Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Text-ชุดฝึกทักษะการบรรเลงระนาดเอกและวีดิทัศน์เพื่อการฝึก-รณชัย บุญลือ

Text-ชุดฝึกทักษะการบรรเลงระนาดเอกและวีดิทัศน์เพื่อการฝึก-รณชัย บุญลือ

Published by รณชัย บุญลือ, 2022-06-28 14:35:00

Description: Text-ชุดฝึกทักษะการบรรเลงระนาดเอกและวีดิทัศน์เพื่อการฝึก กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (สาระดนตรี) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จัดทำโดย
ครูรณชัย บุญลือ วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนบางขุนเทียนศึกษา สำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร

Keywords: ชุดฝึกทักษะ,ระนาดเอก,วีดิทัศน์

Search

Read the Text Version

ก คำนำ ชุดฝึกทักษะการบรรเลงระนาดเอกและวีดิทัศน์เพื่อการฝึก กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ (สาระดนตร)ี ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ชดุ นี้ เป็นสื่อนวัตกรรมการเรยี นการสอนประเภท ส่ิงพิมพ์และส่ือวีดิทัศน์เพ่ือการศึกษาท่ีผู้จัดทำสร้างข้ึนเพ่ือใช้ในการจัดการเรียนการสอน เรอ่ื ง พืน้ ฐานการบรรเลงระนาดเอก กลุม่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ (สาระดนตรี) สำหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ซึ่งมุ่งเนน้ การพฒั นาความรู้ความสามารถและทกั ษะการบรรเลงระนาดเอก ของนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 ท่ีนักเรยี นสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง โดยมีครูให้คำแนะนำ ตา่ ง ๆ ระหว่างที่นกั เรียนปฏิบัตกิ ิจกรรมการเรยี นรู้ มีการกำหนดเน้ือหาและกิจกรรมเป็นขนั้ ตอน โดยเร่มิ ต้ังแต่ง่ายไปหายาก ชุดฝึกทักษะการบรรเลงระนาดเอกและวีดทิ ัศน์เพื่อการฝึก ประกอบดว้ ยวัตถุประสงค์ การใช้ชุดฝึกทักษะและวีดิทัศน์เพ่ือการฝึก คำแนะนำการใช้ชุดฝึกทักษะและวีดิทัศน์เพื่อการฝึก รายละเอียดของชุดฝึกทักษะและวีดิทัศน์เพ่ือการฝึก มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และ ผลการเรียนรู้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน กอ่ นเรียน เน้ือหาสาระและกิจกรรมการเรียนรู้ แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นหลงั เรียน เครื่องมือประเมินทักษะการบรรเลงระนาดเอก แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมี ตอ่ การใชช้ ดุ ฝึกทักษะการบรรเลงระนาดเอกและวีดิทศั น์เพ่อื การฝึก ชุดฝึกทัก ษะก ารบ รรเล งระ นาด เอก และ วีดิทัศน์เ พ่ือก ารฝึก ชุด น้ีจัด ทำ ข้ึนโด ยมี วัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นสื่อนวัตกรรมการเรียนการสอนพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง พ้ืนฐานการบรรเลงระนาดเอก กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (สาระดนตรี) สำหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โดยผู้จัดทำได้วิเคราะห์ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนตาม มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ชว้ี ัดทน่ี ักเรียนยงั มจี ุดบกพรอ่ ง แล้วนำมาวางแผนแก้ไขปญั หาและ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน โดยสร้างเป็นสื่อนวัตกรรมการเรียนการสอน ได้แก่ ชุดฝึกทักษะการบรรเลงระนาดเอกและวีดิทัศน์เพ่ือการฝกึ กลมุ่ สาระการเรียนร้ศู ิลปะ (สาระดนตรี) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เพื่อพัฒนาให้นกั เรยี นมีความรคู้ วามสามารถและทกั ษะ การบรรเลงระนาดเอกทีม่ ีคุณภาพดียง่ิ ข้ึนอย่างมปี ระสิทธิภาพ

ข ชุดฝึกทักษะการบรรเลงระนาดเอกและวีดิทัศน์เพ่ือการฝึก เล่มน้ี มีเนื้อหาสาระ และกจิ กรรมการเรยี นรู้จำนวน 4 เรอื่ ง ดงั น้ี เรือ่ งท่ี 1 ความรูพ้ น้ื ฐานเกี่ยวกับระนาดเอก เรือ่ งที่ 2 โน้ตไทยสำหรับระนาดเอก เร่ืองที่ 3 แบบฝึกทกั ษะพื้นฐานการบรรเลงระนาดเอก เรื่องที่ 4 เพลงไทยพนื้ ฐานสำหรับบรรเลงระนาดเอก ผู้จัดทำได้เรียบเรียงเนื้อหาสาระและกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนเข้าใจง่าย โดยนักเรียนสามารถศึกษาเรียนรู้เนื้อหาสาระและกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับระนาดเอก ซ่ึงประกอบด้วยความรู้พ้ืนฐานเกีย่ วกับระนาดเอก โน้ตไทยสำหรับระนาดเอก แบบฝึกทกั ษะ พ้ืนฐานการบรรเลงระนาดเอก และเพลงไทยพ้ืนฐานสำหรับบรรเลงระนาดเอก เพ่ือให้มี ความรู้พ้ืนฐานก่อนที่จะบรรเลงระนาดเอกจริง และฝึกบรรเลงระนาดเอกได้ด้วยตนเองตาม แบบฝึกทักษะพ้ืนฐานการบรรเลงระนาดเอก อันจะนำไปสู่การบรรเลงระนาดเอกได้ถูกต้อง ตามจังหวะและทำนอง โดยในเน้ือหาสาระ เรื่องท่ี 3 แบบฝึกทักษะพื้นฐานการบรรเลง ระนาดเอก และเรื่องท่ี 4 เพลงไทยพื้นฐานสำหรับบรรเลงระนาดเอก ผู้จัดทำได้สร้าง QR Code (คิวอาร์ โค้ด) ท่ีซ่อนวีดิทัศน์สาธิตการบรรเลงระนาดเอกตามแบบฝึกทักษะและ เพลงไทยพื้นฐาน วีดิทศั น์สาธิตการบรรเลงรวมวงเครื่องดนตรไี ทยประเภทเครื่องตี โดยคุณสมบัติ ของ QR Code (คิวอาร์ โค้ด) เป็นสัญลักษณ์แทนข้อมูลต่าง ๆ ที่มีการตอบสนองท่ีรวดเร็ว ซึง่ ผู้จัดทำได้นำมาใช้กับวีดิทัศน์สาธิตการบรรเลงระนาดเอกตามแบบฝกึ ทักษะพืน้ ฐานการบรรเลง ระนาดเอกและเพลงไทยพื้นฐานสำหรับบรรเลงระนาดเอก รวมทั้งวีดิทัศน์สาธิตการบรรเลง บรรเลงรวมวงเคร่ืองดนตรีไทยประเภทเครื่องตี เพื่อให้นักเรียนและผู้ศึกษาสามารถเข้าสู่ เว็บไซต์ ชมวีดิทัศน์สาธิตการบรรเลงระนาดเอก เมื่อนำกล้องของโทรศัพท์มือถือไปถ่าย สแกน QR Code (ควิ อาร์ โค้ด) ก็จะเข้าสู่เว็บไซต์ได้ทันทีโดยไม่ตอ้ งเสียเวลาพิมพ์ ส่งผลให้ บรรลุตามวัตถุประสงค์การใช้ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ และจุดมงุ่ หมายท่ีกำหนดไว้ นอกจากการสร้างชุดฝึกทักษะในรูปแบบของเอกสารทางวิชาการประกอบการเรียน การสอนประเภทส่ือสิ่งพิมพ์แล้วน้ัน ผู้จัดทำได้สร้างส่ือนวัตกรรมการเรียนการสอนประเภท ส่ือวีดิทัศน์เพื่อการศกึ ษา เปน็ วีดทิ ัศน์เพ่ือการฝึกทักษะการบรรเลงระนาดเอก เพื่อช่วยเสริม สมรรถภาพในการพัฒนาความรูค้ วามสามารถและทักษะการบรรเลงระนาดเอกของนักเรยี นให้ มีคุณภาพและประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิจรงิ ยง่ิ ขนึ้

ค ผ้จู ัดทำหวังเป็นอย่างยงิ่ วา่ ชุดฝึกทักษะการบรรเลงระนาดเอกและวีดิทัศนเ์ พื่อการฝึก จะเป็นประโยชน์สำหรับนักเรียนในการเรยี นรู้และสำหรับครูในการจัดการเรียนการสอน ทำให้ นกั เรยี นได้รับความรู้ความสามารถและเกิดทักษะการบรรเลงระนาดเอกมากย่ิงขึ้น และทำให้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง พ้ืนฐานการบรรเลงระนาดเอก ของนกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6 สูงขึ้น ขอขอบคุณ นายธนศิ บุญอติชาต ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรยี นบางขุนเทียนศึกษา นายวินัย แสงแก้ว ข้าราชการบำนาญ อดีตผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรยี นบางขุนเทียนศึกษา คณะผู้เชี่ยวชาญ คณะครูโรงเรียนบางขุนเทียนศึกษา และผู้ที่เก่ียวข้องทุกท่าน ที่ได้ให้การสนับสนุน ให้คำปรกึ ษา แนะนำ และแก้ไขข้อบกพร่องในการจัดทำชดุ ฝึกทกั ษะการบรรเลงระนาดเอก และวีดิทัศน์เพื่อการฝึก ทำให้สื่อนวัตกรรมการเรียนการสอนชุดนี้สำเร็จลุล่วงด้วยดี และ นำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และขอขอบคุณ นางน้ำทิพย์ บุญลือ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนบางขุนเทียนศึกษา ที่ให้การสนับสนุน อำนวยความสะดวก และให้กำลังใจในการทำสื่อนวัตกรรมการเรียนการสอนชุดน้ีจนสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ผู้จัดทำ ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนดี้ ว้ ย รณชัย บุญลือ

ง สารบัญ เรือ่ ง หน้า คำนำ ............................................................................................................................. ก สารบัญ .......................................................................................................................... ง สารบญั ภาพประกอบ ..................................................................................................... ซ วัตถุประสงคก์ ารใช้ชุดฝึกทักษะและวดี ทิ ศั น์เพอื่ การฝกึ ................................................. 1 คำแนะนำการใชช้ ดุ ฝกึ ทกั ษะและวดี ิทศั นเ์ พ่ือการฝึก ..................................................... 2 รายละเอียดของชดุ ฝึกทักษะและวดี ทิ ศั น์เพื่อการฝกึ ..................................................... 4 หลกั การและเหตุผล ................................................................................................ 4 จดุ มุ่งหมาย ............................................................................................................. 6 การวัดและประเมนิ ผลความรพู้ ื้นฐานก่อนเรียน ..................................................... 7 กจิ กรรมการเรียนรู้ ................................................................................................. 8 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้หลังเรยี น ............................................................ 8 การเรยี นซ่อมเสริม ................................................................................................. 9 มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ช้ีวดั และผลการเรียนรู้ .......................................................... 10 สาระสำคัญ .................................................................................................................... 11 จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ .................................................................................................... 12 สาระการเรียนรู้ ............................................................................................................. 13 แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นก่อนเรยี น เรอื่ ง พื้นฐานการบรรเลง ระนาดเอก กล่มุ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ (สาระดนตรี) ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ...... 14 ชดุ ฝกึ ทกั ษะการบรรเลงระนาดเอก เรอื่ งท่ี 1 ความรู้พนื้ ฐานเก่ยี วกบั ระนาดเอก ....... 22 เนือ้ หาสาระ เร่ืองท่ี 1 ความร้พู ื้นฐานเกี่ยวกบั ระนาดเอก .................................... 23 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ....................................................................................... 23 สาระการเรยี นร้ดู ้านความรู้ .............................................................................. 23 ประวตั ิความเปน็ มาของระนาดเอก .................................................................. 24 ลกั ษณะของระนาดเอก .................................................................................... 25 ลักษณะการนัง่ บรรเลงระนาดเอก .................................................................... 33

จ สารบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้า วิธกี ารจบั ไมต้ รี ะนาดเอก .................................................................................. 40 วิธีการดแู ล เกบ็ รักษาระนาดเอกและไม้ตีระนาดเอก ...................................... 51 ชุดฝกึ ทักษะการบรรเลงระนาดเอก เร่อื งที่ 2 โนต้ ไทยสำหรบั ระนาดเอก ................... 52 เนอ้ื หาสาระ เร่ืองที่ 2 โน้ตไทยสำหรบั ระนาดเอก ................................................ 53 จุดประสงค์การเรียนรู้ ....................................................................................... 23 สาระการเรยี นรู้ด้านความรู้ .............................................................................. 53 เสียงระนาดเอกเปรยี บเทยี บกับเสียงแบบสากล ............................................... 54 องคป์ ระกอบของโนต้ ไทยสำหรบั ระนาดเอก .................................................... 55 ลกั ษณะพเิ ศษของโนต้ ไทยสำหรับระนาดเอก ................................................... 57 ชดุ ฝกึ ทกั ษะการบรรเลงระนาดเอกและวีดิทัศน์เพื่อการฝึก 60 เร่อื งท่ี 3 แบบฝกึ ทกั ษะพื้นฐานการบรรเลงระนาดเอก ......................................... 61 เนือ้ หาสาระ เรื่องที่ 3 แบบฝกึ ทกั ษะพืน้ ฐานการบรรเลงระนาดเอก ................... 61 61 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ...................................................................................... 62 สาระการเรยี นรู้ด้านทักษะ/กระบวนการ ......................................................... 63 ลักษณะการตีและวิธกี ารบรรเลงระนาดเอก ..................................................... 63 ข้นั ตอนการฝกึ ทักษะพื้นฐานการบรรเลงระนาดเอก ........................................ 65 1. แบบฝกึ ทักษะท่ี 1 บรรเลงระนาดเอกสองมือพรอ้ มกันเป็นคู่ 8 1 พยางค์ 3 ครงั้ ขาข้นึ ขาลง ............................................................. 67 2. แบบฝกึ ทักษะท่ี 2 บรรเลงระนาดเอกสองมือพรอ้ มกันเปน็ คู่ 8 69 3 พยางค์ ขาขึน้ ขาลง .......................................................................... 71 3. แบบฝกึ ทกั ษะที่ 3 บรรเลงระนาดเอกสองมอื พร้อมกนั เปน็ คู่ 8 4 พยางค์ ขาขน้ึ ขาลง .......................................................................... 4. แบบฝึกทักษะที่ 4 บรรเลงระนาดเอกดว้ ยลักษณะการตีฉากเป็นคู่ 8 ขาข้ึนขาลง ........................................................................................... 5. แบบฝึกทกั ษะที่ 5 บรรเลงระนาดเอกด้วยลกั ษณะการตีเกบ็ เปน็ คู่ 8 ขาขึน้ ขาลง ...........................................................................................

ฉ สารบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้า 6. แบบฝกึ ทักษะท่ี 6 บรรเลงระนาดเอกด้วยลกั ษณะการตีสงมือ 73 เป็นคู่ 8 ขาขน้ึ ขาลง ............................................................................ 75 7. แบบฝึกทกั ษะที่ 7 บรรเลงระนาดเอกด้วยลักษณะการตีสงมือ ดำเนินกลอน ........................................................................................ 76 8. แบบฝกึ ทกั ษะท่ี 8 บรรเลงระนาดเอกด้วยลักษณะการตีสิมเป็นคู่ 8 78 ขาขึ้นขาลง ........................................................................................... 79 9. แบบฝึกทกั ษะที่ 9 บรรเลงระนาดเอกดว้ ยลักษณะการตีสิม 81 ดำเนินกลอน ........................................................................................ 81 10. แบบฝกึ ทกั ษะท่ี 10 บรรเลงระนาดเอกด้วยลกั ษณะการตกี รอเป็นคู่ 8 ขาขึ้นขาลง ........................................................................................... กจิ กรรมการเรยี นรู้ ................................................................................................. คำแนะนำการปฏบิ ัติกจิ กรรมการเรยี นรู้ .......................................................... ชุดฝึกทกั ษะการบรรเลงระนาดเอกและวีดิทัศน์เพือ่ การฝกึ เรอ่ื งท่ี 4 เพลงไทยพน้ื ฐานสำหรับบรรเลงระนาดเอก ............................................ 100 เนื้อหาสาระ เรอ่ื งท่ี 4 เพลงไทยพ้ืนฐานสำหรบั บรรเลงระนาดเอก ...................... 101 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ...................................................................................... 101 สาระการเรยี นรู้ด้านทักษะ/กระบวนการ ......................................................... 101 การฝกึ บรรเลงเพลงไทยพ้นื ฐานสำหรบั บรรเลงระนาดเอก ............................... 102 แนวคิดสรา้ งสรรค์รปู แบบโครงสร้างเพลง “คตี ลักษณ์” โนต้ ไทยสำหรับระนาดเอก เพลงแขกบรเทศ สองชัน้ .............................. 103 โนต้ ไทยสำหรบั ระนาดเอก เพลงแขกบรเทศ สองช้นั ..................................... 104 แนวคิดสร้างสรรค์รูปแบบโครงสร้างเพลง “คีตลกั ษณ์” โน้ตไทยสำหรับระนาดเอก เพลงคล่ืนกระทบฝั่ง สองชัน้ ........................ 109 โนต้ ไทยสำหรับระนาดเอก เพลงคลื่นกระทบฝั่ง สองชัน้ ............................... 111 กิจกรรมการเรียนรู้ .................................................................................................. 119 คำแนะนำกิจกรรมการเรยี นรู้ ........................................................................... 119

ช สารบัญ (ต่อ) เรือ่ ง หน้า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นหลังเรียน เรอ่ื ง พน้ื ฐานการบรรเลง ระนาดเอก กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (สาระดนตร)ี ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ..... 137 เครื่องมือประเมินทกั ษะการบรรเลงระนาดเอก ............................................................. 145 แบบประเมินทกั ษะการเตรียมความพรอ้ มก่อนการบรรเลงระนาดเอก ………………. 146 แบบประเมินทักษะพ้ืนฐานการบรรเลงระนาดเอก ………………………………………….. 148 แบบประเมนิ ทกั ษะการบรรเลงระนาดเอก เพลงแขกบรเทศ สองชนั้ ……….…….. 154 แบบประเมนิ ทกั ษะการบรรเลงระนาดเอก เพลงคล่ืนกระทบฝ่งั สองชัน้ …..…….. 155 คูม่ อื ดำเนินการประเมนิ และการใช้แบบประเมินทกั ษะการบรรเลงระนาดเอก …… 156 เกณฑ์การให้คะแนนทกั ษะการบรรเลงระนาดเอก …………………….………..………….. 158 แบบสอบถามความพึงพอใจของนกั เรยี นทีม่ ีตอ่ การใช้ชดุ ฝกึ ทักษะการบรรเลง ระนาดเอกและวีดิทัศนเ์ พ่อื การฝกึ กลุ่มสาระการเรียนร้ศู ิลปะ (สาระดนตร)ี ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 ……………………………………………………………………….………… 175 บรรณานกุ รม …………………………………………………………………………………………….….…. 177 ภาคผนวก ……………………………………………………………………………………………………….. 179 กระดาษคำตอบกอ่ นเรยี น ...................................................................................... 180 กระดาษคำตอบหลังเรยี น ...................................................................................... 181 เฉลยแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นกอ่ นเรยี นและหลังเรียน ................... 182 โนต้ ไทยสำหรับระนาดเอก เพลงแขกบรเทศ สองช้นั .......................................... 183 โนต้ ไทยสำหรบั ระนาดเอก เพลงคลื่นกระทบฝงั่ สองชัน้ ..................................... 184 QR Code (ควิ อาร์ โค้ด) วดี ิทัศน์แบบฝกึ ทกั ษะการบรรเลงระนาดเอก กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ (สาระดนตรี) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ……………… 186 ประวัติผจู้ ัดทำ ………………………………………………………………………….………………………. 195

ซ สารบญั ภาพประกอบ ภาพประกอบท่ี หน้า 1 ลกั ษณะและสว่ นประกอบของระนาดเอก ............................................................... 25 2 ลกั ษณะของผนื ระนาดเอกด้านหน้า ........................................................................ 26 3 ลกั ษณะของผืนระนาดเอกดา้ นหลัง ........................................................................ 27 4 ลกั ษณะของรางระนาดเอก ..................................................................................... 28 5 ลกั ษณะของโขนระนาดเอก ...................................................................................... 29 6 ลักษณะของเทา้ รองรางระนาดเอก ......................................................................... 30 7 ลักษณะของไม้ตีระนาดเอกชนิดไมน้ วม .................................................................. 31 8 ลักษณะของไมต้ รี ะนาดเอกชนิดไม้แข็ง ................................................................... 32 9 ลักษณะการน่งั บรรเลงระนาดเอกแบบน่งั พ้ืนมุมมองด้านหน้า ................................ 34 10 ลกั ษณะการนง่ั บรรเลงระนาดเอกแบบน่งั พื้นมุมมองดา้ นขา้ งซา้ ย .......................... 35 11 ลักษณะการนง่ั บรรเลงระนาดเอกแบบน่ังพ้ืนมุมมองด้านข้างขวา .......................... 36 12 ลกั ษณะการนง่ั บรรเลงระนาดเอกแบบนง่ั เกา้ อีม้ ุมมองด้านหน้า ............................. 37 13 ลกั ษณะการน่ังบรรเลงระนาดเอกแบบนัง่ เกา้ อมี้ ุมมองดา้ นขา้ งซ้าย ........................ 38 14 ลกั ษณะการนงั่ บรรเลงระนาดเอกแบบนง่ั เก้าอ้ีมมุ มองดา้ นข้างขวา ........................ 39 15 ลักษณะการจับไมต้ ีระนาดเอกแบบปากกา ............................................................. 41 16 การจับไม้ตีระนาดเอกแบบปากกาในลักษณะควำ่ มอื ด้วยมือขวามมุ มองด้านบน .... 42 17 การจับไมต้ ีระนาดเอกแบบปากกาในลักษณะควำ่ มอื ด้วยมือซ้ายมุมมองด้านบน .... 42 18 การจบั ไม้ตีระนาดเอกแบบปากกาในลักษณะหงายมือด้วยมือขวามมุ มองด้านบน ... 43 19 การจบั ไมต้ รี ะนาดเอกแบบปากกาในลักษณะหงายมือดว้ ยมือซา้ ยมุมมองดา้ นบน …. 43 20 การจับไม้ตีระนาดเอกแบบปากกาในลกั ษณะคว่ำมือมุมมองด้านบน ………..……….. 44 21 การจับไมต้ รี ะนาดเอกแบบปากกาในลกั ษณะหงายมือมุมมองด้านบน ……………….. 44 22 การจบั ไม้ตรี ะนาดเอกแบบปากกาในลักษณะคว่ำมือมุมมองด้านขา้ ง ……….……….. 45

ฌ สารบัญภาพประกอบ (ต่อ) ภาพประกอบที่ หน้า 23 ลักษณะการจบั ไม้ตรี ะนาดเอกแบบปากนกแก้ว ……….…………………………………….. 46 24 การจับไม้ตรี ะนาดเอกแบบปากนกแก้วในลักษณะควำ่ มอื ดว้ ยมอื ขวามมุ มองดา้ นบน … 47 25 การจบั ไม้ตีระนาดเอกแบบปากนกแก้วในลักษณะคว่ำมือด้วยมือซา้ ยมุมมองด้านบน …. 47 26 การจบั ไม้ตีระนาดเอกแบบปากนกแก้วในลักษณะหงายมือดว้ ยมือขวามมุ มองด้านบน …. 48 27 การจบั ไมต้ ีระนาดเอกแบบปากนกแกว้ ในลกั ษณะหงายมือด้วยมือซ้ายมมุ มองดา้ นบน …. 48 28 การจบั ไม้ตรี ะนาดเอกแบบปากนกแก้วในลกั ษณะควำ่ มือมมุ มองด้านบน ……………. 49 29 การจบั ไม้ตีระนาดเอกแบบปากนกแก้วในลักษณะหงายมือมุมมองดา้ นบน ………….. 49 30 การจบั ไมต้ ีระนาดเอกแบบปากนกแก้วในลกั ษณะคว่ำมือมุมมองด้านข้าง …………... 50 31 ตำแหน่งเสียงของลกู ระนาดเอก ………………………………………….…......................... 58

1 วัตถปุ ระสงคก์ ารใช้ชุดฝึกทกั ษะและวดี ิทัศน์เพ่อื การฝึก ชุดฝึกทักษะการบรรเลงระนาดเอกและวีดิทัศน์เพ่ือการฝึก กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ (สาระดนตรี) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 นี้ จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง พ้ืนฐานการบรรเลงระนาดเอก กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (สาระดนตร)ี สำหรับนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ซ่ึงตรงตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา ขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบางขุนเทียนศึกษา พุทธศักราช 2561 และเกณฑ์มาตรฐานสาขาวิชาและวิชาชีพดนตรีไทยของทบวงมหาวิทยาลัยและกรมศิลปากร ซึง่ เมื่อนักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้และฝึกบรรเลงระนาดเอกจากชุดฝึกทักษะการบรรเลงระนาดเอก และวีดทิ ศั นเ์ พื่อการฝึก จบแล้ว นกั เรียนมคี วามสามารถดงั น้ี 1. มผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น เร่ือง พ้นื ฐานการบรรเลงระนาดเอก สูงขน้ึ 2. มที กั ษะการบรรเลงระนาดเอกท่มี ีคุณภาพ 3. มเี จตคตทิ ด่ี ีตอ่ การเรียนรโู้ ดยใช้ชุดฝึกทักษะและวดี ทิ ศั น์เพอื่ การฝึก 4. นำความรู้ความสามารถและทักษะการบรรเลงระนาดเอก ท่ีได้รับจากการเรียนรู้ ด้วยชุดฝึกทักษะและวีดิทัศน์เพื่อการฝึกไปใช้ในการศึกษาเรียนรู้และบรรเลงระนาดเอกได้ อยา่ งมคี ณุ ภาพและประสทิ ธิภาพ

2 คำแนะนำการใช้ชดุ ฝกึ ทักษะและวีดทิ ัศนเ์ พอ่ื การฝึก การใช้ชุดฝึกทักษะการบรรเลงระนาดเอกและวดี ิทัศนเ์ พ่ือการฝึก กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ (สาระดนตร)ี ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 แตล่ ะคร้งั อย่างมีประสิทธภิ าพนั้น นักเรยี นและ ครปู ฏิบตั ิตามคำแนะนำการใช้ชดุ ฝึกทักษะและวีดทิ ัศนเ์ พ่อื การฝกึ ดงั น้ี 1. นักเรียนและครูรว่ มกันศกึ ษาวัตถุประสงค์การใช้ คำแนะนำการใช้ รายละเอียด ของชุดฝึกทักษะและวีดิทัศน์เพื่อการฝึก มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด และผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ และสาระการเรียนรู้ เพ่ือให้ร้แู ละเข้าใจการศึกษาเรยี นรู้ และปฏบิ ัติกิจกรรมการเรยี นรู้อยา่ งชัดเจน 2. ครูแนะนำวิธีการใช้ชุดฝึกทักษะการบรรเลงระนาดเอกและวดี ิทัศน์เพ่ือการฝึก ให้นกั เรยี นเขา้ ใจก่อนเรม่ิ จัดการเรียนการสอน 3. ครแู จกชุดฝึกทักษะการบรรเลงระนาดเอกและวดี ิทัศน์เพื่อการฝึก ให้นกั เรียน เพื่อศึกษาเรียนรู้เนื้อหาสาระและปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ และให้คำแนะนำต่าง ๆ เมื่อนักเรียน เกิดข้อสงสยั เก่ียวกบั การใช้ชุดฝึกทักษะการบรรเลงระนาดเอกและวดี ทิ ัศน์เพอ่ื การฝกึ 4. นักเรียนทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นก่อนเรียน เรือ่ ง พื้นฐาน การบรรเลงระนาดเอก เพอ่ื วัดความรู้พนื้ ฐาน จำนวน 30 ขอ้ ลงในกระดาษคำตอบกอ่ นเรียน 5. ครูและนักเรยี นร่วมกันตรวจคำตอบแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนเรยี นจากเฉลยในภาคผนวก เพื่อตรวจสอบและทราบความรูพ้ ้ืนฐานกอ่ นเรยี นของตนเอง และบันทกึ คะแนนลงในตารางสรุปผลการเรียนรู้ 6. ในชุดฝึกทักษะมีเนื้อหาสาระและกิจกรรมการเรียนรู้เก่ียวกับระนาดเอก จำนวน 4 เร่อื ง ได้แก่ เร่ืองที่ 1 ความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับระนาดเอก เร่ืองที่ 2 โน้ตไทยสำหรับ ระนาดเอก เรอื่ งท่ี 3 แบบฝึกทักษะพ้ืนฐานการบรรเลงระนาดเอก และเร่ืองท่ี 4 เพลงไทย พ้ืนฐานสำหรับบรรเลงระนาดเอก ควรศึกษาเรียนรู้เน้ือหาสาระให้เข้าใจ เพ่ือให้มีความรู้พ้ืนฐาน ก่อนที่จะบรรเลงระนาดเอกจริง และฝึกบรรเลงระนาดเอกได้ด้วยตนเองตามแบบฝึกทักษะ พื้นฐานการบรรเลงระนาดเอก อันจะนำไปสู่การบรรเลงระนาดเอกได้ถูกต้องตามจังหวะและ ทำนอง โดยในเนื้อหาสาระ เรื่องท่ี 3 แบบฝึกทักษะพ้ืนฐานการบรรเลงระนาดเอก และ เร่ืองที่ 4 เพลงไทยพื้นฐานสำหรบั ระนาดเอก นี้ ได้สร้าง QR Code (คิวอาร์ โค้ด) ที่ซ่อน วีดิทัศน์สาธิตการบรรเลงระนาดเอกตามแบบฝึกทักษะและเพลงไทยพ้ืนฐาน วีดิทัศน์สาธิต การบรรเลงรวมวงเคร่ืองดนตรีไทยประเภทเคร่ืองตี เพ่ือให้นกั เรียนและผู้ศึกษาสามารถเข้าสู่ เว็บไซต์ ชมสาธิตการบรรเลงระนาดเอกได้ทันที ส่งผลให้บรรลุตามวัตถุประสงค์การใช้ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ และจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้

3 7. นกั เรียนฝกึ บรรเลงระนาดเอกเรียงตามกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละเรอ่ื ง โดยใช้ วีดิทัศน์เพ่ือการฝึกทักษะการบรรเลงระนาดเอก ซ่ึงมีเนื้อหาสาระและกิจกรรมการเรียนรู้ เกยี่ วกับการฝึกบรรเลงระนาดเอก สอดคล้องกับชดุ ฝึกทักษะ จำนวน 2 เรื่อง ได้แก่ เรือ่ งท่ี 3 แบบฝึกทักษะพื้นฐานการบรรเลงระนาดเอก และเร่ืองท่ี 4 เพลงไทยพื้นฐานสำหรับบรรเลง ระนาดเอก เพื่อชว่ ยเสริมสมรรถภาพในการพัฒนาความรู้ความสามารถและทกั ษะการบรรเลง ระนาดเอกของนกั เรียนใหม้ ีคณุ ภาพและประสิทธิภาพในการปฏิบัตจิ รงิ ยิง่ ขึ้น 8. นักเรียนศึกษาเรยี นรู้เนื้อหาสาระและกิจกรรมการเรียนรู้ฝึกทักษะการบรรเลง ระนาดเอกตามคำแนะนำการปฏบิ ัติกจิ กรรมการเรยี นรู้ให้เขา้ ใจ ถ้าไมเ่ ข้าใจให้ปรึกษาครูผูส้ อน หรอื เพือ่ นทป่ี ฏบิ ตั กิ จิ กรรมได้ 9. นักเรยี นฝึกบรรเลงระนาดเอกซำ้ ๆ จำนวน 3 คร้ัง ตามแบบฝกึ ทกั ษะแต่ละ กจิ กรรมการเรียนรู้ทกุ ขน้ั ตอน 10. ครูสังเกตและประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนอย่างใกล้ชิดในขณะปฏิบัติ กิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อประเมินผลการใช้ชุดฝึกทักษะการบรรเลงระนาดเอกและวีดิทัศน์ เพื่อการฝกึ 11. ถ้านักเรียนคนใดสามารถเรียนชุดฝึกทักษะการบรรเลงระนาดเอกและ วดี ทิ ศั นเ์ พ่ือการฝึก จบเรว็ กว่านกั เรยี นคนอื่น ๆ ใหค้ รสู งั เกตและประเมนิ ผลเปน็ ราย ๆ ไป 12. เม่ือหมดเวลาตามที่กำหนดไว้ ครูมอบหมายให้นักเรียนดูแล เก็บรักษา ระนาดเอก รวมท้งั ชุดฝกึ ทักษะและวดี ิทศั น์เพอ่ื การฝกึ ให้เรยี บรอ้ ยทุกครั้ง 13. หลังจากศึกษาเรียนรแู้ ละปฏิบัตกิ ิจกรรมการเรียนรู้ เรอ่ื งท่ี 4 เพลงไทยพื้นฐาน สำหรับบรรเลงระนาดเอก เสร็จสิ้นแล้ว นักเรียนจะตอ้ งตอบแบบสอบถามความพึงพอใจที่มี ตอ่ การใช้ชุดฝกึ ทักษะการบรรเลงระนาดเอกและวดี ิทัศนเ์ พอ่ื การฝึก 14. นักเรียนทำแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรยี น เรอื่ ง พืน้ ฐาน การบรรเลงระนาดเอก จำนวน 30 ขอ้ ลงในกระดาษคำตอบหลังเรียน 15. ครูและนักเรียนรว่ มกันตรวจคำตอบแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน หลังเรยี นจากเฉลยในภาคผนวก เพอ่ื ทราบผลการเรียนรูห้ ลังเรียนและตรวจสอบความก้าวหน้า ทางการเรียนรขู้ องตนเอง และบนั ทึกคะแนนลงในตารางสรปุ ผลการเรียนรู้ 16. ครูสรุปผลคะแนนท่ไี ด้จากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน และหลงั เรียน เพ่อื ทราบผลการพฒั นา 17. นกั เรียนท่ีดี จะต้องซื่อสตั ยต์ ่อตนเองเสมอ โดยไมด่ ูคำตอบล่วงหน้า

4 รายละเอียดของชดุ ฝกึ ทักษะและวีดทิ ศั นเ์ พ่ือการฝกึ หลกั การและเหตผุ ล ระนาดเอกเป็นเคร่ืองดนตรีไทยประเภทเครื่องตีท่ีทำด้วยไม้ มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา สันนิษฐานวา่ จะมีก่อนหน้านี้ แต่ยังไม่ปรากฏหลกั ฐาน มีรูปลักษณะเป็นราง ร้อยลูกระนาดเอก เป็นผืนแขวนบนราง ลูกระนาดเอกนิยมทำด้วยไม้ชิงชัน ไม้พยุง ไม้ไผ่บง ไม้มะหาด เป็นต้น ใช้ไม้ตีระนาดเอก 2 ลักษณะ ได้แก่ ไม้นวมและไมแ้ ข็ง บรรเลงอย่ใู นวงดนตรีไทยประเภทต่าง ๆ เชน่ วงปพ่ี าทย์ไม้แขง็ วงปี่พาทย์ไมน้ วม วงป่ีพาทยด์ กึ ดำบรรพ์ วงมโหรี เป็นตน้ ระนาดเอก ทำหน้าท่ีเปน็ ผนู้ ำในวงดนตรีไทย ดำเนินกลอนเพลงในลักษณะการเก็บ แทรกแซงทำนองให้ สอดคล้องไปกบั ทำนองหลกั การบรรเลงระนาดเอกที่มีคุณภาพนั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่นักเรียนจะต้องมีความรู้ พ้นื ฐานในทา่ นัง่ ตีระนาดเอก การจบั ไมต้ รี ะนาดเอก การดแู ลเก็บรักษา การปฏิบตั ิตรี ะนาดเอก และโน้ตไทยสำหรับระนาดเอก ก่อนที่จะฝึกตีระนาดเอกและบรรเลงเพลงไทยพื้นฐานที่มี ทำนองสั้นและง่าย ดังนั้นนักเรียนจะต้องได้รับความรู้ที่ถูกต้องอย่างมีข้ันตอนตามระบบ การเรียนการสอนดนตรีไทย โดยเร่ิมจากแบบฝึกทักษะพื้นฐานการบรรเลงระนาดเอกอย่างง่าย ไปหายาก กอ่ นทจ่ี ะเริ่มเรียนปฏบิ ตั ิบรรเลงระนาดเอกในเพลงไทยขั้นสูงตอ่ ไป เพลงไทยพ้ืนฐานที่ใชฝ้ ึกบรรเลงระนาดเอกควรเปน็ เพลงสั้น ๆ ง่าย ๆ และเป็นเพลงไทย ท่ีนักเรียนเคยมีประสบการณ์ในการฟังทำนองเพลงนั้นมาแล้ว จึงจะสามารถทำให้นักเรียน บรรเลงระนาดเอกได้เร็วย่ิงขึ้น ได้แก่ เพลงแขกบรเทศ สองช้ัน และเพลงคล่ืนกระทบฝั่ง สองช้ัน ดังนั้นจึงเป็นเพลงไทยท่ีเหมาะสมสำหรับนำมาฝึกบรรเลงระนาดเอกของนักเรียน ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว เห็นได้ว่าการศึกษาเรียนรู้และฝึกบรรเลงระนาดเอก ต้องฝึกทักษะพื้นฐานการบรรเลงระนาดเอกตามลำดับขั้นตอนอย่างเป็นระบบ ดังนั้นถ้านำ เน้ือหาสาระและกจิ กรรมการเรยี นรู้เก่ยี วกับพน้ื ฐานการบรรเลงระนาดเอกมาสร้างเป็นชุดฝึก ทักษะการบรรเลงระนาดเอกและวีดิทัศน์เพ่ือการฝึก ซึ่งเป็นส่ือนวัตกรรมการเรียนการสอน สามารถทำให้นักเรียนที่ศึกษาเรียนรู้ ฝึกตี และบรรเลงระนาดเอก โดยใช้ชุดฝึกทักษะ การบรรเลงระนาดเอกและวีดิทัศน์เพื่อการฝึก มีความรู้ความสามารถและทักษะการบรรเลง ระนาดเอกมากย่ิงขึน้ และมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง พื้นฐานการบรรเลงระนาดเอก สูงขึ้น นับได้ว่าการใช้ชุดฝึกทักษะการบรรเลงระนาดเอกและวีดิทัศน์เพ่ือการฝึก เป็นการแสวงหา

5 แนวทาง เทคนิควิธีการ และเคร่ืองมือการจัดการเรียนการสอนดนตรีไทย พร้อมกับเป็น การอนรุ กั ษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยด้านดนตรีไทยมิใหส้ ญู หาย ชุดฝึกทักษะการบรรเลงระนาดเอกและวีดิทัศน์เพ่ือการฝึก เล่มนี้ มีเนื้อหาสาระ และกิจกรรมการเรียนรู้จำนวน 4 เรอื่ ง ดังน้ี เร่อื งท่ี 1 ความร้พู น้ื ฐานเกีย่ วกับระนาดเอก ประกอบด้วยเนื้อหาสาระดงั ต่อไปนี้ 1.1 ประวตั ิความเปน็ มาของระนาดเอก 1.2 ลักษณะของระนาดเอก 1.3 ลักษณะการนง่ั บรรเลงระนาดเอก 1.4 วิธีการจับไมต้ รี ะนาดเอก 1.5 วธิ กี ารดูแล เกบ็ รักษาระนาดเอกและไม้ตรี ะนาดเอก เร่อื งท่ี 2 โนต้ ไทยสำหรับระนาดเอก ประกอบดว้ ยเนื้อหาสาระดงั ตอ่ ไปน้ี 2.1 เสยี งระนาดเอกเปรียบเทียบกบั เสียงแบบสากล 2.2 องคป์ ระกอบของโน้ตไทยสำหรับระนาดเอก 2.3 ลกั ษณะพิเศษของโน้ตไทยสำหรับระนาดเอก เรอ่ื งที่ 3 แบบฝึกทักษะพ้ืนฐานการบรรเลงระนาดเอก ประกอบดว้ ยเน้ือหาสาระ และกิจกรรมการเรียนรู้ดังต่อไปนี้ 3.1 ลักษณะการตแี ละวิธีการบรรเลงระนาดเอก 3.2 ข้ันตอนการฝกึ ทักษะพ้นื ฐานการบรรเลงระนาดเอก 3.2.1 แบบฝกึ ทกั ษะที่ 1 บรรเลงระนาดเอกสองมือพร้อมกันเป็นคู่ 8 1 พยางค์ 3 คร้งั ขาข้ึนขาลง 3.2.2 แบบฝึกทักษะที่ 2 บรรเลงระนาดเอกสองมือพร้อมกันเป็นคู่ 8 3 พยางค์ ขาขน้ึ ขาลง 3.2.3 แบบฝึกทกั ษะท่ี 3 บรรเลงระนาดเอกสองมือพร้อมกันเป็นคู่ 8 4 พยางค์ ขาขนึ้ ขาลง 3.2.4 แบบฝกึ ทักษะท่ี 4 บรรเลงระนาดเอกด้วยลักษณะการตีฉาก เปน็ คู่ 8 ขาข้นึ ขาลง 3.2.5 แบบฝกึ ทกั ษะที่ 5 บรรเลงระนาดเอกด้วยลักษณะการตีเก็บ เปน็ คู่ 8 ขาขึ้นขาลง 3.2.6 แบบฝึกทักษะที่ 6 บรรเลงระนาดเอกด้วยลักษณะการตีสงมือ เป็นคู่ 8 ขาขน้ึ ขาลง

6 3.2.7 แบบฝึกทักษะที่ 7 บรรเลงระนาดเอกด้วยลักษณะการตีสงมือ ดำเนินกลอน 3.2.8 แบบฝึกทกั ษะท่ี 8 บรรเลงระนาดเอกด้วยลักษณะการตีสิมเป็นคู่ 8 ขาขน้ึ ขาลง 3.2.9 แบบฝึกทักษะที่ 9 บรรเลงระนาดเอกด้วยลักษณะการตีสิม ดำเนนิ กลอน 3.2.10 แบบฝึกทกั ษะที่ 10 บรรเลงระนาดเอกด้วยลักษณะการตีกรอ เปน็ คู่ 8 ขาขนึ้ ขาลง เรื่องท่ี 4 เพลงไทยพื้นฐานสำหรับบรรเลงระนาดเอก ประกอบด้วยเน้ือหาสาระ และกิจกรรมการเรยี นรดู้ ังต่อไปน้ี 4.1 การฝึกบรรเลงเพลงไทยพ้ืนฐานสำหรับบรรเลงระนาดเอก 4.2 โนต้ ไทยสำหรับระนาดเอกเพลงแขกบรเทศ สองชั้น 4.3 โนต้ ไทยสำหรบั ระนาดเอกเพลงคล่นื กระทบฝ่งั สองชั้น ในแต่ละเนื้อหาสาระและกิจกรรมการเรียนรู้ได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือให้ นักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้ ฝึกบรรเลงระนาดเอกตามข้ันตอน ทำให้นักเรียนเกิดการพัฒนา ในทกั ษะการบรรเลงระนาดเอก และบรรลุตามจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ จดุ มุง่ หมาย ด้านความรู้ (K : Knowledge) 1. นกั เรยี นอธบิ ายวธิ ีการจับไมต้ ีระนาดเอกและท่านั่งบรรเลงระนาดเอกได้ 2. นกั เรียนอธิบายวธิ ีการดแู ลเกบ็ รกั ษาระนาดเอกและไม้ตรี ะนาดเอกได้ 3. นักเรียนอา่ นโนต้ ไทยสำหรับระนาดเอกและนำไปใชไ้ ด้ 4. นกั เรียนระบุตำแหน่งเสยี งของลูกระนาดเอกได้ 5. นกั เรียนไลเ่ สยี งตามระดับเสียงสูง-ต่ำของโน้ตไทยสำหรบั ระนาดเอกได้ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P : Process/Skill) 1. นักเรียนเตรยี มความพร้อมและปรับระนาดเอกก่อนการบรรเลงได้ 2. นักเรยี นเตรยี มพรอ้ มบรรเลงระนาดเอกดว้ ยท่าน่งั ที่ถกู ต้องได้ 3. นักเรียนเตรียมพร้อมบรรเลงระนาดเอกดว้ ยการจับไมต้ รี ะนาดเอกได้

7 4. นักเรยี นบรรเลงระนาดเอกสองมอื พรอ้ มกันเปน็ คู่ 8 ได้ 5. นักเรียนบรรเลงระนาดเอกดว้ ยลกั ษณะการตีฉากเป็นคู่ 8 ได้ 6. นักเรยี นบรรเลงระนาดเอกดว้ ยลักษณะการตเี กบ็ เป็นคู่ 8 ได้ 7. นกั เรียนบรรเลงระนาดเอกด้วยลกั ษณะการตสี งมือและตสี ิมได้ 8. นกั เรียนบรรเลงระนาดเอกด้วยลกั ษณะการตกี รอเป็นคู่ 8 ได้ 9. นักเรียนบรรเลงระนาดเอกเพลงแขกบรเทศ สองชั้น ได้ถูกต้องตามทำนอง และจงั หวะ 10. นกั เรียนบรรเลงระนาดเอกเพลงคลน่ื กระทบฝ่ัง สองช้นั ได้ถูกตอ้ งตามทำนอง และจังหวะ 11. นักเรียนเคลื่อนไหวมือบรรเลงระนาดเอกไดค้ ล่องแคลว่ และสมั พนั ธต์ ามจังหวะ ด้านเจตคติและคุณลกั ษณะ (A : Attitude and Attribute) 1. นกั เรยี นมีเจตคติที่ดตี ่อการเรียนรู้โดยใช้ชุดฝึกทกั ษะและวีดทิ ัศน์เพอื่ การฝึก 2. นกั เรยี นปฏิบตั ิกจิ กรรมร่วมกบั ผอู้ ื่นดว้ ยความรบั ผดิ ชอบ การวดั และประเมินผลความรู้พ้นื ฐานกอ่ นเรยี น ใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน เรื่อง พื้นฐานการบรรเลง ระนาดเอก และเครื่องมือประเมินทักษะการบรรเลงระนาดเอกก่อนเรียนด้วยชุดฝึกทักษะ การบรรเลงระนาดเอกและวีดิทัศน์เพ่ือการฝึก ด้วยวิธีการวัดและประเมินผลความรู้พื้นฐาน ก่อนเรียน ดงั นี้ 1. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นก่อนเรยี น เร่ือง พ้ืนฐานการบรรเลง ระนาดเอก โดยกำหนดเกณฑ์การประเมินที่คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ 80 ขึน้ ไป ถ้านักเรยี นคนใด ไดค้ ะแนนเฉล่ียไม่ถึงร้อยละ 80 แสดงว่า มีปัญหาการเรยี นรู้ด้านความรู้ในระดับต่ำ จะตอ้ งเรียน ชุดฝกึ ทักษะการบรรเลงระนาดเอกและวดี ิทศั นเ์ พ่ือการฝกึ และถ้านกั เรยี นคนใดได้คะแนนเฉลี่ย ต้งั แตร่ อ้ ยละ 80 ข้ึนไป ไม่ตอ้ งเรียนชุดฝึกทกั ษะและวีดทิ ัศน์เพ่ือการฝึกในภาคความรู้ ให้ปฏิบตั ิ กิจกรรมการเรียนรู้อ่นื ตามที่ครูและนักเรียนรว่ มกนั กำหนดไว้

8 2. เครื่องมือประเมินทักษะการบรรเลงระนาดเอก เพื่อวัดทักษะการบรรเลง ระนาดเอก โดยกำหนดเกณฑก์ ารประเมนิ ท่ีคะแนนเฉล่ยี รวม 3.20 ขึ้นไป ถ้านักเรียนคนใด ไดค้ ะแนนเฉล่ียรวมไม่ถงึ 3.20 แสดงว่า มปี ัญหาการเรยี นรู้ดา้ นทักษะการบรรเลงระนาดเอก ในระดับต่ำ จะต้องเรียนชุดฝึกทักษะการบรรเลงระนาดเอกและวีดิทัศน์เพื่อการฝึก และ ถ้านักเรียนคนใดได้คะแนนเฉลี่ยรวมต้ังแต่ 3.20 ข้ึนไป ไม่ต้องเรียนชดุ ฝึกทักษะและวีดิทัศน์ เพ่ือการฝกึ ในภาคปฏิบัติ ใหป้ ฏบิ ัติกิจกรรมอ่นื ตามที่ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั กำหนดไว้ กิจกรรมการเรยี นรู้ นกั เรยี นทุกคนปฏบิ ัติกิจกรรมการเรยี นรู้ดังนี้ 1. ศึกษาเรียนรู้เน้ือหาสาระและปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้จากชุดฝึกทักษะ การบรรเลงระนาดเอกและวีดิทัศน์เพื่อการฝึก เรื่องที่ 1 ความรู้พื้นฐานเก่ียวกับระนาดเอก และเร่อื งท่ี 2 โนต้ ไทยสำหรับระนาดเอก 2. ศึกษาเรยี นรู้เน้ือหาสาระและปฏิบตั ิกิจกรรมการเรียนรู้ ฝึกบรรเลงระนาดเอก ในชุดฝึกทักษะการบรรเลงระนาดเอกและวีดิทัศน์เพ่ือการฝึก เรื่องที่ 3 แบบฝึกทักษะ พื้นฐานการบรรเลงระนาดเอก และเร่ืองท่ี 4 เพลงไทยพื้นฐานสำหรับบรรเลงระนาดเอก โดยใช้กล้องของโทรศัพท์มือถือไปถ่ายสแกน QR Code (คิวอาร์ โค้ด) ก็จะเข้าสู่เว็บไซต์ได้ ทันทีโดยไม่ต้องเสียเวลาพิมพ์ ซ่ึง QR Code (คิวอาร์ โค้ด) น้ี ได้ซ่อนวีดิทัศน์สาธิตการบรรเลง ระนาดเอกตามแบบฝกึ ทักษะและวีดิทศั น์สาธิตการบรรเลงรวมวงเครื่องดนตรไี ทยประเภทเครื่องตี พร้อมกับดูภาพและฟงั เสยี งวดี ิทัศน์ประกอบคำบรรยายในวีดิทศั น์เพ่ือการฝึก แล้วปฏบิ ัติตาม 3. บรรเลงระนาดเอกเพลงแขกบรเทศ สองชัน้ 4. บรรเลงระนาดเอกเพลงคล่ืนกระทบฝ่ัง สองชั้น การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้หลงั เรยี น ใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน เร่ือง พื้นฐานการบรรเลง ระนาดเอก และเคร่ืองมอื ประเมินทักษะการบรรเลงระนาดเอกหลังเรยี น เช่นเดยี วกับการวัด และประเมินผลความรู้พื้นฐานก่อนเรียน ด้วยวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้หลังเรียน ดงั นี้ 1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลงั เรียน เรื่อง พื้นฐานการบรรเลง ระนาดเอก โดยกำหนดเกณฑ์การประเมินที่คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 80 ข้ึนไป ซ่ึงนักเรียนต้อง ได้คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละ 80 ขนึ้ ไป จึงจะผา่ นเกณฑ์การประเมนิ

9 2. เครื่องมือประเมินทักษะการบรรเลงระนาดเอก เพื่อวัดทักษะการบรรเลง ระนาดเอก โดยกำหนดเกณฑ์การประเมินที่คะแนนเฉลีย่ รวม 3.20 ข้ึนไป ซ่ึงนักเรียนต้องได้ คะแนนเฉลยี่ รวม 3.20 ข้ึนไป จึงจะผา่ นเกณฑ์การประเมนิ การเรียนซ่อมเสรมิ ถ้านักเรียนคนใดไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนดไว้ ให้นักเรียนปรึกษากับครู พร้อมท้ังศึกษาเรียนรู้ ฝึกบรรเลงระนาดเอกตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ และ ปฏบิ ัติกจิ กรรมการเรียนรู้ตามท่ีได้กำหนดไวใ้ หม่ ทงั้ นี้ เพือ่ ให้นกั เรียนไดม้ ีความรู้ความสามารถ และทกั ษะการบรรเลงระนาดเอกตามจดุ มงุ่ หมายและจุดประสงค์การเรียนรู้ที่กำหนดไว้ สำหรับการเรียนซ่อมเสริมน้ัน ให้นักเรียนและครูปฏิบัตดิ ังน้ี 1. ใชเ้ วลาในการเรยี นรู้มากกว่าเดมิ 2. ให้เพ่ือนช่วยเหลอื 3. ครูอธบิ ายใหค้ วามร้เู พ่มิ เติม

10 มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชีว้ ดั และผลการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ศ 2.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ จิ ารณ์ คณุ ค่าดนตรี ถ่ายทอดความรสู้ กึ ความคิดตอ่ ดนตรีอยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจำวนั ตัวช้วี ดั ศ 2.1 ป.6/4 ใช้เครื่องดนตรีประกอบการร้องเพลงด้นสด ทมี่ จี ังหวะและ ทำนองงา่ ย ๆ ผลการเรียนรู้ ข้อ 2 ปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตีโดยเลือกผสมผสานองค์ประกอบและ ทกั ษะการบรรเลงเคร่อื งดนตรีไทย ข้อ 3 ใช้และดูแลเก็บรักษาเคร่ืองดนตรีไทยได้ถูกต้องและปลอดภยั

11 สาระสำคัญ การท่ีจะเร่ิมฝึกหัดพ้ืนฐานการบรรเลงระนาดเอก นักเรียนจะต้องสามารถปฏิบัติ หลักสำคัญ ๆ ได้แก่ การนั่งบรรเลงระนาดเอก การจับไม้ตีระนาดเอก การดูแลเก็บรักษา ระนาดเอกและไม้ตีระนาดเอก เพราะจะทำให้นักเรียนฝึกตีระนาดเอกให้ประสบผลสัมฤทธิ์ ตามเกณฑก์ ารประเมินไดอ้ ย่างมคี ณุ ภาพและประสิทธิภาพยิง่ ขึ้น การบรรเลงระนาดเอกด้วยวิธีการตีท่ีถูกต้องตามแบบฝึกทักษะพ้ืนฐานการบรรเลง ระนาดเอก จะทำให้นักเรียนฝึกบรรเลงระนาดเอกให้ประสบผลสัมฤทธ์ิตามเกณฑ์การประเมิน ได้อยา่ งมคี ณุ ภาพและประสิทธภิ าพยิ่งขึน้ เพลงแขกบรเทศ สองชั้น และเพลงคลื่นกระทบฝั่ง สองชั้น เป็นเพลงไทยสั้น ๆ มอี ัตราจังหวะสองชัน้ เหมาะสำหรับฝึกบรรเลงระนาดเอก เพราะมีทำนองทางเพลงระนาดเอก และจังหวะง่าย ๆ สะดวกแก่การศึกษาเรียนรู้และบรรเลงระนาดเอก โดยผู้ประพันธ์ได้แบ่ง ทำนองเพลงออกเป็น 2 ท่อน ซึ่งนักเรียนได้ฝึกบรรเลงในเพลงไทยที่มีอัตราจังหวะสองชั้น จำนวน 2 ท่อน ดงั นนั้ ก่อนท่นี กั เรยี นจะเริ่มฝกึ บรรเลงระนาดเอก ควรทำความเข้าใจโน้ตไทย สำหรับระนาดเอกเพลงแขกบรเทศ สองชั้น และเพลงคลื่นกระทบฝั่ง สองช้ัน คีตลักษณ์ วิธกี ารบรรเลง และจงั หวะเสียก่อน จึงจะเริ่มฝึกบรรเลงระนาดเอก การเรียนปฏิบัตเิ ครอ่ื งดนตรีไทยไม่ว่าจะเป็นเคร่อื งดนตรีไทยชนิดใดก็แล้วแต่ ต้องอาศัย การฝกึ ซ้อมบ่อย ๆ เพราะจะทำให้นกั เรยี นเกิดความแมน่ ยำท้ังทำนองและจังหวะในเพลงไทยนั้น ๆ การฝึกซ้อมบรรเลงระนาดเอกอย่างสมำ่ เสมอ จะทำให้นักเรียนสอบปฏบิ ัติบรรเลงระนาดเอก ในเพลงไทยนั้น ๆ ไดอ้ ย่างมน่ั ใจ

12 จุดประสงค์การเรยี นรู้ เม่ือนักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้และฝึกบรรเลงระนาดเอกจากชุดฝึกทักษะการบรรเลง ระนาดเอกและวีดทิ ัศนเ์ พอื่ การฝึก กล่มุ สาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ (สาระดนตรี) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จบแล้ว นกั เรียนมีความรู้ความสามารถดังนี้ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ดา้ นความรู้ (K : Knowledge) 1. นกั เรยี นสามารถอธบิ ายวธิ ีการจบั ไม้ตีระนาดเอกและท่านั่งบรรเลงระนาดเอก ไดถ้ กู ตอ้ ง 2. นกั เรียนสามารถอธิบายวิธีการดูแล เก็บรักษาระนาดเอกและไม้ตีระนาดเอก ไดถ้ ูกตอ้ ง 3. นกั เรียนสามารถอ่านโนต้ ไทยสำหรับระนาดเอกได้ถูกตอ้ ง 4. นกั เรยี นสามารถระบุตำแหนง่ เสียงของลูกระนาดเอกได้ถกู ต้อง 5. นักเรียนสามารถไล่เสยี งตามระดบั เสียงสูง-ต่ำของโน้ตไทยสำหรบั ระนาดเอก ไดถ้ กู ตอ้ ง จุดประสงค์การเรยี นรดู้ า้ นทักษะ/กระบวนการ (P : Process/Skill) 1. นกั เรียนสามารถเตรียมความพรอ้ มและปรบั ระนาดเอกกอ่ นการบรรเลงไดถ้ กู ตอ้ ง 2. นักเรยี นสามารถเตรียมพรอ้ มบรรเลงระนาดเอกดว้ ยทา่ นัง่ ทถ่ี กู ตอ้ งได้ 3. นกั เรยี นสามารถเตรยี มพรอ้ มบรรเลงระนาดเอกด้วยการจับไมต้ ีระนาดเอกไดถ้ ูกตอ้ ง 4. นกั เรียนสามารถบรรเลงระนาดเอกสองมือพร้อมกันเป็นคู่ 8 ไดถ้ ูกต้อง 5. นักเรียนสามารถบรรเลงระนาดเอกด้วยลักษณะการตีฉากเป็นคู่ 8 ได้ถกู ตอ้ ง 6. นกั เรียนสามารถบรรเลงระนาดเอกดว้ ยลกั ษณะการตเี กบ็ เปน็ คู่ 8 ได้ถูกต้อง 7. นกั เรยี นสามารถบรรเลงระนาดเอกดว้ ยลกั ษณะการตสี งมือและตีสิมได้ถูกต้อง 8. นักเรยี นสามารถบรรเลงระนาดเอกด้วยลักษณะการตกี รอเป็นคู่ 8 ไดถ้ ูกตอ้ ง 9. นักเรียนสามารถบรรเลงระนาดเอกเพลงแขกบรเทศ สองช้ัน ได้ถูกต้อง ตามทำนองและจังหวะ 10. นักเรยี นสามารถเคลื่อนไหวมือบรรเลงระนาดเอกได้คล่องแคล่วและสัมพันธ์ ตามจงั หวะ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ด้านเจตคตแิ ละคณุ ลักษณะ (A : Attitude and Attribute) 1. นักเรียนสามารถบรรยายคุณค่าและประโยชน์ของการศึกษาเรียนรู้และ บรรเลงระนาดเอกได้ 2. นกั เรยี นสามารถปฏิบตั ิกิจกรรมร่วมกบั ผ้อู นื่ ดว้ ยความรับผดิ ชอบ

13 สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ภายในชุดฝึกทักษะการบรรเลงระนาดเอกและวีดิทัศน์เพ่ือการฝึก กลมุ่ สาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ (สาระดนตรี) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ประกอบด้วยสาระการเรียนรู้ ด้านความรู้และด้านทักษะ/กระบวนการ ดังน้ี 1. สาระการเรียนรู้ดา้ นความรู้ 1.1 ประวัติความเป็นมาของระนาดเอก 1.2 ลกั ษณะของระนาดเอก 1.2.1 ผืนระนาดเอก 1.2.2 รางระนาดเอก 1.2.3 ไม้ตีระนาดเอก 1.3 ลักษณะการน่ังบรรเลงระนาดเอก 1.4 วิธกี ารจับไมต้ ีระนาดเอก 1.4.1 วิธกี ารจบั ไม้ตรี ะนาดเอกแบบปากกา 1.4.2 วธิ ีการจับไมต้ ีระนาดเอกแบบปากนกแก้ว 1.5 วิธกี ารดแู ล เก็บรักษาระนาดเอกและไม้ตรี ะนาดเอก 1.6 เสียงระนาดเอกเปรียบเทียบกบั เสียงแบบสากล 1.7 องค์ประกอบของโน้ตไทยสำหรับระนาดเอก 1.7.1 หอ้ งเพลง 1.7.2 การจดั เรียงตัวโนต้ 1.8 ลกั ษณะพเิ ศษของโน้ตไทยสำหรบั ระนาดเอก 1.8.1 สัญลกั ษณ์ท่ีใชแ้ ทนช่วงทบเสียง (Octave Sign) 1.8.2 สญั ลกั ษณ์ที่ใช้แทนมอื 2. สาระการเรียนรู้ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ 2.1 ลักษณะการตีและวิธกี ารบรรเลงระนาดเอก 2.2 ขน้ั ตอนการฝกึ ทกั ษะพ้นื ฐานการบรรเลงระนาดเอก 2.3 การฝึกบรรเลงเพลงไทยพ้ืนฐานสำหรับบรรเลงระนาดเอก

14 แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอ่ นเรียน เรื่อง พ้ืนฐานการบรรเลงระนาดเอก กล่มุ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ (สาระดนตรี) ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6 คำชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบบั น้มี ีท้งั หมด 30 ขอ้ คะแนนเตม็ 30 คะแนน ใช้เวลาในการทำแบบทดสอบ 40 นาที 2. ขอ้ สอบทุกขอ้ เปน็ แบบปรนยั ชนดิ เลอื กตอบ 4 ตัวเลอื ก 3. นักเรียนทำเคร่ืองหมายกากบาท () ลงในช่อง ก ข ค หรือ ง ทถ่ี ูกตอ้ งท่ีสุดเพียงคำตอบเดยี วลงใน ของกระดาษคำตอบ 4. ถ้าต้องการเปล่ียนคำตอบใหม่ นักเรียนทำเคร่ืองหมายขดี เสน้ คู่ ( ) ทบั คำตอบทเ่ี ลือกไว้ใน  ที่ไม่ตอ้ งการ และทำเครื่องหมายกากบาท () เลอื กคำตอบใหม่ลงใน ของกระดาษคำตอบ 1. ขอ้ ใดเป็นลกั ษณะการจบั ไม้ตีระนาดเอก ? ก. ใชน้ ้ิวกลางบังคับน้ำหนักด้ามไม้ ข. ใช้น้ิวมอื กำไมต้ รี ะนาดเอกใหแ้ น่น ค. ใชน้ ิ้วมือจับไมต้ รี ะนาดเอกให้กระชับ ง. จับไม้ตีระนาดเอกในลกั ษณะหงายมอื 2. น้วิ มือใดต้องจบั กา้ นไม้ตรี ะนาดเอกอยู่ด้านบน ? ก. นิ้วชี้ ข. น้ิวนาง ค. นวิ้ กลาง ง. นวิ้ หวั แมม่ อื 3. ข้อใดเป็นวธิ กี ารจบั ไมต้ ีระนาดเอกที่นยิ มปฏิบตั ิกัน ? ก. วธิ ีการจับไมต้ รี ะนาดเอกแบบปากนก ข. วิธีการจับไม้ตีระนาดเอกแบบปากกา ค. วิธีการจับไม้ตรี ะนาดเอกแบบปากเป็ด ง. วิธีการจับไม้ตีระนาดเอกแบบปากห่าน

15 4. ข้อใดเป็นภาพวธิ กี ารจบั ไมต้ ีระนาดเอกแบบปากกาในลกั ษณะควำ่ มือ ? ก. ข. ค. ง. 5. ข้อใดเปน็ ลักษณะการจบั ไมต้ ีระนาดเอกท่ีไม่ถูกต้อง ? ก. จับไม้ตีระนาดเอกในลักษณะคว่ำมือ ข. นิว้ มอื ทั้ง 5 นว้ิ สัมผัสกบั ก้านไม้ตีระนาดเอก ค. น้ิวหวั แมม่ อื จบั ทด่ี ้านในของกา้ นไมต้ รี ะนาดเอก ง. ปลายนิ้วชกี้ ดประมาณส่วนปลายของไม้ตีระนาดเอก 6. ขอ้ ใดเปน็ ภาพวิธกี ารจบั ไม้ตรี ะนาดเอกแบบปากนกแก้วในลักษณะหงายมอื ? ก. ข. ค. ง.

16 7. ขอ้ ใดเปน็ ภาพวธิ กี ารจบั ไม้ตีระนาดเอกแบบปากนกแก้วในลักษณะควำ่ มือ ? ก. ข. ค. ง. 8. ข้อใดเป็นภาพวิธกี ารจบั ไมต้ ีระนาดเอกแบบปากกาในลกั ษณะหงายมือ ? ก. ข. ค. ง. 9. ข้อใดเป็นท่านงั่ บรรเลงระนาดเอก ? ก. นั่งคุกเข่า ข. น่งั ขัดสมาธิ ค. น่งั ท่าเทพธดิ า ง. น่ังท่าเทพบุตร

17 10. ขอ้ ใดเป็นภาพลกั ษณะการนั่งบรรเลงระนาดเอกแบบนัง่ บนพ้ืน ? ก. ข. ค. ง. 11. ขอ้ ใดเปน็ ลักษณะการหันหน้าในการบรรเลงระนาดเอก ? ก. หนั หน้าเข้าหาก่ึงกลางของระนาดเอก ข. หันหนา้ ไปทางดา้ นขวาของระนาดเอก ค. หันหน้าไปทางด้านซ้ายของระนาดเอก ง. หันหนา้ ด้านขวามากกว่าด้านซ้ายของระนาดเอก 12. ถ้าจำเป็นตอ้ งบรรเลงลกู ระนาดเอกท่อี ยู่ปลายสดุ ด้านขวา ผูบ้ รรเลงตอ้ งน่ังบรรเลงระนาดเอก ในลกั ษณะตามข้อใด ? ก. เคลือ่ นทเี่ ปลยี่ นตำแหน่งลำตวั ข. เคลื่อนท่ีเปล่ียนตำแหน่งแขน ค. เอยี งตัวเฉพาะส่วนบนของลำตัว ง. ยืดปลายแขนและเอียงตัวส่วนบน 13. ขอ้ ใดเป็นลักษณะการนั่งบรรเลงระนาดเอก ? ก. นั่งกม้ หนา้ และงอตวั เลก็ น้อย ข. น่งั ลำตัวโค้งงอและก้มหน้าเล็กนอ้ ย ค. นง่ั ลำตัวตรงอยู่กง่ึ กลางรางระนาดเอก ง. นั่งเหยยี ดขายื่นออกด้านนอกรางระนาดเอก

18 14. ข้อใดเป็นลักษณะการนง่ั บรรเลงระนาดเอกที่ไม่ถูกตอ้ ง ? ก. นัง่ ลำตัวโค้งงอ ข. นั่งอยู่ตรงกลางระนาดเอก ค. แขนท้งั สองข้างอยู่ข้างลำตัว ง. ไม่นัง่ ก้มหน้าและเงยหน้าเกินไป 15. ขอ้ ใดเปน็ ภาพลักษณะการนง่ั บรรเลงระนาดเอกแบบนงั่ บนเก้าอี้ ? ก. ข. ค. ง. 16. ข้อใดเป็นภาพวธิ ีการดแู ล เก็บรกั ษาระนาดเอกและไมต้ ีระนาดเอก ? ก. ข. ค. ง.

19 17. ข้อใดเปน็ วิธกี ารดูแล เก็บรักษาระนาดเอก ? ก. นำลกู ระนาดเอกไปล้างนำ้ ข. ใช้นำ้ ยาเคลอื บเงาลกู ระนาดเอก ค. ใชผ้ ้านมุ่ ทำความสะอาดระนาดเอก ง. วางระนาดเอกเรียงซอ้ นเปน็ ระดับชน้ั 18. ขอ้ ใดเปน็ ภาพลักษณะวธิ ีการวางไมต้ ีระนาดเอก ? ก. ข. ค. ง. 19. ขอ้ ใดเปน็ วิธกี ารดูแล เกบ็ รักษาระนาดเอกและไม้ตีระนาดเอกหลงั การบรรเลง ? ก. ปลดผืนระนาดเอกลงจากตะขอโลหะด้านในทางซ้ายมอื ก. ใช้ผ้าชุบน้ำสะอาดเช็ดทำความสะอาดผืนระนาดเอก ข. นำไม้ตีระนาดเอกเก็บใส่ถุงหรือท่ีเก็บทเ่ี ตรียมไว้ทันที ค. ใช้ผ้าสะอาดเช็ดทำความสะอาดภายในรางระนาดเอก 20. ข้อใดเปน็ วธิ กี ารอา่ นโนต้ ไทยสำหรบั ระนาดเอก ? ก. อ่านจากห้องเพลงขวาไปซา้ ย ข. อ่านจากห้องเพลงซ้ายไปขวา ค. อ่านหอ้ งเพลงบรรทดั ใดก่อนกไ็ ด้ ง. อา่ นจากหอ้ งเพลงสุดทา้ ยไปหอ้ งเพลงแรก

20 21. ตัวโนต้ “ดํ” มรี ะดบั เสยี งตรงกับเสียงในขอ้ ใด ? ก. เสยี งโดสูง ข. เสยี งโดต่ำ ค. เสียงดอสูง ง. เสยี งดอเบา 22. ห้องเพลงในระบบโน้ตไทย จะบนั ทกึ ตวั โนต้ ไดม้ ากสุดกี่ตวั โน้ตตามหลกั การพนื้ ฐาน ? ก. 2 ตัวโน้ต ข. 3 ตวั โน้ต ค. 4 ตวั โน้ต ง. 5 ตัวโน้ต 23. โนต้ ไทยสำหรบั ระนาดเอก 2 บรรทัด ประกอบด้วยห้องเพลงจำนวนกีห่ ้องเพลง ? ก. 7 ห้องเพลง ข. 8 หอ้ งเพลง ค. 14 ห้องเพลง ง. 16 ห้องเพลง 24. ห้องเพลงที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 มอื ขวา - มํ - รํ - ดํ - ล - - - ซ - ม - ล - ม ซ ล - ดํ - รํ - ดํ รํ มํ - รํ - ดํ มอื ซ้าย - ม - ร - ด - ลฺ - - - ซฺ - มฺ - ลฺ - มฺ ซฺ ลฺ - ด - รํ - ด ร ม - ร - ด จากโน้ตไทยสำหรบั ระนาดเอกขา้ งตน้ ตวั โนต้ ใดที่มีจงั หวะยาวท่ีสดุ ? ก. ตัวโน้ต “รํ” ข. ตวั โน้ต “ม” ค. ตัวโนต้ “ล” ง. ตวั โน้ต “ม”ํ 25. ห้องเพลงที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 มือขวา - - ซ ล - ร - ม - - - ร - ด - - - ร - ม - ฟ - ซ - - ฟ ล - ซ - ฟ มอื ซา้ ย - - ซฺ ลฺ - รฺ - มฺ - - - รฺ - ดฺ - - - รฺ - มฺ - ฟฺ - ซฺ - - ฟฺ ลฺ - ซฺ - ฟฺ จากโน้ตไทยสำหรับระนาดเอกข้างต้น ตัวโน้ตใดท่มี ีจงั หวะส้นั ทีส่ ดุ ? ก. ตัวโนต้ “ร” ข. ตัวโน้ต “ซ” ค. ตวั โน้ต “ล” ง. ตัวโนต้ “ม”

21 26. ข้อใดเปน็ จำนวนตำแหน่งเสียงของลูกระนาดเอก ? ก. 18 ตำแหน่งเสยี ง ข. 20 ตำแหนง่ เสียง ค. 22 ตำแหน่งเสียง ง. 24 ตำแหน่งเสียง 27. ตำแหนง่ เสยี งของลกู ระนาดเอกในข้อใดตรงกบั ตัวโนต้ “ม”ํ ? ก. ตำแหนง่ ที่ 20 ข. ตำแหน่งท่ี 21 ค. ตำแหน่งท่ี 22 ง. ตำแหน่งท่ี 23 28. ข้อใดเป็นตำแหน่งเสียงสดุ ทา้ ยของลูกระนาดเอก ? ก. รํ ข. มํ ค. ฟํ ง. ซํ 29. ห้องเพลงที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 มอื ขวา - ด ด ด - ร ร ร - ม ม ม - ฟ ฟ ฟ - ซ ซ ซ - ล ล ล - ท ท ท - ดํ ดํ ดํ มือซา้ ย - ดฺ ดฺ ดฺ - รฺ รฺ รฺ - มฺ มฺ มฺ - ฟฺ ฟฺ ฟฺ - ซฺ ซฺ ซฺ - ลฺ ลฺ ลฺ - ทฺ ทฺ ทฺ - ด ด ด จากโน้ตไทยสำหรบั ระนาดเอกข้างตน้ เปน็ การบรรเลงระนาดเอกคเู่ สียงใด ? ก. บรรเลงระนาดเอกเป็นคู่ 2 ข. บรรเลงระนาดเอกเป็นคู่ 4 ค. บรรเลงระนาดเอกเป็นคู่ 6 ง. บรรเลงระนาดเอกเป็นคู่ 8 30. ข้อใดเปน็ ตำแหน่งเสียงแรกของลกู ระนาดเอก ? ก. ฟ ข. ซ ค. ล ง. ท

22 ชุดฝกึ ทักษะการบรรเลงระนาดเอก เรอ่ื งท่ี 1 ความรูพ้ ้ืนฐานเก่ียวกบั ระนาดเอก

23 เนือ้ หาสาระ เร่อื งที่ 1 ความรูพ้ ืน้ ฐานเกี่ยวกับระนาดเอก จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ดา้ นความรู้ (K : Knowledge) 1.1 นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการจับไม้ตีระนาดเอกและท่าน่ังบรรเลงระนาดเอก ได้ถกู ต้อง 1.2 นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการดูแล เก็บรักษาระนาดเอกและไม้ตีระนาดเอก ได้ถกู ต้อง 2. ดา้ นเจตคติและคณุ ลกั ษณะ (A : Attitude and Attribute) 2.1 นักเรียนสามารถบรรยายคุณค่าและประโยชน์ของการศึกษาเรียนรู้และ บรรเลงระนาดเอกได้ 2.2 นกั เรยี นสามารถปฏิบัตกิ ิจกรรมรว่ มกบั ผอู้ ืน่ ด้วยความรบั ผดิ ชอบ สาระการเรียนรู้ด้านความรู้ 1. ประวตั คิ วามเป็นมาของระนาดเอก 2. ลกั ษณะของระนาดเอก 2.1 ผนื ระนาดเอก 2.2 รางระนาดเอก 2.3 ไม้ตีระนาดเอก 3. ลักษณะการน่ังบรรเลงระนาดเอก 4. วธิ กี ารจบั ไมต้ รี ะนาดเอก 4.1 วิธกี ารจับไม้ตีระนาดเอกแบบปากกา 4.2 วิธกี ารจบั ไมต้ ีระนาดเอกแบบปากนกแก้ว 5. วิธีการดแู ล เก็บรกั ษาระนาดเอกและไมต้ ีระนาดเอก

24 ดนตรีไทย มีเสียงที่ประกอบร้อยเรียงกันเป็นทำนอง จังหวะ มีระเบียบแบบแผน ทแ่ี สดงถึงลักษณะของความเปน็ ไทย เปน็ วฒั นธรรมแขนงหนึ่งที่มีคุณค่าและแสดงถึงสัญลักษณ์ แห่งความเป็นชาตไิ ทย ดนตรีไทยเป็นศิลปวัฒนธรรมอันทรงคุณค่าที่นับได้ว่าเป็นเอกลักษณ์และเป็นสมบัติ ทส่ี ำคัญของชาติไทย ดังน้ันคนไทยทุกคนควรมีความเข้าใจดนตรีไทยทั้งในแง่ของศาสตร์และ ศิลป์อันจะก่อให้เกิดความตระหนักและหวงแหนในสมบัติของชาติ (จรินทร์ เทพสงเคราะห์. 2557 : 3) ดังนั้นด้วยวิถีแห่งวัฒนธรรมของดนตรไี ทยดังกล่าว ท้ังในอดีตและปจั จุบัน ดนตรีไทย จงึ มบี ทบาทสำคญั อย่างย่งิ ต่อชีวิตของมนุษย์ เป็นเครอ่ื งมือที่ตอบสนองความต้องการ ความสุข ความรัก ความสามัคคี อารมณ์ และกระตุ้นความรู้สึกของมนุษย์อย่างมาก ถ้ามนุษย์ขาด เสียงเพลงและเสยี งดนตรแี ล้วน้นั จะทำให้มนษุ ย์อยูอ่ ยา่ งแหง้ แล้ง เหี้ยมเกรียม และไร้ความรสู้ ึก ดังท่ี กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม (2560 : 1) ได้กล่าวไว้ว่า ดนตรีไทยเป็น งานศิลปวัฒนธรรมท่ีแสดงความเปน็ ชาติไทยอย่างสมบูรณ์ เพราะบรรพชนไทยได้สร้างสรรค์ สั่งสมและสืบทอดต่อเน่ืองกันมาจากอดีตสู่ปัจจุบัน ในวิถีชีวิตของคนไทยได้นำดนตรีเข้า สอดแทรกกิจกรรมต่าง ๆ นับต้ังแต่งานพระราชพิธไี ปจนถึงพิธีกรรมของสามญั ชน พัฒนาการ ของดนตรไี ทยจงึ มที งั้ ที่เป็นดนตรแี บบแผนและดนตรพี ืน้ บา้ น ประวัติความเป็นมาของระนาดเอก ระนาดเอกเป็นเคร่ืองดนตรีไทยประเภทเครื่องตีชนิดหน่ึง ซึ่งเห็นได้ว่าวิวัฒนาการ มาจากกรับ แต่เดิมคงใช้ไม้กรับ 2 อัน ตีเป็นจังหวะ แล้วต่อมาเกิดความรู้เอาไม้มาทำอย่างกรับ หลาย ๆ อัน วางเรยี งตใี หเ้ กิดเสียงหยาบ ๆ ข้ึนกอ่ น แล้วคดิ ทำไม้รองเปน็ รางวางเรยี งราดไป เม่ือเกิดความรู้ความชำนาญขึ้น จึงปรับแก้ไขด้วยการประดิษฐ์คิดค้นให้มีขนาดลดหล่ันกัน และทำรางรองให้อุ้มเสียง แล้วใช้เชือกรอ้ ย “ไม้กรับ” ขนาดต่าง ๆ น้ันให้ติดกัน ขึงแขวน ไว้บนราง ใช้ไม้ตีเกิดเสียงดังกังวานลดหล่ันกันตามความต้องการ ใช้เป็นเคร่ืองดนตรีไทย บรรเลงทำนองได้ แล้วต่อมาประดษิ ฐ์คิดค้นปรับแก้ไขตกแต่งและใช้ขี้ผึ้งกับตะกั่วผสมกันติด หัวท้ายของไม้กรับ ถว่ งเสียงให้เกิดความไพเราะย่ิงขึน้ และไดบ้ ัญญัติเครือ่ งดนตรไี ทยชนิดนี้ว่า “ระนาด” เรยี ก “ไม้กรบั ” ทปี่ ระดษิ ฐ์ขึ้นเปน็ ขนาดต่าง ๆ น้ัน วา่ “ลูกระนาด” และเรียก ลูกระนาดที่รอ้ ยเชือกเข้าไว้เปน็ เครื่องเดียวกันว่า “ผืน” ลูกระนาดแตก่ อ่ นทำด้วยไม้ไผ่ ชนิดท่ี เรียกวา่ “ไผ่บงและไผ่ตง” ต่อมามีผู้เอาไม้แก่น เช่น ไม้ชิงชัน ไม้พยุง ไม้มะหาด มาเหลาใช้บ้าง แต่ที่นิยมกนั มากนนั้ ใช้ไมไ้ ผ่บง เพราะว่าได้เสียงเพราะดี ทำรางเพือ่ ใชอ้ ุ้มเสยี งเปน็ รปู คลา้ ย ลำเรือ ทางหวั และทา้ ยโค้งข้ึนเรียกว่า “ราง (ระนาด)” เรยี กแผ่นไมป้ ิดหวั และทา้ ยรางระนาดวา่

25 “โขน” และรวมท้ังรางและผืนเรยี กรวมกันเปน็ ลกั ษณะนามวา่ “ราง” แตเ่ ดมิ มา วงดนตรไี ทย วงหน่ึง มีระนาดเพียงรางเดียว และระนาดแต่เดิมคงมีจำนวนลูกระนาดน้อยกว่าในปัจจุบัน ตอ่ มาได้เพ่มิ ลกู ระนาดมากขึ้น และเมอ่ื มาคดิ ประดษิ ฐ์ระนาดอกี ชนดิ หน่งึ ให้มีเสยี งทุม้ ฟังนุ่ม ไมแ่ กรง่ กร้าวเหมอื นชนิดก่อน เลยเรียกระนาดชนิดใหม่น้ีว่า “ระนาดทุม้ ” และเรยี กระนาด ชนดิ เก่าว่า “ระนาดเอก” เปน็ คำผสมขึ้นในภาษาไทย ระนาดเอกเป็นเคร่ืองดนตรีไทยประเภทเครื่องตีที่ทำด้วยไม้ มีมาต้ังแต่สมัยอยุธยา สนั นิษฐานวา่ จะมีก่อนหน้าน้ี แต่ยงั ไม่ปรากฏหลกั ฐาน มรี ูปลักษณะเป็นราง ร้อยลกู ระนาดเอก เป็นผืนแขวนบนราง ลูกระนาดเอกนิยมทำด้วยไม้ชิงชัน ไม้พยุง ไม้ไผ่บง ไม้มะหาด เป็นต้น ใช้ไม้ตีระนาดเอก 2 ลักษณะ ได้แก่ ไม้นวมและไม้แข็ง บรรเลงอยใู่ นวงดนตรีไทยประเภทต่าง ๆ เชน่ วงปี่พาทย์ไม้แข็ง วงป่ีพาทย์ไม้นวม วงป่ีพาทยด์ ึกดำบรรพ์ วงมโหรี เป็นตน้ ระนาดเอก ทำหน้าท่ีเป็นผ้นู ำในวงดนตรีไทย ดำเนนิ กลอนเพลงในลักษณะการเก็บ แทรกแซงทำนองให้ สอดคล้องไปกับทำนองหลัก ลกั ษณะของระนาดเอก ลกั ษณะและสว่ นประกอบของระนาดเอก แสดงได้ดังภาพประกอบที่ 1 ลูกยอด ไม้ตรี ะนาดเอก ลกู ทัง่ เชือกรอ้ ย ไม้โขนระนาดเอก ลกู ระนาดเอก ผืนระนาดเอก (ลกู ระนาดเอก) ไมโ้ ขนระนาดเอก ไมแ้ ผงราง ตะขอโลหะแขวน ระนาดเอก ผืนระนาดเอก เท้ารองระนาดเอก ภาพประกอบที่ 1 ลกั ษณะและส่วนประกอบของระนาดเอก ท่มี า : รณชยั บุญลือ (2560)

26 ระนาดเอก มีส่วนประกอบสำคัญ 3 ส่วน ดังน้ี 1. ผืนระนาดเอก ทำจากไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้ชงิ ชัน ไม้พยุง ไม้มะหาด เป็นต้น ถ้าทำจากไม้ไผ่ ก็ใชไ้ ม้ไผ่บง ไม้ทท่ี ำผืนระนาดเอกต้องเหลาให้ได้ขนาดกันท้ังผืน เจาะรทู ี่ลูก ระนาดเอก ร้อยเชือกให้เรียงกันเป็นผืนระนาดเอก ลูกระนาดเอกมีจำนวน 22 ลกู เรียงจาก เสียงต่ำไปหาเสียงสูง โดยลูกระนาดเอกท่ีมีเสียงต่ำสุด เรียกว่า “ลูกทั่ง” ยาวประมาณ 39 เซนติเมตร กวา้ งประมาณ 5 เซนติเมตร หนาประมาณ 1.5 เซนติเมตร ลูกตอ่ ไปลดหล่ันกัน จนถงึ ลูกที่ 22 เรียกวา่ “ลูกยอด” มีขยาดยาวประมาณ 29 เซนติเมตร ลูกระนาดเอกจะมี เสียงสูงเสียงต่ำได้น้ัน จะต้องปรับระดับเสียงโดยใช้วิธีใส่ตะก่ัวถ่วงด้านหลังผืนระนาดเอก แต่ละลูกทัง้ ด้านบนและดา้ นลา่ ง ถา้ ตะกั่วนอ้ ย ความสั่นสะเทอื นจะมาก เสยี งกจ็ ะสูง แตถ่ ้า ตะกัว่ มาก เสยี งก็จะต่ำ ดงั นัน้ เสียงลกู ระนาดเอกจะเรียงระดับเสียงตามลำดับจากซ้ายไปขวา ของผู้น่ังตรี ะนาดเอก โดยลูกระนาดเอกลูกท่ี 1 หรอื ที่นิยมเรียกว่า “ลกู ท่ัง” จะเริม่ เสียงตำ่ สุด ไล่ระดับเสียงตามลำดับจนถึงลูกสุดท้ายเสียงสงู สุด เป็นลูกที่ 22 หรือท่ีนิยมเรียกวา่ “ลูกยอด” แสดงลกั ษณะของผนื ระนาดเอกทั้งดา้ นหนา้ และดา้ นหลงั ได้ดังภาพประกอบท่ี 2 และ 3 ภาพประกอบที่ 2 ลกั ษณะของผนื ระนาดเอกดา้ นหนา้ ที่มา : รณชัย บุญลอื (2560)

27 ภาพประกอบท่ี 3 ลักษณะของผืนระนาดเอกดา้ นหลงั ทม่ี า : รณชยั บญุ ลอื (2560) สว่ นลักษณะของผืนระนาดเอกเป็นการเรียงขนาดความสั้นยาวของลูกระนาดเอก ให้ลดหลั่นกนั ตามระดับเสียง ทางซ้ายมือใหญ่แล้วค่อย ๆ เล็กลงไปทางขวามือทางเสียงสูง ดูแล้ว สวยงามและเสียงดี ส่วนรูรอ้ ยเชือกท่ที แยงเข้าหากันห่างประมาณ 3-4 เซนติเมตร ปาดจาก ทางขวามาทางซ้ายติดตะก่ัวเพ่ือเทียบเสียง ถ้าตอ้ งการให้เสยี งต่ำให้เพ่มิ ตะกั่ว สำหรบั ส่วนผสม ของตะกั่ว มีตะกั่ว ข้ีผ้ึง และรังแมลงตานี คนสมัยก่อนเรียกว่า “ขี้แมงอีรม” ในปัจจุบัน รังแมลงตานีหายาก จึงใช้ชันโรงแทนการติดตะก่ัว ซึ่งควรติดด้วยไฟ โดยใช้ไม้ขีดไฟหรือ ไฟแช็ก จึงจะติดดี เพราะถ้าเผาด้วยเทียนไข จะทำให้ลื่นหลุดง่าย ตกแต่งตะก่ัวให้เป็นรูป หลังเต่า เพ่ือให้ดูสวยงาม 2. รางระนาดเอก มีรูปร่างคล้ายลำเรอื ทำไว้เพ่ืออุ้มเสียงให้เกิดความไพเราะ วัสดุท่ีใช้ทำรางระนาดเอกมีไม้อยู่ 3 ชนิดท่ีนิยมกัน ได้แก่ ไม้ขนุน ไม้สัก และไม้ประดู่ นอกจากไม้ท้ัง 3 ชนิดนี้แล้ว ในสมัยก่อนยังมีไม้ชนิดอื่น ๆ ที่นำมาทำรางระนาดเอกได้อีก ได้แก่ ไม้มะรดิ และไม้มะเกลือ ซ่ึงปัจจุบันหายาก จึงไมค่ ่อยจะได้มีให้เห็นมากนัก มีฐานรอง ดา้ นล่างตรงกลางจะสูงพอดีกับคนน่ังตีระนาดเอก รางระนาดเอกยาวประมาณ 120 เซนติเมตร แสดงลักษณะของรางระนาดเอกได้ดงั ภาพประกอบท่ี 4

28 ภาพประกอบท่ี 4 ลกั ษณะของรางระนาดเอก ท่มี า : รณชัย บญุ ลอื (2560) สว่ นประกอบของรางระนาดเอก มดี ังน้ี 1. ไม้แผงรางระนาดเอก จำนวน 2 ชนิ้ 2. ไม้โขนระนาดเอกซา้ ยขวา จำนวน 2 ชนิ้ 3. ไม้ปดิ ทอ้ งรางระนาดเอก จำนวน 1 ชน้ิ 4. ไมเ้ ท้ารองรางระนาดเอก จำนวน 1 ชิน้ 5. ไมค้ ิ้วขอบรางรางระนาดเอกบนและลา่ ง จำนวน 4 ชน้ิ 6. เส้นหวายหมอนรองผืนระนาดเอก จำนวน 2 เส้น 7. ตะขอโลหะแขวนผนื ระนาดเอก จำนวน 4 อัน โขนระนาดเอก คือ แผน่ ไมท้ ี่ใชป้ ิดหัวและทา้ ยรางระนาดเอก โขนระนาดเอก ซ้ายขวามีลักษณะคล้ายกลีบดอกบวั แหลมท้ังด้านบนและด้านล่าง ตา่ งจากดอกบัวคือ ขา้ งใหญ่ ตัง้ ไวด้ ้านบน ข้างเล็กอยดู่ ้านล่าง มีลกู ฟูกหรือหลงั เต่าบนล่าง 2 ลูก รวม 4 ลูก ทั้งซา้ ยขวา รวม 8 ลูก ลกู ฟูกหรอื หลังเตา่ ห่างจากปลายแหลมด้านบนประมาณ 7.5 เซนติเมตร หา่ งจาก ปลายแหลมด้านล่างประมาณ 6 เซนติเมตร ความกว้างของลูกฟูกหรือหลังเต่าเล็กประมาณ 4.45 เซนติเมตร ส่วนริมของโขนระนาดเอกมีลักษณะคล้ายไข่ไก่ผ่าซีก ความกว้างของ โขนระนาดเอกด้านบนประมาณ 21.5 เซนติเมตร ดา้ นลา่ งประมาณ 20 เซนตเิ มตร แกะคว้ิ ขอบ ของโขนระนาดเอกซ้ายขวาทั้งดา้ นนอกและในเพยี ง 1 ควิ้ ห่างจากขอบโขนระนาดเอกประมาณ 1 เซนติเมตร การนำไม้แผงรางระนาดเอกท้ัง 2 ช้ิน มาประกอบเข้ากับโขนระนาดเอก

29 เรียกว่า “ตัวผู้” ส่วนตำแหน่งโขนระนาดเอกที่ถูกเจาะเรียกว่า “ตัวเมีย” โดยเจาะลึก ประมาณ 0.56 เซนติเมตร เจาะท้ังหมด 4 ด้าน ท้ังซ้ายและขวา เจาะห่างจากปลายแหลม ด้านบนของโขนระนาดเอกประมาณ 19.5 เซนติเมตร เจาะห่างจากลูกฟูกหรือหลังเต่าขอบ ของโขนระนาดเอกประมาณ 2 เซนติเมตร และดา้ นในตอนบนของโขนระนาดเอกจะมีตะขอ โลหะสำหรับแขวนผืนระนาดเอก ห่างจากปลายแหลมของโขนระนาดเอกด้านล่างประมาณ 11.5 เซนติเมตร โขนละ 2 รู ห่างกันประมาณ 9 เซนติเมตร แสดงลกั ษณะของโขนระนาดเอก ไดด้ ังภาพประกอบท่ี 5 ภาพประกอบท่ี 5 ลกั ษณะของโขนระนาดเอก ทมี่ า : รณชัย บุญลือ (2560)

30 เท้ารองรางระนาดเอก คือ ส่วนท่ีอยู่ตรงกลางด้านล่างของรางระนาดเอก เป็นรูปโค้ง มีเท้าเดี่ยว รูปรา่ งอย่างพานแว่นฟ้า ลักษณะของเท้ารองรางระนาดเอกมีรูปร่าง คล้ายพานคว่ำลง ความสูงส่วนกลางระนาดเอกประมาณ 10-11 เซนติเมตร ทำส่วนเว้า เพื่อแกะลวดลาย ความยาวของเท้ารองรางระนาดเอกด้านบนที่ติดขอบรางระนาดเอกประมาณ 17 เซนติเมตร ความยาวของเท้ารองรางระนาดเอกด้านล่างประมาณ 20.5 เซนติเมตร สว่ นความกว้างวัดตามขอบรางระนาดเอกเป็นเกณฑ์ เมอื่ ประกอบรางโขนและเท้าระนาดเอกเสร็จ จงึ ลงนำ้ มันขดั เงาให้สวยงามยงิ่ ขึ้น แสดงลกั ษณะของเท้ารองรางระนาดเอกไดด้ ังภาพประกอบที่ 6 ภาพประกอบที่ 6 ลกั ษณะของเท้ารองรางระนาดเอก ท่มี า : รณชัย บญุ ลอื (2560) 3. ไม้ตีระนาดเอก ไม้ท่ีใช้ตีระนาดเอกมี 2 ชนิด ได้แก่ ไม้นวมและไม้แข็ง ดังรายละเอียดตอ่ ไปน้ี 3.1 ไม้นวม เป็นไม้ท่ีพันด้วยผ้าและด้ายถักสลับกันไป จนได้ขนาดและ น้ำหนักพอดีตามที่ต้องการ เม่ือตีแล้วจะเกิดเสียงนุ่มนวล นิยมบรรเลงในวงปี่พาทย์ไม้นวม ท้ังการบรรเลงอิสระ การบรรเลงประกอบการขับรอ้ ง และการบรรเลงประกอบการแสดงต่าง ๆ แสดงลักษณะของไม้ตีระนาดเอกชนิดไม้นวมได้ดังภาพประกอบท่ี 7

31 ภาพประกอบที่ 7 ลักษณะของไม้ตรี ะนาดเอกชนิดไมน้ วม ทมี่ า : รณชัย บญุ ลือ (2560)

32 3.2 ไม้แข็ง เป็นไม้ที่ทำโดยการพันผ้าท่ีชุบรักและด้ายถักสลับกนั ไป เมอื่ ชบุ รัก แต่ละครั้งแล้วนำไปผ่ึงใหแ้ หง้ พอหมาดจนได้ขนาดและน้ำหนักตามทต่ี ้องการ จงึ ทารกั เคลือบ หัวไม้ทิ้งไว้ให้แห้งสนิท เมื่อตีแล้วจะเกิดเสียงแกร่งดังกังวานกร้าวแข็ง เสียงเล็กแหลม บรรเลงเพลงประเภทท่ีมีความเร็ว จะคล่องกว่าไม้นวม นิยมบรรเลงในวงปี่พาทย์ไม้แข็ง ท้ังการบรรเลงอสิ ระ การบรรเลงประกอบการขบั ร้อง และการบรรเลงประกอบการแสดงโขน หรอื หนังใหญ่ เป็นตน้ แสดงลกั ษณะของไมต้ รี ะนาดเอกชนดิ ไมแ้ ข็งได้ดงั ภาพประกอบที่ 8 ภาพประกอบท่ี 8 ลักษณะของไม้ตีระนาดเอกชนิดไม้แขง็ ทีม่ า : รณชัย บญุ ลอื (2560)

33 ลกั ษณะการนั่งบรรเลงระนาดเอก ลักษณะการน่ังบรรเลงระนาดเอกทีถ่ กู ต้อง ถอื ว่าเปน็ ตัวบ่งชีค้ ุณภาพขององค์ประกอบ ด้านกระบวนการบรรเลงระนาดเอก เพราะจะทำให้ผู้บรรเลงฝึกตีระนาดเอกให้ประสบผลสัมฤทธิ์ ตามเกณฑ์การประเมินได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธภิ าพยิ่งขึ้น โดยเกณฑ์การประเมินของ ตวั บง่ ชี้คุณภาพตามองค์ประกอบดงั กล่าว มรี ายละเอียดดงั ต่อไปนี้ ตัวบ่งช้ีคุณภาพบรรเลงระนาดเอกด้วยท่าน่ังที่ถูกต้อง (รณชัย บุญลือ; น้ำทิพย์ บุญลือ; และทศั นยั บุญลอื . 2548 : 159) เกณฑ์การประเมิน 1. นั่งขัดสมาธิราบ โดยหัวแม่เท้าเท้าขวาแตะใต้รางระนาดเอกตลอด การบรรเลงระนาดเอก 2. นง่ั ลำตัวตรงอยู่กง่ึ กลางรางระนาดเอกตลอดการบรรเลงระนาดเอก 3. ไม่น่ังก้มหน้าหรือเงยหนา้ เกินไปตลอดการบรรเลงระนาดเอก 4. หนั หนา้ เข้าหากึง่ กลางของระนาดเอกตลอดการบรรเลงระนาดเอก 5. จัดระเบียบแขนท้ังสองข้างอยู่ข้างลำตัว และงอข้อศอกเป็นมุมฉาก พองามตลอดการบรรเลงระนาดเอก 6. นั่งโดยใหข้ าอยหู่ ่างจากเท้าระนาดเอกด้านชิดตวั ของผู้ตีประมาณ 5 น้ิว ตลอดการบรรเลงระนาดเอก ลักษณะการน่ังบรรเลงระนาดเอกท่ีถูกต้อง แสดงลักษณะการน่ังบรรเลง ระนาดเอกแบบต่าง ๆ ไดด้ งั ภาพประกอบที่ 9-14

34 ภาพประกอบที่ 9 ลกั ษณะการนั่งบรรเลงระนาดเอกแบบนง่ั พื้นมมุ มองดา้ นหน้า ทีม่ า : รณชยั บุญลอื ; และศุภาพชิ ญ์ เกษงาม (2560)

35 ภาพประกอบที่ 10 ลักษณะการนง่ั บรรเลงระนาดเอกแบบนง่ั พื้นมมุ มองดา้ นขา้ งซา้ ย ท่มี า : รณชยั บญุ ลอื ; และศภุ าพชิ ญ์ เกษงาม (2560)

36 ภาพประกอบที่ 11 ลกั ษณะการน่งั บรรเลงระนาดเอกแบบนง่ั พื้นมมุ มองด้านขา้ งขวา ที่มา : รณชยั บญุ ลือ; และศภุ าพชิ ญ์ เกษงาม (2560)

37 ภาพประกอบท่ี 12 ลกั ษณะการนัง่ บรรเลงระนาดเอกแบบนงั่ เก้าอ้ีมมุ มองด้านหน้า ที่มา : รณชัย บญุ ลอื ; และศุภาพิชญ์ เกษงาม (2560)

38 ภาพประกอบท่ี 13 ลักษณะการน่งั บรรเลงระนาดเอกแบบน่งั เก้าอี้มมุ มองดา้ นขา้ งซา้ ย ทีม่ า : รณชยั บญุ ลอื ; และศภุ าพิชญ์ เกษงาม (2560)

39 ภาพประกอบท่ี 14 ลักษณะการนง่ั บรรเลงระนาดเอกแบบนัง่ เก้าอี้มมุ มองด้านขา้ งขวา ท่ีมา : รณชยั บุญลือ; และศภุ าพชิ ญ์ เกษงาม (2560)

40 วิธีการจับไมต้ รี ะนาดเอก ในการฝึกหัดเคร่ืองดนตรีทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นเครื่องดนตรไี ทยหรือเคร่ืองดนตรีอ่ืน ๆ หากการเร่มิ ครั้งแรกตั้งอยู่บนพ้ืนฐานของความผิดพลาดตั้งแต่เมื่อเร่ิมเรียน จนผู้เรียนมีความรู้สึก เป็นความเคยชนิ แล้ว เปน็ สิง่ ยากยง่ิ ท่จี ะปรบั เปล่ียนพฤติกรรมเหล่านนั้ วิธีการจับไม้ตีระนาดเอกท่ีถูกต้อง ถือว่าเป็นอีกตัวบ่งชี้คุณภาพท่ีสำคัญของ องค์ประกอบด้านกระบวนการบรรเลงระนาดเอก เพราะจะทำให้ผู้บรรเลงฝึกตีและบรรเลง ระนาดเอกให้ประสบผลสัมฤทธ์ิตามเกณฑ์การประเมินได้อย่างมี คุณภาพและประสิทธิภาพ ย่ิงขึ้น โดยเกณฑ์การประเมินของตัวบ่งชี้คุณภาพตามองค์ประกอบดังกล่าว มีรายละเอียด ดังต่อไปน้ี ตวั บง่ ชคี้ ุณภาพบรรเลงระนาดเอกดว้ ยการจบั ไมต้ ีระนาดเอกที่ถกู ตอ้ ง (รณชยั บุญลอื ; น้ำทพิ ย์ บุญลอื ; และทัศนยั บญุ ลือ. 2548 : 159-160) เกณฑ์การประเมิน 1. จับก้านไม้ตีในลักษณะท่ีพาดอยู่ในร่องกลางอุ้งมือท้ังสองมือตลอด การบรรเลงระนาดเอก 2. ใชน้ ิว้ กลาง นาง และก้อย จบั ก้านไม้ตีตลอดการบรรเลงระนาดเอก 3. ยกข้อมือและแขนทั้งสองข้างให้อยู่ข้างลำตัวตามธรรมชาติตลอด การบรรเลงระนาดเอก 4. น้ิวมอื ทั้ง 5 น้วิ สัมผัสกบั ก้านไมต้ ตี ลอดการบรรเลงระนาดเอก 5. จับก้านไม้ตีในลักษณะที่เหยียดนิ้วหัวแม่มือแตะท่ีด้านข้างไม้ตี และ ปลายน้ิวชี้กดที่ด้านบนของก้านไม้ตีประมาณจุดก่ึงกลางของไม้ตีให้พอเหมาะกับการควบคุม นำ้ หนักของไมต้ ตี ลอดการบรรเลงระนาดเอก 6. จับก้านไม้ตีในระยะห่างระหว่างหัวไม้ตีกับปลายนิ้วชี้ให้อยู่ในระยะ ท่ีเทา่ กนั ทง้ั ขา้ งซ้ายและขวาตลอดการบรรเลงระนาดเอก 7. จบั กา้ นไม้ตีในลกั ษณะคว่ำมอื ตลอดการบรรเลงระนาดเอก วธิ ีการจับไม้ตีระนาดเอก เป็นหน่ึงในหลักเกณฑ์ที่สำคญั สำหรับผู้เริ่มเรียนควรจะต้อง ตระหนักเป็นอย่างยิง่ การจับไม้ตีระนาดเอกอย่างถูกวิธี ไม่เพยี งแตจ่ ะทำให้ดูมคี วามสง่างาม เท่านน้ั แต่จะสง่ ผลถึงกระบวนการผลติ เสียงที่มปี ระสทิ ธิภาพ อันเอือ้ ประโยชนเ์ ป็นอยา่ งมาก ต่อการบรรเลงดนตรไี ทยในขั้นสูง วิธีการจบั ไม้ตรี ะนาดเอกนิยมปฏบิ ตั ิใน 2 วิธกี าร ดังนี้