Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้วิชาการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน

Published by Kru.Sukanya Kongmuang, 2019-10-03 23:22:28

Description: ความรู้ด้านการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน

Keywords: ออกแบบตกแต่งภายใน, สถาปัตยกรรม,ภายใน, interior design

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรยี นรู้ INTERIOR วชิ าการออกแบบสถาปตั ยกรรมภายใน DESIGN SUKANYA KONGMUANG | 2562

ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยที่ 1 สอนคร้ังที่ 1-2 Introduction คาบรวม 8 จุดประสงค์การเรียนการสอน จุดประสงค์ทว่ั ไป / มุ่งเน้นสมรรถนะบูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี งและค่านิยม 12 ประการ 1 ด้านความรู้ 1.1 Introduction: How important to use English in your career. 1.2 Review part of house and room in the house. 1.3 Introduction: What is interior design? How to do interior design. 1.4 Draft furniture 10 pictures. 2 ด้านทกั ษะ 2.1 ทบทวนเก่ียวกบั ความรู้ท่ีไดเ้ รียนมาก่อนหนา้ น้ี เพ่ือจะนามาตอ่ ยอดและพฒั นาดา้ น การออกแบบสถาปัตยกรรมภายในได้ 2.2 ลกั ษณะเคร่ืองเรือนเพ่ือนาไปใชป้ ระกอบแบบการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2.3 สอดแทรกความรู้ดา้ นภาษาองั กฤษเพื่อเตรียมความพร้อมสาหรับ ASEAN 3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม 3.1 คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะ อนั พึงประสงค์ เรื่องความมีวนิ ยั ในการขา้ ช้นั เรียน การเรียนรู้ในรายวชิ า 3.2 คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค์ เรื่องความขยนั ความอดทน

ใบงานที่ 1 หน่วยท่ี 1 สอนคร้ังท่ี 1-2 ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน คาบรวม 8 Introduction คาบท่ี 1-8 ช่ือเรื่อง: Introduction 1.1 Introduction: How important to use English in your career. 1.2 Review part of house and rooms in the house.

ใบงานท่ี 2 หน่วยที่ 1 สอนคร้ังท่ี 1-2 ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน คาบรวม 8 Introduction คาบที่ 1-8 ชื่อเร่ือง: Introduction 1.2 Review part of house and rooms in the house.

หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 1 ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน สอนคร้ังท่ี 1-2 Introduction คาบรวม 8 ชื่อเร่ือง: Introduction คาบที่ 1-8 1.3 Introduction: What is interior design? How to do interior design. เนื้อหา การออกแบบสถาปัตยกรรม / สถาปัตยกรรมภายใน แบง่ ข้นั ตอนในการออกแบบได้ 4 ข้นั ตอนดงั น้ี ข้นั ตอนที่ 1 การกาหนดโครงการ ( Architectural Programming ) ข้นั ตอนที่ 2 การออกแบบเบ้ืองตน้ (Schematic Design) ข้นั ตอนท่ี 3 พฒั นาการออกแบบ (Design development) ข้นั ตอนที่ 4 การเขียนแบบก่อสร้าง (Construction Drawing)

หน่วยท่ี 1 ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน สอนคร้ังที่ 1-2 คาบรวม 8 Introduction ชื่อเร่ือง: Introduction คาบท่ี 1-8 1.3 Introduction: What is interior design? How to do interior design. การออกแบบสถาปัตยกรรมภายในพืน้ ฐาน ท่ีอยอู่ าศยั เป็นหน่ึงในปัจจยั 4 ที่สาคญั ในการดารงชีวติ ของมนุษย์ ซ่ึงปัจจุบนั มีการออกแบบใหส้ วยงาม แขง็ แรง ปลอดภยั อบอุน่ สะดวกสบายมากข้ึน การออกแบบตกแตง่ ภายในก็ถือเป็ นส่วนสาคญั เช่นกนั เพราะเป็น การออกแบบจดั ผงั หอ้ งและตกแต่งหอ้ งใหด้ ูสวยงาม โดยนาเอาเฟอร์นิเจอร์เคร่ืองใชส้ อยต่าง ๆ มาจดั วางตาม หลกั การทางศิลปะ ใหเ้ กิดคุณคา่ ดา้ นความงามควบคู่ไปกบั ประโยชนใ์ ชส้ อยในชีวิตประจาวนั การออกแบบตกแต่งภายในห้องต่าง ๆ สาหรับบ้านพกั อาศัย การจดั วางแปลนต่าง ๆ ภายในบา้ นพกั อาศยั คือ หอ้ งรับแขก, หอ้ งอาหาร, หอ้ งครัว, หอ้ งนอนและหอ้ งน้า ตอ้ งคานึงถึงส่ิงต่าง ๆ ที่เหมือนกนั ดงั น้ีคือ 1. การกาหนดเส้นทางสญั จร การใชห้ รือการใชพ้ ้นื ที่ของแต่ละหอ้ งมีทางสัญจรที่สะดวก ไมเ่ ดินออ้ มหรือ วกไปวนมา ตอ้ งไมไ่ กลจากการใชง้ านท่ีตอ้ งสัมพนั ธ์กนั หรือตอ้ งไม่เดินขา้ มเดินผา่ นส่วนที่ไม่เกี่ยวขอ้ งมากเกินไป 2. การจดั กลุ่มของเคร่ืองเรือน คือเครื่องเรือนแตล่ ะชิ้นท่ีมีการใชง้ านร่วมกนั หรือสมั พนั ธ์กนั อยา่ งมาก ควร จะวางในตาแหน่งท่ีเกี่ยวขอ้ งตอ่ เนื่องกนั เพื่อการใชง้ านไดค้ ล่องตวั และประหยดั เวลา 3. การกาหนดรูปแบบของแปลน ขนาดของหอ้ งหรือรูปแบบการใชง้ านจะเป็นตวั กาหนด รูปแบบของการ วางแปลนไปดว้ ยในตวั ภายในบา้ นพกั อาศยั รูปแบบของแปลนมกั จะเป็นไปลกั ษณะของพ้นื ท่ีท่ีถูกกาหนดมาแลว้ โดยตวั อาคาร 4. การกาหนดสดั ส่วนของพ้ืนที่ ไม่วา่ จะมีพ้ืนท่ีในการจดั เครื่องเรือนกวา้ งหรือแคบ การวางเครื่องเรือน จะตอ้ งใหใ้ ชง้ านไดส้ ะดวกคล่องตวั มีระยะของการใชง้ านในลกั ษณะต่าง ๆ ที่เกี่ยงขอ้ งอยา่ งเพยี งพอ เช่น เมื่อจดั โตะ๊ ทางานจะตอ้ งมีพ้นื ท่ีสาหรับการนง่ั เคลื่อนตวั ในขณะทางาน เป็นตน้ 5. การกาหนดทิศทางของแสงและอากาศ ในการจดั ท่ีอยอู่ าศยั ปัจจุบนั อาจเป็นการยากท่ีจะกาหนดหรือหา ทิศทางที่เหมาะสมตามธรรมชาติได้ แตก่ ค็ วรคานึงถึงเสมอเม่ือมีโอกาสที่จะกาหนดได้ ใชแ้ สงและอากาศจาก ธรรมชาติกค็ วรจะเลือกใช้ 6. การกาหนดขนาดของหอ้ ง ขนาดของหอ้ งมกั จะเป็ นไปตามความจาเป็ นในการใชง้ านหรือตาม จุดประสงค์ การจดั วางเคร่ืองเรือน ถา้ จดั ใหเ้ หมาะสมจะทาใหก้ ารใชง้ านมีประสิทธิภาพ เครื่องเรือนหลายชิ้น หรือ มีขนาดใหญ่ เหมาะกบั พ้ืนที่ขนาดใหญ่ เราสามารถทาตูเ้ ส้ือผา่ ใหใ้ หญ่ไดเ้ ตม็ ที่ตามความพอใจ แตถ่ า้ หอ้ งมีขนาด เลก็ ตูเ้ ส้ือผา้ ก็ตอ้ งเลก็ ลง แมจ้ ะไม่พอใชก้ ็ตามหรือการตดั เตียงนอนในหอ้ งนอนขนาดใหญ่ แมว้ า่ จะใชน้ อนคนเดียว กค็ วรจดั เตียงนอนขนาดใหญ่จะเหมาะสมกวา่ แตถ่ า้ หอ้ งนอนขนาดใหญก่ ลบั ใชเ้ ตียงเลก็ ๆ จะทาใหเ้ กิดความโล่ง เกินไปอาจรู้สึกวา่ งเปล่าได้

ใบงานท่ี 3 หน่วยท่ี 1 สอนคร้ังท่ี 1-2 ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน คาบรวม 8 Introduction คาบท่ี 1-8 ช่ือเรื่อง: Introduction 1.4 Draft furniture 10 picture เครื่องมือและอุปกรณ์ (จานวน/ขนาด) 1. ดินสอร่างแบบ 2B 1 แทง่ 2. ดินสอไส้แขง็ HB 1 แท่ง 3.ปากกาเคมีขนาด 0.3 ,0.5 มม. 2 แท่ง วสั ดุ 1. กระดาษร่างแบบ ขนาด A3 1 แผน่ 2. สก๊อตเทป 1 มว้ น ลาดับข้นั ปฏิบัติงาน ใหน้ กั ศึกษาหาแบบของเคร่ืองเรือนและทาการคดั ลอกเครื่องเรือนจานวน 10 ชิ้น ตวั อย่างเครื่องเรือน

หน่วยท่ี 2 หน่วยที่ 2 สอนคร้ังที่ 3-4 ช่ือวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน คาบรวม 16 คาบที่ 9-16 หลกั การจัดองค์ประกอบเพ่ือความงามภายในอาคาร และการวาง แปลน (Planning) ช่ือเรื่อง: หลกั การจดั องคป์ ระกอบเพอ่ื ความงามภายในอาคาร และการวางแปลน (Planning) จุดประสงค์การเรียนการสอน จุดประสงค์ทวั่ ไป /มุ่งเน้นสมรรถนะบูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี งและค่านิยม 12 ประการ 1 ด้านความรู้ 1.1 หลกั การจดั องคป์ ระกอบเพื่อความงามภายในอาคาร 1.1 หลกั การทวั่ ไปเก่ียวกบั การกาหนดระยะเน้ือที่ ขนาด สัดส่วน ของมนุษยท์ ี่มีผลต่อการออกแบบตกแต่งภายใน (Human scale) 1.2 การกาหนดทางสัญจร 1.3 การกาหนดกลุ่มเคร่ืองเรือน 1.4 การกาหนดรูปแบบของแปลน 1.5 การกาหนดสัดส่วนของพ้ืนท่ี 1.6 การกาหนดทิศทางของแสงและอากาศ 1.7 การกาหนดขนาดของห้อง 2 ด้านทกั ษะ 2.1 สามารถนาความรู้เกี่ยวกบั การกาหนดระยะ ขนาด สัดส่วนของมนุษยไ์ ปใชใ้ นงาน ออกแบบตกแตง่ ภายในได้ 2.2 สามารถนาความรู้ท้งั หมดไปออกแบบหอ้ งตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม 3.1 คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค์ เร่ืองความกตญั ญู

หน่วยท่ี 2 ช่ือวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน สอนคร้ังท่ี 3-4 คาบรวม 16 หลกั การจัดองค์ประกอบเพ่ือความงามภายในอาคาร และการวาง คาบท่ี 9-16 แปลน (Planning) ชื่อเรื่อง: หลกั การจัดองค์ประกอบเพื่อความงามภายในอาคาร และการวางแปลน (Planning) หนังสือและส่ือการสอน และสามารถค้นคว้าข้อมูลเพม่ิ เติมได้ทาง WEBSITE

หน่วยท่ี 2 ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน สอนคร้ังท่ี 3-4 คาบรวม 16 หลกั การจัดองค์ประกอบเพ่ือความงามภายในอาคาร และการวาง คาบที่ 9-16 แปลน (Planning) ชื่อเรื่อง: หลกั การจัดองค์ประกอบเพื่อความงามภายในอาคาร รูปทรง (FORM) รูปทรงแสดงถึงความแตกต่างของรูปทรงหน่ึงกบั อีกรูปทรงหน่ึง ท้งั ในด้านความคิดโดยรวม โครงสร้าง ภายใน ส่วนปกคลุมภายนอก และ วตั ถุท่ีมีลกั ษณะพิเศษไมเ่ หมือนวตั ถุอื่น รูปทรงในในโลกที่เป็ นธรรมชาติ และรูปทรงท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึน รูปทรงธรรมชาติ เช่น สตั ว์ พชื มนุษย์ มี ลกั ษณะพ้ืนฐานเหมือนกนั แตกตา่ งกนั ท่ีรูปร่างที่ปกคลุมร่างกายมนุษยม์ ี เทา้ ขา เชิงกราน ลาตวั แขน มือ คอ ศีรษะ เช่นเดียวกบั ตน้ ไมซ้ ่ึงมีราก ลาตน้ ก่ิง กา้ น และใบ ส่ิงที่มนุษยส์ ร้าง จะเป็นงานศิลปะ เช่น ภาพเขียน งานประติมากรรม ละคร ผลิตภณั ฑก์ ารตกแตง่ ภายใน และ สถาปัตยกรรม ฯลฯ เป็ นรูปทรงที่มนุษยส์ ร้างข้ึนดว้ ยความเจริญสูงสุด รูปทรงมีเน้ือหาเสมอ มีท่ีว่างภายในท่ีมองไม่เห็น สะทอ้ นออกมาสู่รูปทรงภายนอก ถ้าปราศจากรูปทรง เน้ือหาจะคงอยู่ไม่ได้ และรูปทรงจะไม่ปรากฏเช่นกนั ถา้ ไม่มีเน้ือหา ถา้ เน้ือหาเปลี่ยน รูปทรงเปลี่ยน รูปทรงเป็ น ลกั ษณะทางกายภาพ มองเห็นและสัมผสั ได้ แปลความหมายของเน้ือหาได้ บางคร้ังรูปทรงท่ีเกิดข้ึนจะเป็ นผลท่ีได รับมาจากประสบการณ์ในอดีต จากสิ่งท่ีเราเห็นหรือไดย้ นิ รูปทรงในงานตกแต่งภายใน รูปทรงสร้างรูปร่างใหก้ บั ที่วา่ ง ถา้ ปราศจากรูปทรง ที่วา่ งจะมีรูปร่างไม่แน่นอน ไม่มีโครงสร้าง ไม่มีขอบเขต รูปทรงทาให้เราวดั ที่วา่ งได้ และหมายความรวมถึงรูปภายนอกและภายในซ่ึงจะมองเห็นหรือรับรู้ได้ ส่ิงเหล่าน้ี สาคญั ตอ่ การออกแบบตกแต่งภายใน การจดั ที่วา่ งภายในอาคารสามารถที่จะจดั ไดห้ ลายรูปแบบ ตามชนิดของการใชส้ อยที่มีลกั ษณะพิเศษต่าง ๆ กนั ไป เช่น ในการจดั สานกั งาน รูปแบบของการออกแบบจะแตกต่างไปจากการตกแต่งหอ้ งนอน ห้องอาหาร หรือ ห้องอ่ืน ๆ ภายในอาคาร แมแ้ ต่จะเป็ นสานักงานเช่นเดียวกนั ยงั คงมีรูปแบบของสานกั งานธนาคาร สานักงาน สถาปนิก และในการจดั สานักงานประเภทเดียวกนั น้ัน ยงั มีการจดั สานกั งานเปิ ด ซ่ึงใช้แผงบงั สายตาบางส่วนท่ี จาเป็น และการจดั สานกั งานปิ ด ซ่ึงก้นั เป็นหอ้ ง เป็นตน้ รูปทรงท่ีมาจากการใชส้ อยเป็นสิ่งกาหนดลกั ษณะของท่ีวา่ ง รูปร่าง (SHAPE) รูปร่างเป็ นส่ิงท่ีแสดงลกั ษณะของรูปทรงท่ีแตกต่างกนั ออกไป รูปทรงทางกายภาพจะเห็นไดจ้ ากกรอบนอก ของวตั ถุ ขอบของวตั ถุจะแสดงถึงกรอบของรูปทรง เช่น ขอบจาน ดอกไม้ จะแสดงลกั ษณะกลม แต่แตกต่างกนั ดว้ ย รายละเอียดภายใน รูปร่างจะช้ีใหเ้ ห็นถึงมวลทางกายภาพซ่ึงจะเก่ียวขอ้ งแตเ่ พียงรูปที่เห็นภายนอกเทา่ น้นั

หน่วยที่ 2 ช่ือวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน สอนคร้ังที่ 3-4 คาบรวม 16 หลกั การจัดองค์ประกอบเพ่ือความงามภายในอาคาร และการวาง คาบท่ี 9-16 แปลน (Planning) ช่ือเรื่อง: หลกั การจัดองค์ประกอบเพื่อความงามภายในอาคาร (ต่อ) รูปร่าง (SHAPE) ถา้ ปราศจากรูปร่าง ท่ีว่างจะไม่มีรูปทรงเช่นเดียวกนั รูปร่างมีมากมายแบ่งไดเ้ ป็ นธรรมชาติและเรขาคณิต รูปร่างธรรมชาติจะนุ่มนวลและไม่เป็ นธรรมดา ส่ิงท่ีมนุษยส์ ร้างมกั จะเป็ นเรขาคณิต แต่มีขอ้ ยกเวน้ ท่ีวา่ รูปทรงท้งั สองประเภทอยรู่ ่วมกนั ไดด้ ี และในการตกแต่งจะอาศยั รูปร่างสองประเภทน้ีประกอบกนั เช่นการใชต้ น้ ไมต้ กแต่ง ภายในอาคาร เป็นตน้ รูปร่างเหมือนรูปทรงตรงท่ีมีความหมายสาคญั ท่ีจะสื่อใหผ้ ดู้ ูไดร้ ับรู้ รูปร่างของหอ้ งรับแขก ถา้ เป็ นห้องกลมหรือห้องหกเหล่ียมจะมีความหมายที่กวา้ งขวาง หรูหรากวา่ สี่เหลี่ยม ธรรมดา ห้องรับแขกส่วนมากมีรูปทรงเหมือนกนั แต่มีรูปร่างในการจดั แตกต่างกนั ห้องรับแจกควรเป็ นที่ที่นง่ั คุย กนั อยา่ งสบายใหค้ วามรู้สึกวา่ เจา้ ของบา้ นตอ้ นรับอยา่ งอบอุน่ บา้ นเป็ นอาคารท่ีทุก ๆ คนเอาใจใส่มากโดยเฉพาะบา้ นของตวั เอง ผูอ้ อกแบบจึงมกั จะมีปัญหาในการที่จะ ทุม่ เทท้งั เวลาและสติปัญญาใหด้ ีท่ีสุดตามความตอ้ งการของเจา้ ของบา้ น สัณฐาน (CONFIGURATION) รายละเอียดของรูปทรง จะเห็นไดจ้ ากรูปร่างภายนอกท่ีแตกต่างกนั ในแต่ละส่วน ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่วน ต่าง ๆ ทรวดทรงหรือสัณฐานของรูปทรงน้ีคือรายละเอียดของความสมั พนั ธ์ขององคป์ ระกอบแตล่ ะส่วนนนั่ เอง ในงานออกแบบตกแต่งภายใน สณั ฐานคือความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่วนประกอบต่าง ๆ ในปริมาตรท่ีครอบคลุม ที่วา่ ง ตวั อาคาร เฟอร์นิเจอร์และส่วนตกแต่งอื่นท้งั หมด การจดั ตกแต่งภายในเป็ นการสร้างสรรคท์ ่ีวา่ งในอาคารให้ “เตม็ ” การใส่ส่วนประกอบต่าง ๆ ลงในท่ีหน่ึง ๆ จะประกอบดว้ ยสิ่งตกแต่งผนงั โตะ๊ เกา้ อ้ี ฯลฯ ขณะท่ีสถานท่ีอื่น ซ่ึงต่อเนื่องระหวา่ งส่วนสาคญั ๆ จะวา่ งเปล่าเพราะใชเ้ ป็นทางเดินหรือเส้นทางสัญจร ทางเดินน้นั จะสนองประโยชน์ ใช้สอยท่ีไม่ตอ้ งการเฟอร์นิเจอร์ การตกแต่งภายในอาคารมีท้งั ง่ายและยุง่ ยาก ส่วนประกอบแต่ละส่วนเป็ นส่วน หน่ึงของสัณฐานท้งั ในทางนอนและทางต้งั สัณฐานทางต้งั รวมท้งั ความสูงของส่วนประกอบเดิม ความสัมพนั ธ์ ระหวา่ งกนั และกนั ขององคป์ ระกอบเดิมและองคป์ ระกอบใหม่ ผลท่ีเกิดข้ึนภายหลงั การตกแต่งภายใน ส่วนต่าง ๆ สัมพนั ธ์กนั อยา่ งใกลช้ ิด และสมั พนั ธ์กนั อยใู่ นสัณฐานเดียวกนั ขนาด (SIZE) ขนาดส่วน Scale และสัดส่วน Proportion สัมพนั ธ์กบั ขนาด (Size) ขนาดส่วนเป็ นการเปรียบเทียบ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งขนาดของส่ิงหน่ึงกบั สิ่งอ่ืน สดั ส่วนเป็ นการพิจารณาขนาดส่วนหน่ึงของของชิ้นหน่ึงกบั ส่วน อื่นของของชิ้นเดียวกนั

หน่วยที่ 2 ช่ือวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน สอนคร้ังท่ี 3-4 คาบรวม 16 หลกั การจัดองค์ประกอบเพ่ือความงามภายในอาคาร และการวาง คาบท่ี 9-16 แปลน (Planning) ช่ือเรื่อง: หลกั การจัดองค์ประกอบเพื่อความงามภายในอาคาร (ต่อ) ขนาดส่วน (SCALE) การใช้คาว่าขนาดส่วน เราจะเปรียบเทียบขนาดของของสิ่งหน่ึงกับของอีกส่ิงหน่ึง การวาดภาพดอกไม้ เปรียบเทียบกบั ดอกไมจ้ ริงการวาดภาพแม่น้า มนุษย์ เปรียบเทียบกบั สิ่งที่เห็นและจาได้ ถึงแมว้ า่ ขนาดส่วนจะไม่เหมือนขนาด แต่มีความสัมพนั ธ์กบั ขนาดโดยตรงในการเขียนแบบสถาปัตยกรรม และการตกแต่งภายใน ขนาดส่วนที่ใช้เป็ นการเปรียบเทียบขนาดภาพอาคารกบั ขนาดอาคารจริง เช่น มาตราส่วน 1:100, 1:25, 1:20, 1:10 เรามกั จะใชข้ นาดส่วนมนุษยใ์ นการเปรียบเทียบส่ิงของทว่ั ไป ถา้ สิ่งใดในงานตกแต่งไม่สนองประโยชน์ใช้ สอยภายใตค้ วามสัมพนั ธ์กบั ขนาดร่างกายมนุษย์ เราจะไม่สามารถใช้ส่วนของงานตกแต่งน้นั ได้ เพราะขนาดมี ขีดจากดั ท้งั ใหญ่และเล็ก เช่นลูกบิดประตู ถา้ มีขนาดใหญ่เกินกวา่ ขนาดมือมนุษยจ์ บั ได้ เราจะไม่สามารถเปิ ดประตู ได้ ทุกสิ่งในงานตกแต่งภายในจะตอ้ งทาใหม้ ีขนาดที่เหมาะที่จะใช้เสมอ ประตู บนั ได เตียง เกา้ อ้ี โต๊ะ ช้นั วางของ จะพิจารณาจากการใชส้ อยท้งั สิ้น แต่ละชิ้นจะมีความสมั พนั ธ์กบั ขนาดมนุษยเ์ ป็นส่วน ๆ ไป ส่ิงของท่ีมีขนาดใหญ่หรือเล็กเกินกวา่ ท่ีเคยเห็นและเคยใชส้ ะดวกมกั มีขนาดส่วนที่เปล่ียนไปเป็ นใหญ่หรือ เล็กกวา่ ปกติ ขนาดของส่ิงของจะเก่ียวขอ้ งกบั ขนาดส่วนส่วนเสมอเราคาดว่าประตูควรมีขนาดใหญ่พอท่ีเราจะเดิน ผา่ นไดค้ นเดียวโดยไม่ชนขอบซ้ายขวา และส่วนบน ถา้ เราผา่ นไปไดส้ ะดวกประตูน้นั มีขนาดค่อนขา้ งมาตรฐาน ความกวา้ งประมาณ 0.90 ม. สูง 2.00 ม. เป็นช่องทางเดินที่เดินสะดวกและไม่เป็ นท่ีสังเกต แต่ถา้ ประตูกวา้ ง 0.45 ม. สูง 1.55 ม. เป็นช่องทางท่ียากจะเดินผา่ น เราจะรู้สึกถึงขนาดที่ผดิ มาตรฐาน (Out of scale) และพบวา่ ประตูค่อนขา้ ง เล็ก (Small in scale) หรือถา้ ประตูใหญ่กว่าปกติ กวา้ ง 3.6 ม. สูง 7.5 ม. เราจะรู้สึกว่าช่องเปิ ดใหญ่เกินไปเม่ือ เปรียบเทียบกบั ขนาดของมนุษยแ์ ต่ยงั คงอยใู่ นขนาดที่เหมาะสม (In scale) เม่ือเปรียบกบั ขนาดหอ้ งท่ีสูงใหญ่ นกั ออกแบบส่วนใหญม่ กั จะทางานใหอ้ ยใู่ นส่วนขนาดที่เป็ นมาตรฐาน (In scale) ซ่ึงผใู้ ชอ้ าคารใชก้ นั จนเป็ น ปกติธรรมดา หอ้ งขนาดปกติจะตกแต่งดว้ ยเฟอร์นิเจอร์ที่ซ้ือหาไดท้ ว่ั ไป เพราะส่ิงของท่ีใช้ตกแต่งภายในมกั จะมี มาตรฐานและผลิตเป็ นจานวนมาก บางคร้ังการจดั ตกแต่งภายในมีการเปล่ียนแปลงมาตรฐานจากปกติไปบา้ ง ซ่ึงมี วธิ ีทาไดห้ ลายแบบ และผสมผสานกนั ไดภ้ ายในที่วา่ งเดียวกนั หรือที่วา่ งท่ีต่อเนื่อง เม่ือใชเ้ ฟอร์นิเจอร์และเครื่องแต่ง หอ้ งขนาดส่วนหลายขนาดประกอบกนั ไม่ควรใชข้ นาดส่วนท่ีแตกตา่ งกนั เพียง 2 ประเภท เพราะจาทาให้ขดั แยง้ กนั อยา่ งชดั เจน ดงั น้นั จึงควรมีขนาดส่วนท่ีสาม ซ่ึงเข่ือมโยงของท่ีมีขนาดส่วนสองประเภทแรกภายในปริมาตรน้นั ดว้ ย การแปรเปลี่ยนขนาดส่ิงของต่าง ๆ ท่ีมีรูปร่างเหมือนกนั เช่น ประตู หน้าต่าง เฟอร์นิเจอร์ บวั เชิงผนงั พ้ืน เพดาน การจดั เช่นน้ียงั มีรูปร่างสมั พนั ธ์ระหวา่ งกนั และกนั และท้งั หมด ซ่ึงควรมีการจดั ลาดบั ความสาคญั อยเู่ สมอ

หน่วยที่ 2 ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน สอนคร้ังท่ี 3-4 คาบรวม 16 หลกั การจัดองค์ประกอบเพื่อความงามภายในอาคาร และการวาง คาบท่ี 9-16 แปลน (Planning) ชื่อเร่ือง: หลกั การจัดองค์ประกอบเพื่อความงามภายในอาคาร (ต่อ) สัดส่วน (PROPORTION) เม่ือความตอ้ งการทางดา้ นขนาดส่วนที่เหมาะสมแลว้ สัดส่วนที่เหมาะสมยงั คงเป็ นสิ่งที่ตอ้ งการไม่ย่ิงหยอ่ น ไปกวา่ กนั สัดส่วนของการตกแต่งภายในท่ีพกั อาศยั จะใชข้ นาดส่วนใหญ่ (Large scale) ในบา้ นใหญ่ แต่สัดส่วนที่ เหมาะสมในสถานการณ์น้นั แตกตา่ งจากขนาดส่วนใหญใ่ นโรงแรมหรือโรงพยาบาล ขนาดส่วนของบา้ นอาจจะรวม หอ้ งหลายห้องบางห้องใหญ่บางหอ้ งเล็ก ข้ึนอยูก่ บั วตั ถุประสงค์ แต่ห้องในโรงพยาบาลสร้างข้ึนเพื่อรักษาสุขภาพ ของคนหลายคน ขนาดส่วนจะใหญ่ตามจานวนผูใ้ ช้ สัดส่วนของห้องในบา้ นอาจจะพิจาณาโดยความตอ้ งการของ ผใู้ ช้ สัดส่วนในงานตกแต่งภายใน จะไดร้ ับอิทธิพลจากเกณฑ์ในดา้ นความงาม (Aesthetics) ประโยชน์ใชส้ อย (Function) และวสั ดุ (Material) ท้งั หมดน้ีเป็นองคป์ ระกอบที่ตอ้ งพจิ ารณาร่วมกนั ในการออกแบบ ความสมดุล (BALANCE) การสร้างรูปทรงใด ๆ ใหม้ ีความสวยงามจะตอ้ งมีความสมดุล การสร้างความสมดุลพฒั นาไดจ้ ากการใชส้ ายตา ฝึกฝนสงั เกต และสะสมไวเ้ ป็นประสบการณ์ สมดุลแบบสองขา้ งเทา่ กนั (SYMMETRY) สมดุลประเภทน้ีใชก้ นั มานานมากและพบไดใ้ นธรรมชาติ เช่น ร่างกายมนุษย์ สัตว์ มนุษยเ์ ขียนภาพสิ่งเหล่าน้ี โดยมีความสมดุลท้งั สองขา้ ง นอกจากน้นั ยงั ปรากฏวา่ มีการใช้สมดุลเช่นน้ีในสมยั ก่อน โดยใช้กบั งานศิลปะทุก ประเภท สถาปัตยกรรม การตกแตง่ ภายใน ละครและงานศิลปะอื่น สมดุลวธิ ีน้ีแนวแกนกลางและองคป์ ระกอบสอง ขา้ งแกนเท่า ๆ กนั งานสร้างสรรค์ทุกประเภทจาเป็ นตอ้ งมีความสมดุล ความสมดุลที่เท่ากนั สองขา้ ง (Symmetry) เป็นวธิ ีท่ีง่ายท่ีสุด บางคร้ังเป็นวธิ ีท่ีเหมาะสมสาหรับการจดั องคป์ ระกอบท่ีตอ้ งการความเป็นระเบียบแบบแผน ง่ายที่ จะเขา้ ใจและมกั จะจดั ใหส้ ่วนต่าง ๆ รอบขา้ งตรงขา้ มกบั แนวแกนเทา่ กนั ท้งั ซา้ ยและขวา สมดุลแบบไม่เท่ากนั สองข้าง (ASYMMETRY) ในการทางานท่ีมีความสมดุลเท่ากนั ท้งั สองขา้ ง การออกแบบค่อนขา้ งจะแน่นอน ชัดเจนและเกิดข้ึนโดย สัญชาตญาณ การสร้างความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่วนประกอบซ่ึงแปรเปล่ียนจะเรียกกนั วา่ ความสมดุลแบบไม่เท่ากนั 2 ขา้ ง



ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยท่ี 2 สอนคร้ังท่ี 3-4 การวางแปลน (Planning) คาบรวม 16 ชื่อเร่ือง: การวางแปลน (Planning) คาบท่ี 9-16 2.2 การกาหนดทางสัญจร ทางสัญจร คือ เส้นทางเดิน อาจเป็นทางเดินเขา้ ออกระหวา่ งห้อง ทางเดินผา่ นระหวา่ งคนกบั เครื่องเรือน หรือ คนเดินสวนกนั การจดั ทางเดินตอ้ งพยายามทาให้ทางเดินน้นั ๆ สะดวกและส้ันที่สุด ตอ้ งไม่เดินออ้ มหรือวกไปมา มาก ตอ้ งไม่แคบหรือกวา้ งจนเกินไป ทางเดินน้นั ตอ้ งไม่เกะกะหรือติดขดั จนกลายเป็ นทาให้เสียเวลาในการทางาน หรือเกิดความไมค่ ล่องตวั อ่ืน ๆ ทางสัญจรน้ียงั แยกไดเ้ ป็ นทางสัญจรหลกั และทางสัญจรรอง โดยทางสัญจรหลกั จะ เป็ นทางเดินท่ีกวา้ งสะดวกต่อการใชง้ าน ส่วนทางสัญจรรองจะเป็ นทางเดินในส่วนยอ่ ย หรือส่วนติดต่อหน่อยยอ่ ย ๆ ลงไป อย่างไรก็ตามการจดั พ้ืนที่ทางเดินน้ีตอ้ งพิจารณาจากพ้ืนที่ส่วนรวมท้งั หมด ว่าประกอบดว้ ยส่วยใชง้ าน อะไรบา้ งและจดั พ้นื ที่เดินใหเ้ หมาะสมกบั งาน ตัวอย่างการจดั หอ้ งรับแขกที่ไมเ่ หมาะสม ตัวอย่างการจดั หอ้ งรับแขกที่เหมาะสม

ช่ือวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยท่ี 2 สอนคร้ังท่ี 3-4 การวางแปลน (Planning) คาบรวม 16 ชื่อเร่ือง: การวางแปลน (Planning) คาบท่ี 9-16 2.3 การกาหนดกลุ่มเคร่ืองเรือน กลุ่มของเคร่ืองเรือน หมายถึง ชนิดของเครื่องเรือนท่ีมีความสมั พนั ธ์ในการใชง้ าน การจดั วางตอ้ งใหเ้ กิดความ คล่องตวั ในการใชง้ านเป็ นลาดบั ต่อเนื่องกนั ไดง้ ่าย เช่น กลุ่มของเครื่องเรือนสาหรับหอ้ งนอน ประกอบดว้ ย เครื่อง เรือนที่ใชง้ านสัมพนั ธ์กนั ภายในหอ้ งนอน การจดั ตอ้ งเป็นไปตามลาดบั การใชไ้ มว่ กกลบั ไปมา ตัวอย่าง การกาหนดกลุ่มของเคร่ืองเรือน ตัวอย่างการจดั หอ้ งนอนท่ีไม่เหมาะสม ตัวอย่างการจดั หอ้ งนอนท่ีเหมาะสม

ช่ือวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยที่ 2 สอนคร้ังที่ 3-4 การวางแปลน (Planning) คาบรวม 16 ช่ือเรื่อง: การวางแปลน (Planning) คาบที่ 9-16 2.4 การกาหนดรูปแบบของแปลน รูปแบบของการจัดวางเคร่ืองเรือน มีวิธีการท่ีชดั เจน 2 แบบ คือการจดั แบบสมดุลดว้ ยน้าหนกั ท่ีท้งั สองขา้ ง เหมือนกนั หรือเท่ากนั ด้วยขนาดและจานวนของเคร่ืองเรือน การจดั แบบน้ีเรียกว่า Symmetry Balance ทาให้ บรรยากาศเป็ นทางการ หรูหรา มีระเบียบ ส่วนการจดั อีกแบบหน่ึงเป็ นการจดั แบบสองขา้ งไม่เท่ากนั หรือไม่ เหมือนกนั แต่มีความสมดุลกนั การจดั แบบน้ีเรียกวา่ Asymmetry Balance ทาให้เกิดบรรยากาศแบบสบาย ๆ เป็ น กนั เอง การจดั ท้งั 2 แบบ ผจู้ ดั ตอ้ งมีความรู้หลกั การทางศิลปะเขา้ ไปเก่ียวขอ้ งดว้ ย จึงทาใหง้ านน้นั น่าดู เช่น รู้จกั ถ่วง น้าหนกั ดว้ ยสีและลาย เลือกวสั ดุท่ีมีความกลมกลืนกนั หรือแตกตา่ งกนั นามาวางประกอบใหเ้ กิดความสมดุล ตัวอย่าง การจดั แปลนแบบ Symmetry Balance and Asymmetry Balance ตัวอย่างการจดั แปลนแบบ Symmetry Balance ตวั อย่างการจดั แปลนแบบ Asymmetry Balance

ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยท่ี 2 สอนคร้ังที่ 3-4 การวางแปลน (Planning) คาบรวม 16 ชื่อเร่ือง: การวางแปลน (Planning) คาบท่ี 9-16 2.5 การกาหนดสดั ส่วนของพ้ืนที่ การกาหนดสัดส่วนของพื้นท่ี การจดั วางเคร่ืองเรือนแต่ละชิ้นจะตอ้ งมีพ้ืนท่ีสาหรับการใช้งานให้พอเหมาะ เช่น การใชง้ านระหวา่ งโต๊ะกบั เกา้ อ้ีจะตอ้ งมีพ้ืนท่ีว่างสาหรับวางขา สาหรับเล่ือนเขา้ ออกเวลาลุก-นงั่ การจดั เตียง นอน จะตอ้ งมีพ้ืนที่วา่ งสาหรับการจดั เก็บหรือปี ที่นอนไดร้ อบ เตียงนอน ตูเ้ ส้ือผา้ จะตอ้ งมีพ้ืนท่ีสาหรับเปิ ด-ปิ ดตู้ ท่ี วา่ งสาหรับยนื แตง่ ตวั เป็นตน้ ตวั อย่าง การจดั พ้ืนท่ีวา่ งภายในหอ้ งนอนและหนา้ ตูเ้ ส้ือผา้ ตัวอย่างการจดั พ้ืนที่วา่ งรอบเตียงสาหรับเดินรอบ ตัวอย่างการจดั พ้ืนท่ีหนา้ ตูเ้ ส้ือผา้ สาหรับยนื แต่งตวั

ช่ือวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยที่ 2 สอนคร้ังที่ 3-4 การวางแปลน (Planning) คาบรวม 16 ชื่อเร่ือง: การวางแปลน (Planning) คาบท่ี 9-16 2.6 การกาหนดทิศทางของแสงและอากาศ การกาหนดทศิ ทางของแสงและอากาศ ในสถานที่ทุกแห่งจะตอ้ งจดั ใหล้ มพดั ผา่ นและอากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก มีแสงสวา่ งที่เหมาะสมพอดี การวางแปลนเครื่องเรือนตอ้ งคานึงถึงช่องหนา้ ต่างประตู ช่องลม ช่องแสงสวา่ งต่าง ๆ สามารถใชป้ ระโยชน์ของส่วนเหล่าน้ีไดเ้ ตม็ ที่ ควรนาประโยชน์ส่วนน้ีมาใชใ้ หม้ ากที่สุด เช่น หอ้ งเขียนหนงั สือตอั ง จดั โตะ๊ ไวร้ ิมหนา้ ต่าง เพ่อื อาศยั แสงสวา่ งและจดั ใหแ้ สงเขา้ ทางดา้ นซา้ ยของโตะ๊ จึงถูกทิศทางของแสง หอ้ งครัวตอ้ ง จัดให้มีทางระบายอากาศได้รวดเร็วสะดวก และมีแสงสว่างพอเหมาะกับการทางาน หรือภายในห้องนอน จาเป็นตอ้ งมีทางระบายอากาศไดด้ ี เพอ่ื ความสดช่ืนของผอู้ ยอู่ าศยั ตัวอย่าง ทิศทางของลม ในปัจจุบนั สภาพแวดลอ้ มดา้ นอากาศมีปัญหามากเร่ืองมลภาวะ จึงมีการแกไ้ ขปัญหาดว้ ยการทาท่ีอยูอ่ าศยั ให้สะดวกสบาย โดยการใช้เคร่ืองปรับอากาศกันมาก ทาให้คานึงถึงแสงและอากาศธรรมชาติกันน้อยลง อยา่ งไรกต็ ามแสงและอากาศก็คงเป็นสิ่งท่ีมนุษยต์ อ้ งใชป้ ระโยชน์มาก ถา้ สามารถนามาใชร้ ่วมกบั งานออกแบบ เชิงสร้างสรรค์ได้ จะทาให้การอยู่อาศยั น้ันมีธรรมชาติเข้ามาเก่ียวขอ้ ง ทาให้เกิดความสุขที่เป็ นธรรมชาติ สมบูรณ์มากข้ึน

ช่ือวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยที่ 2 สอนคร้ังที่ 3-4 การวางแปลน (Planning) คาบรวม 16 ชื่อเรื่อง: การวางแปลน (Planning) คาบที่ 9-16 2.7 การกาหนดขนาดของหอ้ ง การกาหนดขนาดของห้อง ภายในหอ้ งแต่ละหอ้ งมีการใชง้ านแตกต่างกนั ชนิดของเคร่ืองเรือนจะแตกต่างกนั ไปดว้ ย การกาหนดขนาดของหอ้ งจึงจาเป็นตอ้ งใหม้ ีความเหมาะสมกบั การบรรจุเครื่องเรือนเขา้ ไปใช้ หอ้ งขนาดเล็ก จาเป็ นตอ้ งเลือกเครื่องเรือนชิ้นเล็กลงหรือจานวนนอ้ ยลง ถา้ ห้องนอนขนาดใหญ่เคร่ืองเรือนอาจมีชิ้นใหญ่หรือมี หลายชิ้นข้ึน เป็นตน้ ตัวอย่าง การจดั เครื่องเรือนท่ีเหมาะสมกบั ขนาดของห้อง คือ ขนาดของเครื่องเรือนและจานวนมีการจดั วางไดเ้ หมาะสมกบั ประโยชน์ใชส้ อย

หน่วยที่ 3 หน่วยท่ี 3 สอนคร้ังท่ี 5-6 ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน คาบรวม 24 คาบที่ 17-24 การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) ช่ือเร่ือง: การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) จุดประสงค์การเรียนการสอน จุดประสงค์ทวั่ ไป / มุ่งเน้นสมรรถนะบูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี งและค่านิยม 12 ประการ 1 ด้านความรู้ 1.1 Interior Space and Basic design for Bedroom (Human Dimension) 1.2 รูปแบบทวั่ ไปของการจดั หอ้ งนอน 1.3 เคร่ืองเรือนและขนาดของเครื่องเรือนในหอ้ งนอน 1.4 ระยะการจดั วางเคร่ืองเรือนส่วนหอ้ งนอน 2 ด้านทกั ษะ 2.1 สามารถนาความรู้เก่ียวกบั การกาหนดระยะ ขนาด สดั ส่วนของมนุษยไ์ ปใชใ้ นงาน ออกแบบเฟอร์นิเจอร์ภายในหอ้ งนอนไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.2 จดั สัดส่วนพ้ืนที่ใหส้ ัมพนั ธ์ในการใชง้ านหรือแยกส่วนกนั ตามความเหมาะสม ส่วน ขนาดเครื่องเรือนจดั ใหเ้ หมาะกบั ขนาดของหอ้ งได้ 3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม 3.1 คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะ อนั พึงประสงค์ เรื่องความประหยดั มธั ยสั ถ์

ช่ือวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยที่ 3 สอนคร้ังท่ี 5-6 การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบรวม 24 ชื่อเร่ือง: การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบท่ี 17-24 3.1 Interior Space and Basic design for Bedroom (Human Dimension) Interior Space and Basic design for Bedroom (Human Dimension)

ช่ือวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยที่ 3 สอนคร้ังท่ี 5-6 การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบรวม 24 ชื่อเร่ือง: การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบท่ี 17-24 3.1 Interior Space and Basic design for Bedroom (Human Dimension) Interior Space and Basic design for Bedroom (Human Dimension)

ช่ือวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยที่ 3 สอนคร้ังท่ี 5-6 การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบรวม 24 ชื่อเร่ือง: การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบท่ี 17-24 3.1 Interior Space and Basic design for Bedroom (Human Dimension) Interior Space and Basic design for Bedroom (Human Dimension)

ช่ือวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยที่ 3 สอนคร้ังท่ี 5-6 การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบรวม 24 ชื่อเร่ือง: การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบท่ี 17-24 3.1 Interior Space and Basic design for Bedroom (Human Dimension) Interior Space and Basic design for Bedroom (Human Dimension)

ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยท่ี 3 สอนคร้ังท่ี 5-6 การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบรวม 24 คาบท่ี 1-14 ช่ือเรื่อง 3.1 Interior Space and Basic design for Bedroom (Human Dimension) Interior Space and Basic design for Bedroom (Human Dimension)

ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยท่ี 3 สอนคร้ังท่ี 5-6 การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบรวม 24 คาบท่ี 1-14 ช่ือเรื่อง 3.1 Interior Space and Basic design for Bedroom (Human Dimension) Interior Space and Basic design for Bedroom (Human Dimension)

ช่ือวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยที่ 3 สอนคร้ังท่ี 5-6 การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบรวม 24 คาบท่ี 17-24 ช่ือเรื่อง 3.1 Interior Space and Basic design for Bedroom (Human Dimension) Interior Space and Basic design for Bedroom (Human Dimension)

ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยที่ 3 สอนคร้ังท่ี 5-6 การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบรวม 24 คาบที่ 17-24 ช่ือเร่ือง 3.2 รูปแบบทวั่ ไปของการจัดห้องนอน รูปแบบทว่ั ไปของการจัดห้องนอน เป็นความตอ้ งการของผใู้ ชใ้ นเร่ืองความชอบ ความประทบั ใจ หรือความ จาเป็นส่วนตวั โดยทวั่ ไปบา้ นขนาดกลางหรือขนาดเล็ก การจดั หอ้ งนอนอาจมีส่วน ทางาน ดูทีวี และมีท่ีแตง่ ตวั อยู่ รวมกนั ภายในหอ้ ง โดยวธิ ีจดั สดั ส่วนพ้นื ที่ใหส้ ัมพนั ธ์ในการใชง้ านหรือแยกส่วนกนั ตามความเหมาะสม ส่วน ขนาดเคร่ืองเรือนจดั ใหเ้ หมาะกบั ขนาดของหอ้ ง ตัวอย่างการจัดห้องนอนแบบต่าง ๆ

ช่ือวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยท่ี 3 สอนคร้ังท่ี 5-6 การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบรวม 24 ช่ือเร่ือง 3.3 เคร่ืองเรือนและขนาดของเคร่ืองเรือนในห้องนอน คาบที่ 17-24 3.3.1 เตียงนอน (Bed) ท่ีนอนนบั เป็ นส่ิงสาคญั สาหรับการนอน โดยทวั่ ไปเตียงนอนจะประกอบดว้ ยตวั ท่ีนอนท่ีสามารถออกแบบ ดา้ นหวั เตียงเป็ นแบบต่าง ๆ ไดต้ ามตอ้ งการ ส่วนตวั ท่ีนอนจะมีขนาดที่มีขายตามทอ้ งตลาดถือเป็ นขนาดมาตรฐาน การออกแบบเรานามาใช้ประกอบกบั เตียงได้เลย นอกจากว่ามีการออกแบบขนาดหรือรูปแบบของที่นอนท่ีไม่ เหมือนทว่ั ไป จาเป็นตอ้ งกาหนดขนาดและรูปแบบสาหรับส่ังทาใหม่ไดต้ ามตอ้ งการ ท่ีนอนขนาดมาตรฐานที่มีขาย อยทู่ ว่ั ไปจะมีขนาดที่เป็นฟุต สามารถเลือกใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั การใชง้ านและเหมาะกบั ขนาดของหอ้ งได้ มีขนาดต่าง ๆ ดงั น้ี ที่นอนขนาดใหญ่ (King Size) 6’ x 6’ 6” / 6’ 6” x 6’ 6” ที่นอนขนาดกลาง (Queen Size) 5’ x 6’ 6” / 4’ x 6’ 6” ท่ีนอนขนาดเลก็ (Single Size) 3’ 6” x 6’ 6” / 3’ x 6’ 6” การออกแบบเตียงนอนมกั เนน้ ความสาคญั ของดา้ นหวั เตียงใหเ้ ด่น สวยงาม ตามความตอ้ งการ ความสูงจาก พ้นื ถึงที่นอนสูง 0.45 เมตร หรือ 0.50 เมตร

ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยท่ี 3 สอนคร้ังที่ 5-6 การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบรวม 24 ช่ือเรื่อง 3.3 เคร่ืองเรือนและขนาดของเครื่องเรือนในห้องนอน คาบที่ 1-14 3.3.2 ตูข้ า้ งเตียง (Night Table) เป็นตูใ้ ชง้ านคู่กบั เตียงนอน สาหรับวางของใชป้ ระจาตวั ชิ้นเล็ก ๆ เช่น นาฬิกาปลุก, หนงั สืออ่าน, แกว้ น้าด่ืม, โคมไฟ ความจาเป็ นของตูข้ า้ งเตียงน้ีอาจมีการออกแบบเป็ นตูเ้ ก็บของเล็ก ๆ หรือตูล้ ิ้นชักเล็ก ๆ สาหรับของใช้ เลก็ นอ้ ยและหยบิ ใชไ้ ดส้ ะดวกเวลากลางคืน ขนาดของโตะ๊ ขา้ งเตียง กวา้ งยาวประมาณ 0.55 x 0.60 x 0.45,0.50 ม. ตวั อย่าง งานเขียนแบบโตะ๊ ขา้ งเตียง ตัวอย่าง โตะ๊ ขา้ งเตียงในรูปแบบต่าง ๆ

ช่ือวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยที่ 3 สอนคร้ังที่ 5-6 การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบรวม 24 ชื่อเรื่อง 3.3 เครื่องเรือนและขนาดของเคร่ืองเรือนในห้องนอน คาบที่ 17-24 3.3.3 โตะ๊ แต่งตวั (Dressing Table/ Chest of Drawers) ภายในห้องนอนของบา้ นทว่ั ไป จะมีโต๊ะแต่งตวั อยู่ดว้ ยเสมอ โต๊ะแต่งตวั คือ โต๊ะสาหรับวางของใช้หรือ เครื่องสาอาง พร้อมกบั มีกระจกเงาส่องหนา้ การออกแบบโตะ๊ แตง่ ตวั น้ีแยกไดเ้ ป็น 2 ลกั ษณะ คือ 1. โต๊ะแต่งตวั สาหรับผูห้ ญิง มีขนาด 0.45 x 1.20 x 0.70 ม. พร้อมท้งั มีที่นงั่ รูปร่างของโต๊ะจะมีรูปทรง อ่อนหวาน มีช้นั หรือลิ้นชกั เลก็ ๆ สาหรับวางของ 2. โตะ๊ แต่งตวั สาหรับผชู้ าย มีขนาด 0.45 x 1.20 x 0.90 ม. เป็นที่แต่งตวั ประกอบดว้ ยลิ้นชกั และบานตู้ สาหรับเก็บของใช้ เช่น เส้ือกลา้ ม ถุงเทา้ ขนาดของโตะ๊ จะใชย้ นื แต่งตวั พร้อมมีกระจกเงา รูปร่างของ โตะ๊ เป็ นรูปทรงแขง็ แรง

ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยที่ 3 สอนคร้ังท่ี 5-6 การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบรวม 24 ช่ือเรื่อง 3.3 เคร่ืองเรือนและขนาดของเครื่องเรือนในห้องนอน คาบที่ 17-24 3.3.4 ที่นง่ั แต่งตวั (Dressing Chair / Stool) ท่ีนงั่ แต่งตวั สาหรับโต๊ะแต่งตวั ของผูห้ ญิง จะออกแบบให้มีความอ่อนหวานสวยงาม ขนาดโดยประมาณ 0.45 x 0.50 x 0.42, 0.45 ม. ตัวอย่าง รูปแบบท่ีนงั่ แต่งตวั

ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยท่ี 3 สอนคร้ังที่ 5-6 การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบรวม 24 ชื่อเรื่อง 3.3 เคร่ืองเรือนและขนาดของเครื่องเรือนในห้องนอน คาบท่ี 17-24 3.3.5 โตะ๊ ทางาน (Study Table) โตะ๊ ทางานภายในบา้ นหรือในหอ้ งนอน เป็นโตะ๊ นง่ั ทาการบา้ นหรือทางานเกี่ยวกบั เอกสารเล็ก ๆ นอ้ ย ๆ หรือ เป็ นที่นัง่ อ่านหนงั สือ การจดั โต๊ะไม่จาเป็ นตอ้ งมีขนาดใหญ่ การใช้พ้ืนที่จะใชไ้ ม่มาก ขนาดของโต๊ะใช้ไดต้ ้งั แต่ ขนาด 0.50 x 120 x 0.70 เมตร 0.60 x 1.50 x 0.75 เมตร การจดั โตะ๊ ทางานอาจออกแบบใหเ้ ป็ นโตะ๊ เดียว หรือโต๊ะที่ ประกอบกบั ตูห้ นงั สือหรือตูเ้ ก็บของอ่ืน ๆ ดว้ ยได้ ตวั อย่าง รูปแบบโตะ๊ ทางาน

ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยท่ี 3 สอนคร้ังท่ี 5-6 การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบรวม 24 ชื่อเรื่อง 3.3 เคร่ืองเรือนและขนาดของเคร่ืองเรือนในห้องนอน คาบที่ 17-24 3.3.6 เกา้ อ้ีนงั่ ทางาน (Study Chair) เกา้ อ้ีน่งั ทางานเป็ นเกา้ อ้ีท่ีมีขนาดสัดส่วนใกลเ้ คียงกบั เกา้ อ้ีอาหารมากที่สุด เพราะเป็ นการใช้งานท่ีตอ้ งการ ประกอบกบั โต๊ะดว้ ยเสมอ อีกท้งั มีความสะดวกสบายมีมากกวา่ เช่น มีเบาะนงั่ นุ่ม มีเทา้ แขนกวา้ งใหญ่ หรือมีเบาะ นง่ั ท่ีสามารถปรับเอนได้ เป็นตน้ ขนาด 0.50 x 0.60 x 0.45 เมตร ตวั อย่าง รูปแบบเกา้ อ้ีทางาน

ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยท่ี 3 สอนคร้ังท่ี 5-6 การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบรวม 24 ช่ือเร่ือง 3.3 เครื่องเรือนและขนาดของเครื่องเรือนในห้องนอน คาบที่ 17-24 3.3.7 ตูเ้ ส้ือผา้ (Closet / Wardrobe) ตูเ้ ส้ือผา้ นอกจากจะเป็นตูส้ าหรับเก็บเส้ือผา้ เป็นส่วนใหญแ่ ลว้ บางส่วนยงั ทาเป็ นท่ีเก็บเครื่องนอนของใช้ เช่น เก็บผา้ ห่ม, ผา้ นวม, หมอน, กระเป๋ าเส้ือผา้ การออกแบบภายในตูเ้ ส้ือผา้ จึงมกั นิยมแบ่งเป็ น 2 ตอน ตอนบนไวเ้ ก็บ ของใชช้ ิ้นใหญ่ๆ และนาน ๆ ใช้ ส่วนตอนล่างมีที่แขวนเส้ือผา้ ท้งั ชุดยาวหรือชุดส้ัน มีที่สาหรับพาดกางเกง นอกจากน้นั จะมีช้นั ท่ีเก็บผา้ พบั ได้ หรือทาเป็นลิ้นชกั หรือเคร่ืองใชช้ ิ้นเล็ก ๆ เช่น เครื่องช้นั ใน ผา้ เช็ดหนา้ ถุงเทา้ ฯลฯ ขนาดของตูเ้ ส้ือผา้ จะมีขนาดใหญ่หรือเล็ก ตามความตอ้ งการของผูใ้ ช้และตามขนาดของพ้ืนที่ในหอ้ งขนาด ปานกลางสาหรับคนโดยทว่ั ไป จะใชค้ วามยาวประมาณ 1.50 เมตร แต่ถา้ 2 คน ขนาดพ้ืนที่เพิ่มข้ึนเป็ น 2 เท่าหรือ มากกวา่ น้นั ความสูงของตูป้ ระมาณ 2.00 เมตร หรือถา้ ทาตู้ 2 ตอนติดเพดานเลยความสูงจะเท่ากบั ความสูงเพดาน คือประมาณ 2.50 เมตร ส่วนความกวา้ งใชข้ นาดต้งั แต่ 0.60 เมตร 0.65 เมตร ความกวา้ งที่เหมาะจะทาให้เก็บเส้ือผา้ ไดเ้ รียบร้อย แขนเส้ือและไหล่ของเส้ือไมย่ บั เวลาท่ีประตูตูเ้ บียด แต่อยา่ งไรก็ตามตูเ้ ส้ือผา้ จะเป็ นเคร่ืองเรือนชิ้นใหญ่ มาก ถา้ หอ้ งแคบหรือมีที่จากดั ขนาดของตูก้ ็จะตอ้ งลดความยาวลงเพื่อใหเ้ หมาะสม ตวั อย่าง รูปแบบตูเ้ ส้ือผา้

ช่ือวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยท่ี 3 สอนคร้ังท่ี 5-6 การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบรวม 24 ชื่อเรื่อง: การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom คาบท่ี 17-24 3.4 ระยะการจดั วางเคร่ืองเรือนส่วนหอ้ งนอน ตวั อย่าง การจดั วางเคร่ืองเรือนส่วนหอ้ งนอน

ช่ือวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยที่ 3 สอนคร้ังที่ 5-6 การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบรวม 24 ชื่อเรื่อง: การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบท่ี 17-24 3.4 ระยะการจดั วางเคร่ืองเรือนส่วนหอ้ งนอน ตวั อย่าง ระยะการใชง้ านภายในหอ้ งเส้ือผา้ ในหอ้ งนอน

ใบงานที่ 4 หน่วยที่ 3 สอนคร้ังที่ 5-6 ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน คาบรวม 24 การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบที่ 17-24 ช่ือเร่ือง: การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) 3.4 การจดั วางเครื่องเรือนภายในหอ้ งนอน เครื่องมือและอุปกรณ์ 1. ดินสอเขียนแบบ 1 แทง่ แทง่ 2. ยางลบ 1 อนั อนั 3. T-slide 1 อนั อนั 4. Set 1 ดา้ ม 5. Scale 1 1 แผน่ 1 มว้ น 6. Template 1 7.ปากกาเคมีขนาด 0.3 ,0.5 มม. 2 วสั ดุ 1. กระดาษร้อยปอนด์ ขนาด A2 2. สก๊อตเทป รายการสอน 1. อธิบายสรุปเน้ือหาของการออกแบบตกแต่งภายในหอ้ งนอน 2. แนะนาข้นั ตอนการออกแบบตกแต่ง การจดั วางเครื่องเรือนภายในหอ้ งนอน 3. ใหน้ กั ศึกษาลงมือปฏิบตั ิ ใหเ้ สร็จภายในคาบเรียน (4 ชม.) 4. ประเมินผลงาน 5. เสนอแนะ แกไ้ ขและปรับปรุงผลงานแตล่ ะชิ้นของนกั ศึกษา

ใบงานท่ี 4 หน่วยท่ี 3 ช่ือวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน สอนคร้ังที่ 5-6 การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบรวม 24 ช่ือเร่ือง: การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) คาบที่ 17-24 3.4 การจดั วางเคร่ืองเรือนภายในหอ้ งนอน งานทม่ี อบหมาย ใหน้ กั ศึกษาทาการออกแบบจดั วางเครื่องเรือนภายในหอ้ งนอน ที่มีพ้ืนที่จากดั คะแนนเตม็ 10 คะแนน โดยสิ่งท่ีจะตอ้ งแสดงในแบบมีดงั น้ี 1. แปลน 2. รูปดา้ น 3. รายการและขนาดของเครื่องเรือน การออกแบบตกแต่งภายในห้องนอน (Bedroom) มาตราส่วน 1 : 50

หน่วยท่ี 4 หน่วยท่ี 4 สอนคร้ังท่ี 7-8 ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน คาบรวม 32 คาบที่ 25-32 การออกแบบตกแต่งภายในห้องรับแขก (Living Room) ชื่อเรื่อง การออกแบบตกแต่งภายในห้องรับแขก (Living Room) จุดประสงค์การเรียนการสอน จุดประสงค์ทวั่ ไป / มุ่งเน้นสมรรถนะบูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี งและค่านิยม 12 ประการ 1 ด้านความรู้ 1.1 Interior Space and Basic design for Living Room (Human Dimension) 1.2 รูปแบบทวั่ ไปของการจดั หอ้ งรับแขก 1.3 เครื่องเรือนและขนาดของเคร่ืองเรือนในหอ้ งรับแขก 1.4 ระยะการจดั วางเคร่ืองเรือนส่วนหอ้ งรับแขก 2 ด้านทกั ษะ 2.1 สามารถนาความรู้เก่ียวกบั การกาหนดระยะ ขนาด สดั ส่วนของมนุษยไ์ ปใชใ้ นงาน ออกแบบเคร่ืองเรือนภายในหอ้ งรับแขกไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.2 จดั สดั ส่วนพ้ืนท่ีใหส้ มั พนั ธ์ในการใชง้ านหรือแยกส่วนกนั ตามความเหมาะสม ส่วน ขนาดเคร่ืองเรือนจดั ใหเ้ หมาะกบั ขนาดของห้องได้ 3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม 3.1 คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค์ ดา้ นความอดทน มุมานะ ตรงตอ่ เวลา

ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยท่ี 4 สอนคร้ังท่ี 7-8 การออกแบบตกแต่งภายในห้องรับแขก (Living Room) คาบรวม 32 ช่ือเรื่อง: การออกแบบตกแต่งภายในห้องรับแขก (Living Room) คาบท่ี 25-32 4.1 Interior Space and Basic design for Living Room (Human Dimension) Interior Space and Basic design for Living Room (Human Dimension)

ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยท่ี 4 สอนคร้ังท่ี 7-8 การออกแบบตกแต่งภายในห้องรับแขก (Living Room) คาบรวม 32 ช่ือเรื่อง: การออกแบบตกแต่งภายในห้องรับแขก (Living Room) คาบท่ี 25-32 4.1 Interior Space and Basic design for Living Room (Human Dimension) Interior Space and Basic design for Living Room (Human Dimension)

ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยท่ี 4 สอนคร้ังท่ี 7-8 การออกแบบตกแต่งภายในห้องรับแขก (Living Room) คาบรวม 32 ช่ือเรื่อง: การออกแบบตกแต่งภายในห้องรับแขก (Living Room) คาบท่ี 25-32 4.1 Interior Space and Basic design for Living Room (Human Dimension) Interior Space and Basic design for Living Room (Human Dimension)

ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยท่ี 4 สอนคร้ังท่ี 7-8 การออกแบบตกแต่งภายในห้องรับแขก (Living Room) คาบรวม 32 ช่ือเรื่อง: การออกแบบตกแต่งภายในห้องรับแขก (Living Room) คาบท่ี 25-32 4.1 Interior Space and Basic design for Living Room (Human Dimension) Interior Space and Basic design for Living Room (Human Dimension)

ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยท่ี 4 สอนคร้ังท่ี 7-8 การออกแบบตกแต่งภายในห้องรับแขก (Living Room) คาบรวม 32 ช่ือเรื่อง: การออกแบบตกแต่งภายในห้องรับแขก (Living Room) คาบท่ี 25-32 4.1 Interior Space and Basic design for Living Room (Human Dimension) Interior Space and Basic design for Living Room (Human Dimension)

ช่ือวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยท่ี 4 สอนคร้ังที่ 7-8 การออกแบบตกแต่งภายในห้องรับแขก (Living Room) คาบรวม 32 ชื่อเรื่อง: การออกแบบตกแต่งภายในห้องรับแขก (Living Room) คาบที่ 25-32 4.2 รูปแบบทว่ั ไปของการจดั หอ้ งรับแขก ตกแต่งภายในห้องรับแขก ห้องน่ังเล่น (Living Room) หอ้ งรับแขกเป็นศูนยก์ ลางของสังคมในบา้ น และเป็นห้องท่ีทุกคนคิดที่จะตกแต่งใหส้ วยงามมากที่สุด เพราะเป็นหอ้ งที่ไมไ่ ดใ้ ชเ้ ฉพาะคนในบา้ น แต่เป็นท่ีตอ้ นรับแขกท่ีมาเยอื น ห้องรับแขกจะสะทอ้ นรสนิยม ความ สนใจ และเป็นสญั ลกั ษณ์ของเจา้ ของบา้ น มีการใชห้ อ้ งน้ีทากิจกรรมร่วมกนั หลายอยา่ ง เช่น รับรองแขก พกั ผอ่ น อ่านหนงั สือ ทางาน ดูโทรทศั น์ ฟังวทิ ยุ และอยรู่ ่วมกนั ระหวา่ งครอบครัว การออกแบบหอ้ งรับแขก จะตอ้ งศึกษาวา่ เป็นหอ้ งที่ใชส้ าหรับสมาชิกกี่คน ความตอ้ งการของครอบครัวจะ แปรเปล่ียนไปตามแต่สมาชิกในบา้ น การออกแบบควรเริ่มตน้ จากการถามอายุ เพศ และส่ิงท่ีสนใจทาประจาวนั จานวนแขกผมู้ าเยยี่ มบ่อย ๆ ประมาณก่ีคน ของที่ตอ้ งการต้งั โชว์ ส่วนติดตอ่ กบั หอ้ งอ่ืนโดยรอบหอ้ ง ตาแหน่ง หอ้ งรับแขก ควรจะอยตู่ ิดกบั โถงทางเขา้ บา้ นดา้ นหนา้ เพื่อใหแ้ ขกเขา้ ถึงไดส้ ะดวก และมีทางติดตอ่ กบั หอ้ ง รับประทานอาหารหรือเฉลียง ที่สามารถเปล่ียนสถานท่ีออกไปนงั่ คุยภายนอกห้องไดใ้ นเวลาเยน็ การใชง้ านซ่ึงรวม ไปถึงกิจกรรมอ่ืน ไดแ้ ก่ นง่ั เล่น ซ่ึงจะรวมกบั ส่วนรับแขกสาหรับบา้ นขนาดเล็ก หอ้ งจึงควรถ่ายเทอากาศไดส้ ะดวก ไม่ปิ ดทึบมีช่องเปิ ดทางดา้ นทิศใตเ้ พอื่ รับลมและช่องเปิ ดอยา่ งนอ้ ยอีกดา้ นหน่ึงเพื่อใหล้ มออกจากห้องการเปิ ดช่อง เปิ ดสู่เฉลียงควรใชป้ ระตูขนาดใหญ่เพ่ือเชื่อมต่อบริเวณภายในบา้ นและภายนอกใหเ้ ป็นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั เฉลียง ควรอยทู่ ิศเหนือหรือทิศตะวนั ออกเพ่ือไม่ใหแ้ สงรบกวนในเวลาบา่ ย เฉลียงท่ีอยทู่ างทิศใตค้ วรปลูกตน้ ไมบ้ งั แดด ออ้ มใตด้ ว้ ย การจัดแผนผงั ก่อนอ่ืนควรพิจารณาจดั กลุ่มพฤติกรรมของผใู้ ชห้ อ้ งวา่ สามารถอยรู่ ่วมกนั ไดห้ รือแยกกนั แตล่ ะส่วน เช่น ส่วนรับแขก ส่วนนงั่ เล่นเด็ก ส่วนพกั ผอ่ นผใู้ หญ่ ท้งั สามส่วนน้ีเกิดจากการแยกกิจกรรมท่ีต่างกนั ไมใ่ หร้ บกวนกนั โดยตรง แต่ยงั คงเช่ือมโยงพ้นื ที่ไดด้ ว้ ยสายตา ซ่ึงช่วยใหพ้ ้นื ที่หอ้ งดูกวา้ งขวางกวา่ การแบง่ ดว้ ยผนงั หรือตูส้ ูง ซ่ึงจะ ทาใหห้ อ้ งดูอึดอดั โดยเฉพาะบา้ นท่ีไมม่ ีเคร่ืองปรับอากาศ ในบา้ นขนาดใหญ่ ห้องรับแขกจะแยกจากหอ้ งนง่ั เล่นโดยเดด็ ขาด ห้องรับแขกจะใชส้ าหรับรับแขกเพียง อยา่ งเดียว ส่วนหอ้ งนง่ั เล่นจะใชส้ าหรับกิจกรรมท่ีไม่เป็ นระเบียบแบบแผน เช่น ดูโทรทศั น์ ฟังเพลง และพดู คุยกนั ระหวา่ งคนในครอบครัวและจะตอ้ งพิจารณาถึงเส้นทางติดตอ่ จากหอ้ งรับแขกกบั ห้องอ่ืน ๆ โดยรอบ ไม่ควรจดั วาง กลุ่มเฟอร์นิเจอร์ขวางเส้นทาง เพราะจะเป็นการรบกวนการใชง้ านของผทู้ ่ีตอ้ งการเดินผา่ นไปยงั หอ้ งอ่ืน

ชื่อวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยท่ี 4 สอนคร้ังท่ี 7-8 การออกแบบตกแต่งภายในห้องรับแขก (Living Room) คาบรวม 32 ชื่อเรื่อง: การออกแบบตกแต่งภายในห้องรับแขก (Living Room) คาบท่ี 25-32 4.2 รูปแบบทว่ั ไปของการจดั หอ้ งรับแขก ตกแต่งภายในห้องรับแขก ห้องนั่งเล่น (Living Room) การจัดเคร่ืองเรือน การจดั หอ้ งรับแขกและนง่ั เล่นตอ้ งคานึงถึงตาแหน่งของที่นงั่ หลกั ซ่ึงเป็นจุดสาคญั ของหอ้ ง ศูนยก์ ลางของ หอ้ งน้ีเป็นที่รับแขก นงั่ ดูโทรทศั นแ์ ละสังสรรคร์ วมของสมาชิกในครอบครัว บริเวณน้ีมีขนาดตามจานวนผใู้ ชใ้ น บา้ น และเหมาะสมสาหรับแขกผมู้ าเยย่ี มเยอื นควรเป็นบริเวณก่ึงพกั ผอ่ น ก่ึงมีระเบียบ (Formal) และควรเขา้ ถึงจาก ทางเขา้ ดา้ นหนา้ ไดส้ ะดวกโดยตรง ไมค่ วรมีเส้นทางติดต่ออื่นผา่ นเขา้ มายงั กลุ่มเคร่ืองเรือนกลุ่มน้ี เพราะจะรบกวน กิจกรรมที่ทาร่วมกนั อยู่ เคร่ืองเรือนท่ีใชม้ ีโซฟาเป็นศูนยก์ ลางของหอ้ ง ถา้ หอ้ งเลก็ โซฟาจะมีขนาดเลก็ ตามไปดว้ ย โซฟา 3 ที่นง่ั จะ เหมาะสาหรับห้องขนาดกลางไปจนถึงขนาดใหญ่เหมาะที่จะนง่ั คุยและดูโทรทศั นไ์ ดพ้ ร้อมกนั หลายคน โซฟาเป็น เฟอร์นิเจอร์ค่อนขา้ งติดท่ีเพราะมีน้าหนกั ไมน่ ิยมเคลื่อนยา้ ย บางบา้ นนิยมใชเ้ คร่ืองเรือนระบบมาตรฐาน (Modular) ซ่ึงสามารถเพ่มิ เติมไดเ้ ทา่ ที่จาเป็น อาจจดั ไดส้ องลกั ษณะ คือ แบบเป็ นพธิ ีการ (Symmetry Balance) เป็นการจดั เนน้ ความเป็นระเบียบ หรูหรา สง่างาม เป็นการให้เกียรติผมู้ าเยอื นซ่ึงอาจเป็นแขกผใู้ หญห่ รือผทู้ ่ีเคารพนบั ถือ และการ จดั แบบไม่เป็ นพธิ ีการ (Asymmetry Balance) เป็นการจดั แบบเนน้ ความเป็นกนั เองเกิดความอบอุ่น เหมาะสาหรับ การตอ้ นรับเพ่ือน ๆ หรือญาติพีน่ อ้ ง

ช่ือวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยท่ี 4 สอนคร้ังที่ 7-8 การออกแบบตกแต่งภายในห้องรับแขก (Living Room) คาบรวม 32 ชื่อเรื่อง: การออกแบบตกแต่งภายในห้องรับแขก (Living Room) คาบที่ 25-32 4.3 เคร่ืองเรือนและขนาดของเครื่องเรือนในหอ้ งรับแขก 4.3.1 เกา้ อ้ีเดี่ยว (Armchair) เก้าอเี้ ดี่ยว (Armchair) บางคร้ังเราอาจเรียกวา่ เกา้ อ้ีเทา้ แขน หมายถึงเกา้ อ้ีที่มีความหนานุ่ม นงั่ สบาย ๆ เหมาะสาหรับเป็ นเกา้ อ้ีนงั่ คุยกนั ไดน้ าน ๆ รูปร่างและขนาดของเกา้ อ้ีรับแขกน้ีจะมีขนาดใหญ่กวา่ เกา้ อ้ีปกติทว่ั ๆ ไป วสั ดุท่ีใช้ประกอบเป็ น วสั ดุท่ีทาใหเ้ กิดความนุ่มสบายตวั ขนาดของท่ีนงั่ ประมาณ 0.50x0.50x0.38, 0.40 เมตร หรือขนาด 0.55x0.55x0.38, 0.40 เมตร เกา้ อ้ีเดี่ยวน้ีมีส่วนประกอบเป็ นโครงไม้ ภายในหุ้มดว้ ยวสั ดุฟองน้าหรือฟองยางเพ่ือใหเ้ กิดความหนานุ่ม บางชนิดจะเสริมสปริง เพ่อื ใหเ้ กิดความยดื หยนุ่ มากยง่ิ ข้ึน แลว้ หุม้ ดว้ ยหนงั แท้ หรือหนงั เทียม หรือผา้ เน้ือหนา ตวั อย่าง เกา้ อ้ีเด่ียวแบบตา่ ง ๆ

ช่ือวชิ า การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน หน่วยท่ี 4 สอนคร้ังที่ 7-8 การออกแบบตกแต่งภายในห้องรับแขก (Living Room) คาบรวม 32 ช่ือเร่ือง: การออกแบบตกแต่งภายในห้องรับแขก (Living Room) คาบท่ี 25-32 4.3 เคร่ืองเรือนและขนาดของเคร่ืองเรือนในหอ้ งรับแขก 4.3.2 เกา้ อ้ียาว (Sofa) เก้าอยี้ าว (Sofa) เกา้ อ้ียาวมีลกั ษณะและคุณสมบตั ิส่วนใหญ่เหมือนกบั เกา้ อ้ีเดี่ยว แต่มีพ้ืนท่ีนง่ั เพ่ิมข้ึน 2 หรือ 3 ที่นง่ั ขนาด ของเกา้ อ้ียาวจึงเป็นเครื่องเรือนชิ้นใหญช่ ิ้นหน่ึง คือ ขนาดที่นง่ั 0.55x1.85x0.38, 0.40 เมตร ตัวอย่าง เกา้ อ้ียาวแบบต่าง ๆ