาณมิตร เหลาสตั วผ มู ีชาตเิ ปนธรรมดา ยอมพนจากชาติ ผมู ชี ราเปนธรรมดา ยอม พนจากชรา ผูมมี รณะเปนธรรมดายอมพนจากมรณะ ผมู โี สกะ ปริเทวะ ทกุ ข โทมนัส และอปุ ายาสเปน ธรรมดา ยอมพนจาก โสกะ ปรเิ ทวะ ทุกข โทมนสั และ อปุ ายาส ภิกษุทง้ั หลาย เมือ่ ดวงอาทติ ยอ ทุ ัยอยู ยอ มมแี สงเงินแสงทองเปน บพุ นมิ ติ มากอ น ฉันใด ความมี กัลยาณมิตร กเ็ ปน ตัวนาํ เปนบพุ นมิ ิตแหง การเกิดข้นึ ของโพชฌงค ๗ แกภ ิกษุ ฉันน้นั ภิกษุผูมีกัลยาณมิตร พึงหวงั สิ่งน้ไี ด คอื จักเจรญิ จักทาํ ใหมาก ซงึ่ โพชฌงค ๗ เราไมเ ลง็ เหน็ ธรรมอืน่ แมสักอยา งหนงึ่ ท่ีเปนเหตุยงั กศุ ลธรรมทย่ี งั ไมเ กดิ ใหเกดิ ขึ้น หรือยงั อกุศลธรรมที่ เกดิ ขึ้นแลว ใหเ สื่อมไป เหมือนความมกี ลั ยาณมิตรเลย เมื่อบุคคลมีกลั ยาณมิตร กศุ ลธรรมท่ยี งั ไมเ กิด ยอ มเกดิ ขึน้ และอกุศลธรรมท่เี กดิ ขน้ึ แลว ยอมเสอื่ มไป เราไมเล็งเห็นธรรมอ่ืนแมส กั อยา ง ทเี่ ปน ไปเพอื่ ประโยชนย ่ิงใหญ ...ที่เปน ไปเพื่อความดํารงม่นั ไมเส่ือมสูญ ไมอ ันตรธานแหง สทั ธรรมเหมอื นความมกี ัลยาณมิตรเลยโดยกาํ หนด วาเปนองคป ระกอบภายนอก เราไมเล็งเหน็ องคป ระกอบอืน่ แมส ักขอหนง่ึ ท่ีเปนไปเพื่อประโยชนย่ิงใหญ เหมอื น ความมกี ลั ยาณมิตรเลย สาํ หรบั ภิกษุผเู ปนเสขะ ยังไมบ รรลุอรหัตตผล ปรารถนาความเกษมจากโยคะอนั ยอดเยย่ี ม เราไมเ ล็ง เหน็ องคประกอบภายนอกอยา งอืน่ แมส ักอยางหน่ึง ทมี่ ปี ระโยชนม าก เหมอื นความมีกัลยาณมติ รเลย ภกิ ษผุ ู มกี ลั ยาณมติ ร ยอ มกําจัดอกุศลได และยอมบําเพญ็ กศุ ลใหเ กิดขึน้ ภกิ ษผุ ูมกี ลั ยาณมติ ร...พึงหวังสิ่งนไ้ี ด คือ ๑. จักเปนผมู ีศีล สาํ รวมระวงั ในปาตโิ มกข สมบรู ณด ว ยอาจาระและ โคจร ฯลฯ ๒. จกั เปนผู (มีโอกาสไดยนิ ไดฟง ไดรว มสนทนาอยางสะดวกสบาย) ตามความปรารถนา ในเร่ืองตา งๆ ท่ีขัดเกลาอุปนสิ ัย ชาํ ระจิตใจให ปลอดโปรง คือ เรอื่ งความมกั นอย ฯลฯ เรือ่ งการบาํ เพ็ญเพียร เรอื่ งศีล เรอื่ งสมาธิ เร่อื งปญ ญา เรอ่ื งวมิ ตุ ติ เรือ่ งวมิ ุตตญิ าณทัสสนะ ๓. จักเปนผูตั้งหนาทาํ ความเพยี ร เพ่อื กาํ จดั อกศุ ลธรรม และเพือ่ บําเพญ็ กุศลธรรมใหเพียบพรอ ม จักเปน ผแู ข็งขัน บากบน่ั มน่ั คง ไมท อดธรุ ะในกศุ ลธรรม ๔. จักเปนผูมีปญญา ประกอบดวยปญญาทเ่ี ปนอริยะ หยัง่ รูถ ึง ความเกดิ ความดบั ชาํ แรกกิเลส นาํ ไปสคู วามสูญสิน้ แหงทุกข” ๒. โยนิโสมนสิการ โยนโิ สมสิการ เปนการใชความคดิ อยางถกู วิธี ตามความหมายทก่ี ลา วมาแลว เมื่อเทยี บในกระบวนการ พฒั นาปญญา โยนิโสมนสกิ าร อยใู นระดับที่เหนอื ศรัทธา เพราะเปน ขัน้ ท่ีเร่ิมใชความคิดของตนเองเปนอสิ ระ

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 171 สวนในระบบการศกึ ษาอบรม โยนิโสมนสกิ ารเปนการฝก การใชค วามคดิ ใหรจู ักคดิ อยา งถกู วิธี คิด อยางมีระเบยี บ รจู กั คดิ วเิ คราะห ไมมองเหน็ สิง่ ตา งๆ อยางตนื้ ๆ ผวิ เผนิ เปน ข้นั สําคญั ในการสรา งปญ ญาที่ บริสทุ ธิเ์ ปนอสิ ระ ทาํ ใหทุกคนชวยตนเองได และนาํ ไปสจู ุดหมายของพทุ ธธรรมอยา งแทจ รงิ ความสําคัญ และคุณประโยชน ของโยนโิ สมนสกิ าร พงึ เห็นไดต ามตัวอยางพทุ ธพจนตอ ไปน้ี ภกิ ษุท้งั หลาย เมือ่ ดวงอาทิตยอทุ ยั อยู ยอ มมแี สงอรณุ ขนึ้ มากอ น เปน บุพนิมติ ฉันใด ความถึงพรอ ม ดว ยโยนิโสมนสกิ าร ก็เปนตวั นํา เปนบุพนิมิต แหงการเกิดขึน้ ของอริยอษั ฎางคิกมรรค แกภกิ ษุ ฉันนนั้ ภกิ ษุ ผถู งึ พรอ มดวยโยนิโสมนสกิ าร พึงหวังส่ิงน้ไี ด คอื จักเจริญ จกั ทาํ ใหม าก ซึ่งอรยิ อษั ฎางคกิ มรรค ภกิ ษุท้งั หลาย เม่ือดวงอาทิตยอุทยั อยู ยอมมแี สงเงนิ แสงทอง เปนบุพนมิ ิตมากอน ฉันใด โยนิโส มนสิการก็เปน ตวั นาํ เปน บุพนิมิต แหง การเกิดขน้ึ ของโพชฌงค ๗ แกภิกษุ ฉันน้ัน ภิกษุผถู ึงพรอมดว ยโยนิโส มนสิการ พึงหวงั ส่งิ นีไ้ ด คอื จักเจริญ จักทําใหม าก ซึ่งโพชฌงค ๗ เราไมเล็งเห็นธรรมอืน่ แมสกั อยา งหนึง่ ท่ีเปนเหตุใหกศุ ลธรรมท่ียังไมเ กดิ เกดิ ขน้ึ หรอื ใหอ กศุ ลธรรมท่ี เกดิ ข้ึนแลว เสือ่ มไป เหมือนโยนโิ สมนสิการเลย เมื่อมีโยนโิ สมนสิการ กศุ ลธรรมทีย่ งั ไมเ กิด ยอ มเกิดขึ้น และ อกศุ ลธรรมทเี่ กดิ ขน้ึ แลว ยอมเส่ือมไป เราไมเ ล็งเหน็ ธรรมอนื่ แมส กั อยา ง ที่เปนไปเพอื่ ประโยชนย ง่ิ ใหญ ... ที่ เปนไปเพอ่ื ความดาํ รงม่ัน ไมเ สือ่ มสญู ไมอันตรธานแหงสัทธรรม เหมือนโยนิโสมนสิการเลย โดยกําหนดวา เปน องคประกอบภายใน เราไมเ ลง็ เหน็ องคป ระกอบอื่น แมสักอยางหนึง่ ท่ีเปนไปเพื่อประโยชนยิง่ ใหญ เหมือน โยนโิ สมนสกิ ารเลย สาํ หรับภกิ ษุผูเสขะ ยงั ไมบ รรลุอรหตั ตผล ปรารถนาความเกษมจากโยคะ อนั ยอดเยยี่ ม เราไมเลง็ เห็น องคประกอบภายในอยา งอน่ื แมสกั อยา ง ที่มปี ระโยชนม าก เหมอื นโยนโิ สมนสิการเลยภิกษผุ ูใชโยนโิ สมนสิการ ยอมกําจัดอกุศลได และบําเพญ็ กศุ ลใหเ กดิ ขนึ้ เราไมเล็งเหน็ ธรรมอยางอ่ืน แมส กั ขอ หนึง่ ซึ่งเปนเหตใุ หส มั มา ทฏิ ฐิ ทย่ี ังไมเกดิ ไดเกดิ ข้ึน หรือใหสมั มาทิฏฐทิ ีเ่ กดิ ขนึ้ แลว เจรญิ ยงิ่ ข้นึ เหมอื นโยนิโสมนสกิ ารเลย เมื่อมีโยนิโส มนสิการ สมั มาทฏิ ฐทิ ่ียังไมเ กดิ ยอมเกดิ ข้นึ และสมั มาทฏิ ฐทิ ี่เกิดขนึ้ แลว ยอ มเจริญยิง่ ขน้ึ เราไมเล็งเหน็ ธรรมอนื่ แมส กั ขอหนงึ่ ซ่ึงเปนเหตุใหโพชฌงคท ยี่ ังไมเ กดิ ไดเกิดขึน้ หรอื ใหโ พชฌงคท เี่ กิดขนึ้ แลว ถงึ ความเจรญิ เต็ม บริบรู ณ เหมอื นโยนิโสมนสิการเลย เมอ่ื มีโยนิโสมนสกิ าร โพชฌงคทย่ี ังไมเ กิด ยอ มเกิดข้นึ และโพชฌงคท ี่เกิด ขึ้นแลว ยอมมีความเจรญิ เต็มบริบูรณ เราไมเ ลง็ เหน็ ธรรมอ่ืน แมส กั ขอ หน่งึ ทจี่ ะเปนเหตุใหความสงสยั ท่ยี งั ไม เกิดกไ็ มเกดิ ขึ้น หรือทเ่ี กดิ ข้ึนแลว ก็ถกู กาํ จดั ได เหมือนโยนิโสมนสกิ ารเลย เมื่อโยนโิ สมนสกิ ารอสุภนมิ ิต ราคะทีย่ ังไมเกดิ กไ็ มเกิดขึ้น ราคะทเี่ กิดแลว กถ็ กู ละได เมือ่ โยนิโส มนสกิ ารเมตตาเจโตวมิ ตุ ติ โทสะทีย่ งั ไมเ กดิ กไ็ มเ กดิ ขึ้น โทสะทเี่ กดิ แลว ก็ถกู ละได เมอ่ื โยนโิ สมนสิการ (โดยท่ัว ไป) โมหะท่ียงั ไมเกิด ก็ไมเ กดิ ขึน้ และโมหะท่เี กดิ แลว กถ็ ูกละได เมอ่ื โยนโิ สมนสกิ าร …(นวิ รณ ๕)… ที่ยังไมเกดิ ก็ไมเ กิดขน้ึ ทเ่ี กิดขึน้ แลว ก็ถกู กําจดั ได …(โพชฌงค ๗) … ที่ยังไมเกดิ กเ็ กดิ ข้ึน และที่เกิดขึ้นแลว ก็ถงึ ความเจรญิ เต็มบริบูรณ

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 172 ธรรม ๙ อยา งที่มอี ปุ การะมาก ไดแ ก ธรรม ๙ อยาง ซึง่ มีโยนโิ สมนสกิ ารเปน มลู กลา วคือ เมอื่ โยนโิ ส มนสิการ ปราโมทยยอ มเกดิ เมื่อปราโมทย ปติยอมเกดิ เมื่อมีใจปติ กายยอมผอนคลายสงบ (ปส สัทธิ) เมื่อกาย ผอนคลายสงบ ยอมไดเ สวยสขุ ผมู สี ขุ จติ ยอมเปนสมาธิ ผมู จี ิตเปนสมาธิ ยอมรเู ห็นตามเปน จริง เมอ่ื รูเห็นตาม เปนจรงิ ยอมนพิ พทิ าเอง เมอ่ื นิพพทิ า ก็วริ าคะ เพราะวริ าคะ กว็ ิมตุ ติ ตามนยั พทุ ธพจนนี้ เขียนใหด ูงาย เปน โยนิโสมนสิการ-ปราโมทย-ปติ-ปส สัทธิ-สขุ -สมาธ-ิ ยถาภูตญาณทสั สนะ-นิพพทิ า-วริ าคะ-วิมุตติ กลา วโดยสรปุ สําหรบั คนท่ัวไป ผูมปี ญญายงั ไมแ กกลา ยงั ตองอาศัยการแนะนําชักจูงจากผูอื่น การ พัฒนาปญ ญา นบั วาเร่ิมตนจาก องคประกอบภายนอก คอื ความมกี ัลยาณมติ ร (กัลยาณมติ ตตา) สําหรับให เกิดศรทั ธา (ความมน่ั ใจดว ยเหตผุ ลท่ไี ดพิจารณาเหน็ จริงแลว) กอ นจากนนั้ จึงกา วมาถงึ ขนั้ องคป ระกอบภาย ใน เรม่ิ แตน าํ ความเขา ใจตามแนวศรัทธาไปเปนพื้นฐาน ในการใชค วามคดิ อยางอิสระ ดวยโยนโิ สมนสกิ าร ทํา ใหเกิดสมั มาทิฏฐิ และทาํ ใหป ญญาเจรญิ ยงิ่ ข้นึ จนกลายเปน ญาณทสั สนะ คอื การรกู ารเหน็ ประจักษในทส่ี ุด เมอ่ื กระจายลาํ ดบั ขัน้ ในการพฒั นาปญญาตอนน้อี อกไป จงึ ตรงกบั ลําดับอาหารของวิชชาและวมิ ตุ ติ ที่ กลาวมาแลว ขางตน คือการเสวนาสตั บุรุษ-การสดับเลา เรยี นสทั ธรรม-ศรทั ธา-โยนโิ ส-มนสิการ ฯลฯ เมอื่ สัมมาทิฏฐเิ กิดขนึ้ แลว ก็จะเจริญเขาสจู ุดหมายดว ยการอดุ หนนุ ขององคป ระกอบตางๆ อยางพุทธ พจนท ีว่ า ภิกษทุ ง้ั หลาย สมั มาทฏิ ฐิ อนั องคป ระกอบ ๕ อยางคอยหนนุ (อนเุ คราะห) ยอ มมีเจโตวมิ ตุ ติ และ ปญญาวิมตุ ติ เปนผลานสิ งส องคป ระกอบ ๕ อยา งนั้น คอื ๑. ศลี (ความประพฤตดิ งี าม สจุ รติ ) ๒. สุตะ (ความรูจากการสดบั เลา เรยี น อานตํารา การแนะนําสงั่ สอนเพิม่ เติม ๓. สากัจฉา (การสนทนา ถกเถยี ง อภปิ ราย แลกเปลีย่ นความคิดเหน็ สอบคนความรู) ๔. สมถะ (ความสงบ การทาํ ใจใหสงบ การไมมีความฟงุ ซา นวนุ วายใจ การเจรญิ สมาธ)ิ ๕. วปิ ส สนา (การใชป ญ ญาพจิ ารณาเหน็ สิ่งตา งๆ ตามสภาวะของมนั คือตามทม่ี ันเปน จรงิ ) โดยสรุป สมั มาทฏิ ฐิ ก็คอื ความเหน็ ท่ีตรงตามสภาวะคอื เหน็ ตามท่สี ง่ิ ทง้ั หลายเปน จรงิ หรอื ตามทม่ี นั เปน การทีส่ ัมมาทิฏฐจิ ะเจรญิ ขึ้น ยอ มตอ งอาศยั โยนโิ สมนสกิ ารเรอ่ื ยไป เพราะโยนิโสมนสกิ ารชว ยใหไ มม อง สงิ่ ตางๆ อยางผิวเผิน หรอื มองเหน็ เฉพาะผลรวมทีป่ รากฏ แตชว ยใหมองแบบสบื คน แยกแยะ ท้ังในแงการ วเิ คราะหสวนประกอบท่ีมาประชุมกนั เขา และในแงก ารสืบทอดแหง เหตุปจ จัย ตลอดจนมองใหครบทุกแงด า น ทจ่ี ะใหเห็นความจริง และถอื เอาประโยชนไ ด จากทกุ ส่ิงทกุ อยา งที่ประสบหรือเก่ยี วขอ ง การมองและคิด พจิ ารณาดวยโยนิโสมนสกิ าร ทาํ ใหไ มถกู ลวง ไมกลายเปนหุนที่ถกู ย่วั ยุ ปลกุ ปน และเชิด ดวยปรากฏการณทาง รปู เสยี ง กลิน่ รส โผฏฐพั พะ และคตนิ ิยมตา งๆ จนเกดิ เปนปญ หาท้ังแกตนและผูอื่น แตท าํ ใหมสี ตสิ มั ปชัญญะ

พทุ ธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตฺโต) 173 เปน อสิ ระ เปนตวั ของตัวเอง คิดตัดสนิ และกระทาํ การตางๆ ดวยปญญา ซงึ่ เปนขั้นที่สัมมาทฏิ ฐิสงผลแกองค มรรคขอตอๆไป เริ่มทาํ ลายสงั โยชน อันมสี ักกายทฏิ ฐิ วิจิกิจฉา และสีลพั พตปรามาส เปน ตน ๒. สัมมาสังกปั ปะ คาํ จํากดั ความ และความหมายของสัมมาสังกัปปะ องคม รรคขอท่ี ๒ น้ี มีคําจํากดั ความตามคัมภรี  ซึง่ ถอื เปนหลกั ทว่ั ไป ดงั นี้ ภิกษุท้ังหลาย สมั มาสงั กัปปะ เปนไฉน? เนกขมั มสังกปั ป อพยาบาทสังกัปป อวหิ ิงสาสังกปั ป น้เี รยี ก วา สมั มาสงั กัปปะ นอกจากนี้ ยงั มีคาํ จาํ กดั ความแบบแยกออกเปน ระดบั โลกยิ ะ และระดบั โลกุตตระ ดังนี้ ภิกษุทง้ั หลาย สมั มาสังกัปปะ เปน ไฉน? เรากลาววาสัมมาสังกปั ปะมี ๒ อยาง คอื สัมมาสังกปั ปะทย่ี งั มีอาสวะ ซ่งึ จัดเปน ฝายบญุ อํานวยวิบากแกขันธ อยางหนึง่ กบั สมั มาสังกัปปะทเ่ี ปนอริยะ ไมม ีอาสวะ เปน โลกุตตระ และเปน องคม รรคอยา งหนึ่ง สัมมาสังกปั ปะ ทีย่ งั มอี าสวะ... คอื เนกขมั มสังกปั ป อพยาบาท- สังกัปป อวหิ ิงสาสังกปั ป... สัมมาสงั กปั ปะ ทเ่ี ปน อรยิ ะ ไมมีอาสวะ เปน โลกตุ ตระ เปนองคมรรค คือ ความระลกึ (ตักกะ) ความ นึกคิด (วติ กั กะ) ความดําริ (สังกปั ป) ความคดิ แนวแน (อัปปนา) ความคดิ แนน แฟน (พยัปปนา) ความเอาใจจด จอ ลง วจีสงั ขาร ของบุคคลผูมีจิตเปนอรยิ ะ มีจิตไรอ าสวะ ผพู รอมดวยอรยิ มรรค ผูกาํ ลงั เจรญิ อรยิ มรรคอย.ู .. เพ่ือรวบรดั ในทีน่ ้ี จะทําความเขา ใจกันแตเ พียงคําจํากดั ความแบบทั่วไป ทเ่ี รยี กวาเปนข้นั โลกยิ ะ เทา น้ัน ตามคําจาํ กัดความแบบน้ี สมั มาสังกัปปะ คอื ความดํารชิ อบ หรือความนึกคิดในทางทถี่ กู ตอ ง ตรงขา มกบั ความดาํ ริผดิ ทเี่ รยี กวา มิจฉาสงั กปั ปะ ซงึ่ มี ๓ อยาง คอื ๑. กามสงั กัปป หรือ กามวิตก คอื ความดําริที่เกีย่ วขอ งกับกาม ความนึกคดิ ในทางท่จี ะแสวงหาส่ิงเสพ ความคิดอยากได หรอื หมกมนุ พัวพนั ติดของอยกู ับสิง่ สนองความตองการทางประสาททัง้ ๕ หรือส่งิ สนอง ตัณหา อปุ าทานตางๆ ความคิดในทางเห็นแกตัว เปนความนึกคดิ ในฝา ยราคะ หรือโลภะ ๒. พยาบาทสงั กัปป หรือ พยาบาทวิตก คอื ความดํารทิ ปี่ ระกอบดว ยความขดั เคอื ง ไมพ อใจ เคยี ดแคน ชงิ ชงั คิดเห็นในแงร า ยตางๆ ความขาดเมตตา เปน ความนกึ คิดในฝา ยโทสะแงถกู กระทบ ๓. วิหงิ สาสงั กัปป หรือ วิหิงสาวิตก คือ ความดาํ ริในทางทจ่ี ะเบียดเบยี น ทาํ รา ย การคดิ ที่จะขมเหง รังแก ตอ งการกอ ทุกข ทําใหค นและสัตวทั้งหลายเดือดรอ น ไมม ีความกรณุ า เปนความนกึ คดิ ในฝายโทสะแงจ ะออกไปกระทบ ความดาํ รหิ รอื แนวความคิดแบบน้ี เปนเร่อื งปรกติของคนสว นมากเพราะตามธรรมดา เม่อื ปุถุชนรับรู อารมณอยางใดอยางหน่งึ จะโดยการเหน็ ไดยิน ไดสัมผสั เปน ตน ก็ตาม จะเกดิ ความรสู กึ อยางใดอยา งหน่ึงใน สองอยา ง คือ ถา ถูกใจ กช็ อบ ตดิ ใจ อยากได พวั พัน คลอ ยตาม ถาไมถูกใจ ก็ไมช อบ ขัดใจ ขดั เคือง ชัง ผลัก

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 174 แยง เปนปฏิปก ษ จากนนั้ ความดําริ นกึ คิดตา งๆ กจ็ ะดาํ เนนิ ไปตามแนวทางหรอื ตามแรงผลกั ดันของความชอบ และไมช อบนัน้ ดว ยเหตนุ ี้ ความคดิ ของปถุ ชุ นโดยปกติ จงึ เปน ความคิดเหน็ ทเี่ อนเอียงไปขา งใดขางหน่งึ มีความพอใจ และไมพ อใจของตนเขาไปเคลอื บแฝงชกั จงู ทาํ ใหไ มเ หน็ ส่งิ ท้งั หลายตามทมี่ นั เปน ของมันเองลว นๆ ความนึกคิดทด่ี าํ เนินไปจากความถกู ใจ ชอบใจ เกิดความติดใคร พวั พนั เอยี งเขา หา กก็ ลายเปน กามวติ ก สวนที่ดาํ เนนิ ไปจากความไมถูกใจ ไมชอบใจ เกดิ ความขดั เคอื ง ชงิ ชัง เปน ปฏิปกษ มองในแงรา ย ก็ กลายเปน พยาบาทวิตก ที่ถงึ ขนาดพุง ออกมาเปน ความคิดรุกราน คิดเบียดเบียน อยากทํารา ย กก็ ลายเปน วหิ งิ สาวิตก ทาํ ใหเ กดิ ทัศนคติ (หรือเจตคติ) ตอสิง่ ตา งๆ อยางไมถกู ตอง ความดาํ ริหรือความนึกคิดท่ีเอนเอยี ง ทัศนคติทีบ่ ิดเบนและถูกเคลอื บแฝงเชนนี้ เกดิ ข้นึ ก็เพราะการขาด โยนิโสมนสกิ ารแตต น คอื มองสงิ่ ตางๆ อยา งผิวเผิน รบั รอู ารมณเขามาท้งั ดนุ โดยขาดสตสิ มั ปชัญญะ แลว ปลอ ยความนกึ คิดใหแลน ไปตามความรสู ึก หรอื ตามเหตุผลทีม่ ีความชอบใจ ไมช อบใจเปนตวั นํา ไมไ ดใชค วาม คิดวเิ คราะหแ ยกแยะสว นประกอบและความคิดสบื สาวสอบคนเหตปุ จจัย ตามหลกั โยนิโสมนสกิ าร โดยนัยนี้ มจิ ฉาทฏิ ฐิ คอื ความเขาใจผิดพลาด ไมมองเห็นสง่ิ ท้ังหลายตามความเปนจรงิ จงึ ทําใหเกดิ มจิ ฉาสังกัปปะ คือ ดําริ นึกคิด และมีทัศนคติตอสง่ิ ท้ังหลายอยางผิดพลาดบดิ เบือน และมิจฉาสังกัปปะนกี้ ส็ ง ผลสะทอ นใหเกดิ มิจฉาทิฏฐิ เขา ใจและมองเห็นสง่ิ ทัง้ หลายอยา งผดิ พลาดบิดเบอื นตอไปหรอื ยิ่งขน้ึ ไปอีก องค ประกอบทงั้ สอง คือ มิจฉาทิฏฐิ และมิจฉาสงั กปั ปะจึงสง เสริมสนบั สนนุ ซ่ึงกนั และกัน ในทางตรงขาม การท่ีจะมองเห็นสง่ิ ทัง้ หลายถกู ตอ งตามท่ีมันเปน ของมันเองได ตอ งใชโยนโิ สมนสกิ าร ซง่ึ หมายความวา ขณะนัน้ ความนึกคิดความดาํ รติ างๆ จะตอ งปลอดโปรง เปนอิสระ ไมม ที ้งั ความชอบใจ ความ ยึดตดิ พัวพัน และความไมชอบใจ ผลกั แยง เปน ปฏิปก ษตา งๆ ดว ย ขอ นม้ี คี วามหมายวา จะตองมสี ัมมาทิฏฐิ และสมั มาสังกปั ปะ และองคป ระกอบท้งั สองอยางนีส้ ง เสรมิ สนบั สนนุ ซ่ึงกนั และกนั เชน เดยี วกับในฝา ยมจิ ฉา นน่ั เอง โดยนัยนี้ ดว ยการมีโยนิโสมนสิการ ผนู ั้นกม็ ีสัมมาทฏิ ฐิ คอื มองเหน็ และเขา ใจสงิ่ ตา งๆ ตามความเปน จริง เมอื่ มองเห็นสิ่งตา งๆ ตามความเปนจรงิ จงึ มีสมั มาสงั กปั ปะ คอื ดําริ นึกคดิ และตั้งทศั นคตติ อ ส่ิงเหลา นนั้ อยางถกู ตอง ไมเอนเอียง ยดึ ติด ขัด ผลกั หรือเปนปฏิปก ษ เมื่อมคี วามดํารินึกคิดทเี่ ปน อิสระจากความชอบใจ ไมช อบใจ เปนกลางเชนน้ี จงึ ทาํ ใหมองเห็นสง่ิ ตา งๆ ตามความเปนจริง คอื เสริมสัมมาทฏิ ฐใิ หเ พ่มิ พูนยงิ่ ขึ้น จากนนั้ องคป ระกอบทง้ั สองกส็ นบั สนุนกนั และกันหมุนเวยี นตอไป ในภาวะจิตท่มี โี ยนิโสมนสิการ จึงมคี วามดํารซิ ่งึ ปลอดโปรง เปน อสิ ระ ปราศจากความเอนเอยี ง ท้ังใน ทางติดคลอ ยเขาขาง และในทางเปนปฏิปกษ ผลักเบอื นหนี ตรงขามกบั มจิ ฉาสงั กัปปะ เรยี กวา สมั มาสงั กปั ปะ มี ๓ อยางเชนเดียวกนั คือ

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 175 ๑. เนกขมั มสังกปั ป หรอื เนกขมั มวติ ก คือ ความดาํ รทิ ีป่ ลอดโลภะ หรือประกอบดว ยอโลภะ ความนกึ คดิ ทปี่ ลอดโปรง จากกาม ไมห มกมนุ พวั พันติดใครในส่งิ เสพสนองความอยากตางๆ ความคิดทปี ราศจากความเห็นแกต วั ความคดิ เสยี สละ และความคดิ ท่เี ปนคณุ หรือเปน กศุ ลทกุ อยา ง จัดเปนความนึกคิดทีป่ ลอดราคะหรอื โลภะ ๒. อพยาบาทสังกัปป หรอื อพยาบาทวิตก คือ ความดาํ รทิ ่ไี มมคี วามเคยี ดแคน ชงิ ชัง ขัดเคือง หรอื การเพงมองในแงรายตางๆ โดยเฉพาะมงุ เอาธรรมทีต่ รงขา ม คือ เมตตา ซง่ึ หมายถึงความ ปรารถนาดี ความมีไมตรี ตองการใหผอู ่นื มีความสขุ จดั เปน ความคดิ ที่ปลอดโทสะ ๓. อวหิ ิงสาสังกัปป หรือ อวหิ งิ สาวิตก คอื ความดํารทิ ป่ี ลอดจากการเบยี ดเบยี น ปราศจากความ คิดที่จะกอ ทุกขแกผอู ื่น โดยเฉพาะมุงเอาธรรมทีต่ รงขา มคอื กรณุ า ซ่งึ หมายถงึ ความคดิ ชว ย เหลือผูอ่นื ใหพน จากความทุกข เปน ความคดิ ทป่ี ลอดโทสะเชน เดยี วกนั ขอ สงั เกต และเหตุผลในการใชค าํ เชิงปฏิเสธ มขี อสังเกตอยางหนึง่ ทอี่ าจมีผูย กข้ึนอา ง ซง่ึ ขอช้แี จงไว ณ ทนี่ ้ีดว ยครัง้ หน่ึงกอ น คือเรือ่ งธรรมฝายดี หรือกศุ ล ซ่งึ ตรงขามกบั ฝา ยช่ัวหรอื อกศุ ล ในพุทธธรรมแทนท่ีจะใชศพั ทต รงขา ม มกั ใชแ ตเพยี งแคศพั ทปฏิเสธ ทําใหม ีผูค ดิ เห็นไปวา พทุ ธธรรมเปนคาํ สอนแบบนเิ สธ (negative) และเฉยเฉือ่ ย (passive) เพียงแตไมท าํ ความ ช่วั อยูเ ฉยๆ ก็เปนความดีเสยี แลว อยางที่นี้ ตรงขามกบั พยาบาทสังกปั ปใ นฝา ยมิจฉาสังกปั ป ฝายสัมมาสงั กปั ปแทนท่จี ะเปนเมตตา กลบั เปน เพียงอพยาบาทสังกปั ป คือ ปฏิเสธฝายมิจฉาเทา น้นั ความเขา ใจเชน นีผ้ ิดพลาดอยางไร จะไดช ีแ้ จงตอๆ ไปตามโอกาส แตเฉพาะเร่ืองนี้ จะชี้แจงเหตุผลแก ความเขา ใจผดิ เพยี งสั้นๆ กอน การทธ่ี รรมฝา ยกศุ ล (ในกรณีอยางนี้) ใชถอยคําท(ี่ เหมือน)เปนเพียงปฏเิ สธธรรมฝา ยอกศุ ลเทาน้นั เชน เปลี่ยนจาก “วหิ งิ สา” เปน “อวหิ งิ สา” มเี หตผุ ลดงั นี้ ๑. โดยธรรมดาแหงระบบการพฒั นาของชวี ิต หรอื โดยความเปน จริงแหงการพฒั นาของชวี ติ ทเ่ี ปน ระบบ ของธรรมชาติ อยา งทีก่ ลา วแลววา มรรคเปนทางสายเดยี ว แตมอี งคป ระกอบ ๘ การท่ีชีวิตเจรญิ งอกงามกาวหนา ไป ในมรรค ก็หมายถงึ การที่องคท งั้ ๘ ของมรรคน้นั เปน ปจจัยหนุนกันและพฒั นาพรอ มไปดว ยกัน ถาใชคํานิยม ของยคุ สมยั ก็วา พฒั นาอยางบูรณาการเปนองคร วม ไมเ ฉพาะมองเปนชวงเวลา แมแ ตใ นทุกๆ ขณะ องคท งั้ ๘ ของมรรค กท็ าํ หนา ทข่ี องตนๆ อยางประสาน ซ่ึงกนั และกัน ความเจรญิ กาวไปในมรรคก็คือ การพัฒนาของชีวิต ที่องคม รรคท้งั ๘ กา วประสานไปดวยกนั ทั้ง ระบบครบทุกสวน

พทุ ธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 176 ไดบอกแลว วา องคม รรคท้ัง ๘ นน้ั รวมไดเ ปน ๓ หมวด คอื ดา นศีล ทเี่ ปนพฤติกรรมการแสดงออกทาง กายวาจาและสื่อสารกับภายนอก ดานสมาธิหรอื ดานจิตใจ ที่เปนเจตจาํ นงคณุ ธรรมความรสู กึ และดา นปญ ญา ทเี่ ปน เรือ่ งของความรู-คิด-หย่งั เห็น-เขาใจ ถา พูดในแงจ ริยธรรม กบ็ อกวา จริยธรรมจะถูกตอ ง เปน พรหมจรยิ ะได ตองใหค วามถูกตอ งมอี ยูแ ละ ดําเนินไปในชวี ติ ท้ัง ๓ ดา นพรอ มกนั อยางประสานสอดคลอ ง คอื ทง้ั ดา นพฤติกรรมทแี่ สดงออกภายนอกทาง กายวาจา ทงั้ ดานจิตใจ และทงั้ ดา นปญ ญา ดงั นัน้ ขณะทพี่ ูดดที ําดี ก็ตองมเี จตนากอปรดวยคณุ ธรรมและความ รสู กึ ท่ีดี พรอ มทงั้ มคี วามคดิ ความเขา ใจทดี่ ดี วย ในทํานองเดียวกัน ในภาวะจติ ใจและความรูส ึกทด่ี ี ดา นพฤติ กรรมกายวาจาตลอดจนการใชต าหูดูฟง ก็ตอ งดงี ามสงบสาํ รวมดว ย ดานปญ ญากค็ ิดเห็นชอบและมคี วามรเู ขา ใจตระหนกั ชดั สอดคลองกันดา นปญ ญาก็เชนนัน้ เหมือนกัน ขณะทคี่ ิดพิจารณาทาํ ความรเู ขา ใจตา งๆ กต็ องมี สภาพจติ ดมี ีความรูสึกทเี่ ปน กุศล เชน ไมข ัดเคือง ไมขุน มวั เศรา หมอง และพฤติกรรมกายวาจารวมท้ังการใช อินทรยี ท ง้ั หลาย (เชน ตา ห)ู ก็ตอ งสงบสํารวมดีงามดว ยเชนเดียวกนั รวมความวา ในกิจกรรมทกุ ครัง้ ทกุ ขณะของชวี ติ ท่คี นกําลังกระทํา ถา เขาทําถูกทําดี องคม รรค ท้ัง ๘ ขอ ทงั้ ๓ ดา น กด็ ําเนนิ ไป รวมเปนการดําเนนิ ชีวิตถูกตอ ง หรือวถิ ชี ีวิตดีงาม ท่เี รียกวา มรรค (ถา ทําไมถูกไมดี ก็ เปนมจิ ฉา ไมเ ปน มรรค) กิจกรรมทีว่ า นน้ั ไมเ ฉพาะกจิ กรรมที่เปน รปู ธรรมทางกายวาจา แตรวมทง้ั กจิ กรรมนามธรรมในใจและ ในทางปญ ญาดว ยสงสัยวา ในเวลาทใ่ี จสดชนื่ เอบิ อ่มิ เบกิ บานผองใส หรอื คดิ เหตุผลคิดแกป ญ หาคิดวางแผน อะไรอยู หรือแมแตน่ังสมาธอิ ยูน่งิ ๆ หรอื เจรญิ วปิ สสนาในขอ ตามดรู ทู นั จิตของตนอยู บางทีรางกายไมไ ดเ คลอื่ น ไหวอะไรเลย จะมีพฤตกิ รรมทีถ่ กู ทด่ี ี เปนพูดชอบทาํ ชอบ (สมั มาวาจา สมั มากมั มันตะ) ไดอยา งไร ตอบวา นีล่ ะคอื คําตอบท่ีวา ทาํ ไมองคม รรคบางขอ อยางสัมมาสังกัปปะ สมั มาวาจา และ สัมมากมั มันตะ จึงมีความหมายทีแ่ สดงไวเ ปนคาํ ปฏเิ สธ ธรรมที่จะเปนองคข องมรรค ตองมีความหมายกวา ง ขวางครอบคลมุ ความเปน จรงิ ของชวี ิต ท่ีทุกสวนทํางานหรือทาํ หนาท่ปี ระสานกันเปนระบบหนงึ่ เดยี ว ดําเนิน กา วหนาไปดว ยกัน ทีเ่ รยี กวา มรรคนนั้ ไดข ณะท่ที าํ กจิ กรรมทางจิตใจ หรือทาํ กิจกรรมทางปญญาอยูน่ิงๆ ถงึ แม ไมไดเคลอื่ นไหวรา งกาย กพ็ ูดชอบ=มสี มั มาวาจา ทาํ ชอบ=มีสัมมากมั มนั ตะได เหมอื นอยางทพี่ ดู ดวยคํางายๆ วา ไมวาจะอยใู นภาวะใด แมแ ตเ วลาคดิ ก็มศี ลี ในความหมายทว่ี า ขณะน้ันเวน วา ง หรอื ปราศจากวจีทุจรติ และ กายทจุ ริตทงั้ หลาย ไมม กี ารพูดเท็จและการทาํ รา ยเบียดเบียนตางๆ ลึกลงไปกค็ ือไมมีเจตนาท่ีจะทาํ การราย เหลา นน้ั หรือไมมีภาวะทางจิตหรืออาการทางความคิดใดๆ ที่จะโยงไปสูกรรมชว่ั รายเหลาน้นั เลย ยงิ่ ในขอสัมมาสงั กปั ปะ ท่ีเปนดานปญ ญา ก็ยิ่งชัดเจนมาก ทานใหค วามหมายของสมั มาสังกัปปะ วา เปนความดาํ รหิ รือคดิ นกึ ทป่ี ลอดจากความโลภอยากไดอ ยากเสพ ไมมคี วามพยาบาทขัดเคอื ง และเปน อวหิ งิ สา คอื ไมมีการเบยี ดเบยี น

พุทธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 177 ความใครกามและความโลภ พยาบาท และวิหิงสา กด็ ี ความเผ่อื แผเสียสละ เมตตา และกรณุ า ท่ีตรง ขา มกบั สามอยางแรกนนั้ ก็ดี เปนสภาพจิตหรือคุณสมบตั ิของจิตใจ แตใ นท่นี ีม้ าเปนเครอื่ งประกอบของความ คดิ ในหมวดปญญา ตองเขาใจวา ส่งิ ทีต่ องการในที่นคี้ ือปญ ญา คือจะพัฒนาปญญาใหแ จมชดั บรสิ ุทธ์ิ ตรงตามจริง เปน ประโยชน และเกือ้ หนุนชวี ติ ใหงอกงามไปในมรรคย่งิ ขึน้ สภาพจิตหรือคณุ สมบัตฝิ ายจิตท่มี าประกอบองคม รรค ขอ น้ี จะตอ งเอื้อตอ การทาํ งานและการพฒั นาของปญ ญา ใหไดผลอยา งที่กลา วนน้ั พระพทุ ธเจา จงึ ทรงแสดง ความหมายขององคมรรคขอนี้ไวในรปู เปน คําปฏเิ สธ ซึง่ ไดทั้งความกวางขวาง และความโปรงโลง บริสทุ ธ์ิ สมั มาสงั กปั ปะมุงใหมีภาวะจิตท่ีปลอดโปรงเปนอิสระ เพ่ือใหความคดิ เดินตามแนวความเปนจริงได คลองตัว ไมเอนเอยี ง ยดึ ตดิ หรือปด เหไปขา งใดขา งหน่งึ เพ่อื จะไดความรูท ่ีถกู ตองตามความเปน จรงิ ไมบิด เบือน การใชค ําปฏิเสธจงึ เหมาะสมที่สุดแลว ดวยเหตนุ ี้ สัมมาสงั กปั ปะ ท่ีทรงแสดงความหมายโดยแยกเปน เนกขัมมสังกัปป (ความดาํ ริปลอดกาม/ โลภะ) อพยาบาทสังกปั ป (ความดํารปิ ลอดพยาบาท) และ อวิหงิ สาสังกัปป (ความดํารปิ ลอดวิหงิ สา) จงึ ไดท ัง้ ความดี ความกวางครอบคลมุ และความบริสุทธ์ิ คือ ก) ในแงความดี (จาํ เพาะ) คือ ดาํ รหิ รือคิดแตการที่จะเอื้อเฟอ เผอื่ แผเสยี สละ การทีจ่ ะรกั ใครไมตรมี ี เมตตา และการทจ่ี ะมกี รณุ าชวยเหลอื ผอู น่ื ใหพ นความทกุ ขย าก ข) ในแงค วามจริง (ไมมีขอบเขต) คือ จะดาํ ริ คิดการ หรอื พิจารณาอะไรอยางไรก็ได แตต อ งไมมีความ เห็นแกตัว ความอยากไดก ามอามิส ความขดั เคอื งไมพ อใจ หรือการทจ่ี ะรงั แกกล่นั แกลง ขมเหงใครๆ เขา มา ปะปน แอบแฝง ชักจูงไป หรอื ทาํ ใหเอนเอียง ธรรมท่เี ปนองคของมรรค ตองมีความเปนจริงของธรรมชาติ ทีจ่ ะบูรณาการเขาไปในระบบการดําเนิน ชวี ติ ไดอ ยางนี้ พรอ มกนั น้ันกเ็ ปน หลักการใหญ ที่ขยายขอบเขตออกไปไดไมส้ินสุด รวมทง้ั ปฏิบตั ิไดท กุ สถาน การณไมใ ชธรรมหรอื ขอปฏบิ ัตจิ าํ เพาะเรื่อง ดังเชนสงั คหวัตถุ จะเห็นวา ถาเปนหลกั ธรรมท่ตี รัสทั่วๆ ไป หรือสําหรบั ใชประโยชนเ ฉพาะเรอ่ื งเฉพาะกรณี ก็จะมี ลักษณะหนุนยํา้ (positive) และกระฉบั กระเฉง (active) เชน สังคหวัตถุ ๔ (หลกั การสงเคราะห หรอื สราง สามัคคี ๔ อยา ง คือ ทาน-ใหปน ปยวาจา-พดู จานารกั อัตถจริยา-บําเพ็ญประโยชน สมานัตตตา-เอาตัวเขา สมาน รวมสขุ รวมทกุ ข) แมแต สมั มาวาจา ซงึ่ เมอ่ื แสดงความหมายแบบในองคม รรค วาไดแก เวนจากพดู เท็จ เวนจากพูดคํา หยาบ เวนจากพูดสอ เสียด เวน จากพูดเพอ เจอแตเม่อื นาํ ไปตรัสในชอ่ื วา วจีสจุ รติ ๔ กท็ รงเปลี่ยนเปนคาํ ฝายดีที่ ตรงขา ม ดงั พุทธพจนว า

พุทธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) 178 ภกิ ษุทัง้ หลาย วจีสุจรติ ๔ ประการนี้ ๔ ประการเปน ไฉน คือ พูดจรงิ (สจจฺ วาจา) ๑ พดู ไมส อ เสียด (อปส ุณวาจา) ๑ พูดออนหวาน (สณหฺ วาจา) ๑ พูดดว ยปญญา (มนตฺ าภาสา=พดู ดว ยความรูค ดิ ) ๑ ภิกษทุ ั้ง หลาย วจีสุจรติ ๔ ประการดังนีแ้ ล ท่กี ลาวมาน้เี ปนเหตผุ ลหลกั นอกจากน้เี ปนเหตผุ ลประกอบ ๒. โดยความกวา งขวางครอบคลมุ ซ่ึงเปนเหตุผลทางหลักภาษาที่มาหนนุ เหตุผลในขอกอ น คําบาลีทม่ี ี “อ” ปฏิเสธนําหนา ในหลายกรณี มไิ ดหมายความเพียงไมใ ชส่ิงน้นั แตหมายถึงสงิ่ ทีต่ รงขาม เชน คําวา อกศุ ล มิไดห มายถึงมใิ ชกุศล (ซึง่ อาจเปน อัพยากฤต คอื เปน กลางๆ ไมใ ชทงั้ ฝายดฝี ายชั่ว) แตหมาย ถึง ความช่ัวท่ตี รงขา มกับกศุ ลทเี ดยี ว คาํ วา อมติ ร มิไดหมายถึงคนทเี่ ปน กลางๆ ไมใชม ติ ร แตหมายถึงศตั รทู ี เดียว ดงั นีเ้ ปน ตน ยง่ิ กวา น้ัน อาจหมายครอบคลุมหมด ทง้ั ส่ิงทต่ี รงขามกบั ส่งิ น้นั และสิ่งใดกต็ ามทีม่ ใิ ชและไมม สี ง่ิ น้นั ในสัมมาสังกปั ปะนี้ “อ” มีความหมายปฏิเสธแบบครอบคลมุ คอื ทั้งที่ตรงขา มและทไ่ี มมี เชน อพยา บาทสังกัปป ก) หมายถงึ ความดําริกอปรดวยเมตตา ที่ตรงขามกับพยาบาทดวย ข) หมายถึงความดาํ รทิ ี่บรสิ ทุ ธ์ิ ปลอดโปรง ปราศจากพยาบาท เปน กลางๆ ดว ย ๓. โดยความเด็ดขาดสน้ิ เชิง การใชคาํ ท่มี ี “อ” ปฏเิ สธนี้ นอกจากมีความหมายกวา งแลว ยงั มคี วาม หมายหนกั แนนเดด็ ขาดย่ิงกวา คาํ ตรงขามเสยี อกี เพราะการใชค าํ ปฏเิ สธในท่นี ี้ มุงเจาะจงปฏเิ สธสิง่ นั้นไมใหมี โดยส้ินเชิง คอื ไมใ หมเี ช้อื หรือรอ งรอยเหลอื อยู เชน อพยาบาทสังกัปป ในท่นี ้ีหมายถึงความดาํ รทิ ่ีไมม พี ยาบาท หรอื ความคดิ รา ยแงใดสวนใดเหลอื อยูใ นใจเลยเปน เมตตาโดยสมบูรณ ไมม ขี อบเขตจาํ กดั เปนการเนนข้ันถงึ ที่ สุด ไมเหมือนคาํ สอนบางลทั ธทิ ีส่ อนใหม เี มตตากรณุ า แตเ ปนเมตตากรณุ าตามคําจาํ กัดของผูส่ังสอน มิใชต าม สภาวะของธรรม จึงมขี อบเขตตามบญั ญัตสิ าํ หรับใชแ กกลมุ หรือหมูชนพวกหนง่ึ หรอื สัตวโลกชนิดหรอื ประเภท ใดประเภทหนึ่ง แลว แตต กลงกาํ หนดเอาศึกษาธรรมคอื เขาใจธรรมชาติ ตอ งมองความหมายโดยไมประมาท มีขอควรสงั เกตเกี่ยวกับความสัมพนั ธร ะหวา งสมั มาทฏิ ฐิ กับสัมมาสังกปั ปะอกี อยา งหนงึ่ คอื เม่อื เทียบ กับกิเลสหลกั ท่เี รยี กวา อกุศลมลู ๓ อยา ง คอื โลภะ โทสะ และโมหะ แลว จะเหน็ วา สมั มาทฏิ ฐิ เปน ตัวกําจัด กเิ ลสตนตอที่สุด คือโมหะ สวน สมั มาสงั กัปปะ กําจดั กเิ ลสท่รี องหรอื ตอ เน่อื งออกมา คือ เนกขัมมสังกปั ป กําจัดราคะ หรอื โลภะ และอพยาบาทสังกปั ป กบั อวหิ งิ สาสงั กัปป กําจดั โทสะ จึงเปนความตอเนอื่ งประสาน กลมกลนื กนั ทุกดา น อยางไรก็ดี การกาวหนา มาในองคม รรคเพยี ง ๒ ขอ เทานน้ั ยงั นับวา เปน ข้นั ตนอยู การเจรญิ ปญ ญายงั ไมถ งึ ขัน้ สมบรู ณเ ต็มทตี่ ามจดุ หมาย และแมก ารปฏิบตั ธิ รรมแตล ะขอ กม็ ใิ ชจ ะสมบูรณต ามขอบเขตความหมาย ของธรรมขอน้นั ๆ ทันที แตต อ งคล่ีคลายเจริญขน้ึ ตามลําดับ

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 179 ดังนน้ั ในท่ีนจ้ี งึ ควรทาํ ความเขา ใจวา ในสมั มาสังกปั ปะ ๓ ขอนน้ั เนกขัมมสงั กปั ป บางทีก็หมายเอา เพียงขน้ั หยาบแบบสญั ลักษณ คอื การคิดออกบวช หรอื ปลกี ตวั ออกไปจากความเปน อยขู องผูครองเรอื น อพยา บาทสงั กัปป กม็ ุง เอาการเจริญเมตตาเปน หลกั และอวหิ ิงสาสังกัปป กม็ งุ เอาการเจรญิ กรุณาเปนสําคญั ปญ ญาท่เี จริญในข้ันน้ี แมจะเปนสัมมาทฏิ ฐิ มองเหน็ ตามความเปน จริง แตกย็ ังไมบรสิ ทุ ธเ์ิ ปนอสิ ระรู แจงเห็นจริงเต็มท่ี จนกวาจะถงึ ขัน้ มีอุเบกขา ทีจ่ ิตลงตัวไดท่ี มีความเปน กลางอยางแทจ รงิ ซ่ึงตองอาศัยการ พฒั นาจติ ใจตามหลักสมาธิดวย ธรรมท้งั หลายนัน้ เปน สภาวะของธรรมดา พูดงายๆ วา เปนธรรมชาตกิ ารทีจ่ ะเขาใจความหมายของมนั ไดถกู ตองชัดเจนและครบถว น มิใชเพียงแคมาบอกมาจาํ กันไป แตจะตองรจู ักมันตามท่ีมอี ยเู ปนไปโดยสมั พนั ธ กันกับธรรมหรอื สภาวะอื่นๆ ทั้งหลายในชวี ติ จิตใจท่ีเปน อยจู รงิ และขยายคลคี่ ลายไปกบั การพฒั นาของชีวติ จิต ใจนน้ั จงึ เปนเร่ืองท่ีควรศึกษาโดยไมประมาท แมแตเมตตา ซง่ึ เปนคณุ ธรรมท่ีเริม่ เจรญิ ไดตงั้ แตร ะยะตน ๆ ของการปฏบิ ัตธิ รรม ก็มิใชขอ ธรรมทง่ี า ยนกั อยางทมี่ กั เขาใจกันอยา งผวิ เผนิ เพราะเมตตาอยางท่พี ูดถงึ กันงายๆ ท่ัวๆ ไปนัน้ หายากนกั ทจี่ ะเปน เมตตาแท จรงิ ดงั นน้ั เพ่ือชวยปองกันความเขาใจผดิ ทเ่ี ปนผลเสียหายตอ การปฏิบัตธิ รรม ในขั้นตน นี้ ควรทราบหลกั เบ้ือง ตน บางอยา งไวเ ล็กนอ ยกอ น เมตตา หมายถงึ ไมตรี ความรกั ความหวังดี ความปรารถนาดคี วามเขา ใจดีตอ กนั ความเอาใจใส ใฝใจ หรือตองการ ทจ่ี ะสรา งเสริมประโยชนสขุ ใหแ กเ พ่อื นมนษุ ยแ ละสตั วท ง้ั หลาย วาโดยสาระ เมตตา คือ ความ อยากใหผูอ ืน่ เปนสขุ และอยากทําใหเ ขาเปนสุข เมตตาเปนธรรมกลางๆ กลางทัง้ ในแงผูควรมเี มตตา และในแงผ ูควรไดร บั เมตตา ทกุ คนจงึ ควรมีตอ กนั ท้งั ผูนอยตอผใู หญ และผูใหญต อ ผูนอ ย คนจนตอ คนมี และคนมีตอ คนจน ยาจกตอ เศรษฐี และเศรษฐีตอยาจก คนฐานะต่าํ ตอ คนฐานะสงู และคนฐานะสูงตอคนฐานะต่ํา คฤหสั ถตอ พระสงฆ และพระสงฆตอคฤหสั ถ เมตตาเปน ธรรมพ้ืนฐานของใจขัน้ แรก ในการสรา งความสัมพันธระหวา งบคุ คล ซึง่ ทําใหม องกนั ในแงดี และหวงั ดีตอกัน พรอมท่จี ะรับฟง และพูดจาเหตุผลของกันและกัน ไมยดึ เอาความเห็นแกต วั หรอื ความเกลยี ด ชงั เปน ท่ตี ั้ง การทก่ี ลาววา เมตตา (รวมท้งั พรหมวิหารขออื่นๆ ดว ย) เปนธรรมของผใู หญนน้ั อันที่จริงความเดมิ เปน “ธรรมของทานผูเ ปนใหญ” คือแปลคาํ วา “พรหม” ในพรหมวิหารวา “ทานผเู ปนใหญ” “พรหม” คอื ทา น(เทพ)ผูเ ปน ใหญ ของศาสนาพราหมณน ี้ เม่ือนํามาใชในพระพทุ ธศาสนา หมายถงึ “ผู ประเสริฐ” คือ ผมู ีจิตใจกวางขวางยิ่งใหญห รือยิง่ ใหญด ว ยคุณธรรมความดีงาม มใิ ชหมายถึงผใู หญเพียงใน ความหมายอยางทเ่ี ขา ใจกนั สามญั ทกุ คนควรมีพรหมวหิ าร ทกุ คนควรมีจิตใจกวา งขวางย่งิ ใหญ ไมเฉพาะผใู หญเทานั้น แตใ นเมอื่ ปจ จุบนั เขาใจกนั แพรห ลายทวั่ ไปเสยี แลว วา พรหมวหิ ารมีเมตตาเปนตน เปน ธรรมของผูใหญ ก็ควรทําความเขาใจในแง

พุทธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 180 ที่วา ความหมายเชน น้ันมุงเอาความรบั ผิดชอบเปนสาํ คัญ คอื เนน วา ในเมือ่ ทุกคนควรบาํ เพญ็ พรหมวิหาร ผู ใหญ ในฐานะที่เปน ตัวอยา งและเปน ผูน ํา กค็ วรอยางย่งิ ท่ีจะตอ งปฏิบตั ิใหไ ดกอน ถา ไมร ีบทาํ ความเขาใจกนั อยางน้ี ปลอยใหยดึ ถอื ปกใจกนั วา เมตตา กด็ ี พรหมวิหารขออ่นื ๆ กด็ ี เปน ธรรมของผูใหญ ก็จะกลายเปน ความเขาใจท่เี คล่อื นคลาดไขวเ ขว การตีความและทัศนคติของคนทัว่ ไปตอธรรม ขอ น้กี ็จะคบั แคบและผดิ พลาดไปหมด ขอ ควรสังเกตสําคญั อกี อยางหนง่ึ ของเมตตา กค็ อื สมบัติ และวิบตั ขิ องเมตตา สมบตั ิ ไดแ ก ความ สมบรู ณห รอื ผลสําเรจ็ ท่ีตอ งการของเมตตา วิบัติ ไดแ ก ความลม เหลว ความไมสําเรจ็ การปฏบิ ตั ทิ ี่คลาดเคลอ่ื น ผดิ พลาด เมอื่ วาตามหลัก สมบัติของเมตตา คอื ระงบั พยาบาทได (พฺยาปาทุปสโม เอตสิ สฺ า สมปฺ ตตฺ ิ) วิบตั ขิ องเมตตา คอื การ เกดิ สิเนหะ (สิเนหสมฺภโว วปิ ตฺติ)๑ ในแงส มบตั ไิ มม ขี อ สังเกตพิเศษ แตใ นแงวบิ ัติมีเรอื่ งทต่ี องสงั เกตอยา งสําคัญ สิเนหะ หมายถงึ เสนห า ความรักใครเย่ือใยเฉพาะบคุ คล ความพอใจโปรดปรานสวนตัว เชน ปตุ ตสเิ นหะ ความ รกั อยา งบุตร ภรยิ าสเิ นหะ ความรักใครฐานภรรยา เปน ตน สเิ นหะ เปน เหตใุ หเกดิ ความลาํ เอยี ง ทาํ ใหช วยเหลือ กนั ในทางทผ่ี ิดได อยา งท่ีเรยี กวา เกดิ ฉนั ทาคติ (ลําเอยี งเพราะรัก หรือเพราะชอบกนั ) ที่ไดยนิ พูดกนั วา “ทา น เมตตาฉนั เปน พเิ ศษ” “นายเมตตาเขามาก” เปน ตน นัน้ เปน เร่อื งของสเิ นหะ ซ่ึงเปนความวบิ ัตขิ องเมตตามาก กวา หาใชเมตตาไม สวนเมตตาทีแ่ ทจริงนน้ั เปนคณุ สมบัติทช่ี วยรกั ษาความเที่ยงธรรม เพราะเปน ธรรมกลางๆ ปรารถนาดีตอทกุ คนสมาํ่ เสมอกัน มใิ ชเ ปน ความรักใครผ กู พนั สว นตวั แตทําใหม ีภาวะจิตที่ปราศจากความเห็น แกตวั ทจี่ ะเอนเอียงเขา ขาง และไมม ีความเกลยี ดชังคดิ รายมงุ ทาํ ลาย มีไมตรี จึงพจิ ารณาตัดสนิ และกระทําสิง่ ตางๆ ไปตามเหตผุ ล มุงประโยชนสุขท่ีแทจ ริงแกคนท้ังหลายทว่ั ไป มใิ ชม ุง สง่ิ ท่ีเขาหรอื ตนชอบหรอื อยากได อยากเปน เมตตาทแ่ี ทจรงิ จะเปนไปในแบบทวี่ า พระผูมพี ระภาคนั้น ทรงมีพระทัยเสมอกนั ท้งั ตอ นายขมงั ธนู (ที่รับจา งมาลอบสงั หารพระองค) ตอพระ เทวทัต ตอโจรองคุลมิ าล ตอ ชางธนบาล (ที่พระเทวทตั ปลอยมาเพือ่ ฆา พระองค) และตอ พระราหุล ทว่ั ทกุ คน ประโยชนข องเมตตาจะเห็นได เชนในกรณขี องการถกเถยี ง ขัดแยง ในทางเหตุผล และการโตว าทะ ทํา ใหตางฝา ยยอมพจิ ารณาเหตุผลของกนั และกนั ชว ยใหค โู ตบ รรลุถงึ เหตุผลที่ถกู ตองได เชน เม่ือนิครนถผ หู นง่ึ มา เฝาสนทนาใชค ําพดู รนุ แรงตําหนิพระพุทธเจา พระองคท รงสนทนาโตต อบตามเหตุผล จนในท่ีสดุ นคิ รนถน้ัน กลา ววา เมือ่ เปน เชนนี้ ขาพเจาก็เลอื่ มใสตอ ทา นพระโคดมผเู จริญ เปนความจริง ทานพระโคดมเปนผอู บรมแลว ทั้งกาย อบรมแลวทง้ั จติ ” “นา อศั จรรย ไมเคยมีเลย ทา นพระโคดมถกู ขา พเจา พดู กระทบกระแทก แตง คํามาไลเรียงตอ นเอาถึง อยางนี้ กย็ งั มีผวิ พรรณสดใส มีสีหนาเปลงปลั่งอยไู ด สมเปนพระอรหนั ตสัมมาสัมพุทธเจาแกไ ขความคดิ ที่ไม

พุทธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) 181 ดี ดวยวธิ แี หง ปญญาในกรณีท่ีมีมจิ ฉาสงั กัปปะเกดิ ขึน้ เมื่อจะแกไ ข กไ็ มควรใชวธิ ีดงึ ดนั กลัดกลมุ หรอื ฟงุ ซาน ตอไปอยางไรจุดหมาย แตค วรใชว ิธีการแหงปญ ญา โดยใชโยนิโสมนสิการ คอื มองดูมนั เรียนรจู ากมัน คดิ สบื สาวหาเหตุ และพิจารณาใหเห็นคณุ โทษของมนั เชน พุทธพจนทวี่ า ภกิ ษุทัง้ หลาย กอนสมั โพธิกาล เมอ่ื เราเปนโพธิสตั ว ยังมไิ ดตรัสรู ไดมีความคิดเกดิ ขึ้นวา : ถา กระไร เราพงึ แยกความดําริออกเปน ๒ ฝาย ดังนีแ้ ลว จงึ ไดแยกกามวติ ก พยาบาทวิตก และวหิ ิงสาวิตก ออกเปนฝา ยหน่ึง และแยกเนกขมั มวิตก อพยาบาท วิตก และอวหิ ิงสาวิตก ออกเปนอกี ฝายหนงึ่ เมอื่ เราไมป ระมาท มีความเพยี ร มงุ มนั่ อยนู น่ั เอง เกดิ มีกามวิตกขนึ้ เราก็รชู ัดวา กามวติ กข้ึนแลว แกเ รา กแ็ หละ กามวิตกน้ี ยอ มเปน ไปเพอ่ื เบยี ดเบียนตนเองบา ง เปนไปเพ่ือเบียดเบียนผอู ่ืนบา ง เปน ไปเพอ่ื เบียดเบียน ท้ังตนเองและผอู นื่ สองฝา ยบาง ทําใหปญ ญาดับ จดั เปน พวกสิ่งบบี คั้น ไมเปน ไปเพอ่ื นิพพาน เมอ่ื เราพจิ ารณาเห็นวา มนั เปนไปเพื่อเบียดเบยี นตน ก็ดี กามวติ กนนั้ กส็ ลายหายไป เมอื่ เราพจิ ารณา เหน็ วา มนั เปน ไปเพอ่ื เบยี ดเบยี นผอู ่ืนกด็ ี....วามนั เปนไปเพ่อื เบยี ดเบียนทง้ั ตนเอง และผอู ่ืน ทัง้ สองฝา ยกด็ ี วา มนั ทําใหปญ ญาดบั จดั เปนพวกสิง่ บบี ค้นั ไมเ ปนไปเพื่อนพิ พานก็ดี กามวิตกน้ันกส็ ลายหายไป เราจึงละ จงึ บรรเทากามวติ ก ท่ีเกิดข้ึนมาๆ ทําใหหมดสิ้นไปไดท งั้ นั้นเมอ่ื เราไมประมาท...เกิดมพี ยาบาทวติ กขน้ึ ...เกดิ มี วิหิงสาวติ กขน้ึ เรากร็ ชู ดั (ดังกลาวมาแลว ) จึงละ...จึงบรรเทาพยาบาทวติ ก...วหิ ิงสาวติ กที่เกิดข้ึนมาๆ ทําให หมดสนิ้ ไปไดท ้ังนน้ั ภกิ ษยุ ิง่ ตรึก ยงิ่ คิดคํานงึ ถึงความดาํ ริใดๆ มาก ใจของเธอกย็ ่ิงนอ มไปทางความดํารนิ น้ั ๆ ถา ภกิ ษยุ ิ่งตรึก ยง่ิ คิดคาํ นงึ ถึงกามวติ กมาก เธอก็ละท้ิงเนกขมั มวติ กเสยี ทาํ แตก ามวิตกใหมาก จติ ของเธอน้นั ก็ นอมไปทางกามวิตก...ฯลฯ...ถาภกิ ษยุ ง่ิ ตรกึ ย่ิงคิดคาํ นงึ ถึงเนกขมั มวติ กมาก เธอก็ละท้งิ กามวิตกเสยี ทาํ แต เนกขัมมวิตกใหมาก จติ ของเธอนนั้ กน็ อ มไปทางเนกขมั มวติ ก... พงึ ระลึกทบทวนวา สัมมาทิฏฐิ และสมั มาสงั กปั ปะ ท่ไี ดบรรยายมานเ้ี ปนองคม รรคทั้ง ๒ ในหมวด ปญ ญา การปฏิบัติธรรมในชวงขององคม รรค ๒ ขอตนน้ี สรุปไดด ว ยพทุ ธพจนวา ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ภกิ ษผุ ูประกอบดว ยธรรม ๔ อยาง ชอื่ วา เปนผูดาํ เนินปฏปิ ทาอันไมผิดพลาด และเปน อันไดเ ร่มิ กอ ตนกําเนดิ ของความสนิ้ อาสวะแลว ธรรม ๔ อยางนั้น คือ เนกขมั มวิตก อพยาบาทวติ ก อวิหิงสา วติ ก สัมมาทิฏฐิ ๓. สัมมาวาจา ๔. สัมมากมั มนั ตะ ๕. สัมมาอาชีวะ คําจํากดั ความ และความหมายพนื้ ฐาน องคม รรค ๓ ขอนี้ เปนขัน้ ศลี ดวยกนั จงึ รวมมากลาวไวพ รอมกัน เมือ่ พิจารณาความหมายตามหลัก ฐานในคมั ภีร ปรากฏคาํ จํากดั ความดังนี้

พุทธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) 182 ๑. ภกิ ษทุ ้ังหลาย สมั มาวาจา เปน ไฉน? นี้เรยี กวาสมั มาวาจา คอื ๑) มสุ าวาทา เวรมณี เจตนางดเวน จากการพูดเท็จ ๒) ปส ณุ าย วาจาย เวรมณี ” วาจาสอ เสยี ด ๓) ผรสุ าย วาจาย เวรมณี ” วาจาหยาบคาย ๔) สมฺผปฺปลาปา เวรมณี ” การพดู เพอ เจอ ๒. ภิกษทุ ้ังหลาย สมั มากัมมนั ตะ เปน ไฉน? นเี้ รียกวา สัมมากมั มันตะ คือ ๑) ปาณาตปิ าตา เวรมณี เจตนางดเวน จากการตัดรอนชีวติ ๒) อทนิ นฺ าทานา เวรมณี ” การถอื เอาของทีเ่ ขามไิ ดใ ห ๓) กาเมสุมิจฺฉาจารา เวรมณี ” การประพฤติผดิ ในกามท้งั หลาย” ๓. ภกิ ษทุ งั้ หลาย สัมมาอาชีวะ เปน ไฉน? นเ้ี รยี กวา สมั มาอาชีวะ คอื อรยิ สาวกละมิจฉาอาชวี ะ เสยี หา เลีย้ งชพี ดว ยสมั มาอาชีวะ นอกจากนี้ ยงั มคี ําจาํ กดั ความแบบแยกเปน ระดบั โลกิยะ และ ระดบั โลกุตตระ อกี ดว ย เฉพาะระดบั โลกิยะ มคี ําจํากดั ความอยา งเดียวกบั ขางตน สวนระดบั โลกตุ ตระ มคี วามหมายดังนี้ ๑. สมั มาวาจา ที่เปน โลกตุ ตระ ไดแ ก ความงด ความเวน ความเวน ขาด เจตนางดเวน จากวจี ทุจรติ ทง้ั ๔ ของทานผมู จี ิตเปนอริยะ มจี ติ ไรอ าสวะ ผูพ รอมดวยอริยมรรค กําลังเจรญิ อริยมรรคอยู ๒. สมั มากัมมันตะ ทเี่ ปนโลกุตตระ ไดแก ความงด ความเวน ความเวนขาด เจตนางดเวน จาก กายทุจรติ ท้งั ๓ ของทานผมู ีจติ เปน อรยิ ะ... ๓. สมั มาอาชีวะ ท่ีเปน โลกุตตระ ไดแ ก ความงด ความเวน ความเวนขาด เจตนางดเวนจากมจิ ฉา อาชีวะของทา นผูมีจิตเปน อรยิ ะ... ความหมายแบบขยาย ในคาํ สอนทว่ั ไป จากความหมายหลักอนั เปนประดจุ แกนกลาง ของระบบการฝก อบรมข้ันศลี ธรรมทเี่ รียกวาอธิศลี สิกขา นี้ พุทธธรรมก็กระจายคําสอนออกไป เปน ขอปฏิบัติและหลกั ความประพฤติตางๆ ในสวนรายละเอยี ด หรอื ในรปู ประยกุ ตอ ยางกวา งขวางพสิ ดาร เพือ่ ใหบ ังเกดิ ผลในทางปฏิบัติทง้ั แกบคุ คลและสงั คม เริม่ แตห ลกั แสดงแนว ทางความประพฤตทิ ต่ี รงกนั กบั ในองคม รรคนเี้ อง ซงึ่ เรยี กวา กรรมบถ และหลักความประพฤติอันเปน มนุษยธรรม ท่ีเรยี กวา เบญจศลี เปนตน อยา งไรกด็ ี คาํ สอนในรูปประยกุ ต ยอมกระจายออกไปเปนรายละเอียดอยางไมมที ส่ี น้ิ สุด เพือ่ ใหเ หมาะ สมกบั บุคคล กาละ เทศะ และส่ิงแวดลอ มอนื่ ๆ ในการสอนคร้ังน้นั ๆ ในท่นี ้ี มใิ ชโ อกาสทมี่ งุ เพ่ืออธบิ ายคาํ สอน เหลา น้นั จงึ ไมอยูในฐานะท่จี ะรวบรวมรายละเอยี ดมาแสดง ยงิ่ พุทธธรรมเปนคาํ สอนท่มี ีระบบแนนอนอยูแลว การแสดงแตเ พยี งหลกั ศนู ยกลางใหเกิดความเขา ใจแบบรวบยอด กเ็ ปน การเพยี งพอ สวนคําสอนในรูปประยุกต

พุทธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 183 ตา งๆ ก็ปลอยใหเปน ส่งิ สาํ หรบั ผูตอ งการขอ ธรรมทเ่ี หมาะสมกบั อธั ยาศยั ระดับการครองชพี และความประสงค ของตน จะพงึ แสวงตอ ไปเมอ่ื กลา วโดยสรุปสาํ หรับคาํ สอนในรปู ประยุกต ถามใิ ชประยุกตในสว นรายละเอยี ดให เหมาะกบั บคุ คล กาลเวลา สถานที่ และโอกาสจําเพาะกรณีแลว หลกั ใหญสําหรบั การประยกุ ตก ค็ อื สภาพหรอื ระดับการครองชีวิต โดยนยั น้ี จงึ มีศลี หรือขอบญั ญตั ิ ระบบความประพฤตติ า งๆ ท่ีแยกกนั ออกไปเปนศลี สาํ หรบั คฤหัสถ และศีลสาํ หรบั บรรพชิต เปน ตน ผศู กึ ษาเร่อื งศลี จะตอ งเขาใจหลักการ สาระสําคัญ และทีส่ าํ คัญยิ่งคอื วัตถปุ ระสงคของศลี เหลา น้นั ทัง้ ในสว นรายละเอียดทีต่ างกัน และสวนรวมสงู สุดท่เี ปนอนั หน่งึ อนั เดยี วกัน จึงจะชอ่ื วา มีความเขาใจถกู ตอ ง ไมง ม งาย ปฏบิ ัติธรรมไมผ ิดพลาด และไดผลจริงในท่นี ี้ จะแสดงตัวอยา งการกระจายความหมายขององคม รรคขน้ั ศลี เหลา น้ี ออกไปเปนหลกั ความประพฤติที่บังเกิดผลในทางปฏิบตั ิ หลกั ความประพฤติท่นี ํามาแสดงเปน ตวั อยา งนี้ เปน หลกั ท่กี ระจายความหมายออกไปโดยตรง มีหวั ขอ ตรงกับในองคมรรคทกุ ขอ เปน แตเรยี งลําดับฝา ยกายกรรม (ตรงกบั สัมมากัมมนั ตะ) กอ นฝายวจีกรรม (ตรงกบั สัมมาวาจา) และเรยี กช่ือวากุศลกรรมบถบาง สจุ รติ บาง ความสะอาดทางกาย วาจา (และใจ) บา ง สมบตั ิแหง กมั มนั ตะบาง ฯลฯ มเี รอ่ื งตัวอยางดังน้ี เมือ่ พระพทุ ธเจา ประทับ ณ เมืองปาวา ในปามะมว งของนายจนุ ทะกมั มารบตุ ร นายจนุ ทะมาเฝา ได สนทนาเร่ืองโสไจยกรรม (พิธีชําระตนใหบ ริสุทธิ์) นายจนุ ทะทลู วา เขานับถือบัญญตั พิ ธิ ีชาํ ระตวั ตามแบบของ พราหมณชาวปจฉาภูมิ ผูถือเตา นํา้ สวมพวงมาลยั สาหราย บชู าไฟ ถอื การลงน้ําเปนวตั ร บัญญตั ขิ องพราหมณ พวกน้ีมวี า แตเชา ตรทู ุกวนั เมอ่ื ลุกขนึ้ จากทนี่ อนจะตองเอามือลูบแผน ดิน ถา ไมล บู แผน ดิน ตอ งลูบมูลโคสด หรอื ลบู หญาเขียว หรือบําเรอไฟ หรอื ยกมือไหวพ ระอาทติ ย หรอื มิฉะนนั้ ก็ตองลงนํ้าใหค รบ ๓ ครั้ง ในตอนเยน็ อยา งใดอยา งหน่งึ พระพทุ ธเจาตรัสวา บญั ญัติเร่อื งการชําระตัวใหส ะอาดของพวกพราหมณน ้ี เปนอยางหนงึ่ สวนการ ชาํ ระตัวใหสะอาดในอริยวนิ ัยเปน อกี อยางหนงึ่ หาเหมือนกนั ไม แลวตรสั วา คนท่ีประกอบ อกุศลกรรมบถ ๑๐ (ปาณาติบาต อทนิ นาทาน ฯลฯ ทตี่ รงขามกับ กุศลกรรมบถ ๑๐) ชอ่ื วา มีความไมส ะอาด ท้งั ทางกาย ทางวาจา ทางใจ คนเชนนี้ ลุกข้ึนเชา จะลูบแผนดิน หรอื จะไมลบู จะลบู โคมยั หรอื จะไมล ูบ จะบูชาไฟ จะไหวพระอาทิตย หรือไมท าํ กไ็ มสะอาดอยูนน่ั เอง เพราะอกศุ ลกรรมบถเปน สง่ิ ท่ี ท้งั ไมสะอาด ท้ังเปนตวั การทาํ ใหไ มสะอาด แลว ตรสั กุศลกรรมบถ ๑๐ ทเี่ ปนเครือ่ งชาํ ระตัวใหส ะอาด คือ ก. เครือ่ งชาํ ระตัวทางกาย ๓ ไดแ ก การท่ีบคุ คลบางคน ๑. ละปาณาติบาต เวน ขาดจากการตดั รอนชีวิต วางทัณฑะ วางศสั ตรา มคี วามละอายใจ กอปรดวย เมตตา ใฝใ จชว ยเหลอื เกอื้ กลู แกป วงสัตวโ ลก

พุทธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 184 ๒. ละอทินนาทาน เวน ขาดจากการถอื เอาสง่ิ ที่เขามไิ ดให ไมยดึ ถือทรพั ยสินอุปกรณอยางใดๆ ของผอู น่ื ไมวาจะเปน ของทอ่ี ยใู นบา น หรือในปา ซ่ึงเขามไิ ดให อยางเปนขโมย ๓. ละกาเมสมุ ิจฉาจาร เวน ขาดจากการประพฤติผดิ ในกามทั้งหลายไมล ว งละเมดิ ในสตรี เชน อยางผูที่ มารดารกั ษา ผูทบ่ี ิดารกั ษา ผทู พ่ี นี่ องชายรักษา ผทู พี่ ีน่ องหญงิ รกั ษา ผูท ญี่ าตริ กั ษาผทู ีธ่ รรมรักษา(เชน กฎหมาย คมุ ครอง) หญงิ มีสามี หญิงหวงหาม โดยทีส่ ุดแมหญงิ ทีห่ มนั้ แลว ข. เคร่ืองชําระตัวทางวาจา ๔ ไดแก การท่ีบุคคลบางคน ๑. ละมุสาวาท เวน ขาดจากการพูดเทจ็ เมือ่ อยใู นสภาก็ดี อยูใ นทป่ี ระชมุ กด็ ี อยทู า มกลางญาติกด็ ี อยู ทามกลางชมุ นมุ กด็ ี อยูท า มกลางราชสกลุ กด็ ี ถูกเขาอางตวั ซักถามเปน พยานวา เชญิ เถิดทาน ทานรูส่งิ ใดจงพดู สงิ่ นน้ั เมอ่ื ไมรู เขาก็กลา ววา ไมร ู เมือ่ ไมเหน็ กก็ ลาววา ไมเ ห็น เมอ่ื รู กก็ ลา ววา รู เมอ่ื เห็นกก็ ลาววา เหน็ ไมเ ปน ผกู ลา วเท็จทั้งท่รี ู ไมวา เพราะเหตแุ หง ตนเอง หรอื เพราะเหตุแหง คนอนื่ หรอื เพราะเหตเุ ห็นแกอ ามิสใดๆ ๒. ละปส ณุ าวาจา เวน ขาดจากวาจาสอเสียด ไมเปนคนที่ฟงความขางนี้ แลว เอาไปบอกขา งโนน เพือ่ ทาํ ลายคนฝายนี้ หรอื ฟง ความขางโนน แลว เอามาบอกขา งน้ี เพอื่ ทําลายคนฝา ยโนน เปนผูสมานคนทีแ่ ตกรา ว กัน สง เสริมคนท่ีสมคั รสมานกัน ชอบสามัคคี ยนิ ดใี นสามัคคี พอใจในความสามัคคี ชอบกลาวถอยคําท่ีทําให คนสามคั คีกัน ๓. ละผรุสวาจา เวนขาดจากวาจาหยาบ กลา วแตถอยคาํ ชนิดท่ีไมมโี ทษ รืน่ หู นารัก จบั ใจ สภุ าพ เปน ท่พี อใจของพหูชน เปนทีช่ น่ื ชมของพหชู น ๔. ละสัมผปั ปลาปะ เวน ขาดจากการพูดเพอเจอ พูดถกู กาล พูดคาํ จรงิ พูดเปน อรรถ พดู เปนธรรม พูด เปน วินัย กลาววาจาเปน หลักฐาน มที อี่ างองิ มกี าํ หนดขอบเขต ประกอบดว ยประโยชน โดยกาลอันควร ค. เคร่ืองชาํ ระตัวทางใจ ๓ ไดแ ก อนภชิ ฌา (ไมค ิดจองเอาของคนอนื่ ) อพยาบาท และสมั มาทิฏฐิ เฉพาะ ๓ ขอ น้ี เปนความหมายที่ขยายจากองคม รรค ๒ ขอแรก คือ สมั มาทฏิ ฐิ และสัมมาสงั กัปปะ จงึ ไมค ัดมา ไวใ นที่นี้ บุคคลผปู ระกอบดว ยกศุ ลกรรมบถ ๑๐ ประการน้ี ถึงตอนเชา ตรลู กุ ข้นึ จากทนี่ อน จะมาลูบแผนดนิ ก็ เปนผูสะอาดอยูน ัน่ เอง ถึงจะไมลบู แผน ดนิ ก็เปน ผูสะอาดอยนู ั่นเอง ฯลฯ ถึงจะยกมอื ไหวพระอาทิตย ก็เปน ผู สะอาดอยนู ่นั เอง ถึงจะไมยกมือไหวพ ระอาทิตย ก็เปนผสู ะอาดอยูนน่ั เอง... เพราะวา กุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ น้ี เปน ของสะอาดเองดวย เปน ตวั การที่ทําใหส ะอาดดวย...” ที่วาความหมายซ่ึงขยายออกไปในรปู ประยกุ ต อาจแตกตา งกันตามความเหมาะสมกับกรณีน้นั ขอยก ตวั อยาง เชน เมอ่ื กลา วถงึ บคุ คลท่อี อกบวชแลว นอกจากศีลบางขอ จะเปลี่ยนไปและมีศลี เพม่ิ ใหมอ ีกแลว แม ศลี ขอ ที่คงเดมิ บางขอ ก็มีความหมายสว นทข่ี ยายออกไป ตา งจากเดมิ ขอใหสังเกตขอเวน อทินนาทาน และเวน มุสาวาทตอไปนี้ เทยี บกับความหมายในกศุ ลกรรมบถขา งตน

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 185 ละอทนิ นาทาน เวน ขาดจากการถือเอาส่งิ ของที่เขามไิ ดใ ห ถือเอาแตของทเี่ ขาให หวังแตข องท่ีเขาให มี ตนไมเปนขโมย เปนผสู ะอาดอยู ละมุสาวาท เวน ขาดจากการพูดเท็จ กลาวแตคาํ สัตย ธาํ รงสัจจะ ซอ่ื ตรง เชื่อถือได ไมลวงโลก มขี อสงั เกตสาํ คญั ในตอนน้อี ยางหนงึ่ คือ ความหมายทอ นขยายขององคมรรคขั้นศีลเหลา นีแ้ ตล ะขอ ตามปรกตจิ ะแยกไดเ ปนขอ ละ ๒ ตอน ตอนตนกลา วถึงการละเวน ไมทําความชัว่ ตอนหลังกลาวถึงการทาํ ความ ดีทต่ี รงขามกับความชัว่ ที่งดเวนแลว น้ัน พดู สัน้ ๆ วา ตอนตน ใชค ํานเิ สธ ตอนหลังใชค าํ แนะหนุน เรื่องนี้ เปน ลกั ษณะทว่ั ไปอยา งหนึ่ง ของคําสอนในพระพุทธศาสนา ทมี่ กั ใชค ําสอนควบคู ทงั้ คํานิเสธ (negative) และคํา แนะหนุน (positive) ไปพรอ มๆกัน ตามหลัก “เวน ชวั่ บําเพ็ญดี” เม่อื ถือการเวน ชั่วเปน จดุ เร่ิมตนแลว ก็ขยายความในภาคบาํ เพญ็ ดอี อกไดเรื่อยไป ซึง่ ไมจ ํากดั เฉพาะ เทาทขี่ ยายเปนตวั อยา งในองคม รรคเหลานเี้ ทา น้นั ตัวอยางเชน ขอเวนอทนิ นาทาน ในท่ีนย้ี ังไมไ ดขยายความในภาคบําเพญ็ ดีออกเปน รายละเอยี ดการ ปฏิบตั ทิ เี่ ดน ชดั แตก ไ็ ดมีคาํ สอนเรอื่ งทานเปนหลกั ธรรมใหญทสี่ ุดเร่ืองหน่งึ ในพระพทุ ธศาสนา ไวอ กี สว นหนงึ่ ตา งหากแลว ดงั นี้เปนตน ตะวนั ตกไมร จู ักจริยธรรมแบบธรรมชาติและเปน ระบบ เคยมีปราชญฝายตะวันตกบางทาน เขียนขอ ความทํานองตาํ หนพิ ระพุทธศาสนาไวว า มคี าํ สอนมงุ แตใ น ทางปฏเิ สธ (negative) คือสอนใหล ะเวนความชั่วอยา งน้นั อยางนฝ้ี า ยเดียวไมไดส อนยํา้ ชักจงู เรง รดั พทุ ธศาสนกิ ชนใหขวนขวายทําความดี (positive) ไมไ ดแ นะนําวาเมื่อเวน ชัว่ นั้นๆแลว จะพึงทําความดอี ยา งไรตอไป มีคาํ สอนเปนสกวสิ ัย (subjective) เปน ไดเ พยี ง จรยิ ธรรมแหง ความคดิ (an ethic of thoughts) เปนคาํ สอนแบบ ถอนตวั และเฉยเฉ่ือย (passive) ทาํ ใหพ ุทธศาสนกิ ชนพอใจแตเพียงแคง ดเวนทําความช่ัว คอยระวงั เพียงไมใ ห ตนตอ งเขา ไปเกี่ยวของพัวพันกับบาป ไมเ อาใจใสขวนขวายชวยเหลือเพอ่ื นมนุษย ดว ยการลงมือทาํ การปลด เปลื้องความทกุ ขและสรา งเสริมประโยชนส ขุ จรงิ จัง แมใ หเ มตตากรณุ า ก็เพยี งโดยตง้ั ความหวงั ความปรารถนา ดีแผอ อกดว ยใจอยา งเดยี ว เร่ืองนี้ โดยเฉพาะเหตผุ ลในการแสดงความหมายของหลักธรรมสําคัญดว ยคําหรอื ขอ ความเชิงปฏิเสธ ไดอ ธิบายแลวในตอนกอน ทีว่ าดว ยสมั มาสังกัปปะ (ดู หนา ๒๗๖–๒๘๑) แตย ังมขี อปลกี ยอ ยบางอยางทีค่ วร ทราบเพ่มิ เติมอกี ในแงทฝ่ี รง่ั เรียกวาจรยิ ธรรม (ethic) ซง่ึ เปน เร่ืองระดบั ศีล จึงพูดไว ณ ทนี่ ี้ นกั ปรัชญาและเทววิทยาผูมชี ื่อเสียงคนหน่งึ ท่ชี าวตะวันตกรจู ักกนั มากไดอ า งขอ ความจากพระไตรปฎ ก มาสนับสนุนทศั นะของตนท่ีวา คาํ สอนในพระพุทธศาสนาเปน เพียงขัน้ ปฏเิ สธ (negative) โดยยกคําจํากัด ความองคม รรคขอ สมั มากัมมันตะขา งตนกํากบั ไวในขอเขยี นของตน (วจนะที่อา งเปนของพระสารบี ตุ ร) วา

พุทธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 186 ทา นผูมอี ายทุ ง้ั หลาย สัมมากัมมันตะเปน ไฉน? การเวน ปาณาติบาต การเวน อทนิ นาทาน การเวน กาเมสุมจิ ฉาจาร นี้แล ทา นผูม ีอายทุ ้ังหลาย ชื่อวา สมั มากัมมันตะ สาํ หรบั ผศู ึกษาที่เขา ใจความหมายเชงิ ระบบของมรรค และทราบแนวทางทจี่ ะขยายความหมายในทาง ปฏิบตั ิขององคมรรคทัง้ หลาย ออกไปสธู รรมปลีกยอ ยตา งๆ ทเ่ี ปน ขอปฏบิ ัตเิ ฉพาะเร่อื งเฉพาะกรณีไดม ากมาย ตามท่ีชแ้ี จงมาแลว ยอ มเหน็ ไดท ันทีวา หากทานผเู ขยี นคาํ ตินีว้ จิ ารณไวดว ยเจตนาดี ขอ เขยี นของทา นนา จะตอ ง เกดิ จากการไดอา น หรือรบั ทราบพทุ ธธรรมมาแตเพียงขอ ปลกี ยอยตางสว นตางตอนไมต อเนอื่ งเปน สาย และ เกิดจากการไมเขาใจระบบแหงพทุ ธธรรมโดยสว นรวม จากความเปนระบบและการกระจายหมายในทางปฏิบัตนิ นั้ เห็นไดช ัดอยูแลว วา ระบบศีลธรรมของ มรรคไมมีลักษณะจํากดั ดว ยความเปน negative หรอื passive หรือ subjective หรอื เปน เพยี ง an ethic of thoughts การทีค่ าํ จาํ กดั ความขององคม รรคขน้ั ศลี ตอ งมีรปู ลกั ษณะเปน คําปฏเิ สธเชนน้ัน ขอกลา วถึงขอสังเกต และเหตุผลปลีกยอย เพิ่มเติมจากหลักใหญท พี่ ูดไปแลว ในตอนกอน คือ ๑. ศีลในฐานะท่เี ปน สว นหนึ่งของพทุ ธธรรม ยอมมใิ ชเ ทวโองการ ทกี่ าํ หนดใหศ าสนกิ ประพฤติ ปฏิบัติอยา งนนั้ บางอยางนี้บา ง สุดแตเทวประสงค ดวยอาศัยศรัทธาลอยๆ แบบภกั ดี ซง่ึ ไมจ ําเปนตอ งทราบเหตุ ผลเชอื่ มโยงตอ เน่ืองกนั แตศ ีล เปน สิ่งทกี่ ําหนดขึ้นตามหลกั เหตุผลของกฎธรรมชาติ ซงึ่ ผูปฏบิ ัตติ ามจะตองมอง เห็นความสมั พนั ธเ ช่อื มโยงกนั เปนระบบแมจะยงั ไมม ีปญ ญารูแ จมแจงชัดเจน มีเพยี งศรัทธา ศรัทธานั้นก็จะ ตองเปนอาการวตศี รัทธา ซึง่ อยา งนอยจะตองมพี ื้นความเขา ใจในเหตุผลเบอ้ื งตน พอเปนฐานสาํ หรับเกิด ปญ ญารูแจมชดั ตอไป ๒. ในกระบวนการปฏิบตั ธิ รรมหรือการฝก อบรมตนนน้ั เมอ่ื มองในแงลาํ ดับสงิ่ ทจ่ี ะตอ งทาํ ให ประณตี ย่งิ ขน้ึ ไปตามขัน้ กจ็ ะเร่ิมดวย ละเวนหรอื กาํ จดั ความชัว่ กอน แลวจึงเสริมสรา งความดีใหบรบิ ูรณ จนถงึ ความบริสุทธหิ์ ลดุ พนในทสี่ ดุ เหมอื นจะปลูกพชื ตอ งชาํ ระที่ดนิ กําจดั ส่ิงเปนโทษกอ น แลว จึงหวา นพชื และบาํ รงุ รกั ษาไปจนไดผลท่ีหมาย ในระบบแหง พทุ ธธรรมนน้ั เม่ือมองในแงทวี่ า น้ี ศีลเปนขอปฏิบตั ิขั้นเร่ิมแรกทส่ี ดุ มุง ไปทค่ี วามประพฤติ พื้นฐาน จึงเนน ท่กี ารละเวน ความชว่ั ตางๆ ซึง่ เปนจุดเรม่ิ ตน พดู ยา้ํ ใหเ หน็ สง่ิ ท่ตี อ งการกาํ จัดอยา งชัดเจนเสยี กอ น แลวจึงขยายขอบเขตยกระดบั ความประพฤติใหสูงขนึ้ ไปในดานความดี ดว ยอาศัยการปฏิบัตใิ นข้ันสมาธิและ ปญญาเขามาชว ยมากขึ้นๆ โดยลําดบั อยา งไรกด็ ี ท่ีวานเ้ี ปน การพดู ตามหลักทัว่ ไป แตใ นทางปฏิบตั ิ บางทกี ลบั เร่มิ โดยเนนฝายดีกอน เชน วางทานกอ นศีล หรอื ควบคผู สมผสานกันไป ซ่ึงเปน เรื่องของเทคนิค หรอื กลวิธดี ว ย ๓. ในระบบการฝก อบรมของไตรสกิ ขา ศลี ยังมิใชข อปฏบิ ัติใหถึงจดุ หมายสงู สุดโดยตัวของมนั เอง แตเปน วธิ ีการเพ่ือกา วหนา ไปสคู วามเจรญิ

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตฺโต) 187 ขัน้ ตอ ไป คือสมาธิ สมาธจิ ึงเปนจดุ หมายจาํ เพาะของศีล โดยนัยน้ีคณุ คา ในดา นจิตใจของศีล จึงมคี วามสําคญั มาก คณุ คา ทางจติ ใจในขนั้ ศีล กค็ ือ เจตนาที่จะงดเวน หรือการไมม ีความดาํ ริในการทจ่ี ะทําความช่วั ใดๆอยู ในใจ ซึง่ ทําใหจ ิตใจบรสิ ุทธป์ิ ลอดโปรง ไมมคี วามคดิ วนุ วายขุนมวั หรือกังวลใดๆ มารบกวน จติ ใจจึงสงบ ทําให เกดิ สมาธไิ ดง า ย เมอ่ื มีจติ ใจสงบเปนสมาธแิ ลว ก็เกดิ ความคลองตวั ในการทจี่ ะใชปญญา คิดหาเหตุผล และหา ทางดําเนนิ การสรางสรรคความดตี างๆ ใหไดผลในข้นั ตอ ไป ๔. พุทธธรรมถอื วา จิตใจเปนส่ิงสาํ คญั ยง่ิ ระบบจริยธรรมจึงตองประสานตอ เน่ืองกันโดยตลอด ทั้งดา นจติ ใจ และความประพฤตทิ างกายวาจาภายนอก ในการกระทาํ ตางๆ นัน้ จิตใจเปน จุดเรม่ิ ตน จงึ กาํ หนด ที่ตวั เจตนาในใจเปน หลัก เพ่อื ใหก ารกระทาํ ความดีตา งๆ เปนไปดวยความจริงใจอยา งแนนอน มิใชแตเ พยี งไม หลอกลวงคนอนื่ เทา น้ัน แตหมายถึงการไมหลอกลวงตนเองดวย เปนการกําจดั หนทางไมใ หเ กดิ ปญหาทางจิต ในดานความขดั แยงของความประพฤติ ๕. องคม รรคข้ันศีลสอนวา ความรบั ผิดชอบขน้ั พ้นื ฐานทส่ี ดุ ของบุคคลแตละคน ก็คอื ความรับผิด ชอบตอ ตนเอง ในการทจ่ี ะไมใหม คี วามคิดที่จะทาํ ความชั่วดวยการเบยี ดเบียนหรือลว งละเมิดตอ ผอู ื่น อยใู นจติ ใจของตนเลย เม่ือมีความบริสทุ ธนิ์ ้รี องรับอยูเ ปนเบ้ืองตนแลว ความรบั ผิดชอบน้นั จงึ ขยายกวา งออกไปถงึ ขัน้ เปนการธํารงรกั ษาและเสริมสรา งความเจริญกาวหนา แหงคุณธรรมของตน ดว ยการขวนขวายทาํ ความดี บําเพญ็ ประโยชนสุขแกค นอ่ืนๆ พดู ส้นั ๆ วา มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ ตนเอง ในการท่ีจะละเวนความชั่ว และรบั ผดิ ชอบตอ ผูอนื่ ในการทจ่ี ะทําความดีแกเขา ๖. การกาํ หนดความหมายของศลี ในแงล ะเวน ความชวั่ เปน การกําหนดขอ ปฏิบัตอิ ยางกวา งขวาง ทส่ี ดุ คอื เพงเล็งไปที่ความชว่ั ยา้ํ ถึงเจตจาํ นงที่ไมมเี ชอ้ื แหงความช่ัวเหลืออยูเ ลย สวนในฝา ยความดี เปน เรื่องท่ี จะพึงขยายออกไปไดอ ยา งไมมเี ขตจํากดั จงึ ไมระบไุ ว ตามความเปน จริง ความดเี ปน เรอ่ื งกวางขวางไมมที ่ีส้นิ สดุ มีรายละเอียด แนวทาง และวิธีการ ยักเยื้อง ไปไดม ากมายตามฐานะและโอกาสตางๆ สวนความช่วั ที่จะตองเวน เปนเร่ืองแนนอนตายตัว เชน ทง้ั พระสงฆ และคฤหสั ถ ควรละเวนการพูดเทจ็ ดวยกนั ทัง้ สองฝา ย แตโ อกาสและวธิ ีการท่ีจะทาํ ความดีทีต่ รงขา มกับการพดู เทจ็ นนั้ ตา งกัน การวางหลักกลาง จงึ ระบุแตฝ ายเวนช่ัวไวเ ปน เกณฑ สวนรายละเอยี ด และวธิ ีการกระทาํ ในข้ัน บําเพญ็ ความดี เปนเรื่องในข้นั ประยุกตใหเหมาะสมกบั ฐานะ โอกาส และสภาพชีวิตของบคุ คลตอ ไป ๗. การปฏบิ ตั ิตามองคม รรคทุกขอ ถอื วาเปนสิ่งจาํ เปนสาํ หรับทกุ คนในการทจี่ ะเขา ถงึ จุดหมาย ของพระพทุ ธศาสนา ดังน้ัน องคม รรคแตละขอจะตอ งเปน หลักกลางๆ ท่ที กุ คนปฏิบตั ิตามได ไมจํากดั ดว ยฐานะ กาลสมยั ทองถ่ิน และส่งิ แวดลอ มจาํ เพาะอยาง เชน การเวนอทนิ นาทาน เปน สง่ิ ท่ที กุ คนทาํ ได แตก ารใหทาน ตอ งอาศัยปจจยั อน่ื ประกอบ เชน ตนมสี ิ่งที่จะใหม ีผทู ีจ่ ะรับ และเขาควรไดรบั เปน ตน

พทุ ธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) 188 ในกรณที ่ีไมอยใู นฐานะและโอกาส เปนตน ทีจ่ ะให เจตนาทีป่ ราศจากอทินนาทาน กเ็ ปน ส่งิ ท่ีทําใหจ ิต ใจบรสิ ทุ ธเ์ิ ปน พ้ืนฐานแกส มาธิไดแลว แตในกรณที ี่อยใู นฐานะและโอกาสเปน ตน ทีจ่ ะให การไมใ สใจหรือหวง แหนจึงจะเกิดเปนความเศรา หมองขนุ มวั แกจ ติ ใจ และการใหจงึ จะเปนเครื่องสงเสรมิ คณุ ธรรมของตนใหม ากยงิ่ ข้ึน โดยนัยน้ี ความหมายหลัก จงึ อยูในรูปเปนคําปฏเิ สธ คอื การละเวนหรอื ปราศจากความชั่ว สวนความ หมายท่ขี ยายออกไปในฝา ยทาํ ความดจี ึงเปน เร่อื งของการประยกุ ตด งั กลาวแลว ๘. ในทางปฏิบัติ เมอื่ พจิ ารณาในชว งเวลาใดเวลาหนง่ึ ผปู ฏบิ ตั ิธรรมยอมกําลังบาํ เพ็ญคณุ ธรรม ความดอี ยางใดอยางหนึง่ หรือประเภทใดประเภทหน่งึ อยเู ปน พเิ ศษ ในเวลาเชน นนั้ เขายอ มจะตอ งพงุ ความคิด ความสนใจจาํ เพาะเจาะจงลงในสงิ่ ทปี่ ฏิบัตินัน้ ในกรณเี ชน น้ี ความรับผดิ ชอบของเขาตอความประพฤตดิ า น อืน่ ๆ ยอ มมีเพียงเปนสว นประกอบ คอื เพียงไมใหเกดิ ความชว่ั อยางใดอยา งหนง่ึ หรอื ความเสยี หายดา นอนื่ ขนึ้ มา เปน สําคญั ประโยชนท่ีตอ งการจากศลี ในกรณเี ชน นี้ จึงไดแ กก ารชวยควบคมุ รกั ษาความประพฤตใิ นดา นอน่ื ๆ ของ เขาไว ปอ งกันไมใ หเ สยี หลักพลาดลงไปในความชวั่ อยา งใดอยา งหนง่ึ ทําใหมีพน้ื ฐานท่ีม่ันคง สามารถบาํ เพญ็ ความดีท่เี ปนเร่อื งจาํ เพาะในขณะนัน้ ๆ ไดโ ดยสมบรู ณ ความแตกตา งระหวางศีล ในพระพุทธศาสนา กบั ศาสนาเทวนยิ ม อน่งึ มีขอ สงั เกตบางอยา งทค่ี วรทราบ เกีย่ วกับความแตกตางระหวา งศีลในพระพทุ ธศาสนา กับศีลใน ศาสนาเทวนยิ ม (รวมถึงเรื่องกรรม ความดี ความชั่ว) ดังน้ี ๑. ในพทุ ธธรรม ศีลเปนหลกั ความประพฤติท่กี าํ หนดขึน้ ตามหลกั เหตุผลของกฎธรรมชาติ สว นในศาสนาเทวนิยม ศลี เปน เทวโองการ ท่ีกําหนดข้นึ โดยเทวประสงค ๒. ในแงป ฏิเสธ ศลี ในความหมายของพุทธธรรม เปน หลักการฝกตนในการเวน จากความชั่ว จงึ เรียกศลี ทกี่ าํ หนดเปน ขอ ๆ วา สกิ ขาบท (ขอ ฝก -training rule) สว นศีลในศาสนาเทวนยิ ม เปนขอ หา ม หรือคาํ สงั่ หา มจากเบื้องบน (divine commandment) ๓. แรงจงู ใจท่ตี อ งการในการปฏิบัตติ ามศีลแบบพทุ ธธรรม ไดแกอ าการวตีศรัทธา คือ ความมน่ั ใจ (confidence) ในกฎแหงกรรม โดยมีความเขาใจพื้นฐาน มองเหน็ เหตผุ ลวา พฤติกรรมและผลของมันจะตอ งเปน ไปตามแนวทางแหง เหตปุ จ จยั สว นแรงจงู ใจท่ีตองการในการปฏิบัตติ ามศลี ของศาสนาเทวนิยมไดแกศ รทั ธาแบบภกั ดี (faith) คอื เชื่อ ยอมรับ และทาํ ตามสิง่ ใดๆ กต็ ามที่กําหนดวาเปนเทวประสงค มอบความไวว างใจใหโ ดยสิน้ เชิง ไมตอ งถามหา เหตุผล

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 189 ๔. ในพุทธธรรม การรักษาศลี ตามความหมายที่ถกู ตอง กค็ อื การฝก ตน ในทางความประพฤติ เริ่มแตเ จตนาทจ่ี ะละเวน ความช่วั อยางน้ันๆ จนถงึ ประพฤติความดีงามตา งๆ ท่ีตรงขามกบั ความชั่วนน้ั ๆ สวนในศาสนาเทวนยิ ม การรักษาศีล ก็คอื การเช่อื ฟง และปฏบิ ัตติ ามเทวโองการโดยเครงครัด ๕. ในพุทธธรรม การประพฤตปิ ฏบิ ัติในขน้ั ศีล นอกจากใหเ กิดการอยรู วมสงั คมทีเ่ กอ้ื กูลไมเ บยี ด เบยี นกันแลว มีวัตถุประสงคเ ฉพาะ คือ เพือ่ เปน บาทฐานของสมาธิ กลา วคอื เปน ระบบการฝกอบรมบุคคลใหมี ความพรอมและความสามารถที่จะใชก าํ ลังงานของจติ ใหเ ปนประโยชนมากทส่ี ุด ในทางทจ่ี ะกอใหเ กดิ ปญ ญา และนําไปสคู วามหลดุ พน หรืออสิ รภาพสมบรู ณใ นท่สี ดุ สวนการไปสวรรคเปนตน เปนเพียงผลพลอยไดข องวถิ ี แหง ความประพฤติโดยท่วั ไป แตใ นศาสนาเทวนยิ ม การประพฤตศิ ลี ตามเทวโองการ เปนเหตใุ หไดรับความโปรดปรานจากเบ้ืองบน เปนการประพฤตถิ ูกตอ งตามเทวประสงค และเปน เหตใุ หพระองคท รงประทานรางวลั ดว ยการสงไปเกดิ ใน สวรรค ๖. ในพทุ ธธรรม ผลดหี รอื ผลรา ยของการประพฤติหรอื ไมป ระพฤติศลี เปนสิ่งท่ีเปนไปเองโดยธรรม ชาติ คือ เปนเร่อื งการทาํ งานอยา งเท่ียงธรรมเปนกลางของกฎธรรมชาตทิ เี่ รียกวา กฎแหงกรรมการใหผ ลน้ีแสดง ออกตง้ั ตน แตจิตใจ กวางออกไปจนถึงบคุ ลิกภาพ และวิถีชีวติ ท่ัวไปของบคุ คลผูนนั้ ไมวา ในชาตนิ ี้หรือชาติหนา สวนในศาสนาเทวนยิ ม ผลดีผลรายของการประพฤตติ ามหรือการละเมิดศีล (เทวโองการ) เปน เรอ่ื งของ การใหผ ลตอบแทน (retribution) ผลดีคอื การไดไปเกิดในสวรรค เปนฝายรางวัล (reward) สวนผลรา ยคือไปเกิด ในนรก เปนฝายการลงโทษ (punishment) การจะไดผ ลดีหรือผลรา ยนนั้ ยอ มสดุ แตการพพิ ากษา หรอื วินจิ ฉยั โทษ (judgment) ของเบือ้ งบน ๗. ในแงค วามเขาใจเก่ียวกับความดีความชั่ว ทางฝายพทุ ธธรรมสอนวา ความดี เปนคุณคา ท่ี รกั ษาและสง เสรมิ คุณภาพของจิต ทาํ ใหจิตใจสะอาดผอ งใสบริสุทธิ์ หรอื ยกระดับใหสูงขึน้ จึงเรียกวา บุญ (good, moral หรือ meritorious) เปน สงิ่ ท่ีทาํ ใหเกิดความเจรญิ งอกงามแกจ ติ ใจ เปน ไปเพื่อความหลุดพน หรืออิ สรภาพทงั้ ทางจิตใจและทางปญญา เปนการกระทาํ ทีฉ่ ลาด ดําเนินตามวถิ ีแหง ปญ ญา เออ้ื แกสุขภาพจิต จึง เรียกวา กศุ ล (skilful หรอื wholesome) สว นความช่วั เปนสภาพทีท่ ําใหคุณภาพของจิตเสอ่ื มเสยี หรอื ทําใหตกตา่ํ ลง จึงเรยี กวาบาป (evil) เปน สิ่งทท่ี ําใหเกดิ ความเสื่อมโทรมแกช วี ติ จติ ใจ ไมเปนไปเพอ่ื ความหลดุ พน เปน การกระทําที่ไมฉ ลาด ไมเออ้ื แกส ุข ภาพจติ จึงเรยี กวา อกุศล (unskilful หรอื unwholesome) สว นในศาสนาเทวนิยม ความดีความชัว่ กาํ หนดดวยศรัทธาแบบภักดตี อองคเทวะเปน มูลฐาน คือเอา การเช่อื ฟง ยอมรับและปฏบิ ตั ิตามเทวประสงคแ ละเทวบญั ชาหรือไม เปนหลัก โดยเฉพาะความช่วั /บาป หมาย ถงึ การผิดหรือลวงละเมิดตอองคเทวะ (sin) ในรปู ใดรูปหนง่ึ ๘. จากพนื้ ฐานที่แตกตา งกนั นี้ ทําใหเ กดิ ความแตกตา งกนั ตอไปอกี อยา งนอ ย ๒ ประการ คอื

พุทธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 190 ก) ศลี ในพุทธธรรม จึงตอ งเปน คาํ สอนทตี่ อ เนื่องกันตามเหตุผลเปนระบบจรยิ ธรรม เพราะผปู ฏบิ ตั ิ จะประพฤติไดถูกตองตอเม่ือมีความเขาใจในระบบและเหตผุ ลที่เกีย่ วของเปน พ้นื ฐานอยูด วย สวนศลี หรอื จริยธรรมทั่วไปในศาสนาเทวนิยม ยอมเปน ประกาศเทวโองการ หรือคาํ แถลงเทวประสงค เปน เรือ่ งๆ ขอ ๆ ตา งๆ กนั ไปแมนํามารวบรวมไวก ็ยอมเรยี กวา “ประมวล” ไมใ ช ระบบ เพราะผูปฏบิ ตั ติ อ งการ ความเขา ใจอยา งมากก็เฉพาะในความหมายของสง่ิ ทจี่ ะตองปฏบิ ตั เิ ทาน้นั ไมจ ําเปน ตอ งเขา ใจในระบบและเหตุ ผลทเี่ กีย่ วขอ ง เพราะถือวา ระบบและเหตผุ ลตางๆ ทง้ั ปวงอยูในพระปรีชาขององคเทวะหมดสนิ้ แลว อนั ผูปฏบิ ตั ิ ไมพึงสงสยั เพยี งแตเ ช่อื ฟง มอบความไวว างใจ และปฏบิ ัตติ ามเทวโองการเทา นนั้ เปน พอ ข) ศีลหรอื ระบบจริยธรรมแบบพุทธ เปนหลกั กลางๆ และเปนสากล กําหนดโดยขอ เทจ็ จรงิ ตามกฎ ธรรมชาติ (หมายถงึ สารัตถะของศีลในฝา ยธรรมอนั เก่ยี วดวยบญุ บาป ไมใ ชใ นความหมายฝา ยวนิ ยั อนั เกยี่ วดว ย การลงโทษ) เชน พิจารณาผลหรือปฏิกริ ิยาทเ่ี กิดข้นึ ในกระบวนการทํางานของจติ ผลตอพฤติกรรม นิสัย และ บคุ ลกิ ภาพ เปนตน จึงไมอ าจวางขอ จํากัดท่เี ปน การแบงแยกเพื่อผลประโยชนเฉพาะพวก เฉพาะกลุม หรอื เอา ความพอใจของตนเปน เคร่ืองวดั ได ไมจ าํ กัดวา คนศาสนาน้เี ทา นัน้ มกี รณุ าจึงเปนคนดี คนศาสนาอืน่ มีกรณุ าก็เปนคนดีไมไ ด ฆา คนศาสนาน้เี ทา น้ันเปนบาป ฆาคนศาสนาอ่นื ไมบาป คนศาสนาน้เี ทานัน้ ใหทานไปสวรรคไ ด คนศาสนาอนื่ ประพฤติอยางไรไมเ ชอ่ื ฉนั เสียอยา งเดียวตกนรกหมด ฆาสตั วไ มบาปเพราะสัตว (รวมทง้ั ทีไ่ มเปน อาหาร-) เปน อาหารของคน (เพราะคนไมเปนอาหารของเสือและสงิ โต-) ดังนเี้ ปน ตน จะมีการจาํ กดั แบงแยกได เชนวา บาปมากบาปนอยเปน ตน อยา งไร กเ็ ปนไปโดยขอ เทจ็ จรงิ ตาม กฎธรรมชาติ เชน พจิ ารณาผลและปฏกิ ริ ิยาทเี่ กดิ ขึ้นในกระบวนการทํางานของจติ เปน ตนดงั กลา วแลว สวนในศาสนาเทวนยิ ม หลักเหลา นย้ี อมกาํ หนดใหจ ํากดั หรอื ขยายตามเทวประสงคอ ยางไรก็ ได ดุจเปนวินยั บัญญตั ิ หรือนติ ิบัญญตั เิ พราะองคเ ทวะทรงเปนท้งั ผตู รากฎหมายและผูพ พิ ากษาเอง ๙. เนอ่ื งจากศลี เปน หลกั กลางๆ กําหนดดว ยขอ เทจ็ จริงตามกฎธรรมชาตเิ ชน น้ี ผูปฏิบตั ติ ามแนว พทุ ธธรรม จงึ ตองเปนผูกลา ยอมรบั และกลาเผชิญหนา ความจรงิ ความดี ช่ัว ถกู ผดิ มอี ยู เปน ขอเทจ็ จริงอยา ง ไร กต็ องกลา ยอมรบั ความจรงิ ตามทเี่ ปน เชนน้นั สวนตนจะปฏิบตั ิหรือไมแ คไหนเพยี งไร ก็เปนอีกเรอื่ งหนง่ึ และ ตอ งกลายอมรบั การทตี่ นปฏิบตั ิดีไมดตี ามขอ เทจ็ จริงนนั้ มิใชถ ือวา ไมช่ัว เพราะตวั อยากทําสง่ิ นน้ั ขอ เทจ็ จรงิ ตามธรรมชาติ มิไดข นึ้ ตอการวัดดว ยการอยากทําหรอื ไมของตน ถา มีอนั ถงึ กบั จะทาํ กรรมท่ใี หต กนรกสักอยาง หนึ่ง การทย่ี อมรับพูดกบั ตนเองวา กรรมนนั้ ไมด ี แตต นยอมเสยี สละตกนรก ยังดีกวา หลอกตวั เองวา กรรมน้นั ไม เปน กรรมชวั่ มสี ง่ิ ที่อาจถอื วาเปนขอไดเ ปรียบ ของศลี แบบเทวโองการ คอื ๑. ตัดการพจิ ารณาเรอื่ งถกู -ผิด จรงิ -ไมจ ริง ออกเสยี กลาวไดวา เม่ือเชอื่ เสยี แลว ศรัทธาลว นแบบ ภกั ดี ยอมไดผลในทางปฏบิ ตั ทิ ร่ี วดเร็วเรง เราและเขมแข็งหรือรนุ แรงกวา แตจะเกดิ ปญ หาขึ้นตอ ไป โดยเฉพาะ

พุทธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตฺโต) 191 ในยคุ แหง เหตผุ ลวา ทาํ อยา งไรจงึ จะใหเ ช่อื ได และปญหาในระยะยาวเกีย่ วกับความปลอดภยั ในการอยรู ว มกบั ผอู นื่ ทีไ่ มศ รทั ธาเหมือนตน ปญหาเรือ่ งความม่ันคงของศรัทธานนั้ และการไมม ีโอกาสเขา ถงึ อิสรภาพทาง ปญ ญา (บางขอ อาจไมต องพจิ ารณา ถา มนุษยตอ งการมชี วี ติ อยเู พยี งเปน สัตวสงั คมท่แี ยกกนั อยูเปน กลุมๆ) ๒. สาํ หรับสามัญชนทั่วไป ยอมเขา ถงึ ความหมายของศีลตามแบบศรทั ธาลวนไดง ายกวา และศลี แบบนี้กค็ วบคุมความประพฤติของคนสามัญไดเปน อยา งดี ดังน้นั แมใ นหมูช าวพุทธจาํ นวนไมน อ ย ความเขา ใจ ในเรอื่ งบุญบาปจงึ ยังคงมสี วนทค่ี ลา ยกบั ศาสนาเทวนยิ มแฝงอยูดวย เชน เห็นศลี เปน ขอหา ม (แตล างเลือนวา ใครเปนผหู า ม) เหน็ ผลของบุญบาปเปนอยา งผลตอบแทน เปนรางวลั หรอื การลงโทษ เปนตน แตปญหากค็ งเปน อยา งเดียวกบั ขอ ๑ คือ ทาํ อยา งไรจะใหเ ชือ่ กนั อยูไดต ลอดไป ๓. การบญั ญตั กิ รรมไมด บี างอยาง ทีเ่ หน็ วา ยังจําเปนตองทาํ เพื่อผลประโยชนบ างอยางของตน ใหเปนกรรมท่ีไมผ ิดไปเสยี จดั เปนวธิ ีจูงใจตวั เองไดอยางหน่ึง พุทธธรรมยอมรับวา วิธจี ูงใจตนเองนั้น เปน สิ่งท่ี ไดผ ลมากอยางหนึ่ง เพราะเปน เหตปุ จจยั อีกอยา งหนึง่ ทเ่ี ขามาเกี่ยวของเพิม่ ข้นึ ในเร่อื งน้นั ๆ เชน บัญญตั ิวา ฆา สัตวไมบ าป กท็ าํ ใหเ บาใจและไมร ูสกึ สะกดิ ใจในการฆาสตั ว แตก ารจงู ใจแบบนี้ทําใหเกดิ ผลรายในดานอนื่ และ ไมเ ปน วถิ ีทางแหง ปญ ญา พทุ ธธรรมนยิ มใหเปนอยูดวยการรับรคู วามเปนจรงิ จะแจง ในทุกขนั้ ทุกตอน ใหร ูจักเลือกตัดสินใจดวย ตนเอง พุทธธรรมสอนใหใ ชว ธิ จี งู ใจตนเองบางเหมือนกัน แตสอนโดยใหผูน ัน้ รเู ขา ใจในเรอ่ื งทจ่ี ะใชจูงใจนัน้ ตาม ขอ เทจ็ จรงิ แลว ใหนาํ ไปใชดว ยตนเอง เรือ่ งที่ใชจงู ใจนัน้ ตอ งไมมีแงทเ่ี สียหาย และใหใ ชเ ฉพาะในกรณีทีช่ วยเปน พลงั ในการทําความดีอยา งอื่นใหไ ดผ ลยิ่งขึน้ ๖. สัมมาวายามะ ความหมาย และประเภท องคมรรคขอ น้ี เปน ขอ แรกในหมวดสมาธิ หรือ อธิจติ ตสกิ ขา มคี ําจาํ กดั ความแบบพระสตู รดงั น้ี ภกิ ษทุ ้งั หลาย สัมมาวายามะ เปน ไฉน? น้เี รียกวาสัมมาวายามะ คือ ภิกษใุ นธรรมวนิ ัยนี้ ๑) สรางฉนั ทะ พยายาม ระดมความเพยี ร คอยเราจติ ไว มุงมัน่ เพือ่ (ปองกัน) อกุศลธรรมอันเปน บาป ทย่ี ังไมเ กดิ มใิ หเกิดขน้ึ ๒) สรา งฉนั ทะ พยายาม ระดมความเพยี ร คอยเราจิตไว มุงมน่ั เพอ่ื ละอกุศลธรรมอนั เปน บาป ที่ เกิดขนึ้ แลว ๓) สรา งฉันทะ พยายาม ระดมความเพียร คอยเราจติ ไว มงุ ม่นั เพื่อ (สราง) กุศลธรรม ทย่ี ังไมเ กดิ ใหเ กดิ ขึ้น ๔) สรางฉันทะ พยายาม ระดมความเพียร คอยเราจิตไว มงุ ม่นั เพ่อื ความดํารงอยู ไมเลอื นหาย เพื่อภญิ โญภาพ เพือ่ ความไพบลู ยเจริญเตม็ เปย มแหง กศุ ลธรรม ท่ีเกดิ ขนึ้ แลว สว นในอภธิ รรม มคี ําจาํ กดั ความเพิ่มอกี แบบหนง่ึ ดังนี้

พุทธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตฺโต) 192 สัมมาวายามะ เปนไฉน ? การระดมความเพยี ร (วิรยิ ารัมภะ) ทางใจความกา วหนา ความบากบ่นั ความขะมกั เขมน ความพยายาม ความอตุ สาหะ ความอดึ สู ความเขมแข็ง ความม่นั คง ความกาวหนา ไมลดละ ความไมท อดทง้ิ ฉนั ทะ ความไมท อดท้งิ ธุระ การแบกทูนเอาธุระไป วิริยะ วิริยินทรีย วริ ยิ พละ สัมมาวายามะ วริ ยิ สมั โพชฌงค ทีเ่ ปน องคม รรค นบั เน่อื งในมรรค น้ีเรยี กวา สมั มาวายามะ สมั มาวายามะ อยา งทแ่ี ยกเปน ๔ ขอ ตามคาํ จํากัดความแบบพระสตู ร นั้น เรยี กช่ืออกี อยา งหนง่ึ วา สัม มปั ปธาน หรือ ปธาน ๔ และมีชอื่ เรยี กเฉพาะสําหรบั ความเพียรแตล ะขอน้นั วา ๑. สังวรปธาน เพยี รปอ งกัน หรอื เพยี รระวงั (อกุศลที่ยงั ไมเ กิด) ๒. ปหานปธาน เพียรละ หรือเพยี รกําจัด (อกศุ ลท่ีเกดิ ข้ึนแลว ) ๓. ภาวนาปธาน เพยี รเจรญิ หรอื เพยี รสราง (กศุ ลท่ียังไมเกดิ ) ๔. อนรุ กั ขนาปธาน เพียรอนรุ ักษ หรือเพียรรักษาและสง เสรมิ (กุศลทเี่ กดิ ขึน้ แลว) บางแหง มคี าํ อธบิ ายแบบยกตวั อยา งความเพียร ๔ ขอ นี้ เชน ๑. สงั วรปธาน ไดแ ก ภิกษุเหน็ รปู ดว ยจักษุแลว ไมถือนิมิต (ไมค ิดเคล้มิ หลงติดในรปู ลักษณะทวั่ ไป) ไม ถืออนพุ ยญั ชนะ (ไมค ิดเคลิ้มหลงติดในลักษณะปลีกยอย) ยอมปฏิบัตเิ พ่อื สาํ รวมอนิ ทรีย ทเี่ มอื่ ไมสํารวมแลว จะ พงึ เปนเหตใุ หบาปอกศุ ลธรรม คอื อภิชฌาและโทมนัส ครอบงําเอาได ยอมรักษาจกั ขุนทรีย ถงึ ความสาํ รวมใน จกั ขนุ ทรยี  ฟง เสียงดว ยหู สดู กลน่ิ ดวยจมูก ลิ้มรสดว ยล้นิ ถกู ตอ งโผฏฐพั พะดวยกาย รธู รรมารมณดวยใจ (ก็เชน เดยี วกัน) ๒. ปหานปธาน ไดแ ก ภกิ ษุไมยอมใหก ามวติ ก พยาบาทวติ ก วิหงิ สาวิตก และบาปอกศุ ลธรรมท้งั หลาย ทีเ่ กิดขนึ้ แลวตั้งตัวอยไู ด ยอ มละเสยี บรรเทาเสีย กระทาํ ใหห มดสน้ิ ไปเสีย ทําใหไ มม ีเหลอื อยูเ ลย ๓. ภาวนาปธาน ไดแ ก ภิกษเุ จรญิ โพชฌงค ๗ ประการ ซง่ึ องิ วิเวก องิ วิราคะ อิงนโิ รธ โนม ไปเพอ่ื การ สลดั พน ๔. อนุรกั ขนาปธาน ไดแ ก ภกิ ษคุ อยถนอมสมาธนิ ิมิตอันดี คือ สญั ญา ๖ ประการทีเ่ กดิ ขึ้นแลว ความสาํ คญั พเิ ศษของความเพียร ความเพียรเปนคณุ ธรรมสาํ คัญยิง่ ขอ หนง่ึ ในพระพทุ ธศาสนา ดงั จะเห็นไดจ ากการท่สี ัมมาวายามะ เปน องคม รรคประจาํ ๑ ใน ๓ ขอ (สัมมาทฏิ ฐิ สัมมาวายามะ สมั มาสต)ิ ซึง่ ตอ งคอยชว ยหนุนองคม รรคขอ อนื่ ๆ ทกุ ขอ เสมอไป ดังกลาวแลว ขางตน และในหมวดธรรมที่เกย่ี วกับการปฏบิ ัตแิ ทบทกุ หมวด จะพบความเพียรแทรก อยดู ว ย ในชอ่ื ใดชอ่ื หนงึ่ การเนนความสําคัญของธรรมขอน้ี อาจพจิ ารณาไดจากพุทธพจน เชน ธรรมน้ี เปน ของ สําหรบั ผปู รารภความเพยี ร มิใชสาํ หรับคนเกียจครา น ภกิ ษุทั้งหลาย เรารชู ดั ถึงคณุ ของธรรม ๒ ประการ คอื ๑) ความเปนผไู มสันโดษในกศุ ลธรรมท้ังหลาย (อสนฺตุฏ ติ า กสุ เลสุ ธมฺเมส)ุ ๒) ความเปน ผูไมยอมถอยหลังในการบําเพญ็ เพียร (อปฺปฏิวาณติ า ปธานสฺมึ)

พุทธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 193 ...เพราะฉะน้นั แล เธอทง้ั หลายพึงศึกษาดังน้ีวา –เราจกั ตง้ั ความเพยี รอนั ไมถอยหลงั ถึงจะเหลือแตห นัง เอน็ และกระดูก เนอ้ื และเลอื ดในสรรี ะจะแหงเหือดไปกต็ ามที ยังไมบรรลุผลทบี่ ุคคลพงึ ลุถึง ไดดวยเรยี่ วแรงของบรุ ุษ ดว ยความเพยี รของบุรษุ ดวยความบากบัน่ ของบรุ ุษแลว ทจ่ี ะหยุดยงั้ ความเพยี รเสีย เปนอนั ไมมี ? เธอท้ังหลายพงึ ศกึ ษาฉะน้ีแล การท่ตี อ งเนนความสาํ คัญของความเพยี รนั้น นอกจากเหตผุ ลอยางอื่นแลว ยอ มสบื เน่ืองมาจากหลัก พื้นฐานของพระพทุ ธศาสนาทว่ี า สัจธรรมเปน กฎธรรมชาติ หรอื หลกั ความจรงิ ที่มอี ยูโ ดยธรรมดา พระพทุ ธเจา หรอื ศาสดามฐี านะเปนผคู นพบหลักความจริงนนั้ แลว นํามาเปด เผยแกผ ูอน่ื การไดร ับผลจากการปฏิบตั ิ เปน เรอื่ งของความเปนไปอนั เทย่ี งธรรมตามเหตปุ จจยั ในธรรมชาติ ศาสดามใิ ชผบู ันดาล เมอ่ื เปนเชน นี้ ทุกคนจึงจํา เปน ตอ งเพียรพยายามสรางผลสําเร็จดว ยเร่ียวแรงของตน ไมควรคดิ หวงั และออ นวอนขอผลท่ีตองการโดยไม กระทาํ หลกั พุทธศาสนาในเรื่องนี้ จึงมีวา ตมุ ฺเหหิ กิจจฺ ํ อาตปฺป อกขฺ าตาโร ตถาคตา ความเพียร ทา นท้งั หลายตอ งทาํ เอง ตถาคตท้งั หลาย เปน แตผูบอก (ทาง) ให ความเพยี รท่ีพอดี ดว ยความสมดลุ แหงอนิ ทรยี  อยา งไรกต็ ามการทําความเพียรกเ็ ชนเดียวกบั การปฏิบตั ธิ รรมขอ อืน่ ๆจะตอ งเริ่มกอ ตวั ขนึ้ ในใจใหพ รอ ม และถกู ตองกอน แลว จงึ ขยายออกไปเปนการกระทําภายนอก ใหป ระสานกลมกลนื กัน มิใชค ิดอยากทาํ ความ เพยี ร ก็สักแตวา ระดมใชกําลงั กายเอาแรงเขาทุม ซ่ึงอาจกลายเปนการทรมานตนเองทําใหเ กดิ ผลเสียไดมาก โดยนัยน้ี การทาํ ความเพยี รจงึ ตอ งสอดคลองกลมกลนื กนั ไปกบั ธรรมขอ อื่นๆ ดว ย โดยเฉพาะ สตสิ มั ปชัญญะ มีความรคู วามเขาใจ ใชป ญญาดําเนนิ ความเพียรใหพอเหมาะ อยางที่เรยี กวาไมตึง และไม หยอนเกนิ ไป ดังเร่อื งตอไปนี้ คร้งั น้นั ทา นพระโสณะพํานกั อยใู นปาสตี วนั ใกลเมืองราชคฤห ทานไดท ําความเพียรอยา งแรงกลา เดนิ จงกรมจนเทา แตกท้ังสองขาง แตไมสําเร็จผล คราวหนงึ่ ขณะอยใู นทีส่ งัด จงึ เกิดความคดิ ขึ้นวา “บรรดาสาวกของพระผูมีพระภาค ทเ่ี ปนผูตง้ั หนาทาํ ความเพียร เรากเ็ ปนผหู นงึ่ ถึงกระน้ันจติ ของเราก็ หาหลดุ พน จากอาสวะหมดอุปาทานไม กแ็ หละ ตระกูลของเรากม็ ีโภคะ เราจะใชจายโภคสมบัติ และทาํ ความดี ตา งๆ ไปดวยก็ได อยา กระน้นั เลย เราจะลาสกิ ขา ไปใชจ า ยโภคสมบตั ิ และบาํ เพญ็ ความดตี างๆ” พระพทุ ธเจาทรงทราบความคดิ ของทา นพระโสณะ และไดเ สด็จมาสนทนาดว ย พระพุทธเจา : โสณะ เธอเกดิ ความคดิ (ดงั กลา วแลว) มิใชห รือ ? โสณะ : ถกู แลว พระเจา ขา พระพุทธเจา : เธอคิดเห็นอยา งไร? ครัง้ กอน เม่อื เปน คฤหสั ถ เธอเปน ผู

พุทธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 194 ชาํ นาญในการดีดพณิ มใิ ชหรือ? โสณะ : ถูกแลว พระเจาขา พระพุทธเจา : เธอคดิ เห็นอยางไร? คราวใดสายพณิ ของเธอตงึ เกินไป คราวนัน้ พณิ ของเธอมเี สยี งเพราะ หรือเหมาะทจ่ี ะใชการ กระนั้นหรอื ? โสณะ : หามิได พระเจา ขา พระพทุ ธเจา : เธอคดิ เหน็ อยา งไร? คราวใด สายพณิ ของเธอหยอ นเกนิ ไป คราวนนั้ พณิ ของเธอ มีเสียงเพราะ หรือเหมาะท่ีจะใช การ กระน้ันหรือ? โสณะ : หามิได พระเจา ขา พระพทุ ธเจา : แตคราวใด สายพิณของเธอ ไมต งึ เกินไป ไมหยอ นเกนิ ไป ตงั้ อยใู นระดบั พอดี คราวนัน้ พิณของเธอ จึงจะมีเสยี ง ไพเราะ หรอื เหมาะทีจ่ ะใชการ ใชไ หม? พระโสณะ : ถกู แลว พระเจาขา พระพุทธเจา : ฉันนนั้ เหมอื นกนั โสณะ ความเพยี รท่ีระดมมากเกนิ ไป ยอมเปน ไปเพื่อความฟุง ซา น ความเพียรทหี่ ยอ นเกินไป ยอมเปนไปเพอ่ื ความเกยี จคราน เพราะเหตุน้ันแล เธอจง ตั้งใจกําหนดความเพียรใหเสมอพอเหมาะ จงเขา ใจความ เสมอพอดีกนั แหง อนิ ทรียท ้ังหลาย และจงถอื นิมิตใน ความเสมอพอดีกนั นั้น” ๗. สมั มาสติ คาํ จํากดั ความ สมั มาสติ เปน องคมรรคขอ ที่ ๒ ในหมวดสมาธิ หรือ อธิจิตตสิกขา มี คําจํากัดความแบบพระสตู ร ดังน้ี ภกิ ษุท้งั หลาย สมั มาสติเปนไฉน ? นเ้ี รยี กวาสัมมาสติ คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ๑) พิจารณาเห็นกายในกาย มคี วามเพียร มสี มั ปชัญญะ มสี ติ กาํ จัดอภิชฌาและโทมนสั ในโลก เสยี ได ๒) พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทัง้ หลาย มีความเพยี ร มีสมั ปชัญญะมสี ติ กาํ จดั อภิชฌาและ โทมนสั ในโลกเสียได ๓) พิจารณาเห็นจิตในจิต มีความเพียร มีสมั ปชญั ญะ มสี ติ กําจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสีย ได

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 195 ๔) พิจารณาเห็นธรรมในธรรมทัง้ หลาย มคี วามเพยี ร มีสัมปชัญญะ มีสติ กําจัดอภชิ ฌาและ โทมนสั ในโลกเสยี ได คาํ จาํ กัดความอกี แบบหนึง่ ทีป่ รากฏในคมั ภีรอ ภิธรรม วา ดงั นี้ สมั มาสติ เปนไฉน? สติ คอื การคอยระลึกถงึ อยเู นอื งๆ การหวนระลกึ (กด็ )ี สติ คือ ภาวะที่ระลึกได ภาวะทท่ี รงจาํ ไว ภาวะทีไ่ มเ ลือนหายภาวะทีไ่ มล มื (กด็ )ี สติ คอื สติทีเ่ ปนอนิ ทรีย สติทเี่ ปน พละ สมั มาสติ สติ สัมโพชฌงค ท่ีเปน องคมรรค นบั เน่ืองในมรรค น้เี รยี กวา สัมมาสติ สมั มาสติ ตามคําจํากดั ความแบบพระสูตรนนั้ กค็ ือหลกั ธรรมท่ี เรยี กวา สติปฏ ฐาน น่ันเอง หวั ขอ ทั้ง ๔ ของหลักธรรมหมวดนี้ มีช่อื เรียกส้นั ๆ คือ ๑) กายานปุ สสนา (การพิจารณากาย, การตามดรู ูทนั กาย) ๒) เวทนานุปสสนา (การพจิ ารณาเวทนา, การตามดรู ูทนั เวทนา) ๓) จิตตานปุ ส สนา (การพิจารณาจิต, การตามดูรทู ันจิต) ๔) ธัมมานุปส สนา (การพจิ ารณาธรรมตางๆ, การตามดรู ูท นั ธรรม) กอ นจะพิจารณาความหมายของสมั มาสติ ตามหลกั สติปฏ ฐาน ๔ น้เี ห็นวาควรทาํ ความเขา ใจทวั่ ๆ ไป เก่ยี วกับเรอื่ งสตไิ วเปนพื้นฐานกอน สตใิ นฐานะอัปปมาทธรรม “สติ” แปลกนั งา ยๆ วา ความระลึกได เมอ่ื แปลอยา งน้ี ทาํ ใหนกึ เพง ความหมายไปในแงของความจํา ซงึ่ กเ็ ปน การถกู ตองในดานหนงึ่ แตอ าจไมเ ตม็ ตามความหมายหลักท่เี ปนจุดมงุ สาํ คัญกไ็ ดเพราะถา พดู ในแงป ฏเิ สธ สตนิ อกจากหมายถึงความไมลืม ซ่งึ ตรงกบั ความหมายขางตน ท่ีวาความระลกึ ไดแ ลว ยังหมายถงึ ความไม เผลอ ไมเลินเลอ ไมฟนเฟอนเล่ือนลอยดว ย ความหมายในแงปฏเิ สธเหลาน้ี เลง็ ไปถึงความหมายในทางสําทับวา ความระมดั ระวงั ความต่ืนตวั ตอ หนา ท่ี ภาวะที่พรอมอยเู สมอในอาการคอยรับรตู อ สง่ิ ตา งๆ ทีเ่ ขา มาเก่ยี วของ และตระหนักวาควรปฏบิ ัติตอสง่ิ น้ันๆ อยา งไร โดยเฉพาะในแงจ ริยธรรม การทาํ หนาทข่ี องสตมิ กั ถกู เปรียบเทียบเหมือนกบั นายประตูทค่ี อยระวงั เฝา ดู คนเขาออกอยเู สมอ และคอยกาํ กับการ โดยปลอ ยคนที่ควรเขา ออกใหเขาออกได และคอยกันหามคนทีไ่ มค วร เขา ไมใหเ ขา ไป คนทไี่ มควรออก ไมใ หออกไป สติจึงเปนธรรมสาํ คญั ในทางจริยธรรมเปนอยางมาก เพราะเปนตวั ควบคุมเรา เตอื นการปฏบิ ตั หิ นาที่ และเปน ตวั คอยปองกนั ยับยงั้ ตนเอง ทง้ั ทจ่ี ะไมใหห ลงเพลินไปตามความชัว่ และทจี่ ะไมใ หค วามชว่ั เลด็ ลอดเขา มาในจติ ใจไดพ ูดงา ยๆ วา ทีจ่ ะเตอื นตนเองในการทําความดี และไมเปดโอกาสแกความช่วั

พทุ ธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตฺโต) 196 พทุ ธธรรมเนนความสาํ คญั ของสติเปน อยางมาก ในการปฏบิ ัตจิ ริยธรรมทกุ ขน้ั การดาํ เนินชวี ติ หรอื การ ประพฤตปิ ฏบิ ตั โิ ดยมสี ติกาํ กับอยูเสมอนน้ั มีชื่อเรยี กโดยเฉพาะวา “อปั ปมาท” คอื ความไมป ระมาท อปั ปมาท น้ี เปนหลกั ธรรมสําคัญย่งิ สาํ หรับความกาวหนาในระบบ จริยธรรม มกั ใหความหมายวา การเปน อยูโดยไมข าดสติ ซ่ึงขยายความไดวาการระมดั ระวังอยเู สมอ ไมย อมถลําลงไปในทางเสอ่ื ม และไมยอม พลาดโอกาสสําหรบั ความเจรญิ กา วหนา ตระหนกั ดถี งึ สง่ิ ทจ่ี ะตองทาํ และตอ งไมท ํา ใสใ จสาํ นึกอยเู สมอในหนา ที่ ไมป ลอ ยปละละเลย กระทาํ การดว ยความจรงิ จงั และพยายามกาวรุดหนา อยูต ลอดเวลา กลาวไดวา อปั ปมาทธรรมนี้ เปน หลกั ความสํานึกรบั ผิดชอบ ในแงความสําคัญ อปั ปมาท จดั เปนองคประกอบภายใน เชน เดยี วกับโยนิโสมนสกิ าร คกู บั หลัก กลั ยาณมติ ร ทเ่ี ปน องคป ระกอบภายนอก พทุ ธพจนแ สดงความสาํ คัญของอัปปมาทน้ี บางทีซ้ํากับโยนิโส มนสกิ าร เหตผุ ลกค็ ือธรรมท้ังสองอยางน้ี มีความสําคญั เทา เทยี มกนั แตต า งแงกัน โยนโิ สมนสกิ าร เปนองค ประกอบฝายปญญาเปนอปุ กรณส ําหรบั ใชท ําการ (เพอ่ื สรางปญ ญา) สว นอปั ปมาทเปนองคป ระกอบฝา ยสมาธิ เปนตวั ควบคุมและเรง เราใหมกี ารใชอ ุปกรณน ้ัน และกา วหนาตอไปไมหยดุ ความสําคัญและขอบเขตการใชอ ัปปมาทธรรม ในการปฏิบัติจริยธรรมข้นั ตางๆ จะเห็นไดจ ากพทุ ธพจน ตวั อยา งตอ ไปนี้ ภกิ ษุทั้งหลาย รอยเทาของสตั วบ กทั้งหลายชนดิ ใดๆ กต็ ามยอ มลงในรอยเทา ชางไดท ้งั หมดรอยเทา ชา ง เรียกวา เปน ยอดของรอยเทา เหลา น้นั โดยความใหญ ฉนั ใด กศุ ลธรรมท้ังหลาย อยางใดๆ ก็ตาม ยอมมคี วามไม ประมาทเปน มูล ประชุมลงในความไมป ระมาทไดทงั้ หมด ความไมป ระมาท เรียกไดวาเปน ยอดของธรรมเหลา นน้ั ฉันนน้ั เราไมเลง็ เหน็ ธรรมอนื่ แมส ักอยา งหนง่ึ ทีเ่ ปน เหตใุ หกุศลธรรมท่ยี ังไมเกิด เกดิ ขน้ึ หรือใหอกศุ ลธรรมที่ เกิดขึ้นแลว เสอื่ มไป เหมือนความไมป ระมาทเลย เมอ่ื ไมป ระมาทแลว กุศลธรรมทยี่ งั ไมเ กิด ยอมเกิดขนึ้ และ อกุศลธรรมที่เกิดขนึ้ แลว ยอ มเสือ่ มไป เราไมเล็งเห็นธรรมอ่นื แมสกั อยาง ทเี่ ปน ไปเพ่ือประโยชนย งิ่ ใหญ ...ที่ เปน ไปเพอ่ื ความดํารงมน่ั ไมเสอ่ื มสญู ไมอันตรธานแหง สัทธรรม เหมือนความไมประมาทเลย โดยกําหนดวา เปน องคประกอบภายใน เราไมเ ล็งเหน็ องคป ระกอบอ่ืนแมสักขอ หน่ึง ที่เปน ไปเพอ่ื ประโยชน ยิ่งใหญ เหมอื นความไมประมาทเลย เม่ือดวงอาทิตยอทุ ยั อยู ยอมมแี สงอรณุ ขึ้นมากอนเปน บพุ นมิ ติ ฉนั ใด ความถงึ พรอ มดว ยความไมป ระมาท ก็เปน ตัวนํา เปนบุพนมิ ติ แหง การเกดิ ขนึ้ ของอริยอษั ฎางคกิ มรรค แกภ กิ ษุ ฉนั น้นั ...ธรรมเอก ทีม่ ีอุปการะมาก เพอ่ื การเกดิ ข้ึนของอรยิ อัษฎางคกิ มรรค กค็ อื ความถึงพรอ มดว ยความไม ประมาท ...เราไมเลง็ เหน็ ธรรมอื่นแมส กั อยา ง ท่ีเปนเหตใุ หอ ริยอษั ฎางคกิ มรรค ซ่ึงยังไมเกดิ กเ็ กดิ ขึน้ หรอื อรยิ อษั ฎางคกิ มรรคทเ่ี กิดขนึ้ แลว กถ็ งึ ความเจรญิ เต็มบริบูรณ เหมือนอยางความถึงพรอ มดว ยความไมประมาทนี้ เลย ภกิ ษผุ ูไมประมาทพึงหวงั ส่ิงนีไ้ ด คือเธอจักเจริญ จักกระทําใหมาก ซง่ึ อรยิ อัษฎางคกิ มรรค แมปจ ฉิมวาจา คอื พระดํารัสคร้ังสุดทา ยของพระพทุ ธเจา เมอ่ื จะเสดจ็ ดับขนั ธปรินพิ พาน ก็เปน พระ ดํารสั ในเร่อื งอปั ปมาทธรรม ดังน้ี

พุทธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 197 สง่ิ ทงั้ หลายที่ปจ จยั ปรงุ แตงข้ึน ยอมมคี วามเสอ่ื มสน้ิ ไปเปน ธรรมดา ทา นท้งั หลายจงยงั ประโยชนทม่ี ุง หมายใหส ําเรจ็ ดว ยความไมป ระมาท พทุ ธพจนเ กีย่ วกบั อัปปมาทธรรม มตี ัวอยางอกี มากมาย พงึ ดูตอ ไป ภิกษทุ งั้ หลาย เธอท้งั หลาย ควรสรางอัปปมาทโดยฐานะ ๔ คอื ๑. จงละกายทุจริต จงเจริญกายสจุ รติ และจงอยาประมาทในการ (ทง้ั สอง) นัน้ ๒. จงละวจีทจุ ริต จงเจรญิ วจีสุจริตและจงอยา ประมาทในการ (ท้งั สอง) นั้น ๓. จงละมโนทุจริต จงเจริญมโนสุจรติ และจงอยา ประมาทในการ (ทง้ั สอง) นั้น ๔. จงละมิจฉาทฏิ ฐิ จงเจรญิ สมั มาทฏิ ฐิ และจงอยา ประมาทในการ (ทั้งสอง) น้นั ในเมอ่ื ภิกษุละกายทุจรติ เจรญิ กายสุจรติ ฯลฯ ละมจิ ฉาทิฏฐิ เจรญิ สัมมาทฏิ ฐแิ ลว เธอยอ มไมหวาด กลัวตอ ความตายท่จี ะมขี างหนา ภิกษุท้งั หลาย ภกิ ษุควรสรางอปั ปมาท คอื การรักษาใจดวยสติ โดยตนเอง ในฐานะ ๔ คอื ๑. ...จิตของเรา อยา ติดใจในธรรมที่ชวนใหเกดิ ความติดใจ ๒. ...จิตของเรา อยา ขดั เคืองในธรรมท่ีชวนใหเ กิดความขัดเคอื ง ๓. ...จติ ของเรา อยา หลงในธรรมท่ีชวนใหเ กดิ ความหลง ๔. ...จติ ของเรา อยา มวั เมาในธรรมทีช่ วนใหเกิดความมวั เมา เม่ือจิตของภิกษุ ไมต ดิ ใจในธรรมที่ชวนใหเ กิดความตดิ ใจ เพราะปราศจากราคะแลว ไมข ดั เคือง...ไมห ลง...ไม มวั เมาแลว เธอยอ มไมห วาดเสยี ว ไมห วนั่ ไหว ไมคร่นั ครา ม ไมส ะดุง และไม(ตอง)เช่ือถอื แมแตเ พราะถอยคาํ ของสมณะ ถาม : มีบา งไหมธรรมขอ เดียวทจ่ี ะยดึ เอาประโยชนไ วไดท ัง้ ๒ อยางคือท้ังทฏิ ฐธัมมิกัตถะ (ประ โยชนป จจุบันหรือประโยชนเฉพาะหนา )และสัมปรายิกตั ถะ(ประโยชนเ บ้ืองหนา หรือประโยชนช ้นั สูงขนึ้ ไป)? ตอบ : มี ถาม : ธรรมนนั้ คืออะไร ? ตอบ : ธรรมนน้ั คอื ความไมประมาท ดกู รมหาบพิตร ธรรมที่เรากลา วไวด ีแลวนั้น สาํ หรบั ผูม กี ลั ยาณมติ ร มกี ลั ยาณสหาย มกี ัลยาณชนเปน ท่ี คบหา หาใชส าํ หรบั ผมู บี าปมติ ร ผมู ีบาปสหาย ผูมีบาปชนเปน ท่คี บหาไม...ความมีกัลยาณมติ รน้นั เทา กับเปน พรหมจรรยท ัง้ หมดทีเดยี ว เพราะเหตนุ น้ั แล มหาบพิตร พระองคพ งึ ทรงสําเหนียกวา เราจักเปน ผูมกี ลั ยาณมติ ร มีกลั ยาณสหาย มี กลั ยาณชนเปนที่คบหา พระองคผูทรงมกี ลั ยาณมติ รน้นั จะตองทรงดาํ เนนิ พระจรยิ าอาศัยธรรมขอ นอ้ี ยปู ระการ หนึ่ง คอื ความไมป ระมาทในกศุ ลธรรมท้งั หลาย

พุทธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 198 เมอื่ พระองคไมประมาท ดําเนินพระจริยาอาศยั ความไมประมาทอยพู วกฝายใน...เหลา ขัตตยิ บริวาร... ปวงเสนาขาทหาร...ตลอดจนชาวนิคมชนบท กจ็ ะพากันคดิ วา “พระเจา อยูหวั ทรงเปน ผไู มประมาท ทรงดาํ เนิน พระจริยาอาศยั ความไมป ระมาท ถึงพวกเรากจ็ ะเปน ผไู มป ระมาท จะเปน อยูโดยอาศยั ความไมประมาทดวย” ดูกรมหาบพติ ร เม่ือพระองคทรงเปน ผไู มป ระมาท ทรงดาํ เนินพระจริยาอาศยั ความไมประมาทอยู แม ตัวพระองคเอง ก็เปนอันไดร ับการคุมครองรกั ษา แมพวกฝา ยในก็เปน อนั ไดรับการคุมครองรักษา (ตลอดจน) แมเรอื นคลงั ยุง ฉาง ก็เปน อนั ไดรับการคมุ ครองรกั ษา มีสติรกั ษาตวั เทากับชว ยรกั ษาสงั คม พุทธพจนแ สดงคุณคาของสติ ในเสทกสูตรตอไปน้ี เปน ตัวอยา งที่ดีแหงหนึง่ ซ่ึงเชอื่ มโยงใหเ หน็ ความ หมายและคุณคา ในทางปฏิบัติทใ่ี กลช ิดกันของ อปั ปมาท กบั สติ ชว ยใหเ ขา ใจความหมายของธรรมทั้งสองขอ นัน้ ชัดเจนยงิ่ ข้นึ ในเวลาเดียวกัน พทุ ธพจนนน้ั กแ็ สดงใหเ ห็นดวยวา พุทธธรรมมองชวี ติ ดา นในของบุคคล โดยสัมพนั ธ กบั คณุ คา ดา นนอกคือทางสังคม และถือวาคุณคา ทงั้ สองดา นน้เี ชอื่ มโยงถงึ กนั ไมแยกจากกนั และสอดคลอ งไป ดวยกนั ภิกษทุ ัง้ หลาย เร่ืองเคยมมี าแลว นกั กายกรรม ยกลาํ ไมไผขึน้ ต้งั แลว เรียกศิษยมาบอกวา “มานแ่ี นะ เธอ เจาไตไ มไผข น้ึ ไปแลว จง (เลีย้ งตวั ) อยูเ หนอื ตนคอของเรา” ศิษยรบั คําแลว ก็ไตลาํ ไมไผข ึ้นไป ยนื (เลยี้ งตัว)อยู บนตนคอของอาจารย คราวนัน้ นกั กายกรรมไดพ ดู กบั ศษิ ยว า “นแี่ นะเธอ เธอจงรกั ษาฉนั นะ ฉนั กจ็ ะรกั ษาเธอ เราท้งั สองระวงั รักษากนั และกันไวอยางนี้ จักแสดงศิลปะไดดว ย จกั ไดเ งนิ ดว ย และจกั ลงจากลําไมไผไ ดโ ดยสวัสดีดวย” คร้ันอาจารยก ลาวอยางน้แี ลว ศิษยจงึ กลาวกบั อาจารยบ างวา “ทา นอาจารยข อรับ จะทําอยา งน้ันไม ได ทา นอาจารย (น่ันแหละ) จงรกั ษาตวั เองไว ผมก็จักรกั ษาตวั ผมเอง เราท้ังสองตางระวังรกั ษาตัวของตัวไว อยา งนี้ จักแสดงศลิ ปะไดดว ย จกั ไดเ งินดว ย และจักลงจากลําไมไผไดโ ดยสวัสดดี วย” พระผูม ีพระภาคตรสั วา: นนั่ เปนวิธปี ฏบิ ตั ทิ ถ่ี ูกตอ งในเร่อื งนน้ั ดุจเดียวกบั ที่ศิษยพดู กบั อาจารย (นัน่ เอง) เมอ่ื คดิ วา “เราจะรักษาตวั เอง” กพ็ ึงตองใชส ตปิ ฏ ฐาน (มสี ติไว) เมอ่ื คดิ วา “เราจะรักษาผูอนื่ ” ก็พึงตอง ใชส ตปิ ฏ ฐาน (เหมอื นกนั ) ภิกษุทงั้ หลาย เม่อื รักษาตน กช็ ่อื วารักษาผูอ ่นื (ดว ย) เมอื่ รกั ษาผูอ ื่น ก็ชือ่ วา รกั ษาตนดวย เม่อื รกั ษาตน ก็ชื่อวา รกั ษาผอู ่นื นน้ั อยางไร? ดว ยการหม่ันปฏิบัติดว ยการเจริญอบรม ดวยการทาํ ให มาก อยา งน้แี ล เมอ่ื รักษาตน กช็ ือ่ วารักษาผูอืน่ (ดว ย) เมอ่ื รกั ษาผูอ นื่ ก็ช่อื วารกั ษาตน น้นั อยา งไร? ดวยขนั ติ ดวยอวิหิงสา ดว ยความมีเมตตาจติ ดวยความ เอน็ ดูกรณุ า อยา งนีแ้ ล เมอ่ื รกั ษาผอู ่ืน กช็ อ่ื วารกั ษาตน (ดว ย)

พทุ ธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 199 ภิกษุทั้งหลาย เมือ่ คิดวา “เราจะรกั ษาตน” กพ็ งึ ตองใชส ตปิ ฏฐาน เมอ่ื คดิ วา “เราจะรกั ษาผอู ่นื ” ก็พงึ ตอ งใชส ตปิ ฏ ฐาน เม่ือรกั ษาตน ก็ช่อื วารักษาคนอืน่ (ดวย) เมอื่ รักษาคนอืน่ ก็ชอ่ื วา รักษาตนเอง (ดวย) บทบาทของสตใิ นกระบวนการพฒั นาปญ ญา และกําจัดอาสวกิเลส อปั ปมาท คอื ความไมประมาทนนั้ หมายถึงการมีชวี ติ อยูอ ยา งไมขาดสติ หรือ การใชสตอิ ยเู สมอในการ ครองชวี ิต อปั ปมาท เปนตวั การทําใหร ะมดั ระวังตัว ปอ งกนั ไมใ หพลาดตกไปในทางชวั่ หรือเส่อื ม คอยยบั ยัง้ เตอื น ไมใ หเพลิดเพลินมวั เมาลุมหลงสยบอยู คอยกระตุน ไมใหหยุดอยกู ับที่ และคอยเรง เรา ใหข ะมกั เขมนทจี่ ะกาว เดินรดุ หนาอยเู ร่ือยไป ทาํ ใหส ํานึกในหนา ทอี่ ยเู สมอ โดยตระหนักถึงส่ิงควรทาํ -ไมควรทาํ ทาํ แลว และยังมิไดท ํา และชว ยใหท าํ การตา งๆ ดว ยความละเอียดรอบคอบ จงึ เปนองคธ รรมสําคญั ยิ่งในระบบจรยิ ธรรมดังไดกลา ว แลว อยา งไรก็ดี ความสําคญั ของอปั ปมาทน้ัน เหน็ ไดวา เปนเรือ่ งจริยธรรมในวงกวาง เก่ยี วกบั ความเปนอยู ประพฤติปฏิบตั ทิ ่วั ๆ ไปของชีวติ กําหนดครา วๆ ตง้ั แตระดับศลี ถงึ สมาธิ ในระดับน้ี สตทิ าํ หนาท่กี าํ กบั ตามดแู ลพว งไปกับองคธ รรมอื่นๆ ทวั่ ไปหมด โดยเฉพาะจะมวี ายามะหรือ ความเพียรควบอยูด วยเสมอ การทาํ งานของสติจึงปรากฏออกมาในภาพรวมของอปั ปมาท คือความไมป ระมาท ที่เหมอื นกบั คอยวง่ิ เตนเรงเรา อยูในวงนอก ครั้นจํากดั ขอบเขตการทาํ งานแคบเขา มา และลกึ ละเอยี ดลงไปในข้ันการดําเนินของจติ ในกระบวนการ พัฒนาปญญา หรือการใชป ญ ญาชาํ ระลา งภายในดวงจติ ซ่ึงเปน เรอ่ื งจําเพาะเขามาขา งในกระบวนการทาํ งาน ในจิตใจ และแยกแยะรายละเอยี ดซอยถ่ีออกวเิ คราะหเปนขณะๆ ในระดับน้เี อง ท่สี ติทําหนา ทขี่ องมนั อยางเตม็ ท่ี และเดน ชดั กลายเปน ตวั แสดงทมี่ ีบทบาทสําคัญ ทีเ่ รยี กโดยช่ือของมันเอง ความหมายท่แี ทจาํ เพาะตวั ของ “สติ” อาจเขาใจไดจ ากการพจิ ารณาการปฏิบัติหนา ที่ของสติ ในกรณที ่ี มีบทบาทของมันเองแยกจากองคธรรมอืน่ ๆ อยางเดนชดั เชน ในขอปฏิบัตทิ เี่ รียกวา สติปฏฐาน ในกรณีเชนนี้ พอจะสรปุ การปฏิบัตหิ นา ที่ของ “สต”ิ ไดดังนี้ ลกั ษณะการทํางานโดยทว่ั ไปของ สติ นนั้ คอื การไมปลอยใจใหเ ล่อื นลอย ไมป ลอยอารมณใหผ า น เร่อื ยเปอยไป หรอื ไมปลอ ยใหค วามนึกคดิ ฟงุ ซา นไปในอารมณต างๆ แตค อยเฝา ระวงั เหมอื นจับตาดูอารมณท ่ี ผานมาแตละอยา ง มงุ หนาเขาหาอารมณนน้ั ๆ เม่ือตอ งการกําหนดอารมณใ ด ก็เขา จับดตู ดิ ๆ ไป ไมยอมให คลาดหาย คอื นึกถงึ หรือระลกึ ไวเ สมอ ไมย อมใหหลงลมื มคี ําเปรยี บเทยี บวา สติ เปน เหมอื นเสาหลัก เพราะปกแนน ในอารมณ หรือเหมอื นนายประตู เพราะเฝา อายตนะตา งๆ ท่ีเปน ทางรบั อารมณ ตรวจดูอารมณท ่ีผา นเขา มา

พุทธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 200 ปทฏั ฐาน หรือเหตุใกลช ิดทจี่ ะใหเ กิดสติ กค็ ือ สัญญา (การกาํ หนดหมาย) ท่ถี นดั มนั่ หรอื สติปฏฐาน ตา งๆ ท่ีจะกลาวตอไป พจิ ารณาในแงจริยธรรม จะมองเห็นการปฏบิ ตั หิ นาทขี่ องสตไิ ด ทั้งในแงน ิเสธ (negative) และในแงน าํ หนุน (positive) ในแงนิเสธ สติเปน ตัวปองกัน ยับย้ังจิตไมใหฟงุ ซาน ไมใ หกาวพลาด ไมใ หถ ลําลงในธรรมท่ไี มพึง ประสงค ไมย อมใหความชั่วไดโ อกาสเกิดข้ึนในจติ และไมย อมใหใ ชค วามคดิ ผิดทาง ในดา นนาํ หนนุ สตเิ ปน ตัวควบคมุ ตรวจตรากระแสการรบั รู ความนึกคดิ และพฤตกิ รรมทุกอยาง ใหอ ยู ในแนวทางท่ีตอ งการ คอยกาํ กบั จิตไวก บั อารมณทต่ี อ งการ และจงึ เปนเครื่องมือสาํ หรับยึดหรอื เกาะกุมอารมณ ใดๆ ก็ตาม ดุจเอาวางไวขา งหนา จติ เพือ่ พิจารณาจัดการอยางใดอยางหนึง่ ตอไป ในทางปฏิบตั ขิ องพทุ ธธรรม เนนความสาํ คัญของสตมิ าก อยา งทกี่ ลาววา สติจาํ ปรารถนา (คอื ตอ งนํา มาใช) ในกรณีทั้งปวง หรือ สติมปี ระโยชนใ นทกุ กรณี และเปรียบสตเิ หมือนเกลอื ทตี่ อ งใชในกับขาวทุกอยา ง และเหมือนนายกรฐั มนตรเี กี่ยวของในราชการทกุ อยา ง เปนทง้ั ตวั การเหนีย่ วร้งั ปรามจติ และหนนุ ประคองจติ ตามควรแกก รณี เมื่อนาํ ลกั ษณะการทาํ หนา ที่ของสตทิ ก่ี ลา วแลวนน้ั มาพจิ ารณาประกอบ จะมองเห็นประโยชนท่มี งุ หมายของการปฏบิ ัติฝกฝนในเรือ่ งสติ ดังน้ี :- ๑. ควบคุมรกั ษาสภาพจิตใหอ ยใู นภาวะทีต่ องการ โดยตรวจตรากระบวนการรับรูแ ละกระแส ความคิด เลือกรับสง่ิ ทีต่ อ งการ กนั ออกไปซึ่งส่ิงทีไ่ มต อ งการ ตรึงกระแสความคดิ ใหนิง่ เขา ท่ี และทําใหจ ิตเปน สมาธไิ ดงาย ๒. ทําใหรา งกายและจติ ใจอยูในสภาพทเี่ รยี กไดวาเปนตวั ของตวั เอง เพราะมีความโปรงเบา ผอ น คลาย เปนสขุ โดยสภาพของมันเอง พรอมทจ่ี ะเผชิญความเปนไปตา งๆ และจัดการกบั สงิ่ ท้ังหลายในโลกอยาง ไดผ ลดี ๓. ในภาวะจติ ทเี่ ปนสมาธิ อาจใชสติเหนย่ี วนาํ กระบวนการรบั รู และกระแสความคดิ ทาํ ขอบเขต การรบั รแู ละความคิดใหขยายออกไปโดยมิตติ างๆ หรอื ใหเ ปน ไปตางๆ ได ๔. โดยการยดึ หรือจับเอาอารมณท่เี ปนวัตถุแหงการพจิ ารณาวางไวตอ หนา จึงทาํ ใหก ารพจิ ารณา สบื คน ดว ยปญ ญาดาํ เนนิ ไปไดชัดเจนเตม็ ที่ เทากบั เปน ฐานในการสรา งเสรมิ ปญญาใหเจรญิ บรบิ รู ณ ๕. ชําระพฤตกิ รรมตางๆ ทุกอยา ง (ทง้ั กายกรรม วจกี รรม มโนกรรม) ใหบรสิ ุทธ์ิ อิสระ ไมเกลือก กลว้ั หรือเปนไปดว ยอํานาจตัณหาอปุ าทาน และรว มกบั สัมปชญั ญะ ทาํ ใหพ ฤตกิ รรมเหลา นน้ั เปน ไปดว ยปญ ญา หรอื เหตุผลบริสทุ ธิ์ ลวนๆ ประโยชนข อท่ี ๔ และ ๕ นั้น นับวา เปนจดุ หมายข้นั สงู จะเขา ถึงไดดวยวธิ ีปฏิบัติท่กี ําหนดไวเปน พิเศษ ซง่ึ ตามคําจํากัดความในขอ สมั มาสติน้ี ก็ไดแก สติปฏ ฐาน ๔


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook