Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สารานุกรมลูกเสือ100ปี ลูกเสือไทยเล่ม 4

สารานุกรมลูกเสือ100ปี ลูกเสือไทยเล่ม 4

Published by ปริญญา, 2021-11-16 15:18:59

Description: สารานุกรมลูกเสือ100ปี ลูกเสือไทยเล่ม 4

Keywords: สารานุกรมลูกเสือ,ลูกเสือ

Search

Read the Text Version

“ความสามคั คนี น้ั อาจหมายความถึงเห็นชอบเหน็ พ้องกันโดยไม่แยง้ กัน ความจริง งานทกุ อยา่ งหรอื การอยเู่ ปน็ สงั คมยอ่ มตอ้ งมคี วามขดั แยง้ กนั ความคดิ ตา่ งกนั ซงึ่ ไมเ่ สยี หาย แต่อยู่ท่ีจิตใจของเรา ถ้าเราใช้หลักวิชาและความปรองดองด้วยการใช้ปัญญา การแย้งต่างๆ ย่อมเป็นประโยชน์ หากมีรากฐานของความคิดอย่างเดียวกัน รากฐานของความคิดนั้นคือ แตล่ ะคนจะต้องทำ�ให้บา้ นเมืองมีความเปน็ ปกึ แผน่ ” ก







นับว่าเป็นโอกาสและประโยชน์ที่สำ�คัญอีกเร่ืองหน่ึงที่ สำ�นักการลูกเสือ ยุวกาชาด และ กิจการนักเรียน ซ่ึงเป็นหน่วยงานหนึ่งในสังกัดสำ�นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวง ศึกษาธิการ ได้ผลิตตำ�ราในลักษณะของสารานุกรมลูกเสือข้ึน ซ่ึงในเนื้อหาสาระในสารานุกรม ลูกเสือ เล่มที่ ๔ นี้ ครู อาจารย์ ผู้กำ�กับลูกเสือและบุคลากรทางการลูกเสืออื่นๆ จะได้นำ�ไปใช้ ใหเ้ กดิ ประโยชนอ์ ยา่ งแทจ้ รงิ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ประเทศไทยก�ำ ลงั จะกา้ วสกู่ ารเปน็ ประชาคมอาเซยี น ดังน้ัน ความถูกต้องและชัดเจนในเร่ืองการให้การศึกษาในแขนงต่างๆ ตำ�ราและคู่มือทางวิชาการ มีความจำ�เป็นสำ�หรับกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมของลูกเสือเพ่ือจะใช้เป็นเครื่องมือ ในการพฒั นาเยาวชนทง้ั หญงิ ชาย ใหเ้ ปน็ พลเมอื งดี มคี วามรอบรู้ สามารถชว่ ยตนเองได้ อนั จะเปน็ แรงผลักดันให้การศึกษาของประเทศไทย มีความเจริญเท่าเทียมกับประเทศสมาชิกประชาคม อาเซียนและอารยประเทศอ่นื ๆ ทว่ั โลก ขอขอบคณุ และใหก้ �ำ ลงั ใจตอ่ ผทู้ รงคุณวฒุ ทิ างการลูกเสอื และผู้มีส่วนในการจัดทำ�สารานุกรมลูกเสือเล่มนี้ทุกท่าน ท่ีได้เสียสละกำ�ลังความคิด จนทำ�ให้ เสรจ็ ส้ินโดยสมบูรณ์ อนั จะเป็นประโยชน์ตอ่ กจิ การลกู เสอื อย่างมากทงั้ ในปจั จุบนั และอนาคต (นายจาตรุ นต์ ฉายแสง) รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประธานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ค

กิจการลูกเสือเป็นกิจการท่ีบุคคลทุกระดับชั้น เข้าร่วมด้วยความสมัครใจ เต็มใจและ เสียสละ ดังนั้น เม่ือมีคณะบุคคลที่เป็นบุคลากรทางการลูกเสือระดับสูง และผู้ทรงคุณวุฒิ ในด้านลูกเสือ ร่วมมือกันจัดทำ�สารานุกรมลูกเสือข้นึ ภายใต้การบริหารโครงการของสำ�นัก การลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำ�นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวง ศึกษาธิการ ผลงานเปน็ ทป่ี ระจกั ษม์ าจนถึงสารานุกรมลูกเสือ เล่มที่ ๔ นับเป็นปรากฏการณ์ที่ แสดงให้เห็นว่าการถ่ายทอดเน้ือหา ข้อมูล ทักษะ และกิจกรรมลูกเสือท่ีค้นคว้ามาจากท่ีต่างๆ นำ�มาจัดรวบรวมและนำ�เสนอได้อย่างแนบเนียน สวยงาม และทรงคุณค่า จะมีส่วนทำ�ให้กิจการ ลูกเสือมีความเจริญม่ันคงได้ต่อไป ขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ท่ีเข้าใจและเห็น คุณค่าของกิจการลูกเสือ กล้าตัดสินใจ กล้าทำ� จนเกิดผลงานชิ้นสำ�คัญน้ีขึ้น ซึ่งจะช่วยสร้าง แรงบันดาลใจให้ผู้ที่นำ�สารานุกรมลูกเสือ เล่มท่ี ๔ น้ีไปใช้ เกิดความเชื่อมั่นในเนื้อหาสาระ และสามารถนำ�ไปใช้ปฏบิ ตั ิไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง เหมาะสม เกิดผลสัมฤทธใ์ิ นภายภาคหนา้ ตอ่ ไป (นางสุทธศรี วงษส์ มาน) ปลดั กระทรวงศึกษาธิการ รองประธานคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสอื แหง่ ชาติ ง

ในนามของเลขาธิการสำ�นักงานลูกเสือแห่งชาติ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ดูแล และกำ�กับการดำ�เนินงานของสำ�นักงานลูกเสือแห่งชาติ และสำ�นักการลูกเสือ ยุวกาชาด และ กิจการนักเรียน โดยท�ำ หนา้ ที่เป็นผใู้ ห้การสนับสนนุ ชี้แนะ และรว่ มแสดงความคดิ เหน็ ในหลักการ โดยท่ัวไป ในเร่ืองขอบข่าย ทิศทาง และข้อมูลต่างๆ เพื่อใช้เป็นพ้ืนฐานในการจัดทำ�สารานุกรม ลกู เสือ (Scout Encyclopedia) ซง่ึ ได้หารือร่วมกนั มากบั คณะผู้จดั ทำ�โดยตลอด จากสารานุกรม ลกู เสือ เลม่ ท่ี ๑ จนถึง เล่มที่ ๔ นี้ รสู้ ึกดใี จและชื่นชมตอ่ ผลงานท่สี �ำ เร็จลงในวันน้ ี เพราะทราบ ดีว่าการดำ�เนินงานสารานุกรมลูกเสือ คณะผู้จัดทำ�ทุกท่านต่างทุ่มเท เสียสละ และต้องการเห็น ความเจริญรุ่งเรืองของกิจการลูกเสือของชาติ ที่สำ�คัญมากเร่ืองหนึ่งคือ ไม่เคยมีตำ�ราและคู่มือ ของลกู เสอื ไทยในลกั ษณะเชน่ นม้ี ากอ่ น จวบจนกจิ การลกู เสอื ไทยครบรอ้ ยปแี ลว้ กต็ าม อยา่ งไรกด็ ี การท�ำ งานทางวชิ าการคงจะไมม่ วี นั สน้ิ สดุ ลงได้ ขอ้ บกพรอ่ งกย็ อ่ มจะเกดิ ขน้ึ ได้ ซง่ึ ถอื เปน็ หลกั สากล ในการทำ�สารานุกรมทั่วไป จะต้องมีการปรับปรุง และแก้ไข เป็นระยะๆ เพื่อให้ทันสมัย ทันต่อ เหตุการณ์ และยงั ประโยชนอ์ ยา่ งแท้จรงิ จึงตอ้ งขอแสดงความขอบคุณคณะกรรมการฯ ทุกทา่ น ขอให้คุณงามความดีในการท่ีท่านได้กระทำ�ต่อกิจการลูกเสือไทย จงเป็นพลังให้ทุกท่าน สามารถ แสดงความศรัทธาตอ่ การพัฒนาเยาวชนและความศรทั ธาต่อตวั ลูกเสือ สามารถให้ความชว่ ยเหลือ กจิ การลกู เสือของชาตไิ ด้ตลอดไป (นายศภุ กร วงศป์ ราชญ์) รองปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร เลขาธกิ ารส�ำ นักงานลกู เสอื แหง่ ชาติ จ



ดว้ ยส�ำ นกึ ในหนา้ ที่และความรบั ผดิ ชอบในฐานะผ้อู �ำ นวยการส�ำ นกั การลูกเสอื ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำ�นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ท่มี ีต่อภารกิจท่ี กระทรวงศกึ ษาธกิ ารมอบหมาย หนง่ึ ในหนา้ ทท่ี ส่ี �ำ คญั เปน็ ทส่ี ดุ คอื การพฒั นากจิ การลกู เสอื ของชาติ ให้มีความเจริญก้าวหน้า และอยู่บนพ้ืนฐานของความม่ันคงสถาพร เพ่ือเป็นแบบอย่างและ แนวทางท่ีดี ใน พ.ศ. ๒๕๕๖ นี้ ถือเป็นปีทองของกิจการลูกเสือ สำ�นักการลูกเสือ ยุวกาชาด และ กิจการนักเรียน ได้เชื้อเชิญบรรดาผู้ทรงคุณวุฒิทางการลูกเสือ ที่เป่ียมล้นด้วยความเสียสละ และ เหน็ ความส�ำ คญั ในเรอ่ื งต�ำ ราและคมู่ อื การเรยี นการสอนกจิ กรรมลกู เสอื ทค่ี อ่ นขา้ งหายากและล�ำ บาก ในการจดั ท�ำ คณะฯ ดงั กลา่ ว ไดก้ รณุ าทมุ่ เท อดทน มงุ่ มน่ั จนผลงานเปน็ ทป่ี รากฏ ซง่ึ ในสารานกุ รม ลูกเสือ เล่มที่ ๔ (Scout Encyclopedia) นี้ ได้สืบทอด ขัน้ ตอน ความสำ�คัญ เน้ือหาสาระทจ่ี ะเป็น ประโยชน์ต่อการเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือในสถานศึกษา ซ่ึงจะสามารถสร้างความเชื่อม่ัน ตอ่ การพฒั นากจิ การลกู เสอื ใหม้ คี วามสอดคลอ้ งกบั การพฒั นาคนในชาตไิ ด้ จงึ ขอกราบขอบพระคณุ คณะผูจ้ ดั ทำ�ทกุ ท่านดว้ ยความเคารพและศรทั ธาในอดุ มการณ์ และตอ้ งขออภยั ทา่ นผอู้ ่านทกุ ทา่ น ถ้าพบวา่ มีขอ้ บกพรอ่ ง ขอความกรณุ าพนี่ ้องลูกเสอื ทกุ ท่านได้โปรดใหข้ ้อเสนอแนะ เพอื่ การแก้ไข ใหส้ มบูรณใ์ นอนาคต ดว้ ยความเตม็ ใจและสำ�นกึ ถึงพระคณุ พน่ี ้องลกู เสือทุกทา่ นตลอดไป (นายศัจธร วฒั นะมงคล) ผอู้ ำ�นวยการสำ�นกั การลกู เสอื ยวุ กาชาด และกจิ การนกั เรยี น ฉ



สารบญั หนา้ พระราชดำ�รัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ก พระประมุขคณะลูกเสอื แหง่ ชาติและองค์อุปถมั ภ ์ ข ค�ำ นิยมของรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร ค ค�ำ นิยมของปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ง ค�ำ นยิ มของรองปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร เลขาธกิ ารส�ำ นกั งานลกู เสอื แห่งชาต ิ จ คำ�น�ำ ของผู้อ�ำ นวยการส�ำ นกั การลกู เสอื ยวุ กาชาด และกจิ การนักเรยี น ฉ สารบญั ช กฎหมายเกี่ยวกบั กิจการลูกเสอื ๑ พระราชบัญญตั ลิ กู เสือ พ.ศ. ๒๕๕๑ ๑ ความหมาย ๑ ความเปน็ มา ๒ หลักการและสาระสำ�คญั ของพระราชบัญญตั ลิ ูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๑ ๖ ความสำ�คญั กฎกระทรวง ๑๑ ความหมาย ๑๒ กฎกระทรวงวา่ ด้วยการตัง้ การยบุ การจัดหน่วยลูกเสือเหล่าลูกเสอื ๑๒ และประเภทลกู เสือ ๑๒ กฎกระทรวงวา่ ด้วยธงคณะลูกเสอื ไทยและธงลูกเสอื อื่น ๑๕ กฎกระทรวงวา่ ด้วยเคร่ืองแบบ ๑๗ ข้อบงั คบั คณะกรรมการบรหิ ารลูกเสือแห่งชาติ ๒๐ ความหมาย ๒๐ ขอ้ บงั คบั คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาตวิ า่ ดว้ ยการปกครอง หลกั สตู ร ๒๐ และวชิ าพิเศษลูกเสอื พ.ศ. ๒๕๐๙ ๒๓ ขอ้ บังคับคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสอื แหง่ ชาติว่าดว้ ยการแต่งตงั้ ๒๖ ผบู้ ังคับบญั ชาลกู เสอื ฯ ๒๗ ขอ้ บงั คับคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสอื แหง่ ชาติว่าดว้ ยเขม็ ลกู เสอื บ�ำ เพ็ญประโยชน์ฯ ขอ้ บงั คบั คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาตวิ า่ ดว้ ยเขม็ ลกู เสอื สมนาคณุ ฯ ช

สารบญั (ตอ่ ) หนา้ หลักเกณฑ์ ระเบียบของคณะกรรมการบริหารลกู เสือแห่งชาติ ๒๗ ความหมาย ๒๗ หลกั เกณฑ์การตัง้ กองลูกเสอื เหลา่ สมุทร ๒๘ หลักเกณฑก์ ารต้ังกองลกู เสอื เหล่าอากาศ ๒๘ ระเบยี บส�ำ นักงานคณะกรรมการบริหารลกู เสือแหง่ ชาติวา่ ด้วยการจัด ๒๙ กองลูกเสอื เกยี รติยศ ระเบยี บส�ำ นักงานคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสือแหง่ ชาติวา่ ดว้ ย ๓๑ การเดนิ ทางไกลและแรมคนื ของลกู เสอื การปฏบิ ัตงิ านดา้ นจราจรของลูกเสือ ๓๒ การบริหารกิจการลูกเสือ ๓๓ โครงสร้างการบรหิ ารกิจการลกู เสือตามพระราชบญั ญัติลกู เสือ พ.ศ. ๒๕๕๑ ๓๓ ลกู เสือ ๓๓ วตั ถุประสงค์ของคณะลกู เสือแห่งชาต ิ ๓๓ โครงสรา้ งการบริหารกจิ การลกู เสอื ตาม พ.ร.บ. ลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๑ ๓๔ แผนผังการบริหารกิจการลูกเสือขององค์กรตาม พ.ร.บ. ลกู เสอื พ.ศ. ๒๕๕๑ ๓๕ และองคก์ รทเ่ี กี่ยวข้อง ของกระทรวงศึกษาธิการ แผนผงั การบรหิ ารกจิ การลกู เสอื ขององคก์ รทเ่ี กย่ี วขอ้ งของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๓๖ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ๓๗ วสิ ัยทัศน์ ๓๗ ความหมาย เปา้ หมาย ๓๘ คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค ์ ๓๙ หลกั การ ๓๙ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียนตามหลักสตู รแกนกลางขัน้ พ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ๔๐ กิจกรรมแนะแนว ๔๐ กจิ กรรมนักเรยี น ๔๐ กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน ์ ๔๑ ความสัมพันธข์ องกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๔๑ แนวการจัดกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน ๔๒ ซ

สารบัญ (ต่อ) หน้า ขอบขา่ ยการจัดกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ๔๒ โครงสรา้ งการจัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ๔๓ การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ๔๔ แนวทางการประเมิน ๔๕ แผนผังแนวการจัดกจิ กรรมนักเรยี น ๔๖ การบรหิ ารงานกิจกรรมลกู เสือ ๔๗ การบรหิ ารงานด้านบุคลากร ๔๗ ผบู้ งั คับบัญชาลูกเสอื ในโรงเรียน ๔๗ ขอบข่ายและหน้าท่ีผูบ้ งั คบั บัญชาลกู เสอื ในโรงเรียน ๔๙ ผู้บังคบั บญั ชาลูกเสอื ๔๙ ผูอ้ �ำ นวยการลกู เสือโรงเรยี น และรองผอู้ ำ�นวยการลกู เสอื โรงเรียน ๕๐ กลมุ่ ลูกเสือ ๕๐ ผกู้ �ำ กับกล่มุ และรองผูก้ ำ�กบั กลมุ่ ลกู เสอื ๕๑ ผ้กู ำ�กบั กองลูกเสอื ๕๓ หมู่ลูกเสือ ๕๕ หมู่ลูกเสอื ส�ำ รอง ๕๕ หม่ลู กู เสอื สามัญ ๕๕ หมูล่ กู เสอื สามญั รุ่นใหญ ่ ๕๖ หมลู่ กู เสอื วิสามัญ ๕๘ เจ้าหน้าที่ลูกเสอื โรงเรยี น ๖๐ การบรหิ ารงานด้านธุรการในกองลูกเสือ ๖๐ งานธรุ การ ๖๐ งานเอกสารแบบพิมพท์ ีใ่ ช้ในกองลูกเสอื ๖๑ งานการจดั หน่วยลกู เสอื ๖๓ การจัดหน่วยลกู เสอื สำ�รอง ๖๔ การจดั หนว่ ยลกู เสือสามญั ๖๖ การจัดหนว่ ยลูกเสือสามญั รุ่นใหญ่ ๗๐ การจัดหนว่ ยลูกเสอื วิสามญั ๗๖ ฌ

สารบัญ (ต่อ) หน้า ๘๑ ๘๓ งานทะเบยี นกองลกู เสือ ๘๖ งานบตั รประจำ�ตัวลูกเสือ ๘๖ การขอพระราชทานเครอ่ื งราชอิสริยาภรณ ์ ๘๗ เครื่องราชอิสริยาภรณอ์ ันเป็นสริ ิยิง่ รามกรี ติฯ ๘๙ เหรยี ญลูกเสือสรรเสรญิ ฯ ๙๐ เหรียญลูกเสอื สดุดี ๙๑ เหรยี ญลกู เสอื ย่ังยืน ๙๑ เข็มลูกเสอื สมนาคุณ ๙๒ เข็มลกู เสือบำ�เพ็ญประโยชน์ ๙๓ งานการเงินของกองลูกเสอื ๙๓ การบรหิ ารงานด้านการปกครองลูกเสือ ๙๓ วินัยลกู เสือ ๙๓ การปกครองลกู เสอื ในกรงุ เทพมหานคร ๙๔ ระบบหมกู่ บั การปกครองลูกเสอื ๑๐๐ ระบบหมลู่ กู เสอื กับการปกครองนักเรียนในโรงเรยี น ๑๓๑ การแตง่ กายของลูกเสือ ๑๓๑ กจิ กรรมลกู เสอื ทีจ่ ัดขึ้นในโรงเรยี น ๑๓๑ การปฐมนิเทศ ๑๓๑ การกรอกใบสมัคร ๑๓๑ การเรยี นการสอน ๑๓๑ การเปิด-ปิดประชุมกอง ๑๓๒ การประชุมนายหม ู่ ๑๓๒ พิธีเขา้ ประจำ�กอง ๑๓๓ การดำ�เนนิ การในกองลกู เสือ ๑๓๔ กิจกรรมวนั ส�ำ คัญ ๑๓๕ กิจกรรมทางลกู เสอื ๑๓๕ กจิ กรรมบำ�เพญ็ ประโยชน ์ กจิ กรรมพิธีการที่กองลกู เสอื ในโรงเรียนตอ้ งปฏบิ ัต ิ ญ

สารบญั (ต่อ) หน้า ๑๓๗ ๑๓๗ ๑๓๗ เกณฑก์ ารประเมนิ คณุ ภาพงานลูกเสอื ภายในสถานศึกษา ๑๓๘ ความหมาย ๑๓๘ ความเป็นมา ๑๓๙ หลกั การและสาระส�ำ คญั ๑๓๙ ด้านลูกเสือ ๑๔๐ ด้านผบู้ รหิ าร ๑๔๑ ดา้ นผูก้ �ำ กับลกู เสอื ๑๔๒ ด้านการจดั มวลกจิ กรรมลกู เสอื ๑๔๒ ความสำ�คัญ ๑๔๕ การเลอื่ นวิทยฐานะของครูผู้สอนกิจกรรมลกู เสือ ๑๕๒ ความหมาย ๑๕๓ ฝากไว้...เป็นขอ้ คิด ๑๕๕ บรรณานุกรม ภาคผนวก คณะกรรมการฯ จัดท�ำ สารานุกรมลกู เสือ เลม่ ๔ ฎ



กฎหมายเกยี่ วกับกิจการลกู เสือ พระราชบัญญตั ลิ กู เสอื พ.ศ. ๒๕๕๑ ความหมาย พระราชบญั ญตั ิ โดยศพั ท์ หมายถงึ บทบญั ญตั ิแหง่ กฎหมายที่พระมหากษตั รยิ ท์ รง ตราขนึ้ โดยค�ำแนะน�ำและยินยอมของรัฐสภาเพ่อื ใช้ในการบรหิ ารราชการแผ่นดนิ พระราชบัญญัติ ลูกเสอื หมายถงึ บทบัญญตั ิแห่งกฎหมายที่ตราขึน้ เพอ่ื ก�ำหนดสาระส�ำคญั ในรายละเอยี ดในเรอ่ื งท่ี เกย่ี วกบั กิจการลกู เสอื น�ำมาใชเ้ ป็นหลักการในการบริหารกิจการลกู เสอื พระราชบญั ญตั ลิ กู เสือฉบับ พ.ศ. .... ต่างๆ สารานุกรมลกู เสอื 1

ความเป็นมา พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาวชริ าวธุ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดท้ รงพระกรณุ า โปรดเกล้าฯ ให้ตราข้อบังคับลักษณการปกครองลูกเสือรัตนโกสินทรศก ๑๓๐ ประกาศใช้เมื่อ วนั เสารท์ ่ี ๑ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๔๕๔ ถอื เป็นการสถาปนากจิ การลกู เสอื ไทยข้นึ เปน็ คร้งั แรก ข้อบงั คับลกั ษณการปกครองลูกเสอื ฉบบั นี้ นบั เป็นกฎข้อบงั คับเทยี บได้กบั พระราชบัญญตั ลิ ูกเสือ ฉบับแรก ได้ก�ำหนดให้ลูกเสือเป็นสาขาแห่งเสือป่า ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงด�ำรง พระยศเป็น นายกเสือป่าและนายกองใหญ่ ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ลูกเสือทั่วไป บรรดาผู้ตรวจการ ผู้ก�ำกับ นายหมู่และลูกเสือทุกๆ คน ต้องถือว่าเป็นข้าในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโดยตรง ทุกคน ในภาคที่ ๒ หมวดการปกครองกลาง ก�ำหนดให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงด�ำรง พระยศเปน็ สภานายก ทรงมพี ระบรมราชโองการแตง่ ตงั้ ใหม้ ผี ตู้ รวจการใหญผ่ หู้ นง่ึ และมผี ตู้ รวจการ ประจ�ำมณฑลท�ำหนา้ ทป่ี ระจ�ำในมณฑลลกู เสอื เปน็ ผตู้ รวจการปกครองและการฝกึ หดั สงั่ สอนใหเ้ ปน็ ไปตามพระราชประสงค์ ให้มีสภากรรมการกลางตั้งในกรุงเทพ มีหน้าที่บังคับบัญชาวินิจฉัยและ ด�ำริการทง้ั ปวงทเ่ี กีย่ วกับลกู เสอื ในมณฑลต่างๆ ใหม้ สี ภากรรมการประจ�ำมณฑล ท�ำหนา้ ท่ีบริหาร งานลูกเสือ โดยทั่วไปเพ่ือให้การด�ำเนินงานเป็นไปด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย มีการระบุถึง การตั้งกองลูกเสือในโรงเรียนหรือสถานที่ใดตามแต่สภากรรมการมณฑลจะเห็นสมควร ก�ำหนด ระเบยี บการตง้ั ผกู้ �ำกบั ลกู เสอื และรองผกู้ �ำกบั ลกู เสอื แบง่ ลกู เสอื เปน็ ๓ ชน้ั ลกู เสอื ส�ำรอง ลกู เสอื โท ลูกเสือเอก ก�ำหนดระเบียบว่าด้วยการคดั ชื่อออกจากทะเบียนลกู เสอื ก�ำหนดเครอื่ งแต่งตัวลูกเสือ ข้อบังคับลักษณปกครองลูกเสือรัตนโกสินทร ศก ๑๓๐ ได้บัญญัติข้อบังคับต่างๆ ไว้ ๑๐ หมวด รวม ๖๒ ข้อ เป็นรากฐานแนวทางให้กับบรรดาประกาศ พระราชก�ำหนด ข้อบังคับลักษณ การปกครองลกู เสือและพระราชบัญญัตลิ ูกเสือฉบับตอ่ ๆ มา พระราชก�ำหนดเครอ่ื งแตง่ ตัวเสอื ป่า พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัว ทรงด�ำรงพระยศเปน็ ในราชกิจจานุเบกษา เลม่ ที่ ๓๔ สภานายกสภากรรมการกลาง 2 สารานกุ รมลูกเสือ

ใน พ.ศ. ๒๔๖๑ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ราขอ้ บงั คบั ลักษณปกครองลูกเสือขึ้นใหม่ ขยายความออกเป็น ๑๓๒ ข้อ ก�ำหนดรายละเอียดเก่ียวกับ เคร่ืองแบบ ธงประจ�ำกองลูกเสือ หลักสูตรวิชาลูกเสือและการสอบไล่เพ่ือเลื่อนชั้น ข้ันตอน พิธีรับลูกเสือโทเข้าประจ�ำกอง การฝึกหัดพิเศษเป็นเหล่าๆ เช่น เหล่าราบ เหล่าพราน เหล่าช่าง เหล่าดับเพลิง เหล่าพยาบาล เหล่าสมุทรเสนา ให้มีการฝึกหัดวิชาพิเศษ ๑๑ อย่างและ เหรียญศิลปะลูกเสือ พระราชทานให้กับผู้ที่สอบไล่ได้วิชาพิเศษเหล่านั้น จัดให้มีแผ่นทองและ หนังสุวานไว้ในท่ีเปิดเผย เพ่ือประกาศชื่อลูกเสือที่มีความชอบและลูกเสือที่มีความผิด เพ่ิมเรื่อง การท�ำความเคารพ วิธีการเคารพ บคุ คลและวตั ถทุ ค่ี วรเคารพ พ.ร.บ. ธง กองลูกเสือมณฑลพิษณุโลกทม่ี าท�ำพธิ เี ข้าประจ�ำกอง ณ วังวรดศิ ใน พ.ศ. ๒๔๗๖ กรรมการกลางจดั การลกู เสอื แหง่ ชาติ ประกาศตงั้ การลกู เสอื สมทุ รเสนา ตามพระราชกฤษฎีกา ลงวันที่ ๑๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๗๖ ประกาศ ณ วันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๗๗ จงึ ถือเปน็ วนั สถาปนาการลูกเสอื สมทุ รไทย ใน พ.ศ. ๒๔๗๘ รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั อานนั ทมหดิ ล ไดม้ กี ารปรบั ปรงุ พิธีรับลูกเสือโทเข้าประจ�ำกอง เพ่ิมเติมข้ันตอนให้มีพิธีทางศาสนาและการให้สัตย์ปฏิญาณ ตอ่ หนา้ ธงชาติ และเม่ือเสรจ็ พิธีให้ลูกเสอื ท้ังหมดกระท�ำความเคารพถวายแด่พระมหากษัตรยิ ์ พระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื พ.ศ. ๒๔๘๒ ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั อานนั ท มหดิ ล รฐั บาลไดต้ ราพระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื ขนึ้ เปน็ การเฉพาะ ในพ.ศ. ๒๔๘๒ ซง่ึ เปน็ พระราชบญั ญตั ิ ลกู เสอื ฉบบั แรกโดยความเหน็ ชอบของรฐั สภา ก�ำหนดใหค้ ณะลกู เสอื แหง่ ชาตมิ สี ภาพเปน็ นติ บิ คุ คล มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ฝกึ และอบรมกลุ บตุ ร กลุ ธดิ าใหเ้ ปน็ พลเมอื งดี โดยไมเ่ กยี่ วขอ้ งกบั ลทั ธกิ ารเมอื งใด แบง่ การจดั เหลา่ ลกู เสอื ออกเปน็ ๒ เหลา่ คอื ลกู เสอื เสนาและลกู เสอื สมทุ รเสนา มี ๓ ชน้ั ลกู เสอื เอก ลูกเสือโท ลูกเสือตรี ก�ำหนดเรื่องวินัยลูกเสือและบทลงโทษลูกเสือเม่ือผิดวินัยมี ๔ สถาน สารานุกรมลกู เสอื 3

ภาคฑัณฑ์ ต�ำหนโิ ทษเป็นลายลักษณ์อกั ษร ส่ังพักขาดจากการเปน็ สมาชกิ ภาพชว่ั คราว มกี �ำหนด อย่างน้อยครงั้ ละไมต่ �่ำกว่า ๑ เดือนไมเ่ กินกวา่ ๑ ปี ลบชอื่ ออกจากทะเบยี น ใหก้ องลกู เสอื ทกุ กอง ในทุกมณฑล จัดให้มีแผ่นทองเพื่อประกาศช่ือลูกเสือท่ีมีความชอบ และแผ่นด�ำเพื่อประกาศช่ือ ลูกเสอื ทีก่ ระท�ำความผิดในเรอ่ื งวนิ ยั และถกู ลงทณั ฑ์ ก�ำหนดใหม้ ีเหรยี ญลกู เสือสรรเสริญไว้ส�ำหรับ พระราชทานลูกเสือท่ีได้กระท�ำความดีความชอบตามเกณฑ์ที่ได้บัญญัติไว้ แบ่งออกเป็น ๓ ชั้น เหรยี ญทองค�ำ เหรียญเงนิ เหรียญทองแดง ใน พ.ศ. ๒๔๘๖ รฐั บาลในสมยั นนั้ ไดต้ ราพระราชบญั ญตั ยิ วุ ชนแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๔๘๖ ขน้ึ จดั ต้ังองคก์ ารยวุ ชนแห่งชาติ แบง่ ส่วนราชการออกเป็น ๒ หน่วย คือ หน่วยยุวชนทหารกบั หน่วย ลูกเสือ และให้บรรดาทรพั ย์สนิ ของคณะลกู เสอื แห่งชาติตกเปน็ ขององคก์ ารยุวชนแหง่ ชาติ พ.ร.บ. ยุวชนแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๔๘๖ ยุวชนทหาร พระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื พ.ศ. ๒๔๙๐ ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ก�ำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงด�ำรงต�ำแหน่งบรมราชูปถัมภ์คณะลูกเสือแห่งชาติ ระบุว่าลูกเสือ มี ๓ ประเภท คอื ลกู เสอื ส�ำรอง ลกู เสอื สามญั ลกู เสอื วสิ ามญั โดยลกู เสอื สามญั มี ๔ ชนั้ ลกู เสอื ตรี ลูกเสือโท ลูกเสือเอก ลูกเสือหลวง ได้เพ่ิมเหรียญลูกเสือสดุดี ให้เป็นเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ ไว้ส�ำหรับพระราชทานแก่ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ พนักงานเจ้าหน้าท่ีลูกเสือและบุคคลอ่ืนๆ ท่ีมี อปุ การคุณถึงขนาดหรอื ได้อุทศิ ก�ำลังกาย ก�ำลังความคดิ ในการประกอบกิจใหบ้ งั เกิดคุณประโยชน์ แกก่ ารลกู เสอื ในอกี โสตหนง่ึ ดว้ ย ในพระราชบญั ญตั ฉิ บบั นี้ ก�ำหนดใหบ้ รรดาทรพั ยส์ นิ ของคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ ซง่ึ ไดโ้ อนใหเ้ ปน็ องคก์ ารยวุ ชนแหง่ ชาติ ตกเปน็ กรรมสทิ ธข์ิ องคณะลกู เสอื แหง่ ชาตติ ามเดมิ ในวันท่ี ๑๓ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๐ นีเ้ อง ได้มพี ระราชบัญญัตยิ กเลกิ พระราชบัญญัตยิ ุวชนทหาร แหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๔๘๖ เป็นอนั สนิ้ สุดกิจการยวุ ชนแหง่ ชาติ 4 สารานุกรมลูกเสอื

พระราชบัญญัติลูกเสอื พ.ศ. ๒๕๐๗ ก�ำหนดให้พระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ ของ คณะลกู เสอื แหง่ ชาติ ใหม้ สี ภาลกู เสอื แหง่ ชาติ ท�ำหนา้ ทใ่ี นดา้ นการก�ำหนดนโยบายของคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ ก�ำหนดใหม้ กี รรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ ท�ำหนา้ ทบี่ รหิ าร ด�ำเนนิ งานตามวตั ถปุ ระสงค์ ของคณะลกู เสอื แหง่ ชาตแิ ละนโยบายของสภาลกู เสอื แหง่ ชาติ ใหม้ สี �ำนกั งานคณะกรรมการบรหิ าร ลูกเสือแห่งชาติ โดยมีเลขาธิการคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติเป็นผู้บริหาร บังคับบัญชา รบั ผดิ ชอบ สว่ นภมู ภิ าค มคี ณะกรรมการลกู เสอื จงั หวดั ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั เปน็ ประธาน คณะกรรมการ ลกู เสอื อ�ำเภอ มนี ายอ�ำเภอเปน็ ประธาน แบง่ ประเภทลกู เสอื ออกเปน็ ๔ ประเภท คอื ลกู เสอื ส�ำรอง ลกู เสอื สามญั ลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ ลกู เสอื วสิ ามญั โดยลกู เสอื ส�ำรองแบง่ ออกเปน็ ๓ ชนั้ ดาวดวงที่ ๑ ดาวดวงท่ี ๒ ดาวดวงท่ี ๓ ลูกเสือสามัญแบ่งออกเป็น ๓ ชั้น ลูกเสือตรี ลูกเสือโท ลูกเสือเอก มี ๓ เหลา่ คอื ลูกเสอื เหล่าเสนา ลกู เสือเหลา่ สมุทร ลกู เสือเหล่าอากาศ ส่วนลูกเสอื สามญั รุน่ ใหญ่ มีช้ันเดียว ๓ เหล่าเช่นเดียวกับลูกเสือสามัญ และลูกเสือวิสามัญ แบ่งออกเป็น ๒ ช้ัน คือ เตรยี มลกู เสอื วสิ ามญั และลกู เสอื วสิ ามญั มี ๓ เหลา่ เชน่ เดยี วกนั ส�ำหรบั ผใู้ หญก่ �ำหนดใหม้ ตี �ำแหนง่ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือและต�ำแหน่งผู้ตรวจการลูกเสือ ก�ำหนดการลงโทษไว้ ๓ สถาน ตักเตือน ท�ำโทษ คัดช่ือออกจากทะเบียน ความดีความชอบ ให้มีเหรียญลูกเสือสรรเสริญ เป็นเคร่ืองราช อิสริยาภรณ์ พระราชทานแก่ลูกเสือ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ผู้ตรวจการลูกเสือ กรรมการลูกเสือ เจ้าหนา้ ท่ีลกู เสอื เป็นบ�ำเหน็จในความดีความชอบ มี ๓ ชนั้ ใหม้ ีเหรยี ญลกู เสือสดดุ ี เปน็ เครอื่ งราช อิสริยาภรณ์ พระราชทานแก่ ผบู้ ังคับบญั ชาลกู เสือ ผู้ตรวจการลกู เสอื กรรมการลูกเสือ เจา้ หน้าที่ ลกู เสอื และบคุ คลอน่ื ๆ ทม่ี อี ปุ การคณุ ถงึ ขนาดหรอื ไดอ้ ทุ ศิ ก�ำลงั กาย ก�ำลงั ความคดิ ในการประกอบกจิ ให้บังเกิดคุณประโยชน์แก่การลูกเสือ ให้มีเข็มสมนาคุณไว้ส�ำหรับตอบแทนผู้มีจิตศรัทธาบริจาค เงินหรือทรัพย์สินอย่างอื่นเพื่อบ�ำรุงการลูกเสือ มี ๔ ชั้น ให้ยกเลิกการใช้แผ่นทองประกาศชื่อ ลกู เสอื ผมู้ คี วามดคี วามชอบ เพมิ่ บทลงโทษส�ำหรบั ผจู้ ดั ท�ำ น�ำเขา้ มาในราชอาณาจกั ร เพอื่ จ�ำหนา่ ย ซงึ่ เคร่ืองหมายลูกเสอื เอาผิดกบั ผูท้ แี่ ต่งเคร่อื งแบบลกู เสอื โดยไม่มสี ิทธิ์ พระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื พ.ศ. ๒๕๐๙ แกไ้ ขเพิม่ เตมิ จากพระราชบัญญตั ิ พ.ศ. ๒๕๐๗ โดยเพิ่มเติมเรื่องห้ามมิให้ผู้ใดจัดท�ำหรือน�ำเข้ามาในราชอาณาจักรเพ่ือจ�ำหน่วยวัตถุเก่ียวกับ เครื่องแบบลูกเสือ รวมถึงรูปตราหรือเคร่ืองหมายอันเป็นส่วนหนึ่งส่วนใดของเคร่ืองแบบลูกเสือ หรือประกอบเครือ่ งแบบลกู เสอื พร้อมบทลงโทษ พระราชบัญญตั ิลกู เสือ พ.ศ. ๒๕๒๘ แก้ไขเพมิ่ เติมจากพระราชบญั ญตั ิ พ.ศ. ๒๕๐๗ มีการปรับปรุงวัตถุประสงค์ของคณะลูกเสือแห่งชาติให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจการ ลูกเสือสากล บัญญัติกิจการเนตรนารีให้เป็นส่วนหนึ่งของคณะลูกเสือแห่งชาติ เพ่ิมอ�ำนาจหน้าที่ คณะกรรมการบริหารลกู เสือแหง่ ชาตใิ ห้มอี �ำนาจดแู ลกจิ การลูกเสอื ชาวบ้าน เพม่ิ ชน้ั เหรยี ญลกู เสือ สดุดเี ป็น ๓ ช้ัน สารานกุ รมลูกเสือ 5

สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร พระราชทานธงลกู เสือชาวบา้ น พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๓๐ บัญญัติให้มีเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็น สริ ิยงิ่ รามกีรติ ลูกเสือสดุดชี ้นั พิเศษ เครื่องราชอสิ รยิ าภรณ์อนั เปน็ สริ ยิ ง่ิ รามกีรติ ลกู เสือสดดุ ชี นั้ พเิ ศษ พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๑ เกิดข้ึนจากการปฏิรูปโครงสร้างการบริหาร ราชการ ใน พ.ศ. ๒๕๔๒ และการจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารตามพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บ บริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ จึงต้องปรับปรุงบทบัญญัติในพระราชบัญญัติ ลกู เสือใหเ้ กิดความสอดคลอ้ งกนั หลกั การและสาระส�ำคัญของพระราชบญั ญตั ิลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๑ พระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศใชเ้ มอ่ื วนั ที่ ๒๕ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑ และมีผลบังคับใช้วันที่ ๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ด้วยเหตุผลหลักเพ่ือปรับปรุงบทบัญญัติให้ สอดคลอ้ งกบั การปฏริ ปู โครงสรา้ งระเบยี บบรหิ ารราชการและการจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ตามพระราชบัญญตั ิระเบียบบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และสอดคลอ้ งกับ สภาพปัจจบุ ัน แบ่งเป็น ๖ หมวด ๗๔ มาตรา 6 สารานกุ รมลกู เสอื

สรุปสาระส�ำคัญได้ดงั ตอ่ ไปนี้ พระราชบญั ญัติฉบับน้ใี ห้ยกเลกิ พระราชบัญญัติลกู เสือ ตั้งแตฉ่ บับ พ.ศ. ๒๕๐๗ ถงึ ฉบับ พ.ศ. ๒๕๓๐ ระบุความหมายของลูกเสือ บุคลากรทางการลูกเสือ ลูกเสือที่เป็นหญิง ให้เรยี กว่า เนตรนารี บัญญัตใิ หพ้ ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ ของคณะลูกเสอื แหง่ ชาติ ก�ำหนดวัตถุประสงค์ของคณะลูกเสอื แหง่ ชาติ เนน้ แนวทาง ๕ ประการ ใหม้ ี สภาลกู เสอื ไทย ประกอบดว้ ย นายกรฐั มนตรี เปน็ สภานายก รองนายกรฐั มนตรี เปน็ อุปนายก กรรมการโดยต�ำแหนง่ ไดแ้ ก่ หัวหนา้ ส่วนราชการทเ่ี กี่ยวขอ้ ง กรรมการผ้ทู รงคุณวุฒิ จ�ำนวนไม่เกินแปดสิบคน ซ่ึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งตามพระราชอัธยาศัย เลขาธิการ ส�ำนกั งานลกู เสอื แหง่ ชาตเิ ปน็ กรรมการและเลขานกุ าร รองเลขาธกิ ารและผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารส�ำนกั งาน ลูกเสือแห่งชาติเป็นผู้ช่วยเลขานุการ มีอ�ำนาจหน้าท่ีหลักในการก�ำหนดนโยบายเพ่ือความม่ันคง และความเจริญก้าวหนา้ ของคณะลกู เสือแหง่ ชาติ สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร เสดจ็ ฯ ออกแทนพระองค์ ณ วังศโุ ขทัย พระราชทาน พระราชวโรกาสให้ นางสาวย่ิงลักษณ์ ชนิ วัตร นายกรัฐมนตรี ในฐานะสภานายก สภาลูกเสือไทย พรอ้ มกรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ สภาลูกเสอื ไทย และเจ้าหนา้ ทส่ี �ำนกั งานลูกเสอื แหง่ ชาติ เขา้ เฝ้าฯ ใหม้ คี ณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ ประกอบดว้ ย รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปน็ ประธานกรรมการ กรรมการโดยต�ำแหนง่ ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและปลดั กระทรวงมหาดไทย เปน็ รองประธานกรรมการ หัวหน้าสว่ นราชการในกระทรวงศึกษาธิการ เลขาธกิ ารสภากาชาดไทย ผู้อ�ำนวยการศูนย์ปฏิบัติการลูกเสือชาวบ้าน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจ�ำนวนไม่เกินสิบห้าคน ซึ่ง สภานายกสภาลกู เสอื ไทยแตง่ ตง้ั โดยค�ำแนะน�ำของกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ ซง่ึ ในจ�ำนวนนี้ สารานุกรมลกู เสอื 7

ต้องมาจากภาคเอกชนไม่น้อยกว่าก่ึงหน่ึง เลขาธิการส�ำนักงานลูกเสือแห่งชาติเป็นกรรมการ และเลขานกุ าร รองเลขาธกิ ารและผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารส�ำนกั งานลกู เสอื แหง่ ชาตเิ ปน็ ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร มีอ�ำนาจหน้าท่ีบริหารจัดการ ด�ำเนินการตามวัตถุประสงค์ของคณะลูกเสือแห่งชาติและนโยบาย ของสภาลกู เสือไทย การประชุมคณะกรรมการบริหารลูกเสือแหง่ ชาติ ใหร้ ฐั มนตรกี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารแตง่ ตงั้ รองปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารคนหนงึ่ ท�ำหนา้ ท่ี เลขาธิการส�ำนักงานลูกเสือแห่งชาติ แต่งต้ังผู้บริหารระดับสูงอื่นในกระทรวงศึกษาธิการท�ำหน้าท่ี รองเลขาธิการและผู้ช่วยเลขาธิการตามจ�ำนวนท่ีเหมาะสมโดยการเสนอของเลขาธิการส�ำนักงาน ลูกเสือแหง่ ชาติ ใหส้ �ำนกั งานลกู เสอื แหง่ ชาตเิ ปน็ หนว่ ยงานของรฐั ทไี่ มเ่ ปน็ สว่ นราชการหรอื รฐั วสิ าหกจิ ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณหรือกฎหมายอ่ืน มีฐานะเป็นนิติบุคคล อยู่ในก�ำกับของ กระทรวงศึกษาธิการ มีอ�ำนาจหน้าท่ีด�ำเนินการตามวัตถุประสงค์ของคณะลูกเสือแห่งชาติ นโยบายของสภาลูกเสือไทยและด�ำเนินงานของคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ มีรายได้ ตามที่ก�ำหนดไวใ้ นพระราชบญั ญตั ิ ให้มีคณะกรรมการลูกเสือจังหวัด โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานกรรมการ กรรมการโดยต�ำแหนง่ กรรมการประเภทผแู้ ทน ใหผ้ อู้ �ำนวยการส�ำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาเขต ๑ เป็นกรรมการและเลขานุการ ผู้อ�ำนวยการศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดเป็นกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ มีอ�ำนาจหน้าที่ควบคุม ดูแลกิจการลูกเสือให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบของทางราชการและคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ พิจารณาค�ำขอการจัดตั้ง คา่ ยลูกเสอื ภายในจังหวัด 8 สารานกุ รมลกู เสือ

ส�ำนกั งานลูกเสือเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษานครราชสมี า เขต ๖ โดยคณะกรรมการลกู เสือเขตพน้ื ทฯ่ี จดั ประชุมสมั มนาการบรหิ ารกจิ การลูกเสือของโรงเรียนในสงั กดั ใหม้ สี �ำนกั งานลกู เสอื จงั หวดั อยใู่ นส�ำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาเขต ๑ มผี อู้ �ำนวยการ ส�ำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาเขต ๑ เป็นหัวหน้าส�ำนกั งานลกู เสือจังหวัด ก�ำหนดให้การจัดต้ังค่ายลูกเสือในจังหวัด ต้องได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจาก คณะกรรมการลูกเสือจังหวัด ให้มคี ณะกรรมการลกู เสอื เขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา ประกอบดว้ ย ผู้อ�ำนวยการส�ำนกั งาน เขตพื้นที่การศึกษา เป็นประธานกรรมการ มีกรรมการโดยต�ำแหน่ง กรรมการประเภทผู้แทน ซึ่งประธานกรรมการแต่งต้ังโดยค�ำแนะน�ำของกรรมการลูกเสือเขตพื้นท่ี ในจ�ำนวนน้ีจะต้อง แต่งตั้งจากภาคเอกชนไม่น้อยกว่ากึ่งหน่ึง มีอ�ำนาจหน้าที่ควบคุม ดูแลกิจการลูกเสือให้เป็นไป ตามกฎหมายข้อบังคบั ระเบียบของทางราชการและคณะกรรมการบริหารลกู เสือแห่งชาติ ภายใน เขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา ให้มีส�ำนักงานลูกเสือเขตพ้ืนท่ีการศึกษา อยู่ในส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มี ผอู้ �ำนวยการส�ำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาเป็นหวั หนา้ ส�ำนักงานลูกเสือเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา ก�ำหนดเรื่องทรัพย์สินของส�ำนักงานลูกเสือแห่งชาติและการบริหารจัดการในเรื่อง ทรัพย์สนิ เหล่านั้น ระบุเร่ืองการจัดกลุ่ม ประเภท ต�ำแหนง่ ลกู เสือ การต้ัง การยบุ การจดั หน่วยลูกเสอื เหลา่ ลกู เสอื และประเภทลกู เสอื ทงั้ ปวง ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารทกี่ �ำหนดในกฎกระทรวง ก�ำหนดใหม้ ตี �ำแหนง่ ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ๑๖ ล�ำดบั ต�ำแหนง่ ผตู้ รวจการลกู เสอื มหี นา้ ทต่ี รวจตรา แนะน�ำ ชแี้ จงและรายงานเพอื่ ใหบ้ รหิ ารงานลกู เสอื เปน็ ไปตามนโยบาย ขอ้ บงั คบั ระเบียบ และแบบธรรมเนยี มของลูกเสอื มี ๑๑ ล�ำดบั ระบเุ รอ่ื งธง เครอื่ งแบบและการแตง่ กาย ใหม้ ธี งคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ มลี กั ษณะพนื้ เปน็ ธงไตรรงค์ กว้าง ๕๐ ซม. ยาว ๕๒ ซม. ตรงกลาง มีตราธรรมจักรเส้นผ่านศูนย์กลาง ๓๒ ซม. สารานกุ รมลูกเสอื 9

ธงลกู เสอื ประจ�ำจงั หวดั โดยรบั พระราชทานจากประมขุ ของคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ มเี ครอ่ื งแบบและ การแต่งกายลูกเสือให้เป็นไปตามท่ีก�ำหนดในกฎกระทรวง ย้�ำให้ลูกเสือต้องปฏิบัติตามวินัยซึ่ง ก�ำหนดไว้ในในขอ้ บงั คับคณะกรรมการบริหารลูกเสอื แห่งชาตแิ ละตามแบบธรรมเนียมของลูกเสอื ลกั ษณะธงคณะลกู เสือแห่งชาติ ให้มีเครื่องราชอิสริยาภรณ์ส�ำหรับพระราชทานแก่บุคลากรทางการลูกเสือ ลูกเสือ และบุคคลผู้มีความดีความชอบตามทบ่ี ัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติน้ี ไดแ้ ก่ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ อนั เป็นสริ ยิ งิ่ รามกีรติ ลูกเสอื สดุดีช้ันพิเศษ เหรียญลกู เสอื สรรเสริญ มีสามชัน้ เหรยี ญลูกเสอื สดดุ ี มีสามชั้น เหรียญลูกเสือยั่งยืน เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์เหล่าน้ีให้เป็นสิทธิแก่ผู้ที่ได้รับพระราชทาน เมอื่ ผ้ไู ดร้ ับพระราชทานวายชนมใ์ ห้ตกทอดแกท่ ายาทเพอื่ รักษาไวเ้ ป็นท่ีระลึก เครอื่ งราชอสิ ริยาภรณอ์ ันเปน็ สริ ยิ งิ่ รามกีรติ ลูกเสอื สดุดชี นั้ พเิ ศษ เหรียญลูกเสือสดดุ ี ให้มเี ขม็ ลูกเสือสมนาคุณ ไวส้ �ำหรับตอบแทนผมู้ ีจิตศรทั ธาบรจิ าคเงินหรือทรัพยส์ นิ อย่างอ่นื เพือ่ บ�ำรุงการลกู เสอื มีสี่ช้นั ชนั้ พเิ ศษ ช้ันท่ี ๑ ชัน้ ที่ ๒ ช้นั ที่ ๓ 10 สารานกุ รมลกู เสอื เข็มลกู เสอื สมนาคุณ

ให้มเี ขม็ ลูกเสอื บ�ำเพญ็ ประโยชน์ เพอื่ สง่ เสริมการบ�ำเพ็ญประโยชนข์ องลกู เสือ ชัน้ ที่ ๑ ชน้ั ท่ี ๒ ชน้ั ท่ี ๓ เขม็ ลกู เสอื บ�ำเพ็ญประโยชน์ มีบทก�ำหนดโทษ ผู้แต่งเครื่องแบบลูกเสือหรือประดับเครื่องหมายลูกเสือโดย ไม่มีสิทธิ์ ผู้ท�ำปลอมเข็มลูกเสอื สมนาคุณ เข็มลูกเสือบ�ำเพ็ญประโยชนต์ อ้ งระวางโทษจ�ำคุกหรือ ปรบั เปน็ เงนิ หรือทัง้ จ�ำท้ังปรับ พธิ ีพระราชทานเหรยี ญลูกเสือสดุดี ชนั้ ท่ี ๑ พธิ มี อบเหรียญลกู เสือสดดุ ี ชั้นท่ี ๒ และช้นั ท่ี ๓ ความส�ำคัญ พระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื เปน็ บทบญั ญตั แิ หง่ กฎหมายทตี่ ราขน้ึ เพอื่ ก�ำหนดรายละเอยี ด เกย่ี วกบั กจิ การลกู เสอื ทงั้ ระบบ ทง้ั ในดา้ นองคค์ วามรู้ ความเขา้ ใจในภาพรวมและองคป์ ระกอบตา่ งๆ ของกจิ การลกู เสอื ระบคุ วามหมาย วตั ถปุ ระสงค์ จ�ำแนกแยกชน้ั ประเภท บทบาทหนา้ ที่ ปฏสิ มั พนั ธ์ ขององคป์ ระกอบเหลา่ นน้ั รวมทงั้ วธิ กี ารในการบรหิ ารจดั การในสว่ นรวมและสว่ นยอ่ ยทงั้ ระบบงาน นอกจากนี้ พระราชบัญญัติลูกเสือยังได้บัญญัติให้มีการก�ำหนดข้อปฏิบัติในรูปแบบกฎกระทรวง ข้อบังคับ กฎ ระเบียบเป็นหลักการ วิธีการปฏิบัติในสาระส�ำคัญปลีกย่อยตามบทบัญญัติใน พระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัติลูกเสือจึงเป็นแม่บทใหญ่ในการด�ำเนินกิจการลูกเสือที่ผู้ที่ เก่ียวข้องทุกคนจะต้องศึกษา เรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้และยึดถือเป็น หลกั ปฏบิ ตั ติ ามอยา่ งถกู ตอ้ ง มนั่ คง ตอ่ เนอ่ื งเพอ่ื ด�ำรงไวแ้ ละพฒั นาใหก้ จิ การลกู เสอื เจรญิ กา้ วหนา้ สภาพรตามพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชบิดาของ ลูกเสือไทยและหลกั การ วิธีการของลกู เสืออยา่ งแท้จรงิ สารานุกรมลูกเสือ 11

กฎกระทรวง ความหมาย กฎหมาย หมายถงึ ขอ้ ก�ำหนดทางปฏบิ ตั ใิ นการด�ำเนนิ งานกจิ การลกู เสอื ทบ่ี ญั ญตั ไิ ว้ ในมาตราต่างๆ ของพระราชบัญญัติลูกเสือให้เป็นไปตามที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง กฎกระทรวง เปน็ มตขิ องคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ ก�ำหนดหลกั เกณฑ์ รปู แบบ วธิ กี ารใหด้ �ำเนนิ งาน กิจการลูกเสือในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง น�ำเสนอกระทรวง ผ่านความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ประกาศใช้ในราชกิจจานเุ บกษา พระราชบัญญตั ิลูกเสอื พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้บญั ญัติไว้ในมาตราต่างๆ ให้ด�ำเนนิ กจิ การลกู เสือตามทก่ี �ำหนดในกฎกระทรวง ได้แก่ มาตรา ๒๘ วรรค ๒ “ส�ำหรบั การจดั ระเบยี บการปกครองลกู เสอื ในกรงุ เทพมหานคร และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายจัดต้ังเป็นรูปแบบพิเศษให้เป็นไปตามท่ีก�ำหนดใน กฎกระทรวง” มาตรา ๔๓ “การตง้ั การยุบ การจัดหน่วยลูกเสือ เหลา่ ลกู เสือ และประเภทลูกเสือ ท้ังปวงใหเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง” มาตรา ๕๐ วรรค ๒ “ใหม้ ีธงคณะลูกเสือไทยและธงลูกเสืออื่นๆ เพ่ือประโยชน์ ในการรว่ มกิจกรรมระดับนานาชาติ ทั้งน้ี ให้เป็นไปตามทีก่ �ำหนดในกฎกระทรวง” มาตรา ๕๑ “เครอื่ งแบบและการแตง่ กายลกู เสอื ใหเ้ ปน็ ไปตามทก่ี �ำหนดในกฎกระทรวง” กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยการตงั้ การยบุ การจดั หนว่ ยลกู เสอื เหลา่ ลกู เสอื และประเภทลกู เสอื มสี าระส�ำคญั โดยสรุป คอื การจัดประเภทลูกเสือในสถานศกึ ษามสี ีป่ ระเภท คอื ลกู เสือส�ำรอง ลกู เสอื สามัญ ลูกเสอื สามัญร่นุ ใหญ่ ลูกเสือวิสามัญ ลกู เสือท้ัง ๔ ประเภท กับเนตรนารี และสมาชกิ ผบู้ �ำเพญ็ ประโยชน์ ลกู เสอื เนตรนารมี ีสามเหลา่ คือ เหล่าเสนา เหลา่ สมุทร เหลา่ อากาศ 12 สารานกุ รมลกู เสอื

เนตรนารีเหล่าเสนา เนตรนารเี หล่าสมทุ ร เนตรนารีเหลา่ อากาศ การจดั หนว่ ยลกู เสอื ใหจ้ ัดเปน็ ล�ำดบั คอื กล่มุ ลกู เสือ กองลกู เสือ หมลู่ กู เสอื การจัดตง้ั กองลกู เสือ ประกอบด้วย หมูล่ ูกเสือตัง้ แตส่ องหมขู่ นึ้ ไป แต่ไม่เกินหกหมู่ มผี ู้ก�ำกบั กองลูกเสือ หนง่ึ คน รองผูก้ �ำกบั กองลกู เสอื ไม่เกนิ สิบคน การเรยี กชอ่ื กองลกู เสอื ใหเ้ รยี กตามลกั ษณะของสถานศกึ ษา ชอ่ื สถานศกึ ษา ประเภทล�ำดบั กองลกู เสอื ล�ำดบั กลมุ่ ลกู เสอื และเหลา่ ลกู เสอื กองลกู เสอื นอกสถานศกึ ษา ใหเ้ รยี กชอ่ื ตามสถานทตี่ ง้ั ของกลมุ่ ลูกเสอื หรือกองลูกเสือน้ันๆ ประเภท ล�ำดบั กองลกู เสอื ล�ำดับกลุ่มลกู เสือและเหล่าลกู เสอื กองลกู เสอื สามญั ร่นุ ใหญ่ กองที่ ๑ โรงเรียนบา้ นแมโ่ ถ อ�ำเภอแมล่ านอ้ ย จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน สารานกุ รมลูกเสอื 13

หมู่ลูกเสือหนึ่งหมู่ ประกอบด้วย ลูกเสือ นายหมู่ รองนายหมู่ หมู่ลูกเสือส�ำรอง จ�ำนวนสี่ถึงหกคน หมู่ลูกเสือสามัญ จ�ำนวนหกถึงแปดคน หมู่ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ จ�ำนวนหก ถึงแปดคน หมลู่ ูกเสอื วิสามัญ จ�ำนวนสี่ถงึ หกคน การเรยี กชอื่ หมลู่ กู เสอื ใหเ้ ปน็ ไปตามทค่ี ณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาตกิ �ำหนด หมู่ลูกเสอื สามัญ หมู่ลูกเสือสามญั รุ่นใหญ่ การจัดตั้งกลุ่มลูกเสือหรือกองลูกเสือในจังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีมี กฎหมายจดั ตง้ั เป็นรูปแบบพิเศษ ต้องได้รับอนุญาตจากผูอ้ �ำนวยการลกู เสือจังหวัด การจัดต้ังกลุ่มลูกเสือหรือกองลูกเสือในกรุงเทพมหานครต้องได้รับอนุญาตจาก เลขาธกิ ารส�ำนกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ เวน้ แตส่ ถานศกึ ษาสงั กดั กรงุ เทพมหานคร ตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจาก ผอู้ �ำนวยการลูกเสือกรงุ เทพมหานคร การก�ำกับกลุ่มลูกเสือ ให้มีผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ดังนี้ กลุ่มลูกเสือ ให้มีผู้ก�ำกับ กลุม่ ลูกเสอื หน่งึ คน รองผกู้ �ำกับกลมุ่ ลกู เสอื ไมเ่ กนิ หา้ คน การยบุ กลุ่มลูกเสือหรอื กองลูกเสือยบุ ด้วยเหตุใดเหตหุ นง่ึ ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑. สถานทซี่ ง่ึ เปน็ ทต่ี ง้ั กลมุ่ หรอื กองลกู เสอื เลกิ ลม้ ปรากฏภายหลงั วา่ เปน็ สถานทอี่ นั ไมส่ มควร ๒. ท�ำการฝกึ และอบรมลกู เสอื ไมเ่ ปน็ ไปตามหลกั การและวตั ถปุ ระสงคข์ องคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ 14 สารานุกรมลกู เสอื

๓. ลกู เสอื ในกลมุ่ ลกู เสอื หรอื กองลกู เสอื ประพฤตชิ ว่ั เปน็ เหตนุ �ำมาซงึ่ ความเสอื่ มเสยี ชื่อเสียงเกยี รติคณุ ของคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ ๔. มีจ�ำนวนลูกเสือหรือผู้บังคับบัญชาลูกเสือไม่พอที่จะด�ำรงเป็นกลุ่มลูกเสือหรือ กองลกู เสือตอ่ ไปได้ ให้ผู้มีอ�ำนาจในการอนุญาตให้จัดต้ังกลุ่มลูกเสือหรือกองลูกเสือ เป็นผู้มีอ�ำนาจ ในการส่งั ยุบกล่มุ ลกู เสือหรอื กองลูกเสอื กฎกระทรวงว่าด้วยธงคณะลูกเสือไทยและธงลกู เสอื อนื่ มสี าระส�ำคัญโดยสรปุ คือ ก�ำหนดให้มีธงคณะลูกเสือไทย มีรูปลักษณ์ในรายละเอียดตามท่ีก�ำหนดไว้ใน กฎกระทรวงฯ ธงคณะลกู เสอื ไทยใหใ้ ชใ้ นการรว่ มกจิ กรรมระดบั นานาชาตแิ ละในโอกาส ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑. ใช้ประกอบคันธงซึ่งท�ำด้วยไม้เนื้อแข็งหรือวัสดุอ่ืนขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๓ เซนติเมตร สงู ๒ เมตร ยอดคนั ธงท�ำด้วยโลหะเป็นรปู วชริ ะสีเงิน ส�ำหรบั น�ำไปร่วมงานพิธตี ่างๆ ๒. ใช้ประดบั เสาธงในงานพิธีต่างๆ ๓. ใชช้ กั ขนึ้ สู่ยอดเสาในงานชุมนุมลูกเสอื ธงลูกเสืออื่น ได้แก่ ธงประจ�ำเหล่าลูกเสือ ธงประจ�ำกลุ่มลูกเสือ ธงประจ�ำกองลูกเสือ ธงประจ�ำหมูล่ กู เสอื ธงคณะลูกเสอื แหง่ ชาติ และธงลกู เสอื ๔ ประเภท สารานกุ รมลูกเสอื 15

ธงประจ�ำกองลกู เสือ ธงประจ�ำเหล่าลูกเสือ มีธงประจ�ำเหล่าลูกเสือเสนา ธงประจ�ำเหล่าลูกเสือสมุทร ธงประจ�ำเหล่าลูกเสืออากาศ มีรปู ลักษณ์ในรายละเอียดตามทก่ี �ำหนดไว้ในกฎกระทรวงฯ ธงประจ�ำกลมุ่ ลกู เสอื ธงประจ�ำกลมุ่ ลกู เสอื ใชใ้ นโอกาส การเดนิ สวนสนาม ใชป้ ระดบั ในงานพธิ ีการของกลมุ่ ลกู เสือและใช้ประดบั ในพธิ ีประดับเครอ่ื งหมายวชิ าพิเศษ ธงประจ�ำกองลกู เสอื มธี งประจ�ำกองลกู เสอื ส�ำรอง มธี งประจ�ำกองลกู เสอื สามญั มธี ง ประจ�ำกองลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ มธี งประจ�ำกองลกู เสอื วสิ ามญั มรี ปู ลกั ษณใ์ นรายละเอยี ดตามที่ ก�ำหนดไว้ในกฎกระทรวงฯ ธงประจ�ำกองลูกเสือ ให้ใช้ในโอกาสการเดินสวนสนาม ใช้ประดับ ในงานพธิ กี ารของกองลกู เสอื ใชใ้ นพธิ สี ง่ ลูกเสอื และพิธีเข้าประจ�ำกองลกู เสอื ธงประจ�ำกองลูกเสือโรงเรยี นเกษมพทิ ยา ธงประจ�ำหมู่ลูกเสือทกุ เหลา่ ทกุ ประเภท ยกเวน้ ลูกเสอื ส�ำรอง มรี ูปสัญลักษณใ์ น รายละเอียดตามทกี่ �ำหนดในกฎกระทรวงฯ การประกอบให้ใชด้ า้ นฐานของผนื ธงผูกติดกบั ปลายไมพ้ ลองของลกู เสือสามัญ และ ผกู ติดไวใ้ ต้งา่ มของไม้งา่ มลกู เสือสามญั รุ่นใหญแ่ ละลกู เสอื วิสามัญ ธงประจ�ำหมลู่ ูกเสอื ใหใ้ ช้ประจ�ำตวั นายหมลู่ ูกเสือ 16 สารานุกรมลูกเสอื

ธงประจ�ำกองลกู เสอื ท่ผี กู ตดิ กับไม้งา่ มของลูกเสือสามญั รนุ่ ใหญ่และลกู เสอื วสิ ามัญ ด้านฐานของผนื ธงผกู ตดิ ไว้ใต้งา่ มของไมง้ า่ ม กฎกระทรวงวา่ ด้วยเคร่ืองแบบลูกเสือ มสี าระส�ำคัญโดยสรุป คอื ลกู เสอื ทกุ เหลา่ ทกุ ประเภท มเี ครอ่ื งแบบลกู เสอื ลกู เสอื เหลา่ สมทุ ร มเี ครอ่ื งแบบกากี และเครอื่ งแบบขาว เคร่ืองแบบลูกเสือประกอบด้วย หมวก เสื้อแขนสัน้ ลกู เสอื สมุทรมเี สื้อช้นั ใน ผ้าผูกคอรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว กางเกงขาสั้น เข็มขัด ถุงเท้า รองเท้า มีรูปลักษณ์ สี ขนาดตราเคร่อื งประดับเป็นรายละเอยี ด ปรากฏในกฎกระทรวงว่าด้วยเคร่ืองแบบลกู เสอื ลูกเสอื เหลา่ สมทุ ร มีเคร่ืองแบบกากแี ละเครอื่ งแบบขาว สารานกุ รมลูกเสอื 17

ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ผตู้ รวจการลกู เสอื กรรมการลกู เสอื และเจา้ หนา้ ทล่ี กู เสอื ทเ่ี ปน็ ชาย มีเคร่ืองแบบประกอบด้วย หมวกมี ๒ แบบ หมวกปีกกว้างสีกากีและหมวกทรงอ่อนสีเขียว เสื้อแขนสั้น ผ้าผูกคอ กางเกง เข็มขัด ถุงเท้า รองเท้า ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเหล่าสมุทร มีเคร่ืองแบบกากี และเคร่ืองแบบขาว เคร่ืองแบบเหล่าน้ี มีรูปลักษณ์ สี ขนาด ตรา เครื่องประดับเป็นรายละเอียดปรากฏในกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยเครือ่ งแบบลกู เสอื ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ผู้ตรวจการลูกเสือ กรรมการลูกเสือและเจ้าหน้าที่ลูกเสือท่ี เปน็ หญงิ มเี ครอื่ งแบบประกอบดว้ ย หมวกมี ๒ แบบ หมวกปกี กวา้ งสกี ากแี ละหมวกทรงออ่ นสเี ขยี ว เส้ือกระโปรง ผ้าผูกคอ เข็มขัด ถุงเท้า รองเท้า มีรูปลักษณ์ สี ขนาด ตรา เคร่ืองประดับเป็น รายละเอียดปรากฏในกฎกระทรวงวา่ ด้วยเครือ่ งแบบลูกเสือ เครื่องแบบพิเศษผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ผู้ตรวจการลูกเสือ กรรมการลูกเสือและ เจา้ หนา้ ทล่ี กู เสอื ใชใ้ นโอกาสไมป่ ระจ�ำแถวหรอื น�ำขบวนทเ่ี ปน็ ชาย หมวกมี ๒ แบบ หมวกปกี กวา้ ง สีกากี และหมวกทรงหม้อตาลสีกากี เสื้อช้ันนอกคอแบะสีกากี กางเกงขายาวสีกากี ถุงเท้าสั้น สีกากี รองเท้าหนังสีน�้ำตาล มีรูปลักษณ์ สี ขนาด ตรา เครื่องประดับเป็นรายละเอียดปรากฏ ในกฎกระทรวงว่าด้วยเคร่อื งแบบลกู เสอื เคร่ืองแบบพิเศษผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ผู้ตรวจการลูกเสือ กรรมการลูกเสือและ เจ้าหน้าที่ลูกเสือที่เป็นหญิง หมวกมี ๒ แบบ หมวกปีกกว้างสีกากีและหมวกทรงอ่อนสีเขียว เสื้อกระโปรงติดกันสีกากี คอแหลม ไม่มีปก เข็มขัด ถุงเท้ายาวสีเน้ือ รองเท้าส้นสูง หุ้มส้น สีน�้ำตาลแก่ มีรูปลักษณ์ สี ขนาด ตรา เครื่องประดับเป็นรายละเอียดปรากฏในกฎกระทรวง วา่ ดว้ ยเครอ่ื งแบบลกู เสอื ผา้ ผกู คอพเิ ศษ ลกู เสอื และผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ทไี่ ปตา่ งประเทศ ใชผ้ า้ ผกู คอสกี รมทา่ ลักษณะเชน่ เดียวกับผา้ ผูกคอเคร่ืองแบบลกู เสอื สามญั แต่ขลบิ ริมสีเหลือง กวา้ ง ๐.๕ เซนตเิ มตร ท่มี ุมตรงข้ามกับด้านฐานมรี ูปแผนทีป่ ระเทศไทยสเี หลือง ผ้าผกู คอส�ำหรับลูกเสือและผู้บังคับบัญชาลกู เสือท่ีไปต่างประเทศ 18 สารานุกรมลกู เสือ

เครอื่ งหมายประกอบเครอื่ งแบบลกู เสอื ประกอบดว้ ย เครอ่ื งหมายจงั หวดั เครอื่ งหมาย ลูกเสอื ส�ำรอง เครอ่ื งหมายหมู่ เคร่ืองหมายชั้น เครอื่ งหมายประจ�ำการ เครื่องหมายสงั กดั ชอ่ื กลุ่ม หรือกอง เลขกลุ่มและเลขกอง เคร่ืองหมายเสือเผ่น เครื่องหมายภาษาต่างประเทศ สายยงยศ เครอ่ื งหมายชาวเรอื เครอื่ งหมายการบนิ เครอ่ื งหมายลกู เสอื หลวง เครอื่ งหมายวชริ าวธุ เครอ่ื งหมาย ผู้ฝกึ สอน เครื่องหมายวชิ าพเิ ศษ สายสะพาย เครือ่ งหมายประกอบเครือ่ งแบบเหล่านี้ มีรปู ลักษณ์ สี ขนาด ตรา เครื่องหมาย วิธีประดับส�ำหรับลูกเสือแต่ละประเภทเป็นรายละเอียดปรากฏใน กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยเคร่ืองแบบลูกเสอื ลูกเสือส�ำรองและลูกเสือสามัญ มีเคร่ืองแบบลูกเสือและเคร่ืองหมายประกอบเครื่องแบบ แบบล�ำลอง โดยใชเ้ ครอ่ื งแบบนกั เรยี น มผี า้ ผกู คอและเครอ่ื งหมายประกอบเครอื่ งแบบ คอื เครอื่ งหมาย จังหวัดและเครื่องหมายรูปตราคณะลูกเสือแห่งชาติ มีรายละเอียดปรากฏในกฎกระทรวงว่าด้วย เครื่องแบบลูกเสือ เครอื่ งหมายประกอบเครอ่ื งแบบผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ผตู้ รวจการลกู เสอื กรรมการลกู เสอื และเจา้ หนา้ ทลี่ กู เสอื ประกอบดว้ ย เครอ่ื งหมายจงั หวดั สายนกหวดี เครอ่ื งหมายต�ำแหนง่ เครอื่ งหมาย รปู ตราคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ เครอื่ งหมายสงั กดั เครอ่ื งหมายวชิ าผกู้ �ำกบั ลกู เสอื เบอื้ งตน้ เครอื่ งหมาย วชิ าผ้กู �ำกบั ลูกเสือขนั้ วดู แบดจ์ เคร่ืองหมายประกอบเครอ่ื งแบบเหล่านี้ มีรูปลักษณ์ สีขนาด ตรา เครอื่ งหมาย วิธปี ระดับเปน็ รายละเอยี ดปรากฏในกฎกระทรวงวา่ ด้วยเครือ่ งแบบลูกเสือ เครื่องหมายประกอบเครอ่ื งแบบนายหมู่ลกู เสอื รองนายหมู่ลกู เสือ ท�ำดว้ ยแถบผ้า มรี ปู ลกั ษณ์ สี ขนาด เครอ่ื งหมาย วธิ ปี ระดบั ส�ำหรบั ลกู เสอื แตล่ ะประเภท เปน็ รายละเอยี ดปรากฏ ในกฎกระทรวงวา่ ด้วยเคร่ืองแบบลูกเสอื และมีสายนกหวีด เคร่ืองแบบและเคร่ืองหมายประกอบเคร่ืองแบบลูกเสือและผู้บังคับบัญชาลูกเสือ หน่วยพิเศษไดแ้ ก่ กองลูกเสือสามัญวชิราวุธวิทยาลัย กองลูกเสือสามัญท่ี ๑ พระปฐมวิทยาลัยใน พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยู่หวั หนว่ ยสวสั ดิภาพนักเรยี น หนว่ ยดุรยิ างค์ หนว่ ยดับเพลงิ หน่วยสารวัตร มีเครื่องแบบและเครื่องหมายประกอบเครื่องแบบลูกเสือที่มีรูปลักษณ์ สี ขนาด ตรา เครอ่ื งหมาย วธิ ปี ระดับเปน็ รายละเอียดปรากฏในกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยเคร่อื งแบบลูกเสือ กองลูกเสอื สามัญ (ลูกเสอื หลวง) กองลกู เสอื ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ สารานกุ รมลกู เสือ 19

เครอื่ งแบบและเครอื่ งหมายประกอบเครอ่ื งแบบลกู เสอื ส�ำหรบั พระประมขุ คณะลกู เสอื แหง่ ชาติ มีรปู แบบ สี ขนาด ตรา เคร่ืองหมาย วิธีประดบั เป็นรายละเอยี ดปรากฏในกฎกระทรวง ว่าดว้ ยเครือ่ งแบบลูกเสือ เม่ือแต่งเครื่องแบบลูกเสือ ให้ประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ เข็ม แสดงวิทยฐานะ และเครือ่ งหมายแสดงความสามารถได้ตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนว่าดว้ ยการนั้น ข้อบังคบั คณะกรรมการบริหารลกู เสือแหง่ ชาติ ความหมาย ข้อบังคับคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ หมายถึง ข้อก�ำหนดทางปฏิบัติใน การด�ำเนินงานกิจการลูกเสือที่บัญญัติไว้ในมาตราต่างๆ ของพระราชบัญญัติลูกเสือให้เป็นไปตาม ข้อบังคับคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ข้อบังคับคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ เป็นมติของคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ก�ำหนดหลักเกณฑ์ รูปแบบ วิธีการใน การด�ำเนนิ งานกจิ การลกู เสอื ในเรอ่ื งใดเรอื่ งหนงึ่ ประกาศใชใ้ นราชกจิ จานเุ บกษา พระราชบญั ญตั ิ ลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้บัญญัติไว้ในมาตราต่างๆ ให้ด�ำเนินงานกิจการลูกเสือ ให้เป็นไปตาม ขอ้ บังคบั คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แห่งชาติ สาระส�ำคัญของข้อบังคับคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติท่ีเก่ียวกับการบริหาร จัดการกจิ การลูกเสือในสถานศึกษา ขอ้ บงั คบั คณะลกู เสอื แหง่ ชาตวิ า่ ดว้ ยการปกครอง หลกั สตู รและวชิ าพเิ ศษลกู เสอื พ.ศ. ๒๕๐๙ ข้อบงั คบั คณะลกู เสือแหง่ ชาติว่าด้วยการปกครอง หลักสตู รและวิชาพเิ ศษลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๐๙ 20 สารานุกรมลูกเสือ

มสี าระส�ำคัญโดยสรุป คอื พระราชบญั ญัติลกู เสือ พ.ศ. ๒๕๕๑ ไดบ้ ัญญัติ บทเฉพาะกาล มาตรา ๗๔ ไวว้ ่า “ในระหว่างที่ยังมิได้ออกกฎกระทรวง ข้อบังคับคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ระเบียบ ประกาศ ค�ำส่ัง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ให้น�ำกฎกระทรวง ข้อบังคับคณะลูกเสือ แหง่ ชาติ ระเบยี บ ประกาศ หรอื ค�ำสงั่ ทอี่ อกตามพระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื พ.ศ. ๒๕๐๗ ทใี่ ชอ้ ยใู่ นวนั ท่ี พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มาใช้บังคับโดยอนุโลม” ในช่วงเวลาที่เขียนสารานุกรมลูกเสือฉบับนี้ ยงั ไมม่ กี ารก�ำหนดขอ้ บงั คบั คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาตวิ า่ ดว้ ยการปกครอง หลกั สตู รและ วชิ าพเิ ศษลกู เสอื จงึ ตอ้ งน�ำ ขอ้ บงั คบั ฯ ฉบบั นมี้ าเปน็ แนวทางด�ำเนนิ งานกจิ การลกู เสอื ไปกอ่ น ขอ้ บงั คบั คณะลูกเสือแห่งชาติว่าด้วยการปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๐๙ ฉบับนี้ เป็นเสมือนแม่บทใหญ่ในการด�ำเนินกิจการลูกเสือในภาพรวม ได้ก�ำหนดรูปแบบ วิธีการ ขั้นตอนใน การด�ำเนินงานกิจการลูกเสือทุกด้าน เป็นคู่มือในการบริหารจัดการกิจการลูกเสือได้เป็นอย่างดี อย่างไรก็ตาม ได้มีการเปลี่ยนแปลงในระบบบริหารราชการ และได้มีการก�ำหนด กฎกระทรวง ข้อบังคับคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ หลักเกณฑ์ ระเบียบ ฯลฯ ใหม่ออกมาบ้าง ในบางเรื่อง ข้อมูล ข้อก�ำหนดในข้อบังคับฯ นี้ จึงต้องมีการเปลี่ยนแปลงไป ผู้ท่ีมีหน้าที่บริหาร จัดการกจิ การลกู เสอื ต้องตดิ ตามการเปล่ยี นแปลงทเ่ี กดิ ขึ้นใหเ้ ปน็ ไปตามสภาพปัจจุบัน ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติว่าด้วยการปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๐๙ ฉบับน้ี มีรายละเอียดในการด�ำเนินงานมาก การบันทึกไว้ในสารานุกรมลูกเสือ จงึ บนั ทกึ ไวเ้ ฉพาะสาระส�ำคญั ทเี่ ปน็ หวั ขอ้ เรอื่ งของการด�ำเนนิ งาน เพอื่ ใหผ้ ทู้ ไี่ ดศ้ กึ ษา คน้ ควา้ ขอ้ มลู องค์ความรู้ได้ทราบว่า การด�ำเนินงานลูกเสือในเร่ืองนั้นๆ มีอยู่ในข้อบังคับฯ น้ี สามารถไป ศกึ ษาค้นคว้าในรายละเอยี ดได้จากข้อบงั คบั ฯ ฉบับเต็ม อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๘ (๗), ๒๖, ๓๔, ๓๖, ๓๗, ๓๘, ๔๐, ๔๔, ๕๒ แห่งพระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๐๗ คณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ออกข้อบังคับไว้ ดงั ต่อไปนี้ ข้อบังคับนี้ เรียกว่า ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติว่าด้วยการปกครอง หลักสูตร และวชิ าพิเศษลกู เสอื พ.ศ. ๒๕๐๙ มีหัวขอ้ ที่เป็นสาระส�ำคัญ คอื ลกั ษณะ ๑ ว่าดว้ ยการปกครอง ภาค ๑ หลักการ มีหวั ข้อสาระส�ำคัญ คือ วตั ถปุ ระสงค์ วธิ กี าร อุดมการณ์ ประเภท และเหล่าลูกเสือ ค�ำปฏิญาณของลูกเสือส�ำรอง ค�ำปฏิญาณของลูกเสือสามัญ ค�ำปฏิญาณของ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่และค�ำปฏิญาณของลูกเสือวิสามัญ ค�ำปฏิญาณของผู้บังคับบัญชาลูกเสือ บคุ คลอนื่ กฎของลกู เสอื กฎของลกู เสอื ส�ำรอง คตพิ จนข์ องลกู เสอื นโยบายทางศาสนา นโยบายทว่ั ไป สารานุกรมลูกเสือ 21

การรว่ มพธิ กี รรม การเมอื งคณะลกู เสอื แหง่ ชาตไิ มเ่ กย่ี วขอ้ งกบั การเมอื ง การเงนิ รายได้ วตั ถปุ ระสงค์ ในการเก็บเงินค่าบ�ำรุงลูกเสือ เงินค่าบ�ำรุงลูกเสือ อัตราเงินค่าบ�ำรุงลูกเสือ ระยะเวลาช�ำระ การเกบ็ เงนิ คา่ บ�ำรงุ ลกู เสอื การแบง่ เงนิ คา่ บ�ำรงุ ลกู เสอื การน�ำสง่ เงนิ การหาเงนิ รายได้ การควบคมุ เงนิ รายไดก้ ล่มุ หรือกองลกู เสอื หลกั การจ่ายเงนิ รายไดล้ ูกเสอื อ�ำนาจการสั่งจ่ายเงินลูกเสือทกุ ประเภท การควบคมุ ทรัพยส์ นิ เมือ่ ยุบกองลกู เสอื ภาค ๒ การจัดหน่วยงาน มีหัวข้อสาระส�ำคัญ คือ ตราคณะลูกเสือแห่งชาติ การจัดระเบียบบริหารส�ำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ส�ำนักงานคณะกรรมการ ลูกเสือจังหวัด ส�ำนักงานคณะกรรมการลูกเสืออ�ำเภอ การแบ่งงานออกเป็นส่วนต่างๆ การประชุมคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ การประชุมคณะกรรมการลูกเสือจังหวัด อ�ำเภอ ผู้ตรวจการลูกเสือ เหรัญญิก หนังสือติดต่อ การโฆษณา การบริหารลูกเสือจังหวัด การบริหารลกู เสอื อ�ำเภอ ภาค ๓ การแตง่ ตง้ั การจ�ำหนว่ ย การยา้ ยสงั กดั ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ผตู้ รวจการ ลกู เสอื กรรมการลูกเสอื และเจ้าหนา้ ทล่ี กู เสอื มีหัวข้อสาระส�ำคัญ คือ คณุ สมบตั ทิ วั่ ไป การแต่งต้ัง การรายงานขอแต่งตงั้ การแต่งต้ังนายหมู่ รองนายหมู่ การจ�ำหนา่ ย การยา้ ยสังกัด ภาค ๔ หน่วยลูกเสือ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือและลูกเสือ หมวด ๑ หน่วยลูกเสือ มหี วั ขอ้ สาระส�ำคญั คอื การจดั หนว่ ยลกู เสอื การเรยี กชอ่ื กลมุ่ และกองลกู เสอื การเรยี กชอ่ื หมลู่ กู เสอื หมวด ๒ กลุ่มลูกเสือ การจัดตั้งกลุ่มหรือกองลูกเสือ ผู้ก�ำกับลูกเสือ รองผู้ก�ำกับกลุ่มลูกเสือ การแตง่ ตงั้ สตรเี ปน็ ผกู้ �ำกบั กลมุ่ ลกู เสอื คณุ สมบตั ิ หนา้ ที่ ผอู้ �ำนวยการลกู เสอื โรงเรยี น รองผอู้ �ำนวยการ ลูกเสือโรงเรียน ท่ีประชุมกลุ่ม กรรมการกลุ่ม หมวด ๓ กองลูกเสือส�ำรอง ผู้ก�ำกับ รองผู้ก�ำกับ หน้าท่ี ผู้ก�ำกับ รองผู้ก�ำกับสตรี ผู้ฝึกสอนลูกเสือส�ำรอง นายหมู่ รองนายหมู่ ที่ประชุม นายหมู่ เกณฑอ์ ายุ ชนั้ ลกู เสอื ส�ำรอง หมวด ๔ กองลกู เสอื สามญั ผกู้ �ำกบั รอง ผกู้ �ำกบั หนา้ ทหี่ วั หนา้ นายหมู่ นายหมู่ รองนายหมู่ ทป่ี ระชมุ นายหมู่ เกณฑอ์ ายุ ชน้ั ลกู เสอื สามญั หมวด ๕ กองลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ ผู้ก�ำกับ รองผู้ก�ำกับ หน้าที่ หัวหน้านายหมู่ นายหมู่ รองนายหมู่ ท่ีประชุมนายหมู่ เกณฑ์อายุ การเขา้ เปน็ ลูกเสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ การอบรมและสอบ หมวด ๖ กองลูกเสอื วิสามัญ ความมุ่งหมาย หลกั การ กองลูกเสือวิสามญั ขออนญุ าตตงั้ กอง ผ้กู �ำกบั รองผู้ก�ำกบั หน้าท่ี นายหมู่ รองนายหมู่ กรรมการประจ�ำกอง หน้าที่ ชั้นลูกเสือวิสามัญ คุณสมบัติ พิธีเข้าประจ�ำกอง การฝึกอบรม อดุ มการณใ์ นการฝกึ อบรม เตรยี มลกู เสอื วสิ ามญั และลกู เสอื วสิ ามญั ในกลมุ่ ลกู เสอื ทไ่ี มม่ กี องลกู เสอื วิสามญั ภาค ๕ การยบุ หนว่ ยลกู เสือ ภาค ๖ การเขา้ เปน็ ลูกเสอื การโอนทะเบียน การจ�ำหน่าย ทะเบียน ภาค ๗ วินัยลูกเสือ ผู้ปฏิบัติตามวินัย โทษผิดวินัย ภาค ๘ การปกครองลูกเสือใน จังหวัดพระนครและธนบุรี กองลกู เสอื โรงเรียนสว่ นกลาง กองลูกเสอื โรงเรียนเทศบาลนครกรุงเทพ 22 สารานุกรมลูกเสอื

กองลูกเสือโรงเรียนเทศบาลธนบุรี กองลูกเสือสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการลูกเสือจังหวัดพระนคร กองลูกเสอื สังกดั ส�ำนักงานคณะกรรมการลกู เสอื จงั หวดั ธนบุรี ลักษณะ ๒ วา่ ด้วยหลกั สตู รและวชิ าพิเศษลูกเสอื ภาค ๑ บททั่วไป มีหัวข้อสาระส�ำคัญ คือ การคุ้มครองเคร่ืองหมาย หลักสูตร กจิ กรรมลูกเสือ และวชิ าพิเศษ การทดสอบ ลกั ษณะ ๓ ปกณิ กะ ภาค ๑ บททว่ั ไป มหี วั ขอ้ สาระส�ำคญั คอื กองลกู เสอื นอกโรงเรยี น กองลกู เสอื ส�ำหรบั เด็กพิการ สมาคมลูกเสือเก่า กองดุริยางค์ลูกเสือ การเดินทางไกลและพักแรม การเดินทางไกล ไปตา่ งประเทศ ภาค ๒ พธิ กี ารตา่ งๆ มหี วั ขอ้ สาระส�ำคญั คอื รหสั ของลกู เสอื การสมั ผสั การเคารพ โอกาสแสดงการเคารพ พิธีลูกเสือส�ำรอง การท�ำแกรนด์ฮาวล์ พิธีประชุมกองลูกเสือส�ำรอง พิธีเข้าประจ�ำกองลูกเสือส�ำรอง พิธีประดับดาวดวงที่ ๑ พิธีประดับดาวดวงที่ ๒ พิธีประดับดาว ดวงที่ ๓ พธิ สี ง่ ลกู เสอื ส�ำรองไปเปน็ ลกู เสอื สามญั พธิ ลี กู เสอื สามญั พธิ เี ปดิ ประชมุ กองลกู เสอื สามญั ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ พิธีเข้าประจ�ำกองลูกเสือสามัญ พิธีส่งลูกเสือสามัญไปเป็นลูกเสือสามัญ รุ่นใหญ่ พิธีเข้าประจ�ำกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ พิธีลูกเสือวิสามัญ พิธีส่งลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ไปเป็นเตรียมลูกเสือวิสามัญ การส�ำรวจตัวเองของผู้ท่ีเข้าเป็นลูกเสือวิสามัญ พิธีรับเตรียมลูกเสือ วสิ ามัญ พิธีเขา้ ประจ�ำกองลูกเสอื วสิ ามัญ พิธีมอบเคร่อื งหมายวดู แบดจ์ ภาค ๓ เขม็ ลกู เสอื สมนาคณุ และธงลกู เสอื มหี วั ขอ้ สาระส�ำคญั คอื ชน้ั เขม็ ลกู เสอื สมนาคณุ เงื่อนไขการให้ หนงั สอื ส�ำคญั ประกาศ อนโุ มทนา ธงลูกเสอื ภาค ๔ การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือและผู้ตรวจการลูกเสือ มีหัวข้อ สาระส�ำคญั คือ วตั ถปุ ระสงค์ โครงการอบรม การฝกึ อบรมก่อนแต่งตั้งเปน็ ผ้บู งั คบั บัญชาลกู เสือ การฝกึ อบรมวิชาผู้ก�ำกบั ลูกเสอื ข้ันวดู แบดจ์ ข้อบังคับคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสือแห่งชาติว่าด้วยการแต่งตงั้ ผบู้ ังคบั บัญชาลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๓ สาระส�ำคญั ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื หมายถงึ ผอู้ �ำนวยการลกู เสอื โรงเรยี น รองผอู้ �ำนวยการลกู เสอื โรงเรยี น ผู้ก�ำกับกลุ่มลูกเสือ รองผู้ก�ำกับกลุ่มลูกเสือ ผู้ก�ำกับกองลูกเสือ รองผู้ก�ำกับกองลูกเสือ นายหมู่ ลกู เสือ และรองนายหมู่ลูกเสอื สารานุกรมลกู เสือ 23

ผู้บังคับบญั ชาลูกเสือตอ้ งมีคุณสมบัติ ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑. เปน็ ผู้สุภาพเรยี บร้อย มคี วามประพฤตดิ ี สมควรเปน็ แบบอย่างท่ีดีแกเ่ ดก็ ๒. เป็นผมู้ ศี าสนา ๓. เปน็ ผูไ้ มม่ ีโรคซงึ่ เป็นทรี่ ังเกยี จแก่สงั คม ๔. เปน็ ผมู้ สี ญั ชาตไิ ทยหรอื ถา้ ไมม่ สี ญั ชาตไิ ทยตอ้ งไดร้ บั อนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการบรหิ าร ลกู เสอื แหง่ ชาติ ๕. เป็นผู้มคี วามเข้าใจในวัตถปุ ระสงค์ หลกั การและวธิ ีการของลูกเสือ ๖. เปน็ ผู้มีอาชพี เป็นหลักฐานไม่ขดั ต่อศลี ธรรมอันดี ๗. มีอายุและผ่านการฝึกอบรม ดังนี้ ๗.๑ ผอู้ �ำนวยการลกู เสอื โรงเรยี น ใหต้ ง้ั จากผอู้ �ำนวยการสถานศกึ ษานนั้ และตอ้ งได้ รบั เครอื่ งหมายวดู แบดจ์ รองผอู้ �ำนวยการลกู เสอื โรงเรยี นใหแ้ ตง่ ตง้ั จากรองผอู้ �ำนวยการสถานศกึ ษา นนั้ ท่ไี ดร้ ับมอบหมายและตอ้ งได้รบั เครอื่ งหมายวดู แบดจ์ ผอู้ �ำนวยการสถานศกึ ษาทยี่ งั ไมไ่ ดร้ บั เครอื่ งหมายวดู แบดจใ์ หร้ กั ษาการต�ำแหนง่ ผอู้ �ำนวยการลกู เสอื โรงเรยี นไปกอ่ น และตอ้ งเขา้ รบั การฝกึ อบรมเพอ่ื ใหไ้ ดร้ บั เครอ่ื งหมายวดู แบดจ์ ภายในหน่งึ ปี นบั แตว่ นั ท่ีด�ำรงต�ำแหนง่ ผูอ้ �ำนวยการสถานศกึ ษา ๗.๒ ผู้ก�ำกับกลุ่มลูกเสือมีอายุไม่น้อยกว่าย่ีสิบแปดปีบริบูรณ์และต้องได้รับ เครื่องหมายวูดแบดจ์ รองผู้ก�ำกับกลุ่มลูกเสือมีอายุไม่น้อยกว่าย่ีสิบห้าปีบริบูรณ์และต้องได้รับ เคร่อื งหมายวดู แบดจ์ ๗.๓ ผู้ก�ำกับกองลูกเสือวิสามัญมีอายุไม่น้อยกว่าย่ีสิบห้าปีบริบูรณ์และต้อง ได้รับเคร่ืองหมายวูดแบดจ์ประเภทลูกเสือวิสามัญ รองผู้ก�ำกับกองลูกเสือวิสามัญมีอายุ ไม่น้อยกว่ายี่สิบสามปีบริบูรณ์และต้องได้รับวุฒิบัตรการฝึกอบรมวิชาผู้ก�ำกับลูกเสือวิสามัญ ขนั้ ความรเู้ บอ้ื งตน้ ๗.๔ ผกู้ �ำกบั กองลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญม่ อี ายไุ มน่ อ้ ยกวา่ ยสี่ บิ สามปบี รบิ รู ณแ์ ละตอ้ ง ได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์ประเภทลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ รองผู้ก�ำกับกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ มีอายุไม่น้อยกว่ายี่สิบเอ็ดปีบริบูรณ์และต้องได้รับวุฒิบัตรการฝึกอบรมวิชาผู้ก�ำกับลูกเสือสามัญ รุ่นใหญข่ ั้นความรู้เบ้ืองต้น ๗.๕ ผู้ก�ำกับกองลูกเสือสามัญมีอายุไม่น้อยกว่าย่ีสิบปีบริบูรณ์และต้องได้รับ เครื่องหมายวูดแบดจ์ประเภทลูกเสือสามัญ รองผู้ก�ำกับกองลูกเสือสามัญมีอายุไม่น้อยกว่า สบิ แปดปีบรบิ รู ณ์ และตอ้ งได้รับวุฒิบัตรการฝึกอบรมวิชาผกู้ �ำกับลกู เสอื สามัญขนั้ ความรเู้ บ้ืองต้น 24 สารานกุ รมลกู เสอื

๗.๖ ผกู้ �ำกบั กองลกู เสอื ส�ำรองมอี ายไุ มน่ อ้ ยกวา่ ยส่ี บิ ปบี รบิ รู ณแ์ ละตอ้ งไดร้ บั เครอ่ื งหมาย วูดแบดจ์ประเภทลูกเสือส�ำรอง รองผู้ก�ำกับลูกเสือส�ำรองมีอายุไม่น้อยกว่าสิบแปดปีบริบูรณ์และ ตอ้ งได้รับวุฒบิ ัตรการฝกึ อบรมวชิ าผกู้ �ำกบั ลูกเสอื ส�ำรองข้ันความรูเ้ บอ้ื งต้น ๗.๗ อายขุ องนายหมลู่ กู เสอื และรองนายหมลู่ กู เสอื เปน็ ไปตามประเภทของลกู เสอื นัน้ ๆ ใหเ้ ลขาธกิ ารส�ำนกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ เปน็ ผแู้ ตง่ ตง้ั ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื (ยกเวน้ นายหมลู่ กู เสอื และรองนายหมู่ลูกเสือ) ในกรุงเทพมหานคร โดยให้ผู้อ�ำนวยการลูกเสือเขตพื้นที่การศึกษานั้น เป็นผูเ้ สนอชอ่ื ส�ำหรับสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร การแต่งต้ังผู้บังคับบัญชาลูกเสือ (ยกเว้น นายหมู่ลูกเสือและรองนายหมู่ลูกเสือ) ให้ผู้อ�ำนวยการลูกเสือกรุงเทพมหานครเป็นผู้แต่งต้ังและ รายงานต่อเลขาธกิ ารส�ำนักงานลกู เสือแหง่ ชาติ ใหผ้ อู้ �ำนวยการลกู เสอื จงั หวดั เปน็ ผแู้ ตง่ ตง้ั ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื (ยกเวน้ นายหมลู่ กู เสอื และรองนายหมลู่ กู เสอื ) ตามเขตจงั หวดั โดยใหผ้ อู้ �ำนวยการลกู เสอื เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาในจงั หวดั เปน็ ผเู้ สนอชื่อ ส�ำหรับสถานศึกษาสงั กดั องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ เมืองพัทยา และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ินอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้งเป็นรูปแบบพิเศษท่ีต้ังอยู่ในเขตการปกครองพ้ืนที่จังหวัดใด ให้ผู้อ�ำนวยการลูกเสือจังหวัดเป็น ผู้แต่งต้ังผู้บังคับบัญชาลูกเสือ (ยกเว้น นายหมู่ลูกเสือและ รองนายหมู่ลกู เสอื ) โดยให้หัวหน้าหนว่ ยงานขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินนั้นเปน็ ผู้เสนอชอ่ื การแต่งตั้งนายหมู่ลูกเสือ ให้ผู้ก�ำกับกองลูกเสือเป็นผู้แต่งตั้ง ส�ำหรับลูกเสือสามัญ รุ่นใหญ่ และลูกเสอื วิสามญั ให้มีการหารือในหมู่นั้น การแตง่ ตงั้ รองนายหมลู่ กู เสอื ใหผ้ กู้ �ำกบั กองลกู เสอื เปน็ ผแู้ ตง่ ตงั้ โดยหารอื นายหมลู่ กู เสอื ในกรณีท่ีตั้งกองลูกเสือใหม่ให้ผู้ก�ำกับกองลูกเสือ หารือลูกเสือในหมู่น้ันเพื่อแต่งต้ัง นายหม่ลู กู เสอื และรองนายหมลู่ ูกเสอื ก�ำกบั กองลกู เสอื อาจแตง่ ตงั้ หวั หนา้ นายหมลู่ กู เสอื และผชู้ ว่ ยหวั หนา้ นายหมลู่ กู เสอื หนง่ึ ถึงสองคนจากนายหมู่ลูกเสือในกองลูกเสือ โดยผู้ก�ำกับกองลูกเสือสามัญหารือที่ประชุมนายหมู่ ของกองลกู เสอื นน้ั ผกู้ �ำกบั กองลกู เสือสามญั รนุ่ ใหญห่ ารอื คณะกรรมการด�ำเนนิ งานของกองลกู เสอื ผ้กู �ำกบั กองลกู เสือวสิ ามัญหารือคณะกรรมการประจ�ำกองของกองลูกเสือวสิ ามัญ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ พ้นจากต�ำแหน่งเม่ือ ตาย ลาออก ย้ายสังกัด ขาดคุณสมบัติ มีเหตหุ น่ึงเหตุใดอนั ไม่สามารถปฏิบัตหิ นา้ ทไ่ี ด้ ผูม้ อี �ำนาจแตง่ ต้งั ผ้บู ังคบั บัญชาลูกเสือ เปน็ ผู้มอี �ำนาจส่งั จ่ายผู้บงั คับบญั ชาลูกเสือออก จากทะเบียนผบู้ ังคับบัญชาลกู เสอื โดยให้ผเู้ สนอชื่อเป็นผเู้ สนอให้พน้ จากต�ำแหน่ง สารานุกรมลกู เสือ 25

ขอ้ บงั คบั คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ วา่ ดว้ ยเขม็ ลกู เสอื บ�ำเพญ็ ประโยชน์ พ.ศ. ๒๕๕๔ ชั้นท่ี ๑ ชัน้ ท่ี ๒ ชั้นที่ ๓ เข็มลกู เสือบ�ำเพญ็ ประโยชน์ สาระส�ำคญั เข็มลูกเสือบ�ำเพ็ญประโยชน์มีไว้ส�ำหรับมอบให้แก่ลูกเสือเพ่ือเป็นการส่งเสริมการท่ีได้ บ�ำเพญ็ ประโยชนข์ องลกู เสือและยกย่องลูกเสอื ทไ่ี ดบ้ �ำเพญ็ ประโยชน์อย่างดเี ดน่ เขม็ ลกู เสือบ�ำเพ็ญประโยชนม์ รี ูปลักษณ์ในรายละเอยี ดปรากฏตามข้อบังคบั ฯ นี้ เข็มลูกเสือบ�ำเพ็ญประโยชน์ มีสามชั้น คือ ชั้นท่ีหน่ึงพื้นสีแดง ชั้นท่ีสองพ้ืนสีขาว และช้ันทส่ี ามพื้นสนี ้�ำเงนิ ลูกเสอื ท่จี ะไดร้ บั เขม็ ลกู เสอื บ�ำเพญ็ ประโยชน์ชั้นทสี่ าม ตอ้ งมีคณุ ลกั ษณค์ รบทัง้ ห้าขอ้ โดยสรุป คอื เปน็ ลูกเสือมาแล้วไมน่ ้อยกวา่ หน่งึ ปี บ�ำเพ็ญตนเปน็ ลกู เสอื ท่ีดี ช่วยบดิ า มารดาหรอื ผปู้ กครองเปน็ อยา่ งดโี ดยสมำ�่ เสมอ ชว่ ยเหลอื กจิ การลกู เสอื ในกองลกู เสอื ของตน บ�ำเพญ็ ประโยชน์ เปน็ ทีป่ ระจกั ษต์ อ่ โรงเรยี น ตอ่ ผู้อืน่ หรอื กิจการท่เี ปน็ สาธารณประโยชน์ ลกู เสอื ทจี่ ะไดร้ บั เขม็ ลกู เสอื บ�ำเพญ็ ประโยชนช์ น้ั ทสี่ อง ตอ้ งมคี ณุ ลกั ษณเ์ พมิ่ อกี สองขอ้ คอื ได้รับเข็มลูกเสือบ�ำเพ็ญประโยชน์ชั้นที่สามมาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งปี และบ�ำเพ็ญประโยชน์ใน สข่ี ้อดังกลา่ วข้างต้นเป็นท่ปี ระจกั ษใ์ นระดบั ดีอยา่ งต่อเนื่องไมน่ ้อยกวา่ หนง่ึ ปี ลกู เสอื ทจี่ ะไดร้ บั เขม็ ลกู เสอื บ�ำเพญ็ ประโยชนช์ นั้ ทห่ี นงึ่ ตอ้ งมคี ณุ ลกั ษณเ์ พม่ิ อกี สองขอ้ คือ ได้รับเข็มลูกเสือบ�ำเพ็ญประโยชน์ชั้นท่ีสองมาแล้วไม่น้อยกว่าหน่ึงปี และบ�ำเพ็ญประโยชน์ ในสี่ข้อดังกลา่ วข้างตน้ เป็นทป่ี ระจักษใ์ นระดับดยี งิ่ อยา่ งต่อเนอื่ งไม่นอ้ ยกวา่ หนึง่ ปี มกี ารก�ำหนดเกณฑจ์ �ำนวนลกู เสอื ทจ่ี ะขอเขม็ ลกู เสอื บ�ำเพญ็ ประโยชน์ จ�ำนวนลกู เสอื ตงั้ แตส่ ิบคนข้ึนไปแต่ไม่เกินหน่ึงร้อยคนให้มีสิทธิขอได้หนึ่งเข็ม จ�ำนวนลูกเสือเกินกว่าหนึ่งร้อยคน ใหม้ สี ทิ ธขิ อได้ในอัตราส่วนลูกเสือร้อยคนต่อหนึ่งเข็ม เศษตั้งแต่ห้าสิบคนขึ้นไปมีสิทธิขอเพ่ิมได้ อีกหนึ่งเขม็ วธิ กี ารขอเขม็ ลกู เสอื บ�ำเพญ็ ประโยชน์ ใหผ้ กู้ �ำกบั กองลกู เสอื รบั รองคณุ ลกั ษณข์ องลกู เสอื เสนอผา่ นตน้ สงั กดั ตามล�ำดบั จนเสนอตอ่ เลขาธกิ ารส�ำนกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ ใหเ้ ลขาธกิ ารส�ำนกั งาน ลูกเสือแห่งชาติเป็นผู้พิจารณาอนุมัติการให้เข็มลูกเสือบ�ำเพ็ญประโยชน์ จัดท�ำประกาศยกย่อง 26 สารานกุ รมลูกเสือ

และจัดท�ำทะเบียนควบคมุ ให้เลขาธิการส�ำนกั งานลกู เสือแหง่ ชาตแิ ละผูอ้ �ำนวยการลูกเสอื จงั หวดั ประกอบพิธมี อบเข็มลกู เสอื บ�ำเพ็ญประโยชนเ์ ปน็ ประจ�ำทุกปี ขอ้ บงั คบั คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ วา่ ดว้ ยเขม็ ลกู เสอื สมนาคณุ พ.ศ. ๒๕๕๔ ช้นั พเิ ศษ ช้ันท่ี ๑ ชัน้ ท่ี ๒ ชั้นที่ ๓ เข็มลูกเสือสมนาคุณ สาระส�ำคญั เขม็ ลกู เสอื สมนาคณุ มไี วส้ �ำหรบั ตอบแทนผมู้ จี ติ ศรทั ธาบรจิ าคเงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ อยา่ ง อ่นื เพื่อบ�ำรุงการลกู เสือ เขม็ ลูกเสือสมนาคณุ มรี ปู ลกั ษณใ์ นรายละเอียดปรากฏตามขอ้ บงั คับฯ น้ี เขม็ ลกู เสอื สมนาคณุ มสี ชี่ น้ั คอื ชน้ั พเิ ศษ หนา้ เสอื ท�ำดว้ ยทองค�ำประดบั เพชรใตว้ ชริ ะเหนอื หวั เสอื ชนั้ ทหี่ นง่ึ หนา้ เสอื ท�ำดว้ ยทองค�ำ ชนั้ ทส่ี อง หนา้ เสอื ท�ำดว้ ยนาค ชนั้ ทส่ี าม หนา้ เสอื ท�ำดว้ ยเงนิ ช้ันพเิ ศษ ใหแ้ กผ่ มู้ ีจติ ศรทั ธาบริจาคเงนิ หรือทรพั ยส์ ินอย่างอน่ื เพ่ือบ�ำรุงการลกู เสือ ตงั้ แตส่ ามแสนบาทขึ้นไป ช้ันทหี่ น่งึ ตัง้ แต่สองแสนบาทขน้ึ ไป ชั้นทส่ี อง ตัง้ แต่หน่ึงแสนบาทขน้ึ ไป ชนั้ ที่สาม ตัง้ แตห่ า้ หมื่นบาทขึ้นไป ในกรณผี บู้ รจิ าคฯ รวมกนั เปน็ หมคู่ ณะ ใหท้ �ำเปน็ โลป่ ระดบั ดว้ ยเขม็ ลกู เสอื สมนาคณุ ตามชน้ั ใหส้ �ำนกั งานลกู เสอื แหง่ ชาตจิ ดั ท�ำทะเบยี นควบคมุ การบรจิ าคเงนิ และทรพั ยส์ นิ อยา่ งอน่ื พร้อมกับหนงั สอื ประกาศเกยี รติคณุ ค่กู ับเขม็ ลกู เสอื สมนาคุณตามช้นั หลกั เกณฑ์ ระเบยี บของคณะกรรมการบริหารลูกเสือแหง่ ชาติ ความหมาย หลกั เกณฑ์ หมายถงึ ขอ้ ก�ำหนดทางปฏบิ ตั ใิ นการด�ำเนนิ งานกจิ การลกู เสอื ทบ่ี ญั ญตั ไิ ว้ ในมาตราตา่ งๆ ของพระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑท์ ค่ี ณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื สารานุกรมลูกเสือ 27

แห่งชาติก�ำหนด หรือให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ท่ีก�ำหนดในกฎกระทรวง หลักเกณฑ์ เป็นมติของ คณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ก�ำหนดเกณฑ์ รูปแบบ วิธีการในการด�ำเนินงานกิจการ ลกู เสอื ในเรือ่ งใดเรือ่ งหนงึ่ ส�ำนักงานลูกเสือแหง่ ชาติประกาศใช้ ระเบยี บ หมายถงึ ขอ้ ก�ำหนดทางปฏบิ ตั ใิ นการด�ำเนนิ งานกจิ การลกู เสอื ทค่ี ณะกรรมการ บริหารลกู เสือแหง่ ชาตกิ �ำหนด โดยอาศยั อ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๗ (๘) ของพระราชบัญญัติ ลกู เสอื พ.ศ. ๒๕๕๑ ทบี่ ญั ญตั ใิ หค้ ณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ มอี �ำนาจหนา้ ทว่ี างระเบยี บ และแนวทางปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั กจิ การลกู เสอื ระเบยี บ เปน็ มตขิ องคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ ก�ำหนดรูปแบบ วิธีการ ข้ันตอนในการปฏิบัติเพ่ือด�ำเนินงานกิจการลูกเสือในเรื่องใดเรื่องหน่ึง ส�ำนกั งานลกู เสอื แหง่ ชาตปิ ระกาศใช้ สาระส�ำคญั ของหลกั เกณฑ์ ระเบยี บทเี่ กย่ี วกบั การบรหิ ารจดั การกจิ การลกู เสอื ในสถานศกึ ษา หลกั เกณฑก์ ารต้ังกองลูกเสือเหล่าสมทุ ร สาระส�ำคญั เป็นกองลูกเสือท่ีจัดต้ังข้ึนโดยถูกต้องตามข้อบังคับคณะกรรมการบริหารลูกเสือ แหง่ ชาติ และสมัครทจ่ี ะเป็นลกู เสือเหลา่ สมุทร เป็นกองลูกเสือท่ีกองทัพเรือยินดีให้ความสนับสนุนและให้ความช่วยเหลือใน การฝึกอบรม เป็นกองลูกเสือที่มีผู้บังคับบัญชาลูกเสือซึ่งได้ผ่านการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชา ลกู เสอื เหล่าสมุทร ได้รับอนุมัตจิ ากคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสอื แหง่ ชาติ หลกั เกณฑ์การต้ังกองลูกเสอื เหล่าอากาศ สาระส�ำคญั เป็นกองลูกเสือที่จัดต้ังข้ึนโดยถูกต้องตามข้อบังคับคณะกรรมการบริหาร ลูกเสือแห่งชาติ เป็นกองลูกเสือที่กองทัพอากาศยินดีให้ความสนับสนุนและให้ความช่วยเหลือ ในการฝึกอบรม เป็นกองลูกเสือท่ีมีผู้บังคับบัญชาลูกเสือซึ่งได้ผ่านการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชา ลูกเสอื อากาศ ได้รับอนมุ ัตจิ ากคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสือแห่งชาติ 28 สารานุกรมลูกเสอื

ระเบยี บส�ำนกั งานคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ วา่ ดว้ ยการจดั กองลกู เสอื เกยี รติยศ พ.ศ. ๒๕๑๙ สาระส�ำคัญ กองลกู เสอื เกียรติยศประกอบดว้ ยลูกเสอื อย่างนอ้ ย ๒ หมู่ พรอ้ มดว้ ยผ้บู ังคับบญั ชา ลกู เสือควบคมุ อยา่ งนอ้ ย ๒ คน และใหม้ ีแตรเดยี่ วดว้ ย กองลกู เสือเกยี รติยศจดั ส�ำหรับ ๑. พระประมขุ ของคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ ๒. องคอ์ ุปถมั ภข์ องคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ ๓. รชั ทายาท ๔. ผสู้ �ำเรจ็ ราชการแทนพระองค์ ๕. ผปู้ ฏิบตั พิ ระราชภารกิจแทนพระองค์ ๖. สภานายก สภาลูกเสือแห่งชาติ ๗. ประธานคณะกรรมการบริหารลกู เสือแหง่ ชาติ ๘. ศพผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ตง้ั แตช่ น้ั ผตู้ รวจการลกู เสอื ขน้ึ ไป กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ สภาลูกเสอื แหง่ ชาติ หรือผบู้ ังคบั บญั ชาลกู เสอื อ่นื ทเ่ี หน็ สมควร ๙. ธงคณะลูกเสอื แหง่ ชาตหิ รอื ธงลูกเสอื ประจ�ำจงั หวดั การจดั กองลกู เสอื เกยี รตยิ ศ ให้จดั ในโอกาสต่อไปน้ี ๑. ส�ำหรบั พระประมขุ ของคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ องคอ์ ปุ ถมั ภข์ องคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ และรชั ทายาท ใหจ้ ดั เมอ่ื เสรจ็ ในงานพระราชพธิ ี รฐั พธิ ี งานพธิ ขี องลกู เสอื หรอื เสดจ็ ประพาสตา่ งทอ้ งถนิ่ ๒. ส�ำหรับผู้ส�ำเร็จราชการแทนพระองค์ ให้จดั เช่นเดยี วกับ ข้อ ๑ ๓. ส�ำหรบั สภานายก สภาลกู เสอื แหง่ ชาตแิ ละประธานคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาตใิ หจ้ ัดเมื่อไปในงานพธิ ีลกู เสือ ๔. ส�ำหรับศพผู้บังคบั บัญชาลกู เสือ ให้จดั เม่อื เวลาเผาหรอื ฝัง แต่ให้งดจัดส�ำหรับ ศพผู้บงั คับบัญชาลูกเสือซึง่ เสียชีวติ เน่ืองจากกระท�ำผดิ หรอื ประพฤตชิ ่วั ๕. ส�ำหรบั ธงคณะลูกเสือแห่งชาติหรือธงลกู เสือประจ�ำจงั หวัด ใหจ้ ดั ในเมอ่ื เชิญธง ไปในงานพิธแี ละเชิญกลับ กองลูกเสอื เกียรตยิ ศส�ำหรับพระประมขุ ของคณะลกู เสือแหง่ ชาติ องคอ์ ปุ ถมั ภ์ของ คณะลูกเสอื แห่งชาตแิ ละรชั ทายาท ให้มีธงคณะลูกเสอื แห่งชาตหิ รอื ธงลกู เสือประจ�ำจงั หวดั ดว้ ย กองลูกเสือเกยี รตยิ ศใหแ้ ตง่ เครอ่ื งแบบลูกเสอื ลูกเสือถือไม้พลองหรอื ไมง้ า่ มทุกคน ตามประเภทของตน สว่ นผู้บังคับบญั ชาลูกเสือ ๒ คนทีค่ วบคุม ให้มีไม้ถือ สารานุกรมลกู เสอื 29

กองลกู เสือเกียรตยิ ศในงานพิธี การจัดกองลูกเสือเกียรติยศส�ำหรับศพของผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ให้พยามยามจัด ลูกเสือจากหน่วยสังกัดเดียวกับผู้เสียชีวิตหรือจากหน่วยสังกัดที่ผู้เสียชีวิตเคยบังคับบัญชาหรือ เคยประจ�ำมาก่อน กองลกู เสือเกยี รติยศจัดส�ำหรบั ผใู้ ด โดยปกติ ใหผ้ ู้บงั คับบญั ชาลูกเสอื กองเกยี รตยิ ศ รายงานตัวต่อผนู้ ัน้ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือกองเกียรติยศไม่ต้องรายงานตัว เม่ือกองลูกเสือเกียรติยศ จัดส�ำหรับพระประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ องค์อุปถัมภ์ของคณะลูกเสือแห่งชาติ รัชทายาท หรือผู้ส�ำเร็จราชการแทนพระองค์ในงานพระราชพิธีหรือรัฐพิธีต่างๆ ซ่ึงหมายก�ำหนดการของ ส�ำนักงานพระราชวงั การทจี่ ะจดั กองลกู เสอื เกยี รตยิ ศในสว่ นกลาง ใหเ้ ลขาธกิ ารส�ำนกั งานคณะกรรมการ บริหารลูกเสือแห่งชาติเป็นผู้พิจารณาอนุญาต ในส่วนภูมิภาค ให้ผู้อ�ำนวยการลูกเสือจังหวัดเป็น ผูพ้ ิจารณาอนุญาต ท้งั น้ีตามความเหมาะสม กองลกู เสอื เกยี รตยิ ศโรงเรยี นสวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั เฝา้ รบั เสดจ็ ฯ ในงานวนั คลา้ ยวนั สถาปนาคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ 30 สารานกุ รมลูกเสือ

ระเบยี บส�ำนกั งานคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ วา่ ดว้ ยการเดนิ ทางไกลและแรมคนื สาระส�ำคัญ ให้ผู้ก�ำกับกลุ่มหรือผู้ก�ำกับกองลูกเสือ น�ำลูกเสือไปฝึกเดินทางไกลและแรมคืน ในปีหนงึ่ ไม่นอ้ ยกวา่ ๑ ครง้ั คร้งั หนึ่งให้พกั แรมคืนอยา่ งน้อยหน่ึงคนื การเดินทางไกลและแรมคืน มีวัตถุประสงค์เพ่ือฝึกให้ลูกเสือมีความอดทน อยู่ในระเบียบวินัย รู้จักช่วยตนเอง รู้จักอยู่และท�ำงานร่วมกับผู้อ่ืน ตลอดจนเรียนวิชาลูกเสือ เพิ่มเตมิ ในระหว่างการเดินทางไกลและแรมคืน ลูกเสือพึงเว้นการกระท�ำใดๆ ที่เป็น การรบกวนหรอื ก่อใหเ้ กดิ ความเดอื ดรอ้ นแก่ผอู้ ืน่ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือพึงวางแผนการน�ำลูกเสือไปเดินทางไกลและแรมคืนไว้ให้ พรักพรอ้ มและเนน่ิ ๆ การเดินทางไกลของลูกเสือ ต้องได้รับความยินยอมจากผู้ปกครองของลูกเสือก่อน การแรมคืนต้องได้รับความยินยอมจากผู้ปกครองและต้องได้รับอนุญาตจากหน่วยราชการท่ีสังกัด รวมท้งั จากเลขาธิการส�ำนกั งานลกู เสือแหง่ ชาติ ผ้อู �ำนวยการลกู เสอื จังหวัดแลว้ แต่กรณี ผู้บังคับบัญชาลูกเสือต้องระมัดระวังดูแลลูกเสืออย่างใกล้ชิด เพื่อมิให้เกิดอันตราย แกล่ ูกเสือ ตั้งแต่ออกเดินทางจนกระท่งั กลบั ถึงทต่ี ้งั กลุ่มลกู เสอื หรอื กองลกู เสอื เมอ่ื เสรจ็ การเดินทางไกลและแรมคืนแล้ว ใหผ้ กู้ �ำกับกล่มุ ลกู เสือหรอื ผูก้ �ำกบั ลูกเสือ ท�ำรายงานที่ไดก้ ระท�ำไปโดยละเอยี ด เสนอต่อผ้สู งั่ อนุญาต มีผู้บังคับบัญชาลูกเสอื ควบคุมอย่างนอ้ ย ๒ คน มผี ู้บงั คบั บัญชาลกู เสือหรือผู้ใหญ่ อยา่ งนอ้ ย ๑ คนประจ�ำลกู เสอื ส�ำรองทุก ๖ คน ไม่ควรอนุญาตให้ลูกเสือลงเล่นน�้ำในแม่น้�ำ ล�ำคลองหรือสระ หากอนุญาตต้องมี การควบคมุ อย่างใกล้ชิด มีรายละเอยี ดใหค้ �ำแนะน�ำการควบคมุ อย่างรอบคอบ การเดนิ ทางไกลไปตา่ งประเทศ ตอ้ งยนื่ เรอ่ื งราวตามล�ำดบั ขน้ั จนถงึ ส�ำนกั งานลกู เสอื แห่งชาติ การเชิญลูกเสือต่างประเทศมาเย่ียมหรือแรมคืนในประเทศไทย ต้องได้รับอนุมัติ จากผ้อู �ำนวยการลูกเสือจังหวดั หรอื เลขาธกิ ารส�ำนักงานลูกเสือแห่งชาติแลว้ แตก่ รณี สารานุกรมลูกเสอื 31

โรงเรยี นบา้ นไรพ่ ฒั นา จ. ชยั ภมู ิ จดั กิจกรรมเดินทางไกลและแรมคืนของลกู เสือ เนตรนารี การปฏิบัตงิ านด้านจราจรของลกู เสอื สาระส�ำคัญ ใหท้ างโรงเรยี นไดก้ �ำชบั เขม้ งวดกวดขนั และหา้ มมใิ หล้ กู เสอื เนตรนารจี ราจรคนหนง่ึ คนใด ลงไปยืนบนผิวหรอื กลางถนนขณะปฏิบัตหิ น้าท่ดี า้ นจราจรเป็นอนั ขาด ขอให้ยนื ปฏบิ ัติงาน อยบู่ นทางเท้าตลอดเวลา ทงั้ นี้เพ่อื ความถูกตอ้ งและความปลอดภัยของตวั ลูกเสอื เนตรนารี โรงเรยี นอสั สมั ชัญระยอง จัดโครงการฝึกอบรมลูกเสือ เนตรนารจี ราจร เมอื่ วันเสารท์ ี่ ๙ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๕ ลกู เสอื เนตรนารี ฝึกปฏบิ ัตหิ น้าทจ่ี ราจรซ่งึ อยใู่ นความควบคุมของต�ำรวจจราจร 32 สารานกุ รมลกู เสอื

การบรหิ ารกจิ การลูกเสือ โครงสร้างการบริหารกจิ การลูกเสือตามพระราชบัญญัติลกู เสือ พ.ศ. ๒๕๕๑ ลกู เสอื หมายถงึ เดก็ และเยาวชนทง้ั ชายและหญงิ ทส่ี มคั รเขา้ เปน็ ลกู เสอื ทงั้ ในสถานศกึ ษา และนอกสถานศึกษา สว่ นลกู เสอื ทเ่ี ปน็ หญงิ ใหเ้ รียกว่า “เนตรนารี” วัตถปุ ระสงค์ของคณะลกู เสือแห่งชาติ คณะลูกเสือแห่งชาติมีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาลูกเสือท้ังกาย สติปัญญา จิตใจและ ศีลธรรม ให้เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบและช่วยสร้างสรรค์สังคมให้เกิดความสามัคคีและ มีความเจริญก้าวหน้า ทั้งนี้เพื่อความสงบสุข และความม่ันคงของประเทศชาติ ตามแนวทาง การด�ำเนินการดงั ต่อไปน้ี ๑. ใหม้ นี ิสยั ในการสงั เกต จดจ�ำ เช่อื ฟงั และพ่ึงตนเอง ๒. ใหซ้ ื่อสัตยส์ ุจริต มรี ะเบียบวนิ ัย และเห็นอกเหน็ ใจผู้อ่ืน ๓. ใหร้ จู้ กั บ�ำเพ็ญตนเพ่ือสาธารณะประโยชน์ ๔. ให้ร้จู กั การท�ำการฝีมอื และฝกึ ฝน ใหท้ �ำกจิ การตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม ๕. ใหร้ ้จู กั รักษา และส่งเสรมิ จารีตประเพณี วฒั นธรรม และความมนั่ คงของประเทศชาติ รกั ษา และส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม และความมัน่ คงของประเทศชาติ สารานกุ รมลกู เสือ 33


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook