Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Nutri-Note-ล่าสุด

Nutri-Note-ล่าสุด

Published by anisa_256, 2022-01-18 14:46:35

Description: Nutri-Note-ล่าสุด

Search

Read the Text Version

NUTRI-NOTE Nutrition and Dietetics 62

CONTENT 1 14 1.คาศัพท์แพทย์ 2.เคร่ืองมอื ในการคัดกรองและการ 19 ประเมนิ โภชนาการ 27 3.Nutrition Care Process 45 4.Nutrition Life Cycle 5.อาหารเฉพาะโรค และ อาหาร 56 แลกเปลย่ี น 84 98 6.Medical Nutrition Therapy 7.Enteral and Parenteral Nutrition 8.SOAP Note

คายอ่ / คาศพั ทท์ างการแพทย์ 1 คายอ่ แผนกต่างๆ ของโรงพยาบาลทีเ่ รียกกนั ท่ัวไป คายอ่ ชื่อเต็ม ความหมาย ER EMERGENCY ห้องอุบัติเหตุและ ฉกุ เฉนิ ROOM OR OPERATING หอ้ งผา่ ตัด ROOM LR LABOR ROOM หอ้ งคลอด OPD OUTPATIENT แผนกผูป้ ่วยนอก DEPARTMENT MED MEDICINE อายรุ กรรม

2 คาย่อ ชื่อเตม็ ความหมาย PED PEDIATRIC กุมารเวชกรรม SUR SURGICAL ORTHO ORTHOPEDIC (รักษาเฉพาะเดก็ ) OB- OBSTRETIC ศัลยกรรม GYN GYNECOLOGY ศัลยกรรมกระดูก ANC Ante natal care สูตินรเี วชกรรม- IPD INPATIENT การดูแลกอ่ นคลอด DEPARTMENT แผนกรกั ษาผปู้ ่วยใน PT PHYSICAL แผนกกายภาพบาบัด THERAPY และฟนื้ ฟู

คาย่อท่ใี ชใ้ นการบันทกึ ทัว่ ๆไป 3 คาย่อ ชือ่ เต็ม ความหมาย CC Chief Complaint ประวัตสิ าคัญทมี่ ารพ. PI Present illness ประวตั ิปจั จุบัน PH Past history ประวตั อิ ดตี FH Family history โรคทางกรรมพนั ธุ์ หรือการเจ็บปว่ ยของ คนในครอบครัว SH Social history ภาวะสงั คมผู้ป่วย , อาชีพความ ,รบั ผดิ ชอบ ของงาน HPI History of present ประวัตปิ จั จุบนั ในเรื่อง illness อาการ, ปัญหา

4 คายอ่ ชอ่ื เตม็ ความหมาย HPI History of present ประวตั ปิ ัจจุบันในเรอ่ื ง illness อาการ, ปัญหา PMH Past medical ประวตั ิอดตี ของการ history รักษา,รายละเอยี ด การแพทย์, การผ่าตัด ROS Review of system การเจ็บป่วยและ สุขภาพทั่วไป เช่น ระบบไหลเวยี นโลหิต ระบบผิวหนงั เปน็ ต้น PR Pulse Rate อตั ราชพี จร Abd Abdomen ชอ่ งท้อง

5 คายอ่ ชอ่ื เต็ม ความหมาย RR Respiratory Rate อัตราการหายใจ GA General ลักษณะภายนอกทั่วไป Appearance ศรีษะ หู ตา จมูก คอ HEENT Head Ear Eye ระยางค์)แขน ขา( Nose Throat การวนิ ิจฉัยแรกรบั Ext Extremity การวนิ จิ ฉยั โรค IMP Impression การวินิจฉัยแยกโรค Dx Diagnosis Ddx Differential การรักษา Diagnosis Tx Treatment

6 คาย่อ ชือ่ เต็ม ความหมาย Rx, Px Medical เอกสารท่ีแพทย์เขียน Prescribtion ให้เภสชั กร สาหรบั การ จดั ยาใหค้ นไข้ Tx Treatment การรักษา IVF Intravenous Fluid สารน้าใหท้ างหลอด เลอื ดดา I/O Intake/Outtake ปริมาณนา้ เข้าออกใน แต่ละวัน N/S Neurosign สญั ญาณชพี ทางระบบ ประสาท

7 คายอ่ ช่ือเตม็ ความหมาย GCS Glas glow coma คะแนนการประเมิน score การตอบสนองทาง ระบบประสาท AWS Alcohol การประเมนิ กลุ่มอาการ Withdrawal score จากการถอน แอลกอฮอล์

คาย่อทีใ่ ชใ้ นการวนิ จิ ฉยั โรค 8 คาย่อ ชอื่ เตม็ ความหมาย Fx Fracture กระดูกหัก DHF Dangue ไข้เลือดออกจากเชอื้ Hemorrahic Fever dangue URI Upper การติดเชื้อทางเดนิ หาย Respiratory ใส่วนบน Infection DF Dangue Fever ไข้เลอื ดออกระยะแรก DM Diabetes Mellitus โรคเบาหวาน COPD Chronic โรคหลอดลมอดุ ก้ัน Obstructive เร้อื รงั Pulmonar Disease

9 คาย่อ ช่อื เต็ม ความหมาย AE Acute exaerbation การกาเริบฉับพลัน HT Hypertension โรคความดันโลหิตสูง DLD Dyslipidemia โรคไขมนั ในเลอื ดสงู CVA Cerebro Vascular โรคทางหลอดเลือด Accident สมอง ICH Intra cerebral เลอื ดออกในสมอง hemorrhage UTI Urinary Tract การติดเช้ือทางเดิน Infection ปสั สาวะ ATN Acute Tubular โรคไตวายฉับพลัน Necrosis

10 คายอ่ ชอื่ เต็ม ความหมาย CRF Chronic Renal ไตวายเรื้อรัง Failure ARF Acute Renal ไตวายเรือ้ รัง Failure ESRD End Stage Renal ไตวายเรอื้ รงั ระยะ Disease สดุ ทา้ ย CAPD Continuous การลา้ งไตทางช่องทอ้ ง Ambulatory ชนดิ ตอ่ เนอ่ื ง ดว้ ย Peritoneal ตนเอง Dialysis AF Atrial Fibrillation หวั ใจเต้นผิดจงั หวะ

11 คาย่อ ชื่อเต็ม ความหมาย CA Cancer โรคมะเรง็ AMI Acute Myocardial โรคหวั ใจวายฉบั พลัน Infarction STEMI ST Elevated โรคหวั ใจวายฉับพลัน Myocardial Infarction NSTEMI Non-ST Elevated โรคหวั ใจวายฉบั พลัน Myocardial Infarction CHF Congestive Heart หวั ใจวาย Failure

12 คายอ่ ชอื่ เตม็ ความหมาย PVC Premature หัวใจห้องลา่ งเต้นผิด Ventriular จงั หวะ Contracture NF Necrotizing แผลติดเชือ้ เนอื้ ตาย Fasciitis ลุกลามถึงข้ันพังผืด MFPS Myofascial Pain ปวดเม่ือยกล้ามเน้ือ Syndrome CTS Carpal Tunnel โรคเส้นประสาทที่ Syndrome ข้อมอื HNP Herniated หมอนรองกระดกู Nucleus Pulposus เคลื่อน

13 คายอ่ ชื่อเตม็ ความหมาย STD Sexual โรคติดตอ่ ทาง เพศสมั พันธ์ transmitted disease ลาไสอ้ ักเสบฉับพลนั AGE Acute Gastroenteritis

เครอ่ื งมอื ในการคัดกรองและการ 14 ประเมินโภชนาการ Malnutrition screening • ลักษณะของเครื่องมือในการคดั กรองภาวะโภชนาการ • ประเดน็ คาถามของเครื่องมอื คดั กรอง

15 • เปรียบเทียบประเดน็ ทพ่ี บในแบบคัดกรอง ภาวะทพุ โภชนาการชนิดต่างๆ

Nutrition assessment 16 • ตวั อย่างเครอ่ื งมอื คัดกรองภาวะโภชนาการ Malnutrition Screening Tool (MST) Malnutrition Universal Screening Tool (MST)

Bhumibol Nutrition Triage (BNT 2013) 17 Nutrition Risk Screening 2002 (NRS-200)

Mini Nutrition 18 Assessment (MNA)

Nutrition Cane Process 19 การเลอื กใช้ screening & assessment tools 1. ผปู้ ่วย IPD Screening : SPENT, NRS2002, 2.โรคมะเร็ง NT-2013, MUST Assessment : NAF, NR2002, NT-2013, SGA Screening : SPENT, NRS2002, MUST

3. โรคไต 20 4.เด็ก Assessment : NAF, PG-SGA Assessment : 7 score SGA, SGA Screening : ใช้ grow chart Assessment : ABCD assessment ประเมนิ โดยละเอยี ด

ข้ันตอนท่ี1 การประเมินภาวะโภชนาการ 21 A : Anthropometryassessment การวัดสดั สว่ นรา่ งกายของผู้ปว่ ย เช่น การช่ัง นา้ หนกั ตวั การวดั ส่วนสงู เสน้ รอบเอว คา่ ดชั นี มวลกาย รวมถึงการวดั องคป์ ระกอบของรา่ งกาย B : Biochemistry assessment ข้อมูลตา่ ง ๆ ที่ได้จากห้องปฏิบัติการ เช่น ระดับน้าตาล ระดับไขมัน ระดบั ของธาตุตา่ ง ๆ ใน เลอื ด หรือจะเปน็ ผลปัสสาวะ

C : Clinical Sign assessment 22 อาการแสดงออก หรอื ความผดิ ปกตขิ องรา่ งกาย เชน่ ภาวะบวม จะพบว่า เมือ่ ใชน้ ิว้ กดทบ่ี รเิ วณหน้าแขง้ ผิวหนงั จะยุบบมุ๋ ลงไป และคา้ งอย่นู าน เปน็ ตน้ B : Biochemistry assessment เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ส่วนใหญ่ อาทิเชน่ การจดบันทกึ การบรโิ ภคอาหาร 3 วนั การซักประวัติการ รบั ประทานอาหารยอ้ นหลงั 3 วัน การสอบถาม ความถ่ีในการบริโภคอาหาร ประวตั กิ าร รับประทานอาหาร เช่น การแพ้อาหาร หรือ ความชอบ เปน็ ต้น

ขั้นตอนท่ี2 การวนิ ิจฉยั ทางด้านโภชนาการ23 ใช้หลัก“PES statement” เพ่อื ใชใ้ นการระบุปญั หา สาเหตแุ ละ การวนิ จิ ฉัยทางดา้ นโภชนาการของผู้ปว่ ย P : Problem คอื การระบปุ ญั หาท่เี กี่ยวข้องกบั โภชนาการของผู้ปว่ ย E : Etiology คอื สาเหตุของปญั หาท่ีระบไุ ว้ S : Sign / symptoms คือ อาการแสดงของผปู้ ว่ ย หรอื หลักฐานต่างๆ จากการประเมินผปู้ ว่ ย

ยกตวั อยา่ ง ของการเขยี น “PES 24 P : Problem ผู้ป่วยน้าหนักลดลงโดยไม่ได้ ต้งั ใจ “related to” เนือ่ งจาก E : Etiology ไมส่ ามารถรับประทานอาหาร ดว้ ยตนเองไดต้ อ้ งมีผูช้ ว่ ย และมอี าการ หลงๆลมื ๆ “as evidenced by” สงั เกตได้จาก S : Sign / symptoms การได้รบั พลังงานน้อย กวา่ ความต้องการของรา่ งกาย วันละ 800 กโิ ล แคลอรรี ่วมกับนา้ หนักตวั ท่ลี ดลง 10 กิโลกรมั ภายใน 2 เดอื นที่ผ่านมา

ขนั้ ตอนที่3 การให้แผนโภชนบาบดั 25 ยกตัวอยา่ ง รายการอาหารสาหรับผู้ป่วยเบาหวานใน 1วนั 3 มอ้ื หลกั + 2 มอ้ื ว่าง = อาหาร 5 ม้อื มอื้ เมนอู าหาร ข้าวตม้ กุ้ง 1 ถว้ ย + ส้มเขยี วหวาน 1 ผล เชา้ วา่ งมอ้ื สาย ผลไม้ไมห่ วานจดั เชน่ ฝร่งั แอปเปลิ หรอื กลว้ ยหอม 1 ผล กลางวัน ขา้ วผัด 1 จาน + ผักสลัด 1 จาน ว่างมอ้ื บา่ ย ซาลาเปา 1 ลกู + เก็กฮวยรอ้ น 1 แก้ว เย็น ขา้ วสวย 1 ทพั พี + ปลาททู อด 1ตัว + น้าพริกและผกั ลวก 1 จาน

ข้ันตอนที่4 การติดตาม ผลของแผนโภชนาก2า6รบาบดั  ถ้าผูป้ ่วยสามารถปฏบิ ตั ิตามได้ ใหก้ าลงั ใจเสรมิ พลังใหผ้ ู้ปว่ ยสามารถทีจ่ ะปฏบิ ัตติ วั ตอ่ ไปให้เปน็ พฤติกรรมที่ถาวรในขณะเดยี วกันกใ็ หท้ า การประเมินภาวะโภชนาการซ้าอกี ครง้ั  กรณที ี่ผู้ปว่ ยยงั ไม่สามารถปฏิบตั ติ ามได้นั้น จะช่วยคน้ หาวา่ มีปญั หาทไี่ ม่สามารถบรรลไุ ด้ตาม เป้าหมายท่ีวางไว้และรว่ มกันหาทางแกไ้ ข

Nutrition Life Cycle27 Nutrition for Pregnancy นา้ หนักตัว: แบง่ ตาม BMI ก่อน ต้งั ครBรภM์ I น้าหนกั ตวั ท่ีแนะนาตลอด การตงั้ ครรภ์ (kg) < 18.5 12.5 – 18 18.5 – 24.9 11.5 – 16 25.0 – 29.9 7 – 11.5 > 30 5–9 Energy : ปริมาณความต้องการพลงั งาน ตไ่อตวรนั มาสท่ี 1 50 – 100 kcal 250 – 300 kcal ไตรมาสที่ 2 450 – 500 kcal ไตรมาสท่ี 3

Protein 1.4 g/kg/day 28 ไตรมาสท่ี 1 +1 ไตรมาสที่ 2 + 10 ไตรมาสท่ี 3 + 31 หนว่ ยกรัม วนั

Vitamin & mineral 29 A D E K B1 B2 Niacin ไตรมาสท่ี 1 +0 +0 +0.3 +0.3 +4 ไตรมาสที่ 2 +100 600IU +0 +0 +0.3 +0.3 +4 ไตรมาสท่ี 3 mcg *RDA +0 +0 +0.3 +0.3 +4 ไตรมาสท่ี 1 Folate Biotin B5 B6 B12 Folate ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 1 +250 +0 +1 +0.6 +0.2 +25 +250 +0 +1 +0.6 +0.2 +25 +250 +0 +1 +0.6 +0.2 +25

ความสาคญั ของวิตามินและเกลอื แร่ 30 Folate ชว่ ยเสรมิ สร้างพฒั นาการของระบบประสาทและสมอง ควรไดร้ ับตัง่ แต่ไข่มีการปฏิสนธจิ นถึง สปั ดาห์ของการ ตั้งครรภ์ 12 ปริมาณท่แี นะนา: คนทวั่ ไป 200 mcg/day สาหรับวัยเจริญพนั ธทุ์ ต่ี อ้ งการมีบตุ ร 400 mcg/day หญงิ ตง้ั ครรภ์และให้นมบุตร 600 mcg/day

31 Fe หญงิ ตัง้ ครรภเ์ สย่ี งต่อการธาตเุ หล็กและภาวะซดี ซึ่งทา ให้เกิด poor hemoglobin product ส่งผลต่อมอลกู รก และ การขนส่งoxygen ใหแ้ กท่ ารก มผี ลกับการพฒั นาสมองของ ทารกในครรภ์ ปรมิ าณทแ่ี นะนา: คนท่วั ไป 15 mg/day สาหรบั หญงิ ตงั้ ครรภ์ไม่กาหนดคา่ จากอาหาร ให้เสริมตาม ขอ้ กาหนดกระทรวงสาธารณสขุ หรือตามแพทยส์ ่งั * ร่างกายดดู ซึมธาตุเหล็กจากอาหารทีม่ าจากสัตว์ไดด้ กี ว่าพืช การทานอาหารทม่ี ี vit C ร่วมดว้ ยจะทาใหด้ ูดซมึ ดขี ึน้

Ca & Vit D 32 ชว่ ยเสริมสร้างกระดกู การพฒั นากระดกู และมวลกระดกู ควรไดร้ บั การดม่ื นมวนั ละ 1 แก้ว/วนั ปริมาณทีแ่ นะนา : คนท่วั ไป 800 mg/day สาหรับหญิงตง้ั ครรภแ์ ละใหน้ มบตุ รควรได้รับ 800-1000 mg/day เมือ่ ทานร่วมกบั ยาเมด็ ไมค่ วรเกนิ 1500 mg หรือไมค่ วร บริโภคเกนิ ปริมาณสูงสดุ คอื 3000 mg/day แหล่งแคลเซยี มในอาหาร นม โยเกิร์ต นมถัว่ เหลือง นมเปรย้ี ว งาดา คะนา้ ใบยอ ถ่ัวแระต้ม เตา้ หูอ้ อ่ น ไข่เปด็ ไข่ไก่

Form of calcium 33 กรณีทานแคลเซยี มจากอาหารไม่พอ และจาเป็นตอ้ ง เสริมเพือ่ ป้องกันการขาด จะไดร้ บั ใน รปู แบบยาเม็ด โดย แต่ละตวั จะมสี ัดส่วนของแคลเซยี มไม่เทา่ กนั (Calcium carbonate ( Ca 40 % )Calcium lactate) Ca 40 % )Calcium gluconate ( Ca 40 % )Calcium lactate gluconate( Ca 40 %

Fluid ความตอ้ งการ 34 750 ml – 1000 ml/day “ หญิงตงั้ ครรภ์และใหน้ มบุตรจะมคี วามตอ้ งการนา้ มาขึ้น เนอื่ งจากร่างกายนาไปสร้างเป็น นา้ คร่า น้านม และใช้เพื่อเล้ยี ง ทาไมคนทอ้ งต้องงดคาเฟอีน คาเฟอีนปริมาณสูง ส่งผลกับทารกในครรภ์ ทาให้น้าหนกั แรก คลอดผิดปกติ หรืออาจเพิ่มความเสี่ยงในการแทง้ บุตร คาแนะนา สาหรับแม่ท่ตี ดิ กาแฟ หรอื ชา สามารถดม่ื โกโก้แทน ได้ เพราะมปี รมิ าณน้อยกว่า

35 Nutrition for Lactetion Energy : ปรมิ าณความต้องการพลังงาน/วนั 0 – 5 เดอื น + 500 kcal 0 – 5 เดอื น + 500 kcal Protein โปรตีนท่ีควรไดร้ บั เพม่ิ ขึน้ 25 กรมั /วัน หรือ 13g/kg/day

Vitamin 36 A D E K B1 B2 Niacin 0 – 5 เดือน +700 600IU +0 +0 +0.3 +0.5 +3 เดอื น 11 – 6 mcg *RDA +0 +0 +0.3 +0.5 +3 Folate Biotin B5 B6 B12 Choline 0 – 5 เดอื น +150 +5 +2 +0.7 +0.4 +125 เดอื น 11 – 6 +150 +5 +2 +0.7 +0.4 +125 ** vit.Aไม่ควรเกิน 3, 000mcg retinol/day

37 อาหารทแ่ี นะนาสาหรับหญิงให้นมบตุ ร แหลง่ โปรตีนทีด่ ี : เนอื้ สัตว์ ตบั ไข่ นม โยเกิรต์ เตา้ หู้ ถั่วและธญั พชื ต่างๆ Vitamin D ปลาแซลมอน ปลาซาดนี ปลาทนู ่า ปลาแมคเคอเรล นา้ ตบั ปลา ไข่แดง Coline จากปริมาณอาหาร 100 g ไข่แดง 820 mg เนอื ้ หมไู มต่ ดิ มนั 71.2 mg เนอื ้ ววั 97.7 mg อกไก่ 40.7 mg ปลาทู 66.9 mg

Iodine 38 สาหร่าย กุ้ง ปลาสีกนุ ปลากะพง ปลาทู ไขไ่ ก่ ไขเ่ ป็ด ขา้ วบาเลย์ ขา้ วหอมมะลิ Selenium ปลาทู ไขเ่ ปด็ เฉพาะไขแ่ ดง ปลาจาระเม็ด ปลาดุก เนอื้ ปู กุ้ง หอยนางรม อกไก่ หมู ชะอม งาดา ถัว่ เหลอื ง ดอกกะหล่า สะเดา แครอท หนอ่ ไมฝ้ รงั่ เพมิ่ เติม ผกั เพม่ิ นา้ นม กยุ ชา่ ย ขงิ ใบแมงลกั ฟกั ทอง ใบกระเพรา หวั ปลี

สารในนา้ นมแม่ 39 น้านมระยะแรก นา้ นมเหลือง (Colostrum) ระยะแรก 1 – 3 วันแรก สว่ นประกอบ Energy : 20 kcal/oz หรอื ประมาณ 680 kcal/L Prot : 229 g/L Fat : 29.5 g/L Lactose : 57 g/L Ash : 3.8 g/L

40 น้านมระยะเปล่ียนผา่ น (Transitional milk) ระยะแรก 10 -14 วนั หลังคลอด ลักษณะสี “ขาวขุน่ ” คล้ายนมมากข้ึน Energy : 735 kcal/L สว่ นประกอบ Prot : 15.9 g/L Fat : 35.2 g/L Lactose : 64 g/L Ash : 2.6 g/L

41 น้านมระยะ3 (Mature milk) ระยะแรก 14 วนั หรือ2 สปั ดาหห์ ลังคลอด ปริมาณน้านมจะมีปริมาณมากข้นึ สว่ นประกอบ Energy : 747 kcal/L Prot : 10.6 g/L Fat : 38 g/L Lactose : 68 g/L Ash : 2.02 g/L

Nutrition for Infancy and 4c2hiden Age Calculation 0-3 m 4-6 m (89+wt(kg)-100)+175 7-12 m (89+wt(kg)-100)+56 (89+wt(kg)-100)+22 Protein

Nutrition for Aldolescent43 Energy 9 – 12 years 1800 kcal Male 13 – 15 years 2200 kcal 16 – 18 years 2370 kcal Female 9 – 12 years 1650 kcal Protein 13 – 15 years 1860 kcal 16 – 18 years 1890 kcal Male 9 – 12 years 39 g 13 – 15 years 55 g 16 – 18 years 61 g Female 9 – 12 years 40g 13 – 15 years 51 g 16 – 18 years 51 g

Nutrition for Adult 44 Male โปรตีน(g) 61 Age พลงั งาน(kcal) 60 19-30 2260 60 31-50 2190 59 51-60 2180 56 61-70 1790 >70 1740 Female พลงั งาน โปรตนี Age 1780 53 19-30 1780 52 31-50 1770 52 51-60 1560 50 61-70 1540 49 >70

อาหารเฉพาะโรค 45 อาหารเฉพาะโรค หมายถงึ อาหารท่ีได้รบั การดัดแปลง โดยใช้ความรทู้ างด้านโภชนศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยาของ มนุษย์ เพอ่ื ใหเ้ หมาะสมตอ่ สขุ ภาพ ภาวะรา่ งกาย ความ เจบ็ ป่วยและอาการของโรคทม่ี อี ยู่ มุ่งเน้นทไ่ี ด้รับ สารอาหารและพลงั งานอยา่ งเหมาะสม ประเภทของอาหารเฉพาะโรค  อาหารไขมันตา่  อาหารโปรตีนสงู  อาหารจากดั โปรตนี  อาหารโซเดียมตา่  อาหารที่มีใยอาหารสงู

อาหารเบาหวาน หมายถงึ อาหารท่ีเหมาะสาหร4ับ6ผเู้ ป็น เบาหวาน ซ่งึ คณุ สมบตั จิ ะเพ่มิ ใยอาหาร มโี ปรตนี สูง เนน้ แหลง่ ไขมนั ไมอ่ ม่ิ ตวั และเลีย่ งแหลง่ คารโ์ บไฮเดรต เชิงเดี่ยวเทา่ ท่ที าได้ อาหารความดันโลหติ สูง หมายถงึ อาหารทค่ี วบคุมปริมาณ โซเดียมให้ไม่เกินที่กาหนดไว้ โดยปรุงให้รสชาตดิ ผี ่านทาง เคร่อื งเทศหรอื สมนุ ไพรอน่ื ๆ เนน้ ใยอาหาร ไขมันไมอ่ มิ่ ตัวสูง อาหารสาหรับผปู้ ว่ ยโรคไตมคี วามสาคัญ เน่ืองจากไตไม่สามารถ ขับของเสยี ออกจากรา่ งกาย การควบคมุ อาหารที่ถกู ต้องมีผลทา ให้เกิดโรคแทรกซ้อนนอ้ ยลง ชะลอการเสือ่ มของไต 1.โปรตีน ถ้าไตเส่ือมไมม่ ากใหร้ บั ประทานโปรตนี ได้ 0.8 กรัม/กก/วนั แต่ถ้าเสอ่ื มมากใหจ้ ากดั ปรมิ าณโปรตีนไม่เกนิ 0.6 กรัม/กก/วนั 2.แป้งหรือคาร์โบไฮเดรต 3.ไขมนั หลีกเล่ยี งไขมันจากสัตว์ 4.เกลือแร่ ผ้ปู ่วยไตวายให้ลดอาหารเคม็

อาหารที่ดีตอ่ การรักษามะเรง็ 47 1. อาหารท่ีมีโปรตีนสงู เชน่ เนอื ้ ปลา ไข่ นม ถวั่ ตา่ งๆ เพราะ ผ้ปู ่ วยมะเร็งมีอตั ราการสลายโปรตนี เพิม่ ขนึ ้ การได้รับโปรตนี และกรดอะมิโนทจี่ าเป็นอยา่ งเพียงพอ 2. อาหารทใ่ี ห้พลงั งานสงู เน่อื งจากผ้ปู ่ วยมกั กินอาหารได้ใน ปริมาณน้อย 3.กินผกั ผลไม้ให้ครบวนั ละ 5 สี จดั เป็นสารต้านอนมุ ลู อสิ ระ มี คณุ สมบตั ิในการปอ้ งกนั ไมใ่ ห้มะเร็งลกุ ลามได้ (ควรล้างให้ สะอาด) 4.กินไขมนั จากปลา เพราะนา้ มนั ปลามกี รดโอเมก้า 3 ช่วยลด การอกั เสบ เหมาะสาหรับผ้ปู ่ วยมะเร็งทน่ี า้ หนกั ตวั น้อย และ ไม่ ควรกินอาหารทีม่ ีไขมนั จากสตั ว์ท่เี ป็นไขมนั อมิ่ ตวั มาก 5.กินมอื ้ ใหญ่ในชว่ งเช้า และแบง่ อาหารเป็นมอื ้ เลก็ ๆ หลายมอื ้ ช่วยให้กินอาหารได้มากขนึ ้

โรคไขมันในเลอื ด 48 สเปงู ็นภาวะท่รี ่างกายมรี ะดบั ไขมนั ในเลอื ดสงู กวา่ ปกติ อาจเป็น ระดบั โคเลสเตอรอลสงู หรือระดบั ไตรกลเี ซอร์ไรด์สงู อยา่ งใดอยา่ ง หนง่ึ หรือสงู ทงั้ สองชนิดก็ได้ ๐ เลย่ี งรับประทานไขมนั สตั ว์ ๐ เลยี่ งอาหารทม่ี โี คเลสเตอรอลสงู เช่น ไขป่ ลา ไขแ่ ดง ตบั ไต มนั สมอง ปลาหมกึ หอยนางรม จากดั ไขแ่ ดงไมเ่ กิน 3-4 ฟองตอ่ สปั ดาห์ สว่ นไขข่ าวรับประทานได้ทกุ วนั ๐ ลดอาหารทีเ่ ติมนา้ ตาล ทงั้ ขณะปรุงประกอบอาหาร หรือเติม ขณะกินอาหาร ขนมหวานจดั เคร่ืองดมื่ หรือผลติ ภณั ฑ์ท่มี นี า้ ตาล สงู ๐ เลือกรับประทานอาหารท่ีมเี สน้ ใยอาหารสูง ไดแ้ ก่ ผัก ผลไม้ ขา้ วกลอ้ ง ธญั พืชท่ีไมผ่ ่านการขดั สีหรอื ขดั สีนอ้ ย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook