Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธธรรม (ฉบับเดิม)

พุทธธรรม (ฉบับเดิม)

Published by Owent, 2020-05-14 01:59:16

Description: พุทธธรรม (ฉบับเดิม) เป็นบทธรรมของท่าน ป.อ.ปยุตโต เป็นหนังสือที่ชาวพุทธควรมีไว้ประจำบ้าน เป็นการบรรยายธรรมเพื่อให่สาธุชนอ่านเข้าใจง่ายขึ้น

Keywords: พุทธธรรม,ป.อ.ปยุตโต,หนังสือธรรม,dhamma,buddhism

Search

Read the Text Version

พุทธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 201 สติปฏฐานในฐานะสมั มาสติ สตปิ ฏฐาน แปลกันวา ทตี่ ้ังของสตบิ า ง การปรากฏของสตบิ า ง ฯลฯ ถอื เอาแตใ จความงายๆ ก็คอื การ ใชส ติ หรอื วธิ ีปฏบิ ัติเพ่ือใชสตใิ หบ ังเกดิ ผลดีถึงท่ีสดุ อยา งที่กลา วถงึ ในพทุ ธพจนในมหาสตปิ ฏ ฐานสูตรวา ภิกษุทัง้ หลาย ทางนีเ้ ปน มรรคาเอก เพือ่ ความบริสุทธข์ิ องสัตวท้งั หลาย เพอ่ื ขา มพน โสกะและปริเทวะ เพ่อื ความอัสดงแหง ทกุ ขแ ละโทมนสั เพื่อบรรลโุ ลกตุ ตรมรรค เพ่อื กระทําใหแจงซึง่ นิพพาน น้ีคอื สตปิ ฏ ฐาน ๔ การเจรญิ สติปฏฐานน้ี เปน วธิ ปี ฏบิ ตั ธิ รรมทน่ี ิยมกนั มา และยกยองนับถอื กันอยางสูง ถอื วามีพรอ มทัง้ สมถะ และวิปส สนาในตัว ผูปฏบิ ตั ิอาจเจริญสมถะจนไดฌ าน อยา งทีจ่ ะกลาวถึงในเรอื่ งสมั มาสมาธิ อันเปน องคมรรคขอ ท่ี ๘ กอ น แลวจึงเจรญิ วิปส สนาตามแนวสติปฏ ฐานไปจนถงึ ทส่ี ุดกไ็ ด หรือจะอาศัยสมาธเิ พยี งข้ันตน ๆ เทา ทจี่ าํ เปน มาประกอบ เจรญิ แตว ปิ สสนาฝายเดยี วตามแนวสติปฏฐานน้ี ไปจนถึงท่ีสุดก็ได วิปสสนา เปนหลักปฏิบัตสิ ําคญั ในพระพุทธศาสนา ทีไ่ ดยินไดฟ ง กนั มาก พรอมกบั ท่ีมคี วามเขา ใจไขว เขวอยมู ากเชนเดยี วกัน จึงเปนเรื่องทค่ี วรทาํ ความเขาใจตามสมควร จากการศกึ ษาครา วๆ ในเรอ่ื งสตปิ ฏ ฐานตอ ไปนี้ จะชวยใหเ กิดความเขา ใจในความหมายของวปิ สสนาดีขนึ้ ทั้งในแงสาระสําคัญ ขอบเขตความกวา งขวาง และความยดื หยนุ ในการปฏบิ ัติ ตลอดจนโอกาสท่ีจะฝกฝนปฏบิ ตั ิ โดยสมั พนั ธกับการดําเนนิ ชีวติ ของคนทว่ั ไป วาเปนไปไดและมปี ระโยชนเ พยี งใด เปน ตน อยา งไรกต็ าม ในท่ีน้ี ไมไดม ุงอธิบายเรือ่ งวิปส สนาโดยตรง คงมุง เพยี งใหเขา ใจวปิ ส สนาเทาทมี่ องเห็นไดจ ากสาระสาํ คญั ของสติปฏฐานเทาน้นั ก) สตปิ ฏ ฐาน ๔ โดยสงั เขป สติปฏฐาน มีใจความโดยสังเขป คือ:- ๑. กายานุปสสนา การพจิ ารณากาย หรือตามดูรูท นั กาย ๑.๑ อานาปานสติ คอื ไปในทีส่ งดั นง่ั ขัดสมาธิ ตั้งสตกิ าํ หนดลมหายใจเขา ออก โดยอาการ ตา งๆ ๑.๒ กําหนดอริ ิยาบถ คือ เมอื่ ยืน เดนิ นั่ง นอน หรือรา งกายอยูใ นอาการอยางไรๆ ก็รูชดั ในอาการที่ เปนอยนู น้ั ๆ ๑.๓ สมั ปชญั ญะ คือ มีสมั ปชัญญะในการกระทาํ และความเคลื่อนไหวทกุ อยา ง เชน การกาวเดิน การเหลียวมอง การเหยยี ดมอื นงุ หมผา กนิ ด่มื เค้ียว ถา ยอจุ จาระ ปส สาวะ การตืน่ การหลับ การพูด การนง่ั เปน ตน ๑.๔ ปฏิกูลมนสกิ าร คือ พิจารณารางกายของตนตง้ั แตศีรษะจดปลายเทา ซงึ่ มีสว นประกอบทไี่ ม สะอาดตางๆ มากมายมารวมๆ อยูดว ยกนั ๑.๕ ธาตุมนสิการ คือ พจิ ารณารางกายของตน โดยใหเ ห็นแยกประเภทเปน ธาตุ ๔ แตละอยา งๆ

พุทธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) 202 ๑.๖ นวสวี ถกิ า คอื มองเหน็ ศพท่ีอยใู นสภาพตางๆ กนั โดยระยะเวลา ๙ ระยะ ตง้ั แตตายใหมๆ ไป จนถงึ กระดกู ผแุ ลว ในแตล ะกรณีนนั้ ใหยอนมานกึ ถงึ รา งกายของตน วา กจ็ ะตอ งเปน เชน นั้น เหมอื นกนั ๒. เวทนานุปส สนา การตามดรู ูทันเวทนา คอื เมื่อเกิดความรูส ึกสุขก็ดี ทกุ ขกด็ ี เฉยๆ ก็ดี ทงั้ ทีเ่ ปน ชนิดสามสิ และนิรามสิ กร็ ูชัดตามทีเ่ ปนอยูในขณะน้ันๆ ๓. จิตตานปุ ส สนา การตามดรู ทู ันจติ คอื จติ ของตนในขณะน้นั ๆ เปนอยางไร เชน มรี าคะ ไมมี ราคะ มีโทสะ ไมม ีโทสะ มีโมหะ ไมมีโมหะ ฟุงซาน เปน สมาธิ หลดุ พน ยงั ไมหลดุ พน ฯลฯ ก็รู ชดั ตามทมี่ นั เปนอยูในขณะนน้ั ๆ ๔. ธมั มานปุ ส สนา การตามดูรทู ันธรรม คอื ๔.๑ นวิ รณ คอื รูช ัดในขณะน้นั ๆ วา นวิ รณ ๕ แตล ะอยา งๆ มีอยูในใจตนหรอื ไม ทย่ี งั ไมเกิด เกดิ ขนึ้ ไดอ ยา งไร ท่เี กิดขนึ้ แลว ละเสยี ไดอยางไร ทล่ี ะไดแ ลว ไมเ กดิ ขน้ึ อีกตอ ไปอยา งไร รชู ัดตามที่ เปนไปอยใู นขณะนน้ั ๆ ๔.๒ ขันธ คือ กาํ หนดรวู า ขันธ ๕ แตละอยาง คืออะไร เกดิ ขึ้นไดอ ยางไร ดับไปไดอ ยา งไร ๔.๓ อายตนะ คือ รูชัดในอายตนะภายในภายนอกแตล ะอยา งๆ รูชัดในสัญโญชนท ีเ่ กดิ ขึน้ เพราะ อาศยั อายตนะนั้นๆ รชู ัดวาสญั โญชนท่ยี ังไมเ กิด เกิดขนึ้ ไดอยา งไร ทเ่ี กิดขนึ้ แลว ละเสียได อยางไร ท่ีละไดแลว ไมเกดิ ข้ึนไดอกี ตอ ไปอยางไร ๔.๔ โพชฌงค คอื รูชดั ในขณะน้ันๆ วา โพชฌงค ๗ แตล ะอยางๆ มีอยใู นใจตนหรอื ไม ทยี่ งั ไมเ กิด เกดิ ข้ึนไดอยางไรทเี่ กิดข้นึ แลว เจริญเต็มบริบรู ณไดอ ยางไร ๔.๕ อริยสัจ คือ รูชัดอริยสัจ ๔ แตล ะอยา งๆ ตามความเปน จริง วา คืออะไร เปน อยางไร ในตอนทา ยของทกุ ขอ ทกี่ ลา วน้ี มีขอ ความอยา งเดยี วกนั วาภิกษพุ จิ ารณาเหน็ กายในกายภายใน (=ของ ตนเอง) อยบู าง พจิ ารณาเหน็ กายในกายภายนอก (=ของคนอ่นื ) อยบู า ง พจิ ารณาเหน็ กายในกาย ท้ังภายใน ภายนอกอยบู าง พจิ ารณาเหน็ ธรรมคอื ความเสอ่ื มสน้ิ ไปในกายอยูบ าง พจิ ารณาเห็นธรรมคอื ความเกิดข้ึนและ ความเส่อื มส้ินไปในกายอยบู าง กแ็ ล มีสตปิ รากฏชัดวา “กายมีอย”ู เพียงพอเปนความรู และพอสําหรับระลึก เทาน้นั แลเธอเปนอยูอยางไมอ ิงอาศยั และไมย ดึ มัน่ ส่ิงใดๆ ในโลก ข) สาระสําคญั ของสตปิ ฏ ฐาน จากใจความยอ ของสตปิ ฏฐานที่แสดงไวแลว น้นั จะเห็นวา สติปฏ ฐาน (รวมทัง้ วิปส สนาดวย) ไมใ ชห ลกั การท่จี ํากัดวาจะตอ งปลีกตัวหลบลี้ไปนั่งปฏิบัติอยนู อกสงั คม หรอื จําเพาะในกาลเวลาตอนใดตอนหนง่ึ โดยเหตุ น้ีทานผรู ูจงึ สนับสนุนใหนาํ มาปฏบิ ตั ิในชีวติ ประจําวันทั่วไป

พุทธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) 203 จากขอ ความในคําแสดงสติปฏ ฐานแตล ะขอ ขางตน จะเหน็ ไดว า ในเวลาปฏิบตั นิ ั้น ไมใ ชใชสตเิ พียง อยางเดียว แตม ีธรรมขอ อนื่ ๆ ควบอยดู วยธรรมทไี่ มบง ถึงไว ก็คอื สมาธิ ซึง่ จะมอี ยดู วยอยางนอยในขั้นออนๆพอ ใชสําหรับการนี้ สวนธรรมทรี่ ะบไุ วด วย ไดแ ก ๑. อาตาป = มีความเพยี ร (ไดแกอ งคมรรคขอ ๖ คือสมั มาวายามะ ซงึ่ หมายถึงเพยี รระวังปองกัน และละความชวั่ กับเพยี รสรา งและรักษาความดี) ๒. สัมปชาโน = มสี มั ปชัญญะ (คอื ตัวปญ ญา ไดแกสมั มาทิฏฐิ) ๓. สติมา = มีสติ (หมายถงึ สตทิ ่ีกาํ ลังพดู ถึงน้ี คอื สมั มาสต)ิ ขอนา สังเกตคอื สมั ปชาโน ซง่ึ แปลวา มสี มั ปชญั ญะ สมั ปชัญญะนี้ จะเห็นไดวาเปน ธรรมทม่ี กั ปรากฏ ควบคกู บั สติ สัมปชัญญะก็คอื ปญ ญา ดังนนั้ การฝก ฝนในเร่อื งสติน้จี งึ เปนสว นหนง่ึ ในกระบวนการพัฒนา ปญ ญานั่นเอง สมั ปชัญญะ หรอื ปญญา ก็คอื ความรคู วามเขาใจตระหนักชดั ตอส่งิ ท่สี ตกิ ําหนดไวน ัน้ หรอื ตอ การ กระทาํ ในกรณีนน้ั วา มคี วามมุงหมายอยา งไร สิ่งทท่ี าํ นน้ั เปนอยา งไร ปฏิบัติตอมนั อยา งไร และไมเ กดิ ความหลง หรือความเขาใจผดิ ใดๆ ข้ึนมาในกรณนี นั้ ๆ ขอความตอไปทวี่ า “กาํ จดั อภิชฌาและโทมนัสในโลกเสยี ได” แสดงถึงทาทีท่เี ปน ผลจากการมี สตสิ ัมปชัญญะวา เปนกลาง เปน อิสระ ไมถูกกเิ ลสผูกพนั ท้งั ในแงต ดิ ใจอยากได และขัดเคืองเสียใจในกรณีน้นั ๆ ขอความตอทายเหมือนๆ กนั ของทุกขอ ท่ีวา “มองเหน็ ความเกิดความเส่ือมสน้ิ ไป” น้นั แสดงถึงการ พจิ ารณาเขาใจตามหลกั ไตรลักษณ จากนนั้ จึงมที ศั นคติทเี่ ปน ผลเกดิ ข้ึน คอื การมองและรูส กึ ตอส่ิงเหลานน้ั ตามภาวะของมันเอง เชนทว่ี า “กายมอี ย”ู เปน ตน กห็ มายถงึ รับรคู วามจริงของสง่ิ นนั้ ตามทเ่ี ปนอยา งนัน้ ของมนั เอง โดยไมเอาความรสู ึกสมมติและยึดม่ันตา งๆ เขา ไปสวมใสใหมัน วา เปน คน เปน ตัวตน เปน เขา เปน เรา หรอื กายของเรา เปนตน ทา ทีอยา งนกี้ ็คอื ทาทแี หงความเปนอิสระ ไมอิงอาศยั คอื ไมข ้ึนตอ สงิ่ น้นั สงิ่ น้ี ที่เปนปจจยั ภายนอก และไมยึดมั่นสิ่งตางๆ ในโลกดวยตัณหาอุปาทาน การปฏิบัติตามแนวสติปฏฐานน้ี นักศึกษาฝา ยตะวนั ตกบางทานนําไปเปรยี บเทยี บกับวิธกี ารแบบจิต วิเคราะหของจติ แพทย (psychiatrist)สมัยปจ จบุ นั และประเมินคุณคา วาสตปิ ฏฐานไดผ ลดกี วาและใชป ระ โยชนไดก วางขวางกวา เพราะทุกคนสามารถปฏบิ ัติไดเ องและใชในยามปรกติเพ่ือความมสี ุขภาพจติ ทด่ี ีไดดว ย อยางไรก็ตาม ในที่น้จี ะไมวิจารณความเห็นน้ัน แตจ ะขอสรปุ สาระสาํ คัญของการเจรญิ สตปิ ฏ ฐานใหม อีกแนวหน่ึง ดังน้ี ก. กระบวนการปฏิบตั ิ ๑. องคป ระกอบหรอื ส่ิงทีร่ ว มอยูในกระบวนการปฏิบัตนิ ี้ มี ๒ ฝา ย คือ ฝายทีท่ ํา (ตวั ทาํ การ ทีค่ อย กําหนดหรอื คอยสังเกตตามดรู ูทนั ) กบั ฝายทถ่ี กู ทาํ (สิ่งท่ถี ูกกาํ หนด หรือถกู สังเกตตามดรู ทู นั )

พทุ ธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 204 ๒. องคประกอบฝา ยที่ถูกทาํ หรือถูกกําหนดตามดรู ูทัน ก็คอื ส่งิ ธรรมดาสามัญทมี่ อี ยกู ับตัวของทกุ คน นน่ั เอง เชน รางกาย การเคลื่อนไหวของรา งกาย ความรูสกึ นกึ คิดตางๆ เฉพาะทีเ่ ปน ปจจบุ นั คอื กําลงั เกิดข้ึน เปน ไปอยูใ นขณะนั้นๆ ๓. องคประกอบฝายทีท่ ํา คือ คอยกาํ หนด คอยตามดูรูทนั เปน องคธรรมหลักของสตปิ ฏ ฐาน ไดแก สติ กบั สัมปชัญญะ สติ เปนตวั เกาะจบั ส่งิ ที่จะพิจารณาเอาไว สมั ปชญั ญะ คือตวั ปญญาท่ีรชู ดั ตอ สงิ่ หรืออาการที่ถูก พจิ ารณานัน้ โดยตระหนกั วา คอื อะไร เปนอยา งไร มคี วามมงุ หมายอยา งไร เชน เมอ่ื กําหนดพจิ ารณาการเคลอ่ื น ไหวของรา งกาย ขณะท่ีเดนิ กร็ พู รอมอยกู ับตวั วา กําลังเดิน ไปไหน เปน ตน และเขา ใจส่ิงนน้ั หรือการกระทํานน้ั ตามความเปนจรงิ โดยไมเอาความรูส ึกชอบใจหรือไมช อบใจเปนตนของตนเขาไปปะปนหรอื ปรุงแตง ๔. อาการทกี่ าํ หนดและตามดูรทู นั นน้ั เปน อยางท่ีวา ใหรเู หน็ ตามทีม่ นั เปนในขณะนัน้ คือ ดู-เหน็ -เขา ใจ วา อะไร กําลังเปน อยา งไร ปรากฏผลอยางไรเทา น้ัน ไมเ กิดปฏิกิริยาใดๆ ในใจ ไมมกี ารคิดวิจารณ ไมม กี า วนิ จิ ฉัยวา ดชี ั่ว ถูกผดิ เปนตน ไมใสค วามรสู กึ ความโนม เอียงในใจ ความยึดม่นั ตางๆ ลงไปวา ถกู ใจ ไมถ กู ใจ ชอบ ไมชอบ เพยี งเห็นเขา ใจตามทม่ี ันเปน ของสง่ิ น้ัน อาการนน้ั แงน ั้นๆ เองโดยเฉพาะ ไมสรางความคดิ ผนวก วา ของเรา ของเขา ตัวเรา ตัวเขา นาย ก. นาย. ข. เปนตน ยกตัวอยา งเชน ตามดูเวทนาในใจของตนเอง ขณะน้นั มที กุ ขเ กดิ ขึน้ มีความกงั วลใจเกดิ ขนึ้ ก็รวู า ทกุ ข เกดิ ข้ึน ทกุ ขน ั้นเกิดข้ึนอยา งไร กาํ ลงั จะหมดส้นิ ไปอยางไร กลายเปนเหมอื นกับสนุกไปกับการศึกษาพจิ ารณา วิเคราะหทกุ ขของตน และทกุ ขน น้ั จะไมมีพิษสงอะไรแกต วั ผพู จิ ารณาเลย เพราะเปนแตต ัวทุกขเ องลวนๆ ท่ี กาํ ลังเกิดขึ้น กาํ ลงั ดบั ไป ไมมที ุกขข องฉนั ฉนั เปน ทกุ ข ฯลฯ แมแ ตค วามดีความชั่วใดๆ ก็ตามทม่ี ีอยู หรือปรากฏขึน้ ในจติ ใจขณะนน้ั ๆ ก็เขา เผชิญหนามัน ไมเลีย่ ง หนี เขา รับรูต ามดมู นั ตามที่มันเปนไป ต้ังแตมนั ปรากฏตัวขน้ึ จนมนั หมดไปเองตามเหตุปจ จยั แลวก็ตามดสู งิ่ อนื่ ตอ ไปท้งั นี้ เปนทา ทที ่ีเปรียบไดก บั แพทยที่กาํ ลงั ชาํ แหละตรวจดศู พ หรอื นกั วทิ ยาศาสตรท ก่ี ําลงั สังเกตดวู ตั ถุท่ี ตนกาํ ลงั ศกึ ษา ไมใ ชท าทแี บบผูพพิ ากษาทีก่ ําลังพิจารณาคดรี ะหวางโจทกกบั จาํ เลย เปน การดูเห็นแบบสภาว วิสัย (objective) ไมใชส กวสิ ยั (subjective) ข. ผลของการปฏบิ ัติ ๑. ในแงความบริสทุ ธ์ิ เมอ่ื สติจบั อยูกับสงิ่ ที่กาํ หนดอยา งเดียว และสมั ปชัญญะรูเขา ใจสิ่งนน้ั ตามทีม่ นั เปน ยอ มเปน การควบคมุ กระแสการรับรูและความคดิ ไวใ หบริสุทธิ์ ไมมีชองทก่ี ิเลสตางๆ จะเกดิ ขึน้ ได และใน เม่ือมองเหน็ สง่ิ เหลา น้ันเพยี งแคตามท่ีมันเปน ไมใ สค วามรูสกึ ไมส รา งความคดิ คํานึงตามความโนมเอยี งและ ความใฝใจตางๆ ท่เี ปน สกวสิ ัย (subjective) ลงไป ก็ยอ มไมม คี วามยดึ มัน่ ถอื มนั่ ตา งๆ ไมม ีชองท่กี เิ ลสทง้ั หลาย เชนความโกรธจะเกดิ ขนึ้ ได เปน การกาํ จัดอาสวะเกา และปองกันอาสวะใหมไ มใ หเกิดข้นึ

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 205 ๒. ในแงความเปน อิสระ เม่ือมีสภาพจติ ท่บี ริสทุ ธิ์อยางในขอ ๑. แลว ก็ยอมมีความเปน อสิ ระดวย โดย จะไมหวน่ั ไหวไปตามอารมณต า งๆ ทเ่ี ขามากระทบ เพราะอารมณเหลา น้นั ถกู ใชเ ปนวัตถสุ ําหรบั ศกึ ษาพจิ ารณา แบบสภาววสิ ยั (objective) ไปหมด เม่ือไมถ ูกแปลความหมายตามอํานาจอาสวะที่เปน สกวิสัย (subjective) สิ่งเหลา นน้ั กไ็ มม อี ิทธพิ ลตามสกวิสยั แกบ คุ คลน้นั และพฤตกิ รรมตา งๆ ของเขา จะหลุดพน จากการถกู บงั คับ ดว ยกเิ ลสทเ่ี ปน แรงขับหรอื แรงจูงใจไรส าํ นกึ ตา งๆ (unconscious drives หรอื unconscious motivations) เขา จะเปนอยูอยา งทเี่ รียกวา ไมองิ อาศัย ไมยดึ ม่ันสง่ิ ใดในโลก ๓. ในแงป ญ ญาเม่ืออยูในกระบวนการทาํ งานของจติ เชนน้ปี ญญายอ มทําหนาทไี่ ดผ ลดีที่สดุ เพราะจะ ไมถ ูกเคลือบหรอื หนั เหไปดว ยความรูส กึ ความเอนเอียงและอคตติ างๆทําใหรเู ห็นตามท่ีมนั เปน คือรตู ามความ จริง ๔. ในแงความพน ทุกข เมอื่ จิตอยูในภาวะตืน่ ตัว เขา ใจสง่ิ ตา งๆ ตามทม่ี ันเปน และคอยรกั ษาทาทขี อง จิตอยไู ดเชนน้ี ความรูสกึ เอนเอียงในทางบวกหรอื ลบตอสง่ิ นนั้ ๆ ทมี่ ิใชเปนไปโดยเหตผุ ลบรสิ ุทธิ์ ยอ มเกดิ ข้ึนไม ได จงึ ไมมคี วามรูสกึ ทั้งในดา นตดิ ใครอยากได (อภชิ ฌา) และดา นขุนหมองขดั ขอ งใจ (โทมนัส) ปราศจาก อาการกระวนกระวาย (anxiety) ตางๆ เปน ภาวะจติ ท่เี รียกวา พน ทุกข มคี วามปลอดโปรง โลง เบา ผองใส ผอน คลาย ผลท่กี ลาวมาทงั้ หมดน้ี ความจริงก็สัมพนั ธเ ปนอันเดยี วกัน เปนแตแยกกลาวในแงตา งๆ เมอ่ื สรปุ ตามแนวปฏจิ จสมปุ บาทและไตรลกั ษณ กไ็ ดความวา เดิมมนุษยไ มร ูวา ตัวตนที่ยดึ ถอื ไว ไมมี จรงิ เปนเพยี งกระแสของรูปธรรมนามธรรมสวนยอยจาํ นวนมากมายที่สมั พันธเนอื่ งอาศัยเปนเหตุปจจยั สบื ตอ กนั กาํ ลังเกิดขนึ้ และเสอื่ มสลายเปล่ียนแปลงไปอยตู ลอดเวลา เม่ือไมรูเ ชนนี้ จงึ ยึดถอื เอาความรูส ึกนกึ คิด ความปรารถนา ความเคยชนิ ทัศนคติ ความเช่อื ความเหน็ การรบั รู เปนตน ในขณะน้ันๆ วา เปนตวั ตนของตน แลว ตวั ตนนนั้ ก็เปลี่ยนแปลงเรื่อยไป รูสึกวาฉนั เปน น่นั ฉนั เปนนี่ ฉนั รสู ึกอยางนน้ั ฉันรสู ึกอยา งน้ี ฯลฯ การรูส ึกวาตวั ฉันเปนอยา งนั้นอยา งนี้ กค็ ือการถูกความรูส ึกนึกคิด เปนตน ทเ่ี ปนนามธรรมสว นยอยใน ขณะน้นั ๆ หลอกเอา หรือเอาสงิ่ เหลา นน้ั มาสรา งภาพหลอกข้นึ นนั่ เอง เมอ่ื อยูใ นภาวะถกู หลอกเชนนัน้ ก็คือการ ตั้งตน ความคิดท่ผี ดิ พลาด จงึ ถกู ชกั จงู บังคับใหค ิดเหน็ รูส กึ และทาํ การตา งๆ ไปตามอํานาจของสงิ่ ทต่ี นยดึ วา เปน ตัวตนในขณะนนั้ ๆ คร้นั มาปฏบิ ตั ติ ามหลกั สตปิ ฏฐานแลว ก็มองเหน็ รูปธรรมนามธรรมแตละอยางทีเ่ ปนสว นประกอบของ กระแสนัน้ กาํ ลงั เกดิ ดับอยูต ามสภาวะของมัน เมือ่ วิเคราะหส วนประกอบตางๆ ในกระแส แยกแยะออกมองเหน็ กระจายออกไปเปน สวนๆ เปน ขณะๆ มองเห็นอาการทีด่ ําเนนิ สบื ตอ กนั เปน กระแสไปเรื่อยๆ แลว ยอ มไมถ ูก หลอกใหยดึ ถอื เอาสง่ิ นนั้ ๆ เปนตัวตนของตนและสง่ิ เหลาน้ันก็หมดอํานาจบังคบั ใหบ คุ คลอยใู ตการชกั จงู ของมนั ถาการมองเห็นน้เี ปน ไปอยางลึกซง้ึ สวางแจม ชดั เต็มที่ กเ็ ปน ภาวะทีเ่ รียกวา ความหลุดพน ทําใหจ ติ ต้งั ตน ดาํ เนนิ ในรปู ใหม เปนกระแสท่ีบริสทุ ธิโ์ ปรง เบา เปน อิสระ ไมม ีความเอนเอยี งยึดตดิ เงื่อนปมตางๆ ภายใน

พทุ ธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 206 เกิดเปนบุคลิกภาพใหม กลาวอกี นยั หนึ่งวา เปน ภาวะของจติ ทมี่ ีสขุ ภาพสมบูรณดุจรางกายท่ีเรียกวามสี ุขภาพ สมบูรณ เพราะองคอวัยวะทกุ สว นปฏิบตั ิหนาทไี่ ดคลอ งเต็มทีต่ ามปรกติของมัน ในเม่ือไมมโี รคเปนขอบกพรอ ง อยเู ลย โดยนัยน้ี การปฏบิ ัตติ ามหลกั สติปฏ ฐานจงึ เปนวิธกี ารชําระลางอาการเปนโรคตา งๆ ทมี่ ีในจติ กําจดั สิ่ง ที่เปนเงอ่ื นปมเปนอปุ สรรคถวงขัดขวางการทํางานของจติ ใหหมดไป ทําใหใ จปลอดโปรง พรอ มทจ่ี ะดาํ รงชวี ติ อยู เผชญิ และจัดการกับสงิ่ ท้ังหลายในโลกดว ยความเขมแข็งและสดชื่นตอ ไป สุขภาพกาย-สขุ ภาพใจ เร่ืองท่ีไดอ ธบิ ายมา อาจสรุปดวยพุทธพจนด ังตอ ไปนี้ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย โรคมอี ยู ๒ ชนิดดังน้ี คอื โรคทางกาย ๑ โรคทางใจ ๑ สตั วท ง้ั หลายที่ยนื ยนั ไดวา ตนไมม ี โรคทางกายเลย ตลอดเวลาทง้ั ป กม็ ีปรากฏอยู ผูทีย่ นื ยนั ไดวา ตนไมม ีโรคทางกายเลย ตลอดเวลา ๒ ป ... ๓ ป ... ๔ ป ... ๑๐ ป ... ๒๐ ป ... ๓๐ ป ... ๔๐ ป ... ๕๐ ป ... ๑๐๐ ป ... ก็มปี รากฏอยู แตส ัตวทย่ี นื ยนั ไดว า ตนไม เปน โรคทางใจเลย แมช วั่ เวลาเพียงครหู น่งึ นน้ั หาไดย ากในโลก ยกเวนแตพระขณี าสพ (ผูสิ้นอาสวะแลว ) ทงั้ หลาย พระสารีบตุ ร: แนะ ทา นคฤหบดี อนิ ทรียข องทานผองใสนกั สหี นา ของทานก็สดใสเปลง ปล่งั วนั นี้ ทาน ไดฟงธรรมกี ถาในทเ่ี ฉพาะพระพกั ตรพ ระผูมพี ระภาคเจาแลว หรือ? คฤหบดนี กลุ บิดา: พระคุณเจา ผเู จรญิ ไฉนจะไมเ ปนเชน น้ีเลา วันนีพ้ ระผูมีพระภาคเจาทรงหลง่ั นา้ํ อมฤตรดขาพเจาแลว ดว ยธรรมกี ถา พระสารีบุตร: พระผูมีพระภาคเจาทรงหลัง่ อมฤตรดทา น ดว ยธรรมีกถาอยางไร? คฤหบดี: พระคุณเจาผูเจรญิ ขา พเจา เขาไปเฝาพระผูมีพระภาค ถวายอภิวาท นัง่ ณ ทค่ี วรสว นหนง่ึ แลว ไดก ราบทูลวา :- พระพุทธเจาขา ขา พระองคช ราแลว เปนคนแกเ ฒา ลวงกาลผานวยั มานาน รา งกายกม็ ีโรคเรา รมุ เจ็บ ปวยอยเู นืองๆ อนึง่ เลา ขา พระองคมไิ ด( มีโอกาส)เหน็ พระผมู ีพระภาค และพระภกิ ษุทั้งหลาย ผชู วยใหเ จริญใจ อยเู ปน นติ ย ขอพระผูมีพระภาค ไดโ ปรดประทานโอวาทสั่งสอนขา พระองค ในขอ ธรรมท่จี ะเปนไปเพือ่ ประโยชน เพอ่ื ความสขุ แกข า พระองค ตลอดกาลนาน พระคุณเจาผเู จรญิ พระผมู พี ระภาคไดต รสั กะขาพเจาวา : ถูกแลว ทา นคฤหบดี เปน เชนน้นั อนั รางกาย นี้ ยอมมีโรครุมเรา ดจุ ดงั วา ฟองไข ซง่ึ ผิวเปลือกหอหมุ ไว ก็ผูใ ดท่บี รหิ ารรา งกายนอี้ ยู จะยนื ยนั วาตนไมมีโรคเลย แมชั่วครหู น่ึง จะมีอะไรเลา นอกจากความเขลา เพราะเหตุฉะนนั้ แล ทานคฤหบดี ทา นพงึ ฝก ใจวา “ถงึ กายของ เราจะปว ยออดแอดไปแตใ จของเราจะไมปวยดวยเลย” พระคณุ เจาผเู จรญิ พระผูม ีพระภาคทรงหลง่ั อมฤตรดขา พเจา ดว ยธรรมีกถา ดง่ั นแ้ี ล

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 207 ๘. สัมมาสมาธิ สัมมาสมาธิ เปน องคมรรคขอสุดทาย และเปนขอทม่ี ีเนือ้ หาสําหรบั ศกึ ษามาก เพราะเปน เรื่องของการ ฝก อบรมจติ ในขนั้ ลกึ ซ้ึง เปนเรื่องละเอียดประณีต ทงั้ ในแงท ี่เปน เร่ืองของจติ อันเปน ของละเอียด และในแงก าร ปฏิบัติ ทีม่ รี ายละเอยี ดกวางขวางซับซอน เปน จุดบรรจบ หรอื เปนสนามรวมของการปฏิบัติ ในการบรรยายเรอื่ งน้ี เห็นวา ถา จะแสดงเนือ้ หาไปตามลําดบั อยางในองคมรรคขอ กอ นๆ จะทาํ ใหเ ขา ใจ ยาก จึงเปลีย่ นมาใชว ิธสี รุปขอ ควรทราบ ใหเห็นใจความไวก อ น แลวจงึ แสดงเนอ้ื หาตอภายหลงั ความหมาย และระดบั ของสมาธิ “สมาธ”ิ แปลกันวา ความตง้ั มั่นของจติ หรือ ภาวะท่ีจิตแนวแนต อ สง่ิ ทกี่ ําหนด คาํ จาํ กัดความของสมาธิ ทพ่ี บเสมอ คือ “จติ ตัสเสกคั คตา” หรอื เรียกสัน้ ๆ วา “เอกคั คตา” ซง่ึ แปลวา ภาวะทีจ่ ิตมีอารมณเปน หนง่ึ คือ การทีจ่ ิตกําหนดแนวแนอยูกบั สิ่งใดสง่ิ หน่ึง ไมฟ ุงซา นหรอื สา ยไป สมาธิ นั้น แบง ไดเ ปน ๓ ระดบั คอื ๑. ขณิกสมาธิ สมาธิชัว่ ขณะ (momentary concentration) ซึ่งคนสามญั ทว่ั ไปสามารถนํามาใช ประโยชน ในการปฏิบัติหนาทกี่ จิ การงาน ในชีวติ ประจาํ วัน ใหไดผลดี ๒. อุปจารสมาธิ สมาธเิ ฉียดๆ หรือจวนจะแนวแน (neighbourhood concentration) ๓. อปั ปนาสมาธิ สมาธทิ ่ีแนว แนแนบสนิท (attainment concentration) สมาธิในขั้นฌาน เปนสมาธิ ระดับสูงสดุ ซึง่ ถือวาเปน ความสําเรจ็ ทีต่ อ งการของการเจรญิ สมาธิ “สัมมาสมาธ”ิ ตามคําจํากดั ความในพระสูตรตางๆ เจาะจงวาไดแก ฌาน ๔ อยา งไรก็ดี คําจาํ กัดความ น้ี ถือไดวาเปนการใหความหมายโดยยกหลักใหญเต็มรปู ขน้ึ มาตงั้ เปนแบบไว ใหรูวา การปฏบิ ัตสิ มาธทิ ีถ่ ูก จะ ตอ งดาํ เนนิ ไปในแนวนี้ ดังที่ผปู ฏบิ ัติธรรมสามารถเจริญวปิ สสนาไดโดยใชส มาธิเพียงขนั้ ตนๆ ที่เรยี กวา วปิ สสนาสมาธิ ซงึ่ เปนสมาธิในระดบั เดยี วกับขณิกสมาธิ และอปุ จารสมาธิ (ทานลาํ ดบั ไวระหวางขณิกสมาธกิ บั อุปจารสมาธิ) ผลสาํ เรจ็ ในระดบั ตางๆ ของการเจริญสมาธิ การเจรญิ สมาธนิ น้ั จะประณีตขึ้นไปเปน ขนั้ ๆ โดยลาํ ดบั ภาวะจิต ทม่ี สี มาธิถงึ ขั้นอปั ปนาสมาธิแลว เรียกวา “ฌาน” (absorption) ฌานมหี ลายขั้น ย่งิ เปนขน้ั สูงขึ้นไป องคธ รรมตางๆ ซง่ึ ทําหนา ทป่ี ระกอบอยกู บั สมาธิ ก็ยิ่งลดนอยลงไป ฌาน โดยทว่ั ไปแบง เปน ๒ ระดับใหญๆ และแบงยอยออกไปอีกระดบั ละ ๔ รวมเปน ๘ อยาง เรยี กวา ฌาน ๘ หรอื สมาบัติ ๘ คือ ๑. รปู ฌาน ๔ ไดแ ก

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตฺโต) 208 ๑) ปฐมฌาน (ฌานที่ ๑) มีองคป ระกอบ ๕ คอื วติ ก วจิ าร ปติ สขุ เอกคั คตา ๒) ทุติยฌาน (ฌานท่ี ๒) มีองคป ระกอบ ๓ คอื ปต ิ สขุ เอกคั คตา ๓) ตติยฌาน (ฌานท่ี ๓) มีองคประกอบ ๒ คอื สขุ เอกคั คตา ๔) จตุตถฌาน (ฌานที่ ๔) มีองคประกอบ ๒ คอื อเุ บกขา เอกัคคตา ๒. อรูปฌาน ๔ ไดแ ก ๑) อากาสานัญจายตนะ (ฌานทกี่ าํ หนดอากาศ-space อันอนนั ต) ๒) วิญญาณัญจายตนะ (ฌานทกี่ าํ หนดวญิ ญาณอันอนนั ต) ๓) อากญิ จัญญายตนะ (ฌานท่กี ําหนดภาวะท่ีไมมีสิง่ ใดๆ) ๔) เนวสญั ญานาสญั ญายตนะ (ฌานท่เี ขา ถึงภาวะมีสัญญากไ็ มใชไ มมสี ัญญาก็ไมใ ช) การเพียรพยายามบําเพ็ญสมาธิ โดยใชว ธิ กี ารใดๆ ก็ตาม เพือ่ ใหเ กดิ ผลสําเรจ็ เชน น้ีทา นเรยี กวา “สมถะ” มนษุ ยปถุ ชุ นเพยี รพยายามบําเพญ็ สมาธิเพยี งใดกต็ าม ยอ มไดผลสาํ เร็จอยา งสงู สดุ เพยี งเทาน้ี หมาย ความวา สมถะลว นๆ ยอ มนําไปสูภ าวะจติ ทเี่ ปนสมาธไิ ดสูงสุด ถึงฌาน เพยี งเนวสญั ญานาสัญญายตนะ เทา นั้น แตท า นผบู รรลุผลสําเรจ็ ควบท้ังฝา ยสมถะ และวปิ ส สนา เปนพระอนาคามหี รือพระอรหนั ต สามารถเขา ถึงภาวะทป่ี ระณีตสูงสดุ อีกข้นั หนึง่ นับเปน ขนั้ ที่ ๙ คือ สัญญาเวทยิตนโิ รธ หรอื นิโรธสมาบัติ เปนภาวะท่สี ญั ญา และเวทนาดบั คือหยุดปฏิบัติหนาท่ี และเปนความสุขขน้ั สูงสุด วิธีเจริญสมาธิ การปฏิบตั เิ พือ่ ใหเ กิดสมาธิ จนเปนผลสําเร็จตา งๆ อยางทกี่ ลา วแลวนัน้ ยอมมีวิธีการหรอื อบุ ายสาํ หรับ เหนี่ยวนําสมาธมิ ากมายหลายอยา ง พระอรรถกถาจารยไดรวบรวมขอปฏิบัตทิ ่ีเปนวธิ ีการตา งๆ เหลา น้ีวางไว มี ท้งั หมดถึง ๔๐ อยา ง คอื ๑. กสิณ ๑๐ เปนการใชว ตั ถภุ ายนอกเขาชวย โดยการเพงเพอ่ื ใหจติ รวมเปนหนึง่ วตั ถุที่ใชเ พง ได แก ดนิ น้าํ ไฟ ลม สีเขียว สเี หลอื ง สีแดง สขี าว อากาศ (ชอ งวาง) และแสงสวาง ซงึ่ จัดทําขึ้นเพอื่ ใหเ หมาะกบั การใชเ พงโดยเฉพาะ ๒. อสุภะ ๑๐ พิจารณาซากศพในระยะตา งๆ รวม ๑๐ ประเภท ๓. อนสุ ติ ๑๐ ระลึกถึงอารมณท ีส่ มควรชนิดตางๆ เชน พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคณุ ศลี จาคะ เปน ตน ๔. อปั ปมัญญา ๔ เจริญธรรมทเ่ี รียกวาพรหมวิหาร ๔ คอื เมตตา กรุณา มุทติ า อเุ บกขา โดยใชว ธิ ี แผไปอยางกวา งขวางไมมขี อบเขต ๕. อาหาเรปฏิกูลสัญญา ๑ กําหนดความเปนปฏิกลู ในอาหาร

พุทธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตฺโต) 209 ๖. ธาตุววฏั ฐาน ๑ กาํ หนดพิจารณาธาตุ ๔ ๗. อรปู ๔ กําหนดอารมณของอรูปฌาน ๔ วิธีปฏบิ ตั ิ ๔๐ อยางน้ี เรียกวา กรรมฐาน ๔๐ การปฏบิ ัติกรรมฐานเหลา นต้ี า งกนั โดยผลสําเรจ็ ท่วี ิธี นั้นๆ สามารถใหเกดิ ขึ้น สงู ตํา่ มากนอยกวา กนั และตางโดยความเหมาะสมแกผ ูป ฏบิ ัติ ซง่ึ จะตอ งพิจารณา เลือกใชใหเ หมาะกบั ลกั ษณะนสิ ยั ความโนม เอียงทแ่ี ตกตา งกนั ระหวา งบคุ คล ที่เรียกวา “จรยิ า” ตา งๆ เชน อสภุ ะเหมาะสาํ หรับคนหนักทางราคะ เมตตาเหมาะสําหรบั คนหนกั ในโทสะ เปน ตน จรยิ า มี ๖ คอื ๑. ราคจริยา ลกั ษณะนิสยั ที่หนักไปทางราคะ รกั สวยรักงาม ๒. โทสจริยา ลักษณะนิสัยที่หนักไปทางโทสะ ใจรอนหุนหัน ๓. โมหจริยา ลักษณะนิสัยที่หนกั ไปทางโมหะ มกั หลงลมื ซมึ งง ๔. สทั ธาจริยา ลกั ษณะนสิ ัยทีม่ ากดว ยศรทั ธา ซาบซึ้ง เช่ืองา ย ๕. พุทธจิ ริยา ลกั ษณะนสิ ัยท่ีหนกั ในปญญา คลอ งแคลว ชอบคดิ พิจารณาเหตผุ ล ๖. วติ กั กจรยิ า ลกั ษณะนสิ ยั ท่มี ากดวยวิตก ชอบครนุ คดิ กังวล บุคคลใดหนกั ในจริยาใด ก็เรยี กวา เปน “จริต” นน้ั ๆ เชน ราคจรติ โทสจริต เปนตน รายละเอียดเกีย่ วกบั วิธปี ฏิบตั ิตางๆ และลักษณะนิสยั เหลา น้ี เปนเรอ่ื งท่จี ะตอ งอธิบายไวต า งหาก ขอบเขตความสาํ คัญของสมาธิ ก) ประโยชนที่แท และผลจํากดั ของสมาธิ สมาธเิ ปนองคธ รรมทส่ี ําคญั ยงิ่ ขอ หนึ่งก็จริง แตก ม็ ขี อบเขตความสาํ คัญท่พี ึงตระหนักวา สมาธิมคี วาม จําเปน แคไหนเพียงใด ในกระบวนการปฏบิ ตั ิ เพื่อเขา ถงึ วิมตุ ติ อนั เปนจุดหมายของพทุ ธธรรม ขอบเขตความ สาํ คญั นี้ อาจสรุปดงั นี้ ๑. ประโยชนแทข องสมาธิ ในการปฏิบตั ิเพอื่ เขาถึงจดุ หมายของพุทธธรรมน้ัน อยทู ที่ ําใหจ ติ เหมาะแก งาน ซึ่งจะนํามาใชเ ปน ทท่ี าํ การสาํ หรบั ใหปญญาปฏบิ ัติการอยา งไดผลดีทีส่ ดุ และสมาธทิ ใ่ี ชเพื่อการนีก้ ็ไมจาํ เปนตองถงึ ขน้ั สูงสดุ ในทางตรงขา ม ลําพงั สมาธิอยางเดยี ว แมจะเจริญถงึ ขั้นฌานสงู สดุ หากไมก า วไปสขู ้ันการ ใชป ญญาแลว ยอมไมสามารถทาํ ใหถงึ จุดหมายของพุทธธรรมไดเปนอนั ขาด ๒. ฌานตางๆ ท้ัง ๘ ขัน้ แมจะเปน ภาวะจติ ทล่ี กึ ซง้ึ แตใ นเม่ือเปน ผลของกระบวนการปฏบิ ตั ทิ ่ี เรยี กวาสมถะอยา งเดยี ว กย็ งั เปน เพียงโลกียเทาน้นั จะนําไปปะปนกับจดุ หมายของพทุ ธธรรมหาไดไ ม ๓. หลุดพน ไดช ัว่ คราว กลาวคือ ในภาวะแหง ฌานที่เปนผลสาํ เร็จของสมาธินั้น กเิ ลสตางๆ สงบ ระงับไป จงึ เรยี กวาเปน ความหลุดพนเหมอื นกนั แตค วามหลดุ พน นี้มชี วั่ คราวเฉพาะเมือ่ อยใู นภาวะน้ันเทา นั้น และถอยกลับสูสภาพเดมิ ได ไมยงั่ ยนื แนน อน ทานจึงเรียกความหลดุ พนชนดิ นวี้ าเปนโลกยิ วโิ มกข (ความหลุด

พทุ ธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 210 พน ข้ันโลกยี ) และกุปปวโิ มกข (ความหลุดพนที่กําเริบ คือเปลย่ี นแปลงกลับกลายหายสญู ได) และเปน วิกขัมภน วมิ ุตติ (ความหลดุ พนดวยขมไว คือ กิเลสระงบั ไปเพราะกําลงั สมาธิขม ไว เหมือนเอาแผน หนิ ทับหญา ยกแผน หินออกเม่ือใด หญายอมกลบั งอกงามข้นึ ไดใหม) จากขอพจิ ารณาทก่ี ลา วมานี้ จะเห็นวา - ในการปฏิบตั เิ พ่อื เขา ถงึ จดุ หมายของพุทธธรรมนนั้ องคธ รรมหรอื ตวั การสาํ คญั ท่สี ุดทเ่ี ปนตวั ตดั สนิ ขน้ั สดุ ทาย จะตอ งเปน ปญ ญา และ - ปญ ญาท่ใี ชป ฏิบตั ิการในขนั้ นี้ เรียกชอ่ื เฉพาะไดว า “วิปส สนา” ดงั นั้น การปฏิบัติจงึ ตองกา วมาถงึ ขั้น วิปส สนาดว ยเสมอ สว นสมาธิ แมจ ะจําเปน แตอ าจยืดหยนุ เลอื กใชข น้ั ใดข้ันหนึ่งกไ็ ดเ ริม่ แตขนั้ ตนๆ เรยี กวา วิปสสนา สมาธิ (ทา นแสดงไวในระดับเดยี วกับขณกิ สมาธิ และอุปจารสมาธิ ดู หนา ๓๓๑) ข) สมถะ-วิปส สนา โดยนัยน้ี วถิ ีแหง การเขา ถงึ จดุ หมายแหง พุทธธรรมนนั้ แมจะมสี าระสาํ คญั วา ตองประกอบพรอมดวย องคมรรคท้งั ๘ ขอ เหมือนกัน แตกอ็ าจแยกไดโดยวิธีปฏบิ ตั ิทเ่ี ก่ยี วขอ งกบั การใชสมาธิ เหมือนเปน ๒ วถิ ี หรือวิธี คือ ๑. วิธีการที่มุงเฉพาะดา นปญญา คือการปฏบิ ตั อิ ยา งทีก่ ลาวไวบางแลวในเรอ่ื งสัมมาสติ เปนวธิ ี ปฏบิ ตั ิทสี่ ตมิ ีบทบาทสําคญั คือ ใชส มาธแิ ตเพียงขั้นตน ๆ เทา ทจี่ ําเปน สําหรบั การปฏิบตั ิ หรือใชสมาธเิ ปน เพียง ตัวชวย แตใชสติเปน หลักสําคญั สําหรับยดึ จับหรอื มัดสิง่ ที่ตองการกําหนดไว ใหป ญญาตรวจพจิ ารณา น้ีคอื วิธี ปฏบิ ัติที่เรียกวา วิปส สนา แทจ รงิ นน้ั ในการปฏบิ ตั วิ ธิ ีท่ี ๑ นี้ สมถะก็มอี ยู คือการใชส มาธิขัน้ ตน ๆ เทา ทีจ่ าํ เปนแกการทํางานของ ปญญาท่ีเปนวปิ ส สนา แตเพราะการฝกตามวธิ ขี องสมถะไมป รากฏเดนออกมา เม่ือพูดอยางเทียบกนั กบั วธิ ีที่ ๒ จึงเรียกการปฏิบตั ิในวิธที ี่ ๑ น้วี า เปน แบบ วิปส สนาลวน ๒. วธิ กี ารทเ่ี นนการใชส มาธิ เปนวธิ ีปฏบิ ตั ิทส่ี มาธิมีบทบาทสาํ คญั คอื บําเพ็ญสมาธใิ หจ ติ สงบ แนว แน จนเขาถึงภาวะทเี่ รียกวา ฌาน หรอื สมาบตั ิ ขนั้ ตา งๆ เสียกอ น ทําใหจติ ดืม่ ดาํ่ แนนแฟนอยูกับสงิ่ ท่ี กาํ หนดนน้ั ๆ จนมคี วามพรอ มอยโู ดยตวั ของมนั เอง ทจี่ ะใชปฏบิ ัตกิ ารตางๆ อยา งทีเ่ รยี กวา จติ นมุ นวล ควรแก การงาน โนม ไปใชในกิจทปี่ ระสงคอ ยางไดผ ลดที ี่สดุ ในสภาพจิตเชนน้ี กิเลสอาสวะตางๆ ซงึ่ ตามปรกตฟิ งุ ขน้ึ รบกวนและบีบคน้ั บงั คบั จิตใจพลานอยู ก็ถกู ควบคุมใหส งบน่งิ อยใู นเขตจาํ กัด เหมือนผงธุลที ่ตี กตะกอนในเวลานํ้านง่ิ และมองเหน็ ไดช ดั เพราะนา้ํ ใส เหมาะ สมอยางย่ิงแกการท่ีจะกา วตอไป สูขนั้ ใชป ญ ญาจดั การกําจดั ตะกอนเหลา นนั้ ใหหมดไปโดยสิ้นเชงิ การปฏิบตั ิ ในชั้นน้ที ้ังหมดเรยี กวา เปน สมถะ ถาไมหยดุ เพยี งนี้ ก็จะกา วตอ ไปสูขนั้ ใชปญญากําจดั กเิ ลสอาสวะใหห มดส้ิน เชิง คอื ขั้นวปิ สสนา คลา ยกับในวิธที ี่ ๑ แตกลาวตามหลักการวา ทําไดง า ยขนึ้ เพราะจิตพรอ มอยแู ลว

พุทธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) 211 การปฏิบัติอยา งนี้ คือ วิธที เี่ รียกวา ใชท ง้ั สมถะ และวิปส สนา ค) เจโตวมิ ุตติ-ปญ ญาวิมตุ ติ; ปญญาวิมตุ -อุภโตภาควมิ ุต ผลสาํ เร็จของการปฏบิ ัติตามวิถที ี่ ๑ เรยี กวา ปญญาวิมุตติ คอื ความหลุดพน (เปนอสิ ระสิน้ อาสวะ) ดวยปญ ญา เมอื่ ปญ ญาวมิ ตุ ตเิ กิดข้นึ สมาธิขนั้ เบือ้ งตน ท่ีใชเ ปน ฐานของการปฏิบัติมาแตเ ร่มิ แรก ก็จะมัน่ คง และบริสุทธส์ิ มบูรณเขาควบคกู ับปญญา กลายเปน เจโตวมิ ตุ ติ แตเจโตวิมุตติในกรณนี ี้ไมโ ดดเดน เพราะเปน เพยี งสมาธขิ ั้นตนเทา ท่จี าํ เปน ซ่งึ พว งมาดว ยแตต น แลว พลอยถงึ จดุ สนิ้ สุดบริบรู ณไปดวยเพราะปญ ญาวมิ ตุ ตนิ นั้ ผลสําเรจ็ ของการปฏิบัติตามวิถีท่ี ๒ แบงไดเปน ๒ ตอน ตอนแรก ท่เี ปน ผลสําเรจ็ ของสมถะ เรียกวา เจโตวิมตุ ติ คอื ความหลดุ พน (เปนอิสระพน อํานาจกเิ ลส- ชว่ั คราว-เพราะคมุ ไวไ ดด วยกาํ ลังสมาธิ) ของจิต และ ตอนที่ ๒ ซ่งึ เปนข้นั สดุ ทาย เรยี กวา ปญ ญาวมิ ตุ ติ เหมือนอยางวถิ แี รก เมื่อถงึ ปญญาวมิ ุตตแิ ลว เจโต วมิ ุตตทิ ไ่ี ดม ากอนซึ่งเสือ่ มถอยได ก็จะพลอยมั่นคงสมบรู ณก ลายเปนเจโตวิมุตตทิ ่ีไมก ลบั กลายอีกตอ ไป เม่อื แยกโดยบคุ คลผปู ระสบผลสําเร็จในการปฏิบัติตามวิถที ัง้ สองน้ี ๑. ผูไดรับผลสาํ เรจ็ ตามวถิ แี รก ซึง่ มปี ญญาวิมุตตเิ ดนชดั ออกหนาอยอู ยา งเดียว เรียกวา “ปญญาวมิ ตุ ” คอื ผูหลุดพน ดว ยปญญา ๒. สว นผไู ดรบั ผลสาํ เร็จตามวิถที ่ี ๒ เรียกวา “อุภโตภาควมิ ุต” คอื ผหู ลดุ พนทง้ั สองสวน (ทัง้ ดวยสมาบตั ิ และอริยมรรค) ขอทีค่ วรทราบเพิม่ เตมิ และเนนไวเ กีย่ วกับวถิ ที ่ีสอง คอื วิถที ใี่ ชท ง้ั สมถะ และวปิ สสนา ซง่ึ ผูปฏิบตั ไิ ดผล สาํ เร็จเปน อภุ โตภาควมิ ุตนัน้ มีวา ๑. ผปู ฏิบัติตามวถิ ีนี้ อาจประสบผลไดพิเศษในระหวา ง คือความสามารถตา งๆ ท่ีเกดิ จากฌานสมาบัติ ดว ย โดยเฉพาะท่เี รียกวา อภญิ ญา ซง่ึ มี ๖ อยาง คือ ๑) อทิ ธวิ ิธิ (แสดงฤทธติ์ า งๆ ได- magical powers) ๒) ทิพพโสต (หทู ิพย- clairaudience หรอื divine ear) ๓) เจโตปริยญาณ (กาํ หนดใจหรือความคดิ ผูอน่ื ได- telepathy หรอื mind-reading) ๔) ทพิ พจกั ขุ หรอื จุตูปปาตญาณ (ตาทิพย หรอื รูการจุติและอุบัติของสัตวท งั้ หลายตามกรรมของ ตน- divine eye หรอื clairvoyance หรือ knowledge of the decease and rebirth of beings) ๕) ปุพเพนิวาสานสุ สตญิ าณ (การระลึกชาติได- reminiscence of previous lives) ๖) อาสวักขยญาณ (ญาณหยั่งรูค วามสิ้นอาสวะ- knowledge of the extinction of all cankers) จะตอ งทราบวา ความรคู วามสามารถพเิ ศษ ที่เปนผลไดใ นระหวาง ซ่งึ ทานผูเปนอภุ โตภาควิมุต(อาจ จะ)สาํ เรจ็ นัน้ หมายถงึ อภญิ ญา ๕ ขอ แรก อันเปน อภิญญาขน้ั โลกยี  (โลกยิ อภิญญา)

พุทธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 212 สวนอภญิ ญา ขอท่ี ๖ คือ อาสวักขยญาณ ขอ เดียว ซึ่งเปนโลกตุ ตรอภญิ ญา เปน ผลสาํ เรจ็ สดุ ทา ยทเี่ ปน จุดหมาย ท้งั ของพระปญ ญาวมิ ตุ และพระอภุ โตภาควิมุต อนั ใหสําเร็จความเปนพุทธะ และเปน พระอรหนั ต ฉะนัน้ ผูป ฏบิ ตั ไิ มวาวถิ แี รก หรอื วิถีท่ี ๒ คือ ไมวาจะเปน ปญญาวมิ ตุ หรืออุภโตภาควิมตุ กต็ องไดบ รรลุ อภญิ ญา ขอ ที่ ๖ ทีเ่ ปนโลกตุ ตระ คือ อาสวักขยญาณ แตท า นผูอภุ โตภาควมิ ตุ อาจจะไดอ ภิญญาข้นั โลกยี  ๕ ขอ แรกดวย สวนทานผปู ญญาวมิ ุต (วิถแี รก) จะไดเพยี งอภิญญา ขอท่ี ๖ คอื ความสิ้นอาสวะอยางเดยี ว ไมไ ดโ ลกิ ยอภิญญา ๕ ทีเ่ ปนผลสาํ เร็จพิเศษอันเกดิ จากฌาน โลกยิ อภญิ ญา ๕ นน้ั ฤาษีโยคกี อนพุทธกาลไดก นั มาแลว มากมาย ความเปนพุทธะ ความเปนพระอรหนั ต ความเปนผปู ระเสรฐิ อยูท ่ีความส้ินอาสวกเิ ลสดว ยอาสวักขย ญาณ ซึง่ ทงั้ พระปญญาวิมุต และพระอภุ โตภาควมิ ตุ มเี สมอเทากนั ๒. ผูป ฏบิ ตั ติ ามวิถีท่ี ๒ จะตองปฏิบตั ใิ หค รบทั้ง ๒ ข้ันของกระบวนการปฏิบัติ การปฏิบัตติ ามวิถีของสมถะอยา งเดียว แมจะไดฌ าน ไดสมาบตั ิขัน้ ใดกต็ าม ตลอดจนสําเรจ็ อภญิ ญา ขน้ั โลกยี ท ง้ั ๕ ตาทพิ ย หทู ิพย อานใจผอู ่ืนได มฤี ทธต์ิ างๆ ก็เปนไดแ คฤาษีโยคกี อ นพทุ ธกาล ทพ่ี ระโพธสิ ัตวเห็น วามิใชท างแลว จงึ เสด็จปลีกออกมาถาไมกาวหนาตอไปถงึ ข้นั วปิ สสนา หรือควบคไู ปกับวปิ สสนาดวยแลว จะ ไมส ามารถเขา ถึงจุดหมายของพทุ ธธรรมเปนอันขาด การใชส มาธเิ พื่อประโยชนตางๆ การฝกอบรมเจริญสมาธิน้นั ยอ มมคี วามมงุ หมายเพอ่ื ประโยชนตางๆ กนั ขอใหพิจารณาตัวอยางการ ใชป ระโยชน ดังน้ี “ภิกษทุ ั้งหลาย สมาธภิ าวนา (การเจรญิ สมาธ)ิ มี ๔ อยา ง ดังน้ี คอื ๑. สมาธภิ าวนาทเี่ จริญแลว ทาํ ใหมากแลว เปน ไปเพอื่ ทิฏฐธรรมสุขวิหาร (การอยเู ปนสขุ ใน ปจ จุบัน) ๒. สมาธิภาวนาทเี่ จริญแลว ทาํ ใหม ากแลว เปนไปเพื่อการไดญาณทัสสนะ ๓. สมาธิภาวนาทีเ่ จริญแลว ทาํ ใหมากแลว เปน ไปเพื่อสติและสัมปชัญญะ ๔. สมาธภิ าวนาท่เี จรญิ แลว ทําใหม ากแลว เปนไปเพอ่ื ความสนิ้ ไปแหง อาสวะทั้งหลาย” น้ีเปนตัวอยางการใชประโยชนต างๆ จากการฝก อบรมสมาธิ แบบท่ี ๑ ไดแกก ารเจริญรปู ฌาณ ๔ ซึง่ เปนวิธเี สวยความสุขแบบหนงึ่ ตามหลักที่แบงความสุขเปน ๑๐ ข้นั ประณตี ข้ึนไปตามลาํ ดับ คอื กามสขุ สขุ ในรูปฌาน ๔ ขั้น สุขในอรปู ฌาน ๔ ข้นั และสขุ ในนิโรธสมาบัติ พระ พทุ ธเจา และพระอรหนั ตสว นมากนิยมเจริญฌาน ๔ นี้ ในโอกาสวาง เพอ่ื พกั ผอ นอยางสุขสบาย เรียกวา ทฏิ ฐ ธรรมสุขวหิ าร

พุทธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 213 แบบท่ี ๒ อรรถกถาอธบิ ายวา หมายถึงการไดท ิพยจกั ษุ จงึ เปน ตัวอยา งการนาํ สมาธไิ ปใช เพ่ือผลทาง ความสามารถพิเศษประเภทปาฏหิ าริยตา งๆ แบบท่ี ๓ มคี วามหมายชดั อยูแ ลว แบบท่ี ๔ คือการใชส มาธเิ พื่อประโยชนทางปญญา หรอื เปนบาทฐานของวิปสสนาโดยตรง เพอื่ บรรลจุ ดุ หมายสูงสุด คอื ความหลุดพนสิน้ อาสวะ ความเขาใจในเรือ่ งประโยชนหรอื ความมุง หมายในการเจรญิ สมาธนิ ้ี จะชวยปอ งกนั และกาํ จดั ความเขา ใจผิดพลาด เกย่ี วกบั เร่อื งสมาธิ และชวี ติ ของพระสงฆในพระพทุ ธศาสนาไดเปนอันมาก เชน ความเขาใจผิดวา การบําเพ็ญสมาธเิ ปนเร่ืองของการถอนตวั ไมเ อาใจใสใ นกิจการของสงั คม หรือวา ชวี ติ พระสงฆเ ปน ชวี ติ ทป่ี ลกี ตวั โดยส้ินเชงิ ไมร บั ผิดชอบตอ สังคม เปน ตน ขอ พจิ ารณาตอ ไปน้ี อาจเปน ประโยชนในการปอ งกนั และกําจดั ความเขา ใจผิดทีก่ ลาวแลวนั้น - สมาธิ เปนวิธกี ารเพ่อื เขาถงึ จุดหมาย ไมใชต ัวจดุ หมาย ผเู รมิ่ ปฏบิ ัติอาจตองปลกี ตัวออกไป มคี วาม เก่ยี วขอ งกบั สงั คมนอยเปน พิเศษเพือ่ การปฏบิ ตั ิฝก อบรมชว งพิเศษระยะเวลาหนง่ึ แลว จงึ ออกมามบี ทบาททาง สงั คมตามความเหมาะสมของตนตอ ไป อีกประการหนงึ่ การเจรญิ สมาธิโดยท่ัวไป ก็มิใชจ ะตอ งมานั่งเจรญิ อยู ทั้งวันทงั้ คืน และวิธปี ฏบิ ัติกม็ มี ากมาย เลือกใชไดต ามความเหมาะสมกับจรยิ า เปนตน - การดาํ เนนิ ปฏิปทาของพระสงฆ ขึน้ ตอ ความถนดั ความเหมาะสมของลกั ษณะนสิ ยั และความพอใจ สวนตนดว ย บางรูปอาจพอใจและเหมาะสมท่จี ะอยูป า บางรูปถึงอยากไปอยูปา กห็ าสมควรไม มีตวั อยา งทพี่ ระ พุทธจา ไมทรงอนญุ าตใหภ ิกษบุ างรปู ไปปฏิบตั ธิ รรมในปา และแมภกิ ษทุ ่ีอยปู า ในทางพระวนิ ยั ของสงฆก ห็ าได อนุญาตใหตัดขาดจากความรบั ผิดชอบทางสงั คมโดยสิน้ เชงิ อยา งฤาษีชีไพรไม - ประโยชนของสมาธแิ ละฌานทีต่ องการในพทุ ธธรรม ก็คอื ภาวะจติ ท่เี รียกวา “นุมนวล ควรแกง าน” ซงึ่ จะนาํ มาใชเ ปน ทปี่ ฏบิ ตั ิการของปญญาตอ ไปดงั กลา วแลว สว นการใชสมาธิและฌานเพือ่ ประโยชนอนื่ จากนี้ ถือเปน ผลไดพ เิ ศษ และบางกรณีกลายเปน เร่ืองไมพงึ ประสงค ซ่งึ พระพุทธเจาไมท รงสนับสนนุ ตวั อยา งเชน ผใู ด บําเพ็ญสมาธิเพือ่ ตองการอิทธิปาฏิหาริย ผนู ัน้ ช่ือวา ตัง้ ความดํารผิ ิด อิทธิปาฏหิ าริยน ้ันอาจกอใหเ กดิ ผลรายได มากมายเสอื่ มได และไมท าํ ใหบรรลุจุดหมายของพุทธธรรมไดเลย สวนผใู ดปฏบิ ตั เิ พอ่ื จุดหมายทางปญ ญา ผา นทางวธิ สี มาธิ และไดอทิ ธปิ าฏหิ ารยิ ดวย ก็ถือเปนความสามารถพิเศษทีพ่ ลอยไดไ ป - อยา งไรกด็ ี แมในกรณปี ฏบิ ัตดิ ว ยความมุงหมายท่ถี ูกตอ งแตตราบใดยังไมบ รรลจุ ดุ หมายการได อทิ ธิปาฏหิ าริยยอมเปนอนั ตรายไดเสมอเพราะเปน เหตใุ หเกดิ ความหลงเพลนิ และความตดิ หมกมุน ทั้งแกตน และคนอ่ืน เปน ปลโิ พธอยา งหนง่ึ และอาจเปน เหตุพอกพนู กิเลสจนถว งใหด าํ เนนิ ตอ ไปไมไ ด หรือถึงกบั ไถลออก จากทางพระพุทธเจา แมจะทรงมีอิทธปิ าฏหิ าริยมากมาย แตไ มทรงสนบั สนุน

พทุ ธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 214 การใชอ ิทธปิ าฏิหาริย เพราะไมใชว ิถีแหงปญญาและความหลุดพนเปนอสิ ระ ตามพทุ ธประวตั จิ ะเหน็ วา พระพทุ ธเจาทรงใชอ ิทธปิ าฏิหาริยใ นกรณที ตี่ องกําราบผูลําพองในฤทธ์ิ ใหห มดพยศ แลวสงบลง และพรอ มทจ่ี ะ รับฟงธรรม - สาํ หรับทานผฝู ก อบรมกา วหนาไปในมรรคแลว หรือสาํ เรจ็ บรรลุจุดหมายแลว มักนยิ มใชก ารเจรญิ สมาธขิ น้ั ฌาน เปนเคร่อื งพักผอนอยา งเปนสขุ ในโอกาสวาง เชน พระพุทธองคเอง แมจ ะเสด็จจาริกส่ังสอนประชาชนเปน อันมาก เกีย่ วของกบั คนทกุ ชน้ั วรรณะ และทรงปกครองคณะสงฆห มใู หญ แตกท็ รงมีพระคุณสมบตั ิอยางหน่ึง คอื ฌานสลี ีหมายความวา ทรงนยิ มฌาน ทรงพอพระทัยเจริญฌานเปน ที่พักผอ นในโอกาสวา ง เชนเดียวกบั พระสาวกเปนอันมาก อยางทเ่ี รยี กวา ทฏิ ฐธรรมสุขวิหาร คอื เพือ่ การอยูเปน สขุ ในปจ จุบัน ที่ปรากฏวา ทรงปลีก พระองคไปอยูใ นทส่ี งดั เปนเวลานานๆ ถงึ ๓ เดือน เพ่อื เจรญิ สมาธิ ก็เคยมี - การนยิ มหาความสุขจากฌาน หรอื เสวยสขุ ในสมาธิ บคุ คลใดจะทาํ แคไ หนเพยี งใด ยอ มเปน เสรีภาพสวน บคุ คล แตส าํ หรบั ผยู ังปฏบิ ตั ิ ยังไมบรรลจุ ดุ หมาย หากติดชอบเพลินมากไป อาจกลายเปน ความประมาท ท่ีกีด ก้ันหรอื ทาํ ลายความกา วหนาในการปฏิบัติ และอาจเปน เหตุละเลยความรับผดิ ชอบตอ สวนรวม ซง่ึ ถกู ถือเปน เหตุตาํ หนิได ถึงแมจ ะเปนความตดิ หมกมุนในขนั้ ประณีตก็ตาม อีกทงั้ ระบบชีวติ ของภิกษสุ งฆใ นพระพุทธ ศาสนา วา ตามหลกั บทบญั ญตั ใิ นทางวนิ ยั ยอมถอื เอาความรับผดิ ชอบตอสงฆคอื สวนรวมเปน หลกั สาํ คัญ ความเจรญิ รงุ เรอื งก็ดี ความเสื่อมโทรมก็ดี ความตง้ั อยูไดและไมไ ดก ด็ ี ของสงั ฆะ ยอ มข้นึ อยูก บั ความเอาใจใส รับผดิ ชอบตอสว นรวมน้ัน เปนขอสําคัญประการหน่ึง ดงั จะเหน็ ไดในภาควา ดวยมชั ฌมิ าปฏิปทาในแงประยกุ ต ตอไป บทเพ่ิมเติม ชีวติ ท่เี ปนอยดู ี ดว ยมีการศกึ ษาท้งั ๓ ท่ีทาํ ใหพ ัฒนาครบ ๔ (มรรคมีองค ๘ - สกิ ขา ๓ - ภาวนา ๔) มนุษยเ ปนสัตวท ีป่ ระเสริฐดวยการศกึ ษา ธรรมชาติพเิ ศษที่เปน สว นเฉพาะของมนุษย คอื เปน สัตวที่ฝกได จะพดู วา เปนสตั วท พ่ี ฒั นาได เปน สัตวทศ่ี กึ ษาได หรอื เปนสตั วท่ีเรียนรูไ ด ก็มคี วามหมายอยา งเดียวกัน จะเรยี กวา เปน สัตวพ ิเศษกไ็ ด คอื แปลก จากสตั วอ ื่น ในแงทีว่ า สตั วอืน่ ฝกไมไ ด หรือฝก แทบไมไ ด แตมนุษยน ้ีฝกได และพรอ มกันนน้ั ก็เปน สัตวที่ตอ งฝก ดว ยพดู สัน้ ๆ วา มนษุ ยเ ปน สัตวทตี่ อ งฝก และฝกไดส ัตวอ ่นื แทบไมตองฝก เพราะมันอยูไดดว ยสญั ชาตญาณ เกิดมาแลว เรยี นรูจากพอแมนิดหนอ ย ไมน านเลย มนั กอ็ ยูรอดได อยางลูกววั คลอดออกมาสกั ครูหนงึ่ ก็ลุกขนึ้ เดินได ไปกบั แมแลว ลูกหานออกจากไขเชา วันนั้น พอสายหนอ ยกว็ ิ่งตามแมล งไปในสระนํ้า วง่ิ ได วา ยนาํ้ ได หา กินตามพอ แมของมนั ได แตม นั เรยี นรไู ดนิดเดยี ว แคพอกนิ อาหารเปน ตน แลว กอ็ ยูดว ยสัญชาตญาณไปจน

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 215 ตลอดชวี ติ เกิดมาอยางไรก็ตายไปอยางน้นั หมุนเวยี นกันตอ ไป ไมส ามารถสรางโลกของมนั ตางหากจากโลก ของธรรมชาติ แตมนุษยนตี้ อ งฝก ตองเรียนรู ถา ไมฝ ก ไมเรยี นรู ก็อยูไมไ ด ไมตอ งพูดถึงจะอยดู ี แมแ ตร อดกอ็ ยูไ มได มนุษยจึงตอ งอยกู ับพอแมห รอื ผเู ลย้ี ง เปน เวลานับสิบป ระหวางน้กี ็ตองฝก ตอ งหัดตองเรยี นรไู ป แมแ ตก นิ น่งั นอน ขบั ถา ย เดนิ พูด ทกุ อยา งตองฝกทั้งนน้ั มองในแงนีเ้ หมือนเปน สตั วท่ดี อ ย แตเม่ือมองในแงบ วก วา ฝกได เรียนรูได ก็กลายเปน แงเ ดน คอื พอฝก เรมิ่ เรียนรแู ลว คราวน้มี นุษยกเ็ ดินหนา มปี ญญาเพิม่ พูนข้ึน พดู ได ส่ือ สารได มคี วามคิดสรางสรรค ประดษิ ฐอ ะไรๆ ได มคี วามเจริญทง้ั ในทางนามธรรม และทางวตั ถุธรรม สามารถ พัฒนาโลกของวตั ถุ เกดิ เทคโนโลยตี างๆ มศี ลิ ปวิทยาการ เกิดเปน วัฒนธรรม อารยธรรม จนกระท่งั เกดิ เปนโลก ของมนษุ ยซอ นข้ึนมา ทา มกลางโลกของธรรมชาติ สัตวอ่นื อยางดี ทฝ่ี กพิเศษไดบา ง เชน ชา ง มา ลงิ เปน ตน ก็ ๑. ฝก ตัวเองไมไ ด ตองใหม นุษยฝ กให ๒. แมม นษุ ยจะฝก ให กฝ็ กไดใ นขอบเขตจาํ กัด แตมนุษยฝก ตวั เองได และฝกไดแทบไมม ีท่สี ิ้นสุดการฝก ศกึ ษาพฒั นาตน จึงทําใหม นษุ ยกลายเปนสตั ว ทีป่ ระเสรฐิ เลิศสูงสุด ซึ่งเปนความเลิศประเสริฐท่สี ตั วท ้งั หลายอ่ืนไมมี หลักความจรงิ น้ีสอนวา มนุษยมใิ ชจะ ประเสรฐิ ขน้ึ มาเองลอยๆ แตประเสริฐไดด ว ยการฝก ถา ไมฝกแลวจะดอ ยกวาสัตวด ริ จั ฉาน จะตาํ่ ทราม ย่งิ กวา หรือไมกท็ ําอะไรไมเปน เลย แมจ ะอยูรอดก็ไมได ความดเี ลศิ ประเสริฐของมนษุ ยน้ัน จึงอยทู ก่ี ารเรยี นรฝู ก ศึกษาพัฒนาตนขน้ึ ไป มนุษยจะเอาดีไมไ ด ถาไมมีการเรียนรฝู ก ฝนพฒั นาตน เพราะฉะนน้ั จึงตองพดู ใหเต็มวา “มนุษยเปนสัตวป ระเสรฐิ ดว ยการฝก” ไมค วรพูดแคว า มนุษยเ ปน สัตวประเสริฐ ซึ่งเปน การพูดที่ตกหลน บกพรอง เพราะวา มนุษยน ี้ ตอ งฝกจงึ จะประเสรฐิ ถา ไมฝ ก กไ็ มป ระเสริฐ คาํ วา “ฝก ” นี้ พูดตามคําหลักแทๆ คือ สิกขา หรือศกึ ษา ถาพูดอยา งสมยั ใหม กไ็ ดแกค ําวา เรียนรูแ ละ พฒั นา พดู รวมๆ กันไปวา เรียนรูฝกหดั พัฒนา หรือเรียนรูฝ กศกึ ษาพัฒนาศกั ยภาพของมนุษย คือจดุ เร่มิ ของ พระพุทธศาสนา ความจรงิ แหง ธรรมชาตขิ องมนษุ ยใ นขอ ท่ีวา มนุษยเปน สัตวทีฝ่ กไดนี้ พระพทุ ธศาสนาถอื เปน หลัก สําคัญ ซ่ึงสมั พนั ธกบั ความเปนพระศาสดาและการทรงทําหนาทีข่ องพระพทุ ธเจา ดังทีไ่ ดเนน ไวใ นพทุ ธคณุ บทที่ วา อนตุ ตฺ โร ปุริสทมมฺ สารถิ สตฺถา เทวมนสุ ฺสานํ “เปนสารถฝี ก คนทค่ี วรฝก ผูยอดเยี่ยม เปน ศาสดาของเทวะ และมนุษยท ัง้ หลาย” [ม.มู. ๑๒/๙๕/๖๗] มีพทุ ธพจนมากมาย ทเ่ี นนย้าํ หลักการฝก ฝนพฒั นาตนของมนษุ ยและเราเตือน พรอมทงั้ สง เสรมิ กําลัง ใจ ใหท กุ คนมงุ มนั่ ในการฝกศกึ ษาพฒั นาตนจนถงึ ทส่ี ดุ เชน วรมสฺสตรา ทนตฺ า อาชานยี า จ สนิ ธฺ วา กุ ฺชรา จ มหานาคาอตฺตทนฺโต ตโต วรํ

พุทธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 216 “อสั ดร สนิ ธพ อาชาไนย กญุ ชร และชา งหลวง ฝกแลว ลว นดีเลศิ แตค นที่ฝกตนแลวประเสริฐกวา(ทง้ั หมด)น้ัน” [ขุ.ธ. ๒๕/๓๓/๕๗] ทนโฺ ต เสฏโ มนุสฺเสส.ุ “ในหมูม นษุ ย ผูป ระเสรฐิ สุด คอื คนท่ฝี ก แลว” [ข.ุ ธ. ๒๕/๓๓/๕๗] วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน โส เสฏโ เทวมานเุ ส. “ผูถึงพรอ มดวยวชิ ชาและจริยะ เปนผปู ระเสริฐสดุ ท้ังในหมูม นษุ ยและมวลเทวา” [สํ.น.ิ ๑๖/๗๒๔/๓๓๑] อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สยิ า อตตฺ นา หิ สทุ นฺเตน นาถํ ลภติ ทลุ ฺลภํ “ตนแลเปน ท่พี ่ึงของตน แทจ รงิ นัน้ คนอื่นใครเลา จะเปน ทพ่ี ่งึ ได มีตนทีฝ่ ก ดีแลวนั่นแหละ คือไดที่พึ่งซงึ่ หาได ยาก” [ขุ.ธ. ๒๕/๒๒/๓๖] มนสุ สฺ ภตู ํ สมฺพุทฺธํ อตตฺ ทนตฺ ํ สมาหิตํ . . .เทวาป ตํ นมสสฺ นตฺ ิ . . . . . . . . . “พระสมั พทุ ธเจา ท้ังท่เี ปนมนษุ ยน่แี หละ แตทรงฝก พระองคแลว มพี ระ หฤทยั ซึ่งอบรมถึงทแี่ ลว แมเทพท้ังหลายกน็ อมนมสั การ” [อง.ฺ ปจฺ ก. ๒๒/๓๑๔/๓๘๖] คาถานี้เปนการใหก ําลงั ใจแกม นษุ ยว า มนษุ ยท ่ฝี กแลว น้นั เลิศประเสริฐ จนกระท่งั แมแตเทวดาและ พรหมกน็ อมนมสั การ ความหมายที่ตองการในทน่ี ้ี กค็ ือ การมองมนษุ ยว าเปนสัตวท ่ฝี ก ได และมคี วามสามารถในการฝกตัว เองไดจ นถงึ ท่ีสดุ แตตองฝกจงึ จะเปนอยา งนั้นได และกระตุน เตอื นใหเ กิดจิตสํานกึ ตระหนักในการที่จะตอ ง ปฏิบตั ติ ามหลักแหงการศกึ ษาฝก ฝนพัฒนาตนน้นั ถาใชค าํ ศัพทส มัยปจ จบุ นั ก็พดู วา มนุษยม ศี กั ยภาพสงู มี ความสามารถที่จะศึกษาฝก ตนไดจ นถงึ ขนั้ เปนพุทธะ ศกั ยภาพน้ีเรยี กวา โพธิ ซึง่ แสดงวาจุดเนน อยูทีป่ ญญา เพราะโพธนิ นั้ แปลวา ปญ ญาตรัสรู คือปญ ญาที่ทาํ ใหม นุษยก ลายเปนพทุ ธะ ในการศึกษาตามหลกั พทุ ธศาสนาหรอื การปฏิบัตธิ รรมนั้น สิง่ สําคญั ที่จะตอ งมเี ปนจดุ เร่ิมตน คือ ความ เชอื่ ในโพธนิ ี้ ที่เรยี กวา โพธศิ รัทธา ซงึ่ ถือวา เปนศรทั ธาพน้ื ฐาน เม่ือมนุษยเ ชื่อในปญ ญาท่ีทําใหมนุษยเ ปนพุทธะไดแ ลว เขากพ็ รอมทีจ่ ะศกึ ษาฝกฝนพฒั นาตนตอ ไป ตามทีก่ ลา วมานจ้ี ะเห็นวา คาํ วา โพธิ น้นั ใหจดุ เนน ท้งั ในดา นของศกั ย-ภาพที่มนุษยฝ กไดจ นถงึ ท่สี ุด และในดานของปญ ญา ใหเห็นวาแกนนาํ ของการฝก ศกึ ษาพัฒนาน้ันอยทู ่ีปญญา และศกั ยภาพสงู สุดก็แสดง ออกท่ปี ญ ญาเพราะตวั แทนหรือจุดศนู ยรวมของการพฒั นาอยทู ี่ปญญา เพ่ือจะใหโ พธินป้ี รากฏขนึ้ มา ทาํ บุคคลใหกลายเปนพทุ ธะ เราจงึ ตอ งมีกระบวนการฝก หรอื พฒั นาคน ท่ี เรียกวาสกิ ขา ซ่ึงก็คือ การศึกษา สิกขา คือกระบวนการการศกึ ษา ท่ฝี ก หรือพฒั นามนุษย ใหโพธปิ รากฏขน้ึ จน ในที่สุดทําใหมนษุ ยน ้ันกลายเปน พุทธะ ชีวติ ที่ดี คือชวี ติ ทศ่ี ึกษา เมอ่ื พัฒนาคนดวยไตรสิกขา ชีวิตกก็ าวไปในอริยมรรคา

พุทธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตฺโต) 217 ชีวิตนั้นเปนอนั เดยี วกันกับการศกึ ษา เพราะชีวติ คอื การเปน อยู และการทช่ี ีวิตเปนอยูดําเนินไป กค็ ือ การท่ีตอ งเคล่อื นไหว พบประสบการณใ หมๆ และเจอสถานการณใหมๆ ซึง่ จะตองรูจัก ตอ งเขาใจ ตอ งคดิ ตอ ง ปฏิบตั หิ รือจัดการอยา งใดอยา งหน่งึ หรือหาทางแกไ ขปญหาใหผ า นรอดหรอื ลลุ ว งไป ทําใหต อ งมีการเรียนรู มี การพิจารณาแกป ญ หาตลอดเวลา ท้งั หมดน้ีพูดสั้นๆ ก็คอื สิกขา หรือการศกึ ษา ดงั นน้ั เม่อื ยงั มีชวี ิตอยู ถาจะเปนอยไู ดหรอื จะเปนอยใู หดี ก็ตอ งสิกขาหรอื ศึกษาตลอดเวลา พูดไดว า ชีวติ คือการศกึ ษา หรือ ชีวติ ทด่ี คี ือชีวิตที่มีการศกึ ษา มีการเรียนรู หรือมกี ารฝกฝนพัฒนาไปดวย การศกึ ษาตลอดชีวติ ในความหมายท่ีแท คอื อยางน้ี ถา จะพูดใหหนกั แนน กต็ องวา “ชีวติ คอื การศกึ ษา” พดู อีกอยา งหนงึ่ วา การดําเนนิ ชีวิตทดี่ ี จะเปน ชวี ิตแหง สกิ ขาไปในตัว ชวี ติ ขาดการศึกษาไมได ถา ขาด การศกึ ษากไ็ มเ ปน ชวี ิตทด่ี ี ทีจ่ ะอยูไ ดอยา งดี หรือแมแ ตจ ะอยูใหร อดไปได ตรงนีเ้ ปนการประสานเปน อันเดียวกัน ระหวาง การศกึ ษาพฒั นามนุษยห รอื การเรยี นรูฝก ฝนพัฒนาคน ท่เี รยี กวา สิกขา กับ การดําเนินชวี ิตทดี่ ขี องมนุษย ทีเ่ รยี กวา มรรค คือการดําเนินชวี ิตชนดิ ที่มีการศกึ ษาพัฒนา ชวี ติ ไปดวยในตัว จึงจะเปน ชวี ิตทดี่ ี สกิ ขา ก็คอื การพฒั นาตวั เองของมนษุ ย ใหดําเนนิ ชวี ิตไดดีงามถกู ตอง ทาํ ให มวี ิถีชวี ิตทเ่ี ปน มรรค สวน มรรค กค็ ือทางดําเนนิ ชีวติ หรือวิถชี ีวิตที่ถกู ตอ งดีงามของมนุษย ซงึ่ เปนวิถีชีวติ แหง การเรียนรฝู ก ฝนพัฒนาตนคือสกิ ขา มรรค กับ สกิ ขา จงึ ประสานเปนอนั เดียวกนั จงึ ใหความหมายไดว า สิกขา/การศึกษา คือการเรียนรทู ่จี ะใหสามารถเปน อยูไดอยา งดี หรือฝกให สามารถมีชีวิตที่ดี เปน อนั วา ชวี ิตคอื การศกึ ษานี้ เปนของแนนอน แตปญ หาอยูท่วี าเราจะศึกษาเปน หรอื ไม ถาคนไมร ูจ ัก ศกึ ษา ก็มชี วี ิตเปลาๆ หมายความวา พบประสบการณใ หมๆ กไ็ มไดอ ะไร เจอสถานการณใ หมๆ กไ็ มรูจะปฏิบตั ิ อยา งไรใหถกู ตอง ไมมกี ารเรียนรู ไมมีการพัฒนา ไมมีการแกป ญหา เปนชีวิตทเี่ ลอื่ นลอย เปน ชีวติ ที่ไมดี ไมม ี การศึกษา ทางธรรมเรยี กวา “พาล” แปลวา มีชีวิตอยูเ พียงแคดว ยลมหายใจเขาออก เพราะมองความจรงิ อยางนี้ ทางธรรมจึงจัดไวใ หการศกึ ษา กับชวี ติ ทดี่ ี เปนเรอื่ งเดียวกัน หรอื ตอ งไป ดวยกนั ทานถอื วา ชีวิตนี้เหมอื นกับการเดนิ ทางกา วไปๆ และในการเดนิ ทางนน้ั กพ็ บอะไรใหมๆ อยเู รอื่ ย จงึ เรยี ก วา “มรรค” หรอื “ปฏปิ ทา” แปลวา ทางดาํ เนินชวี ติ หรอื เรยี กวา “จริย/จรยิ ะ” แปลวา การดําเนินชีวติ มรรค หรือ ปฏิปทา จะเปนทางดําเนินชวี ิต หรือวิถชี ีวติ ท่ีดี จริยะ จะเปนการดําเนินชีวิตทีด่ ี ก็ตอ งมี สิกขา คือการศึกษา เรียนรู และพัฒนาตนเองตลอดเวลา ดงั กลาวแลว มรรคทถ่ี ูกตอ ง เรยี กวา “อริยมรรค” (มรรคาอนั ประเสริฐ หรอื ทางดาํ เนินชวี ิตที่ประเสรฐิ ) ก็เปนจริยะทด่ี ี เรยี กวา “พรหมจรยิ ะ” (จรยิ ะอยางประเสริฐ หรอื การดําเนนิ ชีวิตทป่ี ระเสรฐิ ) ซงึ่ กค็ ือมรรค และจรยิ ะ ท่ีเกดิ จากสิกขา หรือประกอบดวยสิกขา

พุทธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 218 สิกขา ทจ่ี ะใหเ กดิ มรรค หรอื จรยิ ะอันประเสรฐิ คือสิกขาท่ีเปนการฝก ฝนพฒั นาคนครบทัง้ ๓ ดา นของ ชีวิต ซ่งึ เรยี กวา ไตรสิกขา แปลวา การศกึ ษาท้งั ๓ ท่จี ะกลาวตอ ไป ชวี ิตมี ๓ ดา น การฝก ศกึ ษากต็ องประสานกนั ๓ สวน พฒั นาคนแบบองครวม จึงเปนเร่อื งธรรมดาของการศึกษา ชวี ิต และการดําเนินชวี ติ ของมนุษยน นั้ แยกไดเ ปน ๓ ดา น คอื ๑. ดา นสัมพันธกบั สงิ่ แวดลอ ม การดําเนินชวี ติ ตอ งติดตอ สื่อสารสมั พนั ธก ับโลก หรือสิง่ แวดลอ มนอก ตัว โดยใช ก) ทวาร/ชอ งทางรบั รแู ละเสพความรสู กึ ทเ่ี รยี กวาอนิ ทรีย คอื ตา หู จมูก ล้นิ กาย (รวม ใจ ดวยเปน ๖) ข) ทวาร/ชองทางทาํ กรรม คือ กาย วาจา โดย ทาํ และพูด (รวม ใจ-คิด ดวยเปน ๓) สิ่งแวดลอ มทม่ี นุษยต ดิ ตอ ส่ือสารสมั พนั ธนนั้ แยกไดเปน ๒ ประเภท คอื ๑) สงิ่ แวดลอ มทางสังคม คอื เพือ่ นมนษุ ย ตลอดจนสรรพสัตว ๒) สิง่ แวดลอ มทางวัตถุ หรือทางกายภาพ มนษุ ยควรจะอยูรว มกบั เพื่อนมนษุ ยแ ละเพื่อนรว มโลกดว ยดี อยางเกื้อกูลกนั เปนสว นรว มที่สรา งสรรค ของสงั คม และปฏิบตั ิตอ ส่งิ แวดลอ มทางวัตถุ ตงั้ ตนแตการใชตา หู ดู ฟง ทง้ั ดา นการเรยี นรู และการเสพ อารมณ ใหไ ดผลดี รูจ ักกินอยู แสวงหา เสพบรโิ ภคปจ จยั ๔ เปนตน อยา งฉลาด ใหเ ปน คุณแกตน แกส ังคม และ แกโลก อยางนอยไมใ หเปนการเบยี ดเบียน ๒. ดานจิตใจ ในการสมั พนั ธกบั ส่งิ แวดลอมหรอื แสดงออกทกุ คร้งั จะมกี ารทาํ งานของจิตใจ และมีองค ประกอบดา นจิตเกี่ยวขอ ง เริม่ แตต องมเี จตนา ความจงใจ ตง้ั ใจ หรอื เจตจาํ นง และมแี รงจงู ใจอยา งใดอยา งหนงึ่ พรอ มท้ังมีความรสู ึกสขุ หรือทุกข สบาย หรอื ไมสบาย และปฏิกริ ยิ าตอจากสขุ -ทุกขนนั้ เชน ชอบใจ หรือไมชอบ ใจ อยากจะได อยากจะเอา หรืออยากจะหนี หรอื อยากจะทาํ ลาย ซง่ึ จะมผี ลชักนําพฤตกิ รรมทงั้ หลาย ตั้งแตจะ ใหด ูอะไร หรอื ไมดอู ะไร จะพดู อะไร จะพดู กับใครวาอยา งไร ฯลฯ ๓. ดา นปญญา ในการสมั พันธกับสงิ่ แวดลอมหรอื แสดงออกทกุ คร้ัง กต็ าม เม่ือมีภาวะอาการทางจติ ใจ อยางหนึง่ อยา งใด กต็ าม องคป ระกอบอีกดานหนง่ึ ของชีวิต คือ ความรคู วามเขา ใจ ความคิด ความเช่ือถือ เปนตน ทเี่ รียกรวมๆ วาดานปญ ญา กเ็ ขา มาเกี่ยวของ หรือมบี ทบาทดว ย เร่มิ ต้งั แตว า ถามีปญญา ก็แสดงออกและมภี าวะอาการทางจิตอยางหนงึ่ ถาขาดปญ ญา ก็แสดงออก และมภี าวะอาการทางจิตอีกอยางหนึ่ง เรามีความรคู วามเขาใจเรื่องนนั้ แคไ หน มคี วามเชื่อ มีทัศนคติ มคี วาม ยดึ ถอื อยางไร เรากแ็ สดงออกหรอื มองสิ่งนัน้ ไปตามแนวคดิ ความเขา ใจ หรือแมก ระทั่งคานิยมอยา งนน้ั ทาํ ให ชอบใจ ไมช อบใจ มสี ุขมีทกุ ขไปตามน้ัน และเมื่อเรามองเหน็ เรารู เขา ใจอยางไร แคไหน เราก็แสดงออกหรือมี พฤตกิ รรมของเราไปตามความรคู วามเขาใจ และภายในขอบเขตของความรูของเรานัน้

พุทธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 219 ถา ปญญา ความรู ความเขาใจเกิดมากขน้ึ หรือเราคดิ เปน กท็ ําใหเ ราปรบั แกพ ฤตกิ รรมและจิตใจของ เราใหม เชน เจอประสบการณทไี่ มดี เรารสู กึ ไมชอบใจ พอไมช อบใจ ก็ทุกข แตถ าเกดิ ปญ ญาคิดไดข นึ้ มาวา ส่งิ ท่ีไมดหี รือไมชอบนั้น ถาเราเรยี นรู เรากไ็ ดค วามรู พอมองในแงเ รียนรู กก็ ลายเปนไดค วามไมชอบใจหายไป กลายเปนชอบสง่ิ ท่ีเคยไมช อบ พอไดค วามรูกเ็ กิดความสขุ จากทกุ ขก ็เปลีย่ นเปน สุข ปฏกิ ริ ิยาทแ่ี สดงออกมาทาง พฤติกรรมก็เปลี่ยนไป ในชีวติ ประจําวนั หรือในการประกอบอาชพี การงาน เมื่อเจอคนหนาบึ้ง พูดไมดี ถาเรามองตามความ ชอบใจ-ไมช อบใจ ไมใชป ญ ญา เรากโ็ กรธ แตพ อใชโยนโิ สมนสกิ าร มองตามเหตุปจ จัย คิดถงึ ความเปนไปไดแ ง ตา งๆ เชน วาเขาอาจจะมเี ร่ืองทุกข ไมสบายใจอยู เพียงคิดแคน ้ี ภาวะจติ กอ็ าจจะพลิกเปลย่ี นไปเลย จากโกรธก็ กลายเปน สงสาร อยากจะชวยเขาแกป ญ หา ปญ ญาเปน ตัวชีน้ ํา บอกทาง ใหแ สงสวาง ขยายขอบเขต ปรบั แกจ ติ ใจและพฤติกรรม และปลดปลอ ย ใหห ลุดพน หนา ทสี่ ําคญั ของปญญา คอื ปลดปลอ ย ทาํ ใหเ ปน อสิ ระ ตวั อยา งงา ยๆ เพียงแคไ ปทไ่ี หน เจออะไร ถา ไมร วู าคอื อะไร ไมร ูจะปฏิบัตติ อมันอยา งไร หรอื พบปญ หา ไมรวู ิธีแกไข จติ ใจกเ็ กดิ ความอดึ อดั รูสกึ บบี ค้นั ไม สบายใจ นี่คอื ทกุ ข แตพ อปญ ญามา รูวา อะไรเปนอะไร จะทาํ อยางไร กโ็ ลง ทนั ที พฤติกรรมติดตนั อยู พอปญญา มา ก็ไปได จติ ใจอดั อ้ันอยู พอปญ ญามา กโ็ ลง ไป องคป ระกอบของชวี ติ ๓ ดานน้ี ทํางานไปดวยกัน ประสานกนั ไป และเปนเหตปุ จจัยแกกัน ไมแยกตา ง หากจากกัน การสมั พันธกบั โลกดว ยอนิ ทรยี แ ละพฤตกิ รรมทางกายวาจา (ดานท่ี ๑) จะเปนไปอยางไร ก็ข้นึ ตอ เจตนา ภาวะและคณุ สมบัตขิ องจิตใจ (ดา นที่ ๒) และทําไดภ ายในขอบเขตของปญญา (ดา นที่ ๓) ความตั้งใจและความตองการเปน ตน ของจิตใจ (ดา นที่ ๒) ตองอาศัยการส่ือทางอินทรียแ ละพฤตกิ รรม กายวาจาเปน เครอื่ งสนอง (ดา นท่ี ๑) ตอ งถูกกาํ หนดและจํากดั ขอบเขตตลอดจนปรบั เปลี่ยนโดยความเชอ่ื ถอื ความคิดเห็น และความรูค วามเขา ใจที่มอี ยูแ ละที่เพ่มิ หรือเปลย่ี นไป (ดา นที่ ๓) ปญ ญาจะทํางานและจะพัฒนาไดด ีหรือไม (ดา นท่ี ๓) ตอ งอาศยั อนิ ทรยี  เชน ดู ฟง อาศัยกายเคล่ือน ไหว เชน เดินไป จับ จัด คน ฯลฯ ใชวาจาสอื่ สารไถถ าม ไดดีโดยมีทักษะแคไ หน (ดานท่ี ๑) ตอ งอาศยั ภาวะและ คุณสมบัติของจติ ใจ เชน ความสนใจ ใฝใจ ความมีใจเขมแขง็ สูปญหา ความขยนั อดทน ความรอบคอบ มสี ติ ความมีใจสงบแนวแน มีสมาธิ หรือไมเ พยี งใด เปน ตน (ดานที่ ๒) น้คี ือการดําเนินไปของชวี ิต ทอี่ งคประกอบ ๓ ดา นทาํ งานไปดว ยกัน อาศยั กัน ประสานกนั เปนปจจยั แกก ัน ซ่ึงเปน ความจรงิ ของชีวติ นน้ั ตามธรรมดาของมัน เปนเรื่องของธรรมชาติ และจึงเปน เหตผุ ลที่บอกอยใู น ตัววา ทําไมจะตองแยกชวี ิตหรือการดาํ เนนิ ชีวิตเปน ๓ ดา น จะแบงมากหรอื นอ ยกวา น้ีไมได

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 220 เมื่อชีวติ ที่ดาํ เนนิ ไปมี ๓ ดา นอยา งน้ี การศึกษาทฝ่ี ก คนใหด าํ เนนิ ชีวิตไดดีกต็ องฝก ฝนพัฒนาที่ ๓ ดา น ของชีวิตน้นั ดังนน้ั การฝก หรอื ศกึ ษา คอื สกิ ขา จงึ แยกเปน ๓ สว น ดังท่เี รยี กวา ไตรสิกขา เพอื่ ฝกฝนพัฒนา ๓ ดา นของชีวิตนั้น ใหต รงกัน แตเ ปนการพัฒนาพรอมไปดว ยกันอยางประสานเปนระบบสัมพนั ธอ นั หนงึ่ อนั เดียว ไตรสกิ ขา: ระบบการศกึ ษา ซึ่งพฒั นาชวี ิตท่ีดาํ เนนิ ไปท้ังระบบ ในระบบการดําเนนิ ชีวติ ๓ ดา น ทีก่ ลาวแลว นัน้ เมื่อศกึ ษาฝก ชีวติ ๓ ดานนัน้ ไปแคไ หน ก็เปน อยดู ําเนิน ชีวติ ที่ดีไดเทานั้น ฝกอยางไร กไ็ ดอยา งน้ันหรอื สิกขาอยางไร ก็ไดมรรคอยา งนน้ั สกิ ขา คือการศึกษา ทฝี่ ก อบรมพัฒนาชีวติ ๓ ดา นนัน้ มีดังนี้ ๑. สกิ ขา/การฝกศึกษา ดานสัมพันธก บั สิง่ แวดลอ ม จะเปน สง่ิ แวดลอ มทางสังคม คือเพอ่ื นมนุษย ตลอดจนสรรพสตั ว หรือสง่ิ แวดลอ มทางวัตถุก็ตาม ดวยอินทรีย (เชน ตา ห)ู หรอื ดว ยกาย วาจา กต็ าม เรยี กวา ศีล (เรียกเตม็ วา อธสิ ีลสกิ ขา) ๒. สิกขา/การฝกศกึ ษา ดา นจิตใจ เรียกวา สมาธิ (เรยี กเต็มวา อธิจิตตสกิ ขา) ๓. สกิ ขา/การฝกศึกษา ดา นปญญา เรยี กวา ปญญา (เรยี กเตม็ วา อธปิ ญญาสิกขา) รวมความวา การฝก ศึกษาน้ัน มี ๓ อยาง เรยี กวา สกิ ขา ๓ หรอื ไตรสกิ ขา คอื ศลี สมาธิ ปญ ญา ซึง่ พดู ดวยถอ ยคําของคนยุคปจ จบุ ันวา เปน ระบบการศกึ ษาท่ีทําใหบุคคลพัฒนาอยางมีบรู ณาการ และใหมนษุ ย เปนองครวมทพี่ ฒั นาอยา งมดี ุลยภาพ เมือ่ มองจากแงข องสิกขา ๓ จะเหน็ ความหมายของสกิ ขาแตละอยา ง ดังน้ี ๑. ศลี คือ สิกขาหรือการศึกษาท่ฝี ก ในดา นการสมั พนั ธต ิดตอ ปฏิบตั จิ ดั การกับสิ่งแวดลอ ม ทั้งทางวตั ถุ และทางสังคม ท้งั ดว ยอินทรียต า งๆ และดว ยพฤตกิ รรมทางกาย-วาจา พูดอีกอยางหนึ่งวา การมวี ิถชี ีวิตทป่ี ลอด เวรภัยไรการเบียดเบยี น หรอื การดําเนินชวี ติ ที่เกอ้ื กลู แกสังคม และแกโ ลก ๒. สมาธิ คอื สิกขาหรือการศกึ ษาทฝ่ี กในดานจิต หรือระดับจติ ใจ ไดแ กการพฒั นาคุณสมบัตติ างๆ ของ จิต ทงั้ …ในดานคณุ ธรรม เชน เมตตา กรุณา ความมีไมตรี ความเห็นอกเหน็ ใจ ความเอื้อเฟอเผอื่ แผ ความ สุภาพออ นโยน ความเคารพ ความซ่อื สัตย ความกตญั ู ในดา นความสามารถของจติ เชน ความเขมแขง็ ม่นั คง ความเพียรพยายาม ความกลา หาญ ความขยัน ความอดทน ความรบั ผิดชอบ ความมงุ ม่ันแนว แน ความมสี ติ สมาธิ และในดา นความสขุ เชน ความมีปต ิอิ่มใจ ความมีปราโมทยร า เรงิ เบกิ บานใจ ความสดชนื่ ผอ งใส ความรู สึกพอใจ พูดส้นั ๆ วา พัฒนาคุณภาพ สมรรถภาพ และสุขภาพของจิต ๓. ปญ ญา คอื สิกขาหรอื การศกึ ษาทฝี่ ก หรอื พัฒนาในดา นการรูความจริง เร่ิมตงั้ แตค วามเช่ือท่ีมเี หตุ ผล ความเห็นที่เขาสแู นวทางของความเปนจรงิ การรูจักหาความรู การรูจ ักคดิ พจิ ารณา การรูจ ักวนิ ิจฉยั ไตรตรอง ทดลอง ตรวจสอบ ความรเู ขา ใจ ความหยั่งรูเหตผุ ล การเขา ถึงความจรงิ การนําความรมู าใชแ กไข ปญหา และคดิ การตางๆ ในทางเกือ้ กลู สรางสรรค เฉพาะอยา งยงิ่ เนน การรูตรงตามความเปน จรงิ หรือรเู หน็

พุทธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 221 ตามทีม่ นั เปน ตลอดจนรูแจง ความจริงทเ่ี ปนสากลของส่งิ ทั้งปวง จนถงึ ขั้นรเู ทา ทนั ธรรมดาของโลกและชีวติ ที่ ทาํ ใหมจี ติ ใจเปน อสิ ระ ปลอดปญ หา ไรทกุ ข เขา ถงึ อสิ รภาพโดยสมบรู ณ หลักทง้ั ๓ ประการแหงไตรสิกขา ท่ีกลาวมาน้ี เปนการศึกษาท่ฝี ก คนใหเ จริญพฒั นาขึน้ ไปในองค ประกอบทงั้ ๓ ดา นของชวี ติ ท่ีดงี าม ที่ไดก ลา วแลวขางตน ยํา้ อกี ครั้งหนึง่ วา การฝก ศกึ ษาทจ่ี ะใหมชี ีวิตท่ดี ีงาม เปนสิกขา ชวี ิตดงี ามทเี่ กดิ จากการฝกศกึ ษานัน้ เปน มรรค ระบบแหง สกิ ขา เรม่ิ ดวยจัดปรับพนื้ ทใี่ หพ รอ มทจ่ี ะทาํ งานฝก ศึกษาไตรสิกขา เปน การศกึ ษา ๓ ดา น ที่พฒั นา ชีวติ ไปพรอมกนั ทั้งระบบ แตถา มองหยาบๆ เปนภาพใหญ ก็มองเห็นเปนการฝกศกึ ษาทด่ี าํ เนนิ ไปใน ๓ ดาน/ขัน้ ตอน ตามลําดับ (มองไดทงั้ ในแงประสานกนั และเปน ปจ จยั ตอ กัน) ศีล เปนเหมือนการจดั ปรับพ้นื ทแี่ ละบริเวณแวดลอ ม ใหส ะอาดหมดจดเรียบรอยราบร่ืนแนนหนามน่ั คง มีสภาพท่ีพรอมจะทาํ งานไดค ลอ งสะดวก สมาธิ เปน เหมือนการเตรียมตัวของผูทํางานใหมเี รี่ยวแรงกําลังความถนัดจัดเจนทพ่ี รอมจะลงมือ ทาํ งาน ปญ ญา เปนเหมอื นอุปกรณที่จะใชทาํ งานน้นั ๆ ใหส าํ เรจ็ เชน จะตดั ตน ไม: ไดพ้นื เหยยี บยนั ทแ่ี นน หนามน่ั คง (ศลี ) + มีกาํ ลังแขนแข็งแรงจับมดี หรือขวานไดถ นดั มัน่ (สมาธิ) + อปุ กรณคอื มดี หรือขวานทีใ่ ชต ดั นั้นไดขนาดมคี ุณภาพดีและลับไวคมกรบิ (ปญ ญา)-ไดผลคอื ตดั ไมสาํ เร็จโดยไมย าก อกี อปุ มาหนึ่งท่ีอาจจะชวยเสริมความชดั เจน บานเรอื นท่อี ยูทีท่ ํางาน ฝาผพุ ้ืนขรขุ ระหลงั คา รวั่ รอบอาคารถนนหนทางรกรุงรงั ทง้ั เปนถ่นิ ไมปลอดภยั (ขาดศลี ) -การจดั แตง ตง้ั วางสิ่งของเครอ่ื งใช จะเตรยี ม ตัวอยหู รือทาํ งาน อดึ อัดขดั ของ ไมพ รอ มไมสบายไมม ่นั ใจไปหมด (ขาดสมาธ)ิ -การเปน อยแู ละทํางานคิดการ ทั้งหลาย ไมอ าจดาํ เนินไปไดดว ยดี (ขาดปญญา) -ชีวิตและงานไมสัมฤทธลิ์ ุจุดหมาย เนอ่ื งจากไตรสกิ ขา เปนหลักใหญทีค่ รอบคลมุ ธรรมภาคปฏบิ ตั ิทัง้ หมด ในที่น้ีจงึ มใิ ชโ อกาสที่จะอธิบาย หลักธรรมหมวดน้ีไดม าก โดยเฉพาะข้ันสมาธิและปญญาทเี่ ปนธรรมละเอียดลกึ ซงึ้ จะยงั ไมพดู เพม่ิ เติมจากท่ีได อธิบายไปแลว แตในขัน้ ศีลจะพดู เพิ่มอกี บาง เพราะเกย่ี วของกบั คนทั่วไปมาก และจะไดเปนตวั อยา งแสดงให เห็นความสมั พันธระหวา งสกิ ขาทงั้ ๓ ดานนัน้ ดว ย การฝก ศึกษาในขนั้ ศีล มหี ลกั ปฏิบัตทิ ่สี ําคัญ ๔ หมวด คือ ๑. วินัย เปน เคร่อื งมือสําคัญขัน้ แรกท่ใี ชใ นการฝก ข้นั ศีล มตี ้ังแตวนิ ยั แมบ ท ของชมุ ชนใหญนอ ย ไปจน ถงึ วนิ ยั สวนตัวในชีวติ ประจาํ วัน วินัย คอื การจัดตัง้ วางระบบระเบียบแบบแผนเก่ียวกับการดําเนนิ ชีวิต และการอยูรวมกันของหมูมนษุ ย เพอ่ื จัดปรบั เตรียมสภาพชีวติ สังคมและส่งิ แวดลอ ม รวมทงั้ ลักษณะแหง ความ สัมพนั ธต างๆ ใหอยใู นภาวะท่ีเหมาะและพรอมที่จะเปน อยูปฏบิ ัตกิ จิ และดําเนนิ การตางๆ เพอื่ กาวหนา ไปอยา ง

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 222 ไดผ ลดีที่สดุ สจู ุดหมายของชวี ิต ของบุคคล ขององคกร ของชมุ ชน ตลอดจนของสังคมท้งั หมดไมวาในระดับใดๆ โดยเฉพาะสําคัญท่สี ุด เพ่ือเอื้อโอกาสใหแ ตล ะบคุ คลฝก ศกึ ษาพฒั นาชีวติ ของเขาใหประณีตประเสริฐ ที่จะได ประโยชนสงู สุดที่จะพงึ ไดจากการที่ไดม ีชวี ติ เปนอยู วนิ ัยพ้นื ฐานหรือข้นั ตน สุดของสงั คมมนษุ ย ไดแก ขอ ปฏบิ ัตทิ ่ีจะไมใ หม กี ารเบยี ดเบยี นกัน ๕ ประการ คอื ๑. เวนการทาํ รายรางกายทาํ ลายชีวิต ๒. เวนการละเมิดกรรมสทิ ธใิ์ นทรัพยส นิ ๓. เวนการประพฤตผิ ดิ ทางเพศและละเมิดตอ คูค รองของผูอ่นื ๔. เวน การพูดเทจ็ ใหร า ยหลอกลวง และ ๕. เวน การเสพสุรายาเมาส่ิงเสพตดิ ท่ที าํ ลายสตสิ มั ปชัญญะ แลวนํา ไปสกู ารกอกรรมชั่วอยางอื่น เริม่ ตัง้ แตค กุ คามตอ ความรสู กึ ม่ันคงปลอดภัยของผรู วมสังคม ขอปฏบิ ัติพ้นื ฐานชุดน้ี ซึ่งเรียกงายๆ วา ศีล ๕ เปนหลกั ประกันทร่ี ักษาสังคมใหม ั่นคงปลอดภัย เพยี งพอ ทมี่ นษุ ยจ ะอยูรวมกันเปน ปกติสขุ และดาํ เนินชวี ิตทาํ กิจการตางๆ ใหเ ปน ไปไดด วยดีพอสมควร นบั วาเปน วนิ ยั แมบทของคฤหสั ถ หรอื ของชาวโลกทั้งหมด ไมค วรมองวินยั วาเปนการบบี บังคบั จํากดั แตพ ึงเขาใจวาวินยั เปน การจดั สรรโอกาส หรือจดั สรรสิ่งแวด ลอ มหรอื สภาวะทางกายภาพใหเ อ้ือโอกาส แกการทีจ่ ะดําเนนิ ชีวติ และกิจการตา งๆ ใหไ ดผ ลดีทสี่ ุด ต้งั แตเรอื่ ง งายๆ เชน การจดั สง่ิ ของเครือ่ งใชเ ตียงตงั่ โตะเกา อ้ีในบานใหเ ปนท่เี ปนทางทาํ ใหหยบิ งายใชค ลอ งนง่ั เดนิ ยนื นอน สะดวกสบาย การจัดเตรียมวางสงเครือ่ งมือผาตดั ของศัลยแพทย การจดั ระเบยี บจราจรบนทอ งถนน วินยั ของ ทหาร วินยั ของขาราชการ ตลอดจนจรรยาบรรณของวิชาชีพตางๆ ในวงกวา ง ระบบเศรษฐกิจ ระบบสังคม ระบบการเมืองการปกครองตลอดจนแบบแผนทกุ อยา งทอี่ ยตู วั กลายเปน วัฒนธรรม รวมอยใู นความหมายของคําวา “วนิ ัย” ท้งั ส้นิ สาระของวนิ ัย คือ การอาศัย(ความรใู น)ธรรมคอื ความจรงิ ของส่ิงทั้งหลายตามทม่ี ันเปน อยู มาจดั สรร ตงั้ วางระเบยี บระบบตางๆ ข้ึน เพอ่ื ใหม นษุ ยไดป ระโยชนสงู สดุ จากธรรมคอื ความจรงิ นัน้ เพ่อื ใหบ คุ คลจาํ นวนมาก ไดป ระโยชนจ ากธรรมที่พระองคไดต รสั รู พระพทุ ธเจาจงึ ทรงตง้ั สงั ฆะข้นึ โดย จดั วางระเบยี บระบบตา งๆ ภายในสังฆะนนั้ ใหผ ทู ส่ี มัครเขามา ไดมคี วามเปนอยู มวี ถิ ีชีวติ มกี ิจหนา ท่ี มรี ะบบ การอยรู ว มกนั การดาํ เนินกิจการงาน การสัมพนั ธก ันเองและสัมพนั ธกับบุคคลภายนอก มวี ธิ ีแสวงหาจัดสรร แบง ปน และบรโิ ภคปจ จัย ๔ และการจดั สรรสภาพแวดลอมทกุ อยา งทเี่ ออ้ื เกือ้ กลู เหมาะกัน พรอ มท้งั ปด ก้นั ชอง โหวโอกาสทีจ่ ะกอ เก้อื แกก ารท่ีเส่ือมเสียหาย ทําทุกอยา งใหอาํ นวยโอกาสมากท่ีสุด แกการท่ีแตล ะบคุ คลจะฝก ศึกษาพัฒนาตน ใหเ จริญในไตรสิกขากา วหนาไปในมรรค และบรรลุผลท่พี งึ ไดจ ากชวี ติ ทดี่ งี ามประเสริฐ เขา ถงึ

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) 223 ธรรมสงู สดุ ทั้งวิชชา วมิ ตุ ติ วิสุทธิ สนั ติ นิพพาน กบั ทั้งใหช ุมชนแหง สังฆะนน้ั เปนแหลงแผขยายธรรมและ ประโยชนสุขกวา งขวางออกไปโดยรอบและทวั่ ไปในโลก นคี้ อื วนิ ยั ของสงั ฆะ โดยนัยนี้ วนิ ยั จงึ เปนจดุ เรม่ิ ตนในกระบวนการฝก ศึกษาพัฒนามนุษยเปนกระบวนการพืน้ ฐานในการ ฝก พฤตกิ รรมทด่ี ี และจดั สรรสภาพแวดลอม ทจ่ี ะปองกนั ไมใหม ีพฤตกิ รรมทไ่ี มดี แตใหเอื้อตอ การมีพฤตกิ รรมที่ ดที ี่พึงประสงค พรอ มทัง้ ฝก คนใหค นกบั พฤตกิ รรมที่ดีจนพฤติกรรมเคยชินท่ดี ีนนั้ กลายเปนพฤตกิ รรมเคยชิน และเปน วถิ ชี วี ติ ของเขา ตลอดจนการจดั ระเบียบระบบทง้ั หลายท้ังปวงในสังคมมนษุ ยเพ่อื ใหเกิดผลเชนนั้น เม่อื ใดการฝก ศึกษาไดผ ล จนพฤตกิ รรมทีด่ ตี ามวินัย กลายเปน พฤตกิ รรมเคยชนิ อยตู ัว หรอื เปนวถิ ีชวี ติ ของบคุ คล ก็เกดิ เปนศีล ชวี ิตทัง้ ๓ ดา น การศกึ ษาทง้ั ๓ ข้นั ประสานพรอมไปดว ยกนั ๒. อินทรยี สงั วร แปลตามแบบวา การสํารวมอนิ ทรยี  หมายถงึ การใชอ นิ ทรีย เชน ตาดู หฟู ง อยา งมีสติ มิใหถกู ความโลภ ความโกรธ ความแคนเคือง ความหลง ความริษยา เปน ตน เขา มาครอบงาํ แตใชใหเ ปน ใหไ ดประโยชน โดยเฉพาะใหเ กิดปญญา รคู วามจริง และไดข อมูลขา วสาร ทจ่ี ะนาํ ไปใชใ นการแกป ญ หาและทํา การสรางสรรคต างๆ ตอ ไป ควรทราบวา โดยสรุป อินทรีย คอื ตา หู จมกู ลน้ิ กาย ใจ ทําหนาท่ี ๒ อยาง คอื ๑) หนา ทร่ี ู คือรบั รูขอมูลขา วสาร เชน ตาดู รูวา เปน อะไร วา เปน นาฬิกา เปนกลองถา ยรูป เปน ดอกไม ใบไมส เี ขียว สแี ดง สีเหลือง รปู รา งยาวสน้ั ใหญเ ลก็ หูไดย นิ เสียงวา ดัง เบา เปนถอยคําสอื่ สารวา อยา งไรเปน ตน ๒) หนาท่ีรูสกึ หรือรบั ความรูส กึ พรอ มกบั รบั รูข อมลู เราก็มีความรสู กึ ดว ย บางทีตวั เดน กลบั เปน ความ รสู ึก เชน เหน็ แลวรสู กึ สบายหรือไมส บาย ถกู ตาไมถกู ตา สวยหรอื นาเกลยี ด ถูกหูไมถกู หู เสยี งนมุ นวลไพเราะ หรือดงั แสบแกว หูรําคาญ เปนตน - หนา ท่ดี า นรู เรยี กงายๆ วา ดานเรียนรู หรอื ศกึ ษา - หนาท่ีดา นรูสึก เรยี กงายๆ วา ดา นเสพ พดู ส้นั ๆ วา อนิ ทรียทาํ หนาที่ ๒ อยาง คอื ศกึ ษา กบั เสพ ถาจะใหชีวิตของเราพฒั นา จะตอ งใชอ ินทรยี เพอ่ื รหู รือศึกษาใหมาก มนุษยท ่ีไมพัฒนา จะใชอินทรียเพื่อเสพความรูสกึ เปนสวนใหญ บางทีแทบไมใชเพ่อื การศกึ ษาเลย เมื่อ มงุ แตจะหาเสพความรสู ึกทถี่ ูกหู ถกู ตา สวยงาม สนนุ สนานบนั เทิง เปนตน ชวี ติ ก็วุนวายอยกู ับการว่ิงไลหาสง่ิ ท่ี ชอบใจ และดิ้นรนหลีกหนสี ิง่ ท่ีไมชอบใจ วนเวียนอยแู คความชอบใจ-ไมชอบใจ รัก-ชงั ติดใจ-เกลียดกลัว หลง ไหล-เบอื่ หนา ย แลวกฝ็ ากความสขุ ความทกุ ขของตนไวใหข ึ้นกบั สงิ่ เสพบริโภค ซ่งึ เม่ือเวลาผา นไป ชวี ติ ที่ไมได ฝก ฝนพฒั นา กต็ กตํา่ ดอ ยคา และไมมีอะไรทีจ่ ะใหแกโลกนี้ หรอื แกส งั คม ถา ไมม ัวหลงติดอยกู ับการหาเสพความรูส ึก ที่เปนไดแ คน กั บริโภค แตรูจกั ใชอ นิ ทรยี เพอื่ ศึกษา สนอง ความตอ งการรูห รอื ความใฝร ู กจ็ ะใชตา หู เปน ตน ไปในทางการเรียนรู และจะพัฒนาไปเรือ่ ยๆ ปญญาจะเจริญ งอกงาม ความใฝรูใฝส รางสรรคจ ะเกิดขึน้ กลายเปนนักผลติ นกั สรา งสรรค และจะไดพบกับความสุขอยางใหมๆ

พุทธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 224 ท่พี ัฒนาขยายขอบเขตและประณีตยิ่งขน้ึ พรอ มกบั ความใฝร ใู ฝส รา งสรรคทก่ี าวหนา ไป เปนผมู ชี วี ติ ทด่ี งี าม และ มคี ณุ คาแกสังคม ๓. ปจ จยั ปฏิเสวนา คอื การเสพบรโิ ภคปจ จยั ๔ รวมท้ังส่ิงของเคร่อื งใชท ัง้ หลาย ตลอดจนเทคโนโลยี ศีลในเรอ่ื งน้ี คือการฝก ศึกษาใหร จู กั ใชส อยเสพบริโภคสง่ิ ตา งๆ ดวยปญ ญาทรี่ ูเขาใจคณุ คา หรือ ประโยชนทแ่ี ทจ รงิ ของสิง่ นัน้ ๆ เรม่ิ ตง้ั แตอ าหาร กพ็ จิ ารณารเู ขา ใจความจริงวา รบั ประทานเพอ่ื เปนเครอื่ งหลอ เล้ยี งชวี ติ ใหรางกายมสี ขุ ภาพแข็งแรง ชวยใหสามารถดาํ เนินชวี ติ ที่ดงี าม อยา งทต่ี รัสไวว า ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ภิกษุในธรรมวินยั นี้ พิจารณาโดยแยบคายแลว จงึ เสพ(นงุ หม)จวี ร เทา ท่ีวา เพ่อื ปอ งกัน ความหนาว รอน สัมผสั แหง เหลอื บ ยุง ลม แดด และสตั วเลื้อยคลาน เทาที่วา เพื่อปกปดอวัยวะทคี่ วรละอาย พิจารณาโดยแยบคายแลว จงึ เสพ(ฉัน)อาหารบณิ ฑบาต มใิ ชเพอื่ สนกุ มใิ ชเพ่ือมัวเมา มิใชเพ่ือสวยงาม มใิ ชเพือ่ เดน โก แตเสพ(ฉนั ) เทาทว่ี า เพ่อื ใหรา งกายน้ีดาํ รงอยูได เพ่อื ยังชวี ิตใหเ ปน ไป เพอ่ื ระงบั ความหวิ เพอ่ื เกื้อหนุนชวี ติ ที่ประเสรฐิ ดวยการปฏิบัติดังน้ี เราจะกาํ จัดเวทนาเกา (ความไมส บายเพราะความหิว) เสยี ดว ย จะ ไมใ หเวทนาใหม (เชนความอึดอดั แนน จกุ เสียด) เกิดขน้ึ ดวย เรากจ็ ะมีชวี ิตดําเนินไป พรอ มทั้งความไมมีโทษ และความอยผู าสกุ การบริโภคดวยปญ ญาอยา งนี้ ทา นเรียกวา เปน การรูจักประมาณในการบริโภค หรือการบริโภคพอดี หรอื กินพอดี เปน การบรโิ ภคทีค่ มุ คา ไดประโยชนอ ยางแทจ รงิ ไมส นิ้ เปลอื ง ไมส ูญเปลา และไมเกิดโทษ อยางที่ บางคนกนิ มาก จายแพง แตกลับเปน โทษแกรา งกาย เม่อื จะซอ้ื หาหรือเสพบริโภคอะไรกต็ าม ควรฝก ถามตวั เองวา เราจะใชม ันเพ่ืออะไร ประโยชนท ีแ่ ทจ ริง ของสิง่ นคี้ ืออะไร แลว ซอ้ื หามาใชใ หไดประโยชนท ่แี ทจ รงิ นั้น ไมบ ริโภคเพียงดว ยตณั หาและโมหะ เพยี งแคต่นื เตนเห็นแกความโกเก เหมิ เหอไปตามกระแสคา นยิ มเปนตน โดยไมไ ดใ ชป ญ ญาเลย พึงระลึกไววา การเสพบริโภค และเรือ่ งเศรษฐกจิ ท้งั หมด เปนปจ จยั คือเปน เครื่องเก้อื หนุนการพัฒนา ชวี ติ ทด่ี งี าม ไมใชเปนจุดหมายของชวี ติ ชีวติ มใิ ชจ บท่ีนี่ ชวี ิตไมใชอยแู คนี้ เมอ่ื ปฏบิ ตั ถิ กู ตอ งตามหลกั น้ี กจ็ ะเปน คนทก่ี นิ อยเู ปน เปน ผมู ศี ลี อีกขอหนึง่ ๔. สัมมาอาชีวะ คือการหาเลย้ี งชพี โดยทางชอบธรรม ซง่ึ เปน ศลี ขอสาํ คัญอยางหนง่ึ เมือ่ นํามาจัดเขา ชุดศลี ๔ ขอนี้ และเนนสําหรับพระภกิ ษุ ทานเรียกวา “อาชวี ปาริสทุ ธิ” (ความบริสุทธ์ิแหงอาชีวะ) เปนเร่ืองของ ความสจุ รติ เกย่ี วกับ ปจ จัยปรเิ ยสนา คอื การแสวงหาปจ จัย (ตอ เนอื่ งกบั ขอ ๓ ปจ จยั ปฏิเสวนา คือการใชส อย เสพบรโิ ภคปจ จัย) ศลี ขอ นใ้ี นข้ันพ้ืนฐาน หมายถงึ การเวนจากมิจฉาชีพ ไมประกอบอาชีพทผี่ ิดกฎหมาย ผดิ ศลี ธรรม แตห าเลย้ี งชีพโดยทางสจุ รติ วาโดยสาระ คอื ไมป ระกอบอาชพี ที่เปน การเบยี ดเบยี น กอ ความเดือดรอน เสียหายแกช ีวติ อ่ืน และแกสงั คม หรือทจ่ี ะทําชีวิต จติ ใจ และสังคมใหเ ส่ือมโทรมตกต่าํ ดงั น้ันสาํ หรบั คฤหัสถ จึง มพี ทุ ธพจนแ สดงอกรณียวณิชชา คือการคา ขายทอี่ ุบาสกไมพึงประกอบ ๕ อยา ง ไดแ ก การคาอาวธุ การคา มนุษย การคา สัตวขายเพื่อฆา เอาเนือ้ การคาของเมา (รวมทั้งสิ่งเสพตดิ ท้งั หลาย) และการคายาพษิ

พุทธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 225 เมอ่ื เวน มิจฉาชพี กป็ ระกอบสัมมาชพี ซึ่งเปนการงานท่ีเปนไปเพื่อแกป ญ หาและชว ยสรางสรรคเ กอ้ื กลู แกช วี ติ และสงั คมอยา งใดอยา งหนงึ่ อันจะทาํ ใหเ กิดปติและความสขุ ไดท ุกเวลา ไมว า ระลึกนกึ ขึ้นมาคราวใด ก็ อิม่ ใจภูมใิ จวาเราไดท ําชวี ิตใหม ีคณุ คาไมวา งเปลา ซงึ่ จะเปนปจจัยหนุนใหเ จริญกา วหนา ยิ่งขึ้นไปในมรรค โดย เฉพาะระดับจติ ใจหรือสมาธิ สมั มาชพี นอกจากเปน อาชีพการงานทเ่ี ปน ประโยชนแ กช วี ติ และสังคมแลว ยังเปนประโยชนใ นดา นการ ศึกษาพัฒนาชวี ติ ของตนเองดว ย ซงึ่ ผทู ํางานควรตงั้ ใจใชเ ปน โอกาสในการพฒั นาตน เชน เปนแดนฝกฝน พฒั นาทักษะตางๆ ฝก กายวาจากิรยิ ามารยาท พัฒนาความสามารถในการส่ือสารสมั พันธกับเพ่ือนมนษุ ย ฝก ความเขมแขง็ ขยันอดทน ความมวี ินัย ความรับผิดชอบ ความมฉี นั ทะ มีสติ และสมาธิ พัฒนาความสุขในการ ทํางาน และพัฒนาดานปญญา เรียนรจู ากทกุ ส่งิ ทุกเร่ืองท่เี กี่ยวของเขา มา คิดคนแกไขปรับปรงุ การงาน และการ แกปญหาตา งๆ ทั้งน้ี ในความหมายทีล่ ึกลงไป การเลี้ยงชวี ติ ดว ยสมั มาชีพ ทา นรวมถงึ ความขยันหม่ันเพยี ร และการ ปฏบิ ตั ิใหไ ดผ ลดใี นการประกอบอาชพี ทส่ี จุ ริต เชน ทาํ งานไมใ หค ัง่ คา งอากลู เปนตน ดวย อาชพี การงานนัน้ เปน กิจกรรมทค่ี รองเวลาสว นใหญแ หงชวี ติ ของเรา ถาผูใดมโี ยนิโสมนสกิ าร คดิ ถกู ปฏบิ ตั ถิ ูก ตอ อาชีพการงานของตน นอกจากไดบ าํ เพ็ญประโยชนเ ปนอันมากแลว ก็จะไดป ระโยชนจ ากการงาน นัน้ ๆ มากมาย ทาํ ใหงานนน้ั เปนสวนแหงสกิ ขา เปน เคร่อื งฝกฝนพฒั นาชีวติ ของตนใหก า วไปในมรรคไดด วยดี การฝกศึกษาในดา นและในขนั้ ศีล ๔ ประเภท ที่กลาวมาน้ี จะตองเอาใจใสใ หความสาํ คญั กนั ใหม าก เพราะเปน ท่ีทรงตัวปรากฏตัวของวิถชี วี ิตดงี ามทเี่ รยี กวามรรค และเปนพืน้ ฐานของการกา วไปสสู ิกขาคอื การ ศกึ ษาทีส่ งู ขึ้นไป ถาขาดพน้ื ฐานน้แี ลว การศกึ ษาข้นั ตอ ไปกจ็ ะงอนแงนรวนเร เอาดีไดยาก สว นสิกขาดา นจติ หรอื สมาธิ และดา นปญญา ท่เี ปน เร่อื งลึกละเอียดกวา งขวางมาก จะยงั ไมกลาวเพิม่ จากท่ีพูดไปแลว กอนจะผา นไป มขี อควรทาํ ความเขา ใจทสี่ าํ คัญในตอนนี้ ๒ ประการ คอื ๑. ในแงไ ตรสกิ ขา หรอื ในแงความประสานกนั ของสิกขาทัง้ ๓ ไดกลา วแลว วา ชีวติ คนท้ัง ๓ ดาน คือ การสัมพันธกบั โลก จติ ใจ และความรคู วามคิด ทํางานประสานเปน ปจ จัยแกกนั ดังน้ัน การฝกศึกษาทั้ง ๓ ดาน คอื ศลี สมาธิ และปญ ญา กจ็ ึงดาํ เนินไปดว ยกัน ทพ่ี ดู วา สกิ ขา/ฝก ศึกษาข้นั ศลี นี้ มิใชหมายความวา เปนเรอ่ื งของศลี อยา งเดยี ว แตห มายความวา ศีล เปน แดนหรอื ดานท่ีเรากําลงั เขามาปฏิบตั จิ ัดการหรอื ทําการฝก อยใู นตอนนีข้ ณะน้ี แตตัวทํางานหรือองคธรรมที่ ทาํ งานในการฝก กม็ คี รบทงั้ ศลี สมาธิ และปญ ญา ถามองดูใหดี จะเหน็ ชดั วา ตวั ทาํ งานสาํ คัญๆ ในการฝก ศลี น้ี กค็ ือองคธ รรมฝายจติ หรือสมาธิ และองคธ รรมฝา ยปญญา ดูงา ยๆ กท็ ี่ศลี ขอ อินทรยี สงั วรน้นั ตัวทํางานหลักก็ คือสติ ซงึ่ เปน องคธรรมฝายจิตหรอื หมวดสมาธิ และถาการฝก ศกึ ษาตรงน้ีถกู ตอ ง กป็ ญ ญานนั่ แหละท่ที าํ งานมาก มาใชป ระโยชนและเดินหนา

พุทธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 226 พดู ดว ยภาษางา ยๆ วา ในขัน้ ศลี นี้ ธรรมฝา ยจิต/สมาธิ และปญ ญา มาทํางานกับเร่ืองรปู ธรรม ในแดน ของศีล เพอ่ื ชวยกันฝกฝนพฒั นาศีล และในการทํางานนี้ ท้ังสมาธแิ ละปญญากฝ็ ก ศกึ ษาพฒั นาตัวมันเองไป ดว ยในข้นั หรอื ดา นอน่ื ๆ ก็เชนเดยี วกนั ทั้งศีล สมาธิ และปญญา ตางกช็ วยกันรว มกันทาํ งานประสานกนั ตามบท บาทของตนๆ ๒. ในแงม รรค หรือในแงคุณสมบตั ภิ ายในของชวี ิต ขณะทมี่ ีการฝกศกึ ษาดว ยไตรสกิ ขานั้น ถา มองเขา ไปในชีวติ ทีด่ ําเนนิ อยคู อื มรรคทีร่ ับผลจากการฝก ศึกษาของสิกขา กจ็ ะเห็นวา กระบวนธรรมของการดําเนนิ ชวี ติ ก็กา วไปตามปกติของมนั โดยมีปญ ญาในช่อื วาสมั มาทฏิ ฐเิ ปน ผูนํากระบวนของชีวติ นน้ั ทงั้ ๓ ดาน สมั มาทฏิ ฐนิ ้ี มองเห็นรูเขาใจอยางไรเทาไร ก็คดิ พดู ทาํ ดําเนนิ ชีวติ ไปในแนวทางน้ันอยา งน้ันและไดแ คน ัน้ แตเ มือ่ การฝกศึกษาของไตรสกิ ขาดาํ เนินไป ปญญาชอื่ สัมมาทฏิ ฐิน้นั กพ็ ัฒนาตัวมนั เองดวยประสบ การณทงั้ หลายจากการฝก ศกึ ษานั้น เฉพาะอยา งยง่ิ ดวยการทํางานคิดวจิ ยั สืบคน ไตรตรองของสมั มาสังกปั ปะ ทาํ ใหม องเห็นรูเขา ใจกวา งลกึ ชดั เจนทั่วตลอดถึงความจรงิ ยงิ่ ขน้ึ ๆ แลวก็จดั ปรบั นํากระบวนธรรมกา วหนาเปน มรรคท่ีสมบรู ณใ กลจ ุดหมายย่งิ ขน้ึ ๆ ไปการศกึ ษาจะดาํ เนินไป มปี จ จัยชวยเกื้อหนนุ ขอยอนย้าํ วา มรรค คือการดาํ เนนิ ชวี ิตหรอื วิถชี ีวติ ที่ดี แตจ ะดาํ เนินชีวติ ดไี ดก็ตองมกี ารฝก ฝนพฒั นา ดงั น้นั จึงตองมกี ารฝก ศกึ ษาท่เี รยี กวา สกิ ขา มรรค เปนจุดหมายของ สกิ ขา การท่ใี หม ไี ตรสกิ ขา ก็เพือ่ ใหคนมชี ีวิตทเ่ี ปนมรรค และกา วไปในมรรคนน้ั ดวยการฝกตามระบบแหง ไตรสกิ ขา องค ๘ ของมรรคจะเกิดข้ึนเปน คุณสมบัตขิ องคน และเจริญพฒั นา ทําใหมชี ีวติ ดี ท่ีเปนมรรค และกา วไปในมรรคนั้น อยางไรก็ดี กระบวนการแหง สกิ ขา มใิ ชว าจะเรม่ิ ข้ึนมาและคืบหนาไปเองลอยๆ แตตอ งอาศัยปจจัยเก้ือ หนนุ หรือชว ยกระตุน เน่อื งจากปจ จัยท่วี า นเ้ี ปนตวั นาํ เขาสสู กิ ขา จึงจดั วาอยใู นข้ันกอนมรรค และการนําเขาสสู ิกขานีเ้ ปน เร่อื งสําคญั มาก ดวยเหตุนี้จึงทําใหแบง กระบวนการแหงการศกึ ษาออกเปน ๒ ข้นั ตอนใหญ คอื ข้ันนาํ เขาสู สิกขา และ ข้ันไตรสิกขา ๑. ขัน้ นาํ สสู กิ ขา หรือการศึกษาจดั ตง้ั ขัน้ กอ นท่ีจะเขาสูไตรสิกขา เรียกอีกอยา งหนง่ึ วา ข้นั กอ นมรรค เพราะมรรค หรือเรยี กใหเต็มวามรรคมี องค ๘ นน้ั ก็คือ วถิ แี หงการดําเนินชีวิต ทเ่ี กดิ จากการฝก ศกึ ษาตามหลักไตรสกิ ขานนั่ เอง เมือ่ มองในแงของมรรค ก็เริ่มจากสมั มาทิฏฐิ คอื ความเห็นชอบ ซึง่ เปนปญญาในระดับหนึง่ ปญญาในข้นั น้ี เปนความเช่ือและความเขา ใจในหลกั การท่ัวๆ ไป โดยเฉพาะความเชอื่ วา ส่งิ ท้ังหลาย เปน ไปตามเหตปุ จจยั หรอื การถอื หลักการแหงเหตุปจ จยั ซึง่ เปนความเชอื่ ที่เปน ฐานสาํ คญั ของการศึกษา ทจ่ี ะ ทาํ ใหมีการพัฒนาตอไปได เพราะเมือ่ เชื่อวาสงิ่ ทั้งหลายเปนไปตามเหตุปจจยั พอมอี ะไรเกิดขนึ้ กต็ องคดิ คน สืบ สาวหาเหตุปจ จัย และตอ งปฏบิ ตั ิใหสอดคลอ งกับเหตปุ จ จัย การศกึ ษากเ็ ดนิ หนา

พุทธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตฺโต) 227 ในทางตรงขาม ถา มที ฏิ ฐิความคดิ เห็นเชือ่ ถือท่ีผดิ กจ็ ะตดั หนทางท่ีจะพัฒนาตอไป เชน ถาเช่ือวาสิง่ ทั้ง หลายจะเปน อยา งไรก็เปนไปเองแลว แตโ ชค หรือเปน เพราะการดลบันดาล คนก็ไมต องศกึ ษาพัฒนาตน เพราะ ไมร ูจะพัฒนาไปทําไม ดงั นั้น ในกระบวนการฝก ศกึ ษาพฒั นาคน เมอื่ เร่ิมตนจงึ ตอ งมีปญญาอยบู า ง น่ันคือ ปญญาในระดับของความเชือ่ ในหลกั การที่ถกู ตอ ง ซึง่ เมอ่ื เช่ือแลวกจ็ ะนําไปสกู ารศึกษาคราวนี้ สง่ิ ทต่ี อ ง พิจารณาตอไป กค็ ือ สมั มาทิฏฐิ ซง่ึ เปน ฐานหรอื เปน จดุ เร่มิ ใหค นมกี ารศกึ ษาพฒั นาตอไปไดน้ี จะเกิดขนึ้ ในตวั บุคคลไดอยา งไร หรือทําอยา งไรจะใหบคุ คลเกิดมีสัมมาทิฏฐิ ในเร่ืองน้ี พระพทุ ธเจาไดต รัสแสดง ปจจยั แหง สัมมาทฏิ ฐิ ๒ อยา ง คือ ๑. ปจ จัยภายนอก ไดแ ก ปรโตโฆสะ ๒. ปจ จยั ภายใน ไดแ ก โยนโิ สมนสิการ ตามหลกั การนี้ การมสี มั มาทิฏฐอิ าจเริม่ จากปจ จยั ภายนอก เชน พอ แม ครอู าจารย ผใู หญ หรือวฒั น ธรรม ซึ่งทําใหบคุ คลไดร บั อทิ ธพิ ลจากความเชือ่ แนวคดิ ความเขาใจ และภมู ิธรรมภูมิปญญา ท่ถี า ยทอดตอ กัน มา ถาสง่ิ ทไ่ี ดรบั จากการแนะนําสั่งสอนถายทอดมานนั้ เปน ส่ิงทดี่ งี ามถูกตอ ง อยูในแนวทางของเหตผุ ล กเ็ ปน จดุ เริม่ ของสัมมาทฏิ ฐิ ทจ่ี ะนาํ เขา สกู ระแสการพฒั นาหรือกระบวนการฝกศกึ ษา ในกรณีอยา งน้ี สัมมาทฏิ ฐเิ กดิ จาก ปจ จยั ภายนอกที่เรียกวา ปรโตโฆสะ ถา ไมเ ชน น้ัน บคุ คลอาจเขา สกู ระแสการศกึ ษาพัฒนาโดยเกดิ ปญญาทเี่ รียกวาสมั มาทิฏฐินน้ั ดวยการ ใชโยนิโสมนสิการ คอื การรูจ ักคดิ รจู ักพิจารณาดวยตนเอง แตคนสวนใหญจ ะเขา สูก ระแสการศึกษาพัฒนาดวยปรโตโฆสะ เพราะคนทีม่ ีโยนโิ สมนสกิ ารแตแ รกเรมิ่ นน้ั หาไดยาก “ปรโตโฆสะ” แปลวา เสียงจากผอู ื่น คอื อทิ ธิพลจากภายนอก เปนคาํ ท่มี ีความหมายกลางๆ คอื อาจจะดี หรอื ชัว่ ถกู หรอื ผิดก็ได ถา ปรโตโฆสะ นั้นเปนบุคคลท่ีดี เราเรยี กวา กัลยาณมติ ร ซ่งึ เปน ปรโตโฆสะชนดิ ทมี่ คี ุณ ภาพโดยเฉพาะท่ีไดเลือกสรรกล่นั กรองแลว เพอ่ื ใหมาทํางานในดา นการศกึ ษา ถา บุคคลและสถาบันท่ีมีบทบาทสาํ คัญมากในสงั คม เชน พอแม ครอู าจารย สอ่ื มวลชน และองคก รทาง วฒั นธรรม เปน ปรโตโฆสะท่ีดี คอื เปน กัลยาณมติ ร ก็จะนาํ เดก็ ไปสูส มั มาทฏิ ฐิ ซึ่งเปน ฐานของการพัฒนาตอไป อยา งไรก็ตาม คนท่พี ฒั นาดแี ลวจะมีคุณสมบตั ทิ สี่ าํ คญั คือ พึง่ ตนไดโดยมีอิสรภาพ แตคณุ สมบตั นิ ้จี ะเกดิ ข้นึ ตอ เมือ่ เขารจู กั ใชป จ จัยภายใน เพราะถา เขายังตองอาศัยปจจัยภายนอก กค็ อื การท่ยี งั ตองพง่ึ พา ยังไมเปน อสิ ระ จงึ ยงั ไมส ามารถพึ่งตนเองได ดังน้นั จุดเนนจงึ อยทู ี่ปจ จัยภายใน แตเ ราอาศัยปจจัยภายนอกมาเปนสื่อในเบ้ืองตน เพอ่ื ชว ยชกั นาํ ใหผ ูเ รียนสามารถใชโ ยนโิ สมนสกิ าร ที่ เปนปจ จัยภายในของตัวเขาเอง เมื่อรหู ลักนี้แลว เราก็ดาํ เนินการพฒั นากลั ยาณมิตรข้ึนมาชวยชักนาํ คนใหรจู กั ใชโยนโิ สมนสิการ

พุทธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 228 นอกจากปรโตโฆสะทีเ่ ปน กัลยาณมิตร และโยนิโสมนสกิ าร ซึ่งเปน องคป ระกอบหลกั ๒ อยา งนีแ้ ลว ยงั มอี งคป ระกอบเสริมทชี่ วยเกื้อหนนุ ในขน้ั กอ นเขา สมู รรคอกี ๕ อยาง จงึ รวมท้งั หมดมี ๗ ประการ องคธรรมเกือ้ หนุนท้งั ๗ ท่กี ลาวมาน้นั มชี อื่ เรยี กวาบุพนิมติ ของมรรคเพราะเปนเครอ่ื งหมายบง บอกลว ง หนาถงึ การท่ีมรรคจะเกดิ ข้ึน หรอื เปน จุดเร่มิ ทจ่ี ะนาํ เขาสูม รรค อาจเรียกเปนภาษางา ยๆ วา แสงเงินแสงทอง ของ(วถิ ี)ชวี ิตทดี่ งี าม หรือเรียกในแงส ิกขาวา รุง อรุณของการศกึ ษา ดงั นี้ ๑. กลั ยาณมิตตตา (มีกัลยาณมติ ร=แสวงแหลง ปญ ญาและแบบอยางทดี่ )ี ไดแก ปรโตโฆสะท่ดี ี ซง่ึ เปน ปจจยั ภายนอก ท่ไี ดก ลา วแลว ๒. ศลี สมั ปทา (ทําศลี ใหถ งึ พรอม=มวี นิ ัยเปนฐานของการพัฒนาชวี ติ ) คือ ประพฤติดี มีวินยั มีระเบียบ ในการดําเนนิ ชีวติ ตงั้ อยูใ นความสุจรติ และมีความสัมพันธทางสงั คมท่ดี ีท่ีเก้อื กลู ๓. ฉนั ทสมั ปทา (ทาํ ฉนั ทะใหถงึ พรอ ม=มีจิตใจใฝรูใฝส รา งสรรค) คอื พอใจใฝร กั ในความรู อยากรใู ห จรงิ และปรารถนาจะทําสง่ิ ท้งั หลายใหดงี าม ๔. อตั ตสมั ปทา (ทําตนใหถ งึ พรอม=มงุ มน่ั ฝก ตนเต็มสดุ ภาวะทีค่ วามเปนคนจะใหถึงได) คือการทําตน ใหถงึ ความสมบูรณแ หงศักยภาพของความเปน มนษุ ย โดยมจี ิตสํานึกในการท่ีจะฝก ฝนพัฒนาตนอยูเสมอ ๕. ทิฏฐสิ ัมปทา (ทาํ ทฏิ ฐใิ หถึงพรอม=ถือหลักเหตุปจ จัยมองอะไรๆตามเหตแุ ละผล) คือ มีความเชอื่ ทม่ี ี เหตผุ ล ถือหลักความเปนไปตามเหตปุ จจัย ๖. อัปปมาทสัมปทา (ทาํ ความไมประมาทใหถ ึงพรอม=ตงั้ ตนอยใู นความไมป ระมาท) คือ มสี ตคิ รองตวั เปนคนกระตือรือรน ไมเ ฉือ่ ยชา ไมป ลอยปละละเลย โดยเฉพาะมีจติ สาํ นกึ ตระหนกั ในความเปลีย่ นแปลง ซึ่งทาํ ใหเหน็ คณุ คาของกาลเวลา และรจู ักใชเ วลาใหเปน ประโยชน ๗. โยนโิ สมนสกิ ารสมั ปทา (ทําโยนิโสมนสิการใหถ ึงพรอ ม=ฉลาดคดิ แยบคายใหไ ดประโยชนและความ จรงิ ) รจู กั คดิ รูจ กั พิจารณา มองเปน คดิ เปนเห็นส่งิ ทั้งหลายตามที่มันเปนไป ในระบบความสัมพนั ธแ หงเหตุ ปจ จยั รจู กั สอบสวนสืบคน วิเคราะหว ิจยั ใหเ ห็นความจรงิ หรอื ใหเ หน็ แงดา นทจี่ ะทาํ ใหเ ปนประโยชน สามารถ แกไ ขปญ หาและจดั ทําดําเนินการตางๆ ใหสาํ เร็จไดด ว ยวธิ ีการแหงปญ ญา ทจ่ี ะทาํ ใหพึง่ ตนเองและเปนท่พี ่งึ ของคนอื่นไดในการศกึ ษาน้นั ปจจัยตวั แรก คอื กัลยาณมิตร อาจชวยชักนํา หรอื กระตนุ ใหเ กิดปจ จัยตวั อนื่ ตั้ง แตต วั ท่ี ๒ จนถงึ ตวั ที่ ๗ การท่จี ะมกี ลั ยาณมติ รนัน้ จดั แยกไดเปน การพัฒนา ๒ ขนั้ ตอน ข้นั แรก กลั ยาณมติ รน้ัน เกิดจากผอู น่ื หรือสงั คมจดั ให ซึง่ จะทําใหเด็ก อยใู นภาวะทีเ่ ปนผรู ับและยงั มีการพึ่งพามาก ขั้นทส่ี อง เมือ่ เด็กพัฒนามากขน้ึ คอื รูจกั ใชโยนิโสมนสกิ ารแลว เด็กจะมองเหน็ คุณคา ของแหลง ความรู และนยิ มแบบอยางทดี่ ี แลว เลอื กหากลั ยาณมิตรเอง โดยรูจ กั ปรึกษาไตถ าม เลือกอานหนังสือ เลือกชมรายการ โทรทัศนทดี่ ีมปี ระโยชน เปน ตน พัฒนาการในขั้นท่ีเด็กเปนฝา ยเลือกคบหากลั ยาณมิตรเองน้ี เปนความหมายของความมกี ลั ยาณมติ รท่ี ตองการในทน่ี ้ี และเมอื่ ถึงข้ันนแ้ี ลว เดก็ จะทําหนา ท่เี ปน กัลยาณมิตรของผูอ่นื ไดดวย อันนบั เปนจุดสาํ คัญของ

พุทธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 229 การท่จี ะเปนผูม ีสว นรวมในการสรา งสรรคแ ละพัฒนาสงั คม ถาบุคคลมีปจจยั ๗ ขอ นแี้ ลว ก็เชอื่ มัน่ ไดว าเขาจะมชี ีวิตทด่ี งี าม และกระบวนการศึกษาจะเกดิ ขึน้ อยา ง แนน อน เพราะปจ จัยเหลา นเี้ ปน สว นขยายของมรรค หรือของไตรสกิ ขานั้นเอง ท่ียน่ื ออกมาเชื่อมตอ เพ่อื รบั หรอื ดึงคนเขา สูกระบวนการฝกศึกษาพฒั นา โดยเปนท้ังตวั ชักนาํ เขา สไู ตรสิกขาและเปน ตวั เรง และคอยเสรมิ ใหการ ฝกศกึ ษาของไตรสกิ ขาเดนิ หนาไปดว ยดี การศึกษา[ท่ีสงั คม]จัดตง้ั ตอ งไมบ ดบงั การศกึ ษาท่แี ทของชีวิต การศกึ ษาที่จดั ทํากันอยา งเปนงานเปน การ เปน กิจการของรัฐของสังคม กค็ อื การยอมรับความสาํ คัญ และดาํ เนนิ การในขนั้ ของ ปจ จัยขอท่ี ๑ คือ ความมีกัลยาณมิตร ทเ่ี ปน ปจ จยั ภายนอก นัน่ เอง ปจ จัยขอ ๑ นเ้ี ปน เรื่องใหญ มีความสําคัญมาก รัฐหรือสังคมนน่ั เองทาํ หนา ที่เปนกัลยาณมติ ร ดว ยการ จัดสรรและจัดเตรียมบุคลากรทีจ่ ะดาํ เนินบทบาทของกัลยาณมติ ร เชน ครอู าจารย ผูบรหิ าร พรอ มทัง้ อปุ กรณ และปจจัยเกอื้ หนนุ ตา งๆ ถงึ กับตอ งจดั เปนองคกรใหญโต ใชจ า ยงบประมาณมากมาย ถาไดก ลั ยาณมติ รท่ดี ี มีคณุ สมบัติทเ่ี หมาะ และมีความรเู ขาใจชัดเจนในกระบวนการของการศกึ ษา สํานึกตระหนักตอ หนา ทแ่ี ละบทบาทของตนในกระบวนการแหงสกิ ขาน้ัน มเี มตตา ปรารถนาดีตอชวี ิตของผู เรียนดว ยใจจริง และพรอมที่จะทําหนา ท่ีของกัลยาณมิตร กจิ การการศกึ ษาของสงั คมก็จะประสบความสําเรจ็ ดว ยดี ดงั น้ัน การสรา งสรรจดั เตรยี มกลั ยาณมติ รจึงเปน งานใหญท ่สี าํ คญั ยิ่ง ซง่ึ ควรดาํ เนนิ การใหถ กู ตอ ง อยาง จริงจัง ดวยความไมประมาท อยา งไรกด็ ี จะตองระลึกตระหนักไวต ลอดเวลาวา การพยายามจัดใหม ีปรโตโฆสะทด่ี ี ดวยการวาง ระบบองคก รและบคุ ลากรกัลยาณมิตรขึ้นทัง้ หมดน้ี แมจ ะเปนกจิ การทางสงั คมท่จี าํ เปนและสาํ คญั อยา งยง่ิ และ แมจ ะทาํ อยางดีเลศิ เพยี งใด กอ็ ยูใ นข้ันของการนําเขา สูการศกึ ษา เปน ขน้ั ตอนกอ นมรรค และเปนเรื่องของ ปจจยั ภายนอกทัง้ นั้น พดู สน้ั ๆ วาเปน การศกึ ษาจัดต้งั การศกึ ษาจดั ต้งั กค็ ือ กระบวนการชวยชักนาํ คนเขาสกู ารศกึ ษา โดยการดําเนินงานของกัลยาณมติ ร ในกระบวนการศึกษาจดั ตง้ั นี้ ผูทาํ หนาที่เปน กัลยาณมติ ร และผูท าํ งานในระบบจดั สรรปรโตโฆสกรรม/ ปรโตโฆสการ ท้งั หมด พงึ ระลกึ ตระหนักตอ หลกั การสาํ คญั บางอยาง เพือ่ ความมน่ั ใจในการทีจ่ ะปฏบิ ตั ิใหถกู ตอ ง และปอ งกันความผิดพลาด ดังตอไปน้ี -โดยหลักการ กระบวนการแหงการศึกษาดาํ เนินไปในตัวบุคคล โดยสมั พันธก ับโลก/สิง่ แวดลอ ม/ปจ จัยภาย นอก ทั้งในแงรบั เขา แสดงออก และปฏสิ ัมพนั ธ สําหรับคนสวนใหญ กระบวนการแหงการศึกษาอาศยั การโนม นําและเกอื้ หนนุ ของปจจัยภายนอกเปน อยา งมาก ถา มแี ตป จ จัยภายนอกทีไ่ มเอือ้ คนอาจจะหมกจมติดอยใู น

พุทธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตฺโต) 230 กระบวนการเสพความรูสกึ และไมเ ขา สูการศึกษา เราจงึ จดั สรรปจ จยั ภายนอก ที่จะโนมนาํ และเก้อื หนุนปจจยั ภายในทด่ี ใี หพ ฒั นาขน้ึ มา ซง่ึ จะนาํ เขาเขาสกู ารศกึ ษา และกา วไปในทางชีวิตท่เี ปน มรรค -โดยความมุงหมาย เราจัดสรรและเปนปจ จัยภายนอกในฐานะกัลยาณมติ ร ทีจ่ ะโนม นาํ ใหปจจัยภาย ในทีด่ พี ฒั นาขนึ้ มาในตวั เขาเอง และเกอื้ หนนุ ใหก ระบวนการแหงการศึกษาในตวั ของเขา พาเขากาวไปในมรรค พูดสั้นๆ วา ตัวเราที่เปนปจจยั ภายนอกนี้ จะตอ งตอ หรือจดุ ไฟปจจยั ภายในของเขาขนึ้ มาใหได ความสาํ เรจ็ อยทู ่ี เขาเกดิ มปี จจัยภายใน (โยนโิ สมนสิการ และบุพนิมติ แหงมรรคขอ อนื่ ๆ อกี ๕) ซึง่ จะนําเขาเขาสกู ระบวนการ แหงการศกึ ษา (ศีล สมาธิ ปญญา) ที่ทาํ ใหเขากาวไปในมรรค ดวยตวั เขาเอง - โดยขอบเขตบทบาท ระลึกตระหนกั ชดั ตอตาํ แหนง หนาทข่ี องตนในฐานะกัลยาณมติ ร/ปจจยั ภายนอก ทจี่ ะชวย(โนมนําเกอ้ื หนนุ )ใหเ ขาศึกษา สิกขาอยทู ีต่ วั เขา มรรคอยูในชวี ติ ของเขา เราตอ งจดั สรรและเปนปจจยั ภายนอกทีด่ ีท่ีสดุ แตปจจยั ภายนอกท่ีวา “ดีทส่ี ดุ ” นน้ั อยทู ี่หนุนเสริมปจ จยั ภายในของเขาใหพ ัฒนาอยางไดผลท่ีสดุ และ ใหเขาเดนิ ไปไดเอง ไมใ ชวาดีจนกลายเปนทาํ ใหเ ขาไมต องฝก ไมต องศึกษา ไดแตพ่งึ พาปจจัยภายนอกเร่อื ยไป คิดวา ดี แตที่แทเปน การกาวกายกดี ขวางลวงลาํ้ และครอบงาํ โดยไมร ูตัว - โดยการระวงั จุดพลาด ระบบและกระบวนการแหงการศกึ ษา ที่รัฐหรือสังคมจัดขนึ้ มาท้ังหมด เปนการ ศกึ ษาจัดตง้ั ความสาํ เรจ็ ของการศกึ ษาจดั ตัง้ น้ี อยทู ่กี ารเชอื่ มประสานหรือตอ โยง ใหเกิดมแี ละพฒั นาการศกึ ษา แทขึ้นในตวั บคุ คล อยางท่ีกลา วแลวขา งตน เร่ืองนี้ ถาไมร ะวงั จะหลงเพลนิ วา ได “จัด” การศึกษาอยา งดีท่ีสุด แตการศึกษาก็จบอยแู คก ารจัดต้ัง การศกึ ษาท่แี ทไมพัฒนาขึ้นไปในเนอ้ื ตวั ของคน แมแตการเรียนอยางมคี วาม สุข ก็อาจจะเปน ความสขุ แบบจัดตง้ั ที่เกดิ จากการจัดสรรปจจัยภายนอก ในกระบวนการของการศกึ ษาจัดตั้ง ในชั้นเรียนหรอื ในโรงรยี น เปน ตน ถึงแมนักเรยี นจะมีความสุขจรงิ ๆ ในบรรยากาศและสภาพแวดลอ มทีจ่ ัดตัง้ นั้น แตถา เดก็ ยังไมเกดิ มี ปจ จยั ภายในที่จะทาํ ใหเขาสามารถมแี ละสรา งความสขุ ได เมือ่ เขาออกไปอยกู บั ชีวิตจริง ในโลกแหง ความเปน จรงิ ท่ีไมเ ขาใครออกใคร ไมมีใครตามไปเอาอกเอาใจ หรอื ไปจัดสรรความสขุ แบบจัดตง้ั ให เขาก็จะกลายเปน คน ที่ไมมีความสุข ซาํ้ รายความสขุ ท่ีเกิดจากการจดั ต้งั น้นั อาจทําใหเ ขาเปน คนมคี วามสุขแบบพึ่งพา ทีพ่ ง่ึ ตนเองไม ไดในการทจ่ี ะมคี วามสุข ตองอาศยั การจัดตัง้ อยเู รือ่ ยไป และกลายเปน คนที่มคี วามสุขไดยาก หรือไมสามารถมี ความสขุ ไดใ นโลกแหง ความปน จริง อาจกลา วถงึ ความสมั พันธระหวา งการศกึ ษาจดั ตัง้ ของสงั คม กบั การศกึ ษาที่แทของชีวิต ทดี่ ูเหมือน ยอนแยง กนั แตตองทําใหเ ปนอยา งนน้ั จรงิ ๆ ซึ่งเปน ตัวอยา งของขอ เตือนใจไวปองกนั ความผิดพลาด ดังนี้ ๑) (ปจ จัยภายนอก) จัดสรรใหเด็กไดรับสิ่งแวดลอมและปจจัยเอื้อทกุ อยา งที่ดที ่ีสดุ ๒) (ปจ จัยภายใน) ฝกสอนใหเ ดก็ สามารถเรยี นรูอยดู เี ฟน หาคณุ คาประโยชนไดจ ากส่ิงแวดลอ มและ สภาพทุกอยา งแมแ ตท ่เี ลวรา ยทส่ี ุด

พุทธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 231 ๒. ขัน้ ไตรสิกขา หรือกระบวนการศกึ ษาทีแ่ ทของธรรมชาติ ขนั้ ตอนนี้ เปนการเขาสูก ระบวนการฝก ศึกษา ท่ีเปน กิจกรรมแหงชีวิตของแตล ะบคุ คล ในระบบแหง ไตรสกิ ขา คือ การฝกศึกษาพฒั นาความสมั พันธกับ สิ่งแวดลอม พฒั นาจิตใจ และพฒั นาปญญา ตามหลักแหง ศีล สมาธิ และปญ ญา ที่ไดพูดไปกอนนแ้ี ลว ระบบไตรสกิ ขาเพื่อการพัฒนาอยา งองคร วมในทกุ กจิ กรรม ไดก ลา วแลว วา ในกระบวนการพัฒนาของไตรสกิ ขานน้ั องคทั้ง ๓ คือ ศลี สมาธิ ปญ ญา จะทํางาน ประสานโยงสง ผลตอ กนั เปน ระบบและกระบวนการอันหนึง่ อนั เดยี ว แตเ มอ่ื มองไตรสิกขาน้ี โดยภาพรวมทเ่ี ปน ระบบใหญของการฝก กจ็ ะเห็นองค ๓ นั้นเดนขึ้นมาทีละอยาง จากหยาบแลวละเอียดประณีตขนึ้ ไป เปนชวงๆ หรอื เปนข้นั ๆ ตามลําดับ คอื ชวงแรก เดนออกมาขางนอก ทีอ่ นิ ทรียแ ละกายวาจา กเ็ ปนขน้ั ศลี ขนั้ ทส่ี อง เดนดานภายใน ทจี่ ติ ใจ กเ็ ปนข้นั สมาธิ ชว งทีส่ าม เดน ทค่ี วามรูความคิดเขา ใจ ก็เปน ข้ัน ปญญา แตใ นทกุ ข้ันนนั้ เอง องคอีก ๒ อยา งก็ทาํ งานรวมอยูดว ยโดยตลอด หลกั การท้ังหมดน้ี ไดอธิบายขา งตน แลว แตม ีเรอ่ื งท่ขี อพูดแทรกไวอ ยา งหนึง่ เพื่อเสรมิ ประโยชนใ นชวี ติ ประจําวัน คอื การทาํ งานของกระบวนการฝกศกึ ษาพฒั นา ท่อี งคท้งั สาม ท้ัง ศีล สมาธิ ปญ ญา ทํางานอยูด ว ย กนั โดยประสานสัมพนั ธเ ปนเหตปุ จ จยั แกก ัน การปฏบิ ตั ิแบบทีว่ าน้ี กค็ ือ การนาํ ไตรสิกขาเขา สกู ารพจิ ารณา ของโยนิโสมนสิการ หรือการโยนิโสมนสิการในไตรสิกขา ซ่ึงควรปฏบิ ัติใหไ ดเปน ประจํา และเปน สงิ่ ทปี่ ฏิบัติได จรงิ โดยไมย ากเลย ดงั น้ี ในการกระทาํ ทกุ ครั้งทกุ อยา ง ไมวาจะแสดงพฤตกิ รรมอะไร หรอื มีกิจกรรมใดๆ กต็ าม เราสามารถฝก ฝนพฒั นาตนและสาํ รวจตรวจสอบตนเอง ตามหลกั ไตรสิกขาน้ี ใหม กี ารศึกษาครบท้งั ๓ อยา ง ทง้ั ศลี สมาธิ และปญญา พรอมกนั ไปทุกครั้งทกุ คราว คือ เมอ่ื ทาํ อะไรก็พจิ ารณาดวู า พฤตกิ รรม หรอื การกระทาํ ของเราครง้ั น้ี จะเปนการเบยี ดเบยี น ทําใหเ กดิ ความเดือดรอนแกใ ครหรือไม จะกอใหเ กิดความเส่ือมโทรมเสยี หายอะไรๆ บางไหม หรือวาเปน ไปเพ่อื ความเก้ือกลู ชวยเหลอื สง เสริม และสรางสรรค (ศลี ) ในเวลาที่จะทําน้ี จิตใจของเราเปนอยางไร เราทาํ ดวยจิตใจท่เี หน็ แกตัว มงุ รา ยตอ ใคร ทําดวยความโลภ โกรธ หลง หรือไม หรือทาํ ดว ยเมตตา มีความปรารถนาดี ทาํ ดวยศรัทธา ทาํ ดวยสติ มีความเพียร มคี วามรบั ผิด ชอบ เปนตน และ ในขณะท่ีทาํ สภาพจติ ใจของเราเปน อยา งไร เรารอน กระวนกระวาย ขุน มัว เศรา หมอง หรือวา มีจติ ใจท่สี งบ รา เริง เบิกบาน เปน สุข เอิบอิม่ ผองใส (สมาธิ) เรื่องท่ที ําครงั้ นี้ เราทําดว ยความรคู วามเขา ใจชดั เจนดแี ลวหรอื ไม เรามองเหน็ เหตุผล รเู ขา ใจหลกั เกณฑ และความมุงหมาย มองเห็นผลดผี ลเสยี ทอ่ี าจจะเกิดขึน้ และหนทางแกไขปรบั ปรุงพรอ มดแี ลว หรือไม (ปญ ญา)

พทุ ธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 232 ดว ยวธิ ปี ฏิบัติอยา งน้ี คนทฉ่ี ลาดจงึ สามารถฝก ศกึ ษาพฒั นาตน และสํารวจตรวจสอบวัดผลการพฒั นา ตนไดเสมอตลอดทุกคร้ังทกุ เวลา เปนการบําเพญ็ ไตรสิกขาในระดบั รอบเลก็ (คอื ครบสกิ ขาท้ังสาม ในพฤตกิ รรม เดียวหรอื กจิ กรรมเดียว) พรอ มกนั น้ัน การศึกษาของไตรสิกขาในระดับข้ันตอนใหญ ก็คอยๆ พัฒนาข้นึ ไปทีละ สว นดวย ซงึ่ เมือ่ มองดภู ายนอก ก็เหมอื นศึกษาไปตามลาํ ดับทีละอยางทลี ะขั้น ยง่ิ กวา น้นั ไตรสิกขาในระดับ รอบเลก็ น้กี ็จะชวยใหก ารฝก ศึกษาไตรสิกขาในระดบั ข้ันตอนใหญยงิ่ กาวหนาไปดวยดีมากขน้ึ ในทางยอนกลบั การฝกศึกษาไตรสกิ ขาในระดับขน้ั ตอนใหญ กจ็ ะสง ผลใหการฝกศึกษาไตรสิกขาในระดับรอบเลก็ มคี วามชัด เจนและสมบูรณย ิ่งขึ้นดว ยเชนกัน ตามที่กลาวมาน้ี ตองการใหม องเห็นความสัมพันธอ ยา งองิ อาศัยซ่ึงกันและกนั ขององคประกอบทเี่ รียก วา สกิ ขา ๓ ในกระบวนการศกึ ษาและพฒั นาพฤตกิ รรม เปน การมองรวมๆ อยา งสัมพันธถงึ กนั หมด ปฏิบตั กิ ารฝก ศึกษาดว ยสิกขา แลววดั ผลดว ยภาวนา ไดอ ธิบายแลว ขางตน วา สกิ ขา ท่ีทานจดั เปน ๓ อยาง ดังท่ีเรียกวา “ไตรสิกขา” นน้ั เพราะเปน ไปตาม ความเปน จรงิ ในการปฏบิ ัติ ซึง่ เปน เรือ่ งธรรมดาแหง ธรรมชาตขิ องชีวติ นี้เอง กลาวคอื ในเวลาฝก ศกึ ษา สิกขา ๓ ดาน จะทาํ งานประสานสมั พนั ธกัน ซ่ึงในขณะหน่ึงๆ อยา งครบเต็มทีเ่ มือ่ ออกมาถงึ การสมั พันธก บั ภายนอก กม็ ี ๓ ดา น ดงั เชน ในขณะทส่ี มั พนั ธก บั สงิ่ แวดลอม ไมว า จะเปนวัตถุหรอื บุคคล ไมว าจะดวยอนิ ทรีย เชน ตา หู หรอื ดว ยกาย-วาจา (ดา นศีล) กต็ อ งมเี จตนา แรงจูงใจ และสภาพจิตอยางใดอยางหนึง่ (ดานจติ หรือสมาธิ) และ ตอ งมคี วามคิดเหน็ เชอื่ ถอื รูเขา ใจในระดบั ใดระดับหนง่ึ (ปญญา) น้เี ปนเรือ่ งของธรรมภาคปฏบิ ตั ิ ซง่ึ ตองทาํ ให สอดลอ งตรงกันกบั ระบบความเปนไปของสภาวะในธรรมชาติ แตย ังมีธรรมประเภทอนื่ ซงึ่ แสดงไวดว ยความมงุ หมายท่ีตา งออกไปโดยเฉพาะท่ีโยงกบั เรื่องสกิ ขา ๓ น้ี กค็ ือหลักภาวนา ๔ เมื่อปฏิบตั ิแลว กค็ วรจะมีการวัดหรอื แสดงผลดวย เร่ืองการศกึ ษานี้ กท็ ํานองนั้น เม่อื ฝกศึกษาดว ย สกิ ขา ๓ แลว กต็ ามมาดวยหลักท่จี ะใชวดั ผล คอื ภาวนา ๔ ตอนปฏิบตั กิ ารฝก สิกขามี ๓ แตท าํ ไมตอนวดั ผล ภาวนามี ๔ ไมเทา กนั ทาํ ไม (ในเวลาทาํ การฝก) จึง จดั เปนสิกขา ๓ และ (ในเวลาวดั ผลคนท่ไี ดร ับการฝก) จึงจัดเปนภาวนา ๔ ? อยา งที่ชแ้ี จงแลว วา ธรรมภาคปฏบิ ัติการตองจัดใหตรงสอดคลอ งกับระบบความเปนไปของธรรมชาติ แตตอนวัดผลไมต องจดั ใหต รงกันแลว เพราะวัตถปุ ระสงคอยทู จี่ ะมองดูผลท่เี กิดข้ึนแลว ซึ่งมงุ ทจ่ี ะใหเ หน็ ชดั เจน ตอนน้ถี า แยกละเอียดออกไป ก็จะยิง่ ดี นแี่ หละคอื เหตผุ ลทว่ี า หลกั วดั ผลคอื ภาวนาเพ่มิ เปน ๔ ขอใหดคู วามหมายและหัวขอของภาวนา ๔ นั้นกอน “ภาวนา” แปลวา ทําใหเจรญิ ทําใหเ ปน ทําใหม ขี ้นึ หรอื ฝก อบรม ในภาษาบาลี ทา นใหความหมายวา “วฑฒฺ นา” คือวฒั นา หรอื พัฒนา นั่นเอง ภาวนานเ้ี ปนคาํ หน่งึ ทมี่ คี วามหมายใชแ ทนกันไดกบั “สกิ ขา”

พุทธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 233 ภาวนาจัดเปน ๔ อยาง คือ ๑. กายภาวนา การพัฒนากาย คอื การมคี วามสมั พันธท ่ีเกอ้ื กูลกับสง่ิ แวดลอมทางกายภาพ หรือทาง วัตถุ ๒. ศีลภาวนา การพฒั นาศีล คอื การมีความสัมพันธท เ่ี ก้ือกูลกับสงิ่ แวดลอมทางสังคม คือเพ่ือนมนษุ ย ๓. จติ ภาวนา การพฒั นาจิต คือ การทาํ จิตใจใหเจรญิ งอกงามขึน้ ในคณุ ธรรม ความดีงาม ความเขม แข็งมน่ั คง และความเบกิ บานผอ งใสสงบสุข ๔. ปญญาภาวนา การพัฒนาปญญา คอื การเสรมิ สรา งความรูความคดิ ความเขา ใจ และการหย่ังรู ความจรงิ อยางที่กลา วแลว วา ภาวนา ๔ น้ี ใชในการวดั ผลเพ่ือดูวาดานตางๆ ของการพัฒนาชวี ติ ของคนนน้ั ได รบั การพฒั นาครบถวนหรอื ไม ดังนน้ั เพอ่ื จะดใู หชัด ทานไดแ ยกบางสวนละเอยี ดออกไปอกี สวนทแ่ี ยกออกไปอกี นี้ คอื สกิ ขาขอท่ี ๑ (ศลี ) ซึ่งในภาวนา แบง ออกไปเปน ภาวนา ๒ ขอ คือกาย ภาวนา และศลี ภาวนา ทาํ ไมจงึ แบงสิกขาขอ ศลี เปนภาวนา ๒ ขอ ? ทจี่ รงิ สกิ ขาดา นที่ ๑ คอื ศีล น้นั มี ๒ สวนอยูแลว ในตัว เม่ือจัดเปนภาวนา จึงแยกเปน ๒ ไดทันที คอื ๑. ศลี ในสวนทส่ี ัมพันธกบั สงิ่ แวดลอมทางกาย (ท่ีเรียกวา สิ่งแวดลอ มทางกายภาพ) ไดแ กความ สมั พันธก บั วตั ถหุ รอื โลกของวัตถุและธรรมชาตสิ วนอื่น ท่ไี มใชม นุษย เชน เรอ่ื งปจจัย ๔ ส่ิงท่ีเราบรโิ ภคใชสอย ทุกอยา ง และธรรมชาติแวดลอ มทว่ั ๆ ไป สว นน้แี หละ ที่แยกออกไปจดั เปน กายภาวนา ๒. ศีล ในสวนทีส่ ัมพันธกบั สิง่ แวดลอ มทางสังคม คอื บคุ คลอ่ืนในสงั คมมนษุ ยดวยกนั ไดแกความเกย่ี ว ขอ งสมั พนั ธอยรู วมกันดวยดใี นหมูมนุษย ที่จะไมเบียดเบียนกนั แตช วยเหลอื เกื้อกลู กนั สว นน้ี แยกออกไปจัดเปน ศีลภาวนา ในไตรสกิ ขา ศลี ครอบคลมุ ความสัมพันธกบั สิง่ แวดลอ ม ทงั้ ทางวตั ถหุ รือทางกายภาพ และทางสงั คม รวมไวใ นขอเดยี วกัน แตเ ม่อื จดั เปน ภาวนา ทานแยกกนั ชัดออกเปน ๒ ขอ โดยยกเรือ่ งความสมั พันธก ับส่งิ แวดลอมในโลก วัตถุ แยกออกไปเปนกายภาวนา สวนเรื่องความสัมพนั ธก ับเพอื่ นมนษุ ยในสงั คม จัดไวในขอศีลภาวนา ทาํ ไมตอนทเ่ี ปนสกิ ขาไมแยก แตตอนเปน ภาวนาจึงแยก ?อยา งที่กลาวแลว วา ในเวลาฝก หรือใน กระบวนการฝกศกึ ษา องคท งั้ ๓ อยางของไตรสกิ ขา จะทํางานประสานไปดวยกนั ในศีลท่ีมี ๒ สวน คอื ความสัมพันธกบั สิ่งแวดลอ มดา นกายภาพในโลกวัตถุ และความสมั พันธก ับ มนษุ ยในสังคมนั้น สวนทีส่ มั พันธแ ตละครั้งจะเปนอันใดอนั หน่ึงอยางเดยี ว

พุทธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตฺโต) 234 ในกรณหี นงึ่ ๆ ศีลอาจจะเปน ความสมั พันธดานท่ี ๑ (กายภาพ) หรอื ดา นที่ ๒ (สังคม) ก็ได แตตอ งอยาง ใดอยางหนงึ่ ดังนนั้ ในกระบวนการฝกศึกษาของไตรสิกขา ทม่ี ีองคประกอบท้งั สามอยางทํางานประสานเปนอัน เดยี วกนั นน้ั จงึ ตองรวมศีลท้งั ๒ สว นเปนขอ เดียว ทําใหสิกขามเี พียง ๓ คอื ศีล สมาธิ ปญญา แตในภาวนาไมม เี หตุบงั คับอยา งนัน้ จงึ แยกศีล ๒ สว นออกจากกนั เปน คนละขอ อยางชัดเจน เพ่อื ประโยชนใ นการตรวจสอบ จะไดวดั ผลดูจําเพาะใหชัดไปทลี ะอยางวา ในดานกาย ความสัมพันธก ับสภาพแวด ลอ มทางวัตถุ เชน การบรโิ ภคปจจัย ๔ เปน อยางไร ในดา นศีล ความสัมพนั ธก ับเพือ่ นมนษุ ยเปนอยางไร เปน อนั วา หลักภาวนา นิยมใชในเวลาวดั หรอื แสดงผล แตใ นการฝกศกึ ษาหรือตวั กระบวนการฝกฝน พฒั นา จะใชเ ปน ไตรสิกขา เนือ่ งจากภาวนาทานนยิ มใชใ นการวัดผลของการศึกษาหรอื การพัฒนาบคุ คล รปู ศพั ททพี่ บจึงมักเปน คําแสดงคณุ สมบตั ขิ องบุคคล คือแทนทีจ่ ะเปน ภาวนา ๔ (กายภาวนา ศลี ภาวนา จติ ภาวนา และ ปญญา ภาวนา) ก็เปล่ียนเปน ภาวิต ๔ คือ ๑. ภาวิตกาย มกี ายทพ่ี ัฒนาแลว (=มกี ายภาวนา) คือ มีความสัมพนั ธก ับสิ่งแวดลอมทางกายภาพใน ทางท่เี กอื้ กูลและไดผ ลดี เรมิ่ แตรูจกั ใชอินทรยี  เชน ตา หู ดู ฟง เปนตน อยา งมีสติ ดูเปน ฟงเปน ใหไ ดปญญา บริโภคปจ จัย ๔ และสิ่งของเครือ่ งใช ตลอดจนเทคโนโลยี อยางฉลาด ไดผลตรงเต็มตามคณุ คา ๒. ภาวิตศีล มศี ลี ที่พัฒนาแลว (=มีศลี ภาวนา) คอื มีพฤติกรรมทางสงั คมทีพ่ ัฒนาแลว ไมเ บยี ดเบียน กอความเดอื ดรอนเวรภยั ต้ังอยใู นวนิ ยั และมีอาชีวะที่สจุ ริต มีความสมั พันธทางสังคมในลกั ษณะทเี่ กอื้ กลู สรา ง สรรคแ ละสงเสรมิ สันตสิ ขุ ๓. ภาวติ จิต มจี ิตทพี่ ฒั นาแลว (=มจี ติ ภาวนา) คอื มจี ิตใจทีฝ่ กอบรมดแี ลว สมบูรณดว ยคุณภาพจติ คือ ประกอบดวยคณุ ธรรม เชน มีเมตตากรณุ า เออ้ื อารี มมี ทุ ิตา มีความเคารพ ออ นโยน ซ่อื สัตย กตัญู เปนตน สมบูรณดวยสมรรถภาพจติ คือ มีจิตใจเขม แขง็ มนั่ คง มคี วามเพียรพยายาม กลา หาญ อดทน รับผิด ชอบ มสี ติ มีสมาธิ เปนตน และสมบรู ณด ว ยสขุ ภาพจิต คือ มจี ติ ใจทรี่ า เรงิ เบิกบาน สดช่ืน เอบิ อ่มิ ผองใส และ สงบ เปน สุข ๔. ภาวติ ปญ ญา มปี ญญาทีพ่ ัฒนาแลว (=มปี ญญาภาวนา) คอื รจู ักคดิ รูจกั พจิ ารณา รจู กั วนิ ิจฉยั รจู ัก แกป ญหา และรูจ ักจัดทาํ ดาํ เนินการตางๆ ดว ยปญญาทีบ่ รสิ ทุ ธิ์ ซง่ึ มองดรู ูเขา ใจเหตุปจจัย มองเห็นสิง่ ท้ังหลาย ตามเปน จรงิ หรอื ตามทม่ี ันเปน ปราศจากอคติและแรงจงู ใจแอบแฝง เปน ผูที่กิเลสครอบงาํ บัญชาไมไ ด เปน อยู ดว ยปญ ญารเู ทาทนั โลกและชีวิต เปน อสิ ระ ไรท ุกข ผมู ภี าวนา ครบท้งั ๔ อยาง เปนภาวิต ทัง้ ๔ ดา นนแ้ี ลว โดยสมบูรณ เรียกวา \"ภาวิตัตตะ\" แปลวาผูได พฒั นาตนแลว ไดแ กพ ระอรหนั ต เปน อเสขะ คือผจู บการศกึ ษาแลว ไมตอ งศึกษาอกี ตอ ไป กถํ ภควา ภาวิตตโฺ ต ฯ ภควา ภาวิตกาโย ภาวิตสีโล ภาวิตจติ ฺโต

พุทธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 235 ภาวิตป ฺโ … [ข.ุ จู. ๓๐/๑๔๘/๗๑] พระผูมพี ระภาค ทรงเปน ภาวติ ัตต (มพี ระองคท ีท่ รงเจริญหรอื พัฒนาแลว ) อยา งไร? พระผมู ีพระภาค ทรงเปน ภาวติ กาย ภาวิตสลี ภาวิตจติ ต ภาวิตปญญา… (มีพระวรกาย มศี ีล มีจติ มปี ญญา … ทเี่ จรญิ แลว ) [ขยายความตอ ไปอีกวาทรงเจรญิ โพธปิ ก ขิยธรรม ๓๗ ประการแลว ] เทาทบ่ี รรยายมา ๒ ภาคตนนี้ เปน การแสดงระบบของพทุ ธธรรม เฉพาะสวนท่เี ปนหลกั การใหญ อันจาํ เปนสําหรบั การเขาถงึ จดุ หมายของ พระพทุ ธศาสนา จึงยังคงเหลอื ขอทจ่ี ะตองพจิ ารณาอีก ๒ เรือ่ ง คอื จดุ หมาย กบั การประยกุ ตหลกั การในสว นขอ ปฏบิ ัติตา งๆ มาใชใหเ กิดประโยชนตามความมุงหมาย ในแนวทางและกรณี ตางๆ ฉะน้ัน การบรรยายจงึ จะไดด าํ เนินตอไปอีก ๒ ภาค คือ ภาคท่ี ๓ วาดวยวิมตุ ติ หรือ ชวี ติ เมื่อถึงจุดหมายแลว แสดงถงึ ความหมายและภาวะของจดุ หมายเอง สวนหน่ึง กับคุณคา ตา งๆ ทพ่ี ิจารณาจากตัวบุคคลผเู ขา ถึงจุดหมายน้ันแลว สว นหนึ่ง ภาคที่ ๔ วาดว ยมัชฌมิ าปฏิปทาภาคประยกุ ต หรือ บคุ คลและสังคมควรดาํ รงอยูอยางไร แสดงวธิ ีที่จะ นาํ หลักการท่กี ลา วแลว ในภาคที่ ๒ มาใชป ฏบิ ตั ใิ นชวี ติ ประจาํ วนั ในการครองชีวิตของบุคคล ในการฝกอบรม บคุ คล และในการอยรู ว มกนั ของหมชู น เพ่อื ประโยชนส ขุ อนั รวมกนั สอดคลองกับแนวทางแหง ชวี ติ ทเ่ี ขา ถึงจดุ หมายนัน้ แลว ท้ัง ๒ เรอ่ื งนี้ จะไดพจิ ารณาตอไปโดยลาํ ดบั พระศรีวสิ ุทธิโมลี (ประยทุ ธ ปยตุ โฺ ต) [ปจ จบุ นั คอื พระธรรมปฎ ก (ประยุทธ ปยุตโฺ ต)] *สําหรบั ตวั อางองิ (FOOTNOTE) ตามหนา ตางๆ หากจะใสใ นโปรแกรม ณ เวลาน้ี หรือจะพิมพแทรกเขา ไปใน ระหวางหนาแตหนา เกรงวาจะเกดิ การสบั สนและยืดยาวไมตอเน่อื งในเนือ้ ความ เพราะจอคอมพิวเตอร จะ ไมเ หมอื นหนาในหนงั สอื ทสี่ ามารถเหน็ ขอมูลท้ังหมดอยูใ นหนาเดยี วกันได คณะผูจ ัดทําคาดวา จะทาํ การปรบั ปรุงโปรแกรมอีกครัง้ และนาํ ตัวอางอิง(FOOTNOTE) ซอนอยใู น เนื้อความแตละคําหรอื ประโยคนน้ั ๆเพื่อใหง ายตอการจะเรยี กดู และเนื้อความจะไมปนกับเนอื้ ความหลกั ทาํ ให การอา นหรือศึกษาไดอยางตอ เนื่อง คณะผจู ัดทาํ ๑๒ ก.ค. ๔๕


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook