Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธธรรม (ฉบับเดิม)

พุทธธรรม (ฉบับเดิม)

Published by Owent, 2020-05-14 01:59:16

Description: พุทธธรรม (ฉบับเดิม) เป็นบทธรรมของท่าน ป.อ.ปยุตโต เป็นหนังสือที่ชาวพุทธควรมีไว้ประจำบ้าน เป็นการบรรยายธรรมเพื่อให่สาธุชนอ่านเข้าใจง่ายขึ้น

Keywords: พุทธธรรม,ป.อ.ปยุตโต,หนังสือธรรม,dhamma,buddhism

Search

Read the Text Version

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 51 ภาวะจติ ที่มคี วามสุขอยา งน้ี อาจบรรยายลักษณะไดว า เปน ความ สะอาด เพราะไมม ีความรสู ึกทเ่ี ปน กเิ ลสตา งๆ เขา ไปปะปนขุนมวั สวางเพราะประกอบดวยปญ ญา มองเหน็ สิ่งทงั้ หลายตามทมี่ นั เปน เหน็ กวาง ขวางไมม ขี ีดจาํ กดั มคี วามเขา อกเขา ใจ และพรอ มท่จี ะรบั รพู จิ ารณาสงิ่ ท้งั หลายตามสภาววิสยั สงบ เพราะไมมี ความกระวนกระวาย ปลอดจากส่งิ กงั วลใจ ไมวา วนุ หวน่ั ไหว ผอนคลาย ราบเรยี บ เสรี เพราะเปน อสิ ระ ไมมสี ิ่ง ทีจ่ าํ กัดความนกึ คิด ไมมีความกีดกั้นขอ งขดั โปรงเบา ไมย ดึ ตดิ ไมคับแคบ เปด กวาง แผความรูสกึ รักใคร ปรารถนาดดี ว ยเมตตาไปยังมนุษย สัตว ท่วั หนา รับรูความทุกขของผอู น่ื ดว ยกรณุ า รว มบันเทิงใจดว ยมุทิตา ในความสุขความรงุ เรืองสาํ เร็จของคนทกุ คน และ สมบูรณ เพราะไมมคี วามรูสึกขาดแคลน บกพรอง วาเหว มี แตค วามแชมชื่นเบิกบาน เปรียบในทางรางกายเหมือนการมีสขุ ภาพดี ยอ มเปน ภาวะทีเ่ ตม็ เปยมสมบรู ณอยู ในตวั ในเมอ่ื ไมมีโรคเปนขอบกพรอง ในภาวะจิตเชน นี้ คุณธรรมทีเ่ ปนสวนประกอบสาํ คญั กค็ อื ความเปนอิสระ ไมเก่ยี วเกาะผูกพันเปนทาส และ ปญ ญา ความรค วามเขาใจตามความเปนจริง คณุ ธรรมสองอยางน้ีแสดงออกในภาวะของจติ ที่เรยี กวา อุเบกขา คือ ภาวะทีจ่ ิตราบเรียบ เปนกลาง พรอมทจ่ี ะเขาเกีย่ วขอ งจดั การกบั สิง่ ทัง้ หลายตามสภาววิสัย ตามท่ี ควรจะเปน ดว ยเหตุผลบริสทุ ธ์ิ ความสขุ ประเภทน้ี มีคุณคา สงู สุดในทางจริยธรรม เรยี กวา นิรามสิ สขุ คือความสุขทไี่ มต อ งอาศัยอามสิ ไมต อ งข้ึนตอสง่ิ ภายนอก ไมกอใหเ กดิ ปญ หา เชน ความหวงกังวล ความเบื่อหนา ย ความหวาดหว่นั การแยง ชงิ แตเ ปน ภาวะท่ีไมมีปญหาและชวยขจัดปญ หา เปน ภาวะทีป่ ระณตี ลกึ ซง้ึ ซง่ึ อาจพฒั นาไปจนถงึ ขน้ั ท่ีเกนิ กวา จะ เรียกวา เปน ความสุข จึงเรยี กงา ยๆ วา ความพนจากทกุ ข เพราะแสดงลกั ษณะเดนวาพนจากขอ บกพรองและ ความแปรปรวน ในการดํารงชีวิตของชาวโลกซึ่งตอ งเกย่ี วขอ งกบั การแสวงหาความสุขประเภททห่ี น่งึ อยูดวยเปนธรรม ดาน้นั เปนไปไมไ ดทีม่ นุษยจะไดร ับสิ่งสนองความตอ งการทกุ อยา งไดท ันใจทกุ คร้งั ตลอดทกุ เวลาสมหวงั เสมอไป และคงอยตู ลอดไป เพราะเปน เรื่องข้ึนตอปจจยั ภายนอกและมคี วามแปรปรวนไดต ามกฎธรรมชาติ จงึ เปน ความ จาํ เปนทีจ่ ะตอ งพยายามสรา งสภาพจติ อยา งท่ีเรียกวา ความสขุ ประเภททีส่ องไวดวย อยางนอ ยพอเปน พื้นฐาน ของจิตใจ ใหม ีสุขภาพจิตดีพอที่จะดํารงชวี ิตอยใู นโลกอยา งทเ่ี รียกวา สขุ สบาย มคี วามทกุ ขนอ ยทสี่ ดุ รจู กั วา ควร จะปฏิบัติตนอยางไรตอความสุขประเภทที่หน่ึงนน้ั เพื่อมใิ หกลายเปนปญหา กอ ใหเ กิดความเดอื ดรอ น ทง้ั แกต น และบุคคลอื่น สภาพจิตเชน น้จี ะสรางข้ึนไดก ด็ ว ยการรจู กั มองสิง่ ท้งั หลายตามทม่ี นั เปน เพอ่ื ความมชี วี ติ อยอู ยา ง ที่เรยี กวา ไมยึดติดถือม่ัน ซ่ึงอาศยั การรเู ทา ทนั หลกั ความจรงิ ของธรรมชาติ จนถึงข้ันอนตั ตา ๕) ในการแสวงหาความสุขประเภทที่หน่ึง ซ่งึ ตองอาศัยปจจยั ภายนอกนั้น จะตอ งยอมรบั ความ จรงิ วา เปน การเขา ไปสมั พนั ธกนั ของคสู มั พนั ธอ ยา งนอย ๒ ฝาย เชน บคุ คล ๒ คน หรือ บุคคล ๑ กับ วัตถุ ๑ เปน ตน และแตล ะฝา ยมีความทุกข มคี วามขดั แยง บกพรอ ง ไมสมบูรณแ ฝงติดตัวมาดวยกนั อยแู ลว เม่อื สิง่ ที่มี ความขดั แยง กับสงิ่ ทีม่ ีความขัดแยงมาสัมพนั ธกัน ก็ยอมมีทางท่ีจะใหเ กดิ ความขัดแยงท่ีเพิม่ ขึน้ ทงั้ ในดาน

พุทธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 52 ปรมิ าณและระดับความรนุ แรง ตามอัตราการปฏบิ ตั ทิ ี่ผดิ ตัวอยา งงายๆ ในกรณกี ารแสวงหาความสขุ น้ี เพอื่ ความสะดวก ยกฝา ยหน่งึ เปนผูเสวยความสขุ และอกี ฝา ยหนึ่งเปน ผถู ูกเสวย ท้งั ผูเ สวยและผูถกู เสวย มคี วามบกพรอ งและขัดแยงอยใู นตวั ดวยกนั อยแู ลว เชน ตัวผู เสวยเอง ไมอยูใ นภาวะและอาการท่พี รอมอยูตลอดเวลาที่จะเสวยความสุขตามความตอ งการของตน ฝายผูถกู เสวยก็ไมอยใู นภาวะและอาการทีพ่ รอ มอยตู ลอดเวลาทจี่ ะถกู เสวย ในภาวะเชน นี้ เปน ไปไมไ ดท ่ีจะไดฝ า ย เดียว โดยไมย อมเสยี บางเลย เมื่อฝายใดฝายหนึง่ หรอื ทั้งสองฝา ย ไมต ระหนกั หรือไมย อมรับความจริงนี้ ยอม ถือเอาความยดึ อยากของตนเปนประมาณ และยอ มเกดิ อาการขดั แยง ระหวา งกนั ขึ้น เรมิ่ แตค วามขดั ใจ เปน ตน ไป อนึง่ อาการทผี่ เู สวยยดึ อยากตอ ส่งิ ที่ถกู เสวยน้นั ยอมรวมไปถึงความคดิ ผกู หวงแหนไวกบั ตนและความ ปรารถนาใหค งอยใู นสภาพน้ันตลอดไปดวย อาการเหลา นี้เปนการขัดแยงตอ กระบวนการของธรรมชาติ ทเี่ ปน ไปตามกระแสแหง เหตุปจ จยั ตางๆ จึงเปนการนําตนเขาไปขวางขนื ความประสานกลมกลนื กันในกระบวน การของธรรมชาติ เม่ือดาํ รงชีวิตอยูโดยไมร ูเทาทันความเปนจรงิ เหลา น้ี ถือเอาแตความอยากความยึด คือ ตณั หาอปุ าทานเปน ประมาณ กค็ อื การเปนอยอู ยา งฝน ทอ่ื ๆ ซึง่ จะตองเกดิ ความกระทบกระทัง่ ขดั แยง บีบค้นั และผลสะทอนกลับท่เี ปนความทุกขใ นรปู ตางๆ เกิดขึ้นเปนอนั มาก ย่งิ กวานน้ั ในฐานะทีค่ สู ัมพันธท ้ังสองฝาย เปน สว นประกอบอยใู นธรรมชาติ ความสัมพนั ธระหวางกัน นอกจากจะเก่ียวขอ งไปถงึ กระบวนการธรรมชาตทิ ั้งหมดเปนสว นรวมแลว ยงั มกั มีสวนประกอบอื่นบางสวนเขา มาเกีย่ วของอยา งพเิ ศษ เปนตัวการอยางทสี่ ามอีกดวย เชน บุคคลทอ่ี ยากไดข องส่ิงเดยี วกัน เปน ตน ความยดึ อยากทถี่ ูกขัด ยอ มใหเกดิ ปฏกิ ริ ิยาแสดงความขดั แยง ออกมาระหวางกัน เชน การแขง ขนั ตอ สู แยงชิง เปน ตน เปน อาการรูปตางๆ ของความทุกข ย่ิงจดั การกับปญหาดว ยความยดึ อยากมากเทา ใด ความทกุ ขก ย็ งิ่ รนุ แรงเทา นนั้ แตถ าจัดการดว ยปญญามากเทา ใด ปญ หากห็ มดไปเทานนั้ โดยนยั นี้ จากอวชิ ชา หรือ โมหะ คอื ความไมร สู ิ่งท้งั หลายตามทีม่ นั เปน จงึ อยากไดอ ยา งเห็นแกต ัวดว ย โลภะ เมือ่ ขัดของหรือถูกขดั ขวางและไมมีปญญารูเ ทา ทนั ก็เกิดโทสะความขดั ใจและความคดิ ทาํ ลาย จาก กเิ ลสรากเหงา ๓ อยา งนี้ กเิ ลสรูปตา งๆ กป็ รากฏขึน้ มากมาย เชน ความหวงแหน ความตระหนี่ ความริษยา ความหวาดระแวง ความฟุง ซาน ความวติ กกังวล ความหวาดกลวั ความพยาบาท ฯลฯ เปนการระดมสราง ปจ จยั แหง ความขดั แยง ใหเกดิ ข้ึนในตวั มากขนึ้ ๆ และกเิ สสอนั เปนเคร่ืองหมายแหงความขดั แยงเหลา นี้ ยอม กลายเปนสิ่งสาํ หรับกีดกั้นจํากัด และแยกตนเองออกจากความประสานกลมกลืนของกระบวนการแหง ธรรม ชาติ ความขัดแยง ตอธรรมชาตินี้ ยอมสงผลรา ยสะทอ นกลบั มาบบี คนั้ กดดนั บคุ คลน้นั เอง เปนการลงโทษโดย ธรรมชาติ ทกุ ขใ นธรรมชาติ หรือสงั ขารทุกข จึงแสดงผลออกมาเปน ความทุกขท่ีรสู ึกไดในตวั คน เชน *เกดิ ความรูส ึกคบั แคบ มืด ขุนมัว อดึ อัด เรา รอน กระวนกระวาย กลัดกลุม *เกิดผลรา ยตอบคุ ลกิ ภาพ และกอ อาการทางรางกาย เชน โรคภยั ไขเจ็บ

พทุ ธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตฺโต) 53 *ความทุกขท เี่ ปนอาการตามปกตทิ างรางกายอนั เปนธรรมดาสงั ขาร เชน ความเจ็บปวดในยามปวยไข ทวคี วามรุนแรงเกินกวา ท่ีควรจะเปนตามปกติของมนั เพราะความเขาไปยึดดว ยตัณหาอปุ าทาน เปนการซา้ํ เตมิ ตนเองหนกั ย่ิงขนึ้ *เปนการกอความทุกขความขดั แยง ความคับแคบ อึดอดั ขนุ มวั ใหเกิดแกคนอนื่ ๆ ขยายวงกวางออกไป *เมอื่ คนสว นใหญใ นสงั คม แตละคน ตา งระดมสรางกิเลสข้นึ มาปด กั้นแยกตนเองดว ยความเห็นแกต ัว ความขัดแยง ตา งๆ กเ็ กดิ เพิ่มพูนมากข้นึ สงั คมกเ็ สือ่ มโทรมเดือดรอ น เพราะผลกรรมรว มกนั ของคนในสงั คม นคี้ อื กระบวนการทาํ ใหส งั ขารทกุ ข เกดิ กลายเปนทกุ ขเวทนา หรอื ความทกุ ขแ ทๆ (ทกุ ขทุกข) ข้ึนมา เพราะเขาไปเกยี่ วขอ งกบั สง่ิ ทั้งหลายดว ยอวชิ ชา มชี ีวติ อยา งฝน ทอ่ื ๆ ตอ กระบวนการธรรมชาติ และปลอยตวั ลงเปนทาสในกระแสของมนั เรยี กสัน้ ๆ วา เพราะความยึดมัน่ ถือม่ัน วถิ ีทีต่ รงขา มจากน้ี ก็คอื การเปนอยูอ ยา งรูเ ทาทันความจริง คือรจู ักสง่ิ ทงั้ หลายตามทมี่ ันเปน แลว เขา ไปเก่ียวขอ งดวยปญ ญา รูจ กั ท่จี ะปฏบิ ัติโดยประการที่วา ทุกขในธรรมชาติทเ่ี ปนไปตามสภาวะของมนั เอง ตามธรรมดาสงั ขาร จะคงเปน แตเ พยี งสังขารทกุ ขอ ยตู ามเดมิ ของมนั เทานั้น ไมก อใหเ กดิ ความขัดแยงเปนพษิ เปน ภยั มากข้นึ ทงั้ ยงั สามารถถอื เอาประโยชนจากสังขารทุกขเ หลานัน้ ดว ย โดยเมอ่ื รูว าส่งิ เหลานเ้ี ปน ทกุ ข เพราะเขา ไปยึดถอื ดวยตณั หาอปุ าทาน ก็ไมเ ขาไปยดึ ถือมนั ไมเปน อยอู ยา งฝนท่ือๆ ไมส รางกิเลสสาํ หรบั มาขดี วงจาํ กดั ตนเองใหกลายเปน ตัวการสรา งความขัดแยงข้นึ มาบีบคนั้ ตนเองมากขนึ้ พรอมกนั นน้ั กร็ ูจกั ทจ่ี ะอยอู ยา งกลมกลืนประสานกบั ธรรมชาตแิ ละเพอ่ื นมนษุ ย ดว ยการประพฤติคุณ ธรรมตา งๆ ซึง่ ทาํ ใจใหเปด กวา งและทาํ ใหเ กดิ ความประสานกลมกลนื เชน เมตตา ความรักความปรารถนาดตี อ กนั กรุณา-ความคิดชวยเหลือ มทุ ิตา-ความบนั เทิงใจในความสุขสาํ เร็จของผูอ ่ืน อเุ บกขา-ความวางใจเปนกลาง ตัดสินเหตกุ ารณตามเปนจรงิ ตามเหตุปจ จัย และราบเรยี บไมหวนั่ ไหวเพราะกระแสโลก ความสามคั คี ความรว ม มือ การชวยเหลอื บาํ เพ็ญประโยชนแกกนั ความเสยี สละ ความสํารวมตน ความอดทน ความเคารพออนนอ ม ความมวี ิจารณญาณไมห ลงใหลในเหตกุ ารณ เปนตน อันเปน คุณสมบัตติ รงขา มกบั กเิ ลสทส่ี รา งความขัดแยง และความคับแคบ เชน ความเกลยี ดชงั ความพยาบาท ความรษิ ยา ความกลัดกลมุ วนุ วายใจ ความหวงแหน ความแกงแยง แขง ดี การเห็นแกไ ด การตามใจตนเอง ความหนุ หัน ความด้อื รน้ั ความเยอ หยงิ่ ความกลวั ความ หวาดระแวง ความเกยี จครา น ความเฉือ่ ยชา ความหดหู ความมวั เมา ความลมื ตวั ความลุมหลงงมงาย เปนตน น้ีคือวิถีแหงความมีชวี ิตที่ประสานกลมกลืนในธรรมชาติ การสามารถถอื เอาประโยชนจ ากกฎธรรมชาติ หรอื ใชก ฎธรรมชาติใหเปนประโยชนไ ด การอยอู ยางไมสูญเสียอสิ รภาพ อยางที่วา อยูอ ยา งไมยดึ ม่ันถอื มน่ั ไม ขน้ึ ตอส่งิ ใด หรอื การมีชีวิตอยูดวยปญ ญา ซง่ึ ถอื วาเปนการมีชีวิตอยอู ยา งประเสรฐิ สุด ตามพุทธภาษิตวา “ปฺ าฺ ชวี ึ ชวี ิตมาหุ เสฏฐ”ํ ๓. หลกั อนัตตตา

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 54 ความรูท่ีหย่ังถึงอนตั ตตา มีคุณคาทสี่ ําคัญในทางจริยธรรม คอื ๑) ในข้ันตน ทางดา นตัณหา ชว ยลดทอนความเห็นแกต น มิใหท ําการตางๆ โดยยึดถอื แต ประโยชนต นเปน ประมาณ ทําใหมองเห็นประโยชนใ นวงกวาง ท่ไี มมตี ัวตนมาเปน เครอื่ งกีดกัน้ จาํ กดั อนง่ึ ภาวะท่สี ่ิงทั้งหลายไมมีตัวตนของมันเอง เกดิ จากสว นประกอบและเปนไปตามเหตปุ จ จัยน้นั สอน วา ส่งิ ท้งั หลายจะปรากฏรปู เปน อยางไร ยอมแลว แตก ารปรงุ แตง ดวยการกระทาํ ที่เหตุปจ จยั และชักโยงเชอ่ื ม ความสัมพนั ธใ หเ ปนไปตามความมงุ หมายและขอบเขตวิสยั ความสามารถโดยนัยน้ี จึงเปนการยา้ํ ขอ ทว่ี าบคุ คล ควรปฏบิ ัตติ อส่ิงทงั้ หลายตรงตวั เหตุปจจัย ดว ยทา ทที ี่เปน อิสระ ซง่ึ เปน วธิ ที ี่ดีท่สี ดุ ท่จี ะใหไ ดทง้ั ผลสาํ เรจ็ ตาม ความมุงหมาย และไมเกิดทกุ ขเพราะตัณหาอุปาทาน ๒) ในขนั้ กลาง ทางดา นทิฏฐิ ทาํ ใหจ ิตใจกวางขวางข้ึน สามารถเขา ไปเกย่ี วของ พจิ ารณา และจดั การกับปญหาและเรื่องราวตางๆ โดยไมเอาตวั ตน ความอยากของตน ตลอดจนความเห็น ความยึดมัน่ ถือมั่น ของตนเขา ไปขัด แตพ จิ ารณาจัดการไปตามธรรม ตามตัวเหตตุ วั ผล ตามทีม่ นั เปนของมนั หรือควรจะเปน แทๆ คือ สามารถตง้ั อเุ บกขา วางจิตเปน กลาง เขาไปเพงตามที่เปน จริง งดเวน อัตตาธปิ ไตย ปฏิบัตติ ามหลัก ธรรมาธปิ ไตย ๓) ในขั้นสงู การรูหลักอนัตตตา กค็ ือ การรสู ง่ิ ทง้ั หลายตามท่มี นั เปนอยา งแทจ ริง คือ รหู ลักความ จริงของธรรมชาตถิ ึงทีส่ ุด ความรูสมบูรณถงึ ขน้ั น้ี ทาํ ใหสลัดความยดึ มน่ั ถอื มน่ั เสยี ได ถงึ ความหลดุ พน บรรลอุ สิ ร ภาพโดยสมบูรณ อนั เปนจดุ หมายของพทุ ธธรรม อยางไรกด็ ี ความรแู จมแจงในหลกั อนัตตตา ตองอาศัยความ เขาใจตามแนวปฏจิ จสมปุ บาท และการปฏิบัติตามแนวมรรค ซ่ึงจะกลาวตอ ไป ๔) กลา วโดยทั่วไป หลักอนัตตตา พรอมทั้งหลกั อนิจจตา และหลักทุกขตาเปนเครื่องยนื ยนั ความ ถกู ตองแทจริง ของหลกั จริยธรรมอนื่ ๆ โดยเฉพาะหลกั กรรม และหลักการปฏิบตั ิเพอ่ื ความหลุดพน เชน เพราะ ส่งิ ทั้งหลายไมม ีตัวตน ความเปนไปในรูปกระแสแหง เหตปุ จ จัย ทสี่ มั พนั ธสืบตอเนอ่ื งอาศัยกนั จึงเปนไปได กรรมจงึ มไี ด และเพราะส่งิ ท้ังหลายไมม ตี วั ตน ความหลุดพนจงึ มไี ด ดังน้เี ปน ตน อยางไรกด็ ี คาํ อธิบายในเร่อื งน้ี จะตอ งพจิ ารณาตามแนวปฏิจจสมุปบาทที่จะกลาวตอ ไปชีวิตเปนไปอยา งไร ? ปฏิจจสมปุ บาท การทส่ี ิง่ ท้งั หลายอาศยั กันๆ จึงเกิดมี ตัวกฎหรือตวั สภาวะ ๑. ฐานะและความสาํ คญั ปฏิจจสมุปบาท แปลพอใหไดความหมายในเบอ้ื งตนวา การเกิดขึ้นพรอมแหงธรรมทงั้ หลายโดยอาศยั กัน การท่ีสงิ่ ทงั้ หลายอาศยั กัน ๆ จึงเกิดมขี ้ึน หรอื การทที่ ุกขเกิดขึ้นเพราะอาศัยปจจยั สมั พนั ธเกี่ยวเน่อื งกนั มา ปฏจิ จสมุปบาท เปนหลกั ธรรมอีกหมวดหนงึ่ ทพี่ ระพุทธเจาทรงแสดงในรูปของกฎธรรมชาติ หรอื หลัก ความจริงที่มีอยโู ดยธรรมดา ไมเก่ียวกบั การอบุ ตั ขิ องพระศาสดาทง้ั หลาย

พุทธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 55 พทุ ธพจนแสดงปฏจิ จสมุปบาทในรูปของกฎธรรมชาตวิ าดงั น้ี ตถาคตทั้งหลาย จะอบุ ัติหรอื ไมกต็ าม ธาตุ (หลัก) นั้น ก็ยงั คงมอี ยู เปนธรรมฐติ ิ เปน ธรรมนิยาม คอื หลกั อิทัปปจ จยตา๑ ตถาคตตรัสรู เขา ถึงหลกั นั้นแลว จงึ บอก แสดง วางเปน แบบ ต้งั เปน หลัก เปดเผย แจกแจง ทําใหเ ขาใจ งา ย และจึงตรสั วา “จงดูส”ิ “เพราะอวชิ ชาเปน ปจจยั จงึ มีสงั ขาร ฯลฯ” ภกิ ษุทัง้ หลาย ตถตา (ภาวะทเี่ ปนอยา งนั้น) อวติ ถตา (ภาวะไมคลาดเคลือ่ นไปได) อนญั ญถตา (ภาวะ ทไ่ี มเปนอยางอื่น) คือหลักอิทัปปจจยตา ดังกลาวมานี้แล เรียกวา ปฏิจจสมปุ บาท ความสําคัญของปฏจิ จสมปุ บาท จะเหน็ ไดจ ากพุทธพจนว า ผูใดเหน็ ปฏิจจสมปุ บาท ผูน ั้นเห็นธรรม ผูใดเห็นธรรม ผนู ั้นเหน็ ปฏิจจสมุปบาท ภกิ ษุท้งั หลาย แทจริง อริยสาวกผไู ดเรยี นรแู ลว ยอ มมีญาณหย่งั รใู นเร่อื งน้ี โดยไมต อ งเช่ือผอู ืน่ วา เมอื่ ส่ิงนี้มี สง่ิ นจ้ี งึ มี เพราะสง่ิ น้ีเกิดข้ึน สิง่ นี้จึงเกิดขึน้ ฯลฯ เมอ่ื ใด อรยิ สาวกรทู ั่วถึงความเกิดและความดับของโลกตามที่มันเปนอยางน้ี อริยสาวกนี้ เรยี กวาเปน ผู มีทฏิ ฐิสมบรู ณ ก็ได ผมู ีทัศนะสมบรู ณก ไ็ ด ผลู ุถึงสทั ธรรมน้ี กไ็ ด ผูป ระกอบดว ยเสขญาณ ก็ได ผูประกอบดว ย เสขวิชชา กไ็ ด ผบู รรลกุ ระแสธรรมแลว กไ็ ด พระอรยิ ะผูม ีปญญาชาํ แรกกิเลส กไ็ ด ผอู ยชู ิดประตูอมตะ ก็ได สมณะหรือพราหมณเหลา ใดเหลา หน่งึ รจู กั ธรรมเหลาน้ี รูจ ักเหตุเกดิ แหงธรรมเหลานี้ รูจกั ความดบั แหง ธรรมเหลา นี้ รจู ักทางดําเนนิ ถงึ ความดับแหง ธรรมเหลาน้ี ฯลฯ สมณะหรือพราหมณเหลานน้ั แล จงึ ยอมรับได วา เปน สมณะในหมูส มณะ และยอมรับไดว า เปนพราหมณในหมูพราหมณ และจึงไดชอื่ วา ไดบรรลปุ ระโยชน ของความเปน สมณะ และประโยชนของความเปนพราหมณ ดว ยปญ ญาอันย่งิ เอง เขาถึงอยใู นปจ จุบนั อยางไรก็ดี มพี ทุ ธพจนตรสั เตือนไว ไมใหป ระมาทหลกั ปฏจิ จสมุปบาทนีว้ า เปน หลักเหตุผลทเ่ี ขาใจงาย เพราะเคยมเี รือ่ งพระอานนทเ ขาไปกราบทูลพระองคแ ละไดตรสั ตอบดงั น้ี นาอศั จรรย ไมเ คยมมี าเลย พระเจา ขา หลกั ปฏจิ จสมปุ บาทน้ี ถึงจะเปนธรรมลกึ ซ้งึ และปรากฏเปน ของ ลึกซึ้ง ก็ยังปรากฏแกขาพระองค เหมอื นเปนธรรมงายๆ อยากลาวอยา งนน้ั อยา กลาวอยา งนนั้ อานนท ปฏจิ จสมุปบาทน้ี เปน ธรรมลึกซงึ้ และปรากฏเปน ของ ลึกซึง้ เพราะไมรู ไมเขา ใจ ไมแทงตลอดหลกั ธรรมขอ น้ีแหละ หมูสัตวน ี้จงึ วุน วายเหมอื นเสน ดา ยทีข่ อดกัน ยุง จึงขมวดเหมอื นกลมุ เสนดา ยท่ีเปน ปม จงึ เปนเหมือนหญา มงุ กระตา ย และหญา ปลอ ง จึงผานพน อบาย ทคุ ติ วินิบาต สังสารวฏั ไปไมได ผศู ึกษาพุทธประวัตแิ ลว คงจําพทุ ธดําริเมือ่ ครง้ั หลงั ตรสั รูใหมๆ กอ นเสดจ็ ออกประกาศพระศาสนาไดว า คร้ังนั้น พระพุทธเจาทรงนอ มพระทยั ไปในทางท่จี ะไมท รงประกาศธรรม ดงั ความในพระไตรปฎ กวา

พุทธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 56 ภกิ ษทุ งั้ หลาย เราไดมคี วามดําริเกดิ ข้ึนวา : ธรรมที่เราไดบรรลุแลว น้ีเปนของลึกซึ้ง เหน็ ไดย าก รูตามได ยาก สงบระงับ ประณตี ไมเ ปนวิสัยแหงตรรก ละเอียด บัณฑิตจึงจะรูได ก็แหละ หมูประชาน้ี เปน ผเู ริงรมยอ ยูดวยอาลัย ยินดีอยใู นอาลยั ระเรงิ อยูในอาลัย สําหรับหมูประชา ผเู ริงรมย รน่ื ระเริงอยใู นอาลยั (เชน นี)้ ฐานะอันนีย้ อมเปนสิ่งทเ่ี หน็ ไดยาก กลาวคือ หลักอทิ ปั ปจจยตาปฏจิ จส มปุ บาท ถงึ แมฐานะอันนี้ ก็เปน สงิ่ ที่เห็นไดยาก กลาวคือ ความสงบแหง สงั ขารท้ังปวง ความสลดั อุปธทิ ง้ั ปวง ความสนิ้ ตณั หา วิราคะ นโิ รธ นพิ พาน ก็ถา เราพึงแสดงธรรม และคนอื่นไมเ ขา ใจซ้ึงตอ เรา ขอนนั้ ก็จะพงึ เปน ความเหน็ดเหน่อื ยเปลา แกเรา จะพึงเปนความลําบากเปลา แกเ รา พุทธดาํ รติ อนนี้ กลา วถึงหลกั ธรรม ๒ อยาง คือ ปฏจิ จสมุปบาท และนิพพาน เปนการย้าํ ทัง้ ความยาก ของหลกั ธรรมขอ น้ี และความสําคญั ของหลักธรรมน้ี ในฐานะเปน สง่ิ ที่พระพุทธเจาตรัสรูและจะทรงนํามาสง่ั สอนแกหมปู ระชา ๒. ตวั บทและแบบความสัมพนั ธ ในหลักปฏจิ จสมปุ บาท พุทธพจนท ีเ่ ปนตวั บทแสดงหลกั ปฏจิ จสมุปบาทนั้น แยกไดเปน ๒ ประเภท คือทีแ่ สดงเปน กลางๆ ไม ระบชุ ่อื หัวขอปจจัย กับที่แสดงเจาะจงระบชุ อื่ หัวขอ ปจจัยตา งๆ ซึ่งสบื ทอดตอ กันโดยลาํ ดับเปนกระบวนการ อยา งแรก มกั ตรสั ไวนาํ หนา อยางหลงั เปนทาํ นองหลกั กลาง หรอื หลักทวั่ ไป สว นอยางหลงั พบไดม ากมาย และ สวนมากตรสั ไวลวนๆ โดยไมมี อยา งแรกอยูด ว ย อยา งหลังน้ี อาจเรยี กไดว าเปน หลกั แจงหัวขอ หรือขยายความ เพราะแสดงราย ละเอยี ดใหเหน็ หรอื เปนหลกั ประยุกต เพราะนาํ เอากระบวนการธรรมชาตมิ าแสดงใหเห็นความหมายตามหลัก ท่วั ไปน้นั อน่ึง หลกั ทั้ง ๒ อยางนนั้ แตละอยางแบงออกไดเ ปน ๒ ทอน คอื ทอนแรกแสดงกระบวนการเกดิ ทอน หลังแสดงกระบวนการดบั เปนการแสดงใหเ หน็ แบบความสมั พนั ธ ๒ นยั ทอนแรกท่ีแสดงกระบวนการเกดิ เรียกวา สมุทัยวาร และถอื วา เปนการแสดงตามลําดบั จงึ เรียกวา อนุโลมปฏจิ จสมปุ บาท เทียบในหลักอรยิ สจั เปนขอที่ ๒ คอื ทุกขสมทุ ัย ทอ นหลังที่แสดงกระบวนการดับ เรียกวา นโิ รธวาร และถือวาเปนการแสดงยอนลําดบั จึงเรยี กวา ปฏโิ ลมปฏิจจสมปุ บาท เทยี บในหลักอริยสจั เปน ขอที่ ๓ คือ ทุกขนิโรธ แสดงตัวบททัง้ ๒ อยาง ดงั น้ี ๑) หลักท่วั ไป เมอื่ ส่งิ นมี้ ี สิ่งนีจ้ งึ มี ก. อมิ สฺมึ สติ อิทํ โหติ อมิ สฺสปุ ฺปาทา อทิ ํ อุปปฺ ชชฺ ติ เพราะสง่ิ นเี้ กิดข้นึ สง่ิ นีจ้ งึ เกดิ ขึ้น ข. อิมสฺมึ อสติ อิทํ น โหติ เม่อื สงิ่ น้ีไมม ี สิ่งน้ีกไ็ มมี อิมสสฺ นิโรธา อทิ ํ นิรุชฌฺ ติ เพราะสง่ิ น้ดี บั ไป ส่ิงน้กี ็ดับ (ดวย)

พุทธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 57 พิจารณาตามรูปพยญั ชนะ หลักทวั่ ไปน้ี เขา กับช่อื ทเ่ี รยี กวา อทิ ัปปจ จยตา ๒) หลักแจงหัวขอ หรอื หลกั ประยุกต ก.อวชิ ชฺ าปจฺจยา สงฺขารา เพราะอวชิ ชาเปน ปจ จัย สังขารจงึ มี สงฺขารปจฺจยา วิฺาฺ ณํ เพราะสงั ขารเปน ปจจยั วญิ ญาณจึงมี วิ ฺฺาณปจจฺ ยา นามรูปเพราะวญิ ญาณเปนปจจัย นามรปู จงึ มี นามรูปปจฺจยา สฬายตนํเพราะนามรูปเปนปจจัย สฬายตนะจึงมี สฬายตนปจจฺ ยา ผสโฺ ส เพราะสฬายตนะเปนปจ จัย ผสั สะจึงมี ผสสฺ ปจจฺ ยา เวทนา เพราะผัสสะเปนปจ จัย เวทนาจึงมี เวทนาปจฺจยา ตณหฺ า เพราะเวทนาเปน ปจ จยั ตณั หาจึงมี ตณหฺ าปจฺจยา อปุ าทานํ เพราะตัณหาเปนปจจยั อปุ าทานจงึ มี อุปาทานปจฺจยา ภโว เพราะอุปาทานเปนปจ จยั ภพจงึ มี ภวปจจฺ ยา ชาติ เพราะภพเปน ปจจยั ชาตจิ ึงมี ชาตปิ จจฺ ยา ชรามรณํ เพราะชาตเิ ปน ปจ จยั ชรามรณะจึงมี .....….......................................................................................... โสกปริเทวทุกขฺ โทมนสสฺ ุปายาสา สมภฺ วนฺติ ความโศก ความครํา่ ครวญ ทุกข โทมนสั และความคบั แคนใจ จึงมพี รอม เอวเมตสสฺ เกวลสสฺ ทกุ ขฺ กขฺ นฺธสฺส สมุทโย โหติ ความเกดิ ขน้ึ แหงกองทุกขทั้งปวงนี้ จึงมีได ดวยประการฉะน้ี ข. อวิชฺชาย ตเฺ วว อเสสวริ าคนิโรธา เพราะอวิชชาสาํ รอกดบั ไปไมเ หลือ สงขฺ ารนิโรโธ สงั ขารจงึ ดับ สงขฺ ารนิโรธา วิ ฺฺาณนิโรโธ เพราะสังขารดบั วญิ ญาณจงึ ดับ วิ ฺาฺ ณนโิ รธา นามรูปนิโรโธ เพราะวญิ ญาณดบั นามรูปจึงดบั นามรูปนโิ รธา สฬายตนนโิ รโธ เพราะนามรูปดบั สฬายตนะจึงดับ สฬายตนนโิ รธา ผสสฺ นิโรโธ เพราะสฬายตนะดับ ผัสสะจึงดบั ผสสฺ นิโรธา เวทนานโิ รโธ เพราะผัสสะดับ เวทนาจึงดับ เวทนานโิ รธา ตณหฺ านโิ รโธ เพราะเวทนาดบั ตัณหาจึงดบั ตณฺหานโิ รธา อปุ าทานนิโรโธ เพราะตัณหาดบั อุปาทานจงึ ดบั อปุ าทานนโิ รธา ภวนิโรโธ เพราะอปุ าทานดบั ภพจึงดบั ภวนโิ รธา ชาตนิ โิ รโธ เพราะภพดับ ชาติจงึ ดบั ชาตนิ โิ รธา ชรามรณํ เพราะชาติดับ ชรามรณะ (จึงดับ)

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 58 ................................................................................................... โสกปรเิ ทวทุกฺขโทมนสสฺ ปุ ายาสา นิรุชฌฺ นตฺ ิ ความโศก ความคร่าํ ครวญ ทกุ ข โทมนัส ความคับแคน ใจ กด็ ับ เอวเมตสสฺ เกวลสฺส ทกุ ขฺ กฺขนธฺ สฺส นิโรโธ โหติ ความดบั แหงกองทกุ ขทงั้ มวลนี้ ยอ มมีดวยประการฉะน้ี ขอใหส งั เกตวา คําสรปุ ปฏิจจสมุปบาทนี้ บง วา เปน กระบวนการเกิดขึ้นและดบั ไปแหง ความทกุ ข ขอ ความเชน นี้ เปนคาํ สรุปสวนมากของหลักปฏิจจสมุปบาท ที่ปรากฏในท่ีทว่ั ไป แตบางแหงสรปุ วา เปน การเกิดขึน้ และสลายหรือดบั ไปของโลกก็มี โดยใชคาํ บาลวี า “อยํ โข ภกิ ขฺ เว โลก สสฺ สมทุ โย-น้แี ล ภิกษทุ ้งั หลาย คือความเกิดขึน้ แหง โลก” “อยํ โข ภิกขฺ เว โลกสสฺ อตฺถงคฺ โม-น้แี ล ภกิ ษุทัง้ หลาย คือความสลายตวั แหง โลก” หรอื วา “เอวมยํ โลโก สมทุ ยต-ิ โลกนย้ี อ มเกดิ ขึ้นดวยอาการอยา งนี้” “เอวมยํ โลโก นิ รชุ ฌฺ ต-ิ โลกนย้ี อ มดบั ไปดวยอาการอยา งน้ี” อยา งไรก็ดี วาโดยความหมายทีแ่ ทจรงิ แลว คําสรุปทั้งสองอยา งน้ี ไดค วามตรงกนั และเทา กนั ปญ หาอยู ท่ีความหมายของศพั ท ซึง่ จะตองทาํ ความเขาใจกนั ตอไป ปฏจิ จสมุปบาทนี้ ในคมั ภีรอภิธรรมและคัมภีรรุน อรรถกถา มีชอ่ื เรยี กอีกอยา งหนงึ่ วา ปจจยาการ ซึง่ แปลวา อาการท่สี งิ่ ท้งั หลายเปนปจจยั แกกัน ในหลักทีแ่ สดงเตม็ รปู อยา งในท่นี ้ี องคป ระกอบทั้งหมดมจี ํานวน ๑๒ หวั ขอ องคประกอบเหลา นเี้ ปน ปจ จยั เนอื่ งอาศยั สืบตอกนั ไปเปน รปู วงเวียน ไมม ตี น ไมมีปลาย คือไมมตี ัวเหตุเรม่ิ แรกท่สี ุด (มูลการณ หรอื the First Cause) การยกเอาอวิชชาตง้ั เปนขอ ที่หนึ่ง ไมไดห มายความวา อวชิ ชาเปนเหตเุ ริม่ แรกหรือมลู การณข อง สิ่งทง้ั หลาย แตเปนการตงั้ หัวขอ เพ่อื ความสะดวกในการทําความเขาใจ โดยตัดตอนยกเอาองคประกอบอนั ใด อันหนง่ึ ที่เห็นวา เหมาะสมทส่ี ุดขึน้ มาตั้งเปน ลาํ ดบั ที่ ๑ แลว ก็นับตอ ไปตามลําดับ บางคราวทานปอ งกนั มใิ หมกี ารยดึ เอาอวชิ ชาเปนมูลการณ โดยแสดงความเกิดของอวชิ ชาวา “อวิชชา เกิด เพราะอาสวะเกดิ อวิชชาดบั เพราะ อาสวะดบั -อาสวสมุทยา อวิชฺชาสมุทโย อาสวนโิ รธา อวชิ ฺชานโิ รโธ” องคป ระกอบ ๑๒ ขอ ของปฏจิ จสมุปบาทนัน้ นับต้งั แตอวชิ ชา ถึง ชรามรณะเทา นน้ั (คือ อวชิ ชา - สังขาร - วิญญาณ - นามรูป - สฬายตนะ - ผัสสะ - เวทนา - ตณั หา - อปุ าทาน - ภพ - ชาติ - ชรามรณะ) สวน โสกะ ปรเิ ทวะ ทุกข โทมนัส อปุ ายาส (ความคับแคนใจ) เปน เพยี งตวั พลอยผสม เกดิ แกผูม ีอาสวกิเลสเม่อื มีชรา มรณะแลว เปนตวั การหมกั หมมอาสวะ ซึง่ เปน ปจจัยใหเ กิดอวิชชา หมุนวงจรตอไปอกี ในการแสดงปฏจิ จสมุปบาทแบบประยกุ ต พระพทุ ธเจา มิไดต รัสตามลําดับ และเต็มรูปอยา งน้ี (คอื ชกั ตนไปหาปลาย) เสมอไป การแสดงในลาํ ดบั และเต็มรปู เชน น้ี มักตรสั ในกรณเี ปน การแสดงตัวหลกั

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 59 แตในทางปฏบิ ตั ิ ซึง่ เปน การเร่มิ ตน ดวยเง่อื นปญหา มักตรสั ในรปู ยอ นลําดบั (คือชกั ปลายมาหาตน) เปน ชรามรณะ - ชาติ - ภพ - อปุ าทาน - ตณั หา - เวทนา - ผัสสะ - สฬายตนะ - นามรปู - วญิ ญาณ - สังขาร - อวชิ ชา ในทางปฏบิ ตั ิเชน นี้ การแสดงอาจเร่ิมตน ทอี่ งคป ระกอบขอหนง่ึ ขอใดในระหวา งกไ็ ด สดุ แตอ งคป ระกอบ ขอ ไหนจะกลายเปนปญหาทถี่ กู หยิบยกขนึ้ มาพิจารณา เชน อาจจะเรมิ่ ที่ชาติ ท่เี วทนา ที่วิญญาณ อยา งใด อยา งหนงึ่ แลว เช่อื มโยงกันขึน้ มาตามลาํ ดับจนถงึ ชรามรณะ (ชักกลางไปหาปลาย) หรอื สืบสาวยอนลาํ ดบั ลงไป จนถึงอวิชชา (ชกั กลางมาหาตน ) ก็ไดหรอื อาจเร่ิมตนดว ยเรื่องอ่นื ๆ ที่มิใชช ือ่ ใดชือ่ หน่งึ ใน ๑๒ หัวขอน้ี แลวชกั เขา มาพิจารณาตามแนวปฏิจจสมปุ บาทกไ็ ด โดยนยั นี้ การแสดงปฏิจจสมุปบาท จึงไมจ าํ เปน ตอ งครบ ๑๒ หวั ขออยางขา งตน และไมจําเปนตอ งอยู ในรปู แบบท่ตี ายตวั เสมอไป ขอ ควรทราบที่สําคญั อกี อยา งหนง่ึ คอื - ความเปนปจ จัยแกก ันขององคประกอบเหลานี้ มใิ ชมีความหมายตรงกบั คาํ วา “เหต”ุ ทีเดียว เชน ปจจัยใหต น ไมงอกขน้ึ มิใชหมายเพียงเมล็ดพืช แตห มายถงึ ดนิ นาํ้ ปยุ อากาศ อุณหภูมิ เปนตน เปน ปจ จัยแต ละอยา ง และ - การเปน ปจจยั แกกันนี้ เปนความสัมพันธท ไ่ี มจาํ ตอ งเปน ไปตามลําดบั กอ นหลังโดยกาละหรือเทศะ เชน พน้ื กระดาน เปน ปจจยั แกการต้ังอยูของโตะ เปน ตน ๓. การแปลความหมายหลักปฏจิ จสมปุ บาท หลักปฏจิ จสมุปบาทนี้ ถกู นํามาแปลความหมายและอธบิ ายโดยนยั ตา งๆ ซงึ่ พอสรุปเปน ประเภทใหญๆ ไดดังนี้ ๑. การอธบิ ายแบบแสดงววิ ัฒนาการของโลกและชีวิต โดยการตคี วามพุทธพจนบ างแหงตามตัว อกั ษร เชน พุทธดาํ รสั วา โลกสมทุ ัย เปนตน ๒. การอธบิ ายแบบแสดงกระบวนการเกิด-ดับแหงชวี ติ และความทุกขของบคุ คล ซง่ึ แยกไดเ ปน ๒ นัย ๑) แสดงกระบวนการชว งกวา งระหวา งชวี ติ ตอ ชีวิต คอื แบบขาม ภพขา มชาติ เปน การแปลความหมายตามรูปศัพทอ กี แบบหนง่ึ และเปน วิธอี ธิบายทพ่ี บท่วั ไปในคมั ภรี ร ุนอรรถกถา ซง่ึ ขยาย ความหมายออกไปอยา งละเอยี ดพิสดาร ทําใหก ระบวนการนีม้ ี ลักษณะเปน แบบแผน มีขน้ั ตอนและคําบัญญัติเรียกตางๆ จน ดสู ลับซบั ซอ นแกผ เู รม่ิ ศึกษา

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตฺโต) 60 ๒) แสดงกระบวนการท่หี มนุ เวยี นอยตู ลอดเวลาในทกุ ขณะของ การดํารงชีวิต เปนการแปลความหมายทแ่ี ฝงอยูในคาํ อธบิ าย นยั ท่ี ๑) นน่ั เอง แตเ ลง็ เอานยั อนั ลึกซึง้ หรือนัยประยุกตข อง ศพั ท ตามทเี่ ขา ใจวาเปนพุทธประสงค (หรอื เจตนารมณของ หลักธรรม) เฉพาะสวนท่เี ปนปจจบุ ัน วิธีอธิบายนัยนย้ี นื ยันตัว เองโดยอา งพุทธพจนในพระสตู รไดหลายแหง เชน ใน เจตนาสตู ร ทกุ ขนโิ รธสตู ร และโลกนิโรธสตู ร เปน ตน ในพระอภิธรรม มบี าลแี สดงกระบวนการแหง ปฏจิ จสมปุ บาททั้งหมด ทเ่ี กดิ ครบถว นในขณะจิตเดยี วไว ดว ย จดั เปน ตอนหน่งึ ในคมั ภีรทีเดยี ว ในการอธบิ ายแบบท่ี ๑ บางคร้ังมีผูพยายามตีความหมายหลักปฏิจจสมุปบาทใหเ ปนทฤษฎแี สดงตน กําเนิดของโลก โดยถือเอาอวิชชาเปนมลู การณ (the First Cause) แลว จงึ ววิ ฒั นาการตอมาตามลําดบั หวั ขอ ทง้ั ๑๒ นนั้ การแปลความหมายอยางนี้ ทําใหเ ห็นไปวาคําสอนในพระพุทธศาสนามสี ว นคลายคลงึ กบั ศาสนาและ ระบบปรัชญาอนื่ ๆ ที่สอนวา มีตัวการอันเปนตน เดิมสดุ เชน พระผสู ราง เปน ตน ซ่ึงเปนตน กาํ เนิดของสตั วและสงิ่ ทงั้ ปวง ตางกันเพียงวา ลทั ธิที่มีพระผสู รา ง แสดงกําเนิดและความเปนไปของโลกในรปู ของการบันดาลโดย อาํ นาจเหนอื ธรรมชาติ สวนคําสอนในพระพุทธศาสนา (ทต่ี ีความหมายอยา งน)้ี แสดงความเปน ไปในรูป วิวฒั นาการตามกระบวนการแหงเหตปุ จจยั ในธรรมชาติเอง อยา งไรกด็ ี การตคี วามหมายแบบนย้ี อ มถกู ตดั สินไดแ นนอนวา ผิดพลาดจากพทุ ธธรรม เพราะคาํ สอน หรือหลักลทั ธใิ ดกต็ ามที่แสดงวา โลกมมี ูลการณ (คือเกิดจากตัวการทเี่ ปนตนเคา เดมิ ทีส่ ดุ ) ยอ มเปน อันขัดตอ หลัก อิทปั ปจ จยตา หรอื หลักปฏจิ จสมุปบาทน้ี หลกั ปฏิจจสมุปบาทแสดงเหตุผลเปน กลางๆ วา ส่งิ ท้ังหลายเปน ปจจยั เนือ่ งอาศยั กัน เกิดสืบตอ กนั มาตาม กระบวนการแหง เหตปุ จ จัยอยางไมมีทส่ี ้นิ สุด มูลการณเปน สิง่ ท่ีเปน ไปไมได ไมว า จะในรูปพระผูส รางหรือสิ่งใดๆ ดว ยเหตุนี้ การแปลความหมายหลกั ปฏจิ จสมปุ บาทใหเ ปน คาํ อธบิ ายววิ ฒั นาการของโลกและชวี ิต จงึ เปนที่ยอมรับไดเฉพาะในกรณีทีเ่ ปนการอธิบายใหเห็นความคลค่ี ลายขยายตวั แหง กระบวนการธรรมชาตใิ นทาง ที่เจรญิ ขนึ้ และทรดุ โทรมเสื่อมสลายลงตามเหตปุ จ จัย หมนุ เวียนกันเร่ือยไป ไมม เี บ้ืองตน ไมมีเบือ้ งปลาย เหตุผลสําคัญอยา งหนงึ่ สําหรบั ประกอบการพิจารณาวา การแปลความหมายอยางใดถกู ตอ ง ควรยอม รบั หรอื ไม ก็คอื พุทธประสงคใ นการแสดงพุทธธรรม ซึ่งตองถือวา เปน ความมงุ หมายของการทรงแสดงหลัก ปฏจิ จสมุปบาทดวย ในการแสดงพทุ ธธรรมนน้ั พระพทุ ธเจาทรงมงุ หมายและสง่ั สอนเฉพาะส่งิ ท่ีจะนาํ มาใชปฏบิ ัตใิ หเ ปน ประโยชนในชวี ิตจรงิ ได เกยี่ วของกับชีวิตการแกไขปญ หาชวี ติ และการลงมอื ทาํ จริงๆ ไมทรงสนบั สนนุ การ

พทุ ธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) 61 พยายามเขาถึงสจั ธรรมดว ยวธิ ีครุนคดิ และถกเถยี งหาเหตผุ ลเกย่ี วกับปญหาทางอภปิ รัชญา ซงึ่ เปน ไปไมไ ด ดว ย เหตุนี้ การกําหนดความเปน พุทธธรรม จงึ ตองอาศยั การพิจารณาคุณคา ทางจริยธรรมประกอบดว ย ในกรณีการแปลความหมายแบบววิ ัฒนาการชนิดหมุนเวยี นไมม ีตนปลายนน้ั แมจะพงึ ยอมรบั ได ก็ยัง จัดวามีคุณคาทางจริยธรรม (คือคุณคาในทางปฏบิ ัตเิ พือ่ ประโยชนแกช วี ิตจริง)นอย คอื ไดเ พียงโลกทัศนห รอื ชวี ทัศนอยา งกวา งๆ วา ความเปน ไปของโลกและชีวติ ดาํ เนนิ ไปตามกระแสแหง เหตุผล ขนึ้ ตอ เหตุปจ จัยในกระบวน การของธรรมชาติเอง ไมม ผี สู รา งผบู ันดาล และไมเ ปน ไปลอยๆ โดยบังเอิญ ในความเขา ใจท่ถี กู ตอ งตามหลักพุทธธรรม คณุ คาทางจรยิ ธรรมอยางสาํ คญั ทีจ่ ะเกิดขนึ้ คือ ๑. ความเชื่อหรอื ความรตู ระหนกั วา ผลท่ตี องการ ไมอาจใหสาํ เร็จดว ยความหวงั ความปรารถนา การ ออ นวอนตอ พระผูสรา ง หรืออาํ นาจเหนือธรรมชาติใดๆหรอื ดว ยการรอคอยโชคชะตาความบงั เอญิ แตต อ งสาํ เรจ็ ดว ยการลงมือกระทํา คอื บคุ คลจะตอ งพึ่งตนดว ยการทาํ เหตปุ จ จัยท่ีจะใหผลสําเร็จท่ตี องการน้ันเกิดข้นึ ๒. การกระทําเหตปุ จจัยเพอื่ ใหไ ดผลท่ีตองการ จะเปน ไปไดตอ งอาศัยความรคู วามเขาใจในกระบวน การของธรรมชาติน้นั อยางถกู ตอ ง ปญ ญาจงึ เปนคุณธรรมสาํ คัญ คอื ตอ งเกี่ยวของและจัดการกับส่งิ ทัง้ หลาย ดว ยปญ ญา ๓. การรเู ขา ใจในกระบวนการของธรรมชาติ วา เปน ไปตามกระแสแหงเหตุปจ จยั ยอ มชว ยลดหรอื ทาํ ลายความหลงผิดทีเ่ ปนเหตใุ หเ ขา ไปยึดมัน่ ถือมัน่ ในสิ่งท้งั หลายวา เปนตัวตนของตนลงได ทาํ ใหเขาไปเกยี่ ว ขอ งกบั สิ่งทงั้ หลายอยา งถกู ตอ งเปนประโยชนต ามวตั ถุประสงค โดยไมก ลบั ตกไปเปน ทาสของส่งิ ทเ่ี ขาไปเก่ียว ขอ งนัน้ เสีย ยังคงเปน อสิ ระอยไู ด โลกทศั นและชวี ทัศนท ก่ี ลาวน้ี แมจ ะถกู ตอ งและมคี ณุ คา ตรงตามความมุงหมายของพทุ ธธรรมทุก ประการ ก็ยังนบั วา หยาบ ไมห นกั แนน และกระชั้นชดิ พอทีจ่ ะใหเ กดิ คุณคาทั้ง ๓ ประการน้ัน (โดยเฉพาะ ประการที่ ๓) อยา งครบถว นและแนนอน เพือ่ ใหก ารแปลความหมายแบบนีม้ ีคณุ คา สมบรู ณยงิ่ ข้นึ จะตอ งพิจารณากระบวนการหมุนเวียนของ ธรรมชาติ ใหช ดั เจนถึงสวนรายละเอียดยิง่ กวา นี้ คอื จะตอ งเขา ใจรเู ทาทนั สภาวะของกระบวนการน้ี ไมวา ณจดุ ใดกต็ ามท่ีปรากฏตัวใหพ ิจารณาเฉพาะหนาในขณะน้นั ๆ และมองเหน็ กระแสความสบื ตอเนอ่ื งอาศยั กนั แหง เหตุ ปจจัยทงั้ หลาย แมใ นชวงสนั้ ๆ เชนนั้นทุกชว ง เม่อื มองเหน็ สภาวะแหงสงิ่ ท้ังหลายตอหนาทุกขณะโดยชัดแจง เชน น้ี คุณคา ๓ ประการน้นั จึงจะเกิดขึ้นอยางครบถว นแนน อน และยอมเปน การครอบคลมุ ความหมายแบบ ววิ ัฒนาการชว งยาวเขาไวใ นตัวไปดว ยพรอมกนั ในการแปลความหมายแบบที่ ๑ ท่กี ลา วมาท้ังหมดน้ี ไมวา จะเปนความหมายอยางหยาบหรอื อยาง ละเอยี ดกต็ าม จะเห็นวา การพิจารณาเพงไปท่ีโลกภายนอก คือเปนการมองออกไปขางนอก สวนการแปลความ หมายแบบที่ ๒ เนนหนกั ทางดานชวี ิตภายใน สิ่งท่พี จิ ารณาไดแกกระบวนการสืบตอแหง ชีวิตและความทกุ ขข อง บุคคล เปน การมองเขา ไปขางใน

พทุ ธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 62 การแปลความหมายแบบท่ี ๒ นัยที่ ๑ เปนแบบที่ยอมรับและนําไปอธบิ ายกนั มากในคมั ภรี ร ุน อรรถ กถาท้ังหลาย มรี ายละเอียดพิสดาร และมีคาํ บัญญตั ิตา งๆ เพม่ิ อกี มากมาย เพ่อื แสดงกระบวนการใหเ หน็ เปน ระบบทีม่ ีขัน้ ตอนแบบแผนชัดเจนย่งิ ขึน้ แตในเวลาเดยี วกนั กอ็ าจทําใหเ กิดความรสู กึ ตายตวั จนกลายเปน ยดึ ถอื แบบแผน ตดิ ระบบข้นึ ได พรอมกับที่กลายเปนเรอ่ื งลึกลับซับซอ นสําหรบั ผูเริ่มศึกษา ในที่นจ้ี ึงจะไดแยกไป อธบิ ายไวต างหากอีกตอนหน่ึง สว นความหมายตามนยั ที่ ๒ ก็มลี ักษณะสมั พนั ธก ับนยั ที่ ๑ ดวย จงึ จะนาํ ไป อธบิ ายไวในลาํ ดบั ตอ กนั ๔. ความหมายโดยสรปุ เพื่อความเขาใจเบ้อื งตน เพอ่ื ความเขาใจอยา งงายๆ กวา งๆ ในเบอื้ งตน เหน็ วา ควรแสดงความหมายของปฏิจจสมุปบาทไวโดย สรุปครั้งหน่งึ กอน ความหมายของ “ทกุ ข” คาํ สรปุ ของปฏจิ จสมปุ บาท แสดงใหเ หน็ วา หลกั ปฏจิ จสมุปบาททัง้ หมด เปน กระบวนการเกิด-ดบั ของ ทกุ ข หรอื หลักปฏจิ จสมปุ บาททัง้ หมด มคี วามมุงหมายเพ่อื แสดงความเกดิ -ดับของทุกข คําวา “ทกุ ข” มคี วามสาํ คญั และมีบทบาทมากในพุทธธรรม แมในหลกั ธรรมสาํ คัญอื่นๆ เชน ไตรลักษณ และอริยสัจ กม็ ีคําวา ทุกขเปน องคประกอบทีส่ าํ คญั จึงควรทาํ ความเขาใจในคําวา ทกุ ขกนั ใหชัดเจนกอน ในตอนตน เมอ่ื พดู ถึงไตรลักษณ ไดแสดงความหมายของทุกขไ วสน้ั ๆ คร้งั หนึ่งแลว แตใ นทน่ี ้ี ควร อธิบายเพม่ิ เตมิ อกี ครงั้ หนงึ่ เมือ่ ทําความเขา ใจคาํ วาทกุ ขในพทุ ธธรรม ใหสลดั ความเขาใจแคบๆ ในภาษาไทยท้งิ เสียกอ น และ พิจารณาใหมตามความหมายกวางๆ ของพทุ ธพจนท่แี บง ทกุ ขตา เปน ๓ อยาง พรอมดว ยคาํ อธิบายในอรรถ กถา ดังนี้ ๑. ทกุ ขทกุ ขตา ทกุ ขท่เี ปน ความรสู กึ ทุกข คือ ความทุกขก ายทกุ ขใจ อยางที่เขา ใจกันโดยสามญั ตรงตามชื่อ ตามสภาพ ท่ีเรยี กกันวา ทุกขเวทนา (ความทกุ ขอยางปกติ ทเ่ี กดิ ข้นึ เมอื่ ประสบ อนิฏฐารมณ หรอื สงิ่ กระทบกระทงั่ บบี ค้ัน) ๒. วิปริณามทุกขตา ทุกขเนื่องดว ยความผนั แปร หรอื ทกุ ขทเี่ นื่องใน ความผันแปรของสุข คือความสขุ ทก่ี ลายเปน ความทุกข หรอื ทํา ใหเ กดิ ทุกข เพราะความแปรปรวนกลับกลายของมนั เอง (ภาวะท่ี ตามปกติ ก็สบายดีเฉยอยู ไมร สู กึ ทกุ ขอ ยางใดเลย แตครั้นได เสวยความสขุ บางอยาง พอสขุ นัน้ จางลงหรือหายไป ภาวะเดมิ ท่ี

พุทธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 63 เคยรสู กึ สบายเปน ปกตินั้น กลบั กลายเปน ทุกขไ ป เสมือนเปน ทกุ ขแฝง ซงึ่ จะแสดงตวั ออกมาในทนั ทที คี่ วามสุขนนั้ จดื จางหรอื เลอื นลางไป ย่งิ สุขมากขนึ้ เทา ใด ก็กลับกลายเปนทกุ ขรนุ แรง มากข้นึ เทานั้น เสมือนวา ทุกขทีแ่ ฝงขยายตวั ตามขึ้นไป ถาความ สขุ นั้นไมเกิดข้ึน ทุกขเพราะสุขนน้ั ก็ไมม ี แมเ มอื่ ยงั เสวยความสขุ อยู พอนกึ วา สขุ น้ันอาจจะตองส้นิ สุดไป ก็ทุกขดวยหวาดกงั วลใจ หายไหวหวนั่ ) ๓. สงั ขารทุกขตา ทุกขตามสภาพสังขาร คอื สภาวะของตัวสงั ขาร เอง หรอื ส่ิงท้งั หลายทัง้ ปวงทเี่ กิดจากเหตุปจจัย ไดแก ขนั ธ ๕ (รวมถึง มรรค ผล ซ่งึ เปน โลกตุ ตรธรรม) เปนทกุ ข คอื เปน สภาพที่ถกู บบี ค้นั ดวยปจ จัยที่ขดั แยง มกี ารเกดิ ขึน้ และการ สลายหรอื ดบั ไป ไมม คี วามสมบูรณใ นตวั ของมันเอง อยใู นกระแส แหง เหตปุ จจัย จึงเปนสภาพซึ่งพรอมท่จี ะกอ ใหเกดิ ทุกข (ความรู สกึ ทกุ ขห รือทกุ ขเวทนา) แกผ ูไมร ูเทาทันตอ สภาพและกระแส ของมนั แลว เขาไปฝน กระแสอยา งทอื่ ๆ ดว ยความอยากความยึด (ตัณหาอุปาทาน) อยางโงๆ (อวิชชา) ไมเขาไปเกยี่ วของและ ปฏบิ ตั ติ อ มนั ดวยปญ ญา ทุกขข อสาํ คัญคือขอท่ี ๓ แสดงถงึ สภาพของสงั ขารทง้ั หลายตามทม่ี ันเปน ของมันเอง แตสภาพน้ีจะกอ ใหเกดิ ความหมายเปน ภาวะในทางจิตวิทยาขึน้ กไ็ ด ในแงท ่วี า มนั ไมอาจใหค วามพึงพอใจโดยสมบรู ณ๒ และ สามารถกอใหเ กดิ ทกุ ขไดเ สมอ แกผ เู ขาไปเกย่ี วขอ งดวยอวิชชาตัณหาอุปาทาน สิง่ ทั้งหลาย คือกระแสเหตุปจจัย มิใชม ตี วั ตนทีเ่ ที่ยงแทเปน จรงิ หลกั ปฏจิ จสมุปบาท แสดงใหเห็นอาการทสี่ ง่ิ ท้งั หลายสมั พนั ธเ น่อื งอาศัยเปนเหตปุ จจัยตอ กนั อยา งเปน กระแส ในภาวะทเี่ ปนกระแสน้ี ขยายความหมายออกไปใหเ หน็ แงต า งๆ ได คือ - สงิ่ ทง้ั หลายมีความสมั พนั ธเนอ่ื งอาศยั เปน ปจ จยั แกก ัน - สงิ่ ทัง้ หลายมีอยโู ดยความสัมพันธ - ส่งิ ท้งั หลายมีอยดู วยอาศัยปจ จยั - ส่ิงทั้งหลายไมมีความคงที่อยูอยา งเดมิ แมแตข ณะเดียว - ส่งิ ทัง้ หลาย ไมม ีอยูโ ดยตวั ของมันเอง คือ ไมม ตี ัวตนท่ีแทจ รงิ ของมัน - สิง่ ทงั้ หลายไมม มี ูลการณ หรอื ตนกําเนิดเดิมสุด

พุทธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) 64 พดู อีกนัยหน่ึงวา อาการทส่ี ่งิ ทง้ั หลายปรากฏเปนรูปตางๆ มีความเจรญิ ความเส่ือมเปนไปตางๆ นนั้ แสดงถงึ สภาวะท่แี ทจรงิ ของมันวา เปน กระแสหรอื กระบวนการ ความเปน กระแสแสดงถงึ การประกอบขึ้นดวย องคป ระกอบตางๆ รปู กระแสปรากฏเพราะองคประกอบทัง้ หลายสมั พันธเน่อื งอาศยั กนั กระแสดาํ เนนิ ไปแปรรปู ไดเพราะองคป ระกอบตา งๆ ไมค งทอ่ี ยูแมแตขณะเดยี ว องคป ระกอบทง้ั หลายไมค งที่อยูแ มแ ตข ณะเดยี วเพราะ ไมม ตี วั ตนที่แทจริงของมัน ตัวตนทแ่ี ทจรงิ ของมันไมมมี นั จึงขน้ึ ตอ เหตุปจ จัยตางๆ เหตุปจ จัยตางๆ สัมพนั ธตอ เนอื่ งอาศัยกัน จงึ คมุ รปู เปน กระแสได ความเปนเหตุปจ จยั ตอเน่อื งอาศัยกนั แสดงถงึ ความไมมตี นกาํ เนดิ เดมิ สดุ ของส่งิ ท้ังหลาย พูดในทางกลบั กนั วา ถา สิง่ ทงั้ หลายมตี วั ตนแทจริง กต็ อ งมคี วามคงท่ี ถา ส่งิ ท้ังหลายคงท่ีแมแ ตขณะ เดยี ว กเ็ ปนเหตปุ จ จัยแกก นั ไมไ ด เมือ่ เปนเหตุปจ จัยแกก ันไมไ ด กป็ ระกอบกนั ขึน้ เปน กระแสไมได เมอ่ื ไมมี กระแสแหงปจ จยั ความเปนไปในธรรมชาตกิ ม็ ีไมได และถา มีตัวตนทแี่ ทจ ริงอยา งใดในทา มกลางกระแส ความ เปน ไปตามเหตปุ จ จยั อยา งแทจ ริงกเ็ ปน ไปไมไ ด กระแสแหงเหตุปจจัยที่ทาํ ใหสิง่ ทัง้ หลายปรากฏโดยเปนไปตาม กฎธรรมชาติ ดาํ เนินไปได กเ็ พราะสง่ิ ท้งั หลายไมเ ท่ยี ง ไมค งอยู เกดิ แลว สลายไป ไมม ตี ัวตนที่แทจรงิ ของมัน และสมั พันธเนอื่ งอาศัยกัน ภาวะท่ีไมเทยี่ ง ไมค งอยู เกดิ แลว สลายไป เรียกวา อนิจจตา ภาวะท่ีถกู บีบคนั้ ดวยเกิดสลาย มคี วามกด ดนั ขัดแยง แฝงอยู ไมส มบรู ณในตัว เรียกวา ทุกขตา ภาวะทีไ่ รต วั ตนท่แี ทจ ริงของมันเอง เรียกวา อนตั ตตา ปฏจิ จสมปุ บาทแสดงใหเหน็ ภาวะทง้ั ๓ นี้ในส่งิ ทัง้ หลาย และแสดงใหเห็นความสัมพันธตอ เนอ่ื งเปน ปจ จัยแกกันของสงิ่ ทง้ั หลายเหลา นน้ั จนปรากฏรปู ออกมาเปนตางๆ ในธรรมชาติ สง่ิ ท้ังหลายทปี่ รากฏมี จึงเปนเพียงกระแสความเปนไปแหงเหตุปจจยั ที่สมั พนั ธส ง ผลสบื ทอดกนั มา อาจเรยี กสั้นๆ วา กระบวนธรรม ซงึ่ ถือไดว าเปน คําแปลของคําบาลที ที่ า นใชว า ธรรมปวตั ติ (ธมมฺ ปปฺ วตตฺ ิ) ภาวะและความเปนไปตามหลกั ปฏจิ จสมปุ บาทน้ี มแี กส ่ิงทงั้ ปวง ทงั้ ท่ีเปน รปู ธรรม ทัง้ ท่เี ปน นามธรรม ทั้งในโลกฝา ยวัตถุ ทัง้ แกช วี ติ ท่ปี ระกอบพรอ มดวยรปู ธรรมนามธรรม โดยแสดงตัวออกเปน กฎธรรมชาตติ า งๆ คอื ธรรมนยิ าม-กฎความสัมพันธร ะหวา งเหตกุ ับผล อุตนุ ยิ าม-กฎธรรมชาติฝา ย อนนิ ทรียวัตถุ พชี นยิ าม-กฎ ธรรมชาติฝา ยอนิ ทรยี วัตถรุ วมทั้งพันธกุ รรม จิตตนยิ าม-กฎการทํางานของจติ และกรรมนิยาม-กฎแหง กรรม ซ่งึ มีความเกีย่ วของเปนพเิ ศษกบั เรื่องความสขุ ความทกุ ขข องชีวติ และเปน เรอ่ื งท่จี ริยธรรมจะตอ งเกยี่ วขอ งโดยตรง เร่ืองที่ควรยาํ้ เปน พเิ ศษ เพราะมกั ขดั กบั ความรูส กึ สามญั ของคน คอื ควรย้าํ วา กรรมกด็ ี กระบวนการ แหงเหตผุ ลอน่ื ๆ ทกุ อยางในธรรมชาติก็ดี เปน ไปได ก็เพราะสิ่งทงั้ ปวงเปนของไมเ ท่ียง (เปนอนิจจัง) และไมม ีตัว ตนของมันเอง (เปน อนัตตา) ถาสงิ่ ทงั้ หลายเปนของเที่ยง มีตัวตนจริงแลว กฎธรรมชาตทิ ้งั มวลรวมทง้ั หลักกรรม ยอมเปนไปไมไ ด นอกจากนนั้ กฎเหลา นี้ยังยนื ยนั ดวยวา ไมมีมลู การณหรอื ตน กําเนิดเดิมสุดของสง่ิ ท้ังหลาย เชน พระผูสรา ง เปน ตน สิ่งทงั้ หลาย ไมม ีตัวตนแทจ รงิ เพราะเกิดขึ้นดว ยอาศัยปจ จัยตา งๆ และมอี ยอู ยาง สัมพนั ธกัน ตัวอยางงายๆ หยาบๆ เชน เตียงเกิดจากนําสว นประกอบตางๆ มาประกอบเขาดว ยกันตามรูปแบบ

พุทธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 65 ทก่ี าํ หนด ตัวตนของเตียงทต่ี างหากจากสว นประกอบเหลา น้นั ไมมี เม่ือแยกสว นประกอบตางๆ ออกหมดสน้ิ แลว กไ็ มม เี ตยี งอกี ตอไป เหลืออยแู ตบ ัญญัติวา “เตียง” ทีเ่ ปนความคดิ ในใจ แมบ ัญญัตนิ ้ันเองท่ีมคี วามหมายอยาง น้ัน ก็ไมม อี ยโู ดยตวั ของมันเอง แตต อ งสมั พนั ธเ นอ่ื งอาศัยกับความหมายอนื่ ๆ เชน บญั ญัติวา เตยี ง ยอมไมม ี ความหมายของตนเอง โดยปราศจากความสมั พนั ธกับ การนอนแนวระนาบ ท่ตี ้ัง ชองวา ง เปน ตน ในความรูสกึ สามญั ของมนษุ ย ความรูในบญั ญตั ิตางๆ เกิดข้นึ โดยพวงเอาความเขาใจในปจ จยั และ ความสัมพันธท ่เี กีย่ วของเขา ไวดว ยเหมอื นกัน แตเมอ่ื เกิดความกําหนดรขู น้ึ แลว ความเคยชนิ ในการยดึ ตดิ ดวย ตณั หาอุปาทาน ก็เขาเกาะกับสงิ่ ในบญั ญัตินน้ั จนเกิดความรสู กึ เปนตวั ตนข้ึนอยางหนาแนน บงั ความสํานึกรู และแยกสิ่งนน้ั ออกจากความสัมพันธกบั สงิ่ อืน่ ๆ ทาํ ใหไมรเู ห็นตามทีม่ ันเปน อหังการและมมังการจึงแสดงบท บาทไดเ ต็มที่ ส่ิงท้ังปวงอยใู นกระแสเหตปุ จ จยั ไรมูลการณ ไมต องมีผูส รา งผูบ นั ดาล อนึ่ง ธรรมดาของส่งิ ท้ังหลาย ยอมไมมมี ูลการณ หรอื เหตุตนเคา หรือตน กาํ เนดิ เดมิ สุด เมอ่ื หยบิ ยกสง่ิ ใดกต็ ามขึน้ มาพจิ ารณา ถาสืบสาวหาเหตุตอไปโดยไมห ยดุ จะไมสามารถคนหาเหตุดงั้ เดิมสดุ ของส่ิงนัน้ ได แต ในความรสู กึ สามญั ของมนษุ ย มักคดิ ถึงหรือคดิ อยากใหมีเหตตุ นเคา สักอยา งหน่งึ ซึง่ เปน ความรูสกึ ท่ขี ัดกบั ธรรมดาของธรรมชาติ เรยี กไดว า เปน สัญญาวปิ ลาสอยางหนึง่ เหตเุ พราะความเคยชนิ ของมนุษย เมอื่ เกย่ี วของ กบั สงิ่ ใดและคดิ สืบสวนถงึ มูลเหตุของสง่ิ นนั้ ความคิดก็จะหยดุ จบั ติดอยูกับสง่ิ ที่พบวาเปน เหตแุ ตอ ยา งเดียว ไม สืบสาวตอ ไปอีก ความเคยชนิ เชน น้ี จึงทําใหค วามคดิ สามัญของมนษุ ยใ นเรือ่ งเหตุผล เปน ไปในรูปท่ีขาดตอนติดตัน และคดิ ในอาการทขี่ ัดกบั กฎธรรมดา โดยคิดวาตอ งมเี หตุตนเคาของสิง่ ท้งั หลายอยา งหนึ่ง ซงึ่ ถา คดิ ตามธรรมดา กจ็ ะตอ งสบื สาวตอ ไปวา อะไรเปน เหตขุ องเหตุตน เคา นนั้ ตอไปไมม ที ่ีส้ินสดุ เพราะสิ่งท้งั หลายมีอยอู ยา ง สมั พนั ธเ นื่องอาศัยเปน ปจ จัยสืบตอกนั จงึ ยอมไมม ีมลู การณหรอื เหตตุ น เคา เปนธรรมดา ควรตง้ั คาํ ถามกลับซา้ํ ไปวา ทาํ ไมส่งิ ทง้ั หลายจะตอ งมีเหตุตนเคา ดว ยเลา ? ความคดิ ฝนธรรมดาอีกอยางหนึง่ ซึง่ เกิดจากความเคยชนิ ของมนษุ ย และสัมพันธก บั ความคดิ วา มเี หตุ ตนเคา คือ ความคดิ วา เดมิ ทีเดยี วนัน้ ไมม อี ะไรอยเู ลย ความคดิ นเ้ี กดิ จากความเคยชนิ ในการยึดถืออตั ตา โดย กําหนดรูข น้ึ มาในสว นประกอบท่ีคุมเขา เปน รปู ลักษณะแบบหนึ่ง แลววางความคดิ หมายจาํ เพาะลงเปนบญั ญตั ิ ยึดเอาบญั ญตั ินนั้ เปน หลัก เกดิ ความรสู กึ คงท่ลี งวา เปน ตัวตนอยางใดอยางหน่งึ จงึ เหน็ ไปวา เดมิ สงิ่ นน้ั ไมมีแลว มามขี ึ้น ความคดิ แบบชะงักทอ่ื ติดอยกู บั สิง่ หน่งึ ๆ ไมแลน เปนสายเชน น้ี เปนความเคยชนิ ในทางความคดิ อยา งท่ี เรียกวาตดิ สมมติ หรอื ไมรูเ ทา ทันสมมติ จงึ กลายเปนไมร ูตามทีม่ นั เปน เปนเหตใุ หต องคดิ หาเอาสิ่งใดส่งิ หน่งึ ทมี่ ี อยเู ปน นริ ันดรขน้ึ มาเปนเหตตุ น เคา เปน ท่มี าแหงการสําแดงรปู เปนตางๆ หรอื เปน ผูสรางสิง่ ทัง้ หลาย ทาํ ใหเ กิด

พุทธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 66 ขอขัดแยง ขน้ึ มากมาย เชน สงิ่ นริ นั ดรจะเปนท่มี าหรอื สรา งสิง่ ไมเ ปนนริ ันดรไดอ ยา งไร ถา สิง่ เปนนริ ันดรเปน ทม่ี า ของส่ิงไมเ ปนนริ ันดร สิ่งไมเ ปน นริ นั ดรจะไมเ ปน นริ ันดรไดอยางไร เปนตน แทจ รงิ แลว ในกระบวนการอนั เปนกระแสแหง ความเปนเหตปุ จจยั สบื เนือ่ งกนั น้ี ยอมไมม ปี ญ หาแบบบง ตัวตนวา มอี ะไรหรอื ไมม ีอะไรอยเู ลย ไมว าเดมิ ทีเดียว หรือบัดน้ี เวน แตจะพูดกนั ในขั้นสมมติสัจจะเทา น้ัน ควร ยอ นถามใหค ดิ ใหมดว ยซ้ําไปวา ทําไมจะตองไมมกี อนมีดว ยเลา ? แมค วามเชื่อวา ส่งิ ท้ังหลายมผี สู ราง ซงึ่ ปรกติถอื กนั วา เปนความคดิ ธรรมดานน้ั แทจ รงิ กเ็ ปน ความคดิ ขดั ธรรมดาเชน กนั ความคดิ เช่อื เชนนี้เกิดขึ้น เพราะมองดูตามขอ เท็จจริงตา งๆ ซ่ึงเหน็ และเขาใจกันอยูสามัญวา มนุษยเ ปนผูส รางอุปกรณ สิง่ ของ เคร่ืองใช ศิลปวตั ถุ ฯลฯ ขนึ้ ส่งิ เหลาน้ีเกิดข้ึนไดเพราะการสรา งของมนษุ ย ฉะนัน้ สงิ่ ท้ังหลายท้ังโลกกต็ อ งมผี สู รา งดวยเหมอื นกนั ในกรณนี ี้ มนุษยพ รางตนเอง ดวยการแยกความหมายของการสรางออกไปเสียจากความเปน เหตุเปน ปจจยั ตามปรกติ จึงทาํ ใหเ กิดการต้ังตนความคดิ ท่ผี ิด ความจริงนน้ั การสรา งเปน เพยี งความหมายสวนหนง่ึ ของการเปน เหตุปจจยั การท่มี นษุ ยส รางสิ่งใด ก็ คือการทีม่ นุษยเขา ไปรวมเปนเหตุปจ จยั สวนหนงึ่ ในกระบวนการแหงความสมั พนั ธของเหตปุ จ จัยตา งๆ ท่จี ะทํา ใหผ ลรวมท่ตี อ งการน้นั เกดิ ขึ้น แตมพี เิ ศษจากกระบวนการแหง เหตปุ จจยั ฝายวตั ถุลว นๆ กเ็ พียงวา ในกรณีนี้ มี ปจ จัยฝายนามธรรมทปี่ ระกอบดว ยเจตนาเปนลกั ษณะพิเศษเขา ไปรวมบทบาทดว ย แตถึงอยา งน้นั กย็ งั คงมี ฐานะเปนเพยี งปจจัยอยา งหนึ่งรวมกบั ปจ จยั อ่นื ๆ และตองดาํ เนนิ ไปตามกระบวนการแหงเหตุปจ จยั จึงจะเกดิ ผลท่ตี องการ ยกตัวอยา ง เชน เมอื่ มนุษยจะสรางตึก กต็ อ งเขา ไปเกยี่ วขอ งเปนเหตุเปน ปจจัยชวยผลักดนั เหตปุ จจัย ตางๆ ใหดําเนนิ ไปตามสายของมันจนเกิดผลสําเรจ็ ถาการสรางเปนการบนั ดาลผลไดอ ยางพิเศษกวา การเปน เหตุปจ จยั มนษุ ยก เ็ พยี งนั่งนอนอยู ณ ทใี่ ดท่ีหนง่ึ แลวคดิ บันดาลใหเรือนหรอื ตึกเกิดขนึ้ ในท่ปี รารถนาตาม ตองการ ซง่ึ เปนไปไมได การสรางจงึ มไิ ดม ีความหมายนอกเหนอื ไปจากการเปนเหตุปจ จยั แบบหนงึ่ และในเมื่อส่งิ ทั้งหลายเปน ไปตามกระบวนการแหงเหตปุ จจยั ตอ เนอื่ งกนั อยูต ามวถิ ขี องมนั เชนน้ี ผูสรา งยอ มไมอ าจมีไดใ นตอนใดๆ ของ กระบวนการ อยางไรกด็ ี การพิจารณาเหตผุ ลในปญหาเกย่ี วกับเหตตุ นเคา และผูสราง เปน ตน นี้ ถือวามีคณุ คานอย ในพุทธธรรม เพราะไมม ีความจําเปน ตอ การประพฤตปิ ฏบิ ัตเิ พ่ือประโยชนใ นชีวิตจริง แมวาจะชวยใหเกิดโลก ทศั นแ ละชวี ทัศนก วางๆ ในทางเหตุผลอยางที่กลาวขา งตน กอ็ าจขา มไปเสียได ดว ยวาการพิจารณาคณุ คาใน ทางจริยธรรมอยา งเดยี ว มีประโยชนที่มุง หมายคมุ ถงึ อยแู ลว ในท่นี ้จี ึงควรพุงความสนใจไปในดานท่ีเกยี่ วกับ ชีวติ ในทางปฏิบตั ิเปน สําคญั ถา รไู มทันกระแสเหตุปจ จัย ชวี ิตจะตกเปนทาส ถกู มนั กระแทกบบี คน้ั

พุทธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 67 ดังไดก ลาวแลวแตตนวา ชีวติ ประกอบดว ยขันธ ๕ เทานั้น ไมม สี ิ่งใดอ่ืนอีกนอกเหนือจากขันธ ๕ ไมวา จะแฝงอยใู นขันธ ๕ หรอื อยตู างหากจากขนั ธ ๕ ท่ีจะมาเปนเจา ของหรอื ควบคมุ ขนั ธ ๕ ใหชวี ิตดําเนินไป ดังนนั้ ในการพจิ ารณาเร่อื งชวี ิต เม่ือยกเอาขนั ธ ๕ ขึน้ เปนตัวตง้ั แลว กเ็ ปนอนั ครบถวนเพยี งพอ ขันธ ๕ เปนกระบวนการท่ดี ําเนนิ ไปตามกฎแหง ปฏจิ จสมปุ บาท คือมีอยูในรปู กระแสแหง ปจ จัยตา งๆ ท่ี สัมพนั ธเ นือ่ งอาศัยสบื ตอ กนั ไมม สี วนใดในกระแสคงทีอ่ ยไู ด มแี ตการเกิดขึ้นแลวสลายตวั ไป พรอ มกับทเ่ี ปน ปจจยั ใหม กี ารเกดิ ข้นึ แลวสลายตัวตอ ๆ ไปอกี สว นตางๆ สัมพันธกัน เน่อื งอาศัยกนั เปน ปจ จยั แกก ัน จึงทําให กระแสหรอื กระบวนการน้ดี ําเนนิ ไปอยา งมเี หตผุ ลสมั พนั ธ และคมุ เปน รูปรางตอ เนื่องกนั ในภาวะเชน น้ี ขนั ธ ๕ หรือ ชวี ติ จงึ เปนไปตามกฎแหงไตรลักษณ คือ อยูในภาวะแหง อนิจจตา ไมเทย่ี ง ไมค งท่ี เกดิ ดบั เสอ่ื มสลายอยู ตลอดเวลา อนตั ตตา ไมมสี ว นใดที่มตี วั ตนแทจ ริง และไมอ าจยดึ ถอื เอาเปน ตวั จะเขา ยึดครองเปนเจา ของบงั คบั บัญชาใหเปนไปตามความปรารถนาของตนจริงจังไมได ทุกขตา ถูกบบี คน้ั ดวยการเกดิ ขนึ้ และสลายตวั อยูท ุก ขณะ และพรอมท่จี ะกอใหเ กิดความทุกขไดเ สมอ ในกรณีท่มี กี ารเขาไปเก่ยี วของดวยความไมรูแ ละยึดติดถือม่นั กระบวนการแหง ขันธ ๕ หรือชวี ติ ซึง่ ดาํ เนนิ ไปพรอ มดวยการเปล่ยี นแปลงอยูต ลอดทกุ ขณะ โดยไมม ี สว นทเี่ ปนตวั เปนตนคงท่อี ยูนี้ ยอ มเปน ไปตามกระแสแหง เหตปุ จจยั ทสี่ ัมพันธแกกันลวนๆ ตามวิถีทางแหงธรรม ชาติของมัน แตในกรณขี องชีวติ มนุษยป ุถชุ น ความฝนกระแสจะเกดิ ข้นึ โดยทีจ่ ะมคี วามหลงผิดเกดิ ข้นึ และยึด ถือเอารูปปรากฏของกระแสหรือสว นใดสว นหน่ึงของกระแสวาเปน ตัวตน และปรารถนาใหตัวตนน้ันมีอยู คงอยู หรอื เปน ไปในรปู ใดรูปหน่งึ ในเวลาเดียวกัน ความเปล่ยี นแปลงหมุนเวยี นทีเ่ กิดขึ้นในกระแสก็ขัดแยงตอ ความปรารถนา เปนการ บบี คน้ั และเรงเรา ใหเ กดิ ความยดึ อยากรนุ แรงยง่ิ ขึน้ ความดน้ิ รนหวงั ใหม ตี ัวตนในรปู ใดรูปหน่ึง และใหต ัวตนนั้น เปน ไปอยา งใดอยา งหนงึ่ กด็ ี ใหคงทเี่ ทยี่ งแทถ าวรอยูในรปู ที่ตอ งการก็ดี กย็ ิ่งรุนแรงข้ึน เมื่อไมเปน ไปตามท่ียดึ อยาก ความบีบค้ันก็ย่งิ แสดงผลเปน ความผดิ หวงั ความทกุ ขความคับแคน รนุ แรงขึ้นตามกัน พรอ มกันนน้ั ความ ตระหนกั รใู นความจรงิ อยางมวั ๆ วาความเปลี่ยนแปลงจะตอ งเกดิ ขน้ึ อยา งใดอยา งหนึ่งแนนอน และตัวตนทตี่ น ยดึ อยูอาจไมม หี รืออาจสญู สลายไปเสีย ก็ยิง่ ฝง ความยดึ อยากใหเหนียวแนน ย่ิงขนึ้ พรอมกับความกลัว ความ ประหว่ันพร่นั พรึง ก็เขา แฝงตัวรวมอยูดวยอยางลกึ ซงึ้ และซับซอน ภาวะจติ เหลานี้ก็คอื อวชิ ชา (ความไมร ูตามเปน จรงิ หลงผดิ วามีตัวตน) ตณั หา (ความอยากใหต วั ตนที่ หลงวามีนนั้ ได เปน หรอื ไมเ ปน ตา งๆ) อุปาทาน (ความยดึ ถือผกู ตวั ตนในความหลงผิดนั้นไวกับสิ่งตางๆ) กิเลสเหลานแ้ี ฝงลึกซบั ซอนอยูในจิตใจ และเปน ตัวคอยบงั คับบัญชาพฤตกิ รรมท้ังหลายของบคุ คลให เปนไปตา งๆ ตามอาํ นาจของมัน ทั้งโดยรูตวั และไมร ูตัว ตลอดจนเปนตัวหลอ หลอมบคุ ลกิ ภาพและมีบทบาท สําคัญในการชชี้ ะตากรรมของบุคคลน้นั ๆ กลาวในวงกวา ง มันเปน ที่มาแหง ความทกุ ขข องมนษุ ยปถุ ุชนทุกคน โดยสรปุ ขอ ความท่กี ลา วมานี้ แสดงการขดั แยง หรอื ปะทะกันระหวา ง กระบวนการ ๒ ฝา ย คอื

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 68 ๑. ความเปนจรงิ ของกระบวนการแหงชีวิต ที่เปนไปตามกฎแหง ไตรลกั ษณ อนั เปนกฎธรรมชาตทิ ี่ แนน อน คอื อนิจจตา ทกุ ขตา และอนตั ตตา ซงึ่ แสดงอาการออกมาเปน ชาติ ชรา มรณะ ทั้งในความหมายแบบ ต้ืนหยาบ และละเอยี ดลกึ ซึง้ ๒. ความไมร ูต ามเปน จริง ซงึ่ กระบวนการแหงชีวิตน้นั โดยหลงผดิ วา เปน ตัวตนและเขา ไปยดึ ม่นั ถอื มั่นเอาไว แฝงพรอมดวยความหวนั่ กลวั และความกระวนกระวาย พดู ใหส้ันลงไปอีกวา เปนการขัดแยง กนั ระหวา งกฎธรรมชาติ กบั ความยึดถอื ตัวตนไวด ว ยความหลงผดิ หรอื ใหตรงกวา นน้ั วา การเขาไปสรา งตวั ตนขวางกระแสแหง กฎธรรมชาตไิ ว นีค้ อื ชีวิตทีเ่ รยี กวา เปนอยดู วยอวิชชา อยูอยา งยึดมน่ั ถอื ม่นั อยอู ยา งเปน ทาส อยอู ยา งขดั แยง ฝน ตอ กฎ ธรรมชาติ หรืออยูอยางเปนทกุ ข การมีชวี ติ อยเู ชน นี้ ถาพดู ในทางจริยธรรม ตามสมมตสิ จั จะ กอ็ าจกลา วไดว า เปนการมตี ัวตนข้นึ ๒ ตน คอื ตัวกระแสแหงชีวติ ทด่ี าํ เนนิ ไปตามกฎธรรมชาติ ซง่ึ เปล่ยี นแปลงไปตามเหตปุ จ จัย แมจ ะไมมีตัวตนแทจ รงิ แตกาํ หนดแยกออกเปนกระแสหรือกระบวนการอนั หนง่ึ ตางหากจากกระแสหรอื กระบวนการอน่ื ๆ เรยี กโดย สมมตสิ จั จะวาเปนตน และใชป ระโยชนในทางจรยิ ธรรมได อยางหนึ่ง กับตวั ตนจอมปลอม ทถ่ี ูกคิดสรา งขึน้ ยึด ถือเอาไวอ ยา งมนั่ คงดวยอวิชชา ตัณหา อปุ าทาน ดงั กลา วแลว อยา งหนง่ึ ตัวตนอยา งแรกที่กาํ หนดเรียกเพอ่ื ความสะดวกในขั้นสมมตสิ ัจจะโดยรสู ภาพตามทเ่ี ปน จรงิ ยอ มไมเ ปน เหตใุ หเ กดิ ความยดึ มั่นถือม่นั ดวยความหลงผดิ แตตัวตนอยา งหลงั ท่สี รา งขนึ้ ซอนไวใ นตัวตนอยางแรก ยอ มเปน ตัวตนแหง ความยึดมน่ั ถือมั่น คอยรบั ความกระทบกระเทือนจากตัวตนอยางแรก จงึ เปนทมี่ าของความทกุ ข การมีชวี ติ อยูอยา งที่กลาวขางตน นอกจากเปนการแฝงเอาความกลัวและความกระวนกระวายไวในจติ ใจสว นลึกทีส่ ดุ เพื่อไวบ ังคับบัญชาพฤติกรรมของตนเอง ทาํ ใหก ระบวนการแหงชวี ติ ไมเปนตวั ของตวั เอง หรอื ทาํ ตนเองใหต กเปน ทาสไปโดยไมรูตวั แลว ยังแสดงผลรา ยออกมาอกี เปน อนั มาก คอื - ทําใหม ีความอยากไดอ ยางเห็นแกต ัว ความแสหาส่ิงตา งๆ ที่จะสนองความตอ งการของตนอยา งไมม ี ท่สี น้ิ สุด และยดึ อยากหวงแหนไวกับตน โดยไมคํานงึ ถึงประโยชนข องผูใดอ่ืน - ทาํ ใหเ กาะเหนีย่ วเอาความคดิ เหน็ ทฤษฎี หรอื ทศั นะอยา งใดอยา งหนง่ึ มาตคี า เปนอนั หนงึ่ อนั เดยี วกบั ตนหรือเปน ของตน แลว กอดรัดยดึ มน่ั ทะนถุ นอมความคดิ เหน็ ทฤษฎหี รอื ทัศนะนน้ั ๆ ไว เหมอื นอยา งปอ งกัน รกั ษาตวั เอง เปน การสรา งกําแพงขนึ้ มากั้นบังตนเองไมใ หต ดิ ตอ กับความจรงิ หรอื ถึงกบั หลบตวั ปลีกตวั จาก ความจริง ทาํ ใหเกิดความกระดา งทื่อๆ ไมค ลอ งตัวในการคดิ เหตผุ ลและใชวจิ ารณญาณ ตลอดจนเกิดความถอื รัน้ การทนไมไ ดท จี่ ะรบั ฟงความคดิ เหน็ ของผอู ืน่ - ทาํ ใหเ กดิ ความเชื่อและการประพฤติปฏิบัตงิ มงายไรเ หตผุ ลตา งๆ ท่ีหวังวาจะบันดาลผลให และยดึ มน่ั ในความเช่อื ความประพฤติและวิธีปฏบิ ัตเิ หลา น้ัน เพราะรูเหน็ ความสมั พันธใ นทางเหตผุ ลของสง่ิ เหลา น้นั อยา ง ลางๆ มัวๆ แมจ ะไมม ีความแนใจ แตใ นเวลาเดยี วกนั ก็มคี วามหว งใยในตวั ตนที่สรางข้นึ ยดึ ถอื ม่ันไว กลัวจะเกิด

พทุ ธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 69 ความสญู เสียแกต วั ตนนน้ั ได จงึ รบี ไขวควายดึ ฉวยเอาอะไรๆ ทพ่ี อจะหวงั ไดไวกอน แมจ ะอยใู นรูปทีล่ างๆ มดื มวั กต็ าม - ทาํ ใหเ กดิ มตี วั ตนลอยๆ อันหนึ่ง ที่จะตองคอยยดึ คอยถือ คอยแบกเอาไว คอยรกั ษาทะนถุ นอมปอ ง กันไมใหถ กู กระทบกระเทอื นหรือสูญหาย พรอมกนั นัน้ กก็ ลายเปน การจํากดั ตนเองใหแ คบ ใหไมเปนอสิ ระ แบง แยกและพลอยถูกกระทบกระแทกไปกับตัวตนท่ีสรา งข้ึนยดึ ถอื แบกไวนนั้ ดวย โดยนยั นี้ ความขัดแยง บีบค้นั และความทกุ ขจ งึ มไิ ดมอี ยเู ฉพาะในตัวบุคคลผูเ ดียวเทาน้นั แตยงั ขยาย ตัวออกไปเปน ความขดั แยง บบี ค้นั และความทุกขแกค นอืน่ ๆ และระหวางกนั ในสงั คมดวย กลาวไดว า ภาวะเชน นเี้ ปน ทีม่ าแหงความทุกขความเดือดรอนและปญ หาท้ังปวงของสงั คม ในฝายท่เี กดิ จากการกระทาํ ของมนุษย มีปญ ญารูเทาทัน จะไดป ระโยชนจ ากกฎธรรมชาติ ดจุ เปนนายเหนอื มัน หลกั ปฏจิ จสมุปบาทแบบประยกุ ต แสดงการเกิดขึ้นของชวี ติ แหงความทุกข หรอื การเกดิ ข้ึนแหงการ(มี ชีวิตอยูอยา ง)มีตวั ตน ซ่ึงจะตองมีทุกขเปน ผลลัพธแ นนอน เม่ือทาํ ลายวงจรในปฏิจจสมปุ บาทลง ก็เทากบั ทําลายชีวติ แหงความทกุ ข หรือทําลายความทุกขท ง้ั หมดทจี่ ะเกิดข้นึ จากการ(มีชีวิตอยูอยา ง)มตี ัวตน น่ีกค็ อื ภาวะทตี่ รงกนั ขา ม อันไดแก ชีวิตทเี่ ปนอยดู ว ยปญ ญา อยูอยางไมม ีความหลงยึดถือตดิ ม่นั ในตวั ตน อยูอยาง อสิ ระ อยอู ยา งประสานกลมกลนื กับความจรงิ ของธรรมชาติ หรอื อยอู ยางไมม ที กุ ข การมีชีวิตอยูดวยปญญา หมายถึง การอยอู ยา งรเู ทา ทนั สภาวะ และรูจักถอื เอาประโยชนจ ากธรรมชาติ การถอื เอาประโยชนจากธรรมชาตไิ ดเ ปน อยางเดยี วกบั การอยอู ยา งประสานกลมกลนื กบั ธรรมชาติ การอยู ประสานกลมกลนื กับธรรมชาติ เปน การอยูอ ยา งอสิ ระ การอยอู ยา งเปนอิสระ กค็ อื การไมตอ งตกอยใู นอาํ นาจ ของตัณหาอุปาทาน หรอื การอยอู ยางไมยดึ ม่ันถือมนั่ การอยูอ ยา งไมยึดมั่นถือมั่น กค็ ือการมชี ีวิตอยูดว ย ปญญา หรือการรูแ ละเขา เก่ยี วขอ งจัดการกับสิง่ ทง้ั หลายตามวถิ ีทางแหง เหตปุ จ จยั มีขอควรยํ้าเกีย่ วกับความสมั พนั ธระหวา งมนุษยกับธรรมชาติอกี เลก็ นอ ย ตามหลักพุทธธรรม ยอ มไมม ี สิ่งที่อยเู หนือธรรมชาติ หรอื นอกเหนอื ธรรมชาติ ในแงท ว่ี า มีอทิ ธิฤทธิบ์ ันดาลความเปนไปในธรรมชาตไิ ด หรอื แม ในแงที่วาจะมสี ว นเกีย่ วของอยา งหน่ึงอยา งใดกับความเปน ไปในธรรมชาติ สิ่งใดอยนู อกเหนอื ธรรมชาติ สิง่ นั้น ยอมไมเกยี่ วขอ งกับธรรมชาติ คอื ยอ มพนจากธรรมชาตสิ นิ้ เชิง ส่งิ ใดเกยี่ วขอ งกับธรรมชาติ สิ่งนนั้ ไมอยนู อก เหนอื ธรรมชาติ แตตอ งเปน สว นหนง่ึ ในธรรมชาติ อนึง่ กระบวนการความเปนไปทั้งปวงในธรรมชาติยอมเปนไปตามเหตุปจจยั ไมม ีความเปน ไปลอยๆ และไมมกี ารบนั ดาลใหเกดิ ข้ึนไดโดยปราศจากเหตปุ จ จัยความเปน ไปที่ประหลาดนาเหลอื เชื่อดเู ปนอทิ ธิ ปาฏหิ าริย หรืออศั จรรยใ ดๆ กต็ าม ยอมเปน ส่งิ ทีเ่ กิดขึ้นและเปนไปตามเหตุปจ จัยทัง้ สิน้ แตในกรณีทเ่ี หตปุ จ จยั ในเรอ่ื งน้นั สลบั ซับซอนและยงั ไมถกู รูเทาทนั เรือ่ งนนั้ กก็ ลายเปน เรอื่ งประหลาดอัศจรรย แตความประหลาด

พุทธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) 70 อศั จรรยจ ะหมดไปทนั ทีเมอ่ื เหตุปจจยั ตางๆ ในเร่ืองนัน้ ถกู รูเ ทา ทันหมดสิ้น ดังนัน้ คําวา สิง่ เหนอื หรือนอกเหนือ ธรรมชาติ ตามท่กี ลาวมาแลว จึงเปน เพยี งสํานวนภาษาเทาน้นั ไมมีอยูจ รงิ ในเรอ่ื งมนุษยก ับธรรมชาติ กเ็ ชน กนั การทแ่ี ยกออกมาเปนคําตา งหากกัน วา มนษุ ยกับธรรมชาตกิ ด็ ี วา มนษุ ยสามารถบังคบั ควบคมุ ธรรมชาติไดก ด็ ี เปน เพียงสาํ นวนภาษา แตตามเปน จรงิ แลว มนุษยเปนเพยี งสวน หนึ่งในธรรมชาติ และการทม่ี นุษยควบคมุ บังคบั ธรรมชาตไิ ด กเ็ ปนเพยี งการทม่ี นษุ ยรวมเปนเหตุปจจัยอยา ง หนึ่งและผลักดนั ปจ จยั อื่นๆ ในธรรมชาตใิ หต อเน่อื งสืบทอดกนั ไปจนบงั เกดิ ผลอยา งนน้ั ๆ ขนึ้ เปน แตใ นกรณขี อง มนุษยนี้ มีปจ จยั ฝายจิต อันประกอบดวยเจตนา เขารว มในกระบวนการดว ย จึงมกี ารกระทําและผลการกระทาํ อยางทเ่ี รียกวาสรา งสรรคขึน้ ซ่งึ กเ็ ปนเร่ืองของเหตุปจ จยั ลว นๆ ทง้ั สิน้ มนษุ ยไมสามารถสรา งในความหมายทวี่ า ใหม ใี หเ ปน ขน้ึ ลอยๆ โดยปราศจากการเปน เหตุปจ จยั กนั ตามวถิ ีทางของมัน ที่วามนุษยบงั คับควบคุมธรรมชาตไิ ด กค็ อื การท่มี นุษยร ูเหตปุ จ จัยตา งๆ ท่จี ะสมั พันธสงทอดเปน กระบวนการใหเ กิดผลทีต่ อ งการแลว จึงเขา รว มเปน ปจจัยผลกั ดนั ปจจัยตา งๆ เหลา นั้นใหต อเนอ่ื งสบื ทอดกนั จน เกดิ ผลท่ีตองการ ข้ันตอนในเรื่องนี้มี ๒ อยา ง อยา งท่ี ๑ คอื รู จากนนั้ จึงมีอยางหรือขั้นท่ี ๒ คอื เปนปจ จยั ใหแ ก ปจจยั อ่นื ๆ ตอ ๆ กันไป ใน ๒ อยา งน้ี อยางที่สําคญั และจําเปน กอ นคือ ตอ งรู ซงึ่ หมายถงึ ปญ ญา เมอ่ื รูห รือมี ปญ ญาแลว ก็เขารวมดวยเจตนาในกระบวนการแหง เหตปุ จ จัย อยา งที่เรยี กวาจดั การใหเ ปนไปตามประสงคได การเก่ยี วของจัดการกับสิง่ ท้งั หลายดวยความรูหรือปญญาเทา นัน้ จึงจะชอ่ื วา เปนการถอื เอาประโยชน จากธรรมชาตไิ ด หรอื จะเรียกตามสํานวนภาษาก็วา สามารถบังคบั ควบคมุ ธรรมชาตไิ ด และเรื่องน้มี ีหลักการ อยา งเดียวกัน ทงั้ ในกระบวนการฝา ยรูปธรรมและนามธรรม หรอื ทง้ั ฝายจิตและฝายวตั ถุ ฉะนัน้ ที่กลาวไวข างตนวา การถอื เอาประโยชนจากธรรมชาตไิ ด เปน อยางเดยี วกบั การอยอู ยาง ประสานกลมกลืนกบั ธรรมชาติ จึงเปนเรอ่ื งของขอ เทจ็ จริงของการเปนเหตเุ ปน ปจ จยั แกกันตามกฎธรรมดานเ่ี อง ทั้งนี้รวมถึงธรรมชาติดา นนามธรรมดวย ซง่ึ จะพูดเปนสาํ นวนภาษาวา สามารถบงั คบั ควบคุมธรรมชาติฝาย นามธรรมได ควบคุมจิตใจของตนได ควบคุมตนเองได ก็ถูกตองทั้งสนิ้ ดังนั้น การมชี วี ิตอยดู ว ยปญญาจึงเปน สิง่ สาํ คัญย่งิ ท้งั ในฝายรูปธรรมและนามธรรม ที่จะชว ยใหม นษุ ย ถอื เอาประโยชนได ทัง้ จากกระบวนการฝา ยจติ และกระบวนการฝา ยวัตถุ ชวี ติ แหงปญญา จงึ มองลักษณะได ๒ ดา น คอื ดา นภายใน มีลกั ษณะสงบเยน็ ปลอดโปรง ผอ งใสดว ย ความรเู ทาทนั เปนอสิ ระ เม่อื เสวยสขุ ก็ไมสยบมัวเมาหลงระเรงิ ลมื ตวั เม่อื ขาด พลาด หรือพรากจากเหยื่อลอ ส่ิงปรนปรือตางๆ กม็ ัน่ คง ปลอดโปรงอยูไ ด ไมหวัน่ ไหว ไมห ดหซู ึมเศราส้ินหวังหมดอาลยั ตายอยาก ไมป ลอ ยตวั ฝากความสขุ ทกุ ขของตนไวใ นกาํ มอื ของอามิสภายนอกท่จี ะตดั สนิ ใหเ ปนไป ดานภายนอก มีลกั ษณะคลอ งตัว วอ งไว พรอมอยเู สมอที่จะเขา เกี่ยวขอ งและจัดการกบั ส่ิงท้งั หลาย ตามทีม่ ันควรจะเปน โดยเหตผุ ลบรสิ ทุ ธิ์ ไมมี เงือ่ นปม หรอื ความยึดตดิ ภายในท่ีจะมาเปนนวิ รณ เขา ขัดขวาง กั้นบงั ถวง ทาํ ใหเขว หรือทําใหพรา มัว

พทุ ธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 71 ชวี ติ ทแี่ ตกตา ง ระหวางผูมัวยดึ มัน่ กบั ทานทอ่ี ยดู วยปญ ญา มพี ทุ ธพจนบางตอนทีแ่ สดงใหเ หน็ ลักษณะบางอยา ง ที่แตกตา งกันระหวางชีวิตแหงความยดึ มนั่ ถอื ม่นั กับชวี ิตแหง ปญ ญา เชน ภิกษุทง้ั หลาย ปุถชุ นผูมไิ ดเ รียนรู ยอมเสวยสุขเวทนาบาง ทกุ ขเวทนาบา ง อทกุ ขมสุขเวทนา (เฉยๆ ไม ทุกขไ มสขุ ) บา ง อริยสาวกผูไดเรียนรแู ลว กย็ อมเสวยสุขเวทนาบาง ทกุ ขเวทนาบา ง อทกุ ขมสขุ เวทนาบา ง ภกิ ษุ ทง้ั หลาย ในกรณีน้นั อะไรเปน ความพเิ ศษ เปนความแปลก เปนขอแตกตาง ระหวา งอริยสาวกผไู ดเ รียนรู กบั ปถุ ชุ นผูม ิไดเรียนรู ? ภกิ ษทุ ้งั หลาย ปุถชุ นผูม ิไดเ รยี นรู ถกู ทุกขเวทนากระทบเขาแลวยอ มเศราโศกครํา่ ครวญ ร่ําไห ราํ พัน ตี อกรองไห หลงใหลฟน เฟอนไป เขายอมเสวยเวทนาทง้ั ๒ อยาง คอื เวทนาทางกาย และเวทนาทางใจ เปรยี บเหมอื นนายขมังธนู ยิงบรุ ุษดว ยลูกศรดอกหนง่ึ แลว ยิงซา้ํ ดว ยลกู ศรดอกที่ ๒ อกี เม่ือเปนเชน น้ี บรุ ษุ นน้ั ยอมเสวยเวทนาเพราะลูกศรทัง้ ๒ ดอก คือ ท้งั ทางกาย ทั้งทางใจ ฉนั ใด ปุถชุ นผมู ิไดเรยี นรู ก็ฉนั นั้น... ยอมเสวยเวทนาทงั้ ๒ อยาง คือ ท้งั ทางกาย และทางใจ อน่งึ เพราะถกู ทกุ ขเวทนานั้นกระทบ เขายอมเกดิ ความขัดใจ เม่อื เขามีความขดั ใจเพราะทกุ ขเวทนา ปฏิฆานสุ ยั เพราะทุกขเวทนาก็ยอมนอนเนอ่ื ง เขาถกู ทกุ ขเวทนากระทบเขาแลว กห็ นั เขา ระเรงิ กับกามสขุ เพราะ อะไร? เพราะปุถุชนผมู ิไดเรยี นรู ยอ มไมร ูท างออกจากทกุ ขเวทนา นอกไปจากกามสขุ และเมอ่ื เขาระเรงิ อยูกบั กามสขุ ราคานุสยั เพราะสขุ เวทนานน้ั ยอ มนอนเนื่อง เขายอ มไมร เู ทาทันความเกดิ ขน้ึ ความสลายไป ขอดี ขอ เสยี และทางออก ของเวทนาเหลานัน้ ตามท่ีมันเปน เมื่อเขาไมร ตู ามท่มี นั เปน อวชิ ชานสุ ยั เพราะอทกุ ขมสขุ เวทนา (= อุเบกขาเวทนา) ยอมนอนเนือ่ ง ถาไดเ สวยสขุ เวทนา เขาก็เสวยอยางถกู มดั ตัว ถา เสวยทกุ ขเวทนา เขาก็เสวยอยา งถูกมัดตวั ถาเสวยอ ทุกขมสขุ เวทนา เขากเ็ สวยอยางถูกมดั ตวั ภกิ ษุทง้ั หลาย นีแ้ ล เรยี กวา ปถุ ชุ นผูมไิ ดเรยี นรู ผปู ระกอบ ดวย ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข โทมนสั และอุปายาส เราเรยี กวา ผูประกอบดว ยทกุ ข ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ฝายอริยสาวกผไู ดเ รยี นรู ถกู ทกุ ขเวทนากระทบเขาแลว ยอ มไมเศรา โศก ไมคร่าํ ครวญ ไม ราํ่ ไร ไมร ําพนั ไมตอี กรองไห ไมหลงใหลฟนเฟอน เธอยอ มเสวยเวทนาทางกายอยา งเดียว ไมเ สวยเวทนาทางใจ เปรียบเหมอื นนายขมังธนู ยิงบรุ ษุ ดว ยลูกศร แลว ยิงช้าํ ดวยลกู ศรดอกที่ ๒ ผิดไป เม่อื เปน เชน นี้ บรุ ุษนนั้ ยอมเสวยเวทนาเพราะลกู ศรดอกเดยี ว ฉันใด อริยสาวกผูไดเ รยี นรกู ฉ็ ันนน้ั ...ยอมเสวยเวทนาทางกายอยา งเดยี ว ไมไดเสวยเวทนาทางใจ อนึ่ง เธอยอมไมม ีความขัดใจเพราะทกุ ขเวทนานั้น เม่อื ไมมคี วามขัดใจเพราะทกุ ขเวทนา ปฏฆิ านสุ ยั เพราะทุกขเวทนานนั้ ก็ไมน อนเนอื่ ง เธอถกู ทกุ ขเวทนากระทบ กไ็ มหันเขาระเรงิ กับกามสุข เพราะอะไร? เพราะ อรยิ สาวกผูเรยี นรแู ลว ยอ มรทู างออกจากทุกขเวทนา นอกจากกามสุขไปอกี เมอ่ื เธอไมระเรงิ กบั กามสุข ราคานุ

พุทธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 72 สยั เพราะสขุ เวทนานน้ั กไ็ มน อนเนอ่ื ง เธอยอมรเู ทาทันความเกิดขึ้น ความสลายไป ขอดี ขอ เสีย และทางออก ของเวทนาเหลาน้นั ตามท่ีมนั เปน เมื่อเธอรตู ามทม่ี นั เปน อวชิ ชานุสยั เพราะอทกุ ขมสขุ เวทนา ก็ไมน อนเนือ่ ง ถา เสวยสุขเวทนา เธอก็เสวยอยางไมถูกมัดตัว ถาเสวยทกุ ขเวทนาเธอกเ็ สวยอยางไมถ กู มดั ตวั ถา เสวยอทกุ ขมสุขเวทนา เธอก็เสวยอยา งไมถกู มัดตวั ภกิ ษทุ ัง้ หลาย นเ้ี รียกวา อรยิ สาวก ผไู ดเ รยี นรู ผูป ราศจาก ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปรเิ ทวะ ทกุ ข โทมนสั และอุปายาส เราเรยี กวา ผูป ราศจากทกุ ข ภกิ ษุท้งั หลาย นแ้ี ลเปน ความพิเศษ เปน ความแปลก เปน ขอแตกตาง ระหวางอรยิ สาวกผไู ดเรียนรู กับ ปุถุชนผมู ไิ ดเ รยี นร”ู ท่กี ลา วมานี้ เปนเพียงใหรวู า อะไรเปนอะไร อะไรควรทาํ ลาย เม่ือทําลายแลว จะไดอะไร อะไรควรทําให เกดิ ข้นึ เม่อื เกดิ ขึ้นแลว จะไดอ ะไร สวนท่วี า ในการทาํ ลายและทาํ ใหเกดิ ข้ึนนนั้ จะตอ งทําอะไรบาง เปน เรอ่ื งของ จรยิ ธรรม ท่จี ะกลาวตอ ไปขา งหนา ๕. คําอธบิ ายตามแบบ คําอธบิ ายแบบน้ี มีความละเอยี ดลึกซง้ึ และกวางขวางพิสดารมาก เปน เรื่องทางวชิ าการโดยเฉพาะ ผู ศึกษาตองอาศยั พนื้ ความรูทางพทุ ธธรรมและศัพทวิชาการภาษาบาลมี าก และมีคมั ภรี ท ีแ่ สดงไวเปนเรื่อง จาํ เพาะท่จี ะศึกษาไดโดยตรงอยูแลว จงึ ควรแสดงในทนี่ ้เี พียงโดยสรปุ พอเปนหลักเทา นน้ั ก. หัวขอและโครงรปู หวั ขอท้งั หมด ไดแ สดงไวใ นตอนวาดว ยตัวบทแลว จึงแสดงในทนี่ แ้ี บบรวบรัด .ใหเขาใจงายๆ ดงั นี้ อวชิ ชา-สงั ขาร-วญิ ญาณ-นามรูป-สฬายตนะ-ผัสสะ-เวทนา-ตณั หา-อุปาทาน-ภพ-ชาต-ิ ชรามรณะ .... โสกะ ปรเิ ทวะ ทุกข โทมนสั อุปายาส = ทกุ ขสมทุ ยั ๑ ๒๓ ๔ ๕ ๖๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑๑๒ สวนฝา ยดบั หรอื ทกุ ขนิโรธ ก็ดาํ เนินไปตามหวั ขอ เชนเดยี วกนั นี้อนง่ึ โดยที่กระบวนธรรมของปฏิจจสมปุ บาท หมุนเวียนเปนวฏั ฏะหรือวงจร ไมมจี ุดเริ่มตน ไมม จี ุดจบ ไมม เี บ้ืองตนเบอ้ื งปลาย จึงควรเขยี นใหม เพอ่ื ไมใหเกิด ความเขา ใจผิดในแงน ี้ ดังนี้ ข. คําจํากัดความองคป ระกอบ หรอื หวั ขอ ตามลาํ ดบั กอ นแสดงคาํ จํากัดความและความหมายตามแบบ จะใหคําแปลและความหมายงา ยๆ ตามรปู ศพั ท เปนพ้นื ฐานความเขา ใจไวชั้นหนงึ่ กอน ดังน้ี ๑. อวิชชา ความไมรูแจง คือ ไมร คู วามจรงิ หรอื ไมร ตู ามเปน จรงิ ๒. สังขาร ความคิดปรงุ แตง เจตจํานงและทกุ สิง่ ทจี่ ิตไดสะสมไว ๓. วญิ ญาณ ความรตู อสง่ิ ทถี่ กู รับรู คอื การเหน็ -ไดยิน-ฯลฯ-รูเ ร่อื งในใจ ๔. นามรปู นามธรรมและรปู ธรรม ชีวติ ทงั้ กายและใจ

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) 73 ๕. สฬายตนะ อายตนะ คอื ชองทางรบั รู ๖ ไดแก ตา หู จมกู ลิน้ กาย ใจ ๖. ผสั สะ การรบั รู การประจวบกนั ของอายตนะ+อารมณ( ส่งิ ที่ถูกรบั รู)+วญิ ญาณ ๗. เวทนา ความเสวยอารมณ ความรสู กึ สุข ทกุ ข หรอื เฉยๆ ๘. ตณั หา ความทะยานอยาก คือ อยากได อยากเปน อยากไมเปน ๙. อุปาทาน ความยึดติดถอื มนั่ การยึดถือคา งใจ การยึดถือเขากับตัว ๑๐. ภพ ภาวะชีวติ ท่ีเปนอยู สภาพชีวติ ผลรวมกรรมทั้งหมดของบุคคล ๑๑. ชาติ ความเกดิ ความปรากฏแหงขันธท ้งั หลายทยี่ ึดถอื เอาเปน ตวั ตน ๑๒. ชรามรณะ ความแก-ความตาย คอื ความเสื่อมอินทรีย-ความสลายแหงขันธ ตอ ไปนี้ คือ คําจาํ กัดความองคประกอบ หรือหัวขอ ท้งั ๑๒ ตามแบบ ๑. อวิชชา = ความไมร ูทกุ ข-สมุทยั -นโิ รธ-มรรค (อริยสัจ ๔) และ (ตามแบบ อภิธรรม) ความไมรหู นกอ น-หนหนา -ท้งั หนกอนหนหนา - ปฏิจจสมปุ บาท ๒. สงั ขาร = กายสังขาร วจีสงั ขาร จิตตสงั ขาร และ(ตามนยั อภิธรรม) ปุญญาภสิ งั ขาร อปญุ ญาภิสังขาร อาเนญชาภิสงั ขาร ๓. วิญญาณ = จักขวุ ญิ ญาณ โสต~ ฆาน~ ชวิ หา~ กาย~ มโนวิญญาณ (วญิ ญาณ ๖) ๔. นามรูป =นาม (เวทนา สญั ญา เจตนา ผัสสะ มนสกิ าร; หรือ ตามแบบอภธิ รรมวา เวทนาขนั ธ สัญญาขนั ธ สังขารขนั ธ) + รูป (มหาภูต ๔ และ รูปที่อาศยั มหาภูต ๔) ๕. สฬายตนะ = จกั ขุ-ตา โสตะ-หู ฆานะ-จมูก ชวิ หา-ลิน้ กาย-กาย มโน-ใจ ๖. ผสั สะ = จกั ขสุ ัมผสั โสต~ ฆาน~ ชวิ หา~ กาย~ มโนสมั ผัส (สัมผสั ๖) ๗. เวทนา = เวทนาเกดิ จากจกั ขุสัมผสั จากโสต~ ฆาน~ ชิวหา~ กาย~ และมโนสัมผสั (เวทนา ๖) ๘. ตณั หา = รูปตัณหา (ตัณหาในรปู ) สทั ทตณั หา (ในเสียง) คันธตณั หา (ในกลิ่น) รสตัณหา (ในรส) โผฏฐัพพตัณหา (ในสัมผัสทางกาย) ธัมมตณั หา (ในธรรมารมณ) (ตณั หา ๖) ๙. อุปาทาน = กามุปาทาน (ความยดึ มั่นในกาม คอื รปู รส กลิ่น เสียง สมั ผัสตา งๆ)

พทุ ธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 74 ทิฏุปาทาน (ความยดึ ม่นั ในทิฏฐิ คอื ความเหน็ ลัทธิ ทฤษฎีตางๆ) สีลัพพตปุ าทาน (ความยึดม่ันในศลี และพรต วาจะทําให คนบรสิ ทุ ธิไ์ ด) อัตตวาทปุ าทาน (ความยึดม่ันในการถอื อตั ตา สรา งตัวตน ขึน้ มายึดถือไวดว ยความหลงผิด) ๑๐. ภพ= กามภพ รูปภพ อรูปภพ อกี นัยหนง่ึ = กรรมภพ (ปญุ ญาภิสงั ขาร อปญุ ญาภสิ งั ขาร อาเนญชาภิ- สงั ขาร) กบั อปุ ปตตภิ พ (กามภพ รูปภพ อรปู ภพ สัญญา- ภพ อสญั ญาภพ เนวสัญญานาสัญญาภพ เอกโวการภพ จตโุ วการภพ ปญ จโวการภพ) ๑๑. ชาติ =ความปรากฏแหงขันธท ง้ั หลาย การไดมาซึ่งอายตนะตา งๆ หรอื ความเกิด ความปรากฏขึน้ ของธรรมตางๆ เหลา นน้ั ๆ ๑๒. ชรามรณะ = ชรา (ความเสื่อมอายุ ความหงอ มอนิ ทรีย) กบั มรณะ (ความสลายแหงขันธ ความขาดชีวิตนิ ทรีย) หรือ ความ เสื่อม กับ ความสลายแหง ธรรมตา งๆ เหลา น้ันๆ๑ ค. ตัวอยา งคาํ อธบิ ายแบบชวงกวางทสี่ ุด เพื่อใหคําอธบิ ายส้ันและงา ย เห็นวาควรใชวธิ ยี กตัวอยา ง ดังน(้ี อาสวะ-) อวิชชา เขา ใจวาการเกดิ ใน สวรรคเปนยอดแหงความสขุ เขา ใจวาฆาคนน้ันคนนเี้ สียไดเปน ความสขุ เขา ใจวา ฆา ตัวตายเสียไดจะเปน สุข เขา ใจวา ถงึ ความเปน พรหมแลว จะไมเ กดิ ไมต าย เขา ใจวา ทําพิธีบวงสรวงเซนสงั เวยแลว จะไปสวรรคได เขา ใจวา จะไปนพิ พานไดด วยการบาํ เพ็ญตบะ เขา ใจวาตัวตนอันน้ีนัน่ แหละจะไดไปเกดิ เปนนน่ั เปนน่ีดวยการ กระทําอยางนี้ เขาใจวาตายแลวสูญ ฯลฯ จงึ - สังขาร นกึ คดิ ตัง้ เจตจาํ นงไปตามแนวทางหรือโดยสอดคลองกับความเขา ใจน้ันๆ คดิ ปรุงแตงวิธีการ และลงมอื กระทาํ การ (กรรม) ตางๆ ดวยเจตนาเชนนั้น เปนกรรมดี (บญุ ) บา ง เปนกรรมช่วั (อบญุ หรือบาป) บา ง เปนอาเนญชาบาง จึง - วญิ ญาณ เกิดความตระหนักรแู ละรบั รูอารมณต างๆ เฉพาะท่เี ปนไปตามหรือเขา กันไดก ับเจตนาอยา ง นนั้ เปน สําคัญ พูดเพือ่ เขา ใจกนั งายๆ กว็ า จติ หรอื วิญญาณถกู ปรุงแตง ใหม คี ุณสมบัติเฉพาะขน้ึ มาอยา งใดอยา ง หนงึ่ หรอื แบบใดแบบหน่ึง เม่ือตาย พลังแหง สงั ขารคอื กรรมทป่ี รงุ แตง ไว จงึ ทําใหป ฏิสนธวิ ิญญาณท่มี ีคณุ สมบัติเหมาะกับตวั มัน ปฏสิ นธขิ ้ึนในภพ และระดบั ชวี ติ ท่เี หมาะกนั คอื ถอื กําเนดิ ขน้ึ แลว

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตฺโต) 75 - นามรปู กระบวนการแหงการเกิด ก็ดาํ เนินการกอ รปู เปนชีวติ ท่พี รอ มจะปรุงแตง กระทาํ กรรมตา งๆ ตอ ไปอีก จึงเกิดมีรูปขนั ธ เวทนาขันธ สัญญาขนั ธ สงั ขารขันธข ึน้ โดยครบถว น ประกอบดวยคุณสมบตั ิและขอ บกพรอ งตางๆ ตามพลงั ปรงุ แตง ของสังขารคือกรรมทท่ี าํ มา และภายในขอบเขตแหงวิสัยของภพท่ไี ปเกดิ นน้ั สดุ แตจะเกดิ เปน มนษุ ย ดิรจั ฉาน เทวดา เปน ตน - สฬายตนะ แตช ีวติ ที่จะสนองความตองการของตวั ตน และพรอ มท่ีจะกระทาํ การตา งๆ โตต อบตอโลก ภายนอก จะตองมีทางติดตอ กบั โลกภายนอก สําหรับใหกระบวนการรับรูดาํ เนนิ งานได ดังนน้ั อาศยั นามรปู เปน เครอ่ื งสนับสนุน กระบวนการแหงชีวิตจึงดาํ เนนิ ตอไปตามพลังแหง กรรม ถึงขน้ั เกิดอายตนะทงั้ ๖ คอื ประสาท ตา หู จมูก ลนิ้ กาย และเครอ่ื งรับรอู ารมณภายใน คอื ใจ จากนั้น - ผสั สะ กระบวนการแหง การรบั รูก ็ดําเนินงานได โดยการเขา กระทบหรือประจวบกันระหวา งองค ประกอบสามฝา ย คอื อายตนะภายใน (ตา หู จมูก ลนิ้ กาย และใจ) กบั อารมณ หรอื อายตนะภายนอก (รปู เสยี ง กลน่ิ รส โผฏฐพั พะ และธรรมารมณ) และวญิ ญาณ (จกั ขวุ ิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวญิ ญาณ ชิวหา วิญญาณ กายวญิ ญาณ และมโนวญิ ญาณ) เม่อื การรบั รเู กดิ ขน้ึ คร้ังใด - เวทนา ความรูสึกทีเ่ รียกวา การเสวยอารมณ ก็จะตองเกิดขึ้นในรูปใดรปู หนึ่ง คือ สขุ สบาย (สขุ เวทนา) ไมสบาย เจ็บปวด เปนทุกข (ทกุ ขเวทนา) หรอื ไมก เ็ ฉยๆ (อทกุ ขมสขุ เวทนา หรืออุเบกขาเวทนา) และโดยวิสัย แหงปุถุชน กระบวนการยอ มไมหยดุ อยูเ พียงนี้ จึง - ตัณหา ถา สุขสบาย กช็ อบใจ ติดใจ อยากได หรอื อยากไดใหม ากยง่ิ ๆ ข้นึ ไปอกี เกดิ การทะยานอยาก และแสห าตา งๆ ถาเปนทกุ ข ไมสบาย กข็ ัดใจ ขดั เคือง อยากใหส ญู ส้นิ ใหหมดไป หรอื ใหพน ๆ ไปเสยี ดว ยการ ทําลายหรือหนไี ปใหพ นก็ตาม เกิดความกระวนกระวายด้นิ รนอยากใหพ น จากอารมณท ่ีเปนทกุ ข ขดั ใจ หนั ไปหา ไปเอาสิง่ อืน่ อารมณอ ืน่ ทจี่ ะใหค วามสขุ ได หรอื ไมก ร็ ูสกึ เฉยๆ คืออุเบกขา ซึ่งเปนความรูสกึ เพลินๆ อยา งละเอยี ด จดั เขา ในฝา ยสขุ เพราะไมข ดั ใจ เปนความสบายอยางออ นๆ จากนัน้ - อุปาทาน ความอยากเมื่อรนุ แรงขึ้นก็กลายเปน ยดึ คือยดึ มั่นถือม่ันติดสยบหมกมุนในส่ิงนั้น หรอื เมื่อ ยังไมไ ดกอ็ ยากดว ยตณั หา เมอ่ื ไดห รอื ถึงแลว กย็ ึดฉวยไวดว ยอุปาทาน และเม่ือยดึ มน่ั กม็ ิใชย ดึ แตอารมณที่ อยากได (กามุปาทาน) เทานั้น แตยังพวงเอาความยดึ ม่ันในความเหน็ ทฤษฎี ทฏิ ฐิ ตางๆ (ทิฏปุ าทาน) ความ ยดึ มน่ั ในแบบแผนความประพฤตแิ ละขอปฏบิ ตั ิทจ่ี ะใหไดสิง่ ทป่ี รารถนา (สลี พั พตุปาทาน) และความยึดม่นั ถือ ม่ันในตวั ตน (อัตตวาทุปาทาน) พัวพนั เก่ียวเน่อื งกันไปดว ย ความยดึ มน่ั ถือมน่ั น้ี จึงกอ ใหเ กดิ - ภพ เจตนา เจตจาํ นงทจ่ี ะกระทําการ เพอื่ ใหไ ดม าและใหเ ปนไปตามความยดึ มนั่ ถือม่นั นน้ั และนาํ ให เกดิ กระบวนพฤตกิ รรม (กรรมภพ) ท้งั หมดขึ้นอกี เปน กรรมดี กรรมชัว่ หรืออาเนญชา สอดคลอ งกบั ตัณหา อปุ าทานนนั้ ๆ เชน อยากไปสวรรค และมีความเห็นท่ียึดมน่ั ไววา จะไปสวรรคไดด ว ยการกระทําเชนนี้ ก็กระทํา กรรมอยางนนั้ ๆ ตามท่ีตองการ พรอมกบั การกระทาํ นัน้ กเ็ ปนการเตรยี มภาวะแหง ชีวิต คือขันธ ๕ ทจ่ี ะปรากฏ

พุทธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 76 ในภพที่สมควรกับกรรมน้ันไวพรอมดว ย (อปุ ปตติภพ) เมอ่ื กระบวนการกอ กรรมดาํ เนนิ ไปเชน น้ีแลว ครน้ั ชวี ิต ชวงหนง่ึ สน้ิ สุดลง พลงั แหง กรรมทีส่ รางสมไว (กรรมภพ) กผ็ ลกั ดันใหเ กิดการสบื ตอข้ันตอนตอไปในวงจรอกี คอื - ชาติ เรมิ่ แตป ฏิสนธวิ ิญญาณท่มี คี ณุ สมบัติสอดคลองกับพลังแหง กรรมนั้น ปฏสิ นธขิ นึ้ ในภพที่สมควร กบั กรรม บงั เกิดขันธ ๕ ข้ึนพรอ ม เร่ิมกระบวนการแหง ชวี ิตใหดาํ เนินตอไป คือ เกดิ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ และเวทนาข้ึน หมนุ เวยี นวงจรอีก และเม่อื การเกิดมีข้ึนแลว ยอ มเปนการแนนอนท่ีจะตอ งมี - ชรามรณะ ความเสอ่ื มโทรม และแตกดบั แหง กระบวนการของชีวติ นัน้ สําหรับปถุ ชุ น ชรามรณะนี้ ยอมคุกคามบบี ค้นั ทงั้ โดยชดั แจง และแฝงซอ น (อยูในจติ สว นลกึ ) ตลอดเวลา ดังนนั้ ในวงจรชีวิตของปถุ ุชน ชรามรณะจงึ พว งมาพรอมดว ย ..... โสกะ ปรเิ ทวะ ทกุ ข โทมนัส อปุ ายาส ซ่งึ เรยี กรวมวา ความทุกขน น่ั เอง คาํ สรปุ ของปฏิจจสมุปบาท จึงมีวา “กองทกุ ขท ง้ั ปวง จึงเกดิ มีดว ยอาการอยางน”้ี อยางไรกด็ ี เนอื่ งจากเปนวฏั ฏะ หรือวงจร จงึ มิใชม ีความสนิ้ สุดทจ่ี ุดนี้ แทจ รงิ องคประกอบชวงนี้ กลบั เปน ขน้ั ตอนสาํ คัญอยางย่งิ อกี ตอนหน่ึง ทจ่ี ะทาํ ใหวงจรหมนุ เวยี นตอไป กลาวคือ โสกะ (ความแหง ใจ) ปรเิ ทวะ (ความรํา่ ไร) ทุกข โทมนัส (ความเสยี ใจ) อปุ ายาส (ความผิดหวังคับแคน ใจ) เปนอาการสําแดงออกของการมี กเิ ลสทีเ่ ปน เช้อื หมกั ดองอยูในจิตสันดาน ที่เรยี กวา “อาสวะ” อนั ไดแกความใฝใ จในสง่ิ สนองความอยากทาง ประสาททั้ง ๕ และทางใจ (กามาสวะ) ความเห็นความยดึ ถือตา งๆ เชน ยดึ ถือวา รปู เปน เรา รปู เปนของเรา เปนตน (ทิฏฐาสวะ) ความชน่ื ชอบอยใู นใจวา ภาวะแหง ชวี ิตอยางนัน้ อยางนี้ เปน ส่งิ ดีเลิศ ประเสริฐ มคี วามสุข เชน คดิ ภมู ิใจหมายมนั่ อยวู าเกิดเปนเทวดามีความสขุ แสนพรรณนา เปนตน (ภวาสวะ) และความไมร สู งิ่ ทง้ั หลายตามท่ีมนั เปน (อวชิ ชาสวะ) ชรามรณะเปน เครอ่ื งหมายแหงความเส่ือมสนิ้ สลาย ซึ่งขัดกบั อาสวะเหลา นี้ เชน ในดา นกามาสวะ ชรา มรณะทําใหป ุถชุ นเกดิ ความรูสึกวา ตนกําลงั พลดั พราก หรอื หมดหวงั จากส่งิ ทช่ี น่ื ชอบทีป่ รารถนา ในดา นทฏิ ฐา สวะ เม่ือยดึ ถืออยวู า รางกายเปน ตัวเราเปน ของเรา พอรา งกายแปรปรวนไป กผ็ ดิ หวังแหงใจ ในดา นภวาสวะทํา ใหรูสึกตัววา จะขาด พลาด พราก ผิดหวัง หรือหมดโอกาสทจ่ี ะครองภาวะแหงชีวติ ทต่ี วั ชนื่ ชอบอยา งนัน้ ๆ ใน ดา นอวชิ ชาสวะ กค็ อื ขาดความรูค วามเขาใจมูลฐานตง้ั ตน แตวาชีวติ คอื อะไร ความแกช ราคืออะไร ควรปฏบิ ตั ิ อยา งไรตอความแกช รา เปนตน เม่ือขาดความรูความคดิ ในทางท่ีถกู ตอ ง พอนกึ ถงึ หรอื เขาเกีย่ วขอ งกบั ชรา มรณะก็บงั เกิดความรสู ึกและแสดงอาการในทางหลงงมงาย หวาดกลัว และเกิดความซึมเศรา หดหตู างๆ ดงั น้นั อาสวะจงึ เปน เช้ือ เปนปจ จยั ท่ีจะให โสกะ ปรเิ ทวะ ทกุ ข โทมนัส อปุ ายาส เกิดขนึ้ ไดท นั ทที ่ีชรามรณะเขามา เก่ียวขอ ง อน่ึง โสกะ เปน ตนเหลา น้ี แสดงถึงอาการมดื มวั ของจติ ใจ เวลาใดความทกุ ขเ หลา นีเ้ กดิ ขึน้ จติ ใจจะพรา มวั เรารอนอับปญ ญา เมอ่ื เกิดอาการเหลา นี้ กเ็ ทา กบั พวงอวิชชาเกิดข้ึนมาดวย อยา งท่กี ลาวในวสิ ทุ ธมิ คั คว า :โส

พทุ ธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 77 กะ ทกุ ข โทมนัส และอุปายาส ไมแ ยกไปจากอวิชชา และธรรมดาปริเทวะก็ยอ มมแี กค นหลง เหตนุ ้ัน เม่ือโสกะ เปน ตน สําเร็จแลวอวิชชากย็ อมเปนอนั สาํ เรจ็ แลว วา: ในเร่อื งอวิชชา พงึ ทราบวา ยอมเปน อนั สําเร็จมาแลวแตธ รรมมีโสกะเปนตน และวา: อวชิ ชายอมยงั เปน ไปตลอดเวลาที่โสกะเปนตนเหลา นน้ั ยงั เปนไปอยู โดยนยั น้ี ทานจึงกลาววา “เพราะอาสวะเกิด อวิชชาจงึ เกดิ ” และสรุปไดวา ชรามรณะของปุถุชน ซง่ึ พว งดวยโสกะ ปรเิ ทวะ ทุกข โทมนัส อุปายาส ยอ มเปนปจ จัยใหเกดิ อวชิ ชา หมุนวงจรตอเน่อื งไปอีกไมข าดสาย จากคาํ อธิบายตามแบบ ทไี่ ดแสดงมา มขี อ สงั เกตและสง่ิ ทคี่ วรทาํ ความเขา ใจเปน พเิ ศษ ดังน้ี ๑. วงจรแหงปฏิจจสมปุ บาทตามคาํ อธบิ ายแบบน้ี นยิ มเรยี กวา “ภวจักร” ซง่ึ แปลวาวงลอ แหง ภพ หรือ “สงั สารจักร” ซ่งึ แปลวา วงลอ แหง สังสารวฏั และจะเหน็ ไดว า คาํ อธบิ ายคาบเกยี่ วไปถงึ ๓ ชว งชีวติ คือ อวชิ ชา กบั สงั ขาร ชวงหน่ึง วญิ ญาณ ถงึ ภพ ชวงหนง่ึ และ ชาติ กบั ชรามรณะ (พว งดวย โสกะ เปนตน ) อีก ชวงหนึ่งถากาํ หนดเอาชว งกลาง คอื วิญญาณ ถงึ ภพ เปน ชีวติ ปจจุบัน ชว งชีวิตทัง้ ๓ ซึ่งประกอบดว ยองค (หวั ขอ) ๑๒ ก็แบง เปน กาล ๓ ดงั นี้ ๑) อดีต = อวิชชา สังขาร ๒) ปจ จุบัน = วญิ ญาณ นามรปู สฬายตนะ ผสั สะ เวทนา ตณั หา อุปาทาน ภพ ๓) อนาคต = ชาติ ชรามรณะ (+ โสกะ ฯลฯ) ๒. เมือ่ แยกออกเปน ๓ ชวงเชนนี้ ยอ มถือเอาชว งกลาง คอื ชวี ติ ปจจบุ นั หรือชาตนิ ้ี เปน หลัก และ เมือ่ ถอื เอาชวงกลางเปนหลัก ก็ยอมแสดงความสัมพันธในฝา ยอดตี เฉพาะดา นเหตุ คือสบื สาวจากผลทีป่ รากฏ ในปจ จุบนั วาเกิดมาจากเหตุอะไรในอดตี (= อดีตเหต-ุ ปจ จุบนั ผล) และในฝา ยอนาคตแสดงเฉพาะดานผล คอื สืบสาวจากเหตุในปจจบุ ันออกไปวา จะใหเ กิดผลอะไรในอนาคต (= ปจ จุบนั เหตุ-อนาคตผล) โดยนัยน้ี เฉพาะ ชว งกลาง คอื ปจจุบันชว งเดียว จึงมพี รอมทัง้ ฝา ยผล และ เหตุ เมอื่ มองตลอดสาย กแ็ สดงไดเปน ๔ ชว ง (เรียก วา สงั คหะ ๔ หรือ สงั เขป ๔) ดงั นี้ ๑) อดตี เหตุ = อวิชชา สงั ขาร ๒) ปจจบุ นั ผล = วิญญาณ นามรปู สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ๓) ปจจุบนั เหตุ = ตัณหา อปุ าทาน ภพ ๔) อนาคตผล = ชาติ ชรามรณะ (+ โสกะ ฯลฯ) ๓. จากคาํ อธบิ ายขององคประกอบแตล ะขอ จะเหน็ ความหมายที่ คาบเกยี่ วเช่อื มโยงกนั ขององคป ระกอบบางขอ ซึง่ จัดเปน กลุม ไดดงั นี้

พทุ ธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 78 ๑) อวิชชา กบั ตัณหา อุปาทาน - จากคาํ อธบิ ายของ อวิชชา จะเห็นชดั วา มีเรอ่ื งของความอยาก (ตัณหา) และความยึดมัน่ (อปุ าทาน) โดยเฉพาะความยึดม่ันในเร่อื งตวั ตนเขา แฝงอยดู ว ยทกุ ตวั อยา ง เพราะเม่อื ไมร จู กั ชีวติ ตามความเปน จรงิ หลงผดิ วามตี วั ตน กย็ อมมคี วามอยากเพ่ือตัวตน และความยึดถือเพ่อื ตวั ตนตางๆ และในคําที่วา “อาสวะเกิด อวชิ ชาจงึ เกดิ ” น้ัน กามาสวะ ภวาสวะ และ ทฏิ ฐาสวะ ก็เปนเรื่องของตัณหาอุปาทานนน่ั เอง ดงั นน้ั เม่อื พูดถึงอวชิ ชา จงึ มคี วามหมายพวงหรือเชอื่ มโยงไปถึงตณั หาและอุปาทานดว ยเสมอ - ในคําอธบิ าย ตัณหา และ อุปาทาน ก็เชน เดยี วกนั จะเหน็ ไดว า มอี วชิ ชาแฝงหรอื พวงอยดู วยเสมอ ใน แงทว่ี า เพราะหลงผดิ วา เปนตวั ตน จึงอยากและยึดถอื เพ่ือตวั ตนน้นั เพราะไมรสู ง่ิ ทัง้ หลายตามทม่ี นั เปน จึงเขา ไปอยากและยึดถอื ในสิง่ เหลา น้ันวา เปน เราเปนของเรา หรืออยากไดเพ่อื เราเปน เรือ่ งของความเห็นแกตัวทง้ั ส้นิ และในเวลาที่อยากและยดึ ถอื เชนน้ัน ยง่ิ อยากและยึดแรงเทาใด กย็ ิง่ มองขา มเหตผุ ล มองไมเห็นสงิ่ ท้งั หลาย ตามสภาพของมัน และละเลยการปฏิบตั ิตอ มันดวยสตปิ ญ ญาตามเหตตุ ามผลมากขึ้นเพยี งนน้ั โดยเหตุนี้ เม่อื พูดถึง ตัณหา อุปาทาน จงึ เปนอันพว งเอาอวชิ ชาเขาไวดวย โดยนยั น้ี อวิชชา ในอดีตเหตุ กับ ตัณหา อปุ าทาน ในปจจบุ นั เหตุ จึงใหความหมายทีต่ อ งการไดเ ปน อยางเดียวกนั แตการที่ยกอวชิ ชาข้ึนในฝายอดีต และยกตัณหาอุปาทานขึ้นในฝายปจ จุบัน ก็เพอ่ื แสดงตวั ประกอบทีเ่ ดน เปนตวั นํา ในกรณีที่สัมพนั ธก บั องคป ระกอบขออ่ืนๆ ในภวจักร ๒) สังขาร กบั ภพ สังขารกบั ภพ มคี ําอธบิ ายในวงจรคลายกันมาก สงั ขารอยใู นชว งชีวติ ฝายอดีต และภพอยใู นชวงชีวติ ฝา ยปจ จบุ นั ตา งกเ็ ปน ตัวการสาํ คญั ที่ปรุงแตง ชวี ติ ใหเ กดิ ในภพตางๆ ความหมายจึงใกลเ คยี งกนั มาก ซึ่งความ จรงิ กเ็ กอื บเปน อันเดยี วกัน ตางที่ขอบเขตของการเนน สงั ขาร มงุ ไปท่ีตวั เจตนา หรอื เจตจํานงผูปรงุ แตงการกระทาํ เปน ตวั นําในการทาํ กรรม สว น ภพ มีความหมายกวา งกวา โดยแบงเปนกรรมภพ กบั อุปปต ตภิ พ กรรมภพแมจะมีเจตนาเปน ตวั การสาํ คญั เหมอื นสงั ขาร แตใ หค วามรสู ึกครอบคลมุ มากกวา โดยเพงเอากระบวนพฤติกรรมทงั้ หมดทีเดียว สวน อุปปตติภพ หมายถงึ ขันธ ๕ ท่ีเกดิ เพราะกรรมภพนน้ั โดยนยั น้ี สงั ขาร กบั กรรมภพ จงึ พดู พว งไปดวยกันได ๓) วญิ ญาณ ถงึ เวทนา กับ ชาติ ชรามรณะ (+ โสกะ ฯลฯ) - วิญญาณ ถึง เวทนา เปนตวั ชวี ิตปจจบุ ัน ซ่ึงเปน ผลมาจากเหตใุ นอดตี มุงกระจายกระบวนการออกให เห็นอาการทอ่ี งคประกอบสว นตา งๆ ของชีวิต ซง่ึ เปนฝายผลในปจ จบุ ัน เขาสมั พนั ธกันจนเกดิ องคป ระกอบอ่นื ๆ ทเี่ ปนเหตปุ จ จุบนั ท่ีจะใหเกดิ ผลในอนาคตตอ ไปอีก - สว น ชาติ ชรามรณะ แสดงไวเ ปนผลในอนาคต ตอ งการช้ีใหเ หน็ เพยี งวา เมื่อเหตุปจจบุ ันยงั มีอยู ผล ในอนาคตกจ็ ะยังมีตอ ไป จึงใชเ พียงคาํ วา ชาติ และชรามรณะ ซ่ึงก็หมายถงึ การเกดิ ดบั ของ วญิ ญาณ ถงึ เวทนา

พุทธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 79 นั่นเอง แตเ ปน คําพูดแบบสรุป และตองการเนนในแงก ารเกดิ ขน้ึ ของทกุ ข เชื่อมโยงกลับเขาสวู งจรอยางเดิมได อกี ดังน้นั ตามหลักจึงกลาววา วญิ ญาณ ถึง เวทนา กับ ชาติ ชรามรณะเปนอันเดียวกนั พูดแทนกันได เมือ่ ถอื ตามแนวนี้ เรอ่ื ง เหต-ุ ผล ๔ ชวงในขอ ๒. จึงแยกองคป ระกอบเปน ชว งละ ๕ ไดทกุ ตอน คอื ๑) อดตี เหตุ ๕ = อวชิ ชา สงั ขาร ตณั หา อปุ าทาน ภพ ๒) ปจ จบุ ันผล ๕ = วญิ ญาณ นามรูป สฬายตนะ ผสั สะ เวทนา (= ชาติ ชรามรณะ) ๓) ปจ จบุ นั เหตุ ๕ = อวชิ ชา สังขาร ตัณหา อุปาทาน ภพ ๔) อนาคตผล ๕ = วญิ ญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา (= ชาติ ชรามรณะ) เมือ่ นบั หวั ขอ ดงั น้ี จะได ๒๐ เรียกกันวา อาการ ๒๐ ๔. จากคําอธบิ ายในขอ ๓. จงึ นาํ องค ๑๒ ของปฏจิ จสมปุ บาท มาจัดประเภทตามหนา ทขี่ องมนั ในวงจร เปน ๓ พวก เรียกวา วัฏฏะ ๓ คือ ๑) อวิชชา ตณั หา อปุ าทาน เปน กิเลส คอื ตัวสาเหตผุ ลกั ดนั ใหคิดปรงุ แตงกระทําการตางๆ เรยี ก วา กเิ ลสวัฏ ๒) สงั ขาร (กรรม)ภพ เปน กรรม คอื กระบวนการกระทาํ หรอื กรรมท้งั หลายท่ีปรงุ แตง ชีวิตใหเ ปน ไปตา งๆ เรียกวา กรรมวัฏ ๓) วญิ ญาณ นามรูป สฬายตนะ ผสั สะ เวทนา เปน วบิ าก คือสภาพชวี ติ ท่ีเปน ผลแหงการปรงุ แตง ของกรรม และกลบั เปน ปจจัยแหง การกอ ตัวของกิเลสตอไปไดอ กี เรียกวา วิปากวัฏ วฏั ฏะ ๓ นี้ หมุนเวียนตอ เน่อื งเปนปจจัยอดุ หนนุ แกก นั ทาํ ใหวงจรแหงชีวติ ดําเนนิ ไปไมข าดสาย ซึ่งอาจ เขียนเปน ภาพไดดงั น้ี ๕. ในฐานะทีก่ ิเลสเปน ตัวมลู เหตุของการกระทาํ กรรมตางๆทีจ่ ะปรงุ แตงชวี ิตใหเ ปนไปจึงกาํ หนด ใหก ิเลสเปน จุดเรม่ิ ตน ในวงจรเม่ือกาํ หนดเชน น้กี ็จะไดจ ดุ เร่มิ ตน ๒ แหงในวงจรนี้ เรยี กวา มลู ๒ ของ ภวจกั ร คอื ๑) อวชิ ชา เปน จุดเริม่ ตน ในชว งอดตี ท่ีสง ผลมายังปจจบุ นั ถึง เวทนาเปนท่สี ุด ๒) ตณั หา เปน จุดเร่ิมตน ในชวงปจ จุบัน ตอจากเวทนา สง ผลไปยัง อนาคต ถงึ ชรามรณะเปนทีส่ ดุ เหตุผลท่ีแสดงอวชิ ชาในชวงแรก และตณั หาในชว งหลังน้นั เหน็ ไดช ดั อยูแลว อยางท่ีกลาวในขอ ๓. คือ อวิชชา ตอ เนื่องจาก โสกะ ปรเิ ทวะ ฯลฯ สว นตัณหา ตอ เน่ืองจากเวทนา ดงั น้ัน อวิชชา และ ตณั หา จงึ เปนกเิ ลส ตัวเดนตรงกับกรณีนน้ั ๆ

พุทธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 80 อน่งึ ในแงข องการเกิดในภพใหม คําอธบิ ายตามแบบกไ็ ดแสดงความแตกตางระหวา ง กรณที อ่ี วิชชา เปน กิเลสตัวเดน กับ กรณที ่ตี ัณหาเปนกเิ ลสตวั เดน ไวด วย คอื - อวิชชา เปนตัวการพเิ ศษ ทจี่ ะใหสตั วไปเกิดในทุคติ เพราะผถู กู อวิชชาครอบงาํ ไมรูว า อะไรดี อะไรช่วั อะไรถกู อะไรผิด อะไรเปน ประโยชนไมเปนประโยชน อะไรเปน เหตุใหเ กิดความเสื่อมพนิ าศ ยอมทาํ การตางๆ ดวยความหลง มดื มัว ไมมีหลกั จงึ มโี อกาสทํากรรมทผี่ ิดพลาดไดมาก - ภวตณั หา เปนตัวการพเิ ศษท่จี ะใหส ัตวไปเกิดในสคุ ติ ในกรณที ีภ่ วตัณหาเปนตวั นํา บุคคลยอ มคาํ นงึ ถงึ และใฝใจในภาวะแหงชีวิตทด่ี ๆี ถาเปนโลกหนา ก็คิดอยากไปเกิดในสวรรค ในพรหมโลก เปนตน ถาเปนภพ ปจจุบนั ก็อยากเปนเศรษฐี อยากเปนคนมีเกยี รติ ตลอดจนอยากไดช่ือวาเปน คนดี เมื่อมคี วามอยากเชนน้ี กจ็ งึ คิดการและลงมอื กระทํากรรมตา งๆ ทจี่ ะเปน ทางใหบรรลุจดุ หมายน้นั ๆ เชน อยากไปเกดิ เปน พรหม ก็บําเพ็ญ ฌานอยากไปสวรรค ก็ใหท านรักษาศลี อยากเปนเศรษฐี กข็ ยันหาทรพั ย อยากเปน คนมีเกียรติ ก็สรางความดี ฯลฯ ทําใหรูจักยงั้ คดิ และไมป ระมาทขวนขวายในทางทีด่ ี มีโอกาสทาํ ความดีไดม ากกวาผอู ยูดว ยอวชิ ชา เร่ืองท่ยี กอวิชชา และ ภวตัณหา เปนหัวขอ ตน (มลู ) ของวัฏฏะ แตก ็มใิ ชเปนมูลการณนัน้ มีพทุ ธพจน แสดงไวอีก เชน ภิกษทุ ง้ั หลาย ปลายแรกสุดของอวิชชาจะปรากฏกห็ าไมวา “กอ นแตน ี้ อวิชชามิไดม ี คร้ันมาภายหลัง จงึ มีข้นึ ” เรอื่ งน้ี เรากลาวดงั นวี้ า “ก็แล เพราะส่ิงนเ้ี ปน ปจ จยั อวิชชาจึงปรากฏ” สวน ภวตัณหา ก็มีพทุ ธพจนแสดงไว มีความอยางเดยี วกัน ดงั นี้ ภกิ ษุท้ังหลาย ปลายแรกสุดของภวตณั หาจะปรากฏกห็ าไมว า “กอนแตน ้ี ภวตณั หามิไดม ี คร้นั มาภาย หลัง จงึ มขี ้นึ ” เรื่องน้ี เรากลาวดังนว้ี า “ก็แล เพราะสงิ่ นีเ้ ปน ปจจยั ภวตณั หาจงึ ปรากฏ” ขอ ที่อวิชชาและตณั หาเปน ตัวมลู เหตุ และมาดวยกัน กม็ ีพทุ ธพจนแ สดงไว เชน ภิกษุทงั้ หลาย กายน้ี เกิดขึน้ พรอ มแลว อยา งน้ี แกค นพาล แกบณั ฑิต ผูถ กู อวชิ ชาปดกั้น ผถู กู ตัณหาผกู รดั ก็แล กายน้นี ัน่ เอง กับนามรูปภายนอก จงึ มเี ปน ๒ อยา ง อาศัย ๒ อยางนั้น จงึ มผี สั สะเพียง ๖ อายตนะเทา นนั้ คนพาล..บัณฑิต ไดผ ัสสะโดยทางอายตนะเหลา นีห้ รอื เพยี งอนั ใดอนั หนง่ึ จึงไดเ สวยความสขุ และความทกุ ข ๖. อาการทอ่ี งคป ระกอบตางๆ ในปฏจิ จสมุปบาท สัมพนั ธเ ปนปจ จยั แกกนั น้นั ยอ มเปนไปโดย แบบความสมั พันธอ ยางใดอยา งหนง่ึ หรือหลายอยา ง ในบรรดาแบบความสัมพนั ธท่เี รยี กวา ปจจยั ๒๔ อยาง ตามคาํ อธบิ ายแบบท่ีเรียกวา ปฏฐานนยั อนงึ่ องคป ระกอบแตล ะขอ ยอมมรี ายละเอียดและขอบเขตความหมายกวางขวางอยูในตัว เชน เรอ่ื ง วิญญาณหรอื จติ กแ็ ยกออกไปไดอีกวา วญิ ญาณหรือจติ ทด่ี ีหรอื ช่วั มคี ณุ สมบตั ิอยางไรบา ง มีกีร่ ะดับ จติ อยาง ใดจะเกิดได ณ ภพใด ดังน้เี ปนตน หรือในเรื่องรูป ก็มรี ายละเอยี ดอกี เปน อนั มาก เชน รปู มีก่ปี ระเภท แตละอยาง มคี ณุ สมบัติอยา งไร ในภาวะเชนใดจะมีรปู อะไรเกดิ ขึ้นบาง ดังนเ้ี ปน ตน

พุทธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 81 เรอื่ ง ปจจยั ๒๔ น้ันกด็ ี รายละเอยี ดโดยพิสดารขององคประกอบแตละขอ ๆ ก็ดี เห็นวา ยังไมจําเปนจะ ตองนํามาแสดงไวใ นท่ีนท้ี ง้ั หมด ผูส นใจพเิ ศษพึงศึกษาโดยเฉพาะจากคมั ภรี ฝายอภธิ รรม จากคําอธบิ ายขา งตน อาจแสดงเปนแผนภาพประกอบความเขาใจไดดังนี้ หมายเหตุ: เทยี บตามแนวอรยิ สัจ เรียกชว งเหตุวา “สมทุ ยั ” เพราะเปน ตัวการกอ ทุกข เรยี กชว งผลวา “ทกุ ข” อีกอยางหนงึ่ เรยี กชวงเหตวุ า “กรรมภพ” เพราะเปน กระบวนการฝายกอ เหตุ เรยี กชว งผลวา “อุปปตติ ภพ” เพราะเปน กระบวนการฝา ยเกิดผล - จุดเชือ่ มตอระหวาง เหตุ กบั ผล และ ผล กับ เหตุ เรยี กวา “สนธ”ิ มี ๓ คือ สนธิท่ี ๑=เหตผุ ลสนธิ สนธิท่ี ๒=ผลเหตุสนธิ สนธทิ ี่ ๓=เหตผุ ลสนธิ ๖. ความหมายในชีวติ ประจาํ วัน คาํ อธิบายท่ผี านมาแลวน้นั เรยี กวา คาํ อธบิ ายตามแบบ โดยความหมายวา เปน คาํ อธิบายที่มใี นคัมภีร อรรถกถาตา งๆ และนยิ มยดึ ถอื กนั สบื มา จะเห็นไดว า คําอธิบายแบบนน้ั มุงแสดงในแงส ังสารวฏั คอื การเวยี น วา ยตายเกดิ ขา มชาตขิ า มภพ ใหเหน็ ความตอเนอ่ื งกนั ของชีวิตในชาติ ๓ ชาติ คือ อดตี ปจ จบุ นั และอนาคต และไดจดั วางรูปคาํ อธบิ ายจนดเู ปน ระบบ มแี บบแผนแนนอนตายตวั ผไู มเห็นดว ย หรือไมพ อใจกบั คาํ อธบิ ายแบบนน้ั และตอ งการอธิบายตามความหมายทเี่ ปน ไปอยทู ุก ขณะในชวี ติ ประจาํ วนั นอกจากจะสามารถอา งคําอธบิ ายในคัมภรี อภิธรรม ทีแ่ สดงปฏจิ จสมปุ บาทตลอดสายใน ขณะจิตเดยี วแลว ยังสามารถตคี วามพุทธพจนข อเดยี วกันกบั ทฝ่ี า ยอธบิ ายตามแบบไดใ ชอางอิงนนั่ เอง ใหเหน็ ความหมายอยา งที่ตนเขา ใจ นอกจากน้นั ยังสามารถอา งเหตผุ ลและหลักฐานในคมั ภีรอ ยางอ่ืนๆ เปนเครื่องยนื ยนั ความเห็นฝา ยตนใหห นกั แนน ยง่ิ ขน้ึ ไปอีกไดดว ย คําอธิบายแบบน้ี มคี วามหมายท่ีนาสนใจพเิ ศษเฉพาะตัว มนั จึงแยกมาตั้งเปนอีกหัวขอหนึ่งตางหาก เหตผุ ลท่อี า งไดในการอธิบายแบบนมี้ หี ลายอยาง เชนวา การดับทุกข และอยูอยางไมม ที ุกขข องพระ อรหันต เปน เรอ่ื งที่เปนไปอยูตัง้ แตชีวติ ปจ จบุ ันนี้แลว ไมตอ งรอใหสิ้นชวี ิตเสียกอ นจึงจะไมมชี าตใิ หม ไมมชี รา มรณะแลวจงึ ไมมี โสกะ ปรเิ ทวะ ทุกข โทมนัส อปุ ายาส ในอนาคตชาติ แตโ สกะ ปรเิ ทวะ ฯลฯ ไมม ตี งั้ แตชาติ ปจจุบนั นแ้ี ลว วงจรของปฏจิ จสมุปบาทในการเกดิ ทกุ ข หรือดับทกุ ขก็ดี จึงเปนเรื่องของชวี ิตท่เี ปน ไปอยใู น ปจจุบนั นเี้ องครบถวนบรบิ ูรณ ไมต องไปคนหาในชาติกอ น หรือรอไปดชู าตหิ นา นอกจากน้นั เมือ่ เขา ใจวงจรทีเ่ ปนไปอยใู นชีวิตปจจบุ นั ดีแลว กย็ อมเขาใจวงจรในอดตี และวงจรใน อนาคตไปดวย เพราะเปน เร่ืองอยางเดียวกนั น่นั เอง ในดานพุทธพจน ก็อาจอา งพุทธดาํ รสั ตอไปน้ี เชน ดูกรอทุ ายี ผใู ดระลกึ ขันธท ่เี คยอยมู ากอ นไดต า งๆ มากมาย… ผนู ้ัน จงึ ควรถามปญ หากะเราในเรอื่ งหน หลงั (ชาตกิ อน) หรอื เราจงึ ควรถามปญ หาในเร่อื งหนหลงั กะผูน ั้น ผูน ัน้ จึงจะทําใหเราถกู ใจไดด ว ยการแกป ญ หา ในเรอื่ งหนหลงั หรอื เราจึงจะทําใหผนู นั้ ถกู ใจไดด ว ยการแกปญ หาในเรอ่ื งหนหลงั

พุทธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 82 ผใู ดเห็นสตั วท ้ังหลาย ทงั้ ทจี่ ุติอยู ท้งั ทีอ่ บุ ตั อิ ยู ดวยทพิ ยจักษ.ุ ..ผูนน้ั จึงควรถามปญหากะเราในเร่อื งหน หนา (ชาติหนา ) หรอื วา เราจงึ ควรถามปญ หาในเรอื่ งหนหนา กะผนู ัน้ ผนู น้ั จงึ จะทาํ ใหเราถกู ใจไดดว ยการแก ปญหาในเรอ่ื งหนหนา หรือเราจงึ จะทําใหผนู นั้ ถกู ใจไดดวยการแกปญ หาในเร่ืองหนหนา ก็แล อทุ ายี เรื่องหนกอน ก็งดไวเ ถดิ เรื่องหนหนา ก็งดไวเ ถดิ เราจกั แสดงธรรมแกทาน “เม่ือสิง่ น้ีมี สงิ่ นี้ จงึ มี เพราะสิ่งนเี้ กิดข้นึ ส่ิงนีจ้ งึ เกิดเมือ่ ส่ิงนไ้ี มมี สิง่ นจ้ี งึ ไมม ี เพราะส่ิงนดี้ บั ส่งิ น้ีจงึ ดับ” นายบาน ช่อื คนั ธภกั นง่ั ลง ณ ทีส่ มควรแลว ไดกราบทลู พระผูม ีพระภาคเจา วา “ขาแตพระองคผ ูเ จริญ ขอพระผมู ีพระภาคเจาไดโปรดแสดงความอุทยั และความอัสดงแหง ทุกข แกข า พระองคด วยเถดิ ” พระผูม ีพระภาคเจาตรัสวา:- แนะทานนายบาน ถาเราแสดงความเกิดขน้ึ และความอัสดงแหง ทุกขแก ทา น โดยอา งกาลสวนอดตี วา “ในอดีตกาล ไดม ีแลว อยางน”้ี ความสงสยั เคลือบแคลงในขอน้ัน ก็จะมีแกทา น ได ถาเราแสดงความเกดิ ขึน้ และความอสั ดงแหงทุกขแ กท า น โดยอางกาลสวนอนาคตวา “ในอนาคตกาล จกั เปนอยางน้ี” ความสงสยั ความเคลือบแคลง กจ็ ะมีแกทานแมในขอนัน้ ไดอ กี กแ็ ล ทานนายบาน เราน่งั อยทู ี่น่ี แหละ จักแสดงความเกิดขึ้นและความอัสดงแหง ทกุ ขแกทาน ผนู ่ังอยู ณ ท่นี เ้ี หมอื นกนั ดกู รสวิ ก เวทนาบางอยางเกดิ ขึ้น มีดเี ปน สมุฏฐานกม็ .ี ..มีเสมหะเปน สมุฏฐานก็มี...มีลมเปน สมุฏฐานก็ มี...มกี ารประชุมแหงเหตเุ ปน สมุฏฐานกม็ ี...เกดิ จากความแปรปรวนแหง อุตกุ ็มี...เกิดจากบรหิ ารตนไมส มาํ่ เสมอ กม็ ี...เกดิ จากถกู ทาํ รา ยกม็ .ี ..เกิดจากผลกรรมกม็ ี ขอ ท่เี วทนา...เกิดขึน้ โดยมี (สิ่งท่ีกลา วมาแลว ) เปนสมฏุ ฐาน เปนเรอ่ื งทีร่ ูไดดว ยตนเอง ท้งั ชาวโลกกร็ กู นั ทั่ววา เปน ความจรงิ อยางน้ัน ในเรอ่ื งนัน้ สมณพราหมณเ หลาใด มีวาทะ มคี วามเห็นอยา งน้ีวา “บคุ คลไดเ สวยเวทนาอยา งใดอยา ง หน่งึ เปนสุขกต็ าม เปนทุกขกต็ ามเวทนาทั้งหมดน้นั เปน เพราะกรรมท่กี ระทาํ ไวใ นปางกอ น” สมณพราหมณ เหลา นั้น ชอ่ื วา แลนไปไกลลวงเลยสิ่งที่รกู นั ไดดว ยตนเอง แลนไปไกลลวงเลยส่งิ ท่ชี าวโลกเขารกู ันทว่ั วาเปน ความจริง ฉะนั้น เรากลาววาเปนความผดิ ของสมณพราหมณเ หลา นน้ั เอง ภกิ ษทุ ัง้ หลาย บุคคลจงใจ กาํ หนดจดจอ ครุนคดิ ถงึ สง่ิ ใด ส่ิงน้ันยอมเปน อารมณเ พื่อใหว ิญญาณดาํ รง อยู เม่ืออารมณมอี ยู วิญญาณกม็ ีทีอ่ าศยั เมื่อวิญญาณต้งั มนั่ แลว เมอ่ื วญิ ญาณเจรญิ ข้นึ แลว การบงั เกดิ ในภพ ใหมตอไปจึงมี เมอ่ื การบงั เกดิ ในภพใหมตอ ไปมอี ยู ชาติ ชรามรณะ โสกะ ปรเิ ทวะ ทกุ ข โทมนัส อุปายาส จึงมี ตอไป ความเกิดข้ึนแหง กองทุกขทง้ั สิ้นน้ี ยอมมีไดอ ยางนี้ ความหมายของปฏิจจสมุปบาทตามแนวน้ี แมจ ะตอ งทาํ ความเขา ใจเปน พเิ ศษ กไ็ มท ิ้งความหมายเดมิ ที่อธบิ ายตามแบบ ดังนั้น กอ นอา นความหมายท่จี ะกลาวตอ ไป จึงควรทําความเขา ใจความหมายตามแบบที่ กลาวมาแลว เสยี กอนดว ย เพื่อวางพืน้ ฐานความเขาใจและเพอื่ ประโยชนใ นการเปรยี บเทียบตอไป ก. ความหมายอยางงาย ๑. อวชิ ชา (ignorance, lack of knowledge) = ความไมรูไ มเห็นตามความเปนจรงิ ความไมรเู ทาทนั ตาม สภาวะ ความหลงไปตามสมมุตบิ ญั ญตั ิความไมเ ขา ใจโลกและชีวติ ตามทีเ่ ปนจริง ความไมรทู ่แี ฝงอยู

พทุ ธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 83 กับความเช่ือถอื ตางๆ ภาวะขาดปญญา ความไมห ยัง่ รูเหตุปจ จยั การไมใชปญญาหรือปญญาไม ทาํ งานในขณะนน้ั ๒. สังขาร (volitional activities) = ความคดิ ปรงุ แตง ความจงใจ มุงหมาย ตัดสินใจ และการทจ่ี ะแสดง เจตนาออกเปนการกระทํา กระบวนความคิดที่เปน ไปตามความโนม เอยี ง ความเคยชนิ และคุณสมบตั ิ ตา งๆ ของจติ ซึ่งไดส งั่ สมไว ๓. วญิ ญาณ (consciousness) = การรตู ออารมณต า งๆ คือ เหน็ ไดยนิ ไดก ลิน่ รรู ส รสู ัมผัสกาย รูต อ อารมณทม่ี ีในใจ ตลอดจนสภาพพนื้ เพของจิตใจในขณะนั้นๆ ๔. นามรปู (animated organism) = ความมีอยูของรปู ธรรมและนามธรรมในความรบั รูข องบคุ คล ภาวะที่ รางกายและจิตใจทุกสว นอยูในสภาพท่สี อดคลองและปฏบิ ัติหนา ทเ่ี พื่อตอบสนองในแนวทางของ วิญญาณท่เี กดิ ข้ึนนนั้ สวนตา งๆ ของรางกายและจิตใจทเี่ จริญหรือเปล่ยี นแปลงไปตามสภาพจติ ๕. สฬายตนะ (the six sense-bases) = ภาวะทีอ่ ายตนะท่เี กย่ี วขอ งปฏบิ ัติหนาท่โี ดยสอดคลอ งกบั สถาน การณนัน้ ๆ ๖. ผัสสะ (contact) = การเชื่อมตอความรูก บั โลกภายนอก การรับรอู ารมณ หรือประสบการณตา งๆ ๗. เวทนา (feeling) = ความรสู กึ สุขสบาย ถกู ใจ หรือทุกข ไมส บาย หรอื เฉยๆ ไมสขุ ไมท ุกข ๘. ตณั หา (craving) = ความอยาก ทะยานรา นรนหาสิ่งอาํ นวยสุขเวทนา หลกี หนสี ิ่งที่กอทกุ ขเวทนา แยก โดยอาการเปน อยากได อยากเอา อยากเปน อยากคงอยูในภาวะนนั้ ๆ ย่ังยนื ตลอดไป อยากเลีย่ งพน อยากใหด บั สญู หรอื อยากทาํ ลาย ๙. อุปาทาน (attachment, clinging) = ความยดึ ติดถือมัน่ ในเวทนาทีช่ อบหรอื ชัง รวบรง้ั เอาส่งิ ตา งๆ และ ภาวะชีวติ ท่ีอาํ นวยเวทนานนั้ เขามาผกู พันกับตัว, การเทิดคาถอื ความสําคญั ของภาวะและสงิ่ ตางๆ ใน แนวทางที่เสรมิ หรอื สนองตณั หาของตน ๑๐. ภพ (process of becoming) = กระบวนพฤตกิ รรมท้ังหมดท่ีแสดงออกเพ่ือสนองตัณหาอุปาทานนน้ั (กรรมภพ-the active process) และ ภาวะแหง ชวี ิตสาํ หรับตวั ตน หรอื ตัวตนทจี่ ะมจี ะเปนในรปู ใดรูป หน่งึ (อุปปตติภพ-the passsive process) โดยสอดคลองกบั อปุ าทานและกระบวน พฤตกิ รรมนนั้ ๑๑. ชาติ (birth) = การเกิดความตระหนักในตัวตนวา อยหู รือไมไดอยูในภาวะชีวติ นน้ั ๆ มีหรอื ไมไ ดมี เปน หรอื ไมไ ดเ ปน อยา งน้นั ๆ ๑๒. ชรามรณะ (decay and death) = ความสํานกึ ในความขาด พลาด หรอื พรากแหง ตวั ตน จากภาวะ ชีวติ อันนั้น ความรสู กึ วาตัวตนถูกคกุ คามดวยความสญู สิน้ สลาย หรือพลัดพรากจากภาวะชวี ิตนน้ั ๆ หรือจากการไดม ี ไดเปน อยางน้นั ๆ จึงเกดิ โสกะ ปรเิ ทวะ ทุกข โทมนัส อปุ ายาส พวงมาดวย คอื รสู ึก คับแคน ขัดขอ ง ขนุ มัว แหง ใจ หดหู ซึมเซา หวาด กงั วลไมสมหวัง กระวนกระวาย และทุกขเวทนา ตา งๆ

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 84 ข. ตัวอยางแสดงความสัมพนั ธอยางงาย ๑. อวชิ ชา-สงั ขาร: เพราะไมร ตู ามเปน จรงิ ไมเขาใจชดั เจน จงึ คิดปรงุ แตง เดา คิดวาดภาพไปตา งๆเหมือน คนอยใู นความมืด เห็นแสงสะทอ นนัยนต าสตั ว มคี วามเชอ่ื เรอื่ งผอี ยแู ลว เลยคดิ เห็นเปน รูปหนาหรือตัว ผขี ้นึ มาจรงิ ๆ และเหน็ เปนอาการตางๆ เกดิ ความกลัว คดิ กระทําการอยางใดอยางหนง่ึ เชน วิ่งหนีหรือ เหมือนคนไมเห็นของทายท่อี ยูใ นกาํ มือ จึงคิดหาเหตผุ ลมาทายเดา และถกเถยี งตางๆ ฯลฯ ย้ิมใหเขา เขาไมยม้ิ ตอบ ไมไ ดสอบสวนหรอื พจิ ารณาวา เขาอาจไมทนั มอง เขาสายตาส้นั มองไมเหน็ หรือเขามี อารมณค าง เปนตน จงึ โกรธ นอยใจ คดิ ฟงุ ซา นไปตางๆ หรือเหน็ เขายิ้ม ไมร ยู ้มิ อะไร ตัวมีปมในใจ คดิ วาดภาพไปวาเขาเยาะและผูกอาฆาตคนทเ่ี ช่ือวา เทวดาชอบใจจะบนั ดาลอะไรใหไ ด กค็ ดิ ปรงุ แตง คํา ออ นวอน พธิ ีบวงสรวงสงั เวยตา งๆขึ้น กระทําการเซน สรวงออ นวอนตางๆ ๒. สังขาร-วิญญาณ: เม่อื มเี จตนา คือตง้ั ใจมงุ หมาย ตกลงจะเก่ียวของ วิญญาณทีเ่ หน็ ไดยนิ เปนตน จึง จะเกดิ ข้นึ แตถ าไมจํานง ไมใ สใ จ ถึงจะอยูในวสิ ัยท่ีจะรับรไู ด วิญญาณกไ็ มเกิดข้ึน (= ไมเหน็ ไมไ ดยิน ฯลฯ) เหมือนคนกําลงั คิดมุงหรือทํางานอะไรอยา งจดจองสนใจอยอู ยา งหนึง่ เชน อานหนังสอื อยา ง เพลดิ เพลิน จิตรบั รเู ฉพาะเรื่องทอี่ าน มีเสยี งดังควรไดย นิ ก็ไมไดย นิ ยงุ กดั กไ็ มร ตู ัว เปน ตน กําลังมงุ คน หาของอยา งใดอยา งหน่งึ มองไมเ หน็ คนหรือของอน่ื ทผี่ า นมาในวิสัยที่จะพึงเห็นมองของส่งิ เดยี วกนั คนละครัง้ ดวยเจตนาคนละอยาง เหน็ ไปตามแงของเจตนานน้ั เชน มองไปทพ่ี น้ื ดินวางแหง หนง่ึ ดว ย ความคดิ ของเดก็ ทจี่ ะเลน ไดค วามรับรแู ละความหมายอยางหนึง่ มองไปอีกครงั้ ดวยความคดิ จะปลูก สรางบา น ไดความรับรูแ ละความหมายไปอกี อยางหนึ่ง มองไปอีกครงั้ ดว ยความคดิ ของเกษตรกร ได ความรบั รูและความหมายอยางหนง่ึ มองดวยความคิดของอุตสาหกร ไดค วามรบั รแู ละความหมายอีก อยา งหนงึ่ มองของส่งิ เดยี วกันคนละครัง้ ดวยความคดิ นกึ คนละอยา ง เกิดความรบั รูคนละแงละดา น เมอ่ื คิดนึกในเรอ่ื งท่ดี งี าม จิตกร็ บั รูอารมณท ีด่ ีงาม และรบั รูความหมายในแงท ดี่ ีงามของอารมณน น้ั เมอ่ื คิดนกึ ในทางท่ีชว่ั รา ย จิตกร็ บั รูอารมณสว นทชี่ ัว่ รา ย และรับรูความหมายในแงท ่ชี วั่ รายของอารมณน ้นั โดยสอดคลอ งกนั เชน ในกลมุ ของหลายอยา งทว่ี างอยูใกลก ัน และอยูในวสิ ัยของการเหน็ ครง้ั เดียวทง้ั หมด มมี ดี กบั ดอกไม อยูดวย คนท่รี กั ดอกไม มองเขา ไป จิตอาจรบั รูเ ห็นแตดอกไมอ ยางเดียว และการรบั รูจ ะเกิดซํา้ อยทู ด่ี อก ไมอยา งเดียว จนไมไ ดส งั เกตเหน็ ของอืน่ ทีว่ างอยใู กล ย่งิ ความสนใจชอบใจ ตดิ ใจในดอกไมม มี ากเทา ใด การรับรตู อ ดอกไมก ย็ ่ิงถ่ขี ้ึน และการรบั รตู อ ส่ิงของอ่นื ๆ ก็นอยลงไปเทานนั้ สว นคนทก่ี ําลงั จะใช อาวุธมองเขา ไป จติ ก็จะรบั รูแตม ีดเชนเดียวกนั และแมใ นกรณเี หน็ มดี เปน อารมณดว ยกัน สาํ หรับคน หนง่ึ อาจรบั รูม ดี ในฐานะอาวธุ สําหรบั ประหารผอู ่นื อกี คนหน่ึงอาจรบั รใู นแงส่ิงทจี่ ะใชประโยชนใ นครวั อีกคนหนึง่ อาจรับรใู นฐานะเปน ชิ้นโลหะช้นิ หน่ึง สุดแตผนู ัน้ เปนโจร เปนคนครัว เปน คนรับซ้อื โลหะเกา และอยใู นภาวะแหง ความคดิ นึกเจตจาํ นงอยางใด ฯลฯ

พุทธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 85 ๓. วญิ ญาณ-นามรูป : วญิ ญาณกับนามรูป อาศัยซ่ึงกันและกนั อยา งท่ีพระสารบี ุตรกลา ววา “ไมออ ๒ กํา ตั้งอยไู ดเพราะตางอาศัยซงึ่ กันและกันฉันใด เพราะนามรูปเปน ปจจัย จงึ มวี ญิ ญาณ เพราะวญิ ญาณ เปน ปจ จยั จงึ มนี ามรูป ฯลฯ ฉันนัน้ ไมออ ๒ กาํ นนั้ ถา เอาออกเสยี กาํ หน่งึ อกี กาํ หนง่ึ ยอมลม ถาดงึ อีก กําหน่งึ ออก อีกกาํ หนึง่ กล็ ม ฉนั ใด เพราะนามรปู ดบั วญิ ญาณก็ดับ เพราะวิญญาณดับ นามรปู ก็ดบั ฯลฯ ฉนั นนั้ ” โดยนยั น้ี เม่ือวิญญาณเกิดมี นามรปู จงึ เกดิ มไี ด และตองเกดิ มีดวย ในกรณีทีส่ ังขารเปน ปจจัยให เกดิ วญิ ญาณน้ัน กเ็ ปน ปจ จยั ใหเกิดนามรปู พรอมกนั ไปดวย แตเ พราะนามรูปจะมไี ดต องอาศยั วิญญาณ ในฐานะท่เี ปน คุณสมบัติเปน ตนของวญิ ญาณ จึงกลา ววาสงั ขารเปน ปจจยั ใหเ กดิ วิญญาณ วิญญาณเปน ปจ จยั ใหเกดิ นามรปู ในทีน่ ีอ้ าจแยกภาวะท่วี ิญญาณเปนปจ จัยใหเกดิ นามรปู ไดดงั นี้ ๑) ท่วี า จิตรับรูตออารมณอ ยางใดอยา งหนึง่ เชน เห็นของส่งิ หนงึ่ ไดย นิ เสียงอยางหนึ่งเปนตน นน้ั แทจ รงิ กค็ ือรบั รตู อ นามรูป (ในที่นหี้ มายถงึ รูปขนั ธ เวทนาขันธ สัญญาขันธ และสังขารขนั ธ) ตางๆ นัน่ เอง ส่ิงท่ีมีสําหรบั บคุ คลผูใดผหู นึง่ ก็คอื สิง่ ที่มอี ยูใ นความรบั รขู องเขาในขณะน้นั ๆ หรือนามรปู ทีถ่ ูก วญิ ญาณรบั รใู นขณะน้ันๆ เทานัน้ เชน ดอกกุหลาบทีม่ ีอยู ก็คือดอกกหุ ลาบทีก่ ําลังถกู รับรทู างจักษุ ประสาท หรอื ทางมโนทวารในขณะนนั้ ๆ เทาน้นั นอกจากน้ี ดอกกุหลาบ ท่มี อี ยู และท่เี ปน ดอกกุหลาบ อยา งน้ันๆ กม็ ไิ ดมอี ยตู างหากจากบัญญัติ (concept) ในมโนทวาร และมไิ ดผดิ แปลกไปจากเวทนา สญั ญา และสงั ขารของผูนน้ั ที่มอี ยใู นขณะนั้นๆ เลย โดยนยั น้ี เมอ่ื วญิ ญาณมี นามรูปจงึ มีอยพู รอมกัน น่ันเอง และมอี ยูอ ยา งอิงอาศยั คํา้ จนุ ซ่ึงกันและกัน ๒) นามรูปท่ีเนอ่ื งอาศยั วิญญาณ ยอมมีคุณภาพสอดคลองกับวญิ ญาณนัน้ ดว ย โดยเฉพาะนาม ท้งั หลายกค็ อื คณุ สมบัติของจติ นั่นเอง เม่อื ความคิดปรุงแตง (สงั ขาร) ดงี าม ก็เปน ปจ จยั ใหเ กดิ วญิ ญาณซึ่งรับรูอ ารมณท ่ีดงี ามและในแงท ่ีดีงาม ในขณะน้ัน จิตใจกป็ ลอดโปรง ผองใสไปตาม อากัปกริ ิยาหรอื พฤตกิ รรมตางๆ ทางดา นรา งกาย กแ็ สดงออกหรือปรากฏรปู ลักษณะในทางทดี่ ีงาม สอดคลองกนั เมอื่ คิดนึกในทางท่ีชัว่ ก็เกิดความรบั รูอารมณใ นสวนและในแงที่ช่วั รา ย จติ ใจกม็ ีสภาพ ขุนมวั หมนหมอง อากัปกริ ิยาหรอื พฤตกิ รรมตางๆ ทางรา งกาย ก็แสดงออกหรอื ปรากฏรปู ลกั ษณะเปน ความเครยี ดกระดา งหมน หมองไปตาม ในสภาพเชน นี้ องคประกอบตางๆ ทั้งในทางจิตใจ และรางกาย อยูในภาวะทีพ่ รอ ม หรอื อยใู นอาการทก่ี าํ ลงั ปฏบิ ตั ิหนา ทีโ่ ดยสอดคลอ งกับสงั ขารและวญิ ญาณทเ่ี กดิ ข้ึนเม่ือรูสึกรักใครม ีไมตรี (สังขาร) กเ็ กดิ ความรบั รอู ารมณสวนท่ีดีงาม (วญิ ญาณ) จติ ใจก็แชม ช่นื เบกิ บาน (นาม) สีหนากส็ ดชน่ื ย้ิมแยมแจม ใส ตลอดจนกริ ยิ าอาการตางๆกก็ ลมกลนื กนั (รปู ) อยใู นภาวะท่ี พรอมจะแสดงออกในทางทด่ี ีงามตอไป เมื่อโกรธเคอื ง กเ็ กดิ ความรับรอู ารมณแตส วนท่ีเลว จิตใจก็ขุนมวั ขดั ขอ ง สหี นา กริ ยิ าอาการกบ็ งึ้ บดู เครง เครยี ด อยใู นภาวะทพี่ รอ มจะแสดงอาการและกระทําการตา งๆ ในแนวทางน้ันตอไป

พุทธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 86 นักกีฬาทอี่ ยใู นสนาม เม่ือการแขงขนั เริ่มขึน้ ความนกึ คิด เจตจํานงตางๆ จะพงุ ไปในกีฬาทแ่ี ขงขันอยู นัน้ ความรับรตู า งๆ กเ็ กดิ ดบั อยใู นเรื่องนนั้ ดว ยอตั ราความถี่มากนอ ยตามกาํ ลังของเจตจาํ นงความสน ใจทพี่ งุ ไปในกฬี านั้น จติ ใจและรางกายทกุ สวนท่เี กีย่ วขอ งกอ็ ยูในภาวะพรอ มท่จี ะปฏิบัตหิ นา ท่ีแสดง พฤติกรรมออกมาโดยสอดคลอ งกัน ความเปนไปในชวงน้ี เปน ขั้นตอนสาํ คัญสว นหนง่ึ ในกระบวนการ แหงกรรมและการใหผ ลของกรรม วงจรแหง วัฏฏะหมนุ มาครบรอบเล็ก (อวชิ ชา:กเิ ลส - สงั ขาร:กรรม - วญิ ญาณ+นามรปู :วิบาก) และกาํ ลังจะเริม่ ตงั้ ตน หมนุ ตอไป นับวาเปน ข้ันตอนสาํ คัญสว นหนึง่ ในการ สรางนิสยั ความเคยชนิ ความรู ความชํานาญ และบคุ ลกิ ภาพ ๔. นามรูป-สฬายตนะ: การท่ีนามรปู จะปฏบิ ตั ิหนาที่ตอ ๆ ไป ตองอาศัยความรูตอโลกภายนอก หรือดึง ความรทู ี่สะสมไวแ ตเดิมมาเปน เคร่ืองประกอบการตดั สินหรือเลือกวา จะดําเนินพฤตกิ รรมใดตอ ไป ใน ทิศทางใด ดงั น้นั นามรูปสว นทีม่ ีหนาที่เปน ส่อื หรอื ชอ งทางตดิ ตอ รับรูอารมณต างๆ คอื อายตนะท่ีเกย่ี ว ขอ งในกรณนี นั้ ๆ จงึ อยูใ นสภาพตนื่ ตัวและปฏิบตั ิหนาท่ีสมั พนั ธสอดคลองกบั ปจ จัยขอ กอ นๆ ตาม ลาํ ดบั มา เชน ในกรณีของนกั ฟตุ บอลในสนาม อายตนะท่ีทําหนา ที่รับรอู ารมณอ ันเกย่ี วกบั กฬี าทเี่ ลน อยู นน้ั เชน ประสาทตา ประสาทหู เปนตน กจ็ ะอยใู นสภาพต่นื ตวั ทีจ่ ะรบั รูอารมณท ่เี กย่ี วของกบั กีฬาทเี่ ลน ดว ยความไวเปนพิเศษ ในขณะเดียวกัน อายตนะทไ่ี มเ ก่ยี วกบั การรับรูอารมณทมี่ ุงหมายน้นั กจ็ ะไมอยู ในสภาพตน่ื ตัวท่จี ะใหเ กดิ การรบั รูอารมณ พูดงา ยๆ วา ผอ นการปฏบิ ตั ิหนา ที่ลงไปตามสวน เชน ความ รสู ึกกลนิ่ และความรูสกึ รสอาจไมเ กิดข้นึ เลย ในขณะที่กําลงั เลน อยางกระชั้นชิดติดพนั เปนตน ๕. สฬายตนะ-ผสั สะ: เมือ่ อายตนะปฏิบตั ิหนาท่ี การรบั รกู เ็ กิดขน้ึ โดยมีองคประกอบ ๓ อยางเขา บรรจบ กัน คอื อายตนะภายใน (ตา หู จมูก ล้นิ กาย มโน อยา งใดอยางหนึ่ง) กับอารมณภ ายนอก (รูป เสยี ง กล่นิ รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ อยา งใดอยางหนงึ่ ) และวญิ ญาณ (ทางจกั ขุ โสตะ ฆานะ ชวิ หา กาย มโน อยางใดอยางหนึ่ง) การรับรกู ็เกิดข้ึนโดยสอดคลอ งกบั อายตนะน้ันๆ ๖. ผสั สะ-เวทนา: เมื่อผสั สะเกดิ ขน้ึ แลว ก็จะตอ งมีความรูสกึ เก่ยี วดวยสุขทุกขเ กิดขน้ึ อยา งใดอยา งหนงึ่ ใน ๓ อยาง คือ สบาย ช่นื ใจ เปน สุข (สุขเวทนา) หรอื ไมก ็ บีบค้ัน ไมสบาย เจบ็ ปวด เปนทุกข (ทุกขเวทนา) หรือไมก ็เฉยๆ เรือ่ ยๆ ไมส ุขไมท กุ ข (อุเบกขา หรอื อทกุ ขมสขุ เวทนา) ปฏจิ จสมุปบาทตัง้ แตห ัวขอ ท่ี ๓ ถึง ๗ คือ วญิ ญาณ-ถึง-เวทนา นี้ เปนกระบวนการในชวงวบิ าก คอื ผลของกรรม โดยเฉพาะขอ ๕-๖-๗ ไมเปนบญุ เปน บาป ไมดไี มชว่ั โดยตัวของมนั เอง แตจ ะเปนเหตุแหง ความดีความชวั่ ไดตอ ไป ๗. เวทนา-ตัณหา : เมอ่ื ไดรับสุขเวทนา กพ็ อใจ ชอบใจ ติดใจอยากได และอยากไดย ่งิ ๆ ขึน้ ไป เม่อื ไดร ับ ทกุ ขเวทนา กข็ ัดใจ อยากใหส ิง่ นนั้ สญู สิ้นพนิ าศไปเสยี อยากใหตนพน ไปจากทกุ ขเวทนานัน้ และอยาก ได แส ด้นิ รนไปหาสง่ิ อนื่ ทจี่ ะใหส ขุ เวทนาตอไป เมือ่ ไดรบั อเุ บกขาเวทนา คอื รูส กึ เฉยๆ กช็ วนใหเกิด อาการซมึ ๆ เพลิน อยางมโี มหะ และเปน สุขเวทนาอยางออนๆ ทีท่ าํ ใหติดใจได และเปน เช้ือใหขยายตัว ออกเปน ความอยากไดส ขุ เวทนาตอไปตณั หา น้ัน เมอ่ื แยกใหช ัดโดยอาการ ก็มี ๓ อยา ง คอื

พุทธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 87 ๑) กามตณั หา (craving for sense-pleasure) ความอยากไดสง่ิ สาํ หรบั สนองความตอ งการทางประสาททั้ง ๕ ๒) ภวตัณหา (craving for self-existence) ความอยากไดส่ิงตางๆ โดย สมั พนั ธก ับภาวะชวี ิตอยางใดอยา งหนึง่ หรอื ความอยากในภาวะชีวติ ท่ีจะอํานวยสง่ิ ทปี่ รารถนานัน้ ๆ ได ในความหมายที่ลกึ ลงไป คอื ความอยากในความมอี ยูข องตวั ตนที่จะไดจะเปน อยา งใดอยา งหนึง่ ๓) วิภวตณั หา (craving for non-existence or self-annihilation) ความอยากใหตัวตนพนไป ขาดหาย พรากหรือสญู สิ้นไปเสียจากส่งิ หรือภาวะชีวิตท่ีไมป รารถนานนั้ ๆ ตณั หาชนดิ น้ี แสดงออกในรปู ท่ี หยาบ เชน ความรูส กึ เบื่อหนาย ความเหงา วา เหว ความเบ่ือตวั เอง ความชังตัวเอง ความสมเพชตนเอง เปน ตน ตัณหาจงึ แสดงออกในรปู ตางๆ เปนความอยากไดก ามคณุ ตา งๆ บางอยากไดภาวะแหงชวี ิตบางอยา ง เชนความเปนเศรษฐี ความเปน ผูมเี กียรติ ความเปน เทวดา เปน ตน ซึ่งจะอาํ นวยสง่ิ ทป่ี รารถนาใหบ างอยากพน ไปจากภาวะท่ไี มปรารถนา เบือ่ หนา ย หมดอาลัยตายอยาก ตลอดจนถึงอยากตายบาง หรอื ในกรณที ่ีแสดงออก ภายนอก เมอื่ ถกู ขัดหรือฝน ความปรารถนา ก็เปน เหตใุ หเกดิ ปฏิฆะ ความขดั ใจ ขดั เคอื ง โทสะ ความคดิ ประทุษ ราย ความคิดทาํ ลายผูอืน่ สิ่งอ่นื เปนตน ๘. ตัณหา-อุปาทาน : เม่ืออยากไดส ่ิงใด กย็ ดึ มัน่ เกาะตดิ เหนยี วแนน ผูกมดั ตวั ตนติดกับส่งิ น้ัน ยิ่งอยากได มากเทาใดกย็ ่ิงยดึ ม่ันแรงขึน้ เทานั้น ในกรณที ่ีประสบทุกขเวทนา อยากพนไปจากส่งิ นน้ั กม็ ีความยดึ มนั่ ในแง ชงิ ชงั ตอสิ่งนน้ั อยางรุนแรง พรอมกบั ท่ีมีความยึดมน่ั ในส่ิงอ่ืนท่ตี นจะดนิ้ รนไปหารุนแรงขน้ึ ในอตั ราเทาๆ กนั จึง เกดิ ความยึดมน่ั ในส่ิงสนองความตองการตา งๆ ยึดมัน่ ในภาวะชวี ิตที่จะอํานวยส่งิ ทปี่ รารถนา ยดึ มัน่ ในตัวตนท่ี จะไดจ ะเปนอยางนัน้ อยา งนี้ ยึดมัน่ ในความเห็น ความเขาใจ ทฤษฎแี ละหลักการอยา งใดอยา งหนึ่งทสี่ นอง ตัณหาของตน ตลอดจนยึดมั่นในแบบแผน วธิ ีการตางๆ ทสี่ นองความตอ งการของตัวตน ๙. อุปาทาน-ภพ : ความยึดมั่นยอ มเกย่ี วของไปถึงภาวะชีวติ อยางใดอยา งหน่ึง ความยดึ มนั่ นัน้ แสดงถงึ ความสัมพันธร ะหวา งสง่ิ สองสง่ิ คอื เปนการนําเอาตัวตนไปผกู มดั ไว หรือทาํ ใหเ ปน อันเดียวกันกบั ภาวะชวี ติ อยา งใดอยางหน่ึง ซ่งึ อาจเปนภาวะชวี ติ ท่จี ะอาํ นวยส่งิ ทป่ี รารถนา หรอื เปนภาวะชีวติ ทช่ี วยใหพ น ไปจากสง่ิ ทไ่ี ม ปรารถนา ในเวลาเดยี วกัน เม่ือมีภาวะชวี ิตทตี่ อ งการ ก็ยอมมีภาวะชีวติ ท่ไี มต อ งการอยูดวยพรอ มกนั ภาวะชวี ติ ทถ่ี ูกยึดเกีย่ วเกาะไวนี้ เรยี กวา อุปปตตภิ พเมื่อยดึ ม่ันในภาวะชวี ติ นั้น จึงคดิ มุงหมายหรือมเี จตจํานงเพอ่ื เปน อยางน้ันๆ หรือเพื่อหลีกเลย่ี งความเปนอยา งน้นั ๆ แลว ลงมอื กระทาํ การตา งๆ เรม่ิ แตค ดิ สรา งสรรคปรุงแตง แสวง วิธกี ารตางๆ และดําเนนิ การตามจุดมงุ หมาย แตค วามคดิ และการกระทาํ ทงั้ หมดนน้ั ยอ มถกู ผลกั ดนั ใหด าํ เนนิ ไป ในทศิ ทาง และในรูปแบบท่ีอุปาทานกาํ หนด คอื เปน ไปตามอาํ นาจของความเชอื่ ถอื ความคดิ เห็น ความเขา ใจ

พทุ ธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 88 ทฤษฎี วิธีการ ความพอใจ ชอบใจอยา งใดอยา งหน่งึ ทต่ี นยึดถอื ไว จึงแสดงออกซงึ่ พฤตกิ รรมและกระทําการ ตางๆ โดยสอดคลอ งกบั อุปาทานนัน้ ตวั อยางในชั้นหยาบ เชน อยากเกิดเปนเทวดา จึงยึดถือในลัทธิคาํ สอน ประเพณี พธิ ีกรรม หรอื แบบ แผนความประพฤตอิ ยางใดอยา งหนึง่ ทีเ่ ชอื่ วาจะใหไปเกิดไดอ ยา งนั้น จงึ คดิ มุง หมาย กระทาํ การตางๆ ไปตาม ความเชื่อนนั้ จนถึงวา ถา ความยดึ มั่นรนุ แรง กท็ าํ ใหมรี ะบบพฤติกรรม ท่เี ปนลักษณะพิเศษจาํ เพาะตวั เกิดข้ึน แบบใดแบบหน่ึง หรือตวั อยางใกลเขา มา เชน อยากเปน คนมเี กยี รติ ก็ยอมยึดม่นั เอาคณุ คาอยางใดอยางหน่งึ วา เปน ความมเี กียรติ ยดึ มนั่ ในแบบแผนความประพฤติท่สี อดคลองกบั คณุ คา นนั้ ยดึ มนั่ ในตัวตนทจ่ี ะมีเกียรติ อยา งน้นั ๆ เจตจาํ นง และการกระทาํ กม็ ุงไปในทิศทางและรปู แบบทีย่ ดึ ไวน ัน้ พฤติกรรมตา งๆ ทีแ่ สดงออกกม็ รี ปู ลกั ษณะสอดคลอ งกนั อยากไดข องมคี าของผูอ ืน่ จงึ ยึดมั่นในภาวะทต่ี นจะเปนเจา ของสิ่งของนน้ั จงึ ยึดม่นั ในความเคยชนิ หรือวธิ กี ารท่ีจะใหไ ดสิ่งของนน้ั มา ไมรูโทษและความบกพรอ งของวิธกี ารทผี่ ดิ จึงคิดนกึ มงุ หมาย และกระทาํ การตามความเคยชนิ หรอื วิธกี ารท่ียดึ ไว กลายเปนการลักขโมย หรือการทุจริตข้ึน ความเปนเจา ของท่ียดึ ไวเดิม กลายเปนความเปน โจรไป โดยนยั นี้ เพอื่ ผลท่ีปรารถนา มนุษยจึงทาํ กรรมชว่ั เปนบาป เปน อกศุ ลบาง ทาํ กรรมดี เปน บุญ เปน กศุ ลบาง ตามอํานาจความเช่อื ถือความยึดม่ันทีผ่ ดิ พลาดหรอื ถูกตองในกรณนี ้นั ๆ กระบวนพฤตกิ รรมท่ีดําเนนิ ไปในทศิ ทางแหง แรงผลักดนั ของอปุ าทานน้ัน และปรากฏรปู ลักษณะ อาการสอดคลองกบั อุปาทานน้ัน เปนกรรมภพ ภาวะแหงชวี ิตทีส่ บื เนอ่ื งมาจากกระบวนพฤตกิ รรมน้นั เชน ความเปนเทวดา ความเปน คนมเี กียรติ ความเปน เจา ของ และความเปนโจร เปนตน เปนอุปปตติภพ อาจเปน ภพ (ภาวะแหงชีวิต) ที่ตรงกบั ความตอ งการ หรอื ภพทไ่ี มต อ งการกไ็ ดป ฏจิ จสมปุ บาทชวงนี้ เปน ข้ันตอนสาํ คญั ในการทํากรรมและรับผลของกรรม การกอนสิ ยั และการสรางบคุ ลกิ ภาพ ๑๐. ภพ-ชาติ: ชีวิตทเ่ี ปนไปในภาวะตางๆ ทงั้ หมดน้ัน วาตามความหมายทีแ่ ท กค็ อื ขันธ ๕ ทีเ่ กดิ -ดับ เปลย่ี นแปลงไป โดยมีคุณสมบัตทิ สี่ ะสมเพม่ิ -ลดในดา นตางๆ ตามเหตปุ จจัยทั้งภายในและภายนอก ซงึ่ มเี จตจาํ นงคือเจตนาเปน ตวั นาํ ทําใหก ระแสโดยรวมหรือกระบวนธรรมนน้ั ๆ มีลักษณะอาการอยา ง ใดอยางหน่ึงขนั ธ ๕ ทร่ี วมเปนชีวติ นน้ั เกดิ ดบั เปลีย่ นแปลงอยูทุกขณะตลอดเวลาเมอ่ื กลา วถงึ ความจรงิ นนั้ ดวยภาษาตามสมมติ จึงพูดวา คนเรานีเ้ กดิ -แก-ตายอยทู ุกขณะ อยา งทอี่ รรถกถาแหงหนึง่ กลา ววา โดยปรมัตถ เม่อื ขนั ธทัง้ หลาย เกิดอยู แกอยู ตายอยู การทพ่ี ระผูมีพระภาคตรสั วา “ดูกอ นภิกษุ เธอ เกดิ แก และตายอยู ทุกขณะ” ดงั น้ี ก็พึงทราบวา เปนอนั ไดทรงแสดงใหเ ห็นแลว วาในสตั วท ้ังหลายน้นั การเลง็ ถึงขันธเ สรจ็ อยูแลวในตัว” อยา งไรกต็ าม สาํ หรับปุถชุ น ยอมมใิ ชมีเพยี งการเกดิ -ดบั ของขันธ ๕ ตามธรรมดาของธรรมชาตเิ ทา นัน้ แตเ มือ่ มภี พขน้ึ ตามอปุ าทานแลว กเ็ กดิ มตี วั ตนซึง่ สํานึกตระหนักขนึ้ มาวา “เรา” ไดเ ปน นน่ั เปน น่ี อยู ในภาวะชวี ติ อนั น้ันอันน้ี ซึ่งตรงกบั ความตองการ หรอื ไมตรงกบั ความตองการ พุดสน้ั ๆ วา ตวั ตนเกดิ ขนึ้

พุทธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 89 ในภพนั้น จงึ มีตวั เราที่เปน เจา ของ ตวั เราที่เปน โจร ตวั เราที่เปนคนไมมีเกยี รติ ตัวเราท่ีเปน ผชู นะ ตัวเรา ที่เปนผแู พ ฯลฯ ในชีวิตประจําวันของปถุ ชุ น การเกิดของตวั ตนจะเห็นไดเ ดนชดั ในกรณีความขัดแยง เชน การถกเถยี ง แมในการเถียงหาเหตผุ ล ถา ใชกเิ ลส ไมใ ชป ญญา กจ็ ะเกดิ ตวั ตนท่เี ปนน่นั เปนน่ขี นึ้ มาชดั วา เราเปนนาย เราเปน ผูมีเกียรติ (พรอ มกบั เขาเปน ลกู นอ ง เขาเปน คนชั้นตํา่ )น่เี ปน ความเห็นของเรา เราถูกขัดแยง ทําใหค วามเปนนน่ั เปน นี่ดอยลงพรอ งลง หรือจะสญู สลายไปชาติจงึ ยิง่ ชดั เมอื่ ปรากฏชรามรณะ แตเพราะมชี าติจึงมีชรามรณะได ๑๑. ชาต-ิ ชรามรณะ : เมือ่ มีตวั ตนท่ไี ดเปน อยา งน้นั อยางน้ี กย็ อมมตี วั ตนทไี่ มไดเปนอยา งนน้ั อยางนี้ ตัวตน ท่ีขาด พลาด หรือพรากจากความเปนอยา งนน้ั อยา งน้ี ตวั ตนท่ีถกู คุกคามดวยความขาด พลาด หรือพรากไป จากความเปน อยางน้ันอยางนี้ และตวั ตนทถ่ี ูกกระทบกระท่งั ถูกขดั ขวาง ขดั แยง ใหก ระแสความเปนอยางนนั้ ๆ สะดดุ หว่นั ไหว สะเทอื น ลด ดอ ยลง พรอ งลง เสอ่ื มลงไป ไมสมบรู ณเตม็ เปยมอยางที่อยากใหเปนและอยางที่ ยึดถืออยู เมื่อตวั ตนเกิดมีขึ้นแลว กอ็ ยากจะดาํ รงอยูตลอดไป อยากจะเปน อยางน้นั อยางนีอ้ ยางทต่ี อ งการ หรือ อยากใหภาวะแหง ชวี ิตนน้ั อยูก ับตัวตนตลอดไป แตเม่อื ตวั ตนเกิดมีขึ้นได พองโตใหญข้ึนได ตัวตนก็ยอมเสื่อม สลายได แมเมื่อยังไมส ูญสลาย ก็ถูกคุกคามดว ยความพรอ ง ความดอย และความสญู สลายทจ่ี ะมมี า จงึ เกดิ ความหวาดกลวั ตอความถกู หวั่นไหว กระทบกระแทก และความสูญสลาย และทําใหเกดิ ความยดึ ม่ันผูกพันตวั ตนไวก ับภาวะชวี ติ นั้นใหเ หนยี วแนนย่งิ ขึน้ ความกลัวตอความสญู สลายแหง ตวั ตนน้ี เกิดสืบเน่ืองมาจากความรูสึกถูกคกุ คามและหวาดกลวั ตอ ความตายของชวี ติ นีน้ ่นั เอง ซง่ึ แฝงอยูในจิตใจอยางละเอียดลึกซง้ึ ตลอดเวลา และคอยบีบคัน้ พฤตกิ รรมทัว่ ๆ ไป ของมนษุ ย ทําใหห วาดกลัวตอ ความพลัดพราก สูญสลาย ทาํ ใหด ิ้นรนไขวค วาภาวะชีวติ ท่ตี องการอยา งเรา รอ น ทําใหเ กรงกลวั และผดิ หวังเม่ือไดรับทกุ ขเวทนา และทาํ ใหเ สวยสขุ เวทนาอยา งกระวนกระวาย พรอ มดวยความ หวาดกลวั ความพลดั พราก ทัง้ นโ้ี ดยไมตระหนักรูวา ทแ่ี ทน น้ั ชวี ิตคอื ขันธทัง้ ๕ เกดิ -ตายอยูแ ลว ตลอดเวลา โดยนยั นี้ เมื่อตัวตนเกดิ ขน้ึ ในภาวะชีวติ ท่ีไมตอ งการ ไมเกิดในภาวะชวี ติ ทีต่ อ งการก็ดี เมอ่ื ตัวตนเกดิ ได เปนอยา งนนั้ อยา งนี้ อยูในภาวะชีวติ ที่ตอ งการ แตต องสญู สลายพรากไปก็ดี ถกู คกุ คามดว ยความขาด พลาด และพรากจากภาวะชวี ิตที่ตองการก็ดี ความทุกขแ บบตางๆ ยอ มเกิดขึ้น คอื เกิดโสกะ ปรเิ ทวะ ทกุ ข โทมนัส และอุปายาส และในภาวะแหงความทุกขเชนนี้ จติ ใจก็ขนุ มวั เศรา หมอง ไมร ูไมเขาใจหรือไมมองสิง่ ตางๆ ตาม ความเปน จริง มีความคับของขัดใจ ความหลงใหล และความมืดบอด อันเปน ลกั ษณะของอวชิ ชา จึงเกิดการดิน้ รนหาทางออกดวยวธิ ีการแหงอวิชชาตามวงจรตอไป ตัวอยางงายๆ ในชีวติ ประจําวนั เมื่อมีการแขงขนั และมีการชนะเกิดขน้ึ สาํ หรบั ปุถชุ นจะไมม ีเพยี งการ ชนะท่ีเปนเหตกุ ารณท างสงั คม ซงึ่ มคี วามหมายและวัตถปุ ระสงคตามทต่ี กลงกําหนดวางกนั (สมมต)ิ ไวเ ทา

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตฺโต) 90 นน้ั แตจ ะมคี วามเปนผูชนะท่ยี ดึ มั่นไวกบั ความหมายพเิ ศษบางอยางเฉพาะตวั ดว ยอุปาทาน (ภพ) ดวย ในบาง โอกาส โดยเฉพาะในกรณีของคนมักหยงิ่ ผยอง หรือในกรณเี กดิ เรอ่ื งกระทบกระเทือนใจ ก็จะเกดิ ความ รูสึกโผลขน้ึ มาวา เราเปน ผชู นะ = ตวั เราเกดิ ข้ึนในความเปนผชู นะ (ชาต)ิ แตความเปนผชู นะของเราในความ หมายสมบรู ณเต็มตัว ตองพวงเอาความมีเกยี รติ ความยกยองเยนิ ยอ ความไดผ ลประโยชน ความนิยมชม ชอบ การยอมรบั ของผูอน่ื เปนตน ไวด วย ความเกิดของตวั เราในความชนะ หรือความชนะของเรา จงึ เกดิ พรอม กับการที่จะตองมผี ูยอมรบั ยกยอ งเชิดชู การทําใหผูใดผูห นงึ่ แพไ ปได การไดทําหรือแสดงออกอะไรสกั อยางที่ สุดขีดของความอยาก ฯลฯ อยา งใดอยางหน่งึ หรอื หลายอยา ง จากน้นั ในขณะเดียวกบั ท่ีตัวเราในฐานะผชู นะ พรอมท้ังความหมายตา งๆ ที่พวงอยกู บั มัน เกดิ ขนึ้ ความสมหวงั หรอื ไมสมหวงั ก็เกิดขน้ึ เมอื่ สมหวงั ก็จะตามมาดว ยความรูสกึ ท่จี ะตอ งผูกพันมดั ตัวไวกับความ เปนผชู นะนน้ั ใหแ นนแฟน เพราะกลัววาความเปนผูชนะจะสญู สิน้ ไปจากตน กลัววา ความยอมรบั นยิ มยกยอ ง เชดิ ชทู ่ไี ดร บั ในฐานะนัน้ จะไมคงอยอู ยางเดมิ จะลดนอยลง เสื่อมไป หรอื หมดไปจากตน เมือ่ พบเหน็ ผูใดผู หนึง่ แสดงอาการไมเ ชิดชใู หเกยี รติอยางทห่ี วงั หรอื เทา ทหี่ วัง หรอื การยกยองเชิดชูเกียรตทิ ่ีเคยไดอยู มาลดนอย ลง ก็ยอ มเกดิ ความขุนมัวหมน หมองใจและอปุ ายาส เพราะตวั ตนในภาวะผูช นะน้ันกําลงั ถกู กระทบ กระแทก หรอื ถูกบบี คน้ั กาํ จดั ใหพ รากไปเสียจากภาวะผชู นะ คอื กําลงั ถูกคกุ คามดวยความเสื่อมโทรม (ชรา) และความสญู สลาย (มรณะ) จากความเปน ผชู นะพรอมท้งั คุณคาผนวกตางๆ ทย่ี ดึ ไว (ภพ) เมือ่ ภาวการณดาํ เนนิ ไปเชน นี้ ความรสู กึ ขุนมวั หมน หมอง กังวล ผิดหวงั ตา งๆ ท่ีเกิดข้ึนท้ังหมด ซง่ึ มไิ ด ถูกขุดท้ิงโดยสติและสัมปชญั ญะ (ปญญา) กจ็ ะเขาหมักหมมทบั ถมในสนั ดาน มผี ลตอบุคลิกภาพ สภาพชวี ติ จติ ใจ และพฤติกรรมของบุคคลนนั้ ตามวงจรปฏจิ จสมปุ บาทตอ ไปเปนการเสวยเวทนาอยา งที่เรยี กวาหมกตัว หรอื ผกู มัดตวั ขอใหต้ังขอสงั เกตงายๆ วา เมื่อมีตัวตน (ในความรสู ึก) เกดิ ขึ้น กย็ อ มมีความกนิ เน้อื ที่ เม่อื กนิ เน้อื ที่ กม็ ี ขอบเขต หรือถกู จํากัด เมอ่ื ถกู จาํ กดั กม็ ีการแยกตัวออกตา งหาก เมือ่ มีการแยกตัวออกตางหาก กม็ ีการ แบงวา ตัวเราและมใิ ชตวั เรา เม่อื ตวั ตนของเราเกดิ ขน้ึ แลว กข็ ยายตัวเบงพองออก พรอ มดวยความอยากได อยากเดนอยากแสดงตอ ตวั ตนอ่นื ๆ พลงุ ออกมา แตต ัวตนและความอยากน้นั ไมสามารถขยายออกไปอยา ง อสิ ระไมม ีท่ีสดุ ตองถูกฝนกดหรอื ขมไวโ ดยบุคคลนน้ั เอง ในกรณีท่เี ขามคี วามสาํ นึกในการแสดงตวั แกผ อู น่ื วา ตน เปน คนดี หรอื ถาตนเองไมกดหรือขม ไว ปลอ ยใหแสดงออกเตม็ ท่ี ก็ยอ มเกิดการปะทะขดั แยง ภายนอกและแม แสดงออกไดเ ตม็ ท่ี กท็ าํ ใหพลังในตนเองลดนอยลง เสริมกําลงั ความอยากใหแรงยงิ่ ๆขน้ึ และความรสู กึ พรอ งให มากขน้ึ ๆ ในคราวตอๆไป เปนการเพิม่ โอกาสใหแกค วามขดั แยง และการปะทะทีจ่ ะแรงย่ิงๆ ขึ้นและหมดความ เปนตัวของตวั เองลงไปทกุ ที ความสมบรู ณเตม็ อยากจึงไมมี และความกดดนั ขัดแยงกระทบกระทั่งบีบคน้ั ยอ ม เกดิ ขนึ้ ไดใ นทกุ กรณี

พทุ ธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 91 อยางไรกด็ ี ตวั อยางท่กี ลา วมานี้ มุง ความเขา ใจงายเปน สาํ คญั บางตอนจงึ มีความหมายผิวเผิน ไมใ ห ความเขาใจแจม แจง ลึกซง้ึ เพียงพอ โดยเฉพาะหัวขอ ท่ียากๆ เชน อวิชชาเปน ปจ จัยใหเ กิดสังขาร และ โสกะ ปรเิ ทวะทาํ ใหว งจรเริม่ ตนใหม เปนตน ตวั อยางท่แี สดงในขออวิชชา เปน เร่อื งทมี่ ิไดเ กิดขึ้นเปน สามญั ในทุกชว ง ขณะของชวี ิต ชวนใหเ หน็ ไดว า มนษุ ยปถุ ุชนสามารถเปน อยใู นชวี ิตประจําวนั โดยไมม อี วิชชาเกดิ ขึ้นเลยหรอื เหน็ วา ปฏิจจสมปุ บาทไมใชห ลกั ธรรมท่แี สดงความจริงเกยี่ วกับชีวติ อยางแทจริง จงึ เห็นวาควรอธิบายความหมาย ลึกซ้ึงของบางหวั ขอทยี่ ากใหล ะเอยี ดชัดเจนออกไปอกี ๗. ความหมายลกึ ซ้ึงขององคธ รรมบางขอ ก. อาสวะหลอเล้ยี งอวิชชา ทเี่ ปด ชองแกส งั ขาร ตามปกติ มนุษยป ุถชุ นทุกคน เมอ่ื ประสบสงิ่ ใดสิง่ หนึ่ง หรอื อยูในสถานการณอยางใดอยา งหน่ึง จะ แปลความหมาย ตดั สินส่ิงหรือเหตกุ ารณน นั้ พรอ มท้งั คดิ หมาย ต้ังเจตจํานง แสดงออกซง่ึ พฤตกิ รรม และ กระทาํ การตา งๆ ตามความโนม เอียง หรอื ตามแรงผลักดนั ตอ ไปนี้ คอื ๑. ความใฝในการสนองความตอ งการทางประสาททั้ง ๕ (กาม) ๒. ความใฝหรอื หว งในความมอี ยคู งอยูของตวั ตน การที่ตัวตนจะได เปนอยางนน้ั อยางนี้ และการที่ตนจะดาํ รงคงอยูใ นภาวะทีอ่ ยาก เปน น้ันย่งั ยืนตลอดไป (ภพ) ๓. ความเคยชิน ความเชอื่ ถือ ความเขา ใจ ทฤษฎี แนวความคิด อยางใดอยา งหน่ึงทีส่ ง่ั สมอบรมมา และยดึ ถอื เชดิ ชไู ว (ทิฏฐ)ิ ๔. ความหลง ความไมเ ขา ใจ คือ ความไมตระหนกั รูแ ละไมกําหนดรู ความเปน มาเปน ไป เหตุ ผล ความหมาย คณุ คา วัตถุประสงค ตลอด จนความสมั พันธข องส่งิ ตา งๆ หรือเหตุการณท ัง้ หลายตามสภาวะ โดยธรรมชาติของมันเอง ความหลงผดิ วามีตวั ตนท่เี ขาไปกระทํา และถกู กระทํากบั สง่ิ ตางๆ ไมม องเห็นความสมั พนั ธท ั้งหลาย ใน รูปของกระบวนการแหงเหตปุ จ จยั พูดสน้ั ๆ วา ไมร ูเ ห็นตามที่มนั เปน แตรูเหน็ ตามท่ีคดิ วา มนั เปน หรือคิดใหม ันเปน (อวิชชา) โดยเฉพาะขอ ๓ และ ๔ นนั้ จะเห็นไดวาเปน สภาพท่ีสมั พนั ธต อเน่ืองกนั คือเมอ่ื ไมไ ดกาํ หนดรู หลง เพลินไป ก็ยอมทําไปตามความเคยชิน ความเชือ่ ถอื ความเขา ใจทีส่ ัง่ สมอบรมมากอ น อนงึ่ ขอ ๓-๔ นี้ มีความหมายกวา งขวางมาก รวมไปถงึ นสิ ัย ความเคยชิน ทศั นคติ แบบแผน ความ ประพฤตติ างๆ ทีเ่ ปนผลมาจากการศกึ ษาอบรม คานยิ มหรือคตนิ ยิ มทางสงั คม การถายทอดทางวัฒนธรรม

พุทธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 92 เปน ตน สิ่งเหลา นแี้ สดงอทิ ธิพลสมั พันธกบั ขอ ท่ี ๑ และ ๒ นน้ั กลายเปนตวั การกาํ หนดและควบคุมความรสู ึกนกึ คิดและพฤตกิ รรมทง้ั หมดของบุคคล ต้งั ตน แตวา จะใหชอบอะไร ตองการอะไร จะสนองความตองการของตนใน รูปแบบและทิศทางใด แสดงพฤตกิ รรมออกมาอยา งไร คือเปน สิ่งท่แี ฝงอยูลกึ ซึง้ ในบคุ คลและคอยบัญชาพฤติ กรรมของบุคคลนนั้ โดยเจาตวั ไมรตู วั เลย ในความเขาใจตามปกติ บุคคลนน้ั ยอ มรูสึกวา ตวั เขากาํ ลงั กระทาํ กาํ ลงั ประพฤติอยางนั้นๆ ดว ยตนเอง ตามความตอ งการของตนเองอยางเต็มที่ แตแ ทจริงแลว นบั เปนความหลงผดิ ท้งั ส้นิ เพราะถาสืบสาวลงไปใหช ดั วา เขาตองการอะไรแน ทาํ ไมเขาจึงตองการสง่ิ ทเี่ ขาตอ งการอยนู ั้น ทาํ ไมเขาจึงกระทําอยางทกี่ ระทาํ อยูน ้นั ทําไมจงึ ประพฤตอิ ยา งท่ปี ระพฤตอิ ยูน ้นั ก็จะเห็นวา ไมมอี ะไรที่เปน ตวั ของเขาเองเลย แตเ ปน แบบแผนความ ประพฤตทิ ีเ่ ขาไดรับถายทอดมาในการศกึ ษาอบรมบาง วฒั นธรรมบาง ความเชอ่ื ถอื ทางศาสนาบาง เปนความ นยิ มในทางสงั คมบา ง เขาเพยี งแตเลือกและกระทาํ ในขอบเขตแนวทางของสิง่ เหลา น้ี หรือทาํ ใหแปลกไปอยาง ใดอยา งหนงึ่ โดยเอาสง่ิ เหลานเ้ี ปนหลักคิดแยกออกไปและสําหรับเทยี บเคยี งเทา น้ันเอง ส่ิงทีเ่ ขายดึ ถอื วาเปน ตวั ตนของเขานัน้ จงึ ไมมีอะไรนอกไปจากสง่ิ ท่ีอยูในขอ ๑ ถงึ ๔ เทาน้ันเอง สงิ่ เหลา นนี้ อกจากไมม ีตัวมตี นแลว ยงั เปนพลงั ผลักดันที่อยพู นอาํ นาจควบคมุ ของเขาดว ย จึงไมม ที างเปนตัวตนของเขาไดเลย ในทางธรรมเรียกส่ิงท้ังสน่ี วี้ า อาสวะ ๔ (inflowing impulses หรือ influxes หรือ biases) อยา งที่ ๑ เรียก กามาสวะ (sense-gratification) อยา งที่ ๒ เรยี ก ภวาสวะ (existence หรือ self-centered pursuits) อยา งท่ี ๓ เรียก ทฏิ ฐาสวะ (views) อยา งที่ ๔ เรยี ก อวิชชาสวะ (ignorance) บางแหง ตดั ขอ ๓ ออก เหลอื เพียงอาสวะ ๓ จงึ เห็นไดว า อาสวะตางๆ เหลาน้ี เปนท่มี าแหงพฤตกิ รรมของมนุษยปุถชุ นทกุ คน เปน ตวั การทท่ี าํ ให มนษุ ยหลงผิด ยดึ ถอื ในความเปนตัวตนทพี่ รามัว อันเปน อวิชชาชั้นพ้ืนฐาน แลว บังคบั บญั ชาใหนกึ คิดปรุงแตง แสดงพฤตกิ รรม และกระทําการตางๆ ตามอาํ นาจของมนั โดยไมรตู ัวของตัวเอง เปน ขน้ั เร่มิ ตน วงจรแหงปฏิจจส มุปบาท คอื เม่ืออาสวะเกดิ ขน้ึ อวิชชากเ็ กิดขึ้น แลวอวิชชาก็เปนปจจยั ใหเกิดสงั ขาร ในภาวะท่ีแสดงพฤติกรรม ดวยความหลงวา ตวั ตนทาํ เชนน้ี กลา วไดด วยคาํ ยอนแยง วา มนษุ ยไ มเ ปน ตวั ของตัวเอง เพราะพฤติกรรมถกู บังคับบญั ชาดว ยสังขารทเ่ี ปน แรงขบั ไรสาํ นึกทั้งสิน้ กลา วโดยสรปุ เพอ่ื ตดั ตอนใหชัด ภาวะท่เี ปนอวชิ ชา ก็คือ การไมมองเห็นไตรลกั ษณ โดยเฉพาะความ เปน อนัตตา ตามแนวปฏจิ จสมุปบาท คือ ไมรูตระหนักวา สภาพท่ีถือกันวา เปนสัตว บคุ คล ตวั ตน เรา เขา นัน้ เปน เพยี งกระแสแหงรูปธรรมนามธรรมสวนยอ ยตา งๆ มากมาย ที่สมั พนั ธเน่ืองอาศยั เปนเหตุปจจัยสืบตอกนั โดยอาการเกิดสลายๆ ทําใหก ระแสน้นั อยใู นภาวะท่ีกําลงั แปรรปู อยูตลอดเวลา

พุทธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 93 พูดใหง า ยขนึ้ วา บุคคลกค็ อื ผลรวมแหงความรสู กึ นึกคดิ ความปรารถนา ความเคยชนิ ความโนมเอยี ง ทศั นคติ ความรู ความเขาใจ ความเช่อื ถอื (ตัง้ แตข้ันหยาบที่ผดิ หรอื ไมมีเหตผุ ล จนถึงขัน้ ละเอยี ดทีถ่ กู ตองและ มเี หตผุ ล) ความคิดเห็น ความรูสกึ ในคณุ คา ตางๆ ฯลฯ ท้งั หมดในขณะน้ันๆ ที่เปนผลมาจากการถา ยทอดทาง วัฒนธรรม การศึกษาอบรม และปฏกิ ิริยาตางๆ ทง้ั ท่เี กิดขึน้ ภายใน และทม่ี ีตอ ส่งิ แวดลอมท้งั หลาย อนั กําลงั ดาํ เนนิ ไปอยตู ลอดเวลา เม่ือไมต ระหนกั รเู ชนน้ี จงึ ยดึ ถือเอาสิ่งเหลานีอ้ ยางใดอยา งหนง่ึ เปนตัวตนของตนในขณะหน่งึ ๆ เม่ือยึด ถือสิ่งเหลา นเ้ี ปน ตัวตน กค็ ือถูกส่งิ เหลาน้นั หลอกเอา จงึ เทา กับตกอยใู นอาํ นาจของมนั ถกู มันชกั จงู บงั คบั เอา ให เหน็ วาตัวตนนัน้ เปน ไปตา งๆ พรอมท้ังความเขาใจวา ตนเองกาํ ลงั ทาํ การตา งๆ ตามความตองการของตน เปนตน ท่ีกลาวมาน้ี นบั วา เปนคาํ อธบิ ายในหัวขอ อวิชชาเปนปจจัยใหเ กิดสงั ขาร ในระดับที่จัดวา ละเอยี ดลกึ ซงึ้ กวากอ น สวนหัวขอตอ จากน้ไี ปถงึ เวทนา เห็นวาไมย ากนกั พอจะมองเหน็ ไดตามคําอธิบายทกี่ ลาวมาแลว จึง ขา มมาถึงตอนสาํ คัญอีกชวงหนึง่ คือ ตัณหาเปน ปจจัยใหเ กิดอุปาทาน ซง่ึ เปนชว งของกิเลสเหมือนกนั ข. ตัณหา อาศยั อวิชชา โดยสัมพนั ธกับทิฏฐิ ตณั หาทัง้ ๓ อยา งท่ีพดู ถึงมาแลว นั้น ก็คืออาการแสดงออกของตณั หาอยา งเดียวกนั และมีอยเู ปน สามัญโดยครบถวนในชีวิตประจาํ วนั ของปุถุชนทกุ คน แตจะเห็นไดต อ เม่อื วิเคราะหด สู ภาพการทาํ งานของจติ ใน สว นลกึ เร่ิมแตม นุษยไมรูไมเขา ใจและไมรจู ักมองส่ิงท้ังหลายในรูปของกระบวนการแหงความสมั พนั ธกันของ เหตุปจจัยตา งๆ ตามธรรมชาติ จงึ มีความรูสึกมวั ๆ อยวู า มีตวั ตนของตนอยูในรูปใดรปู หนึง่ มนุษยจงึ มคี วาม อยากทเ่ี ปนพื้นฐานสําคัญ คือ ความอยากมีอยเู ปน อยู หรืออยากมีชวี ติ อยู ซึ่งหมายถึงความอยากใหต ัวตนใน ความรสู ึกมัวๆ นัน้ คงอยยู งั่ ยนื ตอ ไป แตความอยากเปนอยนู ้ี สัมพันธก ับความอยากได คือไมใ ชอ ยากเปน อยเู ฉยๆ แตอ ยากอยเู พื่อเสวยสงิ่ ท่ี อยากได คอื เพือ่ เสวยสงิ่ ทจ่ี ะใหสุขเวทนาสนองความตอ งการของตนตอ ไป จึงกลา วไดวา ทอี่ ยากเปน อยกู เ็ พราะ อยากได เม่ืออยากได ความอยากเปน อยกู ็ย่งิ รุนแรงขนึ้ เมอื่ ความอยากเปนอยรู ุนแรง อาจเกิดกรณที ่ี ๑ คือ ไมไดส่งิ ท่อี ยากทนั อยาก จึงเกดิ ปฏิกิรยิ าขึ้น คือ ภพ หรือความมีชวี ิตเปนอยูในขณะนั้น ไมเปนที่นาชืน่ ชม ชีวิตขณะนนั้ เปน ทข่ี ดั ใจ ทนไมไ ด อยากใหดบั สูญไป เสียความอยากใหดับสูญจงึ ติดตามมา แตท นั ทนี ั้นเอง ความอยากไดก ็แสดงตวั ออกมาอกี จงึ กลวั วา ถา ดบั สูญ ไปเสยี กจ็ ะไมไดเ สวยสุขเวทนาทอ่ี ยากไดตอไป ความอยากเปนอยจู งึ เกิดตามตดิ มาอีก ในกรณีท่ี ๒ ไมไ ดท ี่อยาก หรือกรณที ่ี ๓ ไดไมเ ตม็ ขดี ที่อยาก ไดไมส มอยาก หรอื กรณีท่ี ๔ ไดแลวอยาก ไดอน่ื ตอไป กระบวนการก็ดําเนนิ ไปในแนวเดยี วกนั แตก รณที ีน่ ับวาเปน พื้นฐานท่ีสุดและครอบคลมุ กรณีอ่นื ๆ ทัง้ หมด ก็คืออยากยงิ่ ๆ ข้นึ ไป

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) 94 เม่อื กาํ หนดจบั ลงท่ขี ณะหนึง่ ขณะใดกต็ าม จะปรากฏวา มนุษยกําลงั แสห าภาวะท่เี ปน สขุ กวาขณะท่ี กําหนดนน้ั เสมอไป ปถุ ชุ นจึงปดหรอื ผละทิง้ จากขณะปจจบุ ันทกุ ขณะ ขณะปจจุบันแตละขณะ เปนภาวะชีวิตท่ี ทนอยูไมได อยากใหด บั สญู หมดไปเสีย อยากใหตนพน ไป ไปหาภาวะที่สนองความอยากไดต อไป ความอยาก ได อยากอยู อยากไมอยู จงึ หมนุ เวียนอยูตลอดเวลาในชีวิตประจําวันของมนุษยป ถุ ุชน แตเ ปนวงจรทีล่ ะเอียด ชนดิ ทุกขณะจติ อยางที่แตละคนไมรตู วั เลยวา ชีวิตทเ่ี ปนอยแู ตละขณะของตนกค็ ือ การด้ินรนใหพ น ไปจาก ภาวะชวี ิตในขณะเกา และแสห าสิง่ สนองความตอ งการในภาวะชวี ิตใหมอยทู ุกขณะนั่นเอง เมื่อสืบสาวลงไป ยอ มเหน็ ไดว า ตณั หาเหลาน้ี สบื เน่ืองมาจากอวิชชานน่ั เอง กลาวคือ เพราะไมร ูสิ่งทงั้ หลายตามทีม่ นั เปน ไมรจู ักมนั ในฐานะกระบวนการแหงเหตปุ จ จยั ท่สี มั พนั ธต อ เน่ืองกัน จึงเกดิ ความเห็นผิดพน้ื ฐานเกยี่ วกบั เรือ่ งตวั ตนขึ้นมาในรปู ใดรูปหนึง่ คือ เหน็ วาสง่ิ ท้งั หลายมตี ัวมีตนเปน ชิ้นเปนอัน เปน แนน อนตายตวั ซ่ึงจะยง่ั ยืนอยไู ด หรือไมก เ็ หน็ วาส่ิงทงั้ หลายแตกดับสูญสน้ิ สลายตัวหมดไปไดเปน สงิ่ ๆ เปนช้นิ ๆ เปน อันๆไป มนุษยปุถชุ นทกุ คนมคี วามเห็นผดิ ในรปู ละเอยี ดอยใู นตัวทง้ั สองอยา ง จึงมตี ณั หา ๓ อยา งนน้ั คือ เพราะเขา ใจมืดมัวอยูใ นจติ สวนลึกวา สิ่งทัง้ หลายมตี ัวตนย่งั ยนื แนน อนเปนช้ินเปนอัน จงึ เกิดความอยากใน ความเปนอยคู งอยู หรือภวตัณหาได และอีกดา นหน่งึ ดว ยความไมรู ไมแนใ จ ก็เขาใจไปไดอ กี แนวหนง่ึ วา สงิ่ ทั้ง หลายเปน ตวั เปนตน เปน ช้ินเปนอนั แตล ะสวนละสว นไป มันสูญสนิ้ หมดไป ขาดหายไปได จึงเกดิ ความอยากใน ความไมเ ปน อยู หรอื วิภวตณั หา ได ความเหน็ ผิดทัง้ สองน้ี สัมพันธก ับตัณหาในรูปของการเปดโอกาสหรอื เปด ชอ งทางให ถารูเขา ใจเห็นเสยี แลว วาส่ิงทง้ั หลายเปนกระแส เปน กระบวนการแหงเหตุปจจยั ทส่ี ัมพันธตอ เนือ่ ง กัน กย็ อมไมมีตัวตนท่จี ะยั่งยนื ตายตวั เปนชนิ้ เปน อนั ได และกย็ อมไมม ตี วั ตนเปนชิ้นเปนอนั ท่ีจะหายจะขาดสญู ไปได ตณั หา(ภวตณั หา และวิภวตัณหา) ก็ไมมีฐานทก่ี อตัวได สวนกามตณั หา กส็ บื เนอื่ งจากความเห็นผดิ ทัง้ สองนน้ั ดวย เพราะกลัววาตวั ตนหรอื สุขเวทนาก็ตามจะ ขาดสูญสนิ้ หายหมดไปเสีย จงึ เรารอ นแสห าสขุ เวทนาแกต น และเพราะเห็นวา ส่ิงท้งั หลายเปนตวั เปนตนเปนช้นิ เปนอนั แนนอนคงตัวอยูไ ด จงึ ดิ้นรนไขวค วา กระทาํ ยํา้ ใหหนักแนนใหมน่ั คงอยูใ หได ในรูปทห่ี ยาบ ตัณหาแสดงอาการออกมาเปน การดิ้นรนแสหาสิ่งสนองความตอ งการตางๆ การแสห า ภาวะชวี ิตที่ใหสงิ่ สนองความตอ งการเหลา นนั้ ความเบ่ือหนายสงิ่ ท่มี แี ลว ไดแ ลว เปน แลว ความหมดอาลัยตาย อยาก ทนอยไู มไ ดโดยไมมีสิง่ สนองความตอ งการใหมๆ เรอ่ื ยๆ ไป ภาพท่เี หน็ ไดชัดกค็ ือ มนุษยท ่เี ปน ตัวของตวั เองไมไ ด ถา ปราศจากสิ่งสนองความตองการทางประสาท ทง้ั ๕ แลว ก็มแี ตค วามเบื่อหนา ย วา เหว ทนไมไ หว ตองเทีย่ วด้นิ รนไขวควา สิ่งสนองความตอ งการใหมๆ อยู ตลอดเวลา เพ่อื หนจี ากภาวะเบื่อหนายตัวเอง ถาขาดส่งิ สนองความตอ งการ หรอื ไมไ ดตามทต่ี องการเมอ่ื ใด ก็ ผิดหวัง ชีวิตหมดความหมาย เบอ่ื ตวั เอง ชังตวั เอง ความสขุ ความทุกขจ ึงข้ึนตอปจ จยั ภายนอกอยางเดยี ว เวลา วางจึงกลบั เปนโทษ เปนภัยแกมนษุ ยไ ดทง้ั สว นบคุ คลและสังคม ความเบ่อื หนา ย ความซมึ เศรา ความวา เหว

พทุ ธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 95 ความไมพอใจ จงึ มีมากข้นึ ทั้งท่ีมีสิง่ สนองความตอ งการมากขึ้น และการแสวงหาความปรนปรอื ทางประสาท สัมผัสตางๆ จงึ หยาบและรอนแรงยิ่งข้นึ การตดิ ส่ิงเสพยติดตา งๆ ก็ดี การใชเวลาวางทําความผดิ ความชัว่ ของเดก็ วยั รุน กด็ ี ถาสืบคน ลงไปในจติ ใจอยางลกึ ซงึ้ แลว จะเห็นวาสาเหตสุ ําคัญ ก็คอื ความทนอยไู มได ความเบื่อหนายจะหนไี ปใหพ น จากภพท่เี ขา เกิดอยใู นขณะนั้นนัน่ เอง ในกรณที มี่ กี ารศึกษาอบรม ไดร ับคาํ แนะนําส่งั สอนทางศาสนา มีความเชอื่ ถอื ในทางทถ่ี ูกตอ ง หรือยึด ถือในอุดมคตทิ ี่ดงี ามตางๆ แลว (อวชิ ชาไมมดื บอดเสียทเี ดยี ว) เกดิ ความใฝจะเปน ในทางทด่ี ี ตณั หาก็ถกู ผันมา ใชในทางทีด่ ไี ด จึงมีการทาํ ดีเพ่ือจะไดเ ปนคนดี การขยนั หมั่นเพยี เพือ่ ผลทหี่ มายระยะยาวการบาํ เพญ็ ประโยชน เพือ่ เกียรตคิ ุณ หรอื เพ่ือไปเกิดในสวรรค การใชเ วลาวางใหเ ปนประโยชน ตลอดจนการอาศยั ตณั หาเพอื่ ละ ตัณหาก็ได ค. อปุ าทาน เปนเงอื่ นปมสาํ คญั ท่ีปน วงจรชวี ติ กเิ ลสท่ีสืบเน่ืองจากตณั หา ไดแ ก อปุ าทาน (ความยึดมั่นถือม่ัน) ซึง่ มี ๔ อยาง คือ ๑. กามุปาทาน ความยึดมน่ั ในกาม (clinging to sensuality): เมอื่ อยากได ดิ้นรน แสหา ก็ยดึ มน่ั ตดิ พันในสงิ่ ทอ่ี ยากไดน น้ั เม่ือไดแ ลว กย็ ดึ มัน่ เพราะอยากสนองความตอ งการใหยิ่งๆ ข้นึ ไป และกลัวหลดุ ลอยพราก ไปเสีย ถึงแมผ ดิ หวงั หรือพรากไป กย็ ง่ิ ปกใจม่นั ดว ยความผกู ใจอาลัย พรอมกนั น้นั ความยึดมน่ั ก็ยง่ิ แนน แฟน ขนึ้ เพราะสิง่ สนองความตองการตา งๆ ไมใ หภ าวะเตม็ อิ่มหรือสนองความตองการไดเต็มขดี ทอ่ี ยากจรงิ ๆ ในคราว หน่งึ ๆ จงึ พยายามเพอ่ื เขาถึงขีดทเี่ ตม็ อยากน้ันดวยการกระทําอกี ๆ และเพราะสิง่ เหลานั้นไมใ ชข องของตนแท จรงิ จึงตอ งยึดมน่ั ไวดว ยความรสู กึ จงู ใจตนเองวา เปนของของตนในแงใดแงห นง่ึ ใหได ความคดิ จติ ใจของปุถุชน จึงไปยดึ ตดิ ผูกพันของอยูก บั สิง่ สนองความอยากอยางใดอยา งหนง่ึ อยเู สมอ ปลอดโปรง เปนอิสระ และเปน กลางไดยาก ๒. ทิฏปุ าทาน ความยึดมั่นในทฤษฎหี รอื ทิฏฐติ างๆ (clinging to views): ความอยากใหเปน หรอื ไม ใหเปนอยา งใดอยา งหน่ึงตามทตี่ นตอ งการ ยอมทาํ ใหเ กิดความเอนเอียงยึดมั่นในทฏิ ฐิ ทฤษฎี หรอื หลกั ปรัชญา อยางใดอยางหน่ึงท่เี ขากับความตอ งการของตน ความอยากไดสงิ่ สนองความตองการของตน ก็ทาํ ใหย ึดมน่ั ใน หลักการ แนวความคิด ความเห็น ลัทธิ หลกั คาํ สอนทีส่ นอง หรอื เปน ไปเพ่อื สนองความตองการของตน เม่อื ยึด ถอื ความเหน็ หรอื หลกั ความคิดอนั ใดอันหนง่ึ วา เปน ของตนแลว ก็ผนวกเอาความเหน็ หรอื หลักความคิดนนั้ เปนตัวตนของตนไปดวย จงึ นอกจากจะคดิ นึกและกระทาํ การตา งๆ ไปตามความเห็นน้นั ๆ แลว เมอ่ื มที ฤษฎหี รอื ความเหน็ อนื่ ๆ ทขี่ ดั แยง กบั ความเห็นทยี่ ดึ ไวน้ัน กร็ สู กึ วา เปนการคุกคามตอ ตัวตนของตนดว ย เปนการเขามา บบี คัน้ หรือจะทําลายตัวตนใหเ ส่ือมดอ ยลง พรอ งลง หรือสลายไป อยางใดอยางหน่งึ จึงตองตอสรู กั ษาความ เหน็ นน้ั ไวเ พ่ือศักด์ศิ รเี ปน ตน ของตัวตน จึงเกดิ การขดั แยง ท่ีแสดงออกภายนอก เกดิ การผกู มัดตวั ใหค บั แคบ

พุทธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 96 สรา งอปุ สรรค กกั ปญ ญาของตนเอง ความคดิ เห็นตางๆ ไมเกดิ ประโยชนตามความหมายและวัตถปุ ระสงคแทๆ ของมนั ทาํ ใหไมสามารถถอื เอาประโยชนจ ากความรู และรบั ความรูต า งๆ ไดเทาทคี่ วรจะเปน ๓. สลี พั พตปุ าทาน ความยดึ มั่นในศลี และพรต (clinging to mere rule and ritual): ความอยากได อยากเปน อยู ความกลวั ตอ ความสูญสลายของตัวตน โดยไมเขา ใจกระบวนการแหง เหตุปจ จยั ในธรรมชาติ ผสม กับความยดึ มั่นในทิฏฐอิ ยางใดอยางหนึ่ง ทาํ ใหท ําการตา งๆ ไปตามวิธีปฏบิ ัติท่สี ักวายึดถอื มา เปนแบบแผน หรอื ประพฤติปฏบิ ตั ไิ ปตามๆ กนั อยางงมงายในส่งิ ทนี่ ิยมวา ขลงั วา ศกั ด์สิ ิทธิ์ ทจ่ี ะสนองความอยากของตนได ทงั้ ทีไ่ มม องเหน็ ความสัมพันธโ ดยทางเหตผุ ล ความอยากใหต ัวตนคงอยู มอี ยู และความยดึ มน่ั ในตัวตน แสดงออกมาภายนอกหรอื ทางสงั คม ในรูป ของความยดึ มั่น ในแบบแผนความประพฤตติ างๆ การกระทําสบื ๆกันมา ระเบียบวิธี ขนบธรรมเนยี มประเพณี ลัทธพิ ธิ ี ตลอดจนสถาบันตางๆ ทแ่ี นน อนตายตัว วาจะตอ งเปน อยางนน้ั ๆ โดยไมต ระหนกั รูในความหมาย คณุ คา วตั ถุประสงค และความสมั พนั ธโ ดยเหตุผล กลายเปนวามนษุ ยส รา งสิง่ ตางๆ เหลา นข้ี น้ึ มาเพอื่ กีดกั้น ปด ลอมตวั เอง และทําใหแ ข็งทอ่ื ยากแกก ารปรบั ปรงุ ตวั และการทีจ่ ะไดร บั ประโยชนจากสง่ิ ทงั้ หลายทีต่ นเขา ไป สมั พนั ธ ในเรื่องสีลพั พตปุ าทานนี้ มคี าํ อธิบายของทานพทุ ธทาสภกิ ขุ ตอนหนง่ึ ท่เี หน็ วาจะชว ยใหความหมาย ชดั เจนขึน้ อกี ดังน้ี เมอื่ มาประพฤตศิ ลี หรอื ธรรมะขอใดขอ หนึ่งแลว ไมท ราบความมุงหมาย ไมคํานึงถึงเหตุผล ไดแ ตล ง สันนษิ ฐานเอาเสียวา เปน ของศักดิส์ ิทธ์ิ เมื่อลงไดปฏิบตั ขิ องศักดส์ิ ิทธิ์แลว ยอ มตองไดร ับผลดีเอง ฉะนัน้ คน เหลา นจ้ี งึ สมาทานศีล หรือประพฤติธรรมะ แตเพียงตามแบบฉบับ ตามตัวอกั ษร ตามประเพณี ตามตวั อยา ง ท่ี สบื ปรมั ปรากนั มาเทา น้นั ไมเขาถงึ เหตุผลของส่งิ นั้นๆ แตเพราะอาศัยการประพฤติกระทํามาจนชนิ การยดึ ถือ จึงเหนยี วแนน เปน อปุ าทานชนิดแกไขยาก...ตา งจากอุปาทานขอ ทส่ี องขางตน ซง่ึ หมายถงึ การถือในตัวทิฏฐิ หรือความคิดความเห็นที่ผดิ สวนขอนี้ เปน การยึดถือในตวั การปฏิบตั ิ หรอื การกระทาํ ทางภายนอก ๔. อตั ตวาทปุ าทาน ความยดึ ม่นั ในวาทะวาตวั ตน (clinging to the ego-belief): ความรสู ึกวามีตวั ตน ที่แทจ รงิ น้นั เปน ความหลงผดิ ทีม่ เี ปนพืน้ ฐานอยแู ลว และยงั มปี จ จัยอืน่ ๆ ท่ีชว ยเสรมิ ความรูสกึ น้อี กี เชนภาษา อนั เปนถอยคําสมมตสิ ําหรับสือ่ ความหมาย ที่ชวนใหมนษุ ยผตู ิดบญั ญตั มิ องเหน็ สงิ่ ตางๆ แยกออกจากกันเปน ตัวตนทีค่ งท่ี แตค วามรสู กึ นีก้ ลายเปนความยดึ ม่นั เพราะตัณหาเปนปจ จัย กลาวคอื เมอ่ื อยากไดก ็ยดึ ม่นั วา มตี วั ตนท่ีเปน ผไู ดร บั และเสวยสิ่งทีอ่ ยากน้นั มตี ัวตนที่เปน เจาของสง่ิ ทีไ่ ดนั้น เมอ่ื อยากเปนอยู กอ็ ยากใหมีตัวตนอัน ใดอนั หน่ึงเปนอยู คงอยู เม่ืออยากไมเปน อยู ก็ยึดในตวั ตนอนั ใดอนั หน่งึ ท่จี ะใหสูญสลายไป เม่อื กลวั วา ตวั ตนจะ สูญสลายไป กย็ ิ่งตะเกยี กตะกายยํ้าความรสู กึ ในตัวตนใหแ นน แฟนหนกั ขึ้นไปอกี ทส่ี ําคญั คือ ความอยากน้นั สัมพนั ธก บั ความรสู กึ วา มีเจาของผูมอี าํ นาจควบคมุ คือมตี ัวตนทเ่ี ปน นาย บังคบั บัญชาส่ิงตา งๆ ใหเ ปน ไปอยา งที่อยากใหเ ปน ได และกป็ รากฏคลา ยกับวามกี ารบังคับบญั ชาไดส ม

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดิม) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 97 ปรารถนาบา งเหมือนกัน จงึ หลงผิดไปวา มีตัวฉนั หรือตัวตนของฉันที่เปนเจา ของ เปนนายบงั คบั สง่ิ เหลาน้ันได แตความจริงมีอยวู า การบงั คับบัญชานั้น เปน ไปไดเพียงบางสว นและช่ัวคราวเทา นนั้ เพราะสิง่ ทย่ี ดึ วา เปน ตวั ตน น้ัน กเ็ ปน เพียงปจจยั อยางหนงึ่ ในกระบวนการแหง เหตปุ จจยั ไมสามารถบังคบั บัญชาสง่ิ อ่ืนๆ ท่ีเขา ไปยดึ ให เปนไปตามท่อี ยากใหเ ปนไดถ าวรและเต็มอยากจรงิ ๆ การท่รี ูสึกวาตัวเปนเจา ของควบคุมบังคบั บญั ชาไดอ ยบู า ง แตไ มเ ตม็ สมบูรณจ รงิ ๆ เชน นี้ กลับเปนการยํา้ ความหมายม่นั และตะเกียกตะกายเสริมความรสู ึกวาตัวตนให แนนแฟน ยงิ่ ขึ้นไปอีก เมอ่ื ยดึ มั่นในตวั ตนดวยอุปาทาน ก็ไมร ูจกั ทจ่ี ะจดั การสง่ิ ตางๆ ตามเหตุตามปจ จัยท่จี ะใหม ันเปนไป อยางน้นั ๆ กลับหลงมองความสัมพนั ธผดิ ยกเอาตวั ตนข้นึ ยดึ ไวในฐานะเจาของทีจ่ ะบงั คับควบคุมส่ิงเหลา นัน้ ตามความปรารถนา เม่อื ไมท ําตามกระบวนการแหงเหตปุ จจัย และสง่ิ เหลา นั้นไมเ ปนไปตามความปรารถนา ตวั ตนก็ถูกบีบคั้นดว ยความพรอ ง เสือ่ มดอ ย และความสูญสลาย ความยดึ มนั่ ในตวั ตนนนี้ ับวาเปน ขอ สําคัญ เปน พื้นฐานของความยึดมน่ั ขอ อื่นๆ ท้ังหมด วา โดยสรปุ อปุ าทานทําใหม นษุ ยปถุ ุชนมจี ิตใจไมป ลอดโปรงผอ งใส ความคดิ ไมแลนคลอ งไปตาม กระบวนการแหงเหตปุ จจยั ไมส ามารถแปลความหมาย ตัดสิน และกระทาํ การตางๆ ไปตามแนวทางแหงเหตุ ปจจัยตามท่มี ันควรจะเปน โดยเหตผุ ลบรสิ ทุ ธิ์ แตม คี วามตดิ ของ ความเอนเอียง ความคบั แคบ ความขดั แยง และความรสู กึ ถูกบบี คัน้ อยูตลอดเวลา ความบบี ค้ันเกิดขน้ึ เพราะความยดึ วาเปนตวั เรา ของเรา เม่อื เปนตวั เรา ของเรา กต็ องเปนอยางทเ่ี ราอยากใหเ ปน แตส ่ิงท้งั หลายเปนไปตามเหตุปจจัย ไมใชเปนไปตามทเี่ ราอยากให เปน เม่ือมันไมอ ยใู นบงั คับของความอยาก กลบั เปนอยา งอน่ื ไปจากทอี่ ยากใหเปน ตวั เราก็ถกู ขดั แยง กระทบ กระแทกบบี คน้ั ส่ิงที่ยึดถูกกระทบเม่ือใด ตวั เราก็ถกู กระทบเมือ่ นนั้ สิ่งที่ยึดไวม จี ํานวนเทาใด ตัวเราแผไปถึง ไหน ยดึ ไวด วยความแรงเทาใด ตวั เราท่ีถกู กระทบ ขอบเขตทถ่ี กู กระทบ และความแรงของการกระทบ กม็ ีมาก เทานั้น และผลทเ่ี กิดข้ึน มใิ ชเ พยี งความทุกขเทาน้นั แตห มายถงึ ชีวติ ทีเ่ ปนอยูและกระทาํ การตางๆ ตามอาํ นาจ ความยดึ อยาก ไมใ ชเ ปนอยแู ละทาํ การดว ยปญญาตามเหตปุ จจัย จงึ เปนเหตใุ หการงานทที่ ําไมสาํ เรจ็ ผลดี หรอื ยากทจ่ี ะไดผลดี กบั ทั้งยงั พว งเอาปญหาจุกจิกวุนวายนอกเรื่องตามมาอกี มากมายโดยไมสมควร ตอ จากอปุ าทาน กระบวนการดาํ เนนิ ตอไปถงึ ขนั้ ภพ ชาติ ชรามรณะ จนเกิด โสกะ ปริเทวะ เปนตน ตามแนวทอ่ี ธิบายมาแลว เมอ่ื เกิด โสกะ ปรเิ ทวะ เปนตนแลว บคุ คลยอ มหาทางออกดว ยการคิด ตัดสินใจ และ กระทําการตา งๆ ตามความเคยชิน ความโนม เอียง ความเขา ใจ และความคิดเห็นท่ียดึ มน่ั สะสมไวอกี โดยไม มองเหน็ ภาวะที่ประสบในขณะนน้ั ๆ ตามทีม่ ันเปนของมนั จรงิ ๆ วงจรจงึ เรม่ิ ขึ้นที่อวชิ ชา แลวหมุนตอ ไปอยา งเดมิ ง. การผอนเบาปญ หา เม่อื ยังมอี วิชชาและตณั หา

พทุ ธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 98 แมอวิชชาจะเปนกิเลสพน้ื ฐาน เปน ทกี่ อ ตวั ของกเิ ลสอ่ืนๆ แตใ นขนั้ แสดงออกเปน พฤตกิ รรมตา งๆ ตณั หายอมเปนตัวชักจูง เปนตัวบงการและแสดงบทบาททีใ่ กลช ดิ เห็นไดชัดเจนกวา ดังน้นั ในทางปฏิบตั ิ เชน ใน อรยิ สจั ๔ จงึ ถือวาตัณหาเปน เหตใุ หเ กิดทุกข เมอื่ อวชิ ชาเปนไปอยางมืดบอดเลือ่ นลอย ตณั หาไมมหี ลกั ไมถกู ควบคมุ เปน ไปสดุ แตจะใหส นองความ ตองการไดสาํ เร็จ ยอ มมที างใหเ กดิ กรรมฝายชว่ั มากกวาฝา ยดี แตเมือ่ อวชิ ชาถกู ปรุงแปลงดวยความเชอ่ื ถือใน ทางท่ดี ีงาม ไดร ับอทิ ธพิ ลจากความคิดท่ถี ูกตอ ง หรอื จากความเชอื่ ท่มี ีเหตุผล ตณั หาถกู ชกั จูงใหเ บนไปสเู ปา หมายท่ดี งี าม ถกู ควบคมุ ขดั เกลา และขับใหพ งุ ไปอยา งมจี ดุ หมาย ก็ยอมใหเกดิ กรรมฝา ยดี และเปน ประโยชน ไดอ ยางมาก และถา ไดรับการชักนําอยา งถกู ตอง กจ็ ะเปน เคร่ืองอุปถมั ภ สําหรับกําจดั อวิชชาและตณั หาไดต อ ไปดว ย วิถอี ยา งแรกเปนวิถแี หง ความชั่ว แหงบาปอกศุ ล อยางหลังเปนวิถีแหงความดี แหงบุญกุศล คนดีและ คนช่ัวตางกย็ งั มที ุกขอ ยูตามแบบของตนๆ แตวิถีฝา ยดีเทา น้นั ที่สามารถนําไปสูค วามสนิ้ ทกุ ข ความหลุดพน และความเปน อิสระได ตัณหาทีถ่ กู ใชใ นทางทเ่ี ปน ประโยชนน น้ั มีตัวอยา งถงึ ข้ันสงู สดุ เชน :- ดกู รนองหญงิ ภกิ ษุในธรรมวินัยนี้ ไดยนิ วา ภิกษุช่ือน้ี กระทาํ ใหแ จงซงึ่ เจโตวิมตุ ติปญ ญาวมิ ุตติอนั หา อาสวะมิได ฯลฯ เธอจึงมคี วามดําริวาเม่ือไรหนอ เราจักกระทําใหแ จง ซึ่งเจโตวิมตุ ติ ปญญาวมิ ตุ ติ ฯลฯ บาง สมยั ตอ มา เธออาศัยตัณหาแลว ละตัณหาเสยี ได ขอทีเ่ รากลาววา กายน้เี กดิ จากตัณหา พึงอาศยั ตณั หา ละ ตัณหาเสยี เราอาศยั ความขอนเ้ี องกลาว ถา ไมส ามารถทาํ อยา งอื่น นอกจากเลอื กเอาในระหวา งตัณหาดว ยกัน พึงเลอื กเอาตัณหาในทางทด่ี เี ปน แรงชักจงู ในการกระทาํ แตถาทําได พงึ เวนตัณหาท้ังฝายชัว่ ฝายดี เลือกเอาวิถแี หง ปญ ญา อันเปนวิถที ่บี ริสุทธ์ิ อิสระ และไรทกุ ข ๘. ปฏิจจสมุปบาทในฐานะมชั เฌนธรรมเทศนา ความเขาใจในปฏิจจสมปุ บาท เรยี กวาเปนสัมมาทิฏฐิ หรือเหน็ ถูกตอง และความเห็นทถ่ี กู ตองน้เี ปน ความเห็นชนิดที่เรียกวาเปน กลางๆ ไมเ อยี งสดุ ไปทางใดทางหน่งึ ปฏิจจสมปุ บาทจงึ เปนหลักหรือกฎท่ีแสดง ความจรงิ เปน กลางๆ ไมเอียงสุด อยางที่เรียกวา “มชั เฌนธรรมเทศนา” ความเปน กลางของหลกั ความจรงิ น้ี เหน็ ไดโดยโดยการเทยี บกบั ลัทธหิ รอื ทฤษฎเี อยี งสดุ ตา งๆ และ ความเขาใจปฏิจจสมุปบาทโดยถกู ตอ ง จะตอ งแยกออกจากทฤษฎีเอียงสุดเหลา นีด้ ว ย ดังนัน้ ในที่น้ีจึงควรนาํ ทฤษฎีเหลานมี้ าแสดงไวเปรียบเทียบเปนคูๆ โดยการใชวธิ ีอา งพุทธพจนเปนหลกั และอธิบายใหนอ ยท่ีสุด คทู ่ี ๑: ๑. อัตถกิ วาทะ ลัทธวิ าสิง่ ทั้งหลายมีอยจู รงิ (extreme realism) ๒. นตั ถกิ วาทะ ลัทธวิ าสิ่งท้ังหลายไมม จี ริง (nihilism)

พทุ ธธรรม (ฉบบั เดมิ ) พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) 99 ขา แตพ ระองคผ เู จริญ ที่เรยี กวา “สมั มาทิฏฐิ สัมมาทฏิ ฐิ” ดังนี้ แคไ หน จึงจะชื่อวา เปนสัมมาทิฏฐิ? แนะ ทานกัจจานะ โลกนโ้ี ดยมากอิง (ทฤษฎขี องตน) ไวกับภาวะ ๒ อยาง คอื อตั ถิตา (ความม)ี และนตั ถิตา (ความไมม ี) เม่ือเหน็ โลกสมทุ ัยตามที่มันเปน ดว ยสัมมาปญญา นัตถติ าในโลกก็ไมม ี เมื่อเหน็ โลกนิโรธตาม ท่ีมนั เปน ดว ยสมั มาปญ ญา อัตถิตาในโลกน้กี ไ็ มม ี โลกน้ีโดยมากยดึ มน่ั ถือมั่นในอบุ าย(systems) และถกู คลอง ขงั ไวดว ยอภนิ ิเวส (dogmas) สว นอริยสาวก ยอ มไมเขาหา ไมยึด ไมต ดิ อยูกับความยดึ มน่ั ถอื มัน่ ในอุบาย ความปก ใจ อภนิ ิเวส และอนสุ ยั วา “อัตตาของเรา” ยอมไมเ คลือบแคลงสงสัยวา “ทุกขน น่ั แหละ เมอื่ เกดิ ขึน้ ยอ มเกดิ ขึน้ ทกุ ข เมือ่ ดบั ก็ยอ มดบั ” อรยิ สาวกยอ มมญี าณในเรอื่ งนี้ โดยไมต องอาศยั ผูอ่ืนเลย เพียงเทานแ้ี ล ช่ือวามสี ัมมาทิฏฐิ ดกู อนกัจจานะ ขอ วา ‘สงิ่ ทั้งปวงมีอยู’ นี้เปนทีส่ ดุ ขางหน่ึง ขอ วา ‘ส่ิงท้งั ปวงไมมี’ น้เี ปนท่สี ดุ ขา งหนึง่ ตถาคตยอมแสดงธรรมเปนกลางๆ ไมเขา ไปติดท่สี ุดท้ังสองนัน้ วา “เพราะอวชิ ชาเปนปจจัย สังขารจงึ มเี พราะ สังขารเปน ปจ จัย วิญญาณจึงมี ฯลฯ เพราะอวชิ ชานั่นแหละสํารอกดบั ไปไมเหลือ สังขารจึงดบั เพราะสังขารดบั ไป วญิ ญาณจึงดับ ฯลฯ” พราหมณน ักโลกายตั คนหน่งึ มาเฝา ทูลถามปญ หาวา: ทานพระโคตมะผูเ จริญ สิง่ ท้งั ปวงมอี ยูหรือ? พระพุทธเจา ตรัสตอบวา : ขอวา ‘สง่ิ ท้งั ปวงม’ี เปนโลกายตั หลกั ใหญทสี่ ุด ถาม: สิ่งทั้งปวงไมมีหรอื ? ตอบ: ขอวา ‘ส่ิงทงั้ ปวงไมม ี’ เปนโลกายตั ทสี่ อง ถาม: ส่ิงทั้งปวงเปนภาวะหนงึ่ เดยี ว (เอกัตตะ-unity) หรือ? ตอบ: ขอ วา ‘ส่ิงทั้งปวงเปนภาวะหน่ึงเดยี ว’ เปน โลกายัตทสี่ าม ถาม: สง่ิ ทงั้ ปวง เปนภาวะหลากหลาย (ปุถตุ ตะ-plurality) หรือ? ตอบ: ขอวา ‘สง่ิ ท้งั ปวงเปน ภาวะหลากหลาย’ เปนโลกายัตทีส่ ี่ ดูกอ นพราหมณ ตถาคตไมเ ขา ไปติดทส่ี ดุ ท้ังสองขา งเหลา น้ี ยอมแสดงธรรมเปนกลางๆ วา “เพราะ อวิชชาเปนปจจยั สงั ขารจงึ มี เพราะ สังขารเปน ปจจยั วิญญาณจงึ มี ฯลฯ เพราะอวิชชาสาํ รอกดบั ไปไมเ หลอื สงั ขารจึงดบั เพราะสงั ขารดบั วญิ ญาณจึงดบั ” คทู ่ี ๒: ๑. สสั สตวาทะ ลัทธถิ ือวาเทีย่ ง (eternalism) ๒. อจุ เฉทวาทะ ลัทธถิ ือวา ขาดสญู (annihilationism) คทู ี่ ๒ นี้ มกี ลาวถึงบอ ยๆ ในทที่ ัว่ ไปอยูแ ลว จงึ ไมแ สดงไวทน่ี ี้อีก คทู ่ี ๓: ๑. อตั ตการวาทะ หรือ สยังการวาทะ ลัทธิถอื วาสขุ ทุกขเ ปนตน ตนทําเอง

พุทธธรรม (ฉบับเดมิ ) พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) 100 (self-generationism หรือ Karmic autogenesisism) ๒. ปรการวาทะ ลทั ธถิ ือวาสขุ ทกุ ขเปน ตน เกดิ จากตวั การภายนอก (other-generationism หรือ Karmic heterogenesisism) คูที่ ๓ นี้ และคูที่ ๔ ที่จะกลาวตอ ไป มคี วามสาํ คัญมากในแงของหลกั กรรม เมอ่ื ศกึ ษาเขาใจดีแลว จะ ชวยปองกันความเขา ใจผดิ ในเรอ่ื งกรรมไดเ ปนอยางมาก จงึ ควรสงั เกตตามแนวพุทธพจน ดงั น้ี :- ถาม: ทุกข ตนทําเองหรอื ? ตอบ: อยากลา วอยา งน้นั ถาม: ทกุ ขต วั การอยางอ่นื กระทําใหหรอื ? ตอบ: อยา กลา วอยา งนนั้ ถาม: ทุกขตนทาํ เองดว ย ตัวการอยางอืน่ ทาํ ใหด วยหรอื ? ตอบ: อยา กลา วอยางน้ัน ถาม: ทุกขม ิใชต นทําเอง มิใชต วั การอยา งอื่นทําให แตเกดิ ข้นึ เอง ลอยๆ (เปนอธิจจสมุปบัน) หรือ? ตอบ: อยา กลาวอยา งน้ัน ถาม: ถาอยางนนั้ ทุกขไ มมีหรือ? ตอบ: ทุกขม ใิ ชไมมี ทกุ ขมอี ยู ถาม: ถาอยางนัน้ ทา นพระโคตมะ ไมร ู ไมเหน็ ทกุ ขหรือ? ตอบ: เรามใิ ชไมร ู ไมเห็นทุกข เรารู เราเหน็ ทุกขแ ททีเดียว ถาม: ...ขอพระผูมพี ระภาคเจา ไดโปรดบอก โปรดแสดงทกุ ขแ ก ขา พเจา ดว ยเถิด ตอบ: เมือ่ วา ‘ทุกขต นทําเอง’ อยางทว่ี าทีแรก ก็เทากับบอกวา ‘ผนู ้นั ทํา ผูน น้ั เสวย(ทกุ ข)’ กลายเปน สสั สตทฏิ ฐไิ ป เม่อื วา ‘ทกุ ขตัวการ อยา งอื่นทาํ ให’ อยา งทผี่ ูถ กู เวทนาทม่ิ แทงรูส กึ กเ็ ทากบั บอกวา ‘คนหนึ่งทาํ คนหนึง่ เสวย(ทกุ ข)’ กลายเปน อจุ เฉททิฏฐไิ ป ตถาคตไมเ ขา ไปตดิ ทสี่ ุดทง้ั สองขางนนั้ ยอ มแสดงธรรมเปน กลางๆ วา “เพราะอวชิ ชาเปนปจจัย สังขารจึงมี เพราะสงั ขาร เปนปจจยั วญิ ญาณจึงมี ฯลฯ เพราะอวชิ ชาสํารอกดับไปไม เหลอื สงั ขารจึงดับ เพราะสังขารดับ วิญญาณจึงดับ ฯลฯ” ถาม: สขุ ทุกข ตนทําเอง หรือ? ตอบ: อยากลาวอยา งน้ัน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook