คํานาํ ขอตอนรับสูการเขาอบรมหลักสูตรระยะส้ัน หัวขอประสิทธิผลการบริหารโลจิสติกส เชิงปฏิบัติการ เปนหัวขอท่ีสํานักโลจิสติกสเล็งเห็นวาเปนสวนสําคัญของการบริหารดานอุตสาหกรรมของ ทั้งภาคการผลิตและการบริการ ซ่ึงเปนหลักการพ้ืนฐานและศักยภาพของการบริหารจัดการเชิงปฏิบัติการ และเปน การเตรยี มบคุ ลากรของวสิ าหกิจระดบั กลางและระดบั ยอ มใหมที ักษะ ความรู เพื่อรองรับการแขงขัน ที่มีการคาดการณวาจะรุนแรงมากข้ึนหลังจากการเปดการคาเสรีของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) จึง บรรจุหัวขอการอบรมประสิทธิผลการบริหารโลจิสติกสเปนหน่ึงในสามหัวขอพื้นฐานของการอบรม อาทิ เชน หลกั สูตรการจดั การสินคาคงคลังและหลักสูตรการวางแผนและควบคุมการผลิต หลักสูตรน้ีเปนหลักสูตรระยะสั้นเพียง 2 วัน เพ่ือสนองตออุตสาหกรรมสวนใหญที่มีบุคลากร จํากัดและมีบุคลากรไมเพียงพอในการอบรมระยะยาวได จึงไดออกแบบหลักสูตรใหกระชับ แตมีคุณภาพ สําหรับผเู ขา อบรม หลักสูตรอบรมระยะสั้นนี้เปนสวนหนึ่งของชุดการอบรมปฏิบัติการซึ่งประกอบดวยหัวขอ อบรม จาํ นวน 3 โมดูล ดังนี้ โมดลู 1: ประสิทธิผลการบริหารโลจสิ ตกิ ส Effective Logistics Management โมดูล 2: การบริหารจัดการสนิ คา คงคลังและคลังสนิ คา Fundamentals of Inventory and Store Management โมดูล 3: การวางแผนและควบคมุ การผลิต Production Planning and Control หลักสูตรน้ีไดจ ดั ทาํ โดยคณะทีมงานของสถาบันอบรมวชิ าชพี โซอ ปุ ทานสากลเอสซเี อม็ เพอื่ ใช ในกิจกรรมอบรมของสาํ นักโลจสิ ตกิ ส (กพร.) เทา นัน้ เปาหมายการดาํ เนินการอบรม พัฒนาองคความรูพื้นฐานสําหรับอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็กที่มีบุคลากรท่ีขาด องคค วามรหู ลักพ้นื ฐานและการปฏบิ ตั ิการโลจสิ ติกสเ พอื่ ภาคอตุ สาหกรรมโลจิสตกิ สก ารผลติ ประโยชนทค่ี าดวาจะไดร ับ ยกระดับความรูบุคลากรในภาคอุตสาหกรรมใหมีทักษะและความชํานาญดานโลจิสติกส และซัพพลายเชน เพื่อใหมีขีดความสามารถในการแขงขันและเตรียมความพรอมรองรับการเปดเสรีการคา ภายใตกรอบประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (AEC) ในป 2558 การอบรมหลกั สตู รประสิทธผิ ลการบรหิ ารโลจิสตกิ ส เปน 1 ใน 3 โมดลู ของชดุ หลกั สตู ร “การจดั การโลจสิ ติกสแ ละซพั พลายเชนระดบั ปฏบิ ัติการ” ท่สี ถาบันอบรมวิชาชพี โซอ ปุ ทานสากลเอสซเี อม็ ไดร บั การมอบหมายในการออกแบบและจดั การอบรมในครัง้ นี้
Fundamentals of Inventory and Store Management หลกั สูตรการบรหิ ารจดั การสนิ คา คงคลังและคลังสนิ คา สารบญั บทท่ี 1 การบริหารจดั การสนิ คา คงคลังและคลังสนิ คา (Fundamentals of Inventory Management) คาํ นยิ ามของสนิ คา คงคลงั ……………………………………………………………………………….. 5 เหตใุ ดจึงตองมีการบรหิ ารจดั การสนิ คาคงคลัง………………………………………………………….. 7 วัตถุประสงคของการจดั การสนิ คา คงคลงั ………………………………………………………………. 9 ประเภทของสนิ คาคงคลงั ……………………………………………………………………………….. 11 ระดบั การบรหิ ารจัดการสินคา คงคลัง……………………………………………………………………. 13 คุณลกั ษณะของสินคา คงคลังในโซอ ุปทาน……………………………………………………………… 15 กระบวนการบรหิ ารสินคา คงคลังเชิงกลยทุ ธ……………………………………………………………. 17 การสมดลุ เปาประสงคของความตองการและอุปทาน…………………………………………………... 21 เปา ประสงคในสินคา คงคลงั ทีข่ ดั แยง กนั ของแตละแผนกในองคก ร……………………………………. 23 การตัดสินใจแลกตนทุนทีเ่ สยี ไปกบั ผลประโยชนทจ่ี ะไดร บั …………………………………………… 29 สนิ คาคงคลังและการไหลของความตองการ……………………………………………………………. 33 การแปรเปลย่ี นสภาพของสนิ คา คงคลัง…………………………………………………………………. 35 สนิ คา คงคลังใหคณุ คาไดอยา งไร………………………………………………………………………... 37 บทที่ 2 เปาหมายและหนาท่ีของสินคา คงคลัง (Purpose and Function of Inventory) เปาหมายและหนาท่ีของสินคา คงคลงั ……………………………………………………………………. 49 เหตใุ ดตอ งมสี ินคา คงคลงั ………………………………………………………………………………… 49 หนา ทีข่ องสินคาคงคลงั …………………………………………………………………………………... 51 เปาหมายของการมีสินคา คงคลังกันชน (Buffer) และสนิ คา คงคลังเพอื่ เชือ่ มกระบวนการ (Decoupling)... 53 บริษัทจาํ เปน ตอ งมีสินคาคงคลงั เทา ไร…………………………………………………………………… 55 องคป ระกอบการตดั สนิ ใจในสนิ คาคงคลัง………………………………………………………………. 57 การคํานวณสินคา คงคลัง…………………………………………………………………………………. 59 สินคาคงคลังสวนเกนิ /ลา สมยั ……………………………………………………………………………. 81
การวัดประสทิ ธภิ าพของสินคา คงคลงั ……………………………………………………………………. 83 การประเมนิ มลู คาสนิ คา คงคลงั …………………………………………………………………………… 87 บทท่ี 3 การบรหิ ารจัดการเตมิ สนิ คาคงคลงั (Inventory Replenishment Management) ความตอ งการอิสระและความตอ งการแบบพึ่งพา…………………………………………………..…. 93 กลไกการบริหารจัดการเติมสนิ คา คงคลัง…………………………………………………………...…. 95 ชวงเวลาตรวจสอบการเตมิ สนิ คาคงคลงั ………………………………………………………….…… 97 หลักการเตมิ สนิ คา คงคลัง……………………………………………………………………………… 99 พืน้ ฐานระบบจุดสั่ง……………………………………………………………………………….…… 109 ตน ทนุ การเติมสนิ คา คงคลงั …………………………………………………………………………… 117 บทท่ี 4 เทคนิคการจดั การสนิ คาคงคลังและการวดั การดาํ เนินการของสนิ คาคงคลงั (Inventory Management Techniques and Inventory Performance) เทคนคิ การบรหิ ารจดั การสนิ คาคงคลัง……………………………………………………………… 127 การจัดประสทิ ธภิ าพของสนิ คาคงคลงั ……………………………………………………….……… 133 งบการเงนิ และสนิ คาคงคลัง………………………………………………………………….……… 135 การควบคุมสนิ คาคงคลังโดยใช ABC Inventory Control…………………………………………… 141 เครอ่ื งมือวดั ความถูกตอ งของสินคา คงคลัง………………………………………………………..… 147 การตรวจนบั สนิ คา คงคลังส้ินป… …………………………………………………………………… 151 การเทยี บการตรวจนับตามรอบเวลาเชิงกายภาพ กบั การตรวจนบั ตามรอบ......................................... 155
การบริหารจดั การสนิ คาคงคลงั และคลงั สนิ คา Fundamentals of Inventory and Store Management
หลักสูตรการจดั การโลจิสติกสแ ละซพั พลายเชนระดบั ปฏิบัตกิ าร การบริหารจดั การสินคา คงคลงั และคลงั สนิ คา Fundamentals of Inventory and Store Management รายละเอียดหัวขอ การอบรม / Course Content บทเรียนท่ี 1 / Session 1 การบริหารจัดการสินคา คงคลงั Fundamentals of Inventory Management บทเรียนที่ 2 / Session 2 เปาหมายและหนา ท่ขี องสนิ คาคงคลงั Purpose and Function of Inventory บทเรยี นที่ 3 / Session 3 การบริหารจดั การเติมสนิ คา คงคลงั Inventory Replenishment Management บทเรยี นที่ 4 / Session 4 เทคนคิ การจดั การสินคาคงคลงั และการวัดการดําเนนิ การของสนิ คา คงคลงั Inventory Management Techniques and Inventory Performance บทเรยี นท่ี 1 / Session 1 การจัดการสินคา คงคลงั • คํานยิ ามของสินคาคงคลงั • เหตใุ ดจงึ ตองมกี ารบรหิ ารจดั การสนิ คา คงคลงั • วตั ถุประสงคข องการจดั การสนิ คาคงคลัง • ประเภทของสนิ คาคงคลงั • ระดบั การบรหิ ารจดั การสนิ คา คงคลงั • คุณลกั ษณะของสินคาคงคลังในโซอปุ ทาน • กระบวนการบริหารสนิ คา คงคลังเชิงกลยทุ ธ • การสมดุลเปา ประสงคข องความตอ งการและอปุ ทาน • เปาประสงคใ นสนิ คา คงคลงั ทขี่ ัดแยง กันของแตละแผนกในองคกร • การตดั สนิ ใจแลกตนทนุ ทีเ่ สยี ไปกบั ผลประโยชนท จ่ี ะไดร ับ • สนิ คา คงคลังและการไหลของความตอ งการ • การแปรเปลย่ี นสภาพของสนิ คาคงคลงั • สนิ คา คงคลังใหค ุณคาไดอยา งไร โครงการสนับสนนุ โดยสํานักโลจิสติกส กรมอตุ สาหกรรมพื้นฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 1
หลักสูตรการจัดการโลจสิ ติกสแ ละซพั พลายเชนระดบั ปฏบิ ัติการ Copyright © SCM EEI Copyright © SCM EEI โครงการสนับสนุนโดยสาํ นักโลจิสติกส กรมอุตสาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมืองแร (กพร.) 2
หลกั สูตรการจัดการโลจสิ ติกสแ ละซัพพลายเชนระดับปฏิบตั ิการ การบรหิ ารสนิ คาคงคลัง (Inventory Management) ในเกือบทุกธุรกิจจะตองเก่ียวของกับการบริหารสินคาคงคลัง (Inventory) ในรูปแบบใดรูปแบบ หน่ึง ผูผลิตและผูจัดจําหนายตองมีการบริหารการส่ังสินคา รับสินคา จัดเก็บสินคา ติดตาม และจัดจําหนาย สนิ คาคงคลังนั้นหมายถึง วัตถุดิบ ชิ้นสวน ตลอดจนเปนสินคาสําเร็จรูป ในอุตสาหกรรมการผลิตจะมีสินคา คงคลังเปนวัสดุและสินคาสําเร็จรูป สินคาคงคลังท่ีเปนวัสดุประกอบดวย วัตถุดิบ ช้ินงานระหวางผลิต ชิ้นสวนประกอบ และอุปกรณเครื่องจักร เปนตน ในอุตสาหกรรมคาปลีกและคาสง สินคาคงคลังสวนใหญ จะเปนสนิ คา สําเร็จรูป แมในธุรกิจท่ีเปนอุตสาหกรรมบริการก็ยังตองมีสินคาคงคลังซึ่งอาจอยูในรูปของชุด อบรม ซอฟแวร คูมอื วัสดุทางการตลาด วัตถุดิบอาหาร และอนื่ ๆ ที่จะตองมไี วเพอ่ื สนับสนุนการใหบริการลกู คา ตน ทนุ สินคาคงคลงั เปน สดั สว นทสี่ งู ในตน ทนุ ธุรกิจ มีต้ังแตประมาณ 10% จนถึง 60% ซึ่งแตกตางกัน ไปตามประเภทของอุตสาหกรรมหรือประเภทธุรกิจ สินคาคงคลังมีผลกระทบท้ังในดานดีและดานเสียตอ ธุรกิจ ถาบริษัทมีสินคาคงคลังมากก็จะมีตนทุนสูง ซ่ึงนอกจากเงินที่ลงทุนไปในการจัดซื้อสินคาคงคลังมา จัดเก็บแลว ยังรวมคาดูแลรักษา คาคลังสินคาอีกดวย เม่ือเงินลงทุนในสินคาคงคลังมากก็อาจจะทําใหบริษัท เสยี โอกาสที่จะนําเงินไปลงทุนหากาํ ไรดา นอืน่ ในขณะเดียวกันหากบริษัทลงทุนในสินคา คงคลงั นอยเกนิ ไป อาจจะทําใหสินคามีไมเพียงพอตอการตอบสนองความตองการของลูกคา ระบบงานผลิตหยุดชะงัก ดังนั้น บริษัทจึงตองมีการบริหารจัดการสินคาคงคลังอยางมีประสิทธิภาพ เพ่ือเพ่ิมโอกาสใหบริษัทมีสภาพคลอง เพ่ิมระดับการบรกิ ารลูกคา เพม่ิ ผลกาํ ไรและเพิ่มสว นแบงตลาด ในหวั ขอน้ีเราจะหาคําตอบสาํ คัญเก่ยี วกบั การจัดการสนิ คาคงคลงั • นยิ ามของสินคา คงคลงั คอื อะไร และมีบทบาทอยางไรในธรุ กิจ • อธบิ ายวัตถุประสงคห ลักทางธุรกิจของการบริหารจัดการสนิ คาคงคลงั • สามารถระบุระดบั ตา งๆ ของสนิ คาคงคลงั ในธุรกิจ • อธบิ ายองคป ระกอบทจ่ี าํ เปน ในการพฒั นากลยุทธการจดั การสินคา คงคลงั ใหมีประสทิ ธภิ าพ • การจัดการเปาหมายของสินคา คงคลังและความตองการใหส มดลุ กนั • อธิบายวัตถุประสงคการบริหารงานที่ขัดแยงกันในองคกร เก่ียวกับการจัดการสินคาคงคลัง อันมี ฝายการตลาด ฝายขาย ฝา ยการเงิน และฝา ยปฏิบตั กิ ารประเภทของสนิ คา คงคลงั • ระบุประเภทของสนิ คา คงคลัง • วิธกี ารทํางานขน้ั พน้ื ฐานของการไหลของสินคาคงคลังภายในองคกรและโซอปุ ทาน • คํานวณผลกระทบทางการเงินของสนิ คา คงคลังทม่ี ตี อ องคกร โครงการสนบั สนุนโดยสํานักโลจสิ ตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพนื้ ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 3
หลกั สูตรการจดั การโลจิสติกสและซัพพลายเชนระดบั ปฏิบัตกิ าร Copyright © SCM EEI โครงการสนบั สนุนโดยสํานักโลจสิ ตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพ้นื ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 4
หลักสูตรการจดั การโลจิสติกสและซัพพลายเชนระดบั ปฏบิ ัตกิ าร คาํ นิยามของสนิ คาคงคลงั ในหลักสตู รนี้ สามารถอางอิงคํานิยามของสินคา คงคลงั ซึ่งเปน พ้ืนฐานของการเขาใจตลอดหลักสูตร ดังนี้ นยิ ามท่ี 1 เปน นิยามจากพจนานกุ รมของ APICS ฉบับที่ 13 “วัสดุหรือรายการสินคาตางๆ ท่ีเกบ็ ไวเพ่ือใชประโยชนในการดาํ เนินงานผลิต (วัตถุดิบและรายการ อยูในระหวางการผลิต) หรือสนับสนุนกิจกรรมอ่ืนๆ (เชนวัสดุในการซอมบํารุงซอมแซมและการ ปฏบิ ัตกิ าร) และเพอื่ บรกิ ารลกู คา (สินคา สาํ เรจ็ รปู และชิ้นสวนสาํ รอง)” นยิ ามที่ 2 เกี่ยวของกบั ตัวลกั ษณะและงานของการจดั การสินคา คงคลัง “การจัดการสินคาคงคลังเปนความรับผิดชอบตอการรักษาสถานะความถูกตองของยอดคงเหลือใน คลงั ปริมาณที่อยรู ะหวา งการสง่ั สินคา และคุณคา ทางการเงินของสินคาสําเร็จรูป ชิ้นสวนและวัตถุดิบในเชิง กายภาพทอ่ี ยใู นสถานท่เี ก็บตางๆ ” ในคํานิยามทั้งสองน้ี สินคาคงคลังมาจากการนําเอาวัสดุ ช้ินสวน หรือสินคาสําเร็จรูป เขาสูระบบ ธุรกจิ โดยการจัดซือ้ หรือการผลติ แตละบริษัทมีหลายเหตุผลที่จะตองมีสินคาคงคลัง ซึ่งขึ้นอยูกับวัตถุประสงคในการบริหารจัดการ และบทบาทหนาท่ีของสินคาคงคลังของแตละบริษัทและประเภทธุรกิจ เพื่อใหแนใจวาวัตถุประสงคตางๆ ทตี่ ง้ั ไวไดบรรลตุ ามเปา เหตุใดการจดั การสินคาคงคลังใหมีประสิทธผิ ลจึงมีความสําคัญมาก 1 2 3 4 โครงการสนับสนุนโดยสาํ นักโลจิสติกส กรมอตุ สาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร (กพร.) 5
หลักสูตรการจัดการโลจิสตกิ สและซพั พลายเชนระดับปฏบิ ัตกิ าร Copyright © SCM EEI โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจสิ ตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 6
หลักสูตรการจดั การโลจสิ ติกสแ ละซพั พลายเชนระดบั ปฏิบตั ิการ เหตุใด จึงตอ งมีการบริหารจดั การสินคาคงคลัง เหตุผลสาํ คญั ที่ตองมีการบรหิ ารจดั การสนิ คาคงคลงั ที่ดีคอื • เพ่ือบรรลุเปาหมายองคกรโดยรวม (Overall Cooperate Goals) - ในอุตสาหกรรมการผลิต การมี สินคาคงคลังชวยใหบริษัทผลิตสินคาไดอยางตอเนื่องและเกิดความคุมคาเชิงตนทุนการผลิต เนื่องจากการผลิตอยางตอเนื่องจะชวยลดตนทุนในดานการติดตั้งเครื่องจักร คาใชจายจากเวลา รอคอยในการผลิต การประหยัดคาขนสงวัตถุดิบ บางคร้ังคาขนสงมีราคาสูงทําใหการจัดซื้อใน ปริมาณมากสงผลตอตนทุนเชนกัน และทําใหทําการผลิตไดอยางตอเน่ือง มีสินคาคงคลังเพียงพอ ตอการตอบสนองความตองการของลูกคา ซึ่งเปนกระบวนการหลักท่ีสําคัญในการบรรลุเปาหมาย ขององคก รโดยรวม • เพื่อใหสินคาคงคลังถูกจัดเก็บอยางเหมาะสม (Inventory Must Be Properly Managed) - บทบาทของ การบริหารจัดการสินคาคงคลังมีความสําคัญและมีความซับซอนมาก สืบเน่ืองมาจากความ หลากหลายและปริมาณของสินคาคงคลัง ซ่ึงเม่ือขนาดของสินคาคงคลังเพิ่มข้ึน การทําบัญชีสินคา คงคลังใหถูกตอ งและมีประสทิ ธิภาพก็ยากข้ึนตามไปดวย • มาจากการลงทนุ ของบริษทั (An Enormous Financial Investment) - สินคา คงคลังมาจากเงินท่ีลงทุน ไปของบริษัท ฉะนั้นสินคาคงคลังจึงเปนของที่มีมูลคาในตัวของมันเอง บริษัทจําเปนตองมีการ บริหารจดั การที่ดี การทบี่ ริษัทมสี ินคาคงคลงั เปรยี บเสมอื นกบั เกบ็ เงนิ ไวใ นคลังสนิ คา ซึง่ เหมอื นกับ การฝากเงินไวกับธนาคาร ผูบริหารสินคาคงคลังจะตองพิจารณาหาวิธีในการควบคุมธุรกรรมท่ี เกี่ยวของกับสินคาคงคลังโดยไมใหเกิดขอผิดพลาด เพื่อใหไดยอดคงเหลือที่ถูกตองตามรายการ บันทกึ และเพือ่ ปองกนั การถกู โจรกรรม • มีการควบคุมและตรวจสอบอยางตอเน่ือง (Inventory Must Be Controlled and Reviewed) - เมื่อ ความหลากหลายและปริมาณธุรกรรมที่เก่ียวของกับสินคาคงคลังเพิ่ม ทําใหการควบคุมและการ ตรวจสอบยอดคงเหลอื ของสินคา คงคลังมีความสําคญั มากตามไปดวยเชนกัน ความคิดเหน็ เพม่ิ เติม โครงการสนบั สนนุ โดยสํานักโลจิสตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 7
หลักสูตรการจัดการโลจิสตกิ สและซพั พลายเชนระดับปฏบิ ัตกิ าร Copyright © SCM EEI โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจสิ ตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 8
หลักสูตรการจดั การโลจสิ ติกสและซพั พลายเชนระดบั ปฏบิ ัตกิ าร วัตถปุ ระสงคห ลักของการจัดการสนิ คา คงคลงั เปาหมายของผูบริหารสินคาคงคลัง คือ หาวิธีลดตนทุนสินคาคงคลังอยางตอเนื่อง การที่บริษัทมี นโยบายเพ่ิมอัตราการตอบสนองความตองการของลูกคา ไมไดหมายความวาบริษัทจะตองมีการเก็บสินคา คงคลังมากข้ึนตามไปดวย การหาทางเลือกแทนการลงทุนในสนิ คาคงคลัง ถอื เปน วัตถุประสงคหลักของงาน ควบคุมสินคาคงคลัง การท่ีบริษัทหน่ึงจะมีสินคาคงคลังมากหรือนอยนั้นเปนผลมาจากการตัดสินใจ เปรยี บเทียบระหวา งตน ทุนในการจดั หาวัสดุหรือสนิ คากับตน ทุนการจัดเก็บสินคาคงคลัง และความสามารถ ทจ่ี ะสนองความตอ งการของลูกคาท่ตี ้งั เปา ไว วตั ถปุ ระสงคห ลกั ของการจดั การสนิ คา คงคลังมีดังตอ ไปน้ี • เพอื่ ตอบสนองความตองการของลกู คา ทีพ่ ยากรณไวในแตล ะชว งเวลา ทงั้ ในและนอกฤดูกาล • เพื่อรักษาอัตราการผลิตใหคงที่และสม่ําเสมอ เพื่อรักษาระดับการวาจางแรงงาน การเดินเคร่ืองจักร ฯลฯทําไดโดยบริษัทจะผลิตสินคาไวในชวงนอกฤดูกาลหรือชวงท่ีมีความตองการสินคาตํ่าเพ่ือเก็บ ไว และจําหนา ยในฤดูกาลกาลหรือเทศกาล หรือชวงทค่ี วามตองการสินคา สูง • เพื่อใหไดปริมาณการสั่งซื้อท่ีประหยัด (Economic Order Quantity: EOQ) ตามทฤษฎีของ EOQ การส่ังซ้ือในปริมาณมากจะไดราคาตนทุนที่ตํ่ากวา ทั้งนี้เพื่อปองกันการเปลี่ยนแปลงราคาและ ผลกระทบจากเงนิ เฟอ เมอื่ วัสดหุ รือสินคา ในทอ งตลาดมีราคาสงู ขึ้น • หากผูจัดหานําสงสินคาลาชา หรือบริษัทไดรับคําส่ังซื้อเพ่ิมข้ึนจากลูกคากระทันหัน บริษัทจึง จําเปน ตองมีสนิ คา คงคลงั สํารอง (Safety Stock) เพือ่ ปองกันสนิ คา ขาดมอื • การมีสินคาคงคลังทําใหกระบวนการผลิตสามารถดําเนินงานไดอยางราบร่ืนและตอเน่ือง เพราะ หากกระบวนการผลิตตองหยุดชะงักเพราะของขาดมือจะทําใหเกิดความเสียหายแกกระบวนการ ผลิต และการตอบสนองตอความความตองการของลูกคา อีกเหตุผลหน่ึงคือการสนับสนุน เครือ่ งจกั รและแรงงานอยา งเต็มประสิทธิภาพเพ่ือใหเกิดประโยชนสูงสุดในการใชทรัพยากรอยางมี ประสิทธิภาพ (Productivity) มีความยืดหยุนในการผลิตซึ่งสามารถสลับปรับเปลี่ยนงานผลิตได อยางรวดเร็วและทําใหสามารถผลิตสินคาทห่ี ลากหลายมากขึน้ ได การควบคุมอยางมีประสิทธิผลชวยใหองคกรสามารถบรรลุเปาหมายไมเพียงแตในดานสินคาคงคลังแต ยังเช่ือมโยงกับเปาหมายงบประมาณในแผนกอื่น ๆ อีกดวย ซ่ึงคาใชจายในสินคาคงคลังตองมีความ สอดคลองกับแผนคาใชจายการลงทุนเปนระยะ ๆ เพ่ือใหไดมาซ่ึงตัวชี้วัดการคืนทุน โดยนําผลจากการ วิเคราะหการแปรผันตา งๆ มาเปน ฐานขอ มูลในการดาํ เนินการแกไขตอ ไป โครงการสนับสนนุ โดยสํานักโลจสิ ติกส กรมอตุ สาหกรรมพื้นฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 9
หลกั สูตรการจัดการโลจิสติกสแ ละซพั พลายเชนระดับปฏบิ ัตกิ าร Copyright © SCM EEI โครงการสนับสนุนโดยสาํ นักโลจสิ ตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 10
หลักสูตรการจดั การโลจสิ ตกิ สและซัพพลายเชนระดบั ปฏบิ ัตกิ าร ประเภทของสนิ คาคงคลงั (Classes of Inventory) ตามขอบขายงานของ APICS Operation Management Body of Knowledge (OMBOK) 2nd ed. ได กลา วถึงประเภทของสินคาคงคลัง ดังนี้ • วัตถุดิบหรือช้ินสวนที่ซื้อมาเพ่ือใชในการผลิต (Raw Materials/Commodities) วัสดุหรือช้ินสวนท่ี ซ้ือเขามาเพื่อใชในการผลิต จะมีความสัมพันธโดยตรงกับผูจัดหา ดังน้ันควรเลือกผูจัดหาท่ีมีความ แนนอนในเร่ืองของคุณภาพผลติ ภัณฑ ปรมิ าณ และความตรงตอเวลาในการจัดสง • ชิ้นงานที่อยูระหวางกระบวนการผลิต (Work-in-Process) ช้ินงานท่ีอยูในกระบวนการผลิตหรือรอ คอยทจี่ ะผลิตในขน้ั ตอนตอ ไป โดยยงั ผา นกระบวนการผลติ ท่ีไมครบทกุ ข้นั ตอน • สินคาสําเร็จรูป (Finished Goods) ผลผลิตท่ีผานทุกกระบวนการผลิตครบถวนแลว มีความพรอมท่ี จะสงขายใหกับลูกคาหรือมีการเก็บรักษาเพื่อสํารองไวขายใหลูกคาไดตลอดเวลาและนับวาเปน ทรพั ยส ินของบรษิ ัท • การกระจายสินคา (Distribution Inventories) เปนกระบวนการเคลื่อนยายสินคาจากผูผลิตไปยัง ผบู ริโภค • วัสดุซอมบํารุง (Maintenance, Repair and Operating Supplies) ชิ้นสวนหรืออะไหลเคร่ืองจักรและ อุปกรณท่ีจําเปนตองมีสํารองไวเพ่ือเปลี่ยนชิ้นสวนเดิมหรือหมดอายุการใชงาน ท้ังน้ีเพื่อปองกัน ไมใ หเกดิ ภาวะอะไหลข าดแคลนหรือหาซ้อื ไมไดในยามท่ีอุปกรณชาํ รุดเสียหาย • ชน้ิ สว นบรกิ าร (Service Parts) วัสดทุ ม่ี ีความตองการเสมอื นเปนวัสดุขั้นสุดทาย ซึ่งถูกส่ังโดยศูนยบริการ เพื่อใชในการซอ มแซม วัสดุขั้นสุดทา ยรายการอืน่ ๆ หรอื วสั ดดุ ังกลาวนีต้ ามปกติจะเปน อุปสงคแปร ตามเน่อื งจากถกู ใชเพ่อื เปนสวนประกอบของวสั ดอุ ื่นๆ ซ่ึงอยใู นระดบั ทส่ี ูงกวา โครงการสนับสนุนโดยสาํ นักโลจิสติกส กรมอตุ สาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 11
หลกั สูตรการจดั การโลจสิ ตกิ สและซพั พลายเชนระดับปฏบิ ัติการ Copyright © SCM EEI Copyright © SCM EEI โครงการสนับสนนุ โดยสาํ นักโลจสิ ติกส กรมอตุ สาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 12
หลักสูตรการจดั การโลจสิ ติกสและซพั พลายเชนระดับปฏิบตั กิ าร ระดบั การบรหิ ารจัดการสินคา คงคลงั (Levels of Inventory Management) การบริหารสินคาคงคลงั แบบตอรายการ (Item Inventory) การบริหารสินคาคงคลังแบบตอรายการ คือการวางแผนและควบคุมสินคาคงคลังทุกรายการหรือทุก ประเภทรายการที่มีในบริษัท การจัดเก็บเชนนี้แสดงถึงงานท่ีตองทําเพิ่มข้ึนหากบริษัทหนึ่งมีรายการ สินคาคงคลังเปนหลักรอยหรือหลักพัน การบริหารสินคาคงคลังแบบตอรายการนั้น ชวยใหผูวางแผน กําหนดการบริหารงานท่ีหลากหลาย ไมวาจะเปนวัตถุดิบ สวนประกอบ หรือสินคาสําเร็จรูป เพื่อการ วางแผนและควบคุมสินคาคงคลงั ท่ดี ี การบรหิ ารสินคาคงคลังแบบตอ รายการเนน การจดั การความหลากหลายของรายการ ปริมาณการจัดเก็บ และ ตนทุนตางๆ ขณะเดียวกันผูบริหารสามารถใชขอมูลเหลาน้ีในการวิเคราะหเปรียบเทียบขอดี-ขอเสีย เพ่ือ ตดั สนิ ใจเปรียบเทยี บตนทุนทีเ่ สยี ไปกับผลประโยชนท ่ีจะไดก ลับมา เทคนิคนี้ไมเ หมาะสําหรับ สนิ คา คงคลงั แบบรวมรายการเปนกลุมเดยี วกนั การบริหารสินคาคงคลังแบบตอรายการ สามารถเช่ือมโยงกับระบบการส่ังซ้ือ การผลิต การจัดเก็บและ การจัดสงสินคาแตละรายการและปรมิ าณการสง่ั ซอ้ื ตามจรงิ การบริหารสินคา คงคลงั แบบรวม (Aggregate Inventory) การบริหารสินคาคงคลังแบบรวม คือการรวมสินคาคงคลังใหอยูในกลุมเดียวกัน เชน กลุม ผลิตภัณฑ (Product Family) ประเภทเดียวกัน ระดับเดียวกัน หรือใชเทคโนโลยีเดียวกัน เปนตน ซึ่งการให ความสําคัญตอสินคาคงคลังแตละรายการ ตนทุนของสินคามีความสําคัญมากกวาปริมาณของสินคาคงคลัง การบริหารสินคาคงคลังประเภทนี้มีเปาหมายคือชวยใหผูบริหารสินคาคงคลังบริหารควบคุมและตรวจสอบ สินคาคงคลังตามกลุมของสินคา และการบริหารสินคาคงคลังแบบรวม งายตอการใชหลักการควบคุม ปริมาณสินคา คงคลงั คํานวณหาปรมิ าณทเ่ี หมาะสมสําหรบั การผลิต คาํ นวณหาปรมิ าณที่เหมาะสมของสินคา คงคลังสํารอง การขนสง และสามารถคํานวณระดับการผลิตทั้งหมดที่โรงงานจะตองทําการผลิตภายใน เดือนที่ตอ งการไดง า ยขน้ึ • เทคนิคการตัดสินใจโดยการวิเคราะหขอดี-ขอเสีย ตนทุนท่ีเสียไปกับผลประโยชนที่ไดรับ ไม เหมาะที่จะนํามาใชกับสนิ คาคงคลังแบบรวมรายการเปนกลมุ เดียวกัน • การรวมตนทุนสินคาคงคลัง ตนทุนขาย ปริมาณการจําหนายและคุณคาอื่นๆ ชวยใหงายสําหรับ ผูบริหารในการจัดทํารายงานประสิทธิภาพการบริการลูกคา ประสิทธิภาพการดําเนินงาน และ วตั ถุประสงคท างดา นตนทนุ ของสินคา คงคลงั โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจิสติกส กรมอุตสาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 13
หลกั สูตรการจดั การโลจสิ ตกิ สและซพั พลายเชนระดับปฏบิ ัติการ Copyright © SCM EEI Copyright © SCM EEI โครงการสนับสนนุ โดยสาํ นักโลจสิ ติกส กรมอตุ สาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 14
หลักสูตรการจดั การโลจิสติกสและซัพพลายเชนระดับปฏิบัตกิ าร คณุ ลักษณะของสินคา คงคลงั ในโซอุปทาน (Characteristics of Inventory in Supply Chain) การบริหารจัดการสินคาคงคลังในโซอุปทานนั้น ผูบริหารตองใชกลยุทธและวิธีที่แตกตางกันไป ขึ้นอยูกับตําแหนงของกิจการในโซอุปทาน ซ่ึงแตละประเภทธุรกิจจะมีมุมมองท่ีแตกตางกันในดานของ ระดับความเสี่ยง ความหลากหลายของสินคาคงคลัง ปริมาณที่จัดเก็บ ระยะเวลาท่ีคาดวาสินคาคงคลังจะอยู ในความครอบครองของตน และตองหาปริมาณสินคาคงคลังที่เหมาะสมกับธุรกิจเพื่อใหธุรกิจดําเนินไป อยา งราบรน่ื มุมมองของผูผลิต ธุรกิจที่เปนอุตสาหกรรมการผลิต มองสินคาคงคลังเปนความเสี่ยงระยะยาว แมวาผูผลิตจะจํากัดความหลากหลายของสินคาสําเร็จรูป แตยังตองมีการสะสมวัตถุดิบ และสวนประกอบ ตางๆ มากมาย กวาวัตถดุ บิ จะผา นเขาไปในกระบวนการผลิต เปนช้ินงานในขั้นตอนการผลิต (WIP) จนผลิต เสร็จเปนสินคาสําเร็จรูป สินคาคงคลังจึงอยูในระบบซัพพลายเชนเปนเวลานาน ในกิจการท่ีผลิตสินคาเพ่ือ รอจําหนาย (Make-to-Stock) ตองการเก็บสินคาคงคลังที่เปนสินคาสําเร็จรูป สวนกิจการที่ผลิตตามคําส่ังซ้ือ (Make-to-Order) สามารถลดความเสี่ยงไดโ ดยไมต องเก็บสินคาสําเรจ็ รปู แตต อ งลงทุนในวัสดุหลายชนิดใน ปริมาณที่จําเปนตอการผลิตเพื่อรอคําสั่งผลิต สรุปคือ แมวาผูผลิตจะจํากัดสายการผลิต แตจําเปนตองมีการ เก็บสินคาคงคลังที่หลากหลายเพ่ือรองรับการผลิต และตองมีการบริหารจัดการสินคาคงคลังอยางมี ประสทิ ธภิ าพและเปนเวลานาน มุมมองของผูจัดจําหนาย / ผูคาสง เปนธุรกิจประเภทถือครองเฉพาะสินคาสําเร็จรูปเทานั้น กิจการ เหลาน้ีมองสินคาคงคลังเปนความเส่ียงระยะกลาง ซ่ึงจะซ้ือสินคามาจากหลายผูผลิต และจัดจําหนาย ออกเปนวงกวาง โดยจดั จําหนายใหก ับผูคาสง ดวยกัน หรือจาํ หนา ยผคู าปลกี รายยอย เพือ่ สนองความตองการ สนิ คาในชว งฤดกู าลหรือเทศกาล ผจู ดั จาํ หนายจะตองรบั ความเส่ียงในการถอื ครองสินคาคงคลังในปริมาณที่ มากขึ้นเปน ระยะเวลานานปานกลาง เปาหมายของผูจัดจําหนายคือการมีสินคาท่ีหลากหลาย เรงการจําหนาย และจัดเก็บสนิ คา คงคลงั ในปรมิ าณท่ีตาํ่ เทา ที่จะเปนไปได ผูคาปลีก สินคาคงคลังสําหรับกิจการคาปลีกจะอยูในรูปของสินคาสําเร็จรูป ธุรกิจคาปลีกเปน จุดส้ินสุดของโซอุปทาน ผูคาปลีกมองสินคาคงคลังเปนความเส่ียงระยะส้ัน จุดมุงหมายคือตองการใหมี สินคาคงคลังที่หลากหลายและในปริมาณมาก สินคาถูกจําหนายออกไปอยางรวดเร็ว และผูจัดจําหนายใช เวลานําสงสั้น เพื่อรักษามูลคาอัตราการซ้ือขายใหสูงเทาท่ีจะเปนได ซึ่งตองแบกรับความเส่ียงจากปริมาณ การจัดเกบ็ สนิ คา คงคลงั ผูค าปลีก (Discount Retailers) จะถอื ครองสนิ คาที่มคี วามหลากหลายต่ํา แตต อ งแบก รับความเสี่ยงจากการเก็บสินคาในปริมาณมาก เพราะตองการจําหนายสินคาคร้ังละปริมาณมากๆ สวนผูคา ปลีกสินคาเฉพาะอยาง (Specialty Retailers) จะความหลากหลายของสินคาท่ีแคบลง แตแบกรับความเส่ียง สงู จากระยะเวลาทีถ่ ือครองสนิ คาคงคลัง โครงการสนบั สนนุ โดยสํานักโลจิสติกส กรมอุตสาหกรรมพนื้ ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 15
หลกั สูตรการจัดการโลจิสติกสแ ละซพั พลายเชนระดับปฏบิ ัตกิ าร Copyright © SCM EEI โครงการสนับสนุนโดยสาํ นักโลจสิ ตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 16
หลกั สูตรการจดั การโลจิสตกิ สและซพั พลายเชนระดับปฏบิ ตั กิ าร กระบวนการบริหารสนิ คาคงคลงั เชงิ กลยุทธ (Strategic Inventory Management Process) กระบวนการบริหารสินคาคงคลังเริ่มจากการกําหนดกลยุทธการจัดการสินคาคงคลังของบริษัท มี 5 ข้ันตอน ดังตอไปน้ี ข้นั ที่หนึ่ง กาํ หนดกลยุทธส ินคา คงคลัง ข้ันตอนน้ีเก่ียวของกับปญหาตางๆในสินคาคงคลัง อาทิเชน การ หาวากลุมผลิตภัณฑใดตองมีการจัดเก็บสินคาคงคลัง และสินคาคงคลังชนิดใดที่ใชสําหรับการผลิตตาม คําส่ังซื้อของลูกคา และปญหาอื่นๆ โดยเนนเรื่องระดับการเก็บสินคาคงคลังในโซอุปทาน กําลังการผลิต การบริหารคลังสินคา การจา งแหลง ผลติ ภายนอก และการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ขน้ั ที่สอง กาํ หนดกลยุทธทางการตลาดและการจดั หา ประกอบดว ย 2 กจิ กรรมดังนี้ 1) กลยุทธทใ่ี ชปจ จุบนั ประสบความสําเร็จหรอื ไม 2) สรา งความเปลีย่ นแปลงเพ่อื หาโอกาสทางการตลาดใหมๆ ข้ันที่สาม กําหนดกลยุทธการออกแบบเครือขาย คือการคํานวณหาขนาดของคลังสินคา หาทําเลของ คลังสินคา และคํานวณหาตนทุนส่ิงกอสราง และออกแบบกระบวนการทํางานในคลังสินคา ความสามารถ ในการขนสงเพื่อความตองการของลูกคา คํานวณตนทุน กําหนดนโยบายการคืนสินคา และการแบงปน ขอ มูลและการใชประโยชนจากอนิ เตอรเนต็ ขนั้ ทส่ี ี่ เลอื กกลไกการควบคมุ สินคาคงคลงั เพอื่ รกั ษาประสิทธภิ าพการบรหิ ารสนิ คาคงคลัง จึงตองมีการ เลอื กกลไกท่เี หมาะสมกบั ประเภทธุรกจิ ประกอบดว ยหลกั พืน้ ฐาน 3 ประการดังนี้ 1) เลอื กหลกั การตรวจสอบความถูกตอ งของสนิ คา คงคลังท่ีจะนาํ มาใช 2) กําหนดการควบคุมตน ทุนสนิ คาคงคลัง และคาดําเนนิ การ 3) เลอื กนโยบายการสั่งซ้อื สินคาคงคลงั ทเ่ี หมาะสม ข้ันท่ีหา ขั้นตอนสุดทายของกระบวนการวางแผนสินคาคงคลังคือการพัฒนา โดยวัดประสิทธิภาพของ การดําเนนิ งาน เพอ่ื ใหม่ันใจวาระดบั และคุณภาพการใหบ ริการลูกคาบรรลุเปาหมายขององคกร โครงการสนบั สนุนโดยสาํ นักโลจสิ ติกส กรมอุตสาหกรรมพ้นื ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 17
หลักสูตรการจดั การโลจิสตกิ สและซพั พลายเชนระดบั ปฏิบตั กิ าร Copyright © SCM EEI โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจสิ ติกส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร (กพร.) 18
หลกั สูตรการจัดการโลจิสตกิ สและซัพพลายเชนระดบั ปฏบิ ตั กิ าร กลยุทธก ารบรหิ ารสนิ คา คงคลงั (Inventory Management Strategy) เพื่อใหการบริหารงานบรรลุวัตถุประสงคหลักของการบริหารจัดการสินคาคงคลัง การสนองตอ ความตองการของลูกคาอยางทันทวงที คือความจําเปนและประโยชนของการมีสินคาคงคลัง อยางไรก็ตาม การท่ีบริษัทถือครองสินคาคงคลังมากเกินไป หรือสินคาคงคลังอยูในสถานท่ีที่ไมเหมาะสมตอธุรกิจ สามารถสงผลกระทบตอธุรกิจได ในอีกแงหนึ่ง การบริหารจัดการสินคาคงคลังอยางเหมาะสมมีคุณคา มากกวา คาใชจ า ยในสินคาคงคลงั ซง่ึ ประเดน็ ตอไปนีส้ าํ คัญตอ การใชกลยุทธท ม่ี ปี ระสิทธิภาพ 1) บทบาทของสินคาสําเร็จรูป (Role of Finished Goods) ผูบริหารสินคาคงคลังตองทําการตัดสินใจ ในการกําหนดบทบาทของสินคา สําเร็จรูปตามนโยบายของบริษัท ตัวอยางเชน การตัดสินใจเก็บรักษาสินคา คงคลังเพอื่ รอคําส่ังซอ้ื จากลูกคา หรือ ประโยชนจากการใชกลยุทธการผลิตสินคาเพ่ือรอจําหนายซ่ึงสามารถ ตอบสนองความตอ งการของลกู คา ไดส งู และมีตน ทุนการเก็บสินคา คงคลงั เพิม่ ขึ้น เปน ตน 2) การใชแหลงผลิตภายนอก (Use of Outsourcing) บริษัทอาจตัดสินใจใหสินคาบางประเภทผลิต จากแหลงผลิตภายนอก และใหการกระจายสินคาเปนหนาที่ของบุคคลท่ีสามท่ีเปนคูคาทางธุรกิจ กรณีนี้ บริษัทเลยี่ งการสรางคาใชจายในการรักษาสินคา คงคลงั เชงิ กายภาพ 3) ความหลากหลายของสินคาคงคลังในคลังสินคา (Variety of Stocked Inventory) องคความรูดาน พฤติกรรมการซ้ือสินคาและความคาดหวังของลูกคาชวยใหผูบริหารสินคาคงคลังสามารถระบุวาสินคาใด กําลังเปนท่ีตองการจึงมีการสรางความหลากหลายของสินคาท่ีจะเสนอตอลูกคา และระยะเวลาที่ลูกคา สามารถรอสนิ คา ได 4) สถานที่/ทําเลท่ีต้ัง (Locations) ผูบริหารตองคํานวณหาปริมาณคลังสินคาที่เหมาะสม สถานที่ต้ัง คลังสินคา เพื่อท่ีจะสนองตอความตองการของลูกคา เมื่อคํานวณไดแลวผูบริหารจะตองตัดสินใจกําหนด ความหลากหลายและปริมาณสินคาคงคลังที่จะจัดเก็บในแตละคลังสินคา การมีคลังสินคามากจะสามารถ ตอบสนองตอความตองการของลูกคาไดสงู และราคาตน ทุนสนิ คาคงคลงั กส็ ูงข้ึน เชนกัน 5) การบริหารจัดการสินคาคงคลัง (Inventory Management) การตัดสินใจในระบบการควบคุม สนิ คา คงคลงั น้ันจาํ เปนตอ การรกั ษาจํานวนคงเหลอื ของสนิ คาคงคลงั ที่ถูกตอ ง 6) ผูรับผิดชอบในการตัดสินใจในสินคาคาคงคลัง (Responsibility for Inventory Decision) บริษัท ควรมอบหมายใหทมี งานหรือบคุ คล เปนผูรับชอบในการตดั สนิ ใจหลักเกี่ยวกบั การบรหิ ารสินคา คงคลัง โครงการสนบั สนุนโดยสํานักโลจสิ ติกส กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 19
หลักสูตรการจัดการโลจิสตกิ สและซพั พลายเชนระดบั ปฏิบตั กิ าร Copyright © SCM EEI Copyright © SCM EEI โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจสิ ตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 20
หลกั สูตรการจดั การโลจสิ ตกิ สแ ละซพั พลายเชนระดบั ปฏิบัตกิ าร การสมดุลเปาประสงคของความตองการและอุปทาน (Balancing Demand and Supply Objectives) วัตถุประสงคโดยรวมของการบรหิ ารจัดการสินคา คงคลงั เชงิ กลยุทธ คือ การตรวจสอบวา สินคา และ บริการขององคกรตรงตอความตองการของลูกคาและคูคาหรือไม ในดานของความตองการ (Demand Side) ผูบริหารตองทําการตรวจสอบแผนกจัดหาวาสินคาคงคลังเพียงพอตอความตองการ โดยมีวัตถุประสงค ดังตอไปนี้ • สงสนิ คา ตรงเวลา (On-Time Delivery) • สนิ คา ไมขาดมือ (No Stockouts) • สามารถใหส ว นลดตามปรมิ าณการสัง่ ซอ้ื (Ability to Offer Quantity Discount) • ขยายสายการผลิต (Expanding Product Line) • ราคาถูก (Low Price) • มคี ุณภาพสงู (High Quality) • สงสินคา รวดเร็ว (Short Delivery Lead Time) • ใหบริการที่เหนอื กวา (Superior Customer Service) อยางไรก็ตามสําหรับดานของผูจัดหา (Supply Side) การเพิ่มการทํางานเพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงค ในดานความตองการนั้นมีผลใหตนทุนเพิ่มขึ้น วัตถุประสงคดานผูจัดหาขัดแยงกับวัตถุประสงคดานความ ตองการ วัตถุประสงคดานผูจัดหาประกอบดวยวัตถุประสงคท่ีเนนในเร่ืองของการลดตนทุนสินคาคงคลัง และคา ขนสง และอน่ื ๆ ดงั นี้ • ลดตนทนุ ดา นการสง่ั ซื้อ (Cost of Ordering) • ลดตน ทนุ คาขนสง (Transportation Costs) • ลดตน ทุนคาคลังสนิ คา (Storage Costs) • ตน ทนุ การทาํ ธรุ กรรมตา งๆ (Transaction Costs) • ลดการลงทุนในสนิ คาคงคลัง (Inventory Investment) • ลดตน ทุนคา ถือครองสนิ คาคงคลงั (Carrying Costs) • ลดการมีสินคา ลาสมยั (Obsolescence) • ลดการเกบ็ สนิ คาคงคลังทีม่ ีความเคล่อื นไหวชา อาจกอใหเกดิ การกลายสภาพของสินคา เชน อาหาร หรือสารเคมี เปนตน (Aging) • ลดตนทุนแรงงาน (Labor Costs) โครงการสนบั สนนุ โดยสาํ นักโลจสิ ติกส กรมอุตสาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 21
หลกั สูตรการจดั การโลจสิ ตกิ สและซัพพลายเชนระดบั ปฏิบัติการ Copyright © SCM EEI Copyright © SCM EEI โครงการสนับสนนุ โดยสาํ นักโลจสิ ตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 22
หลักสูตรการจดั การโลจิสติกสและซัพพลายเชนระดบั ปฏิบัติการ เปาประสงคใ นสินคาคงคลงั ท่ขี ดั แยง กนั ของแตล ะแผนกในองคก ร (Inventory – Conflicting Objective) การพัฒนากลยุทธสมดุลความตองการและอุปทานของแตละแผนกในองคกรเปนเร่ืองท่ีซับซอนและมี ความขัดแยงกันโดยธรรมชาติในบทบาทของสินคาคงคลังสําหรับแผนกหลักๆในองคกร ขณะท่ีทุกบริษัท ตองการทาํ กาํ ไร จงึ มคี ําถามตามมาวา “อะไรคือบทบาทของสินคาคงคลังในการบรรลุเปาหมายขององคกร” “หากบริษัทมีสินคาคงคลังมากพอที่จะสนองความตองการของลูกคาที่เกิดขึ้นไดทุกเม่ือ สินคาคงคลังจะให คุณคาตอองคกรหรือไม หรือเปนหนี้สินผูกมัดทรัพยากรการเงินของบริษัท” ความขัดแยงจะชัดเจนขึ้นเมื่อ บทบาทของสินคาคงคลงั ถูกมองเปนตัวสนับสนุนหรอื ขัดแยงกับกลยุทธของแผนกหลักในองคกร ซึ่งแผนก ดงั กลา วหมายถงึ ฝายการตลาดและฝา ยขาย ฝายปฏิบัติการ และฝายการเงนิ • ฝา ยขายและการตลาดเนนใหม สี ินคาคงคลงั พรอมสนองความตองการของลูกคา ตลอดเวลา • ฝา ยปฏิบัติการมองสินคาคงคลังในดา นของประสิทธภิ าพ • ฝายการเงินตองการลดสินคา คงคลงั ใหนอยทีส่ ุดเทาที่จะเปน ไปได ฝายขายและการตลาด (Sales and Marketing) เปาหมายของฝายขายและการตลาดตองการเพิ่มยอดขายโดยการยกระดับการใหบริการลูกคาแมวา องคประกอบอ่ืนๆ เชน ความสะดวกในการสั่งซ้ือสินคา ราคา รายการสงเสริมการขาย การใหบริการลูกคา เปนพื้นฐานการใหบริการท่ีทําใหลูกคาซื้อสินคาจากบริษัท แตการมีสินคาพรอมสงและบริการสงสินคาที่ รวดเร็วเปนกุญแจสําคัญในการทําใหลูกคาตัดสินในซื้อสินคา เพื่อใหบรรลุระดับเปาหมายของการสราง ความพึงพอใจใหกับลูกคาอันเปนกลยุทธทางธุรกิจดานการตลาดและการขาย บริษัทจึงจําเปนตองตระหนัก ถึงความตองการดังตอไปน้ี • รักษาความเปนผูนําในตลาดหรือมีสินคาทัดเทียมกับคูแขง ฝายการตลาดและฝายขายตองการมี สินคาพรอ มสง อยูในมือใหมากท่สี ุดเทา ที่จะเปนได • นักขายตอ งการมีโอกาสการขายตอ ยอดและขายตอเนือ่ ง ในรปู แบบการใหบริการลกู คาครบวงจร • การตลาดและฝายขายตองการมีสินคาเพียงพอตอการสงมอบสินคาใหกับลูกคาตามปริมาณท่ีสั่งซื้อ ไมตองการใหเกิดสินคาขาดสต็อกช่ัวคราว (Backorder) อันทําใหไมสามารถจัดสงสินคาใหลูกคา ไดทนั ที • สําหรับบริษัทท่ีผลิตสินคาตามคําส่ังซื้อของลูกคา (Make-to-Order) ฝายการตลาดและฝายขาย ตองการใหม ลี กู เลนหรอื ปริมาณการสัง่ ซอื้ ที่หลากหลายใหเ หมาะกับความตอ งการของลกู คา • เพื่อความพึงพอใจของลูกคาฝายการตลาดและฝายขายตองการท่ีจะใหลูกคาสามารถกําหนดคาหรือ คุณสมบัติของผลติ ภัณฑได เพื่อการจดั สง สินคาเรว็ ขน้ึ • ฝายการตลาดและฝายขายตองการใหมีศูนยกระจายสินคามากเทาที่จะเปนไปได ความตองการนี้ จําเปน ตอ งเพม่ิ สินคาหมุนเวยี น สินคาคงคลงั สํารอง และจํานวนของศนู ยก ระจายสินคา มากข้นึ โครงการสนบั สนนุ โดยสาํ นักโลจสิ ตกิ ส กรมอตุ สาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 23
หลกั สูตรการจดั การโลจสิ ตกิ สและซพั พลายเชนระดับปฏบิ ัติการ Copyright © SCM EEI Copyright © SCM EEI โครงการสนับสนนุ โดยสาํ นักโลจสิ ติกส กรมอตุ สาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 24
หลักสูตรการจัดการโลจิสติกสและซพั พลายเชนระดับปฏิบัติการ แผนกการผลิตและการกระจายสินคา (Manufacturing and Distribution) ในทางตรงกันขามกับฝายการตลาดและฝายขาย ฝายผลิตการกระจายสินคามีมุมมองท่ีแตกตางกัน เก่ียวกับสินคาคงคลัง เปาหมายของการปฏิบัติงานคือลดตนทุนสินคาคงคลังอยางตอเนื่อง และเพ่ิม ประสิทธิภาพการผลิต รวมถึงการเพ่ิมการใหบริการลูกคา ในขณะเดียวกันเปาหมายน้ีมีวัตถุประสงคที่ ขัดแยงกัน การสมดุลเปาประสงคท่ีขัดแยงกัน ฝายปฏิบัติการมีความตองการสําหรับสินคาคงคลังเพื่อการ ผลิตและสินคาคงคลังทเี่ ปน สนิ คา สําเรจ็ รูป ดงั ตอ ไปน้ี • ผบู รหิ ารตอ งการที่จะลดความหลากหลายของสนิ คา ทต่ี องผลติ และจัดเกบ็ • ผูจัดการฝายปฏิบัติการตองการผลิตสินคาโดยใชการผลิตแบบยาว (Long Production Run) เพื่อให ไดป ริมาณการผลิตทปี่ ระหยดั (Economies of Scale) • ไมวาบริษัทจะเปนแบบผูผลิตหรือผูกระจายสินคา มีความตองการท่ีจะรวมคลังสินคาเขาไวดวยกัน เพ่ือประหยัดคาใชจายในดานการขนสง ดานการดําเนินการ สินคาคงคลังสํารอง และอ่ืนๆ ท่ี เกีย่ วขอ ง • หากสามารถขจัดความไมแนนอนของเวลานําสงมอบวัสดุหรือสินคาจากผูจัดหาออกไปจากระบบ ได ผบู รหิ ารจะสามารถบริหารจดั การสินคาคงคลังไดด มี ากขนึ้ แผนกการเงนิ และบญั ชี (Finance and Accounting) ฝายการเงนิ และบัญชีมองสินคา คงคลงั เสมือนเนื้อรายทผ่ี ูกอยูกบั ตนทุนของบริษทั มีความตองการท่ี จะขจัดออกไปทุกเมอ่ื ทเี่ ปน ไปได สาํ หรบั ฝา ยการเงินแลว สินคาคงคลังจะสรางคุณคาในการจัดเก็บก็ตอเม่ือ สินคาคงคลงั ถกู ขายออกไปไดอยา งรวดเร็ว ความตองการของฝา ยการเงินทมี่ ีตอ สินคาคงคลังมีดงั ไปน้ี • ลดตนทุนคาถือครองสินคาคงคลัง ฝายการเงินตองการใหมีความหลากหลายของสินคาต่ํา ปริมาณ การเกบ็ สนิ คาคงคลงั ตา่ํ • ตองการท่ีจะรวมคลังสินคาเขาไวดวยกันเพื่อประหยัดคาใชจายในดานการขนสง ดานการ ดําเนนิ การ สินคาคงคลงั สํารอง และอื่นๆ ท่เี ก่ยี วขอ ง เชนเดียวกับฝา ยผลติ และกระจายสนิ คา • ฝายการเงินสนับสนุนใหมีการใชวัสดุอุปกรณ เคร่ืองมือตางๆใหคุมคาสูงสุด เชน ผลิตสินคาใน ปริมาณมากๆ เพื่อประหยดั ตนทุนตอ ช้ิน • ฝายการเงนิ สนับสนุนใหมกี ารยา ยการผลิตจากผลติ ตอครั้งเปนปริมาณมาก (Make to Stock) ไปเปน แบบผลิตตามคาํ สัง่ ลกู คา (Make to Order) เพ่ือผลิตสนิ คา ท่ีลูกคา ตอ งการเทา นั้น โครงการสนบั สนนุ โดยสํานักโลจิสตกิ ส กรมอตุ สาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมืองแร (กพร.) 25
หลกั สูตรการจัดการโลจสิ ติกสแ ละซพั พลายเชนระดับปฏบิ ัตกิ าร Copyright © SCM EEI ฝา ยขาย/ ฝายการเงนิ ฝายการผลติ / การตลาด กระจายสินคา 1) ขนาดของสนิ คาคงคลัง สงู ตา่ํ ต่าํ A. สินคา สําเรจ็ รูป ตํ่า ตํา่ สูง B. วตั ถุดิบ ส้นั ยาว ยาว ตา่ํ สงู สูง 2) ความยาวในการผลิต (ส้นั ,ยาว) สูง ตํ่า ต่าํ 3) มาตรฐาน (สูง,ตาํ่ ) 4) จาํ นวนสถานที่ตั้งของโกดังเกบ็ สินคา โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจสิ ติกส กรมอตุ สาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 26
หลักสูตรการจดั การโลจสิ ตกิ สแ ละซพั พลายเชนระดบั ปฏิบตั ิการ ทบทวนเปา ประสงคใ นสนิ คา คงคลงั ที่ขดั แยง กนั Inventory Conflicts Review จากแบบฝก หัดดานลาง ใหตอบคําถามจากประสบการณของทานเกี่ยวกับวัตถุประสงคของฝายขาย และการตลาด ฝายผลิตและกระจายสินคา และฝายการเงิน เพ่ือหาผลกระทบดานกลยุทธที่เก่ียวเน่ืองกับ สินคาคงคลังของธุรกิจ ในแตละกลยุทธ ใหอธิบายเปาประสงคของแตละหนาที่การทํางาน ท่ีอาจตองการ (ใหตอบวา สงู หรือ ตา่ํ , สัน้ หรือ ยาว) เปาประสงค • ไดผ ลตอบแทนจากการลงทุน (ROI) • ใชทรัพยากรอยา งคุมคา • ใหบ รกิ ารลูกคา วิเคราะหเ ปรยี บเทยี บการตัดสนิ ใจทมี่ ตี อสินคาคงคลัง ฝา ยขาย/และ ฝายการเงนิ ฝา ยการผลิต/ การตลาด กระจายสนิ คา 1. ขนาดของสนิ คาคงคลงั 1) สนิ คา สําเร็จรปู 2) วตั ถดุ ิบ 2. ความยาวในการผลิต (ส้นั ,ยาว) 3. มาตรฐาน (สงู ,ตํ่า) 4. จํานวนสถานที่ต้งั ของคลังสินคา โครงการสนับสนุนโดยสาํ นักโลจิสตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพ้นื ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 27
หลักสูตรการจดั การโลจิสตกิ สและซพั พลายเชนระดับปฏบิ ัตกิ าร Copyright © SCM EEI โครงการสนับสนนุ โดยสํานักโลจิสติกส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร (กพร.) 28
หลักสูตรการจัดการโลจสิ ตกิ สแ ละซพั พลายเชนระดบั ปฏบิ ตั ิการ การตดั สินใจแลกตนทุนที่เสียไปกับผลประโยชนทจ่ี ะไดร บั (Inventory Trade-Off Decision) การแกป ญ หาความขดั แยงของเปา ประสงคในแตละแผนกของฝายขายและการตลาด ฝายปฏิบัติการ และฝายการเงินนั้น ข้ึนอยูกับการตัดสินใจของผูบริหารที่จะแลกตนทุนที่เสียไปกับผลประโยชนท่ีจะไดรับ ผูบริหารสินคาคงคลงั ตองหาทางในการสมดุลตน ทุนในการรกั ษาระดับสินคาคงคลังในคลังสินคากับตนทุน คา เสียโอกาสจากการทีส่ ินคาไมพ อสงใหกับลูกคา หรือคาโกดังสินคา คาเติมสินคา และคาขนสง การสมดุล เปา ประสงคท ่ขี ัดแยงกนั ผบู รหิ ารตอ งสามารถตอบคําถามสาํ คัญตอ ไปน้ไี ด - อะไรคือจดุ สมดลุ ระหวางสนิ คาคงคลังและการใหบรกิ ารลกู คา - อะไรคอื ระดบั ควบคุมทบ่ี ริษัทควรกาํ หนดข้ึนเพือ่ ควบคมุ สินคา คงคลงั - ควรเปล่ียนการควบคมุ สินคาคงคลงั ภายใตสถานการณใด - อะไรเปน จดุ สมดลุ ทเี่ หมาะสมระหวา งการลงทนุ สนิ คาคงคลังกับตน ทนุ อน่ื ๆ ทสี่ ัมพันธก ัน - อะไรเปนจุดสมดุลทเ่ี หมาะสมทส่ี ดุ ระหวางการลงทุนสินคาคงคลังกับตนทุนการเติมสนิ คาคงคลงั - อะไรเปน จดุ สมดลุ ทสี่ ดุ ระหวา งการลงทุนสนิ คาคงคลังกบั ตน ทนุ คา ขนสง โครงการสนบั สนนุ โดยสํานักโลจิสตกิ ส กรมอตุ สาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมืองแร (กพร.) 29
หลักสูตรการจดั การโลจิสตกิ สและซพั พลายเชนระดบั ปฏิบตั กิ าร Copyright © SCM EEI โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจสิ ติกส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร (กพร.) 30
หลกั สูตรการจัดการโลจิสตกิ สแ ละซพั พลายเชนระดบั ปฏิบตั กิ าร การตดั สนิ ใจแลกตน ทนุ ทเ่ี สยี ไปกบั ผลประโยชนท ี่จะไดรบั ตามประเภทรายการ (Trade-Off Decision by Item Class) จากตารางใหวิเคราะหการตัดสินใจแลกตนทุนที่เสียไปกับผลประโยชนที่จะไดรับตามประเภท รายการ โดยใหระบุผลประโยชนที่จะไดจากการเก็บสินคาคงคลัง เปาหมายของแบบฝกหัดคือ ตองการให ผเู รียนระบุประโยชนข องสินคาคงคลังแตละประเภทรายการตามตารางขา งลา ง กรณุ าใสคําตอบลงในตาราง ประเภทรายการ ความคุมคา ในการและผลประโยชน วตั ถุดิบ ชน้ิ งานทีอ่ ยูระหวา งขนั้ ตอนการผลติ สินคาสาํ เรจ็ รูป สนิ คาอยูใ นระบบการกระจายสินคา วัสดุซอมบํารงุ ชนิ้ สว นบริการ โครงการสนับสนุนโดยสาํ นักโลจสิ ติกส กรมอตุ สาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 31
หลักสูตรการจดั การโลจิสตกิ สและซพั พลายเชนระดับปฏิบตั กิ าร Copyright © SCM EEI โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจสิ ติกส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร (กพร.) 32
หลกั สูตรการจดั การโลจิสตกิ สแ ละซัพพลายเชนระดับปฏิบตั กิ าร สินคาคงคลงั และการไหลของความตองการ (Inventory and Demand Flow) สินคาคงคลังสามารถพบไดท่ัวไปในองคกรและในโซอุปทาน มีรูปแบบและปริมาณท่ีแตกตางกัน ออกไปขึ้นอยูกับกลยุทธของฝายผลิตหรือกระบวนการทางโลจิสติกส การตัดสินใจในสินคาคงคลังเปนการ บริหารงานที่สําคัญและตองพิจารณาอยางระมัดระวัง ซึ่งสามารถทําไดโดยการวิเคราะหเปรียบเทียบวาสิ่งที่ เสียไปจะคุมคาหรือไม เชน การตัดสินใจเก็บสต็อกสินคาคงคลังหรือไม และแตละระดับของสินคาคงคลัง น้นั จะตองตดั สินใจควบคไู ปกบั การท่ีบริษัทตองเปลี่ยนแปลงบางอยางเพื่อใหดําเนินกระบวนการสงผานไป ยังสินคาคงคลัง การตัดสินใจเหลาน้ีจะแตกตางกันไปตามประเภทธุรกิจของบริษัท และมีผลกระทบตอการ ใชเทคนิคตางๆ เชน การผลิตแบบลีน การสับเปล่ียนหมุนเวียนศูนยกลางโรงงาน การมีคลังสินคาระยะไกล การใหแหลงภายนอกเปนผูดาํ เนนิ งานแทน และปจจัยอ่ืนๆ จากสไลด แสดงรูปแบบการไหลของสินคาคงคลังในองคกร แผนภาพประกอบไปดวยหลายๆ องคประกอบท่ีเปนประโยชนในการตรวจสอบการไหลของสินคาคงคลัง องคประกอบเหลาน้ีสามารถ อธิบายไดจากกระบวนการท้ัง 5 ขั้นท่ีสินคาคงคลังไหลผาน โดยธรรมชาติของคําสั่งซ้ือจะผลักดันการไหล ของความตอ งการและประเภทของรายการ ซง่ึ สามารถพบไดใ นแตล ะขน้ั ตอไปน้ี • บทบาทการทํางาน (Process Function) สําหรับกิจการทั่วไปสินคาคงคลังถูกเก็บอยูท่ีรานคาซึ่งเปน ผูจัดจําหนาย ฝา ยการผลติ สนิ คา สําเร็จรูป อยใู นระหวา งการเคลื่อนยา ยหรือขนสง และงานตองผลิต ใหมห รือสนิ คา ลา สมยั • การไหลของความตอ งการ (Demand Flow) การไหลของความตองการเร่ิมจากคําส่ังซื้อของลูกคาท่ี เปน ตวั ดงึ สินคา คงคลงั ใหไหลไปในระบบของโซอุปทาน • ประเภทของสนิ คาคงคลงั (Inventory Class) ในสว นลา งของรูปภาพท่ีแสดง เผยใหเ ห็นประเภทของ รายการทเ่ี กยี่ วขอ งกบั กระบวนการนั้นๆ หมายเหต:ุ ผกู ระจายสนิ คา จะไมม ีวัตถุดบิ และสว นประกอบ และ ชน้ิ งานระหวา งทาํ (WIP) โครงการสนับสนุนโดยสาํ นักโลจสิ ตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 33
หลักสูตรการจัดการโลจิสตกิ สและซพั พลายเชนระดับปฏิบตั กิ าร Copyright © SCM EEI Copyright © SCM EEI โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจสิ ตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 34
หลักสูตรการจดั การโลจสิ ตกิ สแ ละซพั พลายเชนระดบั ปฏิบัตกิ าร สินคาคงคลังและการไหลของความตองการในโซอปุ ทาน จากท่ีไดกลาวถึงการเคล่ือนที่ของสินคาคงคลังผานไปยังจุดตางๆ ภายในองคกรผูผลิตและกระจาย สินคาไปแลว ในทางกลบั กันแผนภาพนีไ้ ดแสดงการเคล่อื นที่ของสินคา คงคลังผานขามองคกรในโซอ ุปทาน ปจจุบันความตองการที่จะเช่ือมสินคาคงคลังไปยังผูจัดหาวัตถุดิบเปนวัตถุประสงคหลักของศาสตรแหงการ บรหิ ารสนิ คา คงคลัง • ผูบริโภค (End Customers) ผูบริโภคคือจุดสิ้นสุดของโซอุปทาน ความตองการประเภทนี้ในจุดของ โซอปุ ทานเปรียบเสมอื น “ความตอ งการอสิ ระ” • ชองทางของตัวกลาง (Channel Intermediaries) แบงเปน 2 ประเภท คือ ผูก ระจายสนิ คา (โบรกเกอร , พอคาคนกลาง) และผูคาปลีก ความตองการประเภทน้ีในโซอุปทานเปรียบเสมือนความตองการท่ี ไดรับมา เน่ืองจากผูกระจายสินคารับความตองการสินคามาจากผูคาปลีก ผูคาปลีกเปรียบเสมือน ลูกคา ของผูกระจายสนิ คา ในความเปนจริงความตอ งการเชน น้เี ปน “ความตองการแบบแปรตาม” • ผูผลิต (Producers) ผูผลิตซ้ือสินคาคงคลังที่ใชในการผลิตจากผูจัดหา มีวัตถุประสงคเพื่อนํามาใช ในการผลิตสินคาสําเร็จรูป เมื่อมีความตองการทางการผลิตความตองการประเภทนี้เรียกวา “ความ ตองการแบบแปรตาม” การเปลยี่ นแปรสภาพของสนิ คา คงคลัง (Inventory Dynamic) การบริหารการเคล่ือนท่ีของสินคาคงคลังใหผานไปยังโซอุปทานนั้นสําคัญมากตอการสนับสนุน สถานะทางการเงินของบรษิ ทั จากแผนภาพแสดงพื้นที่ทงั้ 4 ท่ีสนิ คา คงคลงั เคลอ่ื นท่ผี า น • พื้นที่ที่มีความเคลื่อนไหวมากท่ีสุดคือ สินคาคงคลังปฏิบัติการ (Operating Inventory) ความคาดหวัง ของฝายปฏิบัติการคือ ปริมาณสินคาคงคลังเพียงพอที่จะปอนเขาไปในระบบเพ่ือสนองความตองการ ของลูกคาและโซอ ุปทาน • บอยครั้งท่ีรายการส่ังจะมากเกินความตองการท่ีคาดการณไว จึงกลายเปนสินคาคงคลังสวนเกินในที่สุด สินคาคงคลงั สวนเกนิ สว นใหญเกิดจากการตัดสนิ ใจวเิ คราะหข อ ด-ี ขอ เสียเก่ียวกับขนาดปริมาณส่ังซ้ือ ผู จดั หาเปน ผูก าํ หนดปริมาณส่งั ซอ้ื ข้นั ต่ํา หรือสินคา คงคลังสาํ รอง (Safety Stocks) • สินคาคงคลังสวนเกินเปรียบเสมือนรายการสินคาท่ีสมดุล หากสินคาคงคลังขาดสต็อกจะไดรับ ผลกระทบนอย เหตุที่ตองมีสินคาคงคลังสวนเกินเนื่องจากความตองการสินคาไมเปนไปตามคาดการณ และปรมิ าณส่งั ซอ้ื เดิมน้ันไมไ ดถ กู จําหนา ยในปริมาณทค่ี าด • พนื้ ที่สุดทา ยของการเคล่ือนที่ของสินคาคงคลังเปรียบเสมือนสินคาคงคลังที่ไมมีความเคลื่อนไหว พ้ืนที่ นีป้ ระกอบดว ยสนิ คาลาสมยั หรอื สนิ คาชํารุดเสียหาย โครงการสนับสนุนโดยสาํ นักโลจิสตกิ ส กรมอตุ สาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 35
หลักสูตรการจดั การโลจิสตกิ สและซพั พลายเชนระดับปฏิบตั กิ าร Copyright © SCM EEI โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจสิ ติกส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร (กพร.) 36
หลักสูตรการจัดการโลจิสตกิ สและซพั พลายเชนระดับปฏิบัติการ สนิ คาคงคลงั ใหค ุณคาไดอ ยา งไร สนิ คา คงคลังใหคณุ คา ทางการเงนิ แกบริษัท และชวยเพ่ิมผลกําไรใหแกบริษัทจากการมีสินคาสนอง ความตอ งการของลูกคา อยูเสมอ สนิ คา คงคลังชว ยใหบริษัทมองเห็นจดุ มุงหมายดงั ตอไปนี้ • ลดตนทุนเพื่อมรี ายไดเพมิ่ ข้นึ การบริหารสินคาคงคลังอยางมีประสิทธิภาพชวยใหบริษัทลดตนทุน และ ในขณะเดยี วกันก็เพ่มิ ระดบั การบริการลูกคา • ปรับปรุงชองทางตางๆ ใหมีประสิทธิภาพ หากบริษัทบริหารสินคาคงคลังไมดีกอใหเกิดความเสี่ยงใน การสูญเสียแหลงเงินไดหลัก 2 แหลง ความเสี่ยงแรกคือการสูญเสียการสั่งซื้อจากลูกคา และความเส่ียง ท่ีสองคือ สรางสิ่งที่ไมจําเปนในชองทางของสินคาคงคลัง ซ่ึงเปนผลมาจากการวางแผนสินคาคงคลังท่ี ไมมีประสิทธิภาพ • ปรบั ปรุงคณุ ภาพ หากบริษทั ตอ งการทจี่ ะลดปรมิ าณสนิ คาคงคลังและขยายการตอบสนองความตองการ ของลูกคา ฉะนั้นสินคาคงคลังตองถูกลดปริมาณลงในทุกๆ จุดของโซอุปทาน แหลงภายนอกตางๆ เชน ผจู ดั หาสง ของตรงตามเวลา วตั ถุดบิ มคี ณุ ภาพ เปน ตน จงึ ตอ งมีการปรับปรุงคุณภาพเชนกนั • ชวยใหเครือขายผูจัดหาทํางานงายข้ึน การเก็บสินคาคงคลังในปริมาณท่ีเหมาะสมชวยใหผูบริหารเพิ่ม ความยืดหยุนทางการผลิตและการสงสินคาใหกับผูจัดหามากขึ้น ดังนั้นตนทุนตางๆ เชน คาเรง การดําเนนิ งาน คาระวางพิเศษ กล็ ดลงดวย • ปรับปรุงขอมูลใน Channel ตางๆ เม่ือแตละ Channel มีขอมูลเพียงพอในการดําเนินงาน นอกจากจะชวย บริษัทลดตนทุนและเรงการไหลของสินคาคงคลัง ขอมูลเหลานั้นชวยใหสินคาคงคลังไหลในระบบ อยางไมม อี ปุ สรรค คุณคา ของสนิ คาคงคลงั กเ็ กิดข้ึน โครงการสนับสนนุ โดยสํานักโลจิสติกส กรมอุตสาหกรรมพ้นื ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 37
หลักสูตรการจัดการโลจิสตกิ สและซพั พลายเชนระดับปฏิบตั กิ าร Copyright © SCM EEI Copyright © SCM EEI โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจสิ ตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 38
หลกั สูตรการจัดการโลจสิ ติกสและซัพพลายเชนระดบั ปฏิบตั ิการ สินคาคงคลงั เปนทรพั ยสนิ หรือหน้ีสนิ (Inventory – Asset or Liability?) วิธีตรวจสอบวาจํานวนการลงทุนในสินคาคงคลังของบริษัทนั้นคุมคาหรือไม นอกจากการ เปรียบเทียบกับรายรับและรายจายปกติของบริษัท ขนาดการลงทุนสามารถตรวจสอบไดจากงบการเงิน สําคัญ 2 ประเภทคือ งบดุล (Balance Sheet) และงบกําไร-ขาดทุน (Income Statement) รายงานบัญชีเหลาน้ี จะบอกไดอยางไรและสินคาคงคลงั มบี ทบาทอยา งไรในการวิเคราะหน ้ี งบดุล (Balance Sheet) เปนรายงานทรัพยสินของบริษัท ลบกับหน้ีสิน ซึ่งมีคาเทากับรายไดสวน ของผูถือหุน (Stakeholders) ณ เวลาที่ตรวจสอบ งบดุลเปนรายงานความแข็งแกรงทางการเงินของบริษัท ดังแสดงในตาราง ดานซายของสไลดเปนสินทรัพยทั้งหมดของบริษัท ในดานขวาแสดงหนี้สินของบริษัท คือหน้ีสินของบริษัทในปจจุบันรวมกับหนี้สินระยะยาว เทากับหนี้สินทั้งหมด เม่ือรวมหุนสามัญและกําไร สะสมจะเทากับสวนของผูถือหุน เม่ือนํามารวมกันแลวจะเทากับหน้ีสินทั้งหมดของบริษัท ดานลางของ รายงาน ทรัพยสินทั้งหมดอยางนอยตองเทากับ หนี้สินท้ังหมดบวกกับสวนของผูถือหุน โดยปกติแลว ผลลัพธจากการวเิ คราะหง บการเงินน้ันตองเทยี บทีละขางจากขอ มูลในอดตี หลายปก อนหนา งบกําไร-ขาดทุน (Income Statement) ในสไลดดานลาง เปนการสรุปรายไดโดยรวมของบริษัท ลบ กับตนทุนที่เก่ียวของ โดยท่ัวไปจะเปนคาใชจายในการบริหาร และภาษีท่ีนํามาคํานวณรายได หรือขาดทุน สุทธิในชวงเวลาน้ันๆ ในรายงานกําไร-ขาดทุน ทานสามารถเริ่มตรวจสอบไดจากผลรวมของยอดขาย หัก ตนทุนสินคาที่ขายออกไป (Cost of Goods Sold) (คาสินคาคงคลัง คาแรง และคาโสหุยอื่นๆ) เพื่อใหไดผล กําไรรวม จากผลกําไรรวมนํามาหักรายจายในบริษัท (รวมถึงคาบริหารงาน คาขาย คาวิจัย และคาพัฒนา) เพอื่ ใหไ ดรายไดกอ นภาษี และสดุ ทายนํามาหกั ภาษีและคา ธรรมเนยี มของรฐั จงึ จะไดร ายไดส ทุ ธิ หมายเหตุ ในรายงานงบกําไร-ขาดทุน สินคาคงคลังถูกพิจารณาเปนตนทุนซึ่งรวมอยูในตนทุนสินคาท่ีขาย ออกไป (Cost of Goods Sold) โครงการสนบั สนุนโดยสาํ นักโลจสิ ตกิ ส กรมอตุ สาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 39
หลกั สูตรการจัดการโลจิสติกสแ ละซพั พลายเชนระดับปฏบิ ตั กิ าร Copyright © SCM EEI โครงการสนับสนุนโดยสาํ นักโลจสิ ตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 40
หลกั สูตรการจัดการโลจสิ ตกิ สและซพั พลายเชนระดบั ปฏบิ ตั กิ าร การคืนทุนสินทรัพย (Return on Assets) วิธีมองผลกระทบของสินคาคงคลังตอผลกําไรของธุรกิจอยางงายทําไดโดยคํานวณหาการคืนทุน สินทรัพย (Return On Asset: ROA) ซ่ึงมีคาเทากับ รายไดของบริษัทหารดวยสินทรัพย ซ่ึงเกือบจะเปนไป ไมไ ดเ ลยที่ผูผลิตหรือผูกระจายสินคาจะดําเนินธุรกิจโดยไมมีวัสดุหรือสินคาคงคลัง ดังนั้นจึงตองมีตนทุนท่ี เกี่ยวของกับสินคาคงคลังเสมอ สถานะท่ีนาพึงพอใจท่ีสุดคือ เม่ือสินทรัพยคงคลังลดลง ในขณะที่รายได สุทธิเพ่ิมขึน้ ถือวา เปนการคนื ทนุ สนิ ทรัพย รายไดสุทธิคํานวณไดโดยหักตนทุนจากยอดขาย และสินทรัพยสุทธิหาไดโดยการเพิ่มทรัพยสิน ท้ังหมดลงไปในงบดุล การคํานวณการคืนทุนสินทรัพยน้ันงายมาก ซึ่งคํานวณไดโดยการหารรายไดสุทธิ ดว ยสนิ ทรัพยท ้ังหมด จากตัวอยาง การคนื ทุนสินทรพั ยคํานวณท่ี 32% แบบฝก หัด ประธานกรรมการบริษัท เอ เวิรค จํากัด ตองการท่ีจะ ทราบวาหากลดสินคาคงคลังลง 15% จะเกิดอะไร ขน้ึ กับธุรกจิ ของบริษทั จงคาํ นวณหาผลกระทบ ดังตอไปน้ี 1. สินคา คงคลังใหม เปน เปอรเซน็ ตข องสินทรัพยท ้งั หมด 2. อตั ราผลตอบแทนจากสินทรพั ยใ หม (Return on Asset: ROA) โครงการสนบั สนุนโดยสาํ นักโลจสิ ตกิ ส กรมอตุ สาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 41
หลกั สูตรการจัดการโลจิสติกสแ ละซพั พลายเชนระดับปฏบิ ัตกิ าร Copyright © SCM EEI โครงการสนับสนุนโดยสาํ นักโลจสิ ตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 42
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167