Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book หนังสือราชาศัพท์ (21-6-64)

E-book หนังสือราชาศัพท์ (21-6-64)

Published by Thalanglibrary, 2021-10-11 03:14:54

Description: E-book หนังสือราชาศัพท์ (21-6-64)

Search

Read the Text Version

ราชาศพั ท เฉลมิ พระเกียรติเนอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ พพพุททุุทธธธรศศรศากักั ากั รรชรชาาาชาชชาศ๒๒ศ๒๕ัพ๕๕พั ๖๖๖ท๒ท๒๒์ ์ เเเฉฉฉลลลิมมิมิ พพพรรระะะเเเกกกยีียียรรรตตติเิเิเนนน่ือ่ืออื่ งงงใใในนนโโโอออกกกาาาสสสมมมหหหาาามมมงงงคคคลลลพพพรรระะะรรราาาชชชพพพธิิธธิ บีบีบี รรรมมมรรราาาชชชาาาภภภเิเิเิษษษกกก พพรระะแแสสงงจจักักรร แแลละะพพรระะแแสสงงตตรรีศีศูลูล พพพรรระแสงศรกาลลงัังรราามม 2๒๒๔4๔๙๙8

ราชาศัพทเฉลมิ พระเกยี รตเิ นอื่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ รเฉรเาเรเฉลฉฉาลชิมาลลชิมพชมิิมาพรพพาาศะรรรศศะเัพะะกเพัเเกัพยีกกทียรียยีททตร์รรตเิตต์ ์นเิ เเิินอ่ืนน่ืองือ่่อื ใงงงนใใในโนนอโโโอกออกากกสาาาสมสสมหมมหหหาามาามงมมคงงคลคลพลพพรระระระราราชาชพชพพธิ ธิบีิธบีีบรรมรมมรราราชาชชาาภาภภิเษิเเิ ษษกกกพพพุททุทุธธธศศศักกักัรรราาชาชช๒๒๒๕๕๕๖๖๖๒๒๒ พพพรรระะะแแแสสสงงงดดดาาาบบบคคคาาาบบบคคคา่ ่าา่ยยย พพรระะแแสสงงดดาาบบใใจจเเพพชชรร ๒2๒๕๕4๐๐9

ราชาศพั ท เฉลมิ พระเกียรติเนอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ เฉเฉลเฉลมิ ลมิ พมิพรพระะรเกะเกเียกยี รยีรตตริเตนิเนิเือ่ นอ่ื ง่อืงใใงนนใโนโออโกอกากาสสามสมหมหาหามมางมงคคงลคลพลพพรระระระราราชาชพชพธิ ีบิธบีรมรมรารชาชาภาภเิ ษิเษกกพพุทุทธรธศรศากั าักรชราชาชาชาศ๒ศ๒๕พั ๕พั ๖ท๖๒ท๒์ ์ พพพรระระแะแสแสงสงเงเววเียวยี ดียดด พพพรระระแะแสแสงสงฟงฟฟนั ันันปปปลลลาาา 250 ๒๒๕๕๑๑

ราชาศพั ท รเเฉรเฉฉาลลาลชมิ ิมชมิ พพาพารรศระศะะเพัเกเกพั กียียทียรทรรตต์ต์เิเิ เนินนือ่ื่ออ่ื งงงใใในนนโโโอออกกกาาาสสสมมมหหหาาามมมงงคคลลพพรรเฉะะรลราาิมชชพพพริธธิ ะบีบี เกรรมมยี รรราาตชชิเนาาภภือ่ ิเเิงษษใกนกโพพอกุททุ ธธาสศศมกักั รรหาาาชชมง๒๒ค๕๕ล๖๖พ๒๒ระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ พพระแสงดาบฝกั ทองเกล้ยี ง พพระแสงกระบน่ี าคสามเศยี ร 251 ๒๕๒

หมวดท่ี ๗ พระราชนิเวศน์มณเฑียรสถาน พระบรมมหาราชวัง – วังใหญ่ของพระมหากษัตริย์ ราษฎรเรียกว่า วังหลวง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราชโปรดให้สร้างข้ึนเป็นท่ีประทับ และเป็นศูนย์การบริหารราชการแผ่นดิน เรียกว่า พระราชวังหลวง ครั้นถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ประกาศ พ ร ะ บ ร ม ร า ช โ อ ง ก า ร ส ถ า ป น า ขึ้ น เ ป็ น พ ร ะ บ ร ม ม ห า ร า ช วั ง ใ น ก า ล ต่ อ ม า แ ม้ พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย์ จ ะ มิ ไ ด้ เ ส ด็ จ ป ร ะ ทั บ พระบรมมหาราชวังก็ยังเป็นสถานท่ีประกอบการ พระราชพิธแี ละรับรองพระราชอาคันตุกะ พระราชวงั – วังของพระมหากษัตริย์ มีระดับความสาคัญ รองจากพระบรมมหาราชวัง เป็นที่ประทับของ พระมหากษัตริย์เช่นเดียวกัน วังใดท่ีจะเรียกว่า พระราชวัง ได้น้ันพระมหากษัตริย์จะทรง ประกาศพระบรมราชโองการสถ าปนาขึ้น เป็น พระราชวัง มิใช่ว่าวังใดที่จัดเป็นที่ประทับของ พระมหากษัตริย์แล้วจะเรียกว่า พระราชวัง ทั้งหมด บรรดาวังท่ีมีประกาศพระบรมราชโองการ ยกขึ้นเป็น พระราชวัง แล้วนั้นตามหลักฐาน ที่ปรากฏในประชุมพงศาวดารภาค ๒๖ เรื่อง ตานานวงั เกา่ มี ๑๙ พระราชวงั คือ สร้างในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช ๑. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า) ส ร้ า ง เ ป็ น ที่ ประทั บของพระมหาอุ ปราช กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ปัจจุบันคือบริเวณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร โรงละคร แห่งชาติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกา และท้องสนามหลวง ฝงั่ ดา้ นทศิ เหนือ 2๒5๕2๒

เฉลมิ พระเกยี รตเิ น่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก พุทธรศาักรชาาชศ๒ัพ๕๖ท๒์ เฉลมิ พระเกยี รติเนือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ ๒. พระราชวังบวรสถานพิมุข (วังหลัง) ส ร้ า ง เ ป็ น ที่ ป ร ะ ทั บ ข อ ง ก ร ม พ ร ะ ร า ช วั ง บวรสถานพิมุข อยู่ ณ ตาบลสวนล้ินจี่ ธนบุรี ปัจจบุ ันคอื บริเวณทีต่ ้งั โรงพยาบาลศิริราช สร้างในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยหู่ ัว ๑. พระราชวังนันทอุทยาน สร้างขึ้นในสวน ริมคลองมอญฝง่ั เหนือ ปจั จุบนั เป็นท่ตี ั้งหนว่ ยงาน ของกองทัพเรือ ๒. พระราชวังปทุมวัน สร้างเป็นท่ีเสด็จ ประพาสในที่ทุ่งนาบางกะปิ รมิ คลองแสนแสบฝง่ั ใต้ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงแบ่งท่ีดินพระราชทานให้สมเด็จพระเจ้า บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุน เพชรบูรณ์อินทราชัย ซึ่งทรงสร้าง วังเพชรบูรณ์ และให้สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ซ่ึงทรงสร้าง วังสระปทุม มวี ัดปทุมวนารามคน่ั กลาง ๓. พระราชวังสราญรมย์ สร้างขึ้นทางฝ่ัง ตะวนั ออก ด้านถนนสนามไชย ปจั จบุ ันส่วนท่เี ป็น พระตาหนักอยู่ในความดูแลของสานักพระราชวงั ส่วนท่ีเป็นพระราชอุทยานสราญรมย์ เป็น สวนสาธารณะอยูใ่ นความดูแลของกรงุ เทพมหานคร ๔. พระราชวังเมืองสมุทรปราการ สร้างข้ึน ตรงขา้ มกบั สถานรี ถไฟสมทุ รปราการ ปจั จบุ นั รอ้ื แล้ว ๕. พระราชวังบางปะอิน อาเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สร้างข้ึนในท่ีเดิม ท่ี ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า ป ร า ส า ท ท อ ง ท ร ง ส ร้ า ง ไ ว้ เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่า พระราชวังถูกท้ิง ร้างจนถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจา้ อยหู่ วั โปรดให้สรา้ งพระที่นง่ั ไอสวรรย์ทิพยอาสน์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ๒๕๓253

รเฉาลชิมาพศระัพเกทียร์ ตเิ นื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ เฉลิมพระเกยี รตเิ นอื่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ทรงสร้างพระที่นัง่ วโรภาษพิมาน พระที่นั่ง อุทยานภูมิเสถียร และพระที่น่ังเวหาศน์จารูญ ต่อมาเมื่อพุทธศักราช ๒๔๘๔ พระท่ีน่ังอุทยาน ภูมิเสถียรถูกไฟไหม้ พระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร โปรดให้สร้างพระที่น่ังอุทยาน ภูมิเสถียรขึ้นใหม่ และทรงบูรณะพระตาหนัก และตาหนกั ต่าง ๆ ดังปรากฏอยใู่ นปจั จบุ นั น้ี ๖. พ ร ะ ร า ช ว ัง จนั ท ร์เก ษ ม อาเภ อ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมเรียกว่า “วังจันทร์” สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่า สร้างขึ้นเป็นท่ีประทับของสมเด็จพระนเรศวร ม ห า ร า ช ข ณ ะ ยั ง ด า ร ง พ ร ะ ร า ช อิ ส ริ ย ย ศ เ ป็ น พระยุพราช ต่อมาได้เป็นที่ประทับของพระมหา อ ุป ร า ช แ ห ่ง ก ร ุง ศ ร ีอยุ ธยาอี กหลายพระ องค์ คร้ั นถึ งรั ชกาล พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ จ อ ม เ ก ล้ า เจ้าอยู่หัวโปรดใหส้ ร้างข้ึนใหม่สาหรับเป็นท่ีประทับ เวลาเสด็จประพาสกรุงเก่า พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเคยเสด็จพระราชดาเนิน ไปประทับ คร้ันสร้างพระราชวังบางปะอินแล้ว จึงพระราชทานพระราชวังจนั ทร์เกษมให้เปน็ ทว่ี ่าการ มณฑลกรุงเก่า ปัจจุบันเป็นท่ีตั้พิพิธภัณฑสถาน แหง่ ชาติ พระราชวงั จนั ทรเ์ กษม ๗. พระราชวังท้ายพิกุล เขาพระพุทธบาท อาเภอพระพุทธบาท จงั หวดั สระบุรี พระเจา้ ทรงธรรม แห่งกรุงศรีอยุธยาโปรดให้สร้างเป็นที่ประทับเมื่อ เวลาเสด็จข้ึนไปทรงนมัสการรอยพระพุทธบาท พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ สร้างตาหนักและเรอื นข้าราชบรพิ ารข้ึนในกาแพง พระราชวัง ตัวอาคารเป็นเครื่องขัดแตะถือปูน ปัจจุบนั ผุพังไปหมดแล้ว 2๒5๕๔4

เฉลเฉมิ ลพมิ รพะรเกะเียกรียตริเตนิเอ่ืนงื่อใงนใโนอโกอกาสาสมมหหาามมงงคคลลพพรระะรราาชชพพิธธิ ีบีบรรมมรราาชชาาภภิเเิษษกก พพุททุ ธธรศศกัาักรรชาาชชาศ๒๒๕พั๕๖๖ท๒๒์ ๘. พระราชวังพระนครคีรี พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้สร้างขึ้นบนยอด เขามไหสวรรย์ อาเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัด เพชรบุรี ไดม้ กี ารบูรณะเปน็ ระยะมาตั้งแตร่ ัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจนถึง รัชกาลพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้ประกาศเป็นอุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี เมือ่ พุทธศักราช ๒๕๓๒ ๙. พ ร ะ ร า ช วัง สีท า จังหวัดสระ บุรี พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ สร้างข้ึนที่ริมแม่น้าป่าสักฝ่ังตะวันตก ณ ตาบล บ้านสีทา ปัจจุบันไม่มีแล้ว เป็นพื้นที่ที่ราษฎร อยอู่ าศัย ส ร้ า ง ใ น รั ช ก า ล พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั ๑. พระราชวังดุสติ เม่ือแรกสรา้ งพระราชทาน ชื่อว่า สวนดุสิต ต่อมาจึงประกาศยกขึ้นเป็น พระราชวัง มีพระที่นั่งหลายองค์ที่สร้างขึ้นใน ร ัช ก า ล พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด ็จ พ ร ะ จ ุล จ อ ม เ ก ล ้า เจ้าอยู่หัว เช่น พระที่นั่งอัมพรสถาน ซึ่งเป็น ที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระที่น่ังอภิเศกดุสิต และพระที่นั่งอนันตสมาคม พื้นที่ของพระราชวังดุสิตมีบริเวณกว้างขวาง ครอบคลุมถึงสวนจิตรลดา ซึ่งเป็นที่ตั้งของ พระตาหนักจิตรลดารโหฐานด้วย ๒. พระราชวังพญาไท เมื่อแรกสร้าง พระราชทานชื่อว่า พระตาหนักพญาไท ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้ เป็นพระราชมณเฑียรที่ประทับ และประกาศ ยกข้ึนเป็น พระราชวังพญาไท ในรัชกาล พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว เป็น โฮเต็ลพญาไท สาหรับต้อนรับแขกเมือง 2๒๕5๕5

รเฉาลชิมาพศระัพเกทยี ร์ ติเน่อื งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ เฉลมิ พระเกยี รตเิ นอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ เป็นสโมสรโรตารี่ และเป็นที่ทาการกรมไปรษณีย์ โทรเลขตามลาดับ โดยเฉพาะได้เป็นที่ตั้งสถานี วิทยุกระจายเสียง ช่ือว่า สถานีวิทยุกรุงเทพฯ ที่พญาไท (Radio Bangkok at Phya Thai) ในสังกัด กรมไปรษณีย์โทรเลข ปัจจุบันคือโรงพยาบาล พระมงกฎุ เกลา้ ๓. พระราชวังริมน้าท่ีเมืองราชบุรี อาเภอ เมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี สร้างข้ึนทางฝ่ัง ตะวันตกของแม่น้าราชบุรี ตรงข้ามเมืองราชบุรี ปัจจุบนั เปน็ ที่ทาการสถานตี ารวจภูธรเมืองราชบุรี ๔. พระราชวังเขาสัตนาถ(๑) สร้างขึ้นบน เขาสัตนาถ อาเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี และสร้างตาหนักที่ประทับของเจ้านายท่ีตามเสด็จ บนยอดเขามอ ปัจจบุ นั เรียกวา่ เขาวงั ๕. พระราชวงั จุฑาธชุ ราชฐาน อยทู่ ่ีเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวโปรดให้สร้างพระที่นั่งองค์หนึ่งด้วย ไม้สักทอง พระราชทานนามว่า พระที่นั่งมันธาตุ รตั นโรจน์ ต่อมาโปรดใหร้ ือ้ พระที่นงั่ ไม้สักทั้งองค์นั้น มาสร้างในพระราชวังดุสิต พระราชทานนามว่า พระที่น่ังวิมานเมฆ ส่วนพระราชวังจุฑาธุชราชฐาน ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของจุฬาลงก รณ์ มหาวิทยาลัย ซึ่งได้รับการบูรณะเป็นสถานท่ี ท่องเที่ยวและเป็นท่ตี งั้ ของหนว่ ยวิจัยทางวชิ าการ ๖. พระราชวังรัตนรังสรรค์ อาเภอ เมืองระนอง จังหวัดระนอง พระยารัตนเศรษฐี (คอซมิ ก๊อง ณ ระนอง) สรา้ งเป็นพลับพลาไม้อย่าง มั่นคงบนเนินควนอัน เพ่ือรับเสด็จพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เม่ือคราวเสด็จ ประพาสหัวเมืองตะวันตก พุทธศักราช ๒๔๑๓ จึงโปรดให้สถาปนาขึ้นเป็นพระราชวัง ต่อมา (๑) อ่านว่า สัด-ตะ-หนฺ าด 2๒5๕๖6

พระราชนเิ วศน์ เฉลิมพระเกียรติเนือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก พุทธรศาักรชาาชศ๒ัพ๕๖ท๒์ เฉลิมพระเกยี รติเนอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ องค์พระท่ีน่ังชารุดทรุดโทรม จึงรื้อลงแล้วสร้างขึ้น เป็นตึก ปัจจุบันเป็นที่ทาการศาลากลางจังหวัด ระนอง ๗. พระราชวังบ้านปืน อาเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี สร้างข้ึนเพื่อเป็นที่ประทับของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในฤดูฝน เมื่อส้ินรัชกาล พระราชวังนั้นยังสร้างค้างอยู่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรด ให้สร้างต่อจนเสร็จแล้วพระราชทานนามใหม่ว่า พระรามราชนเิ วศน์ ปัจจุบันพระราชทานพระบรม ราชานุญาตให้ใช้เป็นท่ีทาการของหน่วยงาน ทหารบก สรา้ งในรัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้า เจ้าอยหู่ วั พระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ สร้างขึ้นต้ังแต่ทรงดารงพระราชอิสริยยศเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ม ง กุ ฎ เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว เสด็จพระราชดาเนินแปรพระราชฐานไปประทับ เพื่อทรงตรวจตราและบัญชาการซ้อมรบเสือป่า ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชวังสนามจันทร์บางส่วน ให้กระทรวงมหาดไทยจัดเป็นศาลากลางจังหวัด ปัจจุบันบางส่วนเป็นที่ต้ังของมหาวิทยาลัย ศลิ ปากร วิทยาเขตทับแก้ว นอกจากน้นั เป็นพ้ืนท่ี ของกระทรวงมหาดไทย – ที่ประทับของพระมหากษัตริย์ มีความสาคัญ รองลงมาจากพระราชวัง มักสร้างขึ้นไว้สาหรับ พ ร ะ ม ห า ก ษัต ริย์เ ส ด็จ พ ร ะ ร า ช ด า เ น ิน แปรพระราชฐาน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัวโปรดให้สร้างพระราชนิเวศนข์ ้นึ ในพื้นท่ี ๒๕๗ 257

รเฉาลชมิ าพศระัพเกทยี ร์ ติเนอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ เฉลมิ พระเกยี รตเิ นื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ ชายทะเลตาบลบางกรา ระหว่างหัวหินและ หาดเจ้าสาราญ พระราชทานนามว่า พระราช นิเวศน์มฤคทายวัน ในรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ ตารวจตระเวนชายแดนใช้บริเวณโดยรอบเป็น ท่ที าการค่ายพระรามหก พ ร ะ ร า ช นิ เ ว ศ น์ ที่ ส ร้ า ง ข้ึ น ใ น รั ช ก า ล พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร มีอยู่ ๓ แห่ง คอื ๑. ภาคเหนือ ภูพิงคราชนิเวศน์ จังหวัด เชียงใหม่ ๒. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภูพาน ราชนเิ วศน์ จังหวดั สกลนคร ๓. ภาคใต้ ทักษิณราชนิเวศน์ จังหวัด นราธวิ าส พระราชนิเวศน์ท้ัง ๓ แห่งนี้ โปรดให้สร้างไว้ เป็นที่ประทับแรมเม่ือเสด็จพระราชดาเนินไป ทรงเยี่ยมราษฎรในทอ้ งถ่ินตา่ ง ๆ วัง – ที่ประทับของพระบรมวงศานุวงศ์ ไม่ว่าจะเป็น ที่อยู่ของเจ้าฟ้า พระองค์เจ้า หม่อมเจ้า เรียกว่า วัง ท้ังส้ิน เช่น วังวรดิศ ที่ประทับของสมเด็จ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ วังบางขุนพรหม ที่ประทับของสมเด็จพระเจ้า บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธ์ุ กรมพระ นครสวรรค์วรพินิต ปัจจุบันเป็นธนาคาร แหง่ ประเทศไทย ปราสาท – เรือนหลวง เป็นอาคารมีหลังคายอด ปลูกสร้าง อยู่ในพระบรมมหาราชวงั หรือพระราชวัง เชน่ ๑. พระที่น่ังดุสิตมหาปราสาท เดิมเป็น ทต่ี งั้ พระที่น่ังอมรินทราภิเษกมหาปราสาท ซงึ่ สร้าง ด้วยไม้ ต่อมาถูกฟ้าผ่าไฟไหม้เสียหายท้ังองค์ จึงรอ้ื ลงแลว้ สร้างพระทนี่ ั่งดุสติ มหาปราสาท 2๒5๕๘8

พระมหามณเฑียร, เฉลมิ พระเกยี รตเิ นือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พุทธรศกัารชาชาศ๒ัพ๕๖ท๒์ พระราชมณเฑียร เฉลมิ พระเกียรติเน่อื งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ ๒. พระทน่ี ั่งสุทไธสวรรยป์ ราสาท สรา้ งใน รัชกาลพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระท่ีนั่งไม้ สร้างบนกาแพงพระบรมมหาราชวัง ด้านทศิ ตะวันออก ๓. พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท เป็น พ ลั บ พ ล า โ ถ ง อ ยู่ บ น ก า แ พ ง แ ก้ว ด้ า นทิศ ตะวันออกของพระที่น่ังดุสิตมหาปราสาท เป็นที่ เสดจ็ ข้ึนเสด็จลงพระราชยานในพระราชพิธี ๔. พระที่น่ังมหิศรปราสาท สร้างในรัชกาล พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว เปน็ พระท่ีน่ัง ชั้นเดียวขนาดเล็ก ต้ังอยู่ท่ีแนวกาแพงก้ันเขต ระหว่างสวนศิวาลัยและเขตพระราชฐานช้ันใน มีอัฒจันทร์สาหรับขึ้นลงด้านหน้า ปัจจุบันได้รับ การบรู ณะและเป็นที่ประดษิ ฐานพระพุทธรูปต่าง ๆ ๕. พระท่ีนั่งจักรีมหาปราสาท เป็นอาคาร สถาปัตยกรรมแบบยโุ รป หลังคาเป็นสถาปตั ยกรรมไทย ทรงปราสาท มี ๓ ยอด ๖. พระที่น่ังศิวาลัยมหาปราสาท สร้างใน รชั กาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต้ังอยู่ตรงมุขด้านตะวันออกเฉียงใต้ของสวนศิวาลัย ขา้ งประตรู าชสาราญ เปน็ ปราสาท ๕ ยอด – เรือนหลวงประเภทที่มีหลังคาคฤห (หลังคาจ่ัว) มีช่อฟ้า หน้าบัน พระมหามณเฑียรในพระบรม มหาราชวังที่ปลูกสร้างติดต่อเช่ือมกันเรียกว่า หมู่พระมหามณเฑียร ได้แก่ พระที่น่ังจักรพรรดิ พิมาน พระที่น่ังไพศาลทักษิณ พระที่นั่งอมรินทร วินิจฉัย พระท่ีนั่งเทพสถานพิลาส และพระท่ีนั่ง เทพอาสนพ์ ไิ ล พระมหามณเฑียร โบราณสร้างในรูปแบบ หลังคาคฤห (หลังคาจ่ัว) ในสมัยต่อมา เช่น ในรัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รูปแบบหลังคาเปลี่ยนไปตามพระราชนิยม 2๒๕5๙9

รเฉาลชิมาพศระพัเกทยี ร์ ติเนอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ เฉลิมพระเกยี รตเิ นื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ พระที่นัง่ – เรือนหลวงในพระบรมมหาราชวัง และใน พระราชวัง ไม่ว่าจะเป็นประเภทเรือนหลังคายอด ท่ีเรียกวา่ ปราสาท หรือเรือนหลงั คาคฤห (หลงั คาจ่ัว) ปลูกสร้างไว้เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ หรือสถานที่ภายในองค์ปราสาทที่ใช้สาหรับ กิจการต่าง ๆ ก็เรียกว่า พระที่นั่ง ทั้งนั้น เช่น ในหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทองค์ตะวันตก ช้ันกลาง มีพระที่น่งั สาคัญ ๆ คอื ๑. พระทน่ี ง่ั มลู สถานบรมอาสน์ ๒. พระที่นงั่ สมมติเทวราชอุปบัติ ๓. พระทนี่ ั่งดารงสวสั ดอ์ิ นญั วงศ์ ๔. พระที่นัง่ พพิ ัฒพงศถ์ าวรวจิ ติ ร ๕. พระ ที่นั่งบรมราชสถิ ตยมโหฬาร (เป็นท่ีประทับส่วนพระองค์ของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว) ๖. พระที่น่ังอมรพมิ านมณี ๗. พระทีน่ ัง่ สทุ ธาศรอี ภริ มย์ ๘. พระท่ีน่ังบรรณาคมสรณยี ์ ๙. พระท่นี ่ังราชปรีดีวโรทยั ๑๐. พระทน่ี ั่งเทพดนัยนนั ทยิ ากร พ ร ะ ที่น่ั งเห ล่านี้ปัจจุ บั น เ ห ลือเพีย ง พระ ที่น่ังมูลสถานบรมอาสน์และพระที่นั่ง สมมติเทวราชอุปบัติ ส่วนพระท่ีน่ังองค์อื่น ๆ ร้ือลงหมดแล้ว ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร โปรดให้สร้างพระท่ีนั่งขึ้นใหม่ เช่ือมต่อด้านหลังพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท มีขนาดใกล้เคียงกัน พระราชทานชื่อตามพระที่น่ัง องค์เดิมว่า พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร ด้านหลงั พระทน่ี ัง่ องค์นี้โปรดใหส้ ร้างพระท่ีนั่งโถง อีกองค์หน่ึงพระราชทานชื่อว่า พระที่น่ัง เทวารัณยสถาน ๒๖๐ 260

พระทนี่ ั่งโถง เฉลิมพระเกยี รติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภิเษก พุทธรศาักรชาาชศ๒ัพ๕๖ท๒์ พระท่นี งั่ ชุมสาย เฉลมิ พระเกยี รติเนอื่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ พระตำหนกั (๑) – พระทีน่ งั่ ที่ไมม่ ีฝา เชน่ พระทน่ี ัง่ สนามจันทร์ และ ตาหนัก พระท่ีน่ังสีตลาภิรมย์ ในพระบรมมหาราชวัง พลบั พลา พระที่นั่งสันติชัยปราการ ท่ีสวนสันติชัยปราการ พลับพลาโถง และพระทนี่ ัง่ ราชกจิ วนิ จิ ฉยั ท่ที ่าราชวรดิฐ พลบั พลาเปล้ีองเคร่อื ง – พระที่นั่งท่ีสร้างข้ึนสาหรับใช้ชั่วคราวในการ อฒั จนั ทร์ ประกอบพระราชพิธีกลางแจ้ง เช่น พระราชพิธี พระราชทานธงชยั เฉลิมพล – อาคารท่ีประทับของพระมหากษัตริย์ เช่น พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต พระตาหนักเป่ียมสุข วังไกลกังวล จังหวัด ประจวบคีรขี ันธ์ – อาคารท่ีประทับของพระราชวงศ์ช้ันสมเด็จเจ้าฟ้า ถงึ หมอ่ มเจ้า – ที่ประทับชั่วคราวของพระมหากษัตริย์ สร้างข้ึน ส า ห รั บ ง า น พิ ธี ก ล า ง แ จ้ ง ห รื อ เ ป็ น ท่ี ป ร ะ ทั บ ชัว่ คราว – พลับพลาที่ไม่มีฝา โดยปกติเป็นที่ประทับ ท อ ด พ ร ะ เ น ต ร ข บ ว น แ ห่ ห รื อ ท อ ด พ ร ะ เ น ต ร การแสดงตา่ ง ๆ – พลับพลาสาหรับพระมหากษัตริย์เปลี่ยนเครื่องทรง เช่น พลับพลาเปล้ืองเคร่ืองท่ีอยู่ด้านทิศตะวันตก ของพระทน่ี ั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง และพลับพลาเปล้ืองเคร่ืองท่ีวัดราชบพิธสถิต มหาสมี าราม และวดั บวรนิเวศวหิ าร – บันไดที่ก้าวขึ้นลงของพระที่นั่งและพระตาหนัก ถ้าเป็นบันไดของตาหนักเรียกว่า บันได อย่างคา สามัญ (๑) ปัจจบุ ันคาน้ใี ชแ้ กอ่ าคารทป่ี ระทบั ของพระราชวงศต์ งั้ แตส่ มเดจ็ พระบรมราชินนี าถถึงสมเดจ็ เจา้ ฟ้า ๒๖๑ 261

รเฉาลชิมาพศระพัเกทียร์ ติเน่อื งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ เฉลิมพระเกียรตเิ นอื่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภิเษก พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ พระทวาร – ประตูของพระที่นั่งและพระตาหนัก ประตูกาแพงแกว้ ของพระท่ีน่ังสาคญั บางองค์ เช่น ประตูกาแพงแก้ว ของพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย ด้านตะวันตก มีนามว่า พระทวารเทเวศรรักษา และด้านเหนือ มีนามว่า พระทวารเทวาภิบาล ถ้าเป็นประตู ของตาหนักเรียกวา่ ประตู อยา่ งคาสามญั พระบญั ชร – หน้าต่างของพระทนี่ ง่ั พระแกล – หนา้ ต่างของพระตาหนักและตาหนกั สีหบัญชร – หน้าต่างของพระที่นั่งที่พระมหากษัตริย์เสด็จ ออกให้ข้าราชการและประชาชนเฝ้าทูลละออง ธุลีพระบาทในโอกาสสาคัญ มีลักษณะยาวถึงพื้น มีระเบียงยื่นออกไป เช่น สีหบัญชรท่ีพระท่ีนั่ง สุทไธสวรรย์ปราสาท สีหบัญชรท่ีพระที่นั่ง อนนั ตสมาคม มุขเดจ็ – ส่วนของพระท่ีน่ังซึ่งย่ืนออกไปที่พระมหากษัตริย์ ประทับว่าราชการหรือเสด็จออกให้ข้าราชการ แ ล ะ ป ร ะ ช า ช น เ ฝ้ า ทู ล ล ะ อ อ ง ธุ ลี พ ร ะ บ า ท ในโอกาสสาคัญ เช่น มุขเด็จที่พระท่ีน่ังจักรี มหาปราสาท มุขเดจ็ ที่พระทนี่ ง่ั ดสุ ิตมหาปราสาท ห้องเคร่อื ง(๑) – ห้องประกอบอาหาร หอ้ งพระบรรทม – ห้องนอน หอ้ งแต่งพระองค์ – ห้องแตง่ ตวั หอ้ งทรงพระอักษร – ห้องเขยี นหนงั สอื ห้องทรงพระสาราญ – ห้องพกั ผอ่ น ห้องสรง – หอ้ งนา้ (๑) คาว่า เครื่อง ทปี่ ระกอบข้ึนเป็นราชาศพั ท์ แบง่ ออกเป็น ๒ ประเภท คือ – เครอื่ งอุปโภค ไดแ้ ก่ ของใชส้ อย เชน่ เครอื่ งราชูปโภค เครอ่ื งสงู เครอื่ งทรง – เครื่องบริโภค ไดแ้ ก่ ของกนิ เช่น เครอ่ื งเสวย 262

๒๖๒ หมวดท่ี ๘ พระราชพาหนะ พระราชพาหนะสาหรบั พระมหากษตั ริย์ทรงหรอื ประทับ เพอื่ เสดจ็ พระราชดาเนินไป ในการพระราชพิธี พิธี หรือทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ มีหลายประเภทดังนี้ พระราชยาน – พาหนะประเภทมีคานหาม เคลื่อนที่โดยมี เจ้าพนักงานแบกหาม ใช้ในการเสด็จพระราช ดาเนินไปในการพระราชพิธี พิธี หรือทรงปฏิบัติ พระราชกรณียกิจ และใช้ในการเชิญพระโกศ พระบรมศพ พระบรมอัฐิ พระศพ พ ร ะ อั ฐิ พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี และพระราชวงศ์ชั้นสูง พระราชยานท่ีสาคัญมีช่อื และลกั ษณะต่างกันดังน้ี ๑. พระยานมาศ ทาด้วยไม้สลักลายปิดทอง มีคานหามคู่ มีแอกทั้งหน้าหลัง มีเชือกหุ้มผ้า ผูกแอกน้ัน แล้วไปคล้องกับลูกไม้ สาหรับ ประทับราบ และมพี นกั พงิ ใช้คนหาม ๘ คน ๒. พระยานมาศสามลาคาน พระราชยาน ขนาดใหญ่ ทาดว้ ยไม้ปดิ ทอง ฐานประดับรปู เทพนม และครุฑเป็น ๒ ชั้น มีพนัก มีคานหาม ๓ คาน ใชค้ นหาม ๖๐ คน ๓. พระราชยานกง พระราชยานสาหรับ ประทับห้อยพระบาท ทาด้วยไม้สลักลายปิดทอง ฐานประดับด้วยครุฑแบก มีกงกับพนักพิง มีคาน ๒ คาน กับแอกและลูกไม้ ใช้คนหาม ๘ คน สาหรับทรงเวลาปกติ ๔. พระราชยานถม พระราชยานสาหรับ ประทับราบ ทาด้วยไม้หุ้มด้วยเงนิ ถมลงยาทาทอง มีกระจังปฏิญาณทองคาลงยาราชาวดีประดับ พระราชยานองค์น้ี เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร) สร้างถวายในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระน่ังเกลา้ เจ้าอยู่หวั 263

๒๖๓ รเฉาลชมิ าพศระัพเกทียร์ ตเิ นอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ เฉลมิ พระเกียรตเิ น่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ ๕. พระราชยานงา พระราชยานสาหรับ ประทับราบ ทาด้วยงาช้างสลักลาย พระราชยาน องค์น้ีพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ รองเสนาบดีกระทรวงวัง ผูบ้ ญั ชาการกรมพระคชบาล และผู้บัญชาการกรมช่างสิบหมู่ ทรงสร้างร่วมกับ พระยาจินดารังสรรค์ (รอด รัตนศิลปิน) ถวาย พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ จุ ล จ อ ม เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว เมื่อพทุ ธศกั ราช ๒๔๓๒ ๖. พระราชยานพุดตานถม พระราชยาน สาหรับประทับห้อยพระบาท ทาด้วยไม้หุ้มเงิน สลักลายพุดตานถมลงยาทาทอง เดิมสร้างข้ึน สาหรับเป็นพระราชอาสน์ประจาพระท่ีนั่งจักรี มหาปราสาทและใชเ้ ปน็ พระราชยานได้ จึงมีหว่ งและ คานสาหรับหาม พระที่น่ังราชยานองค์นี้สร้างใน รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระยาเพชรพชิ ยั (จีน) เป็นผู้สรา้ งถวาย ๗. พระราชยานทองลงยา พระราชยาน สาหรับประทับห้อยพระบาท พระรัตนโกษา บุตรพระยาเพชรพิชัย (จีน) ผู้สร้างพระราชยาน พุดตานถม เป็นผู้สร้างถวายพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ๘. พระราชยานพุดตานทอง พระราชยาน สาหรับประทับห้อยพระบาท ทาด้วยไม้สลักลาย หุ้มทอง ฐานประดับด้วยเทพนมและครุฑแบก ๒ ชั้น เดิมสร้างขึ้นสาหรับเป็นพระราชอาสน์ เรียกว่า พระที่น่ังพุดตานทอง เมื่อทอดเหนือ พระราชบัลลงั กภ์ ายใต้พระนพปฎลมหาเศวตฉัตร เรียกว่า พระท่ีนั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์ ใช้เป็นที่ประทับเมื่อพระมหากษัตริย์เสด็จออก ในงานพระราชพิธีใหญ่ ๆ เช่น พระราชพิธี บรมราชาภิเษก และรัฐพิธเี ปิดสมยั ประชุมรฐั สภา 264

เฉลิมพระเกียรติเนอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภิเษก พุทธรศาักรชาาชศ๒ัพ๕๖ท๒์ เฉลิมพระเกยี รติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ เมื่อใช้เปน็ พระราชยาน จงึ มหี ว่ งและคานสาหรับหาม เรียกว่า พระราชยานพุดตานทอง ใช้ในการ เสด็จพระราชดาเนินโดยขบวนพยุหยาตราทาง สถลมารค ๙. พระราเชนทรยาน พระราชยานที่มี บษุ บก ใช้คนหาม ๕๖ คน เป็นทปี่ ระทับเม่ือเสด็จ พระราชดาเนินโดยขบวนพระราชอิสริยยศใน พระราชพิธีสาคัญ เช่น การเสด็จพระราชดาเนิน เลียบพระนคร เนื่องในงานพระราชพิธีบรม ราชาภิเษก การเชิญพระโกศพระบรมอัฐิ พระอัฐิ จาก พระ เม รุ ม า ศ ท้ องสนามหล ว ง เ ข้ า สู่ พระบรมมหาราชวัง ราชรถ – พาหนะประเภทมีล้อ เคลื่อนท่ีโดยมีเจ้าพนักงาน ฉุดชัก ราชรถทีส่ าคัญมชี ื่อและลักษณะต่างกันดงั น้ี ๑. พระมหาพิชัยราชรถ เป็นราชรถที่ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้สร้างขึ้นในพุทธศักราช ๒๓๓๘ เพ่ือใช้เชิญ พระโกศพระบรมอัฐิสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก ออกถวายพระเพลิง ณ พระเมรุมาศท้องสนามหลวง ในพุทธศักราช ๒๓๓๙ เป็นคร้ังแรก จากน้ันจึงถือ เป็นราชประเพณที จ่ี ะนาราชรถองคน์ ้ีเป็นราชรถเชิญ พระโกศพระบรมศพพระมหากษัตริย์ พระศพ สมเด็จพระอัครมเหสี หรือโปรดให้เชิญพระโกศ พระศพพระบรมวงศ์ผู้ทรงศักดิ์ชั้นสมเด็จเจ้าฟ้า บางพระองคใ์ นสมัยต่อ ๆ มา ภายหลังการเชิญพระโกศพระบรมศพ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ จุ ล จ อ ม เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว ในพุทธศักราช ๒๔๕๓ พระมหาพิชัยราชรถชารดุ มิได้เชิญออกอีกเลย ต้องใช้พระเวชยันตราชรถ เชิญพระโกศพระบรมศพแทน ในรัชสมัย พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ม ง กุ ฎ เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว ๒2๖6๕5

รเฉาลชิมาพศระัพเกทยี ร์ ติเนือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ เฉลิมพระเกยี รตเิ น่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ได้บูรณปฏิสังขรณ์ด้วยการเพ่ิมล้ออีก ๑ ล้อ เพื่ อ ให้ รั บ น้ าห นั ก ไ ด ้ด ีขึ น แ ล ะ ส ะ ด ว ก ใ น ก า ร เคล่ือนย้าย รวมทังซ่อมส่วนที่ช้ารุดทั่วไปให้ สมบูรณ์สวยงาม พระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โ ป ร ด ก ร ะ ห ม่ อ ม ใ ห้ ใ ช้ พ ร ะ ม ห า พิ ชั ย ร า ช ร ถ เชิญพระโกศพระบรมศพและพระศพ เพื่อเป็น การถวายพระเกียรติยศสูงสุด ในพระราชพิธี ถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนี พุทธศักราช ๒๕๓๙ พระราชพิธี พระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร์ พุทธศักราช ๒๕๕๑ และพระราชพิธี พระราชทานเพลิงพระศพสมเด็ จเจ้ า ฟ้า เพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี พุทธศักราช ๒๕๕๕ ครังล่าสุดได้ใช้พระมหาพิชัยราชรถนี ใ น พ ร ะ ร า ช พิ ธี ถ ว า ย พ ร ะ เ พ ลิ ง พ ร ะ บ ร ม ศ พ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พุทธศักราช ๒๕๖๐ 2๒6๖๖6

ราชาศัพท์ ราชาศัพทเฉลิมพระเกยี รตเิ น่อื งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ ราชาศพั ท์ เฉลิมพระเกยี รติเนอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ เฉลมิ พระเกียรตเิ นือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ พระพทรน่ีะท่ังอ่ีนัฐ่งอทัฐิศทอิศุทอุมุทพมุ รพรรารชาอชาอสาสนน์ ก์ กาางงกก้นั นั้ ดด้ว้วยพระะบบววรรเเศศววตตฉฉตั ัตรรในในพพระรทะี่นทง่ั่นี ไั่งพไศพาศลาทลักทษักิณษณิ 2๒๒๖6๖๘7๘

ราชาศัพท ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติเน่อื งในโอกาสมหามงคลพเรฉะลริมาชพพรธิะีบเกรยีมรรตาชิเนาภอ่ื เิงษในกโอพกุทาธสศมักหราามชง๒ค๕ล๖พ๒ระราชพิธบี รมราชาภิเษก พรทุ ธาศชัการาศชพั ๒ท๕์๖๒ เฉลมิ พระเกียรติเนอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ พรเคพะรทรเค่อืะนี่ รงทั่งอื่รน่ี ภงาั่งรชทั ภาปูรชทั บโูปรภิฐบโคภฐิกคพากงรพากะงรั้นกแะ้ันดสแดว้สงรยว้งารปยพาชปพรรชศระระศะัสะดนสัดนติษพติษพรฐปรฐาปาาาฎวนฎวนุธลธุลณมณแมแหลหลพพาะาะเรเพรพศศะะรรววททะะตตนี่น่ีแแฉฉ่ังง่ัสสตัตั ไไงงพรพรออศศัเษัเษปาปาฎฎล็นล็นาทาททวทวกั่ีปุธักป่ีุธษรษใระิณในะณินทพทพบั รับรระรบัะรบัราเคชาเครชพอื่รพิธอ่ืงบีิธสงบีริรสมริริรรามิราชราชกาชากชกภุธากเิภภษุธณัิเภกษฑัณก์ ฑ์ 268

ราชาศัพท์ ราชาศัพทเฉลิมพระเกยี รตเิ นอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ เฉลิมพระเกยี รตเิ นอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ราชาศพั ท์ เฉลิมพระเกียรตเิ น่อื งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ พรพะรทะี่นทั่งี่นบั่งุษบบุษกบมกามลาาลมามหหาาจจกั กั รรพพรรรรดดิพิพิมิมาาน ภายในท้องงพพรระะโโรรงงพพรระะทท่นี ี่นงั อ่งั อมมรนิรทินรทวรนิ วจินฉจิ ัยฉัย ดด้านา้ นหหนน้า้าปปรระะดดิษิษฐฐานพระแท่นมมหหาาเเศศววตตฉฉตั ัตรร 269

ราชาศัพท ราชาศพั ท์ เฉลิมพระเกยี รติเนือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภิเษก พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ เฉลมิ พระเกยี รติเน่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ราชาศพั ท์ เฉลิมพระเกยี รติเนอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ พพระรแะแททน่ ่นรราาชชบบลั ลั ลลังังกกป์ ป์ รระะดบั มุก กางก้นั ดด้วว้ ยยพพรระะนนพพปปฎฎลลมมหหาเาศเศวตวฉตตัฉรตั ร ใในนพพรระทน่ี ัง่ ดุสิตมหาาปปรราาสสาาทท 270

ราชาศพั ทเฉลิมพระเกียรตเิ นื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ ราชาศพั ท์ เฉลิมพระเกยี รตเิ นือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภิเษก พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ ราชาศัพท์ เฉลมิ พระเกยี รตเิ นือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ พพรระะททน่ี ีน่ ่ัง่ังพุดตานทอองง 271

ราชาศพั ท ราชาศพั ท์ เฉลมิ พระเกียรติเน่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ เฉลมิ พระเกยี รติเน่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ราชาศพั ท์ เฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ พพรระะททนี่ น่ี ั่งั่งพพุดุดตานถมในพระททน่ี ่นี ่ัง่ังจจักักรรีมีมหหาาปปรราาสสาทาท 2๒7๗๓2

ราชาศัพทรเเรฉฉาาลลชิมชมิเรรฉพพาาาาลรรศชชมิศะะพเาาพัเัพกกรศศยีะยีททเรัพพัรกต์ตีย์ เททิ เิรนนต์์อ่ื อ่ืเิ งนงใใื่อนนงโใโอนอกโกอาาสกสามมสหหมาาหมมางมงคคงลคลพลพรพระเระฉระรลาราชมิาชพชพพพธิรธิีบะิธีบเีบรกรรมยีมมรรรราตาาชชเิชานาาภื่อภภิเงเิษิเใษษนกกกโพอพพกุททุ ุทาธธสธศศมศกักั หักรราาารชมชางช๒๒ค๕๒ล๕๖พ๕๖๒ร๖๒ะ๒ราชพิธีบรมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ เฉลิมพระเกยี รตเิ น่อื งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ พพพรรระะะรรราาาชชชยยยาาานนนถถถมมมหหรรืออื พพรระะเสเสลลยี่ยี่ยงงถงถมถมม พระราชยานถมหรอื พระเสลย่ี งถม พระราชยานงาหรือพระเสลย่ี งงา พพพรรระะรราาชชยยาานนงงงาาาหหหรรรือือือพพพรรระะะเเสสเสลลลี่ย่ีย่ียงงงงางาา 2๒7๗3๔

เฉลมิ พระเกียรติเน่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภิเษก พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ ราชาศพั ทเฉลมิ พระเกยี รติเนอ่ื งในโอกาสมหามงคลพรเะฉรลามิชพพริธะีบเรกมียรราตชิเานภ่ือิเงษในกโอพกทุ าธสศมกั หราามชงค๒ล๕พ๖ร๒ะราชพิธบี รมราชาภเิ ษก ราชาศัพท์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ราชาศพั ท์ เฉลิมพระเกียรติเนอื่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ พระราเชนทรยาน พระราเชนทรยาน พระราเชนทรยาน พระราเชนทรยาน พระยานมาศสามลาคาน พพรระะยยาานนมม๒าาศ๗ศส๕ามลาคคาานน พระยาน2ม๒๒า7๗๗ศ๕๕4สามลาคาน ๒๗๕

ราชาศัพท เรรเฉเรฉรเฉาาลฉลาลาชมิลชิมชิมชมิพพาพาาพรราศรศะรศะะศเะเพัพัเกกัพเกัพกียียทียทียทรรทรตรต์ต์์ตเิ์เิเินนเินนือ่่ือือ่ อ่ืงงงใงใในในนนโโโอโอออกกกกาาาาสสสสมมมมหหหหาาาามมมมงงงงคคคคลลลลพพพพเรรรฉระะะะลรรรริมาาาาชชชพชพพพพรธิธิะิธธิ ีบีบเบีบี กรรรรยีมมมรรรรตาาาชชชเิ นาาาภ่ือภภงิเิเิเษษใษนกกกโพอพพุทกุททุ ธาธธสศศศักมักกั รหรราาาาชชชม๒ง๒๒ค๕๕๕ล๖๖๖พ๒๒๒ระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ พพพรรระะะมมมหหหาาาพพพิชิชชิชยัยัยัยั รรรราาาาชชชชรรรรถถถถ พพพรรระะะเเเวววชชชยยยนันัันตตตรรราาาชชชรรรถถถ 2๒๒๒7๗๗๗๖5๖๖

ราชาศพั ท เฉลมิ พระเกยี รติเน่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ รารชาชาศาศัพัพทท์ ์ เเฉฉลลิมมิ พพรระะเกเกยี ียรรตติเนิเน่อื ือ่ งงในในโอโอกกาาสสมมหหามามงคงคลลพพระรระารชาพชพธิ บีธิ ีบรมรรมารชาาชภาเิภษเิ กษกพทุพธุทศธกั ศรัการชาช๒๕๒๖๕๒๖๒ รราาชชรรถถนน้ออ้ ยย 276

ราชาศพั ทเเรรฉฉรเาาฉลลาลชชมิมิ ชิมพพาาพารรศศระะศะเเัพพักกเพักยีียททยี รรทรตต์์ต์เเิิ เินนนออื่่ื ือ่ งงงใใในนนโโโอออกกกาาาสสสมมมหหหาาามมมงงคคลลพพเรรฉะะลรรมิาาชชพพพริธะิธีบเีบกรรียมมรรรตาาชชิเนาา่อืภภงเิิเษใษษนกกกโพอพพกทุ ททุุ ธาธธสศศศักมักกั รหรราาาาชชชม๒ง๒๒ค๕๕๕ล๖๖๖พ๒๒๒ระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ เเเรรรืออืือพพพรรระะะททท่ีนี่นี่น่งังั่ัง่ สสสุพุุพพรรรรรรณณณหหหงงงสสส์ ์์ เเเรรรืออืือพพพรรระะะทททน่ีนี่่นี ั่ง่ัง่ังนนนาาารรราาายยยณณณ์ท์ท์ทรรรงงงสสสบุ ุบุบรรรรรรณณณรรรัชัชัชกกกาาาลลลททท่ี ี่ี่ 999 2๒๒๒7๗๗๗๘7๘๘

ราชาศพั ท เฉลมิ พระเกียรติเนอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภิเษก พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ เฉเเฉฉเลฉลลิมลิมิมพมิพพรพรระะระเะเกเกกเียกยี ียรียรรตตรติเติเนิเนิเน่อืนือ่ ือ่ง่อืงงใใงนในในโนโอโอโอกอกกากาาสาสสมสมมมหหหหาาามามมมงงงคคงคคลลลลพพพพรรรระะะะรรรราาาาชชชชพพพพธิิธิธธิีบบี ีบีบรรรรมมมมรรรราาาชาชชชาาาภาภภภิเิเษิเษเิษษกกกกพพพพทุทุ ทุ ุทธรธรธศรธศราศราักศากั ากัชราักชรชรชาราาชาชาาชาชาศชาศ๒ศศ๒๒พัศ๒๕พั ๕ัพ๕ัพ๕ัพ๖ท๖๖ทท๖๒ท๒์๒ท์๒์์ ์ เฉลมิ พระเกยี รติเนอื่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ เเรเเรเรรอืรือืออื พอื พพพพรรรระระะะทะทททท่ีนน่ีน่ี่นี ่ีนั่งั่งงั่่ังอง่ัออออนนนนนนันัันนั นั ตตตตนนนนาาาาคคคครรรราาาาชชชช โโขโขนโโนขขเนรเนรอืเเอืรรพอืพอื รพพระะรรทะทะีน่ททน่ี ั่งี่น่ีนั่งสัง่สั่งุพสสพุ รุพุพรรรรรณรรณณณหหหงหงสงงส์สส์ ์ ์ โโขโโขโขขนขนนนเนเรเเรเรรอืรืออืือพือพพพพรรรระระะะทะทรททรรทรีน่ัชรี่นัช่ีน่ีนชัชัน่ีัชงักง่ักงั่กัง่กนง่ักนานานาานาลาาลาลาลราลทรรททรทารทาาี่า่ี่ียาี่ย9ย9ี่9ย9ยณ9ณณณณ์ทท์์ทท์์ทรรรรรงงงงงสสสสสบุุบบุ ุบุบรรรรรรรรรณณณณณ โโโขโโขขขขนนนนนเเเรเรเรรรือือือือือพพพพพรรรระระะะะททททท่ีนี่นี่นี่นี่น่ังง่ัั่งั่งอั่งอออนอนนันนนัันตนั ตตนตนนานาาคาคครครราาราชชาชช 278 ๒๒๗๗๙๙

เฉลิมพระเกียรตเิ นือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พทุ ธรศากั ชราาชศ๒พั ๕ท๖๒์ เฉลิมพระเกียรติเนือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ ๒. พระเวชยันตราชรถ เป็นราชรถท่ีสร้างขึ้น ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช ราวพุทธศักราช ๒๓๔๒ สาหรับใช้เชิญ พระศพพระบรมวงศ์ซึ่งทรงศักดิ์สูงช้ันสมเด็จเจ้าฟ้า เป็นราชรถซึ่งมีรูปทรงและขนาดใกล้เคียงกับ พระมหาพิชัยราชรถ ต่างกันแต่ลักษณะลวดลาย ท่ีจาหลักและตกแต่งที่องค์ราชรถเท่าน้ัน ต่อมา พระเวชยันตราชรถ ได้ใช้เป็นราชรถ เชิญ พระบรมศพพระมหากษัตริย์ และพระศพสมเด็จ พระ อัครมเหสีแ ทนพระ มหาพิชัยราชรถ เร่ิมแต่ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว เน่ืองจากพระมหาพิชัยราชรถนั้น ชารุดทรดุ โทรมมากจนเคล่อื นออกจากทไ่ี มไ่ ด้แล้ว ส่ ว น พ ร ะ เ ว ช ยั น ต ร า ช ร ถ อ ยู่ ใ น ส ภ า พ ดี ก ว่ า เน่ืองจากได้รับการซ่อมบูรณะเพ่ือใช้งานบ่อยครั้งกว่า ใ น ว า ร ะ เ ช่ น น้ั น ท ร ง พ ร ะ ก รุ ณ า โ ป ร ด เ ก ล้ า โปรดกระหม่อมให้ออกนามพระเวชยันตราชรถ วา่ พระมหาพชิ ัยราชรถ ๓. ราชรถน้อย เป็นราชรถทสี่ ร้างในรัชสมัย พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช ประมาณพุทธศักราช ๒๓๓๘ เพื่อใช้เป็นราชรถ พระนาสาหรับสมเด็จพระสังฆราชประทับอ่าน พ ร ะ อ ภิ ธ ร ร ม น า พ ร ะ โ ก ศ พ ร ะ บ ร ม อั ฐิ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ฐ ม บ ร ม ม ห า ช น ก อ อ ก ถ ว า ย พ ร ะ เ พ ลิ ง ณ พระเมรุมาศท้องสนามหลวง เมื่อพุทธศักราช ๒๓๓๙ ในรัชกาลต่อ ๆ มาทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อมให้ใชใ้ นการอ่ืนด้วย เช่น เชิญพระชัย (หลังช้าง) โดยขบวนพระราชอิสริยยศในพระราชพิธี สมโภชกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ครบ ๒๐๐ ปี ๔. ราชรถปนื ใหญ่ เดมิ เรียกวา่ ราชรถรางปืน เป็นราชรถท่ีเชญิ พระโกศพระบรมศพและพระศพ ของพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศ์ท่ีทรงรับ ๒๗๙ 279

รเฉาลชิมาพศระพั เกทยี ร์ ตเิ น่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ เฉลิมพระเกียรตเิ นือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ ราชการทหารเมื่อครั้งดารงพระชนมชีพ โดยใช้ใน ขบวนพระบรมราชอิสริยยศเวียนอุตราวัฏรอบ พระเมรุมาศ ๓ รอบ ก่อนเชิญพระโกศพระบรมศพ ข้ึนสู่พระเมรุมาศ แทนพระยานมาศสามลาคาน ตามธรรมเนียมเดิม ใช้คร้ังแรกในรัชสมัยของ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ม ง กุ ฎ เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว เ มื่ อ พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๔ ๕ ๖ ใ น ง า น พ ร ะ ศ พ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรสี ุรเดช พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดสร้างราชรถปืนใหญ่ ขึ้นใหม่ ในการอัญเชิญพระโกศพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เวียนพระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง ในร้ิวขบวนพระบรมราชอิสริยยศ ร้ิวท่ี ๓ และโปรดให้ทหารมหาดเล็กราชวัลลภ รักษาพระองค์เป็นผู้ฉุดชักราชรถตามธรรมเนียม โบราณ เรือพระทน่ี ่ัง – ยานพาหนะทางนา้ ใช้ในการเสด็จพระราชดาเนิน โดยขบวนเรือ ไม่ว่าจะโดยขบวนพยุหยาตราทาง ชลมารคหรือขบวนปกติ เรือลาที่ทรงแต่โบราณ เรียกว่า เรือต้น ต่อมาเรียกเรือลาที่ทรงว่า เรือพระท่นี ัง่ เรือพระท่นี ั่ง(๑) มี ๔ ประเภท คอื ๑. เรือพระที่นั่งกิ่ง มีโขนเรือสูงข้ึนไป สร้างด้วยไม้สลักลาย พ้ืนสี ปิดทอง ทอดบัลลังก์ บุษบก(๒)หรือบัลลังก์กัญญา(๓) ในสมัยรัตนโกสินทร์ มี ๓ ลา คอื (๑) ขนาดเรือ และจานวนคนประจาเรือ ใช้ตามหนังสือกระบวนพยุหยาตรา ของกองทัพเรือ พิมพ์เม่ือพุทธศักราช ๒๕๓๙ (๒) ที่ประทับซง่ึ มีลักษณะเปน็ รปู บุษบกหรือเรือนยอด ฐานมีส่เี สาผกู มา่ นตาดเปิดรวบมัดไวท้ ีเ่ สา (๓) ที่ประทับซึง่ หลังคาเป็นรปู ประทุนทรงค่มุ มมี า่ นทอง ๒2๘8๐0

เฉลมิ พระเกยี รติเนอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พทุ ธรศากั ชราาชศ๒ัพ๕๖ท๒์ เฉลิมพระเกียรติเน่อื งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ๑.๑ เรือพระท่ีน่ังสุพรรณหงส์ สร้างใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช พระราชทานนามว่า ศรีสุพรรณหงส์ ต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว โปรดให้สร้างลาใหม่ข้ึนแทนลาเดิม ที่ชารุด พระราชทานนามว่า สุพรรณหงส์ โขนเรือ สลกั เป็นรปู หงส์ พ้นื สดี า ตัวเรอื กวา้ ง ๓.๑๗ เมตร ยาว ๔๖.๑๕ เมตร กินน้าลึก ๐.๙๔ เมตร ฝีพาย ๕๐ นาย พันท้าย ๒ นาย ๑.๒ เรือพระทน่ี ่ังอนันตนาคราช สร้างใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โขนเรอื เปน็ รปู นาค ๗ เศียร พนื้ สเี ขียว ตัวเรือกว้าง ๒.๕๘ เมตร ยาว ๔๔.๘๕ เมตร กินน้าลกึ ๐.๘๗ เมตร ฝพี าย ๕๔ นาย พนั ท้าย ๒ นาย ๑.๓ เรือพระที่น่ังนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลท่ี ๙ สร้างในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร โขนเรือจาหลักเป็นรูปพระนารายณ์ ทรงยืนบนหลังพญาครุฑตามแบบเรือนารายณ์ ทรงสุบรรณในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอย่หู วั ตัวเรือกวา้ ง ๓.๒๐ เมตร ยาว ๔๔.๓๐ เมตร กินน้าลึก ๑.๑๐ เมตร ฝีพาย ๕๐ นาย พันท้าย ๒ นาย ๒. เรือพระที่นั่งเอกชัย สร้างด้วยไม้สลักลาย พื้นสี ปิดทอง ทอดบัลลังก์บุษบกหรือบัลลังก์ กัญญา เช่น เรือพระที่นั่งประภัสสรชัย สร้างใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช พื้นสีดา ตัวเรือกว้าง ๒.๕๓ เมตร ยาว ๓๖.๙๕ เมตร กินน้าลึก ๐.๓๗ เมตร ฝีพาย ๔๓ นาย พันท้าย ๒ นาย ๒๘๑ 281

รเฉาลชมิ าพศระพัเกทียร์ ตเิ นือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภิเษก พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ เฉลมิ พระเกยี รตเิ นือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ ๓. เรือพระท่ีนั่งศรี สร้างด้วยไม้สลักลาย พื้นสี ปดิ ทอง ทอดบลั ลงั ก์กญั ญา เชน่ ๓.๑ เรือพระที่น่ังทวยเทพถวายกร สร้างในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เ จ้ า อ ยู่ หั ว พื้ น สี แ ส ด กว้าง ๒.๒๔ เมตร ยาว ๓๔.๖๕ เมตร กินน้าลึก ๐.๓๐ เมตร ฝีพาย ๔๘ นาย พันท้าย ๒ นาย ๓.๒ เรือพระที่น่ังอเนกชาติภุชงค์ แรกสร้างในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว และสร้างสาเร็จในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ้ืนสีชมพู ตัวเรือสลัก เป็นลายนาค ลาเรือกวา้ ง ๒.๙๑ เมตร ยาว ๔๕.๖๗ เมตร กินน้าลึก ๐.๙๑ เมตร ฝีพาย ๖๑ นาย พันท้าย ๒ นาย ๔. เรือพระที่นั่งกราบ เป็นเรือพระที่น่ัง ขนาดเล็ก ใช้ตามเสด็จไปพร้อมกับเรือพระที่น่ังศรี สาหรับถ่ายลาประทับเพื่อเสด็จพระราชดาเนิน เข้าคลองเล็กคลองน้อยได้สะดวก สร้างด้วยไม้ ตวั เรือทานา้ มัน นอกจากเรือพระที่นั่งท้ัง ๔ ประเภทแล้ว ยังมีเรืออีกประเภทหนึ่ง เรียกว่า เรือกัญญา เ ป็ น เ รื อ ป ร ะ ทุ น ส า ห รั บ พ ร ะ ภิ ก ษุ ห รื อ ฝ่ า ย ใ น โดยสาร หลังคากัญญา (กัญญาเรือ คือ ส่วนท่ีตั้ง อยู่กลางลาเรือสาหรับน่ัง มีพื้น พนัก เสา ม่าน และหลังคา ของเหล่าน้ีรวมเรียกว่า กัญญา) ส่วนกลางโค้งขึ้นไปด้านหน้าคุ่มต่าลง เป็นลักษณะ เพรยี วลม ทาให้เรือไมต่ อ้ งถกู ลมปะทะมากนัก รถไฟพระทนี่ ง่ั , รถยนตพ์ ระที่นงั่ , – ย า น พ า ห น ะ สา ห รั บ พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย์ เรือยนตพ์ ระทีน่ ัง่ , สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี เครื่องบนิ พระทน่ี งั่ , สมเดจ็ พระบรมราชชนก สมเด็จพระบรมราชชนนี เฮลคิ อปเตอรพ์ ระที่น่ัง สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า 2๒8๘๒2

เฉลิมพระเกยี รติเน่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธรศากั ชราาชศ๒พั ๕๖ท๒์ เฉลิมพระเกยี รติเนอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราช กุมารี และพระราชวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้าฟ้า รถยนต์ทน่ี ง่ั , เรอื ยนตท์ ่นี ัง่ , – ยานพาหนะสาหรบั พระองคเ์ จา้ เคร่ืองบนิ ท่ีนั่ง, เฮลคิ อปเตอรท์ นี่ ง่ั รถยนตพ์ ระประเทียบ, – ยานพาหนะสาหรับสมเด็จพระสังฆราชและ เรือยนตพ์ ระประเทียบ ห ม่ อ ม เ จ้ า ที่ พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย์ ท ร ง พ ร ะ ก รุ ณ า โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้เป็นผู้แทนพระองค์ หรือใช้เชิญพระพุทธรปู สาคญั รถยนตป์ ระเทียบ, – ยานพาหนะสาหรบั ผูท้ ่พี ระมหากษตั รยิ ์ทรงพระกรุณา เรอื ยนตป์ ระเทียบ โปรดเกล้าโปรดกระหมอ่ มใหเ้ ป็นผ้แู ทนพระองค์ รถยนต์หลวง – ยานพาหนะสาหรับหม่อมเจ้า และข้าราชการชั้น ผู้ใหญ่ทไ่ี ปปฏบิ ตั ิหน้าท่ีเป็นผู้แทนพระองคส์ มเด็จ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี และ พระบรมวงศานุวงศ์ ๒๘๓ 283

ตัวอยา่ งหมายรับส่งั 2๒8๘4๔

๒๘2๕85

๒๘๖ 286

๒๘๗ 287

๒๘๘ 288

-๔- ๒๘๙ 289

ตัวอย่างหมายกาหนดการ ๒๙๐ 290

ตวั อยา่ งกาหนดการ ๒๙๑ 291

บทท่ี ๓ การเขียนหนงั สอื กราบบงั คบทมทที่ ลู๓พระกรุณา กราบบงั คมทลู กกราารบเขทยี ลู นหแนลังะสทอื กูลราแบลบะงั กคามรทกลู รพารบะกบรังณุ คามกทรลูาบพบรังะคกมรทุณลู า ใกนกรปราจั าบจกุบบทรนั าูลบมบีขงัแบอ้ คลมังมะูลคททมทพ่ีลู ทูลึงทูลแรกลากบะรรใกาานาบบเบรทท้อืกลูงรลูตาน้แบแลแบลละังะทะคหลูทมลดักูลทป้วลูดฏยพิบว้วัตรายิะจดวกงัาาตรอ่ณุจไปาาน้ี ในปัจจุบันมีขอ้ มูลทพ่ี ึงทราบในเบอ้ื งต้น และหลักปฏบิ ัติ ดงั ต่อไปนี้ 29๒2๙๒

293

294

๒2๙9๕5

2๒9๙6๖

๒2๙9๗7


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook