Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตร ม.ต้น 2563

หลักสูตร ม.ต้น 2563

Published by วรัญญา แก้วล่องลอย, 2022-01-25 07:17:35

Description: หลักสูตร ม.ต้น 2563

Search

Read the Text Version

หนา้ 197 ว22191 เทคโนโลยี (วิทยาการคาํ นวณ) 2 รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 20 ช่วั โมง จาํ นวน 0.5 หน่วยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาแนวคิดเชิงคํานวณ การแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคํานวณ การเขียนโปรแกรมท่ีมีการใช้ ตรรกะและฟังก์ชัน องค์ประกอบและหลักการทํางานของระบบคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสื่อสาร แนวทาง การปฏิบัติเมื่อพบเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งมีความรบั ผิดชอบ วิธีการสร้างและ กําหนดสทิ ธคิ วามเปน็ เจา้ ของผลงาน นําแนวคิดเชิงคํานวณไปประยุกต์ใช้ในการเขียนโปรแกรมหรือการแก้ปัญหาในชีวิตจริง สร้างและ กาํ หนดสิทธิ์การใช้ข้อมูล ตระหนกั ถึงผลกระทบในการเผยแพร่ขอ้ มลู ตัวชี้วัด ว 4.2 ม.2/1-4 รวมท้งั หมด 4 ตัวชว้ี ดั

หน้า 198 รายวิชาพ้ืนฐาน ว23192 เทคโนโลยี (วิทยาการคาํ นวณ) 3 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 20 ช่วั โมง จาํ นวน 0.5 หนว่ ยกติ ----------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาข้ันตอนการพัฒนาแอปพลิเคชัน Internet of Things (IoT) การเขียนโปรแกรมเพ่ือพัฒนาแ อปพลิเคชัน ข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิการประมวลผลข้อมูล การสร้างทางเลือกและประเมินผลซอฟต์แวร์ หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตท่ีใช้ในการจัดการข้อมูล การประเมินการความน่าเชื่อถือของข้อมูลการสืบค้นหา แหล่งต้นตอของข้อมูล เหตุผลวิวัติ ผลกระทบจากข่าวสารที่ผิดพลาด การรู้เท่าทันส่ือ กฎหมายที่เก่ียวกับ คอมพิวเตอร์ การใช้ลิขสทิ ธ์ิของผ้อู นื่ โดยชอบธรรม รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิหรือทุติยภูมิ ประมวลผล สร้างทางเลือก และนําเสนอการตัดสินใจได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ออกแบบและเขียนโปรแกรม เพื่อพัฒนาแอปพลิเคชันท่ีมีการบูรณาการกับวิชาอ่ืนอย่าง สร้างสรรค์ใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างรู้เท่าทันและมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม ตัวชี้วดั ว 4.2 ม.3/1-4 รวมทัง้ หมด 4 ตัวชว้ี ดั

หนา้ 199 ว21187 การออกแบบและเทคโนโลยี 1 รายวิชาพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ช่วั โมง จาํ นวน 0.5 หน่วยกติ ----------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาความหมายของเทคโนโลยี วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงของ เทคโนโลยีการทํางานของระบบทางเทคโนโลยี ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบและเลือกข้อมูลที่จําเป็นเพ่ือออกแบบวิธีการแก้ปัญหาในชีวิตประจําวันในด้านการเกษตรและ อาหาร และสร้างชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมท้ังเลือกใช้วัสดุ อปุ กรณ์ เคร่ืองมือในการแกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสมและปลอดภยั ตวั ช้วี ดั ว 4.1 ม.1/1-5 รวมทงั้ หมด 5 ตวั ชว้ี ัด

หนา้ 200 ว22188 การออกแบบและเทคโนโลยี 2 รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 20 ชว่ั โมง จาํ นวน 0.5 หน่วยกติ ----------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาสาเหตุหรือปัจจัยที่ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ตลอดจนคาดการณ์แนวโน้ม เทคโนโลยีในอนาคต เลือกใช้เทคโนโลยีโดยคํานึงถึงผลกระทบท่ีเกิดขึ้นต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะและทรัพยากร โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบและเลือกข้อมูลท่ีจําเป็นเพื่อออกแบบ วิธีการแก้ปัญหาในชุมชนหรือท้องถิ่นในด้านพลังงาน ส่ิงแวดล้อม การเกษตรและอาหาร และสร้างชิ้นงาน หรือพัฒนาวิธีการโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมท้ังเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือในการแก้ ปัญหาได้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสมและปลอดภยั ตัวชี้วดั ว 4.1 ม.2/1-5 รวมท้งั หมด 5 ตัวชีว้ ัด

หนา้ 201 ว23189 การออกแบบและเทคโนโลยี 3 รายวชิ าพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 20 ช่ัวโมง จํานวน 0.5 หนว่ ยกติ ----------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาและวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยท่ีทําให้เกิดการเปล่ียนแปลงเทคโนโลยี และความสัมพันธ์ของ เทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห์สถานการณ์เพื่อสรุปกรอบ ของปัญหา เปรียบเทียบและเลือกข้อมูลท่ีจําเป็นโดยคํานึงถึงทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อออกแบบวิธีการแก้ ปัญหาในงานอาชีพด้านการเกษตร อาหาร พลังงานและขนส่ง โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภัย ตัวชี้วัด ว 4.1 ม.3/1-5 รวมทัง้ หมด 5 ตวั ชีว้ ัด

หน้า 202 รายวชิ าเพ่ิมเตมิ รายวิชาเพม่ิ เติม ว21281 วิทยาศาสตร์กบั ความงาม กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 40 ชวั่ โมง จาํ นวน 1.0 หนว่ ยกติ ----------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา วิเคราะห์ ตรวจสอบ และอธิบาย ความงามที่สมวัยและปัจจัยที่มีผลต่อความงาม การดูแล ความงามและการเลือกใช้เคร่ืองสําอาง เคร่ืองสําอางในชีวิตประจําวันการใช้สมุนไพรในท้องถ่ินเพ่ือความ งามและสขุ ภาพ เทคโนโลยีเพือ่ ความงามและสขุ ภาพ โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสบื ค้นข้อมูล การสังเกต การวเิ คราะห์ เปรยี บเทียบ อธิบาย อภิปรายและสรุปเพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ มที ักษะ ปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์รวมท้ังทักษะกระบวนการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ในด้านการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ด้านการคิดและการแก้ปัญหา ด้านการสื่อสาร สามารถสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ใน ชวี ิตของตนมจี ติ วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรมและคา่ นิยมท่เี หมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. อภปิ ราย วเิ คราะห์ อธบิ ายและสรุปลกั ษณะความงามในแต่ละวัยและระบปุ จั จัยท่ีเปน็ สาเหตุ ของความแตกต่างของความงามในแต่ละวัย 2. อธบิ ายลักษณะและการเปลี่ยนแปลงความงามในแต่ละวัย โดยใชค้ วามรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ 3. สืบคน้ ขอ้ มูล อธิบายปัจจยั ที่มผี ลตอ่ ความงามและบอกแนวทางปฏิบัติเพือ่ บาํ รงุ รกั ษาและ เสรมิ สร้างความงามทสี่ มวัย 4. สะท้อนความคดิ เกย่ี วกบั ความงามตามธรรมชาตขิ องตนเองและเขียนความเรียงที่แสดงความ ตระหนักถงึ คณุ คา่ และความภูมใิ จต่อความงามตามธรรมชาตขิ องตนเอง 5. ระบุและบรรยายลกั ษณะโครงสรา้ งของผิวหนัง ผม เล็บ ปากและฟนั 6. บรรยายวธิ กี ารดแู ล และบํารงุ รกั ษา ผิวหนัง ผม เล็บ ปากและฟัน เพอื่ ใหม้ คี วามงามอยู่เสมอ 7. ระบุและยกตวั อยา่ งผลติ ภณั ฑ์ในชวี ติ ประจําวันทเี่ ป็นเครอ่ื งสาํ อาง 8. จาํ แนกประเภทเครอื่ งสําอางที่ใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั ของนักเรียน 9. บอกองค์ประกอบพ้นื ฐานและตรวจสอบสมบตั บิ างประการของเครอ่ื งสาํ อางท่ีจําเป็นใน ชีวติ ประจาํ วนั 10. เลือกใช้เครอื่ งสาํ อางทีจ่ าํ เปน็ ในชวี ติ ประจําวนั อย่างเหมาะสม 11. สืบคน้ ข้อมลู และอธิบายเกย่ี วกับสมุนไพรและภูมปิ ัญญาไทยท่ีเกย่ี วกับความงามและสขุ ภาพ 12. สํารวจตรวจสอบสมุนไพรในทอ้ งถนิ่ ทน่ี ํามาใชป้ ระโยชนเ์ พอื่ ความงามและสขุ ภาพ 13. เสนอแนวคิดในการพฒั นาผลิตภณั ฑ์เพอื่ ความงามและสุขภาพที่มีสว่ นผสมของสมุนไพร ในท้องถ่ิน 14. วิเคราะห์ข้อมูลและนําความรไู้ ปใชใ้ นการเลอื กใชผ้ ลติ ภณั ฑเ์ พอื่ ความงามและสขุ ภาพอยา่ ง ถูกตอ้ งและเหมาะสม 15. สอ่ื สารส่งิ ท่ีเรียนร้แู ละสร้างสรรค์ผลงานเกีย่ วกบั ความงามและสขุ ภาพอยา่ งมคี ณุ ธรรมและ จริยธรรม รวมทั้งหมด 15 ผลการเรียนรู้

หนา้ 203 ว21282 ทฤษฎีธรรมชาติและการสืบเสาะวทิ ยาศาสตร์ รายวิชาเพิ่มเติม กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 40 ชัว่ โมง จาํ นวน 1.0 หนว่ ยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดข้ึน ความสัมพันธ์กันของสิ่งแวดล้อมกับโครงสร้างของดอกไม้ กระบวนการสืบพันธุ์ของพืชดอก ความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถ่ิน ระบบนิเวศในท้องถ่ิน ความสัมพันธ์ ขององค์ประกอบภายในระบบนิเวศ วัฏจักรของน้ํา วัฏจักรคาร์บอนและความสําคัญท่ีมีต่อระบบนิเวศ การดูแลรักษาและวเิ คราะห์สภาพปัญหาส่ิงแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติในทอ้ งถ่ิน แนวทางในการแก้ปัญหาและใ ช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างย่ังยืน โดยใช้ทักษะกระบวนการ วิธีการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ ใน การสืบเสาะหาความรู้ในการแก้ปัญหา สํารวจ ทดลอง ตรวจสอบ ศึกษา สืบค้น อธิบาย วิเคราะห์และ สังเคราะห์เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีความคิดระดับสูงในการสร้างองค์ความรู้โดยใช้กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์สื่อสารส่ิงที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีจิตวิทยาศาสตร์คุณธรรม จริยธรรมและ คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ ผลการเรียนรู้ 1. สํารวจ ทดลอง ตรวจสอบ ศึกษา สบื ค้น อธบิ าย วเิ คราะหแ์ ละสังเคราะห์ได้วา่ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยสี งั คมและสง่ิ แวดล้อมมคี วามเก่ยี วขอ้ งสมั พันธ์กัน โครงสร้างของดอกไมม้ ีความ เก่ยี วขอ้ งกับการสบื พนั ธ์ุของพชื อธิบายกระบวนการสืบพันธุข์ องพชื ดอก 2. สาํ รวจและอธิบายความหลากหลายทางชวี ภาพในทอ้ งถน่ิ ทที่ ําให้สิ่งมีชวี ติ ดํารงอยู่ไดอ้ ยา่ ง สมดลุ ระบบนเิ วศต่างๆ ในท้องถน่ิ และอธบิ ายความสัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในระบบนิเวศ 3. อธบิ ายวฏั จักรของนํา้ วัฏจกั รคาร์บอนและความสาํ คัญท่มี ีตอ่ ระบบนิเวศ 4. เสนอแนวทางในการแกป้ ัญหา และใช้ทรพั ยากรธรรมชาติอยา่ งย่ังยืน รวมท้งั หมด 4 ผลการเรียนรู้

หน้า 204 รายวิชาเพมิ่ เตมิ ว21290 วิทยาศาสตรก์ บั การแกป้ ญั หา กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 40 ชั่วโมง จาํ นวน 1.0 หนว่ ยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาค้นคว้าทดลองจากกิจกรรมที่จัดไว้ในรูปแบบต่าง ๆ เก่ียวกับการแก้ปัญหาโดยอาศัยข้อมูล จากแหล่งต่าง ๆ เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จากประสบการณ์ตรง คิดแก้ปัญหาด้วยวิธีการทาวิทยาศาสตร์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ส่ือสารสิ่งที่เรียนรู้ สามารถนาํ ความร้ไู ปใช้ในชวี ิตประจาํ วันมีจิตวิทยาศาสตร์คุณธรรมจรยิ ธรรมและค่านิยมท่ีเหมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. ต้งั คําถามท่กี าํ หนดประเดน็ หรือตวั แปรสาํ คญั ในการสาํ รวจ ตรวจสอบหรอื ศกึ ษาคน้ คว้า กจิ กรรมต่าง ๆ ได้อย่างครอบคลุมและเชอื่ ถือได้ 2. สรา้ งสมมตุ ิฐานจากกิจกรรมต่าง ๆ ท่สี ามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสาํ รวจ ตรวจสอบ ได้หลายวิธี 3. เลอื กเทคนิคและวธิ ีการตรวจสอบทง้ั เชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพทไี่ ด้ผลเท่ียงตรงและปลอดภยั โดยใชว้ ัสดุและเครื่องมือท่เี หมาะสม 4. รวบรวมข้อมูล จัดกระทาํ ขอ้ มูลเชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ จากการทดลองตามกิจกรรมที่ กําหนดให้ได้ 5. บนั ทึกอธิบายผลการสังเกต การสาํ รวจตรวจสอบค้นคว้าเพ่ิมเตมิ จากแหลง่ เรยี นรูต้ า่ งๆให้ได้ ข้อมูลท่เี ชอื่ ถอื ได้ 6. ทดลองและอธิบายการทดลองเกย่ี วกบั กิจกรรมต่าง ๆ ตามทกี่ าํ หนดได้ 7. สืบคน้ ขอ้ มูล และอภปิ รายผลท่ีไดจ้ ากการทดลองจากกิจกรรมทีก่ ําหนด เพือ่ นาํ ไปใชป้ ระโยชน์ ในชีวิตประจาํ วัน รวมทัง้ หมด 7 ผลการเรยี นรู้

หน้า 205 รายวชิ าเพ่มิ เตมิ ว21291 สนุกกบั อิเล็กทรอนิกส์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 40 ช่วั โมง จาํ นวน 1.0 หนว่ ยกติ ----------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา อธิบาย สืบค้นข้อมูล กระแสไฟฟ้า สมบัติการนําไฟฟ้าของสาร การเพิ่มสมบัติการนําไฟฟ้า ของสารก่ึงตัวนําบริสุทธิ์ อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ พ้ืนฐานในวงจรไฟฟ้า ลักษณะ สัญลักษณ์และสมบัติของช้ินส่วนอิเล็กทรอนิกส์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น ปฏิบัติ ทดลอง อธิบาย อิเล็กทรอนิกส์และระบุเคร่ืองใช้ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์และ อุปกรณ์พ้ืนฐานในในวงจรไฟฟ้า ลักษณะ สัญลักษณ์ และสมบัติของช้ินส่วนอิเล็กทรอนิกส์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ วิธีต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าและประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์เบ้ืองต้นท่ีมีทรานซิสเตอร์ 1 ตัวทําหน้าท่ีเป็นสวิตซ์ใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่ิงทเ่ี รียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรู้ไป ใชใ้ นชวี ติ ประจาํ วัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม คา่ นิยมที่เหมาะสม ผลการเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความหมายของอิเลก็ ทรอนกิ ส์ไดถ้ กู ต้อง 2. วเิ คราะหแ์ ละบอกประเภทของเคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าและประเภทเครอื่ งใชอ้ เิ ลก็ ทรอนิกสไ์ ด้ 3. อธบิ ายรปู แบบสญั ญาณอิเลก็ ทรอนิกส์ได้อยา่ งถูกต้อง 4. อธิบายลักษณะและสมบัติของช้นิ สว่ นอิเล็กทรอนิกสไ์ ด้ 5. อา่ นคา่ ชิ้นสว่ นอิเล็กทรอนิกสช์ นิดต่างๆได้ 6. คํานวณ ทดลองและศึกษาการท างานของชนิ้ ส่วนอิเล็กทรอนกิ ส์ได้ 7. อธบิ ายลกั ษณะ และวธิ ีการใชง้ านอปุ กรณ์ต่างๆ ทใ่ี ช้ในการประกอบวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์ 8. อธบิ ายวิธีการประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกสอ์ ยา่ งง่ายได้ 9. มีทกั ษะสามารถประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกสอ์ ย่างงา่ ย เพือ่ นาํ มาใช้ประโยชนไ์ ด้ รวมท้ังหมด 8 ผลการเรียนรู้

หน้า 206 ว21283 ของเล่นเชิงวทิ ยาศาสตร์ รายวิชาเพม่ิ เติม กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 40 ช่วั โมง จํานวน 1.0 หน่วยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาวิเคราะห์ ทดลอง สร้างอุปกรณ์ของเล่นเชิงวิทยาศาสตร์อย่างง่ายตามแบบที่กําหนดให้ ออกแบบ ดัดแปลงหรือประดิษฐ์อุปกรณ์ของเล่นที่ใช้กลไกทางเคร่ืองกล ทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อยา่ งงา่ ย และมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ในการประกอบช้ินส่วน ดัดแปลงประดิษฐ์อุปกรณ์ และอธิบายหลักการทาง วทิ ยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสาร สิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรมและค่านยิ มทเ่ี หมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. ระบขุ องเลน่ ทม่ี ีอปุ กรณ์ทางเครือ่ งกลทางไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์เปน็ ส่วนประกอบได้ 2. นําอุปกรณ์ทางเครื่องกลทางไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์มาประกอบเปน็ วงจรในของเลน่ ได้ 3. อธบิ ายการทํางานของกลไก วงจรทปี่ ระกอบขึ้นได้ 4. ตรวจสอบและแก้ไขข้อบกพรอ่ งของกลไก วงจรไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ สท์ ่ีประกอบขึน้ ได้ 5. สามารถเสนอแนวคดิ ในการนาํ กลไก วงจรไฟฟ้า อิเล็กทรอนกิ สบ์ างชนดิ ไปประยกุ ต์ใช้ได้ อยา่ งเหมาะสม 6. มเี จตคติท่ดี ีต่องานด้านเครอ่ื งกล ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งหมด 6 ผลการเรยี นรู้

หนา้ 207 ว21284 พลังงานทดแทนกบั การใชป้ ระโยชน์ รายวชิ าเพิ่มเติม กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชัว่ โมง จํานวน 1.0 หน่วยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา วิเคราะห์ ทดลอง ตรวจสอบและริเร่ิมการสร้างหรือดัดแปลงอุปกรณ์และเคร่ืองใช้บางชนิด ท่ีเกี่ยวข้องกับพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานนํ้าพลังงานชีวมวลและแก๊สชีวภาพ และพลังงาน นิวเคลียร์ เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการนําพลังงานทดแทนมาใช้ในรูปของพลังงานไฟฟ้า พลังงาน ความรอ้ น และตระหนกั ในบทบาทและผลกระทบของพลงั งานเหล่านน้ั ท่มี ีตอ่ มนุษย์และสิ่งแวดลอ้ ม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ ความคิด ความเข้าใจสามารถสื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรมและคา่ นิยมท่ีเหมาะสม ผลการเรยี นรู้ 1. อธบิ ายพลังงานทดแทนและการนําพลังงานทดแทนมาใชป้ ระโยชน์ 2. อธบิ ายแนวคดิ พ้ืนฐานเรอ่ื ง การนําพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลงั งานนํ้าพลังงาน ชวี มวลและแก๊สชวี ภาพ และพลงั งานนวิ เคลียร์ มาใชป้ ระโยชนใ์ นรูปของพลังงานไฟฟ้าและ พลังงานความร้อนได้ 3. ออกแบบและสร้างอปุ กรณท์ างวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีทเี่ ก่ยี วข้องกับพลงั งานแสงอาทติ ย์ พลงั งานลม พลังงานนา้ํ พลังงานชีวมวลและแกส๊ ชวี ภาพ ได้ 4. อธิบายแหลง่ พลงั งานและการใชป้ ระโยชนพ์ ลังงานในประเทศไทย ของพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลงั งานน้ําพลังงานชวี มวลและแก๊สชวี ภาพ รวมทงั้ หมด 4 ผลการเรยี นรู้

หนา้ 208 ว22285 วทิ ยาศาสตรโ์ ลกทัง้ ระบบ 1 (โครงงาน 1) รายวิชาเพ่มิ เติม กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 40 ช่ัวโมง จํานวน 1.0 หนว่ ยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา วิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ในธรรมชาติรูปแบบความสัมพันธ์และ แนวโน้มที่เกิดข้ึน การเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติในท้องถ่ิน โดยใช้กระบวนการวิจัย การสังเกต การตัง้ คาํ ถาม การตง้ั สมมติฐาน การวางแผน การเขยี นเคา้ โครงวิจัย โดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนากระบวนการคิด การสืบเสาะหาความรู้ มีความสามารถใน การตัดสินใจและสามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้นําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรมและค่านิยมทีเ่ หมาะสม ผลการเรยี นรู้ 1. ต้ังคาํ ถามท่ีกาํ หนดประเดน็ หรอื ตวั แปรทส่ี าํ คัญในการสาํ รวจตรวจสอบหรือศกึ ษาคน้ คว้าเรอ่ื ง ที่สนใจได้อยา่ งครอบคลมุ และเชอ่ื ถอื ได้ 2. สรา้ งสมมตฐิ านทสี่ ามารถตรวจสอบไดแ้ ละวางแผนการสาํ รวจตรวจสอบหลายๆวิธี 3. เลือกเทคนิควิธกี ารสํารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชงิ คุณภาพที่ได้ผลเทยี่ งตรงและปลอดภัย โดยใชว้ ัสดแุ ละเครอ่ื งมอื ท่เี หมาะสม รวมทั้งหมด 3 ผลการเรียนรู้

หนา้ 209 ว22292 เรมิ่ ต้นโครงงานวทิ ยาศาสตร์ รายวชิ าเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จาํ นวน 1.0 หนว่ ยกติ ----------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา ค้นคว้า สํารวจตรวจสอบ ทดลอง สรุปเก่ียวกับความรู้เร่ืองโครงงานวิทยาศาสตร์เก่ียวกับ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ การกําหนดปัญหา การกําหนดหัวข้อของ โครงงาน การต้ังสมมติฐาน การกําหนดและการควบคุมตัวแปร การเขียนเค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์การ ดําเนินการทําโครงงานวิทยาศาสตร์ การเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ และการเขียนบทคัดย่อการจัด บอร์ดแสดงผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์ โดยการใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ ทดลอง สืบค้น ข้อมูลความรู้ การสรุปอภิปราย เพ่ือให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้มีความสามารถในการเลือกตัดสินใจ และนําความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจําวันมี จติ วิทยาศาสตร์ เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์คุณธรรมจริยธรรมและคา่ นยิ มท่ีเหมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. สบื ค้นขอ้ มูลความรู้เกย่ี วกับทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรว์ ิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ จติ วิทยาศาสตร์และความร้เู กย่ี วกับการจัดทําโครงงานวทิ ยาศาสตร์แนวการจดั ทาํ โครงงาน วทิ ยาศาสตรใ์ นรูปแบบตา่ งๆ 2. สบื คน้ ขอ้ มูลความรู้เกี่ยวกบั แนวทางการกาํ หนดปญั หาการกาํ หนดหัวขอ้ โครงงานวิทยาศาสตร์ การกําหนดสมมติฐานการกาํ หนดและควบคมุ ตวั แปรทีถ่ ูกต้องตามหลกั วธิ กี าร 3. สืบค้นข้อมลู และเขยี นเคา้ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ตามแบบทก่ี าํ หนดได้ถกู ต้อง 4. ดาํ เนนิ การปฏบิ ตั ิกจิ กรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ตามขัน้ ตอนที่กาํ หนดและมีคุณภาพ 5. ศึกษารูปแบบจากตัวอย่างและเขยี นรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์และบทคัดย่อได้ถกู ตอ้ ง 6. จัดทาํ บอรด์ โครงงานวิทยาศาสตรแ์ สดงผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์ไดถ้ ูกต้องตามกรอบกําหนด รวมทัง้ หมด 6 ผลการเรียนรู้

หน้า 210 รายวิชาเพ่ิมเติม ว22293 โครงงานวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 40 ช่วั โมง จาํ นวน 1.0 หน่วยกติ ----------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา ค้นคว้า สํารวจตรวจสอบทดลองสรุปเก่ียวกับความรู้เร่ืองโครงงานวิทยาศาสตร์เก่ียวกับทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ การกําหนดปัญหา การกําหนดหัวข้อของโครงงาน การตง้ั สมมติฐาน การกําหนดและการควบคุมตวั แปร การเขยี นเค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์ การดําเนินการทํา โครงงานวิทยาศาสตร์ การเขียนรายงาน โครงงานวิทยาศาสตร์และการเขียนบทคัดย่อ การจัดบอร์ดแสดงผลงาน โครงงานวทิ ยาศาสตร์ โดยการใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ ทดลอง สืบค้นข้อมูลความรู้ การสรุปอภิปรายเพ่ือให้เกิดความรู้ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการเลือกตัดสินใจและนําความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจําวัน มจี ิตวิทยาศาสตร์ เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ คุณธรรมจริยธรรมและคา่ นิยมท่ีเหมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. สืบคน้ ข้อมูลความรเู้ กยี่ วกบั ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ วิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ จิตวทิ ยาศาสตร์ และความรู้เก่ยี วกบั การจดั ทาํ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ แนวการจัดทาํ โครงงาน วิทยาศาสตรใ์ นรูปแบบต่าง ๆ 2. สบื ค้นขอ้ มูลความรเู้ กี่ยวกบั แนวทางการกําหนดปัญหา การกําหนดหัวข้อโครงงานวทิ ยาศาสตร์ การกาํ หนดสมมตฐิ าน การกําหนดและควบคมุ ตวั แปรท่ถี กู ต้องตามหลักวิธกี าร 3. สืบคน้ ข้อมลู และเขยี นเค้าโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามแบบทีก่ าํ หนดได้ถูกตอ้ ง 4. ดําเนินการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามขัน้ ตอนทก่ี ําหนดและมคี ุณภาพ 5. ศึกษารูปแบบจากตวั อย่าง และเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์และบทคดั ยอ่ ได้ถูกต้อง 6. จัดทาํ บอร์ดโครงงานวทิ ยาศาสตร์แสดงผลงานโครงงานวทิ ยาศาสตร์ได้ถกู ต้องตามกรอบท่ีกําหนด รวมทัง้ หมด 6 ผลการเรียนรู้

หน้า 211 ว22286 วทิ ยาศาสตร์โลกท้ังระบบ 2 (โครงงาน 2) รายวชิ าเพิ่มเติม กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 40 ช่วั โมง จาํ นวน 1.0 หน่วยกติ ----------------------------------------------------------------------------------------------- ดาํ เนินการตรวจวดั ส่ิงแวดล้อม การวเิ คราะห์และแปลความหมายข้อมูลโดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ การลงข้อสรุป การเขยี นรายงานและการนาํ เสนองานวิจยั ด้วยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เพอื่ พฒั นา กระบวนการคิด การสืบเสาะหาความรู้ มคี วามสามารถในการตดั สินใจ และสามารถส่อื สารส่ิงทีเ่ รยี นรู้ นาํ ความรไู้ ปใช้ในชวี ติ ประจําวนั มจี ติ วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมท่เี หมาะสม ผลการเรยี นรู้ 1. รวบรวมขอ้ มลู จดั กระทําข้อมลู เชงิ ปริมาณและคุณภาพ 2. วเิ คราะห์และประเมนิ ความสอดคล้องของประจักษพ์ ยานกบั ข้อสรปุ ทั้งท่ีสนบั สนนุ หรอื ขดั แย้งกับสมมติฐานและความผิดปกติของขอ้ มลู จากการสํารวจตรวจสอบ 3. สร้างแบบจําลองหรอื รปู แบบท่ีอธิ บายผลหรือแสดงผลของการสํารวจตรวจสอบ 4. สรา้ งคาํ ถามที่นาํ ไปสูก่ ารสาํ รวจตรวจสอบในเรือ่ งที่เก่ยี วข้องและนําความรทู้ ี่ได้ไปใช้ใน สถานการณ์ใหมห่ รืออธบิ ายเก่ียวกบั แนวคิดกระบวนการและผลของโครงงานหรอื ช้ินงาน ใหผ้ ู้อ่ืนเขา้ ใจ 5. บันทึกและอธบิ ายผลการสงั เกตการณส์ าํ รวจตรวจสอบคน้ ควา้ เพ่มิ เตมิ จากแหล่งความรตู้ า่ งๆ ให้ได้ข้อมูลทเ่ี ชือ่ ถือได้ และยอมรับการเปลยี่ นแปลงความรู้ทค่ี น้ พบเมอ่ื มขี อ้ มูลและประจกั ษ์ พยานใหม่ เพม่ิ ขนึ้ หรือโตแ้ ย้งจากเดมิ 6. จัดแสดงผลงาน เขยี นรายงานและ/หรืออธิบายเก่ยี วกบั แนวคดิ กระบวนการและผลของโครงงาน หรอื ชิน้ งานใหผ้ ู้อื่นเขา้ ใจ รวมทั้งหมด 6 ผลการเรยี นรู้

หนา้ 212 รายวิชาเพม่ิ เตมิ ว22254 ชีววทิ ยาเบื้องตน้ กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 40 ชว่ั โมง จาํ นวน 1.0 หน่วยกติ ----------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาค้นคว้า ทดลองเกี่ยวกับกล้องจุลทรรศน์ เซลล์ของส่ิงมีชีวิต สารชีวโมเลกุล พันธุศาสตร์และ เทคโนโลยีชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ระบบนิเวศ วิวัฒนาการ พฤติกรรมสัตว์ กายวิภาคและ สรีรวทิ ยาและพชื กายวภิ าคและชวี วิทยา โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสาร สิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร์จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมท่เี หมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. อธิบาย ทดลองและสรปุ ผลการทดลองเกี่ยวกบั กล้องจลุ ทรรศน์ 2. อธิบาย ทดลองและสรปุ ผลการทดลองเกยี่ วกบั โครงสร้างเซลล์ของสิ่งมชี ีวิต 3. อธิบาย ทดลองและสรุปผลการทดลององค์ประกอบสารชวี โมเลกลุ 4. อธิบายเกีย่ วกับพันธศุ าสตรแ์ ละเทคโนโลยีชีวภาพ 5. อธิบายเกีย่ วกบั ความหลากหลายทางชวี ภาพ 6. อธบิ าย ทดลองและสรปุ ผลการทดลองเก่ียวกับระบบนเิ วศ 7. อธิบายเกีย่ วกับววิ ัฒนาการของสิง่ มชี วี ติ 8. อธบิ ายเก่ียวกบั พฤติกรรมของส่ิงมีชีวติ 9. อธิบาย ทดลองและสรปุ ผลเก่ียวกับสัตว์ กายวภิ าคและสรรี วิทยา 10. อธบิ าย ทดลองและสรปุ ผลการทดลองเกย่ี วกับพืชกายวภิ าคและสรีรวทิ ยา รวมท้งั หมด 10 ผลการเรียนรู้

หนา้ 213 รายวชิ าเพ่ิมเติม ว22234 เคมีเบอื้ งต้น กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 40 ช่วั โมง จาํ นวน 1.0 หน่วยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา สืบค้นข้อมูล อภิปราย อธิบายเก่ียวกับแบบจําลองอะตอม อนุภาคมูลฐานของอะตอม การจัด ธาตุในตารางธาตุ พร้อมท้ังระบุหมู่ของธาตุตามที่กําหนดให้ อธิบายสมบัติบางประการของธาตุ การเกิด พันธะเคมี และลักษณะของพันธะเคมีแต่ละประเภท อธิบายสารประกอบและเขียนสูตรพร้อมเรียนช่ือสาร ประกอบตามทีก่ าํ หนดให้ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสาร สิ่งท่ีรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจําวัน มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านยิ มที่เหมาะสม ผลการเรยี นรู้ 1. สบื ค้นข้อมลู อภิปราย และอธิบายเก่ยี วกบั แบบจาํ ลองอะตอมได้ 2. ระบุอนุภาคมูลฐานของอะตอมได้ 3. อธิบายการจดั ธาตุในตารางธาตุ พร้อมทัง้ ระบุหมูข่ องธาตทุ ก่ี ําหนดใหไ้ ด้ 4. สืบค้นขอ้ มลู อธิบาย สมบตั บิ างประการของธาตไุ ด้ 5. อธิบายการเกดิ พนั ธะเคมไี ด้ 6. ระบปุ ระเภทและลักษณะของพันธะเคมแี ตล่ ะประเภทได้ 7. อธิบายความหมายและการเกดิ สารประกอบได้ 8. เขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบท่ีกําหนดใหไ้ ด้ รวมทัง้ หมด 8 ผลการเรียนรู้

หนา้ 214 รายวชิ าเพมิ่ เติม ว22287 บอรด์ สมองกลฝังตวั kidBright กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 40 ชวั่ โมง จํานวน 1.0 หนว่ ยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับองค์ประกอบของไมโครคอนโทรเลอร์และบอร์ด Kidbright ใช้การโปรแกรม Kidbright IDE โครงสร้างและส่วนประกอบของโปรแกรมคําสั่งพ้ืนฐาน ตัวแปร โครงสร้างควบคุมและ กระบวนความ ปฏิบัติทักษะ เขียนและนําเสนอผังความคิดเกี่ยวกับองค์ประกอบคอมพิวเตอร์ เขียนและออกแบบ กระบวนความของโปรแกรมโดยใช้รหัสลําลองและผังงาน เขียนโปรแกรมโดยใช้คําส่ังต่างๆ ข้ันพ้ืนฐาน การออกแบบอัลกอรทิ ึมเพือ่ ส่ังการควบบอร์ด Kidbright ประยุกตส์ รา้ งอุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกอยา่ งง่าย เพ่ือให้เข้าใจ เพ่ือให้เข้าใจ เห็นคุณค่าและใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรยี นรู้ การสอื่ สาร การแกป้ ัญหา การทาํ งานและอาชีพอยา่ งมีประสิทธิภาพ ประสทิ ธผิ ลและมีคุณธรรม ผลการเรยี นรู้ 1. อธิบายหลกั การทํางานของไมโครคอนโทรเลอร์ 2. อธบิ ายองค์ประกอบของบอรด์ Kidbright 3. ใช้คําสง่ั พ้ืนฐานในการเขียนโปรแกรม Kidbright IDE ควบคมุ ส่งั การบอร์ด Kidbright 4. กําหนดและใชง้ านตัวแปร ใชง้ านเซ็นเซอร์บนบอร์ด Kidbright ประยุกตส์ ร้างอปุ กรณ์ อิเล็กทรอนิกอย่างง่าย 5. การออกแบบอลั กอรทิ ึม เพ่ือแกป้ ญั หาอาจใชแ้ นวคิดเชงิ คาํ นวณในการออกแบบเพ่อื ให้ การแก้ปญั หามปี ระสทิ ธิภาพ รวมทงั้ หมด 5 ผลการเรียนรู้

หนา้ 215 ว23288 เช้อื เพลงิ เพ่ือการคมนาคม รายวชิ าเพิม่ เตมิ กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 40 ช่วั โมง จาํ นวน 1.0 หนว่ ยกติ ----------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา วิเคราะห์ ทดลอง องค์ประกอบและประเภทของปิโตรเลียม หินต้นกําเนิดและแหล่งกักเก็บ ปิโตรเลียม การสํารวจและแหล่งปิโตรเลียม ผลกระทบและแนวทางแก้ไขท่ีเกิดจากการสํารวจและการ ผลิตปิโตรเลียม การแยกแก๊สธรรมชาติการกลั่นน้ํามันดิบ ผลิตภัณฑ์จากแก๊สธรรมชาติและจากการกล่ัน นํ้ามันดิบ และการใช้ประโยชน์ ผลกระทบจากกระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียมและแนวทางแก้ไข สถานการณ์ พลังงานของโลกและของประเทศไทย การใช้พลังงานด้านการคมนาคมของประเทศไทย การ กําหนดราคาน้ํามันเช้ือเพลิง ผลกระทบและแนวทางการแก้ไขผลจากการใช้เชื้อเพลิงเพื่อการคมนาคม เชื้อเพลงิ ท่ีเปน็ พลังงานทดแทน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่ิง ท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรมและคา่ นยิ มทเี่ หมาะสม ผลการเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความสําคัญ และการกาํ เนิดของปโิ ตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ ถา่ นหิน และหนิ นาํ้ มนั 2. อธบิ ายแหลง่ การสาํ รวจ และปริมาณสาํ รองของปโิ ตรเลยี ม และ แก๊สธรรมชาติ 3. อธิบายผลิตภณั ฑป์ ิโตรเลยี มและการนาํ ไปใชป้ ระโยชน์ 4. อธบิ ายโครงสร้างราคาและวเิ คราะหส์ ถานการณ์การใชน้ ํา้ มันเช้อื เพลิงเพอ่ื การคมนาคม 5. อธิบายประเภทและการใชป้ ระโยชน์ จากเชือ้ เพลงิ ที่เป็นพลงั งานทดแทน 6. นาํ เสนอแนวทางการใช้ปิโตรเลยี ม และแกส๊ ธรรมชาติ อยา่ งประหยัดและถกู วิธี รวมทง้ั หมด 6 ผลการเรยี นรู้

หน้า 216 รายวชิ าเพ่มิ เติม ว23214 ฟิสิกสเ์ บ้ืองตน้ กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 4 ชั่วโมง จํานวน 1.0 หนว่ ยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์เรื่องกลศาสตร์ ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิคส์เบ้ืองต้น แสงและการมองเห็น ความร้อนและของไหล โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสาร ส่ิงที่รู้ มีความสามารถในการตดั สินใจ นําความรไู้ ปใช้ในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านยิ มทเี่ หมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. อธบิ ายกลศาสตร์เก่ยี วกบั คณติ ศาสตร์ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั ฟสิ ิกส์ หน่วยวัดทางวิทยาศาสตร์ คาํ อปุ สรรค ปรมิ าณทางฟิสิกส์ แรง กาํ ลัง โมเมนส์และเครอ่ื งกล และกฎการเคลื่อนทขี่ อง นิวตัน 2. อธบิ ายเก่ียวกับวงจรไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนคิ ส์เบ้ืองตน้ 3. อธิบายเกี่ยวกับสมบตั ิของแสงและการมองเห็น 4. อธบิ ายเกย่ี วกับการถา่ ยโอนความร้อนและของไหล รวมทัง้ หมด 4 ผลการเรียนรู้

หนา้ 217 รายวิชาเพม่ิ เติม ว23289 อิเล็กทรอนิกส์เบ้อื งตน้ กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 40 ชวั่ โมง จํานวน 1.0 หน่วยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา อธิบาย สืบค้นข้อมูล กระแสไฟฟ้า สมบัติการนําไฟฟ้าของสาร การเพ่ิมสมบัติการนําไฟฟ้า ของสารกึ่งตัวนําบริสุทธิ์ อิเล็กทรอนิกส์ เคร่ืองใช้ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ พ้ืนฐานในวงจรไฟฟ้า ลักษณะ สัญลักษณ์และสมบัติของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบ้ืองต้น ปฏิบัติ ทดลอง อธิบาย อิเล็กทรอนิกส์และระบุเครื่องใช้ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ และอุปกรณ์พื้นฐานในในวงจรไฟฟ้า ลักษณะ สัญลักษณ์ และสมบัติของช้ินส่วนอิเล็กทรอนิกส์วงจร อิเล็กทรอนิกส์ วิธีต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าและประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นที่มีทรานซิสเตอร์ 1 ตัวทํา หนา้ ทเ่ี ป็นสวติ ซ์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้ มีความสามารถใน การตดั สนิ ใจ นําความรู้ไปใชใ้ นชวี ติ ประจําวนั มีจติ วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและคา่ นิยมท่ีเหมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. อธบิ ายความหมายของอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ได้ถูกตอ้ ง 2. วิเคราะหแ์ ละบอกประเภทของเครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าและประเภทเคร่ืองใช้อิเล็กทรอนิกส์ได้ 3. อธิบายรปู แบบสญั ญาณอเิ ล็กทรอนิกส์ได้อย่างถูกตอ้ ง 4. อธิบายลักษณะและสมบัติของช้ินสว่ นอิเลก็ ทรอนกิ สไ์ ด้ 5. อา่ นคา่ ช้ินสว่ นอเิ ลก็ ทรอนกิ สช์ นดิ ตา่ งๆได้ 6. คาํ นวณ ทดลองและศกึ ษาการท างานของชน้ิ ส่วนอเิ ล็กทรอนกิ ส์ได้ 7. อธิบายลักษณะ และวิธกี ารใช้งานอปุ กรณต์ ่างๆ ทีใ่ ชใ้ นการประกอบวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 8. อธิบายวิธีการประกอบวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์อยา่ งง่ายได้ 9. มที ักษะสามารถประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกสอ์ ย่างง่าย เพื่อนํามาใชป้ ระโยชน์ได้ รวมทัง้ หมด 9 ผลการเรียนรู้

หนา้ 218 รายวชิ าเพิม่ เติม ว23215 วทิ ยาศาสตรโ์ อลิมปิกฟสิ กิ ส์ (สอวน.) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชัว่ โมง จาํ นวน 1.0 หน่วยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาธรรมชาติของวิชาฟิสิกส์ ปริมาณกายภาพและหน่วยการวัดความคลาดเคลื่อนในการวัด และการทดลองในวิชาฟิสิกส์การบอกตําแหน่งของวัตถุความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับ การเคลื่อนที่แนวตรงด้วยความเร่งคงตัว แรงและผลของแรงที่มีต่อสภาพการเคลื่อนท่ีของวัตถุกฎ การเคล่ือนที่ของนวิ ตัน กฎแรงดึงดดู ระหว่างมวล และแรงเสียดทาน การเคลื่อนท่ีแบบโพรเจกไทล์การเคลื่อนท่ี แบบวงกลมและการเคลอ่ื นท่แี บบฮาร์มอนกิ อยา่ งงา่ ย โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบคืนข้อมูล การสํารวจตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความคิด มีความสามารถในการส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้ การตัดสินใจ การนําความรู้ไปใช้ในชีวิต ประ จาํ วนั มจี ติ วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรมคณุ ธรรมและคา่ นยิ มท่ีเหมาะสม ผลการเรยี นรู้ 1. อธิบายเกย่ี วกบั ธรรมชาติของวชิ าฟิสิกส์ ปริมาณกายภาพและหนว่ ยในระบบเอสไอ 2. อธิบายความสาํ คญั ของการทดลองการวัดปรมิ าณกายภาพตา่ งๆ และการบนั ทึกผลการวัด 3. อธิบายเกยี่ วกับการเคล่ือนทแี่ นวตรงและปรมิ าณทเี่ กยี่ วข้อง 4. อธิบายความสัมพันธร์ ะหว่างการกระจดั ความเรว็ และความเรง่ ของการเคล่ือนทขี่ องวัตถใุ น แนวตรงทม่ี ีความเรง่ คงตัว 5. อธิบายแรงและหาแรงลัพธข์ องแรงหลายแรง 6. อธบิ ายกฎการเคล่ือนทีข่ องนวิ ตันและใชก้ ฎการเคลือ่ นทข่ี องนวิ ตนั อธบิ ายการเคลอ่ื นที่ของ วตั ถุ 7. อธบิ ายกฎแรงดงึ ดดู ระหวา่ งมวล 8. อธบิ ายแรงเสียดทานระหวา่ งผิวสมั ผัสของวัตถคุ ่หู นึ่ง 9. วิเคราะหแ์ ละอธบิ ายการเคล่ือนทีแ่ บบโพรเจกไทล์ 10. วิเคราะห์และอธบิ ายการเคล่ือนท่แี บบวงกลม 11. วเิ คราะห์และอธบิ ายการเคล่ือนทแี่ บบฮารม์ อนกิ อยา่ งงา่ ย รวมทง้ั หมด 11 ผลการเรียนรู้

หนา้ 219 รายวชิ าเพ่ิมเตมิ ว23235 วิทยาศาสตร์โอลิมปิกเคมี (สอวน.) กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 40 ช่วั โมง จาํ นวน 1.0 หนว่ ยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาและคํานวณเกี่ยวกับมวลอะตอมของธาตุ ความสัมพันธ์ระหว่างจํานวนโมล อนุภาค มวลและ ปริมาตรของแก๊สที่ STP ศึกษาหน่วยและการคํานวณความเข้มข้นของสารละลาย ศึกษาและทดลองเตรียม สารละลาย ศึกษาและทดลองและเปรียบเทียบจุดเดือด จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธ์ิและสารละลาย ศึกษา ความหมายและเขียนสูตรโมเลกุล สูตรเอมพิริคัลหรือสูตรอย่างง่ายและสูตรโดรงสร้าง การเขียนและดุล สมการเคมี ทดลองและคํานวณหาอัตาส่วนจํานวนโมลของสารตั้งต้นท่ีทําปฏิกิริยาพอดีกัน สมบัติของระบบ ปิดและระบบเปิด ทดลองและคํานวณปริมาตรของแก๊สในปฏิกิริยาเคมีตามกฎของเกย์-ลูสแซกและกฎของ อาโวกาโดรสมบัติและการจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง ทดลองเตรียมผลึกสาร และศึกษาชนิดของผลึก การเปล่ียนสถานะของของแข็ง การหลอมเหลว การระเหิด ความสัมพันธ์ของความดันอุณหภูมิและปริมาตร ของแก๊ส และคํานวณหาปริมาตร ความดัน และอุณหภูมิของแก๊สโดยใช้กฎของบอยล์กฎของชาร์ล กฎรวม แก๊ส ศึกษาและคํานวณความดัน ปริมาตร จํานวนโมล มวลและอุณหภูมิของแก๊สตามกฎแก๊สสมบูรณ์ ศึกษาทดลองการแพรแ่ ละอัตราการแพร่ของแกส๊ โดยใช้การเรียนรู้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์การสืบเสาะหาความรู้การสํารวจตรวจสอบ สามารถนําความรู้ และหลักการไปใช้ประโยชน์เช่ือมโยงอธิบายปรากฏการณ์ หรือแก้ปัญหาในชีวิต ประจํา วัน สามารถจัดกระทําและวิเคราะห์ข้อมูล สื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้มีความสามารถในการตัดสินใจ แก้ปัญหา มีจิต วิทยาศาสตร์ เหน็ คุณค่าของวิทยาศาสตร์ มีจรยิ ธรรม คณุ ธรรมและคา่ นิยมที่เหมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. คํานวณมวลอะตอมของธาตุ มวลของธาตุ 1 อะตอม และมวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุได้ 2. คํานวณมวลโมเลกุลของสารหรอื มวลสูตรและมวลของสาร 1โมเลกุลได้ 3. อธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งปริมาณตา่ งๆ ของสาร ซึ่งไดแ้ ก่จาํ นวนโมลจํานวนอนภุ าคมวล และปริมาตรของแก๊สที่ STP 4. อธบิ ายวธิ ีเตรยี มสารละลายใหม้ คี วามเข้มขน้ หรอื ปริมาตรตามต้องการและคํานวณหาความ เข้มข้นของสารละลายในหน่วยตา่ งๆ ทก่ี ําหนดใหไ้ ด้ 5. เปรียบเทยี บจุดเดือดจดุ เยอื กแขง็ หรอื จุดหลอมเหลวของสารบรสิ ุทธิแ์ ละสารละลาย 6. คาํ นวณหามวลเปน็ ร้อยละของธาตุองคป์ ระกอบจากสตู รทกี่ ําหนดให้ได้ 7. คํานวณหาสูตรเอมพิรคิ ัลและสตู รโมเลกุลของสารได้ 8. เขยี นและดุลสมการเคมี เมื่อทราบสารตงั้ ต้นและผลติ ภัณฑไ์ ด้ 9. คํานวณหาอตั ราส่วนโดยมวลของธาตทุ รี่ วมตัวกนั เปน็ สารประกอบตามกฎสัดส่วนคงทีไ่ ด้ 10. สรุปข้อความของกฎเกย์–ลสู แซกและกฎอาโวกาโดรได้ 11. คาํ นวณหาจาํ นวนโมล มวลของสาร ปรมิ าตรของแกส๊ ที่ STP หรอื จาํ นวนอนภุ าคของสาร จากสมการเคมไี ด้ 12. ระบุสารกาํ หนดปรมิ าณและใชค้ าํ นวณหาปริมาณของสารอ่นื ในปฏกิ ิริยาเคมีได้ 13. คํานวณหาผลได้รอ้ ยละของสารจากการทดลองท่กี าํ หนดให้ได้ 14. อธบิ ายสมบัตบิ างประการของของแขง็ ได้

หนา้ 220 15. อธบิ ายเหตุผลทที่ าํ ให้ธาตุบางชนดิ ปรากฏเป็นรูปตา่ งๆ ได้ 16. อธบิ ายสมบัตขิ องของเหลวเก่ียวกับความตงึ ผิว การระเหยและการเกดิ ความดันไอได้ 17. อธิบายความสมั พนั ธร์ ะหว่างความดันไอกบั จุดเดอื ดของของเหลวได้ 18. ใชท้ ฤษฎีจลน์ของแกส๊ อธบิ ายสมบัตบิ างประการของแกส๊ ได้ 19. อธบิ ายความสมั พันธร์ ะหว่างอุณหภูมคิ วามดนั และปรมิ าตรของแกส๊ ได้ 20. ใชก้ ฎต่างๆ ของแก๊สคํานวณหาปรมิ าตรความดัน อุณหภูมแิ ละจาํ นวนโมลหรอื มวลของแกส๊ ได้ 21. อธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งการแพรข่ องแก๊สกบั มวลโมเลกุลรวมท้ังสามารถเปรียบเทียบ อตั ราการแพรแ่ ละอัตราการแพร่ผา่ นของแกส๊ ได้ รวมทั้งหมด 21 ผลการเรยี นรู้

หน้า 221 ว23255 วทิ ยาศาสตรโ์ อลิมปิกชวี วทิ ยา (สอวน.) รายวชิ าเพิม่ เตมิ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 40 ชวั่ โมง จํานวน 1.0 หนว่ ยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะท่ีสําคัญของสิ่งมีชีวิต การใช้ความรู้และกระบวนการทางชีววิทยาท่ีเป็นประโยชน์ ต่อมนุษย์และส่ิงแวดล้อม การศึกษาชีววิทยาโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ และการนําความรู้เก่ียวกับ ชีววิทยามาประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจําวัน ศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของสารเคมีที่เป็นองค์ประกอบในเซลล์ของ ส่ิงมีชีวิต โครงสร้างและหน้าท่ีของส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลียสท่ีศึกษาด้วยกล้อง จุลทรรศน์ การสื่อสารระหว่างเซลล์ การเปล่ียนแปลงสภาพของเซลล์และการชราภาพของเซลล์โครงสร้าง และการทํางานของระบบย่อยอาหารในร่างกายของสัตว์และมนุษย์การสลายสารอาหารระดับเซลล์เพ่ือให้ได้ พลงั งานในรูปของ ATP โครงสร้างและการทาํ งานของระบบสืบพันธแ์ุ ละการเจรญิ เติบโตของสตั ว์และมนุษย์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูลการสังเกต การวิเคราะห์การทดลอง การอภิปราย การอธิบายและสรุป เพ่ือให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจ มีความ สามารถในการตัดสินใจ ส่ือสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองมีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นยิ มทีเ่ หมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. สบื คน้ ข้อมลู และอธิบายเก่ยี วกับลักษณะทส่ี าํ คัญของสงิ่ มชี ีวิต 2. อธิบายและสรุปเกี่ยวกบั กระบวนการทางชวี วิทยา ท่เี ปน็ ประโยชนต์ อ่ มนุษยแ์ ละส่ิงแวดลอ้ ม 3. นาํ วิธีการทางวิทยาศาสตร์มาออกแบบการทดลอง ทดลองอภปิ รายและสรปุ เก่ยี วกับชวี วทิ ยา 4. อธบิ ายเกยี่ วกับโครงสร้างและหนา้ ที่ของสารเคมใี นเซลลข์ องส่ิงมีชวี ติ 5. สืบคืนขอ้ มูลอภปิ ราย และอธิบายโครงสร้างและหน้าท่ีของส่วนประกอบภายในเซลลท์ ี่ ศกึ ษาดว้ ยกลอ้ งจลุ ทรรศน์ 6. อภิปรายและสรปุ เกี่ยวกบั การส่ือสารระหวา่ งเซลลก์ ารเปลยี่ นแปลงสภาพของเซลล์และ การชราภาพของเซลล์ 7. สืบคน้ ขอ้ มลู อภปิ ราย และสรปุ เกี่ยวกบั โครงสรา้ งและการทํางานของระบบย่อยอาหารและ การสลายสารอาหารระดบั เซลลใ์ นร่างกายของสัตว์และมนษุ ย์ 8. สบื คืนข้อมลู อภิปราย และสรุปเก่ียวกบั โครงสรา้ งและการทํางานของระบบสืบพันธ์ุและ การเจริญเตบิ โตของสตั วแ์ ละมนษุ ย์ 9. สบื คนื ขอ้ มลู อภิปรายและนําความรเู้ กีย่ วกบั ชวี วิทยามาประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจําวัน รวมทัง้ หมด 9 ผลการเรยี นรู้

หน้า 222 กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น เปา้ หมาย การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าในตัวเองและผู้อื่นมีกระบวนการคิดตาม วุฒิภาวะ มีทักษะในการดําเนินชีวิต มีความสุข มีจิตสํานึกและรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว สังคมและ ประเทศชาติ โดยกาํ หนดเป้าหมายในการจัด ดงั น้ี 1. ผเู้ รยี นได้ประสบการณ์ทีห่ ลากหลาย เกดิ ความรู้ ความเข้าใจทัง้ วิชาการและวิชาชพี 2. ผ้เู รยี นคน้ พบความสนใจ ความถนดั ของตนเอง มองเหน็ ช่องทางในการสร้างงาน สรา้ งอาชีพใน อนาคตทเี่ หมาะสมกบั ตนเอง 3. ผเู้ รยี นพัฒนาบุคลิกภาพ เจตคติ ค่านิยมในการดาํ เนินชีวิตและเสริมสรา้ งคณุ ธรรมจริยธรรม 4. ผู้เรยี นเหน็ คณุ ค่าขององค์ความรู้ สามารถนําความรูไ้ ปประยุกตใ์ ช้ในการพฒั นาตนเองได้อยา่ ง เหมาะสม 5. ผ้เู รยี นมจี ิตสาํ นกึ และทําประโยชน์เพ่อื สงั คมและประเทศชาติ หลักการ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นมหี ลกั การ ดังน้ี 1. มีการกําหนดวัตถุประสงคแ์ ละแนวปฏบิ ัตทิ ่ชี ดั เจนเปน็ รปู ธรรมสอดคล้องกับแนวปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. เป็นกิจกรรมทีผ่ ู้เรยี นพัฒนาตนเองอยา่ งรอบด้านและเต็มศกั ยภาพตามความสนใจ ความถนัด ความตอ้ งการ อยา่ งเหมาะสมกับวัยและวุฒภิ าวะ 3. เปน็ กจิ กรรมที่ปลูกฝงั ส่งเสรมิ จติ สํานึกในการบําเพ็ญประโยชนต์ อ่ สังคมในลักษณะต่างๆ ท่ี สอดคลอ้ งกับวถิ ชี ีวิต ประเพณแี ละวฒั นธรรมอยา่ งตอ่ เนื่อง 4. เป็นกิจกรรมทย่ี ดึ หลักการมีส่วนร่วม โดยเปิดโอกาสให้ พ่อ แม่ ผูป้ กครอง ผู้นําชุมชน ปราชญ์ ชาวบา้ น และหน่วยงานอืน่ ๆ มสี ่วนรว่ มในการจัดกิจกรรม 5. จาํ นวนสมาชิกมีความเหมาะสมกบั ลกั ษณะของกิจกรรม จัดกจิ กรรมแบบบูรณาการวชิ าการกับ ชีวติ จรงิ โดยกาํ หนดเวลาในการจัดกิจกรรมอยา่ งเหมาะสม 6. มกี ารประเมินผลการจดั กจิ กรรมโดยวิธกี ารที่หลากหลายและสอดคลอ้ งกบั กจิ กรรมอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเน่ือง

หน้า 223 แนวทางการจัดกจิ กรรม โรงเรยี นได้กาํ หนดแนวทางการจดั กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ดงั น้ี 1. จดั กจิ กรรมตา่ งๆ เพื่อเกอื้ กูลสงเสรมิ การเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ เชน่ การบรู ณาการ โครงงาน องคค์ วามรูจ้ ากกล่มุ สาระการเรยี นรู้ เป็นตน้ 2. จัดกจิ กรรมตามความสนใจ ความถนัดตามธรรมชาติและความสามารถความตอ้ งการของผู้เรยี น และชุมชนและชมรมทางวชิ าการตา่ งๆ เป็นตน้ 3. จัดกจิ กรรมเพอ่ื ปลกู ฝงั และสรา้ งจิตสํานึกในการทาํ ประโยชนต์ อ่ สังคม เช่น ลกู เสอื เนตรนารี ยุ วกาชาด ผ้บู าํ เพญ็ ประโยชน์ นกั ศกึ ษาวิชาทหาร เป็นต้น 4. จัดกจิ กรรมประเภทบริการด้านตา่ งๆ ฝึกการทาํ งานทเ่ี ป็นประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม 5. ประเมนิ ผลการจดั กิจกรรมอยา่ งเปน็ ระบบ โดยใหถ้ ือว่าเปน็ เกณฑ์ประเมนิ ผลการผา่ นช่วงชั้น

หนา้ 224 โครงสรา้ งกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น 1. กจิ กรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิดตัดสินใจ คิด แก้ปัญหา กําหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตท้ังด้านการเรียนและอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรมท่ีช่วยเหลือและให้คําปรึกษาแก่ผู้ปกครองใน การมสี ่วนร่วมพัฒนาผ้เู รียน 2. กิจกรรมผู้เรยี น เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นําผู้ตามท่ีดี ความรับผิดชอบ การทํางาน ร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันกัน เอ้ืออาทรและ สมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัดและความสนใจของผู้เรียน ให้ได้ปฏิบัติด้วย ตนเองในทุกข้ันตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุงการทํางาน เน้นการทํางานร่วมกันเป็นกลุ่ม ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียน บริบทของสถาน ศึกษาและท้องถนิ่ กจิ กรรมนักเรยี นประกอบดว้ ย 2.1 กจิ กรรมลกู เสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบ้ ําเพญ็ ประโยชนแ์ ละนกั ศกึ ษาวิชาทหาร 2.2 กิจกรรมชุมนุม ชมรม 3. กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ เปน็ กิจกรรมทสี่ ง่ เสริมให้ผเู้ รยี นบําเพ็ญตนให้เปน็ ประโยชน์ต่อสงั คม ชมุ ชน และทอ้ งถนิ่ ตามความ สนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม มีจิตสาธารณะ โดยจดั ในลักษณะบรู ณาการกับรายวิชา IS 3 จดั ท้งั ในและนอกเวลาเรียน เช่น 3.1 กิจกรรมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมประเพณี ได้แก่ กิจกรรมวันสงกรานต์ วันลอยกระทง วันข้ึนปีใหม่ วนั แม่แห่งชาติ วนั เดก็ วนั เยาวชนแห่งชาติ วันไหวค้ รู ฯลฯ 3.2 กิจกรรมส่งเสริมความภักดีต่อชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ เช่น กิจกรรมเฉลิมพระชนม พรรษา วันรัฐธรรมนญู วันปยิ มหาราช วันมาฆบูชา วันเขา้ พรรษา ฯลฯ 3.3 กิจกรรมส่งเสริมวิชาการและการศึกษา เช่น กิจกรรมวันสุนทรภู่ กิจกรรแสดงผลงานทางวิชาการ กิจกรรมแขง่ ขันทักษะทางวิชาการ กิจกรรมกีฬาสี กิจกรรมต่อตา้ นยาเสพติด การเข้าคา่ ยพักแรม ค่ายส่งเสริม อจั ฉริยะภาพนักเรียน ฯลฯ 3.4 กิจกรรมที่เกิดจากความสนใจของผู้เรียนท่ีได้จากการเรียนรู้ รายวิชา IS 1- IS 2นําไปสู่การปฏิบตั ิ เพ่อื สงั คมในรายวิชา IS 3

หนา้ 225 เวลาเรยี น ชัน้ มธั ยมศึกษาตอนต้น (ม.1-ม.3) เวลาเรียน 120 ชวั่ โมง/ปี โดยแบ่งดังน้ี 1. กจิ กรรมแนะแนว 40 ช่ัวโมง/ปี 2. กิจกรรมนกั เรยี น (ชมุ นมุ /ในเครื่องแบบ) 40 ชวั่ โมง/ปี 3. กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ IS3 40 ชัว่ โมง/ปี หมายเหตุ 1. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เปน็ กจิ กรรมทน่ี กั เรยี นต้องเข้ารว่ มกิจกรรมโดยใช้ นอกเวลาเรียน ใหค้ รบตามที่หลกั สตู รกําหนด 2. กจิ กรรมชมุ นุม บรู ณาการกับกิจกรรมลดเวลาเรยี นเพิม่ เวลารู้ 3. กิจกรรม IS 3 บูรณาการกบั กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณาประโยชน์

หนา้ 226 เกณฑ์การจบการศึกษา หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนหารเทารงั สีประชาสรรค์กาํ หนดเกณฑ์การจบการศกึ ษา ระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ดังนี้ เกณฑ์การจบระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ 1. ผ้เู รียนเรยี นรายวิชาพ้ืนฐานและรายวิชาเพมิ่ เติม โดยเรยี นรายวิชาพ้นื ฐาน 66 หน่วยกติ และ รายวชิ าเพิ่มเตมิ ตามทสี่ ถานศึกษากาํ หนด 2. ผูเ้ รยี นต้องไดห้ น่วยกิตตลอดหลักสตู รไม่นอ้ ยกวา่ 77 หน่วยกติ โดยเปน็ รายวิชาพื้นฐาน 66 หนว่ ยกติ และรายวชิ าเพม่ิ เติมไมน่ อ้ ยกวา่ 11 3. ผ้เู รียนมผี ลการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะหแ์ ละเขียนส่อื ความในระดับ ผา่ นเกณท์ การประเมนิ ข้ึนไป 4. ผเู้ รยี นมีผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ในระดบั ผา่ น เกณท์การประเมนิ ขนึ้ ไป 5. ผ้เู รยี นเขา้ รว่ มกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นและมผี ลการประเมนิ ผ่าน เกณทก์ ารประเมิน ทกุ กิจกรรม

หน้า 227 คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษา โรงเรยี นหารเทารังสีประชาสรรค์ 1. ดร. นันทรตั น์ ไพรัตน์ ผ้อู ํานวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ 2. นางประทปี ศรีวุน่ หวั หนา้ กลุม่ บรหิ ารงานวชิ าการ รองประธานกรรมการ 3. นายสาโรจน์ สามารถ นายยกสมาคมผูป้ กครองและครู กรรมการ 4. นายร่ืน แจง้ กระจ่าง ตัวแทนศษิ ย์เก่า กรรมการ 5. ด.ต. พันแสน เสือพริก ผู้ทรงคุณวฒุ ิ กรรมการ 6. ร.ต.ต. มานพ แสงมณี ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ กรรมการ 7. หัวหนา้ กล่มุ สาระการเรียนรู้ 8 กล่มุ สาระ กรรมการ 8. นางกานติมา ไหมคง หวั หนา้ กลมุ่ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน กรรมการ 9. นางเมตตา สขุ โต หัวหน้างานทะเบียนและวัดผล กรรมการ 10 นางนภาวรรณ แก้วทอง หวั หน้างานแนะแนว กรรมการ 11. นางเยาวลกั ษณ์ บุญยัง หัวหน้างานหลกั สตู ร กรรมการและเลขานกุ าร 12. นางสาวกลั ยภทั ร จติ เกลยี้ ง ครูโรงเรียนหารเทา ฯ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ 13. นางจุฑาทิพย์ เพชรจํารัส ครโู รงเรียนหารเทา ฯ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ

หน้า 228 ประกาศโรงเรียนหารเทารังสปี ระชาสรรค์ เรื่อง การใช้หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนหารเทารังสปี ระชาสรรค์ พทุ ธศักราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศักราช 2560) ………………………………………..………………. ดว้ ยกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามคําสั่งสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่ 30/1234 ลงวันท่ี 5 มกราคม 2561 ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบับ ปรับปรุงพุทธศักราช 2560) สําหรับเง่ือนไขและระยะเวลาการใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดให้เร่ิมใช้ใน ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 ในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ปีการศึกษา 2562 ให้ใช้ในชั้นมัธยม ศึกษาปีท่ี 1, 2, 4 และ 5 ตั้งแต่ปกี ารศึกษา 2563 เปน็ ต้นไปใหใ้ ชใ้ นทกุ ชัน้ เรียน โรงเรียนหารเทารังสีประชาสรรค์ จึงได้ดําเนินการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาพุทธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ข้ึน คณะกรรมการ บริหารหลักสูตรและคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนได้ตรวจสอบแล้ว ผู้เรียนสามารถนําไปใช้ใน การดํารงชีวิตประจําวันได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน 2551 และความต้องการของทอ้ งถ่ิน จงึ อนุญาตใหใ้ ชห้ ลกั สูตรสถานศึกษาของโรงเรยี นหารเทารงั สปี ระชาสรรค์ได้ ทั้งน้ีหลักสูตรโรงเรียนได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2563 จึงประกาศให้ใช้หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนหารเทารังสีประชาสรรค์ พุทธศักราช 2563 ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน 2551 (ฉบับปรบั ปรุงพุทธศักราช 2560) ตั้งแตบ่ ดั น้เี ปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 1 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2563 (ลงชอื่ ) (ลงชือ่ ) (นายสาโรจน์ สามารถ ) (ดร. นันทรัตน์ ไพรัตน)์ ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ผ้อู าํ นวยการโรงเรยี นหารเทารงั สีประชาสรรค์ โรงเรยี นหารเทารงั สปี ระชาสรรค์

หนา้ 229 ความนาํ ด้วยกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ตามคําส่ังกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ 1239/ 2560 ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2560 และคําสั่งสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ี 30/2561 ลงวันที่ 5 มกราคม 2561 ให้เปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2560) โดยมีคําสั่งให้โรงเรียนดําเนินการใช้หลักสูตร ในปีการศึกษา 2561 เป็นต้นมา โดยกําหนดจดุ หมายและมาตรฐานการเรยี นรู้เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทาง ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีพัฒนาการเต็มศักยภาพ มีคุณภาพ และมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เพ่อื ใหส้ อดคล้องกบั นโยบายและเป้าหมายของสํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน โรงเรียนหารเทารังสีประชาสรรค์จึงได้ทําการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนหารเทารังสีประชาสรรค์ พุทธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และสาระภูมศิ าสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรมครบทุกระดับช้ัน มีการกําหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรถนะสําคัญของผู้เรียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด โครงสร้างเวลาเรียนและการกําหนดแผนการเรียนท่ีส่งเสริม ให้พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีศักยภาพสูงสุด และเปิดโอกาสไปสู่การศึกษาต่อในระดับทส่ี ูงขน้ึ และโรงเรียนได้ แต่งตั้งบุคลากรของโรงเรียนเป็นคณะทํางานปรับปรุงหลักสูตรร่วมกับคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและ งานวิชาการสถานศกึ ษา การปรับปรุงหลักสูตรคร้ังนี้ คณะทํางานได้ศึกษา จุดเน้นความต้องการของโรงเรียน ผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและท้องถิ่น และศึกษาวิสัยทัศน์ของโรงเรียนเป็นกรอบและทิศทางในการพัฒนา หลักสตู รสถานศึกษา หลกั สูตร ท้องถิ่น แก้ไขมาตรฐานตัวชี้วัด การกําหนดรายวชิ าในโครงสร้างของหลกั สูตร และการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน เพื่อให้มีหลักสูตรใช้ในการพัฒนานักเรียนในระดับ การศึกษาข้ันพื้นฐานของโรงเรียนให้มีคุณภาพ ทั้งด้านความรู้ควบคู่คุณธรรม สามารถดํารงชีพในสังคมที่มี การเปลีย่ นแปลงได้อย่างมคี วามสุข ขอขอบคุณคณะครูและผู้เก่ียวข้องจากทุกส่วน ตลอดจน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง และนักเรยี นท่ีได้ช่วยกนั พัฒนาหลกั สูตรฉบับนีใ้ ห้มคี วามสมบูรณเ์ หมาะสมต่อการจัดการศึกษาของโรงเรยี น (ดร. นันทรตั น์ ไพรตั น์) ผ้อู าํ นวยการโรงเรียนหารเทารังสีประชาสรรค์

หนา้ 230 สารบัญ เรื่อง หนา้ ประกาศโรงเรียนหารเทารังสปี ระชาสรรค์ เร่อื ง การใช้หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นหาร 1 เทารงั สีประชาสรรค์ พทุ ธศักราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน 1 พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุงพทุ ธศกั ราช 2560) 2 ความนาํ 3 สารบญั 7 วสิ ัยทัศน์โรงเรียนหารเทารังสีประชาสรรค์ 15 สมรรถนะสาํ คัญของผเู้ รยี น 25 คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 39 โครงสร้างเวลาเรยี นของหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นหารเทารงั สีประชาสรรค์ 61 โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นหารเทารังสีประชาสรรค์ 85 โครงสร้างหลกั สูตร กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย 118 โครงสร้างหลักสตู ร กลุม่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ 141 โครงสร้างหลักสตู ร กล่มุ สาระการเรียนรสู้ ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 183 โครงสรา้ งหลักสตู ร กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี 222 โครงสรา้ งหลักสตู ร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ 226 โครงสร้างหลักสตู ร กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 227 โครงสร้างหลักสตู ร กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ โครงสร้างหลกั สตู ร กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น เกณฑ์การจบการศกึ ษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย คณะกรรมการปรบั ปรงุ หลกั สูตร และคณะบรหิ ารหลกั สตู รและงานวชิ าการสถานศกึ ษา

หนา้ 231 หลักสตู รโรงเรยี นหารเทารงั สีประชาสรรค์ พุทธศกั ราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐานพุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560) ชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น สาํ นักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 12 สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook