Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ติดเกาะกับตึกเก่า: หนังสือคู่มือท่องเที่ยวเกาะรัตนโกสินทร์

ติดเกาะกับตึกเก่า: หนังสือคู่มือท่องเที่ยวเกาะรัตนโกสินทร์

Published by Thalanglibrary, 2021-10-27 03:00:37

Description: หนังสือ "ติดเก่ากับตึกเก่า" เป็นคู่มือท่องเที่ยวแหล่งเรียนรู้ทางด้านสถาปัตยกรรมในเขตเกาะรัตนโกสินทร์ ทั้งสถาปัตยกรรมแนวไทยประเพณี (วัดและวัง) สถาปัตยกรรมแบบฝรั่งมากมายที่เป็นทั้งโรงเรียน กระทรวงต่างๆ ไปรษณีย์ สุสาน ฯลฯ สถาปัตยกรรมแนวโมเดิร์น สถาปัตยกรรมยุคสงครามเย็น และสถาปัตยกรรมยุคร่วมสมัย มากกว่า 150 อาคารที่มีประวัติความเป็นมาและเรื่องราวที่แสดงถึงความเปลี่ยนแปลงในสังคมไทย

Search

Read the Text Version

K04 สสุ านญปี่ ุ่น K06 Japanese Mausoleum: Located หลายคนคงแปลกใจว่ามีสถาปัตยกรรมจากแดนอาทิตย์อุทัยตั้งอยู่ inside Wat Ratcha Burana near ภายในเกาะรัตนโกสนิ ทรด์ ้วยหรอื ? Memorial Bridge, it was built in 1932 in a similar design as Kyoto’s สสุ านญ่ปี นุ่ แห่งน้ี ซ่อนตวั อย่เู งียบมากภายในวัดราชบรู ณะ (วัด Kinkaku-ji Temple. It is used to keep เลยี บ วดั เกา่ แกท่ ส่ี ร้างมาตงั้ แตส่ มยั อยุธยาแล้ว) โดยใช้เก็บกระดูกชาว ashes of Japanese expats who ญป่ี ุน่ ทอี่ าศัยอยใู่ นสยาม came to work in Siam in the late 19th century until today. ชาวญีป่ ุน่ เดนิ ทางเข้ามาทำ�งานในสยามตงั้ แตร่ ชั กาลท่ี ๕ แล้ว A Japanese monk resides here บา้ งเป็นขา้ ราชการ เปน็ ชาวนาอพยพ เปน็ พ่อค้า พนกั งานธนาคาร to perform religious ceremonies. ชา่ งภาพ หมอ หมอฟัน แต่ที่มีจ�ำ นวนเยอะท่สี ุดก็เห็นจะเปน็ “คารายกุ ิ During World War II, Wat Ratcha ซัง” หรอื หญงิ โสเภณีที่ประกอบวชิ าชีพในตา่ งแดน Burana was destroyed by a bomb, ในปี ๒๔๖๒ (รัชกาลที่ ๖) มีคนญป่ี นุ่ อาศัยในกรุงเทพฯ มากถึง ๒๓๔ คน but miraculously the building หอเก็บกระดูกน้ี แรกสร้างขึ้นในปี ๒๔๗๕ จนอีก ๓ ปีตอ่ มาจึงได้ remained intact. สรา้ งเปน็ อาคารคอนกรีต ๓ ช้ัน เลียนแบบวดั คงิ กากจู ิ ทเ่ี มอื งเคยี วโตะ (เกียวโต) ปัจจบุ ันยงั คงมีพระญ่ีปนุ่ ดูแลสุสานอยู่ และภายในยงั คงเก็บสมุด บนั ทกึ รายชอ่ื ผเู้ สียชวี ติ เอาไว้ดว้ ย เร่ืองเล่าชาวเกาะ เนื่องจากท�ำ เลของวัดเลยี บตง้ั อย่ตู ดิ กบั โรงไฟฟา้ ท่ตี ีนสะพานพุทธ ซ่ึงเป็นจุดยุทธ- ศาสตรส์ �ำ คัญในการทง้ิ ระเบิดทางอากาศของฝา่ ยสัมพนั ธมติ รในสงครามโลกครงั้ ที่ ๒ แต่หอเกบ็ กระดกู ชาวญ่ปี ุน่ แห่งน้ีกลบั รอดพ้นระเบดิ มาได้อย่างน่าเหลือเชื่อ ดว้ ยส่งิ ก่อสรา้ งอ่ืนๆ ภายในวัด ไดพ้ ังราบลงหมดส้ิน จะมกี แ็ ต่พระปรางคท์ ี่หนา้ วดั กับสุสาน ญ่ีปนุ่ แหง่ น้ี ทเ่ี หลือรอดมาได้ Model of Angkor Wat: Since it นครวัดจำ� ลอง K07 was not possible to move Angkor Wat to Bangkok, King Rama IV had ใช่ ในเกาะรตั นโกสนิ ทร์แห่งน้ี มสี ถาปัตยกรรมช้ินเอกของขอม an Angkor Wat replica built in a สรา้ งอยูด่ ้วย แตเ่ ปน็ ของจำ�ลองขนาดเล็ก ตงั้ อยบู่ นฐานไพที ด้านทิศ smaller size in Wat Phra Kaeo. เหนอื ของพระมณฑป ภายในวัดพระแกว้ นั่นไง มเี รอ่ื งเลา่ อยวู่ ่า รชั กาลที่ ๔ ทรงมีพระราชดำ�รใิ หไ้ ปรอ้ื ปราสาทหนิ นครวัด ท่เี มอื งเสยี มราฐ (เสียมเรยี บ) เพ่ือน�ำ มาสรา้ งไวใ้ นกรุงเทพฯ (ขณะนนั้ กมั พูชายงั ขนึ้ ตรงกบั สยาม ก่อนจะตกเป็นรัฐในอารกั ขาของ ฝร่ังเศสในเวลาตอ่ มา) แต่มขี นาดใหญเ่ กิน จงึ ใหไ้ ปรื้อปราสาทตาพรม ซึง่ มีขนาดยอ่ มกว่าแทน แถมโดนขัดขวางจากชาวเขมร ลอบซมุ่ ทำ�ร้าย ต่อส้ฆู ่าฟันกัน จนตอ้ งระงบั โครงการไปในท่สี ดุ รชั กาลที่ ๔ จึงทรงเปลย่ี นมาใหส้ ร้างนครวัดจำ�ลองเลก็ ๆ ตามแบบ จริง แล้วให้ต้งั ไวใ้ นวัดพระแก้วแทน K 06 Japanese Mausoleum K 07 Model of Angkor Wat D Wat Ratcha Burana, 119 Chak Phet Rd. The Grand Palace, Na Phra Lan Rd. A 02 221 9544 8.30am-3.30pm T www.watliab.com 02 623 5500 / 02 623 5499 A Watliab www.royalgrandpalace.th 199

ตึกถาวรวัตถุ K08 Thawon Watthu Building (Red Building): Located by Sanam ตกึ ยาวท่ที อดตัวไปตามสนามหลวงหลังน้ี แต่กอ่ นเรยี กกนั วา่ “ตึก Luang, its construction began in แดง” ตามสดี ินแดงที่ทา เปน็ สีนอี้ ยนู่ าน จนวนั หน่ึงทาเป็นสดี ินเหลอื ง 1895 to be used in a royal funeral แล้วก็ทากลบั มาเป็นดินแดงอกี ดงั เชน่ ในปัจจบุ นั and a monks’ college. It was designed by Prince Naris based on ตกึ น้มี ีดรามา่ มาอย่างยาวนาน ด้วยเรมิ่ โปรเจกส์ในปี ๒๔๓๘ สมยั Khmer architecture to show Siam’s รัชกาลที่ ๕ เพอ่ื ให้เป็นอาคารสำ�หรับต้งั พระศพเจ้านาย แทนการ power over Cambodia. At the time, กอ่ สรา้ งพระเมรทุ ีก่ ลางท้องสนามหลวง ดว้ ยเหน็ ว่า “เปนการเปลือง Siam had a dispute with France พระราชทรัพยไ์ ปในส่งิ ซึ่งมไิ ด้ถาวร” เพราะพระเมรนุ ัน้ ใช้เพยี งครง้ั เดียว over Cambodia. The construction เสรจ็ งานแลว้ ก็ต้องรือ้ ทิ้งไป was done in 1920. It was tempo- rarily used as a library, but today นอกจากน้ียงั มโี ครงการทีจ่ ะใชเ้ ป็นวิทยาลยั ส�ำ หรับพระภิกษใุ ชเ้ ปน็ it is a venue for King Rama V’s ทศี่ กึ ษาเล่าเรยี นดว้ ย exhibition. แต่กว่าอาคารจะสรา้ งเสร็จและไดใ้ ชต้ ามวัตถุประสงคจ์ ริงๆ กเ็ มอ่ื เร่ืองเล่าชาวเกาะ อีกราว ๒๕ ปตี ่อมาโน่น ในคราวพระเมรมุ าศสมเด็จพระศรีพชั รินทรา บรมราชินีนาถ ในปี ๒๔๖๓ โดยใชเ้ ป็นพระท่นี ง่ั ทรงธรรมส�ำ หรบั เป็นท่ี ท�ำไมตึกแดงจึงเป็นตึก ประทบั ของรชั กาลที่ ๖ ซึ่งเปน็ การใช้เพยี งคร้ังแรกและครัง้ เดยี วเท่านน้ั แบบขอม? หลงั จากนั้นจงึ ใชเ้ ปน็ หอพระสมุดส�ำ หรับพระนคร และมปี รบั ก็ดว้ ยในขณะนัน้ สยามมีกรณพี พิ าท เปลี่ยนการใชง้ านอีกหลายครั้ง ปจั จุบันเป็นอาคารแสดงนทิ รรศการ กบั ฝร่งั เศสในเรือ่ งอำ�นาจอธิปไตยเหนอื พระประวัตริ ชั กาลที่ ๕ ทาสแี ดงแล้ว ดินแดนกมั พูชา ราชสำ�นักกรุงเทพใน สมยั นั้นจงึ ตอ้ งการแสดงออกถงึ อำ�นาจ D K 08 Thawon Watthu Building (Red Building) เหนือราชอาณาจักรเขมร ด้วยการใช้ A Na Phra That Rd. สถาปัตยกรรมเป็นเครื่องมอื T 9.00am-4.00pm Wed-Sun A 02 222 4867 กรมพระยานรศิ รานุวดั ตวิ งศ์ จึงทรง ตึกถาวรวตั ถ:ุ นทิ รรศการเฉลิมพระเกียรติ ออกแบบโดยผสมผสานรปู แบบเขมร กบั ไทย ลกั ษณะคลา้ ยคลงึ กับระเบียง คตของปราสาทหนิ ของขอม แตเ่ ดมิ ออกแบบใหม้ อี าคารด้านหลงั ท่มี ีหลังคา สงู เปน็ ปรางค์สามยอดดว้ ย แต่งดทำ�ไป 200 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั

อนุสาวรยี ท์ หารอาสา สงครามโลกครัง้ ท่ี ๑ K09 ใครผา่ นมาแถวสนามหลวงบ่อยๆ เคยนกึ สงสยั บ้างมัย้ วา่ ท่ี จนั ทิหลงั หนงึ่ หนา้ โรงละครแหง่ ชาติ มีเจดียอ์ ะไรตงั้ อยู่? ในเกาะชวา ประเทศอินโดนเิ ซีย ใชน่ คี่ ือเจดีย์ แตห่ าใช่เจดยี ใ์ นวัดทบ่ี รรจุสารรี ิกธาตุไม่ แต่เป็น เจดยี ท์ ีบ่ รรจอุ ฐั ทิ หารสยามท่เี สียชวี ิตไปในสงครามโลกครัง้ ท่ี ๑ ูศนย์มา ุนษยวิทยาสิรินธร ในคราวนน้ั รชั กาลที่ ๖ ทรงส่งกองกำ�ลังทหารอาสาสมัคร เจดยี ์ทรงปราสาท จำ�นวนทง้ั สน้ิ ๑,๒๓๓ นายไปรว่ มรบในยโุ รป เมอ่ื สงครามสงบ วัดเจ็ดแถว ทศ่ี รีสัชนาลยั ฝ่ายสมั พันธมติ รไดร้ ับชยั ชนะ มีทหารของเราเสียชีวิตไป ๑๙ นาย จงึ โปรดฯ ให้สร้างอนุสาวรยี ์ข้ึนมา เพอ่ื เป็นอนุสรณ์ถึงเหตกุ ารณ์ K 09 The First World War D ในครง้ั น้ัน Volunteers Memorial A T อนุสาวรียอ์ อกแบบโดยกรมพระยานริศรานวุ ัดติวงศ์ เจา้ นาย Na Phra That Rd. A นกั ออกแบบผู้ชืน่ ชอบในศลิ ปสถาปัตยกรรมตา่ งชาตติ ่างภาษา ตามค่านิยมในสมยั จกั รวรรดินยิ มของตะวนั ตกสมยั นั้น ที่เหน็ 201 วัฒนธรรมต่างถิ่นเปน็ เรอ่ื งต่ืนตาน่าเร้าใจ จงึ หยิบเอารูปแบบ เจดีย์ของชวา ท่ีเรียกว่า “จนั ทิ” มาเป็นแรงบนั ดาลใจ ในขณะเดยี วกันยังมอี ีกทฤษฎีที่กล่าววา่ ตน้ เค้าของอนุสาวรยี ์ แห่งน้ีกค็ ือ เจดยี ท์ รงปราสาทวัดเจ็ดแถว ท่ีศรีสัชนาลยั ดว้ ย เปน็ ชว่ งเวลาทสี่ ยามตอ้ งการดงึ สโุ ขทยั เขา้ มาเป็นสว่ นหนึ่งของ ประวตั ิศาสตร์ไทยด้วยเชน่ กัน The First World War Volunteers Memorial: Located in front of the National Theater, the Memorial houses ashes of 19 fallen soldiers who lost their lives in World War I. The Memorial was designed by Prince Naris, inspired by an old stupa in Sukhothai. At the time, Siam was trying to incorporate Sukhothai into its history.

G01 ต�ำ หนกั ใหม่กรมพระสวัสดิวดั นวิศษิ ฏ์ (ท�ำ เนียบทา่ ช้าง) G02 สขุ ุมาลอนามยั G03 สะพานพระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลก G04 โรงมหรสพหลวง ศาลาเฉลมิ กรุง G05 โรงเรียนชา่ งพมิ พว์ ัดสงั เวช G06 ตกึ โดม มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ และการเมือง G07 อาคารศาลยุติธรรม G08 อนสุ าวรยี ์ประชาธปิ ไตย G09 อาคารพาณชิ ย์ ริมถนนราชด�ำ เนนิ กลาง G10 อาคารสโมสรราษฎร์สราญรมย์ G11 ตึกกลาง โรงเรยี นเพาะช่าง G12 โรงละครแหง่ ชาติ G13 ศาลาวา่ การกรุงเทพมหานคร H01 อาคารกรมประชาสมั พนั ธห์ ลังที่สอง H02 ห้างไนติงเกล H03 อาคารคณะพาณิชยศ์ าสตร์ และการบญั ชี มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ทา่ พระจนั ทร์ H04 ธนาคารกสิกรไทย สาขาถนนมหาไชย H05 อาคารส�ำ นกั งานและคลังสนิ คา้ มาสดา้ ถนนมหาไชย I01 หอไตร วัดมหาธาตุ I02 ทาวนเ์ ฮ้าสเ์ ชิงสะพานพระปน่ิ เกลา้ I03 ดโิ อลด์สยามพลาซา่ I04 หอสมุดปรดี ี พนมยงค์ J01 เดอะภธู ร J02 ๑๙๐๕ เฮอริเทจ คอรเ์ นอร์ J03 เดอะเนเบอรภ์ ูธร J04 ร้านฟาร์มทเู ทเบ้ลิ ไฮด์เอ๊าท์ J05 ร้านแมคโดนัลด์ สาขาราชด�ำ เนนิ J06 หอศิลป์รว่ มสมยั ราชด�ำ เนิน J07 หอสมุดเมอื งกรุงเทพมหานคร J08 โรงแรมเชญิ J09 วิลล่าเดอพระนคร J10 สวนลอยฟ้าเจา้ พระยา K01 มสั ญดิ จักรพงษ์ K02 มสั ญิดบ้านตกึ ดนิ K03 คุรดุ วาราศรคี ุรุสิงห์สภา K04 เทวมันทิร (วัดเทพมณเฑียร) K05 ศาลเจา้ แมต่ ะเคยี นทอง K06 สุสานญป่ี นุ่ K07 นครวดั จ�ำ ลอง K08 ตึกถาวรวัตถุ K09 อนุสาวรยี ์ทหารอาสาสงครามโลกครั้งท่ี ๑

ตึึกเก่่าไป พลบั พลาสงู วงั หน้า L01 ตึึกใหม่่มา เมอ่ื แรกสถาปนากรงุ เทพฯ เปน็ ราชธานนี ั้น สนามหลวง Out with the Old, หรือทุ่งพระเมรุ ไม่ได้กวา้ งใหญอ่ ยา่ งเชน่ ในปจั จุบนั น้นี ะ เพราะ In with the New อาณาบริเวณของวงั หน้า (ตรงทเี่ ปน็ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ และพิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ พระนคร) ได้กนิ เข้าไปเกือบคอ่ น ภายในเกาะรตั นโกสินทร์ ฝง่ั เหนอื ของสนามหลวงเลยทีเดียว แหง่ นี้ มคี วามเปลย่ี นแปลงเกิด ข้นึ อยู่เสมอ และทกี่ ำ�แพงวงั หน้าดา้ นนี้เอง ท่มี ีพระทีน่ ัง่ ในต�ำ นานอกี องค์ หน่ึง เปน็ พลบั พลาริมรว้ั สำ�หรับพระบาทสมเดจ็ พระปิน่ เกล้า ตึกเกา่ อันทรงคุณคา่ หลาย (วงั หนา้ ในสมยั รัชกาลท่ี ๔ ซ่ึงได้รับการสถาปนาเปน็ พระมหา- หลงั บ้างเป็นพระทนี่ ่งั แบบไทย กษัตรยิ อ์ กี พระองค)์ ประทับเพ่ือทอดพระเนตรขบวนแห่ดา้ น เป็นวังเจา้ นายแบบฝร่งั นอกวัง ไม่ตา่ งไปจากพระทีน่ ง่ั สุทไธศวรรยป์ ราสาท ของทางวัง หลวง A05 เป็นห้าง ตลาด โรงหนงั หรอื แมแ้ ตอ่ าคารราชการ ลกั ษณะเป็นพระทน่ี ัง่ โถง เครอ่ื งไม้ไมม่ ผี นงั เครือ่ งลำ�ยอง ประดับหลงั คาซ้อนชน้ั ๔ ช้นั ฟฟู่ ่าไม่ตา่ งจากพระท่ีน่ังในวงั จงึ โดนลบท้ิงไปจากแผนที่ หลวง หากแตไ่ ม่มยี อดปราสาท เพอ่ื เปดิ พ้ืนที่ใหก้ ับสงิ่ ใหมๆ่ พลับพลาสูงองคน์ ีร้ อ้ื ถอนไปส้นิ คราวยกเลกิ ตำ�แหนง่ วงั เพราะเราเชื่อวา่ เมือง หนา้ ไปในกลางรชั กาลที่ ๕ โดยขยายสนามหลวงให้ล้ำ�เขา้ ไปใน ตอ้ งพัฒนาตอ่ ไป และความ พนื้ ท่สี ่วนหน้าของวังหนา้ เปลีย่ นแปลงเป็นสิ่งทไ่ี มอ่ าจ หลีกเล่ยี งได้ พระทนี่ งั่ องค์งามนจี้ ึงสูญสลายไปพรอ้ มกบั สถานะของ วงั หน้า เหลือไว้ใหเ้ หน็ แตเ่ พียงภาพเทา่ นนั้ In the Old Town, changes were constant. Old buildings Elevated Open Pavilion at the Front Palace: Initially, part of steeped in history, whether Sanam Luang belonged to the Front Palace, and at the wall of they were Thai or Western the Front Palace, there used to be a royal pavilion, which was an in design, whether they were open wooden structure with no walls, built for King Pinklao, the shopping malls or theaters, or second King in the reign of King Rama IV. The purpose was for even government offices, were this pavilion to be an observation point when there were marches gradually removed, making outside the palace. Later, the pavilion was removed in the reign of way for new things. The city King Rama V as more space was needed to expand Sanam Luang had to keep evolving, and into the oval shape that we see today. change was inevitable. 203

วงั บรู พาภิรมย์ L02 ถือเปน็ แลนดม์ าร์คส�ำ คญั ส�ำ หรบั ยา่ นน้ีเลยที เดยี ว ด้วยเป็นตึกท่ีใหญ่ท่สี ุด โออ่ า่ หรูหราทันสมัย ทสี่ ุด ในพระนครสมยั น้ันก็ว่าได้ หลงั เสด็จทวิ งคตในปี ๒๔๗๑ ทายาทไดใ้ ห้เช่า กอ่ สรา้ งเพื่อเปน็ ต�ำ หนักท่ีประทับของสมเดจ็ พ้นื ที่ต�ำ หนกั เปน็ โรงเรียนสตรีภาณทุ ัต และโรงเรยี น พระเจ้าน้องยาเธอ เจา้ ฟา้ ภาณรุ งั ษีสว่างวงษ์ กรม- พาณิชยการพระนคร กอ่ นจะถกู ท้ิงร้างไป ทา้ ยที่สดุ หลวงภาณพุ ันธวุ งศว์ รเดช บนท่ดี ิน ๑๕ ไรห่ ลังป้อม ทายาทราชสกลุ ภาณพุ นั ธก์ุ ข็ ายวังให้กับเอกชนไปใน มหาไชย ปี ๒๔๙๕ เพอ่ื จดั สรรเป็นศนู ย์การค้า เปดิ ให้บรกิ าร ถอื เปน็ วงั เจา้ นายยุคแรกๆ ที่เป็นตกึ แบบฝรัง่ ในปี ๒๔๙๗ โดยใช้ช่อื วา่ ศนู ย์การคา้ วังบูรพา ตาม ก่อสรา้ งข้นึ ในสมยั ต้นรชั กาลท่ี ๕ อันเป็นช่วงที่ ชื่อวงั สถาปตั ยกรรมแบบตะวันตกเพิ่งเร่ิมเปน็ ทน่ี ิยมใน สยาม Burapha Palace: Built in 1875 early in King Rama ออกแบบโดยช่างฝรงั่ คนส�ำ คญั แห่งยุค นาย V’s reign as a residence for Prince Bhanu Rangsi (King Rama V’s younger brother), it was the biggest โจอาคมิ แกรซี (Joachim Grassi) ในปี ๒๔๑๘ building at the time and one of the first Western-style ดว้ ยเปน็ วังขนาดมโหฬาร จึงใช้เวลาก่อสรา้ งรว่ ม ๕ buildings. The layout was a U shape and the building ปีเต็ม เสดจ็ ขนึ้ ประทบั ในปี ๒๔๒๔ featured a classic style, designed by the famous Joa- chim Grassi. Later, the prince’s descendants sold the วงั บูรพาภิรมยถ์ อื ว่ามลี กั ษณะและสดั สว่ นถูก palace to a private company and it was converted into ต้องตามระเบียบสถาปัตยกรรมคลาสสิกแท้ๆ ด้วย a shopping mall. ผังรูปตัวยู (U) มุขกลางทยี่ น่ื ออกมามีหลังคาจ่วั แบบวหิ ารกรกี โครงสร้างผนังรบั น้ำ�หนัก มซี ุ้มโคง้ เรยี งตอ่ กนั และเปน็ อาคารแบบตะวันตกร่นุ แรกท่ีท�ำ บันไดไวใ้ นอาคาร ด้วยแต่กอ่ นเชื่อว่าการทำ�บันไดที่ ใต้ถุนเรือนเป็นอัปมงคล รปู หล่อสงิ โตส�ำ รดิ ซ่ึงเคยต้งั อยู่ หนา้ ตกึ วงั บูรพาภิรมย์ ปจั จบุ นั ย้ายไปน่ังสวยสง่า ที่หนา้ ตกึ กองบัญชาการกองทพั บก ถนนราชดำ�เนนิ 204

ปี ๒๕๘๕ กลายเปน็ สำ�นกั งานของกรม หา้ งแบดแมน แอนโก L03 โคสนาการ ยงั มีรปู นำ�้ ทว่ มใหญก่ รุงเทพฯ ในสมยั จอมพล ป. เปน็ หลกั ฐาน ในชว่ งปลายรชั กาลที่ ๕ ทรงมพี ระราชดำ�รใิ หพ้ ระคลังขา้ งทสี่ รา้ งตกึ ตึกสวยคลาสสิกหลังนม้ี าร้ือลงใน ขน้ึ มาใหม่ บรเิ วณเชิงสะพานผ่านภภิ พลีลา หวั มุมถนนราชด�ำ เนินกลาง ปี ๒๕๐๔ เพ่อื สรา้ งตึกใหมข่ องกรม ฝ่ังตรงขา้ มกับสนามหลวง ซึ่งนับวา่ เปน็ ทำ�เลเย่ียมในการตั้งร้าน เพ่อื ประชาสัมพนั ธ์ H01 ข้ึนมาแทน ใหเ้ อกชนเช่าสำ�หรับเปน็ หา้ งโดยเฉพาะ เปน็ ตึกแบบฝรั่งหลังใหญ่สงู ๓ ชั้น มขุ กลางมีกระบังหน้าขนาดใหญ่ ตกแตง่ โกห้ รู พนื้ ทก่ี วา้ งขวาง ห้าง ฝร่งั อย่าง แบดแมน แอนโก จึงมาเชา่ ไป (เปน็ ห้างของชาวอังกฤษทก่ี อ่ ตัง้ มาตง้ั แต่ตน้ รชั กาลท่ี ๕ แลว้ เดมิ ตัง้ รา้ นอยทู่ ตี่ ึกแถวหัวมุมกระทรวง มหาดไทย เชิงสะพานชา้ งโรงสี ในปัจจุบัน) รชั กาลที่ ๕ เสดจ็ ฯ มาเปดิ หา้ งแบดแมนในปี ๒๔๕๐ เปน็ ห้าง สรรพสนิ ค้าหรู ขายของนำ�เข้าจากยุโรป พรอ้ มจำ�หน่ายเครื่องเรอื นที่ ผลติ โดยช่างชาวจนี ซ่ึงตงั้ โรงงานอยดู่ า้ นหลัง ตอ่ มารา้ นเลิกกิจการไป โรงเรยี นกฎหมาย ของกระทรวงยตุ ธิ รรม จึงย้ายมาต้งั ทีต่ ึกนแ้ี ทน ก่อนจะเปลยี่ นสถานะเปน็ มหาวทิ ยาลัย ธรรมศาสตร์และการเมืองในปี ๒๔๗๗ และย้ายไปทต่ี ึกโดมทา่ พระ จนั ทร์ในอีก ๒ ปตี ่อมา Badman & Co.: Late in King Rama V’s era, the King had a Western-style building constructed at the corner of Ratchadamnoen Avenue, to be rented out as a shopping mall. A British merchant rented the place and moved his Badman & Co mall to this new building. The mall sold items imported from Europe. Later, the Department of Public Relations moved its office to this building, and in 1961, the old building was torn down and a new one was erected in its place as the 2nd Department of Public Relations Office. 205

อาคารสวยโกแ้ ห่งน้ี ร้อื ไปในปี ๒๕๑๒ ดว้ ยทรดุ โทรม สรา้ งเปน็ โรงแรมบรู พา ขึน้ มาแทน อย่างท่เี ห็นเช่นในปัจจบุ นั ตึก บ.ี กรมิ ทีส่ ามยอด L04 บรษิ ัท ไฟฟา้ สยาม คอร์ปอเรชน่ั จ�ำ กดั (การไฟฟา้ นครหลวงในปจั จุบัน) ขายเครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้า ในชว่ งปีสดุ ทา้ ยของรัชกาลที่ ๕ ไดท้ รงโปรดฯ ใหส้ ร้างอาคาร พาณชิ ยข์ นาดใหญ่เพอื่ ใหเ้ อกชนเชา่ พื้นทท่ี ำ�การคา้ ตรงหวั มมุ ถนน เจริญกรงุ เชงิ สะพานดำ�รงคส์ ถติ ย์ ซึ่งเป็นแยกที่คกึ คกั ทส่ี ดุ ของ พระนครในสมัยน้นั (คงราวๆ สี่แยกราชประสงคใ์ นปจั จบุ นั ) ตึกใหมเ่ ปน็ ผลงานการออกแบบของนายมาริโอ ตามานโญ เมอ่ื เปิด ตึกในปี ๒๔๕๔ ในรชั กาลที่ ๖ ห้าง บ.ี กรมิ เป็นผู้เช่าไป (บ.ี กริม เปน็ ห้างเยอรมนั ตง้ั รา้ นอยทู่ ี่ปากคลองตลาดมาต้ังแตต่ ้นรัชกาลท่ี ๕ แลว้ ) เมอ่ื ยา้ ยมาเปิดท่นี ี่ ถือเปน็ หา้ งหรูใหญโ่ ตโออ่ ่าสดุ แล้วในบางกอก โรงพยาบาลทาเคดะ ของหมอญีป่ ุน่ ในชว่ งก่อนสงครามโลกครง้ั ท่ี ๒ ชาวบ้านเรียกกันวา่ หา้ งประตูสามยอด เป็นหา้ งขนาดใหญ่แบบห้างสรรพสินค้าในปจั จุบนั ที่มีสนิ คา้ หลาย อย่างจัดเป็นแผนกๆ มพี ้ืนทก่ี วา้ งขวาง ขายของหรูหราน�ำ เขา้ จากต่าง เรื่องเล่าชาวเกาะ ประเทศ ตึก บี. กริม ที่แยกสามยอด ปี ๒๔๖๐ สยามประกาศสงครามกบั เยอรมัน ในสงครามโลกคร้งั กับ ตลาดมิ่งเมืองที่ถนนพาหุรัด ท่ี ๑ บี. กริม ซงึ่ เปน็ ห้างเยอรมนั จึงโดนสั่งปิดทันที สนิ ค้าโดนยึด เปน็ ฝมี ือออกแบบของสถาปนกิ คน ตึกสามยอดจงึ วา่ งลง เปดิ ใหห้ ้างอื่นมาใช้พ้ืนที่แทน เดียวกัน คือ นายมาริโอ ตามานโญ (Mario Tamagno) B. Grimm Building at Sam Yot: B. Grimm building was a Western ผลงานการออกแบบของนายมาริโอทเี่ รา building on Charoen Krung Road at Sam Yot intersection. B. Grimm, a รจู้ กั กันดี คอื พระทนี่ ั่งอนนั ตสมาคม big German-owned department store business, rented this place to sell วงั บางขนุ พรหม บา้ นนรสิงห์ (ตึกไทยคฟู่ ้า luxury items imported from overseas. In 1917, Siam declared war with ท�ำ เนียบรัฐบาล) วงั มะลวิ ัลย์ D06 และ Germany during World War I, and B. Grimm was ordered to shut down อาคารกระทรวงพาณิชย์ C15 (ปัจจบุ ันคอื and leave the premise to make way for new tenants. This building was มิวเซยี มสยาม) later torn down in 1969. 206

โรงละครปรดี าลยั เป็นโรงไม้ ดงั ที่เหน็ อยดู่ ้านซา้ ยในรูป ทเี่ ห็นลิบๆ มุมขวาบน คือประตูวังสรรพศาสตร์ศุภกจิ ดร. ยุวรัตน์ เหมะศิล ิปน กรมพระนราธปิ ฯ และพระมารดา (เจา้ จอมมารดาเขียน ในรัชกาลที่ ๔) โรงละครปรีดาลัย L05 ไปเปน็ เกา้ อย้ี าว สว่ นชนั้ สองและช้นั สามก็เป็นทีน่ งั่ แบบบ็อกซเ์ ช่นเดียวกนั พระองค์เจา้ วรวรรณากร กรมพระนราธปิ ประพันธพ์ งศ์ พระโอรสของรชั กาลท่ี ๔ กบั เจ้าจอม คณะละครปรดี าลยั แสดงอย่ไู ด้ไมน่ าน จนเม่อื ถงึ มารดาเขียน เปน็ ผกู้ อ่ ต้งั คณะละครและโรงละครนี้ รัชกาลท่ี ๖ ก็ระงบั การแสดงไป กระทง่ั ตวั อาคาร ขน้ึ ภายในบรเิ วณวงั ทป่ี ระทบั ถนนแพรง่ นรา ของโรงละครน้ันกถ็ กู ไฟไหม้ไปในปี ๒๔๘๙ จนไม่ เหลือแม้แตซ่ ากใหค้ นรุ่นหลังได้เหน็ สถานทีก่ ำ�เนดิ ด้วยความท่ีเจา้ จอมมารดาเขียนเป็นนางละคร ของแมน่ ากพระโขนงในตำ�นานอกี ต่อไป หลวง ทำ�ใหก้ รมพระนราธปิ ฯ มีความสนพระทยั และถนดั ในดา้ นการละคร และมกั จดั การแสดงทีผ่ สม จากทางสามแพร่งถนนแพรง่ นรา หากลองเดิน ผสานจนเกิดเป็นละครร้องสลับพดู อยา่ งใหม่ขน้ึ มา ย้อนขนึ้ ไปตามถนนบรู ณศาสตร์ มองลอดเข้าไปทาง ประตขู า้ งของวงั ลานโล่งท่ีลึกเข้าไปขา้ งในนนั่ ก็คอื ที่ โดยละครท่ีโด่งดังเปน็ อยา่ งมากและไดร้ บั ความ ต้งั ของโรงละครปรดี าลยั แห่งนี้ นิยมสูงสดุ ก็คือเร่ือง “สาวเครือฟ้า” มีเคา้ โครงมา จากละครโอเปร่าเรอื่ งมาดามบตั เตอร์ฟลาย และ Pridalai Theater: Late in King Rama V’s era, on the เร่อื ง “อนี ากพระโขนง” บทประพนั ธข์ องพระองค์เอง premise of Prince Narathip’s palace (King Rama V’s ท่แี สดงครง้ั แรกเมอ่ื ๒๔๕๔ (ตน้ รชั กาลท่ี ๖) และ younger brother), Pridalai Theater was built. It was ไดร้ ับความนิยมอย่างล้นหลาม จนกลายเป็นทอล์ค a wooden theater, located along Phraeng Nara Road. ออฟเดอะทาวน์ ท�ำ ใหต้ อ้ งแสดงซ้ำ�ถึง ๒๔ รอบ Inside the theater, on one side, there were boxes, single seats, and row seats, with seats on the second ตวั โรงละครเป็นอาคารไม้ สรา้ งขึน้ ปลายรัชกาล and third floors. The theater was destroyed in a fire ที่ ๕ ลกั ษณะเป็นตึกยาวขนานไปกบั ถนนแพร่งนรา in 1946. ด้านทศิ เหนอื โดยอยู่ด้านหลงั ตกึ แถว มที างเขา้ จาก ถนนผ่านทางตกึ แถวคูหาหน่ึง (ปัจจุบันคือตึกของ ร้านชยั เจริญเอน็ ยเี นยี ร่งิ ) ภายในโรงละคร ด้านหนึ่งเปน็ เวที สว่ นทีน่ ง่ั ดา้ น หน้าเวทีแบ่งผู้ชมออกเปน็ ๖ บอ็ กซ์ บอ็ กซ์ละ ๖ คน หลงั บ็อกซจ์ ะเปน็ เก้าอเ้ี ด่ยี วชน้ั พิเศษและชนั้ หน่งึ ถัด 207

โรงละครแบบฝร่ัง โรงละครหม่อมเจ้าอลังการ โรงมหรสพเกบ็ คา่ เข้าชม นบั เปน็ ความ ตงั้ อยู่ภายในวงั หม่อมเจ้า อลงั การ มาลากลุ บนั เทงิ รูปแบบใหมท่ ี่ถกู ใจชาวพระนครย่งิ นกั ถือเป็นโรงมหรสพที่ขึ้นชอื่ ทสี่ ุดในสมัยตอ่ มา ถอื เปน็ ธรรมเนียมใหมใ่ นช่วงท่ีสยามเร่ิมเรียนรู้ เพราะต้ังอย่ใู นย่านที่คึกคกั ท่ีสดุ ของพระนคร การใช้ชีวติ แบบฝรง่ั แถวๆ โรงหวยสามยอด หากมาจากถนน ภายในเกาะเมืองจงึ มโี รงละครเปิดให้เขา้ ชม เจริญกรงุ เขา้ ตรอกข้างห้างเซ่งชงไปจะพบกับ อยู่หลายเจ้าดว้ ยกัน ซึ่งนายโรงส่วนใหญ่กล็ ้วน ตัวโรงละครอย่ทู างดา้ นซ้ายมือ เป็นเจา้ นายและขนุ นางท้ังสิ้น เมอื่ ปี ๒๔๓๙ (ปลายรัชกาลท่ี ๕) เรมิ่ เปดิ วกิ เป็นโรงไมท้ ดี่ โู อ่อ่า ทันสมยั นิยมแสดงละคร นอก คณะเจ้าหมื่นสรรเพธฯ (แหง่ โรงละคร ปริน๊ ซ์เธียเตอร์) ต่อมาภายหลังมกี ารแสดงลิเก โดยคณะหม่อมสุภาพทดี่ งั ท่ีสดุ ในสมัยนัน้ ดว้ ย นอกจากนแ้ี ล้วโรงละครหมอ่ มเจา้ อลังการ ยงั ถือเป็นสถานที่จัดฉายหนงั ขนึ้ เป็นคร้งั แรกใน ประเทศไทย เปน็ หนังสน้ั จากฝรั่งเศส ปจั จบุ นั อาคารได้รอื้ ถอนไปจนหมดแลว้ โรงละครปร๊ินซ์เธียเตอร์ โรงละครปรีดาลัย โรงละครปราโมทัย ตั้งอยภู่ ายในบ้านเจ้าพระยามหินทรศกั ด์ิ ของพระโสภณอกั ษรกจิ (นายเล็ก สมติ ศิร)ิ ธ�ำ รง (เพ็ง เพ็ญกุล) ริมแมน่ ้ำ�เจา้ พระยา ติด ตัง้ อย่ทู ่ีวังวรวรรณ ตง้ั อยูต่ �ำ บลประตสู ามยอดเช่นกนั โดยอยู่ กับตลาดทา่ เตยี น ถนนแพรง่ นรา เปิด ถนนเจรญิ กรุงฝ่ังใต้ ตรงข้ามกับโรงละครหม่อม สรา้ งขน้ึ ภายหลังฉลองกรุงเทพฯ ครบ ๑๐๐ แสดงเมื่อปี ๒๔๕๑ เจ้าอลังการ สรา้ งภายหลังโรงละครปรีดาลัย ที่ ปี ในปี ๒๔๒๕ (ราวตน้ รชั กาลท่ี ๕) นับเปน็ สมยั ปลายรชั กาล แพรง่ นรา ราว ๒-๓ ปี มีการแสดงละครร้อง คณะแรกๆ ท่ีมกี ารแสดงแบบเก็บค่าเข้าชม ท่ี ๕ แบบเดียวกบั คณะละครปรดี าลัยดว้ ยเชน่ กัน และมชี ่อื เสียงมาก ด้วยเปน็ คณะละครทแี่ ตง่ จนปลายรชั กาลท่ี ๖ ใหเ้ ชา่ เป็นโรงหนงั และ องคท์ รงเครอ่ื งกันอยา่ งวจิ ิตรสมจริง ฉายหนงั เงียบ กอ่ นท่ีจะปิดตัวลงในเวลาไม่นาน เมอ่ื เจา้ พระยามหนิ ทรฯ อสัญกรรม เจ้าหมืน่ ปจั จบุ นั คือ พ้ืนทใ่ี นบริเวณซอยพชิ ิต หรอื สรรเพธภกั ดี (บุศย์ เพญ็ กุล) ลูกชาย จึงรับ เจรญิ กรงุ ๖ สว่ นตัวอาคารไดร้ ้อื ถอนไปหมด ไม้ต่อและได้นำ�คณะละครไปแสดงถงึ ทวปี ยโุ รป แลว้ แตป่ รากฏว่าขาดทุนย่อยยับจนต้องกลบั มาและ ปดิ ตัวลงไปในที่สุด ตอ่ มาพื้นทบี่ า้ นและโรงละครเจ้าพระยา วิกละคร การแสดงละครในสมัยก่อนจะจัดแสดงเฉพาะคนื เดอื นหงายเทา่ นัน้ เพือ่ ท่ี มหินทรฯ ได้สรา้ งเป็นวงั ใหม่เพือ่ ใช้เปน็ ที่ประทบั เวลาจบการแสดงตอนดกึ แล้ว ท้องฟ้าจะไดส้ วา่ ง ผูค้ นเดนิ ทางกลับเคหาสถ์ ของพระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมนื่ สถานได้สะดวก เดือนหน่งึ จะแสดงทกุ คนื ตลอดสปั ดาห์ หรือ ๑ วคี เทา่ นน้ั พไิ ชยมหินทโรดม พระราชโอรสในรัชกาลท่ี ๕ เปน็ เหตใุ ห้คนสมัยก่อนมักเรยี กสถานท่จี ัดมหรสพว่า “วกิ ” ต่างๆ ทงั้ วิก กบั เจา้ จอมมารดามรกฏ ซงึ่ เปน็ หลานตาของ ลเิ ก วกิ ละคร วิกหนัง น่นั กม็ ที ีม่ าจากค�ำ วา่ “วคี ” นเี่ อง เจ้าพระยามหนิ ทรฯ ปัจจบุ นั อาคารทงั้ หลายไดร้ อ้ื ลงไปจนหมดสิน้ และไดก้ ลายเป็นอาคารพาณิชยใ์ นบรเิ วณซอย เพ็ญพัฒน์ ๑-๔ ท่ที า่ เตยี นนน่ั เอง 208

ยำ่� ๊ตอก ่ทัวก ุรงเทพ, น ณ ปากน้ำ�, ำส�นักพิมพ์ เ ืมองโบราณ ตลาดม่งิ เมือง L06 เป็นตลาดใหญใ่ จกลางเมอื ง รมิ ถนนพาหุรัด สรา้ งขึน้ แบบตลาดฝรง่ั มีหลงั คาคลุม ภายในเป็น โถงกว้าง เพดานสงู ถอื เปน็ แนวคิดในการวางผงั อาคารขนาดใหญใ่ นชุมชน ท่จี ะสร้างตึกแถวลอ้ ม รอบ พนื้ ทีว่ ่างตรงกลางท�ำ เป็นตลาด กอ่ สร้างข้ึนในสมยั รัชกาลที่ ๗ พร้อมๆ กับศาลา เฉลมิ กรุง G04 ซึง่ ตั้งอยูใ่ นละแวกเดยี วกัน ออกแบบ โดยนายมารโิ อ ตามานโญ สถาปนกิ กระทรวง มหาดไทย ถอื เปน็ ผลงานการออกแบบช่วงปีทา้ ยๆ ก่อนที่เขาจะเกบ็ กระเป๋ากลบั อิตาลไี ป ตัวตลาดมผี งั เปน็ รูปตัวยู (U) มีแผงขายสนิ ค้า แบง่ เป็นลอ็ กๆ เรยี งรายเป็นแถวหันหน้าเขา้ หากนั สองขา้ งทางเดินตรงกลาง ขายสินค้าสารพัด ทำ�นอง ห้างสรรพสินคา้ ขนาดใหญใ่ นปัจจบุ นั ต่อมากลายเปน็ แหลง่ ชุมนมุ ช่างเย็บทันใจ ตั้ง แผงไปรอบๆ หอ้ ง รองรบั ลูกค้าท่ีมาซ้ือผ้าท่พี าหุรดั ขา้ มถนนมาวัดตวั กันที่น่ี ฝากผ้าไว้ ออกไปกินอะไร หนอ่ ย กลับมาเยบ็ เสรจ็ รับกลับบ้านได้เลย ตลาดม่งิ เมืองรือ้ ไปในปี ๒๕๒๑ ดว้ ยเสอื่ มโทรม ส่วนตกึ แถวโดยรอบนน้ั รอื้ ในปี ๒๕๓๕ ก่อนจะเปิดเปน็ ศนู ยก์ ารคา้ สมัยใหม่ เอาใจคนรุ่น เก่า ในปี ๒๕๓๖ คือศูนยก์ ารคา้ ดโิ อลด์สยามพลาซา่ ลานมิ่งเมือง ทเ่ี ปน็ โถงขายเสื้อผา้ สำ�เรจ็ รปู ก็คอื ที่ตง้ั ของตลาดมิ่งเมอื งนน่ั เอง Ming Mueang Market: Built in King Rama VII’s era, it was the central market of the city by Phahurat Road. Ming Mueang Market was a Western-style roofed market, featuring a large hall with a high ceiling. It was constructed following an urban planning concept, with shophouses surrounding the central market. The market formed a U shape with hundreds of shops lining on both sides of the walkway. The market later became old and worn out, and in 1978 it was torn down. A new and modern shopping complex replaced it in 1993, known as The Old Siam Plaza. 209

ห้าง บ.ี กรมิ B. Grimm Mall opposite Bura- หน้าวงั บรู พา L07 pha Palace: Prince Bhanu Rangsi invested in the construction of this ตรงข้ามวังบรู พาภิรมย์ บริเวณท่เี ปน็ ปอ้ มมหาไชยเดมิ ริมคลอง building in front of his palace. The โอง่ อา่ ง เชิงสะพานภาณุพันธน์ุ ้ัน มีอาคารพาณิชยห์ ลงั ใหญ่อย่อู ีกหลงั area used to house a fort, and was สรา้ งขนึ้ ตรงหวั โค้งถนนมหาไชยตัดกบั ถนนเยาวราช later rented by German business B. Grimm. The business officially ตึกหลงั น้ี สมเด็จวังบรู พาทรงลงทุนสรา้ งเอง มีโกดังสนิ คา้ ปลกู opened in 1928. This new building, อยดู่ ้านหลัง เพ่ือใหห้ ้างเยอรมัน บี. กรมิ เช่า ตดั รบิ บ้ินพร้อมเปดิ ให้ designed by a French-Swiss บริการในปี ๒๔๗๑ architect, was a reinforced concrete building with two floors. It featured ตกึ หลังใหม่นี้ออกแบบโดย นายชาร์ล เบเกอแลง็ (Charles a hip roof with a rising sun symbol Béguelin) สถาปนกิ ชาวฝร่ังเศส-สวสิ เปน็ ตึกคอนกรีตเสริมเหล็กสอง at the front of each gable roof, the ชั้น หลังคาป้นั หยา ตรงจว่ั มีตรารศั มพี ระอาทติ ย์ อนั เปน็ ตราประจ�ำ emblem of Prince Bhanu Rangsi, พระองค์เจา้ ฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ เจา้ ของตกึ the landlord of this building. B. Grimm moved out of this building ปี ๒๔๙๘ ห้าง บ.ี กริม ยา้ ยออกไป บริษัทไทยประกนั ย้ายเข้าอยู่ in 1955 and the building was later ทตี่ กึ นแี้ ทนพร้อมธนาคารไทยทนุ และรอื้ ลงไปในทส่ี ดุ ปัจจบุ นั ทีต่ รงน้ี demolished. Currently, this area is กลายเปน็ อาคารจอดรถไปเสียแล้ว a parking lot. อาคารรว่ มรุ่นทม่ี หี น้าตาคล้ายตึกหลังนีท้ ่ยี งั เหลืออยู่ให้เห็นคอื สุขุมาลอนามยั G02 ที่แพรง่ ภูธร ออกแบบโดยสถาปนิกฝรงั่ คนเดียวกัน อาคารหัวมมุ สี่แยกคอกววั L08 รมู้ ัย้ ? ทีต่ รงนีก้ ็เคยเป็นตึกชดุ เดยี วกนั กบั ตกึ อน่ื ๆ รมิ ถนนราชดำ�เนิน เชน่ กันนะ แต่กอ่ นตึกตรงนีเ้ คยเป็นท่ีตง้ั ของรา้ นค้าหนว่ ยงานราชการแห่งหน่ึง คือองคก์ ารจัดซื้อสนิ คา้ และพัสดภุ ณั ฑ์ (อจส.) มากอ่ น สมยั ตอ่ มา ชน้ั บนเปน็ สถานีวิทยุของ ท.ท.ท. ทกุ เสาร-์ อาทติ ย์ ตอนบา่ ย จะมกี ารบรรเลงเพลงของวงดนตรีสุนทราภรณ์ แล้วตอ่ มาก็เป็นตึกคณะกรรมการติดตามและประเมินผลการ ปฏบิ ัตริ าชการ (กตป.) ซึง่ โดนเผาไปในเหตกุ ารณ์ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ จนต้องทุบท้งิ และสรา้ งเป็นอนุสรณ์สถานขนึ้ มาแทน Building at Khok Wua Intersection: This used to be a building, in the same lot as the other ones along both sides of Ratchadamnoen Avenue. Over the years, various government offices occupied the building, and later it was damaged in a fire during the October 14, 1973 uprising. It had to be demolished, and a monument was erected in its place. 210

่ยำ� ๊ตอก ่ทัวกรุงเทพ, น ณ ปาก ้ำน�, ำส�นัก ิพมพ์ เมืองโบราณ ศาลาเฉลิมไทย L09 Chalerm Thai Theatre: Built in the 1940s along with other โรงหนังทันสมัยจากแนวคดิ ของจอมพล ป. พิบลู สงคราม สร้าง buildings on both sides of Ratcha- ข้ึนราวปี ๒๔๘๓ พร้อมๆ กับอาคารพาณชิ ย์อื่นๆ ทีข่ นาบสองข้างถนน damnoen Avenue, the construc- ราชดำ�เนนิ กลาง แตย่ ังสร้างไมเ่ สร็จกเ็ กดิ สงครามมหาเอเชยี บรู พา จำ� tion had to be paused as World ต้องหยุดสร้างไป War II erupted. The construction resumed in 1949, and it was ถึงปี ๒๔๙๒ จงึ เปดิ ตวั เปน็ โรงละครเวที ชว่ ยแจง้ เกดิ ใหก้ บั นกั แสดง opened as a show theater, and was หลายท่าน เชน่ ส. อาสนจนิ ดา สพุ รรณ บูรณพมิ พ์ เป็นต้น กอ่ นจะ later changed to a movie theater เปลย่ี นมาเป็นโรงภาพยนตรใ์ นปี ๒๔๙๖ บรหิ ารงานโดย สยามมหรสพ in 1953. It featured a Modern ของพสิ ฐิ ตนั สจั จา (เครอื เดียวกับโรงหนังสยาม ลโิ ด สกาลา่ ) architectural design, similar to other buildings on Ratchadamnoen. รปู แบบสถาปัตยกรรมเป็นสไตล์โมเดิร์น แบบเดียวกบั อาคารอน่ื ๆ Chalerm Thai Theatre was demol- ริมถนนราชด�ำ เนนิ เพราะออกแบบโดย หมิว อภัยวงศ์ เชน่ เดยี วกนั ished in 1989 to open up the view ส่วนภายในตกแต่งโดย ศวิ วงศ์ กุญชร ณ อยุธยา จผุ ้ชู มได้ถงึ ๑,๒๐๐ of Loha Prasat (Iron Stupa) at the ทนี่ ั่ง เปน็ โรงโกท้ ี่ผู้ชมตอ้ งแต่งกายสภุ าพมาชมกัน back. At the time of the demolition, Chalerm Thai Theatre was already ด้วยความท่ีเป็นโรงหนังแถวหน้าของประเทศ จึงมีภาพยนตรร์ ะดบั old and shabby, as the area was ต�ำ นานเรยี งควิ มาฉายกนั ที่นี่ ไมว่ ่าจะมนต์รกั ทะเลใต้ (South Pacific) no longer popular. อเมรกิ นั อนั ตราย (The Ugly American) คลโี อพตั รา (Cleopatra) บุษบาริมทาง (My Fair Lady) ส่วนหนงั ไทยก็มี เรอื นแพ เป็ดนอ้ ย โทน ทอง รักริษยา รกั ขา้ ม คลอง ที่น่ยี งั เปน็ ต้นกำ�เนดิ ป๊อปคอรน์ หน้าโรงหนงั และยงั มีรา้ นไอศกรมี ขนึ้ ชอื่ อีกด้วย รอื้ ถอนไปเม่ือปี ๒๕๓๒ เพอ่ื เปดิ มมุ มองให้กับโลหะปราสาททีอ่ ยู่ ด้านหลงั ซึ่งในขณะน้ันศาลาเฉลมิ ไทยกโ็ รยราเต็มที ด้วยความเจริญ ย้ายไปท่อี ่ืนแลว้ ปจั จุบนั เปน็ ลานพลบั พลามหาเจษฎาบดนิ ทร์ A12 211

อาคารศาลสถติ ยย์ ตุ ธิ รรม L10 ตงั้ อยรู่ มิ ท่งุ พระเมรุ (สนามหลวง) เป็นตกึ ฝร่งั หลงั ใหญ่ สร้างขึน้ ในปี ๒๔๒๕ ตัง้ แตต่ น้ รัชกาลที่ ๕ แลว้ โดยนายชา่ ง ฝร่งั โจอาคมิ แกรซี (เป็นอาคารรว่ มรุ่นกบั อาคารกระทรวง กลาโหมท่อี ยูใ่ กล้ๆ กัน C06 ซงึ่ เป็นผลงานของนายชา่ งแกรซี เช่นเดียวกัน) แต่แรกที่มขุ กลางด้านหนา้ มหี อนาฬกิ าสงู สร้าง อยู่บนหลงั คา แต่ได้รอ้ื ออกไปภายหลังเน่อื งจากทรุดตัว ตึกฝรัง่ ทรงคลาสสกิ หลังน้ี รับใช้กระทรวงยตุ ธิ รรมมา มากกวา่ ๗๐ ปี ในทีส่ ุดก็ร้ือทงิ้ ไปในปี ๒๕๐๓ เพ่อื สร้าง อาคารศาลฎกี าหลงั ใหม่ L11 ขึ้นมาทดแทน Court of Justice Building: Built in 1882 in King Rama V’s era, it was a Western building with a tall clock tower atop the roof at the front. Later, the clock tower was removed as it had begun to sink. This classic Western building was used by the Ministry of Justice for 70 years before being torn down in 1960 and a new Supreme Court building was erected in its place. อาคารศาลฎกี าหลงั เก่า L11 สรา้ งข้ึนในปี ๒๕๐๖ ทดแทนอาคารศาลสถิตย์ยุตธิ รรม หลงั เกา่ L10 ที่สร้างมาตง้ั แตร่ ชั กาลท่ี ๕ แล้ว มีรปู แบบ สถาปตั ยกรรมแบบโมเดริ ์น ทีม่ กี ารใสร่ ายละเอียดความเป็น ไทยประยุกต์เข้าไปดว้ ย เชน่ หวั เสาแบบไทยที่โถงทางเขา้ และ ซุม้ จระน�ำ อาคารศาลฎกี า ฝ่ังถนนราชด�ำ เนนิ หลังน้ี ทบุ ทิ้งไปใน ปี ๒๕๕๖ เพื่อสร้างอาคารศาลฎกี าแห่งใหม่หลงั ปจั จบุ นั ขึ้น มาแทน ทา่ มกลางเสยี งคัดคา้ นจากท้ังกรมศิลปากรและนกั วชิ าการ ด้วยเปน็ อาคารโบราณสถานอนั ทรงคณุ ค่า ตวั อย่าง ของสถาปัตยกรรมหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองทค่ี วรคา่ แก่ การอนรุ กั ษ์ไว้ Former Supreme Court Building: Constructed in 1963 to replace the former Court of Justice building which had been around since 1882, the Supreme Court building featured a Modern architectural design combined with Thai elements. It was later demolished in 2013 and replaced by the current Supreme Court building, despite strong opposition from many. 212

ห้างสรรพสินค้านิวเวิลด์ L12 จากเหตกุ ารณ์ตกึ ถล่มนเ้ี อง เมื่อฝนตกลงมาจงึ เกดิ น�ำ้ ท่วมขงั ภายใตห้ ้างรา้ ง กลายเปน็ บอ่ นำ้�ขนาด พน้ื ทีเ่ ดิมตรงน้มี ปี ระวัตศิ าสตรม์ ายาวนาน ด้วย ใหญ่ เป็นแหล่งเพาะพนั ธยุ์ ุงอยา่ งดี ชาวชุมชนจึงน�ำ เปน็ ตลาดเก่ามาแต่ตน้ กรงุ แลว้ คกึ คักมากในสมัย ปลาหลากหลายพันธุ์มาปล่อยเพอ่ื หวงั ให้ชว่ ยก�ำ จดั รชั กาลที่ ๕ เรยี กกันว่า ตลาดยอด หรือตลาดบาง ลูกน�้ำ ปลาแพรพ่ นั ธ์ุอยา่ งรวดเร็วจนกลายเปน็ วงั ล�ำ พู มารุ่งเรอื งสดุ ๆ ในรัชกาลท่ี ๗ และไฟไหมว้ อด มจั ฉาใจกลางกรงุ ลงขา่ วขึ้นหนา้ หน่ึงหนังสอื พมิ พ์ ไปในปี ๒๕๑๐ น่ีเอง มาแลว้ ตลาดสดแบบเก่าจึงหลกี ทางให้กบั ตลาดใหม่ท่ี ปจั จุบนั ซากอาคารร้างของห้างสรรพสินค้าโลก เรยี กกันว่า หา้ งสรรพสินคา้ นวิ เวลิ ด์ โลกใบใหมข่ อง ใหม่ยงั คงต้ังตระหง่านอยู่ให้คนเลา่ ขาน ขนยา้ ยปลา ชาวบางลำ�พเู ปดิ ใหบ้ รกิ ารในปี ๒๕๒๗ สูง ๔ ชนั้ มี ไปปล่อยไดร้ ว่ ม ๕ พันตัว! และสบู น�ำ้ ออกหมดแลว้ ลฟิ ต์แก้วอยู่หนา้ หา้ ง ซงึ่ เป็นกระแสนิยมสำ�หรบั ห้าง แวว่ ๆ มาว่าอาจมีการปรบั โฉมใหมเ่ ร็วๆ น้ี จะเปน็ สรรพสนิ คา้ ในยุคนัน้ และไดก้ ลายเปน็ แหลง่ แฮงค์ อะไร จับตาดูให้ดี เอา๊ ทย์ อดนยิ มของเดก็ บางลำ�พู New World Department Store: This modern แตโ่ ลกใบใหมแ่ ห่งนีก้ ลับมีเง่อื นงำ� ดว้ ยมีการ department store was constructed in 1984. It is 11 ตอ่ เติมขึ้นไปเป็น ๑๑ ชนั้ โดยไมไ่ ด้รบั อนญุ าต จึง stories high, but the building permit actually allowed มีคำ�สงั่ ศาลใหร้ อ้ื ถอนชน้ั ๕-๑๑ ลงเสีย ดว้ ยฝ่าฝืน only four stories. By the time the owner agreed to เทศบญั ญัติ กทม. และ พ.ร.บ. ควบคมุ อาคาร ผู้ tear it down, it is already 2004. Interestingly, during บรหิ ารไดป้ ระวงิ เวลามานานร่วมยี่สิบปี จนกระท่ังปี the demolition, the lower floors were still in service, ๒๕๔๗ ได้เกดิ โศกนาฏกรรมข้ึน ขณะทมี่ ีการรอ้ื ถอน and when the building collapsed, many were killed and ช้นั บนโดยทยี่ งั คงเปดิ บริการช้ัน ๑-๔ ตามปกต!ิ !! injured, so the department store had to close down กองวสั ดุท่รี ้อื มากองไว้ ท�ำ ใหพ้ ื้นอาคารรบั น�ำ้ หนกั and became deserted. ไม่ไหว พงั ถล่มลงมา ผคู้ นหนตี าย ไดร้ บั บาดเจบ็ และเสียชีวติ จนต้องปดิ ห้างไป 213

เมอื ง วงั วัด ฝรั่ง บา้ น ประตูเก่าเลา่ เรื่อง Stories from Old Gates 01 ประตเู มอื งพระนคร หน้าวัดบวรนิเวศวหิ าร 07 ประตพู ิมานไชยศรี เป็นประตใู หญ่ดีไซน์ 02 ประตูผี ประตูดา้ นทศิ ตะวนั ออกของเมอื ง ฝรง่ั ทรงโค้ง สรา้ งขึ้นใหม้ ี ๒ ชัน้ ชั้นนอก-ชนั้ ใน ใช้ขนศพออกไปเผานอกก�ำ แพงพระนครทว่ี ัด ด้านหน้าพระทนี่ งั่ จักรีมหาปราท ออกแบบโดย สระเกศ ประตูผรี ื้อไปนานแล้ว แต่เรายงั เรียก นายจอห์น คลนู ิส ในช่วงตน้ รัชกาลที่ ๕ บริเวณนีว้ า่ ย่านประตผู ี (ผัดไทยประตผู ี หรือเจ๊ไฝ ควบคู่ไปกบั การกอ่ สรา้ งพระท่ีน่ังจกั รี ประตูผ)ี ด้วยชือ่ ไมเ่ ป็นมงคล เลยเปลยี่ นมาเรยี ก 08 ประตูวังสรรพศาสตร์ พื้นทีบ่ ริเวณน้ีเคย แบบโลกสวยวา่ “ส�ำ ราญราษฎร์” แทน เปน็ วงั ทป่ี ระทบั ของกรมหลวงสรรพศาสตรศ์ ุภกิจ สน. สำ�ราญราษฎร์ กต็ ั้งอยูใ่ นละแวกประตูผนี ีเ้ อง มากอ่ น ปจั จบุ ันไมห่ ลงเหลือให้เหน็ แล้ว คงมี 03 ประตชู อ่ งกุด เปน็ ประตูขนาดเลก็ ที่ไมม่ ซี ้มุ เพยี งประตวู ังทร่ี ิมถนนตะนาวนี้เท่านน้ั ท่ีเป็น ประตูทก่ี �ำ แพงเมือง มมี ากถึง ๔๗ ประตู ปัจจุบนั ประจักษพ์ ยานให้เหน็ ถงึ ความโก้หรูของวงั เจ้า เหลอื อย่เู พียง ๔ ดไู ด้ที่ซากก�ำ แพงเมืองบริเวณ นายในยคุ ท่ีเหอ่ สถาปตั ยกรรมแบบตะวนั ตกกนั ป้อมมหากาฬ ส่วนประตูชอ่ งกุดที่ก�ำ แพงทา้ ย พระบรมมหาราชวงั นั้น เปน็ ประตูเซอร์วิสใช้ 09 ประตเู หล็กหล่อ สวนสราญรมย์ สำ�หรบั คนนอกเขา้ ตดิ ต่อกบั คนในวงั เป็นของนอก น�ำ เข้าจากยโุ รป ในยคุ น้ัน สวน 04 ซากประตูวังกรมหลวงจกั รเจษฎา สาธารณะตามยโุ รปและอเมริกา ต่างกม็ ปี ระตู เหล็กหลอ่ แบบนก้ี ันแทบทกุ ที่ ริมถนนพระสเุ มรุชว่ งน้ี เคยเป็นพน้ื ทีว่ ังมากอ่ น สร้างมาต้ังแตส่ มัยรัชกาลท่ี ๑ แล้ว เรียกว่าวังริม 10 ประตคู ฤหาสน์ทา่ นเจา้ คุณอิศรเสนา ปอ้ มพระสเุ มรุ เพ่อื ใหเ้ ป็นทป่ี ระทับของกรมหลวง จักรเจษฎา (พระอนชุ าต่างมารดาของรัชกาลที่ เป็นตึกฝรง่ั รมิ คลองคูเมอื งเดมิ สร้างขึ้นในสมัย ๑) ปัจจุบนั กลายเปน็ ชมุ ชนตรอกเขียนนิวาศน์ รชั กาลที่ ๕ โดยสถาปนกิ ฝร่งั ชาวอติ าลี ต่อมาตก ถงึ แม้ว่าตวั วังจะไม่เหลอื อะไรให้เห็นแลว้ จะมกี ็ เปน็ เรือนหอของพระยาอศิ รพงศ์พิพฒั น์ (มล.สิริ แต่ซากซมุ้ ประตูวังเทา่ นน้ั ก่อด้วยอิฐมอญ อิศรเสนา) ปัจจบุ นั ตกทอดมายงั บุตรชายคือ มศี าลกรมหลวงจกั รเจษฎาต้งั อยทู่ ีด่ ้านหน้า คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยธุ ยา 05 ซมุ้ ประตูวัดโพธทิ์ รงยอดมงกฏุ ประดบั 11 ซุม้ ประตบู า้ น พล.ต.ต. หลวงศิลป์ประสิทธิ์ กระเบ้อื งเคลอื บแบบจีนตามพระราชนิยมในสมัย รัชกาลท่ี ๓ มที ั้งหมดรวม ๑๖ ประตโู ดยรอบ (ตาบ ศลิ ปี) บดิ าของคุณหญิงเต็มสริ ิ บณุ ยสิงห์ ร้วั ก�ำ แพงวัดโพธ์ิ ภายในตรอกไก่แจ้ ย่านปอ้ มพระสุเมรุ คาดว่า 06 ซุ้มประตูวดั ราชบพิธ ทวารบาลคือผู้พทิ ักษ์ สร้างขนึ้ ในชว่ งรัชกาลท่ี ๖ รกั ษาประตู ทีว่ ัดราชบพิธ ทำ�เป็นรูปทหารแตง่ เครือ่ งแบบเตม็ ยศอย่างฝร่งั ด้วยเปน็ ช่วงท่ีท�ำ ตัว 12 ซมุ้ ประตูไม้ฉลชุ ุมชนหลงั วัดราชนัดดา ศิวิไลซเ์ ป็นฝรงั่ กนั สว่ นทซี่ มุ้ ประตนู ้นั เปน็ ปูนป้นั ท�ำ ช่อฟ้าหางหงส์เป็นนกเจา่ 13 ประตบู ้านขุนวิสทุ ธสิ มบตั ิ (ตุ๊ กาญจนโห ต)ิ ประตูไม้ ประดับลวดลายไมฉ้ ลุตามเทรนดใ์ น สมยั รัชกาลท่ี ๖ ปจั จุบนั ตกเปน็ ของบุตรสาวคือ นางวันเพญ็ อมรสทิ ธิ์ 14 บา้ น พ.ท. ยวง เจรญิ จันทร์ ภายใน ซอยสุขา ๑ หลังกระทรวงมหาดไทย เหลอื เพียง แต่ไม้ฉลสุ วยงามทซี่ มุ้ ประตู ลองไปตามดกู นั ได้ แล้วช่วยบอกหน่อยวา่ ลายฉลุนัน้ อ่านว่าอะไร 214

01 City Gate in front of Wat Bowon Niwet 02 Pratu Phi (ghost’s gate) where dead bodies were transported on their way to funerals outside the city. The gate has been demolished. Today, this area is known as Samran Rat. 03 Pratu Chong Kud is a small door in the wall, seen in the City Wall and the Grand Palace’s wall, used as a service entrance. 04 Ruins of an old palace’s gate on Sumen Road, constructed in King Rama I’s era. 05 Wat Pho’s gate capped with a crown, decorated with Chinese porcelains, which was a popular style in King Rama III’s era. 06 Wat Ratcha Bophit’s gate is guarded by soldier statues dressed in a full Western-style uniform. 07 Phiman Chaisi Gate is a Western-style gate in front of the Chakri Throne Hall. The gate and building were constructed at the same time. 08 Prince Sapphasat’s palace gate still remains although the palace has long been demolished. The gate was built in a Western style. 09 Cast iron gate of Saranrom Park was imported from Europe. 10 Gate of Israsena mansion was built by an Italian architect in the late 19th century towards the end of King Rama V’s era. 11 Gate of Silpi house near Phra Sumen Fort was built in the 1910s in King Rama VI’s era. 12 Gingerbread-style gates in the community behind Loha Prasat. 13 Gate of Kanchanahoti house is decorated with gingerbread-style wooden panels, a trend in the era of King Rama VI. 14 Gate of a house in Soi Sukha 1 behind the Ministry of Interior today has only perforated wooden panels remaining at the top. 215