Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา เหล่าทหารราบ ปี5

วิชา เหล่าทหารราบ ปี5

Published by military2 student, 2022-05-17 02:57:08

Description: วิชา เหล่าทหารราบ ปี5

Search

Read the Text Version

เราจะสบื สาน รกั ษา และตอ่ ยอด และครองแผ่นดินโดยธรรม เพอ่ื ประโยชน์สขุ แหง่ อาณาราษฎรตลอดไป พระปฐมบรมราชโองการ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชิรเกลา้ เจา้ อยหู่ วั

พระมหากษตั รยิ ไ์ ทย พระมหากษตั รยิ ไ์ ทยทรงเปน็ จอมทพั ไทยมาทกุ ยคุ ทกุ สมยั สืบทอดกันมาต้ังแต่บรรพบุรุษที่ได้รวบรวมเผ่าไทย ตั้งขึ้นเป็น ราชอาณาจักรไทย ณ ผนื แผ่นดินไทยแหง่ นี้ ค�ำวา่ “พระมหากษตั รยิ ”์ หมายถึง นักรบผยู้ ่งิ ใหญ่ หรอื จอมทัพ เพราะในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ชาติท่ีเข้มแข็ง เทา่ นนั้ จงึ จะดำ� รงคงความเปน็ ชาตอิ ยไู่ ด้ ชาตทิ อ่ี อ่ นแอ กจ็ ะตกไป เปน็ ผทู้ อี่ ยใู่ นครอบครองของชาตอิ น่ื ความเขม้ แขง็ ทสี่ ำ� คญั ยงิ่ คอื ความเขม้ แข็งทางการทหาร ความเขม้ แข็งในดา้ นอน่ื ๆ เปน็ ส่วน ประกอบ ซ่งึ กจ็ ะขาดเสียมิได้ เนือ่ งจากการศกึ มิไดท้ ำ� อย่ตู ลอดไป ระยะเวลาว่างศึกมีอยู่มากกว่า ในห้วงเวลาดังกล่าว ก็จะมีการ สร้างเสริมความแข็งแกร่งในด้านต่าง ๆ เพ่ือความเจริญรุ่งเรือง ของประเทศ และความอยดู่ กี นิ ดขี องอาณาประชาราษฎร์ ชาตไิ ทย เป็นชาตทิ ม่ี อี ารยธรรมสงู มาแต่โบราณกาล ดังนัน้ องค์ประกอบ อนั เปน็ แบบฉบบั แสดงถงึ ความเปน็ จอมทพั ไทยจงึ มอี ยา่ งครบถว้ น สมบูรณ์ มีสัญลักษณ์ท่ีเป็นเอกลักษณ์ของไทย มีความสง่างาม สมพระเกียรตยิ ศแห่งจอมทัพไทย

คู่มือ นกั ศึกษาวชิ าทหารชาย ชั้นปี ท่ี 4 (เหล่าทหารราบ)



คำ� น�ำ การฝกึ นกั ศกึ ษาวชิ าทหาร มวี ตั ถปุ ระสงคท์ างดา้ นยทุ ธการ คอื การผลติ กำ� ลงั พล ส�ำรองระดับผู้บังคับบัญชาให้กับกองทัพ เพื่อเป็นการเตรียมกำ� ลังพลส�ำรองที่เข้มแข็ง ไวใ้ หพ้ รอ้ มสำ� หรบั การปอ้ งกนั ประเทศ วตั ถปุ ระสงคท์ างดา้ นยทุ ธศาสตร์ คอื การปลกู ฝงั เยาวชนให้เป็นผู้มีระเบียบวินัย มีอุดมการณ์ความรักชาติ ปกป้องและเทิดทูนสถาบัน พระมหากษัตริย์ มีจิตอาสา เป็นพลเมืองคุณภาพของประเทศ โดยใช้หลักสูตรการฝึก วชิ าทหาร สำ� หรบั นกั ศึกษาวิชาทหาร ชัน้ ปีที่ 1 - 5 ของกระทรวงกลาโหม หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน ได้จัดท�ำ “คู่มือนักศึกษาวิชาทหาร” ประจ�ำ ปีการศึกษา 2563 เพื่อให้นักศึกษาวิชาทหารได้ค้นคว้าหาความรู้ และท�ำความเข้าใจ เน้ือหาวิชาต่าง  ๆ ท่ีก�ำหนดไว้ตามหลักสูตร (ภาคปกติ) 80 ช่ัวโมง โดยประกอบด้วย วิชาทหารที่ส�ำคัญ ท่ีนักศึกษาวิชาทหารแต่ละชั้นปีควรรู้และน�ำไปปฏิบัติได้ เพื่อ ตอบสนองวัตถปุ ระสงคด์ ้านยุทธการ และวชิ าทัว่ ไป ม่งุ เนน้ การตอบสนองวตั ถปุ ระสงค์ ดา้ นยุทธศาสตร์ดว้ ยการปลูกฝังและเสริมสร้างใหน้ ักศกึ ษาหาความรู้ ก่อน หรือภายหลัง จากการรับการฝึก - สอน หวังว่า คู่มือนักศึกษาวิชาทหารเล่มน้ี จะเป็นแหล่งข้อมูล ด้านวิชาการ ในการศึกษาค้นคว้าเพ่ือให้มีความพร้อมส�ำหรับการเป็นก�ำลังพลส�ำรอง ระดบั ผ้บู งั คบั บัญชา และการเปน็ พลเมอื งคุณภาพของประเทศในอนาคต สบื ไป พลโท (ปราการ ปทะวานชิ ) ผู้บัญชาการหน่วยบญั ชาการรักษาดินแดน

หลกั สูตรประกอบเวลา และคะแนนสอบประจ�ำวิชา นศท. ช้ันปีที่ 4 ชาย (เหลา่ ทหารราบ) คะแนน ลำ�ดบั เรือ่ ง ชั่วโมง ประ ำจ� ิวชา ่รวมกิจกรรม งานมอบ 1. ภาคปกติ 80 1.1 การฝึกทบทวนบคุ คลท่าเบ้อื งตน้ (8) 1.2 วิชาระเบยี บการน�ำ หน่วย (4) 10 1.3 วิชาผู้น�ำ (8) 20 1.4 วชิ าหนว่ ยทหารขนาดเล็ก (8) 20 1.5 วชิ าศาสตรพ์ ระราชา (8) 20 1.6 วชิ าอดุ มการณ์ความรกั ชาติ (4) 10 1.7 วิชาพลเมอื งดวี ิถีประชาธิปไตย (4) 10 1.8 วชิ ากฎหมาย (4) 10 1.9 วิชาเหล่าทหารราบ (24) 50 1.10 การทดสอบสมรรถภาพร่างกาย (4) 1.11 การฝึกอบรมหรอื ท�ำ กิจกรรมจิตอาสา (4) 2. ภาคสนาม 45 2.1 การฝกึ ภาคสนาม 7 วัน (4) 30 2.2 ฝกึ ความช�ำนาญเฉพาะต�ำแหน่ง (4) 50 2.3 ฝกึ การยิงปนื ตามหลักสูตร (2) 30 2.4 ฝกึ ไต่หนา้ ผา - ลงทางดง่ิ (2) 30 2.5 ฝกึ เลื่อนช่วยชวี ิต - ขา้ มล�ำน้�ำเรง่ ดว่ น (18) 120 2.6 ฝกึ การปฏบิ ัติหนว่ ยทหารขนาดเล็ก (20) 140 2.7 ฝกึ ปัญหาตอ่ เนื่อง (2) 2.8 ปลกู ฝงั อดุ มการณ์ความรกั ชาติ (2) 2.9 สรา้ งการรบั รู้

หลักสตู รประกอบเวลา และคะแนนสอบประจ�ำวชิ า นศท. ช้ันปที ่ี 4 ชาย (เหล่าทหารราบ) คะแนน ล�ำ ดบั เรือ่ ง ชว่ั โมง ประ ำจ� ิวชา ่รวมกิจกรรม งานมอบ 3. เบด็ เตล็ด 12 3.1 การปฐมนิเทศ 3.2 การสอบภาคปฏบิ ัติ (4) - 3.3 การสอบภาคทฤษฎี (4) 100 รวม (4) 200 150 850 50 100 1,000

สารบญั เหล่าทหารราบ หน้า บทท่ี 1 คณุ ลกั ษณะและขีดความสามารถของอาวุธ 1-23 ประจ�ำหน่วย ร. และอาวธุ เสริมพเิ ศษ 24-48 บทท่ี 2 เครอ่ื งยงิ ลกู ระเบิด 93 49-52 53-61 ขนาด 81 มม. แบบ เอ็ม.1 62-125 126-140 บทที่ 3 คุณลักษณะและขดี ความสามารถของทหารราบ 141-162 163-170 บทท่ี 4 ภารกิจและการจดั กองพนั ทหารราบ 171-194 195-207 บทที่ 5 หมวดปนื เลก็ ในการเข้าตีเวลากลางวนั 208-214 บทท่ี 6 หมวดปนื เลก็ ในการเข้าตีเวลากลางคนื บทที่ 7 หมวดปืนเลก็ ในแนวหนา้ ตั้งรบั บทท่ี 8 หมวดปืนเลก็ ในแนวหนา้ ถอนตวั บทที่ 9 หมวด ค.60 ในการเข้าตี บทท่ี 10 หมวด ค.60 ในการตั้งรบั บทท่ี 11 หมวด ค.60 ในการถอนตวั ภาคผนวก

บทท่ี เหล่าทหารราบ 1 คุณลกั ษณะและขดี ความสามารถ ของอาวธุ ประจำ� หน่วย ร. และอาวุธเสรมิ พิเศษ 1. กลา่ วนำ� การศึกษาวิชาทหารสำ� หรับนักศึกษาวิชาทหารช้ันปีท่ี 4 เป็นการศึกษาใน ระดบั ผบู้ งั คบั หมวดปนื เลก็ ดงั นน้ั การศกึ ษาวชิ าอาวธุ ในชนั้ นจ้ี งึ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ นน้ หนกั ในเรอื่ งทเ่ี กย่ี วกบั คณุ ลกั ษณะและขดี ความสามารถของอาวธุ ประจำ� หนว่ ยของทหารราบ ซง่ึ มอี ยู่ในอตั ราการจดั ของหน่วยระดบั หมวดขน้ึ ไปถึงกรมทหารราบ รวมทั้งอาวธุ เสริม พเิ ศษต่าง ๆ ซ่งึ กองทพั บกได้จดั หาแจกจ่ายให้กบั หน่วยทหารราบทีเ่ ป็นหน่วยกำ� ลงั รบ มีใช้อยู่ขณะน้ี นบั เป็นอาวธุ และสิ่งอุปกรณ์ประเภท 5 เพม่ิ เตมิ เพ่ือใช้ทำ� การรบตาม ความต้องการในสถานการณ์ปัจจุบัน ส่วนอาวุธประจ�ำกาย และอาวุธประจ�ำหน่วย ชนิดต่าง ๆ ท่ีนักศึกษาวิชาทหารได้รับการฝึกศึกษามาแล้วจากการศึกษาตามลำ� ดับ ชนั้ ปกี ารศกึ ษา จะนำ� มากล่าวดว้ ยเฉพาะอาวธุ ประจำ� หน่วยทจ่ี ดั เป็นอาวธุ ยงิ สนบั สนนุ เพื่อเป็นการทบทวนเท่าน้นั โดยมุ่งหมายให้นักศกึ ษาวชิ าทหารชัน้ ปีท่ี 4 ได้ศึกษาวชิ า อาวุธเฉพาะเร่ืองท่ีกล่าวมาแล้วในตอนต้น เนื่องจากมีช่ัวโมงการศึกษาตามหลักสูตร จ�ำกัด จึงได้สรุปเพื่อให้นักศึกษาวิชาทหารในช้ันน้ีได้มีความรู้และจดจ�ำคุณลักษณะ ขดี ความสามารถอาวธุ ประจำ� หนว่ ยตามอตั ราของหนว่ ยทหารราบ และอาวธุ เสรมิ พเิ ศษ ชนดิ ต่าง ๆ ท่ีใช้สนบั สนุนการปฏบิ ตั ิการทางยทุ ธวิธีไว้นำ� ไปเป็นข้อพจิ ารณาในการฝึก

2 เหลา่ ทหารราบ การวางแผนใชอ้ าวธุ ในอตั ราของตน และดำ� เนนิ การรอ้ งขอใชอ้ าวธุ สนบั สนนุ จากหนว่ ยเหนอื ประกอบการฝึกศกึ ษาวิชายทุ ธวิธีได้อย่างถกู ต้อง, รวดเรว็ ซงึ่ จะเป็นผลต่อการนำ� ไปปฏบิ ตั ิ ในโอกาสข้างหน้าต่อไปด้วย 1. อาวธุ ประจ�ำ หนว่ ย 1.1 ปืนกล เอม็ . 60 ขนาด 7.62 มม. 1.2 ปืนกล แบบ 93 ขนาด .50 นิ้ว 1.3 เคร่อื งยงิ ลกู ระเบิด แบบ 88 ขนาด 60 มม. 1.4 เครื่องยิงลกู ระเบดิ แบบ 93 ขนาด 81 มม. 1.5 เคร่อื งยงิ ลูกระเบิด ขนาด 120 มม. 1.6 ปืนไร้แรงสะท้อนถอยหลงั ขนาด 106 มม. 1.7 เครอื่ งฉีดไฟ เอ็ม.2 เอ.1-7 1.8 ปลก.เอ็ม.249 (มนิ มิ )ิ 1.9 ปก.38 ขนาด 7.62 มม. 1.10 อาวธุ น�ำวิถโี ทว์ 2. อาวุธเพอ่ื ความมงุ่ หมายพเิ ศษ 2.1 เคร่ืองยิงจรวดต่อสู้รถถัง M 72 A 5 2.2 เครื่องยงิ จรวดต่อสู้รถถงั M 72 A 6 2.3 เครอ่ื งยงิ จรวดระเบดิ อากาศเชอ้ื เพลงิ ขนาด 80 มม. แบบ WPF 89-1 (FAE) 2.4 อาวุธนำ� วิถีต่อสู้รถถงั TOW M 901 IMPROVED TOW VIHICIE ITV

1. อาวุธประจำ�หนว่ ย 1.1 ปืนกล เอม็ .60 (ปก.เอม็ .60) ก. ลกั ษณะทว่ั ไป - ประเภทอาวธุ ประจ�ำหน่วย ระดับ มว.ปล. - กว้างปากลำ� กล้อง 7.62 มม. ใช้กระสุนขนาด 7.62 × 51 มม. นาโต้ - ทำ� งานด้วยแก๊ส ระบายความร้อนด้วยอากาศ - บรรจกุ ระสุนด้วยสายกระสุนโลหะชนดิ ข้อต่อ สายละ 100 นดั - ทำ� การยงิ เป็นอตั โนมตั ิ - นำ�้ หนกั ปกติ 23 ปอนด์ (10.5 กก.) - นำ�้ หนกั ตง้ั ยงิ 42.5 ปอนด์ (ขาหย่งั เอ็ม 122) ข. อัตราการยิง - จงั หวะการยงิ ต่อเนอ่ื ง 100 นดั /นาที - จังหวะการยงิ เร็ว 200 นัด/นาที - ความเรว็ ในการยิงสูงสดุ 550 นัด/นาที เหล่าทหารราบ 3 ค. ระยะยงิ - ระยะยิงไกลสดุ 3,725 เมตร - ระยะยงิ หวงั ผล 1,100 เมตร ง. กระสุน มี 6 ชนิด - กระสุนธรรมดา - กระสุนส่องวถิ ี - กระสุนเจาะเกราะ - กระสุนเจาะเกราะเพลงิ - กระสุนซ้อมรบ - กระสนุ ฝึกบรรจุ

การใช้ ปก.เอม็ .60 ทางยุทธวธิ ี ในการต้งั รบั - ใช้สนับสนุนให้กบั มว.ปล. ในแนวหน้า ในพน้ื ท่รี บั ผดิ ชอบของ มว. - ตั้งยิงในพ้ืนที่ซึ่งคาดว่าจะเป็นอันตรายต่อการเข้าตีของข้าศึก, ใน พนื้ ที่ของ มว. เป็นหวั ข้อใหญ่ ในการเขา้ ตี - อาจต้ังยิงใกล้ ๆ ฐานออกตี ก่อนก�ำลังฝ่ายเราผ่านแนวออกตี ถ้าทำ� ได้ - อาจเคลื่อนทร่ี ่วมไปกบั มว.ปล. เมื่อสถานการณ์บีบบังคบั - อาจเคลอื่ นทไ่ี ปเขา้ ทตี่ งั้ ยงิ เปน็ ขน้ั ๆ เมอื่ เหน็ วา่ มว.ปล.จะบงั ทศิ ทางยงิ 1.2 ปืนกลแบบ 93 (ปก.93 ล�ำกล้องหนกั เอม็ .2) ก. ลักษณะท่ัวไป - ประเภทอาวธุ ประจำ� หนว่ ย ระดบั พนั .ร. กวา้ งปากลำ� กลอ้ ง 12.7 มม. (.50 นว้ิ ) ใช้กระสนุ ขนาด 12.7 × 99 มม. 4 เหลา่ ทหารราบ - ท�ำงานด้วยการสะท้อนถอยหลงั ของลำ� กล้องปืน - บรรจุกระสุนด้วยสายกระสุนโลหะ สายละ 100 นัด สามารถป้อน กระสนุ ได้ท้งั ด้านซ้ายและขวาของปืน - ท�ำการยิงได้ทลี ะนัดและอตั โนมตั ิ - น�้ำหนกั ต้งั ยิง 85 ปอนด์ (38.63 กก.) ข. อตั ราการยงิ - ยงิ ต่อเน่อื ง 40 นัด หรอื น้อยกว่า/นาท ี - ยิงจังหวะเรว็ มากกว่า 40 นดั /นาที - ความเร็วสงู สุดในการยงิ ตามการท�ำงานของปืน 450 - 550 นัด/นาที ค. ระยะยิง - ระยะยงิ ไกลสดุ 6,800 เมตร - ระยะยงิ หวงั ผลสูงสุดเป้าหมายพืน้ ดิน 1,830 เมตร - ระยะยิงหวงั ผลเป้าหมายในอากาศ 800 เมตร

ง. กระสนุ มี 7 ชนดิ เหล่าทหารราบ 5 - กระสนุ ธรรมดา - กระสนุ เพลิง - กระสนุ ส่องวถิ ี - กระสนุ ซ้อมรบ - กระสนุ เจาะเกราะ - กระสนุ ฝึกบรรจุ - กระสุนเจาะเกราะเพลิง 1.3 เครอื่ งยงิ ลกู ระเบิด 88 ขนาด 60 มม. (ค.88 เอม็ .2 ฐาน เอ็ม.5) ก. ลักษณะทั่วไป - ประเภทอาวธุ ประจ�ำหน่วย ระดับ มว.ค.60 กองร้อย อวบ. - กวา้ งปากล�ำกลอ้ ง 60 มม. เป็นอาวธุ กระสนุ วถิ โี ค้ง ภายในล�ำกลอ้ ง เกลย้ี งไม่มเี กลียว - ทำ� การยิงทลี ะนัด - บรรจลุ กู ระเบดิ ยิงด้วยมือทางปากล�ำกล้อง - มีนำ�้ หนักเบา สามารถนำ� ไปได้ด้วยพลประจ�ำปืนเพียงคนเดยี ว - ทำ� การยงิ ดว้ ยมมุ สงู โดยใชก้ ลอ้ งเลง็ เอม็ .4 เปน็ เครอื่ งชว่ ยเลง็ ในทาง มุมทิศและมมุ สูง ตง้ั มมุ ได้ต้งั แต่ 40 - 85 องศา - ค. เครื่องพร้อมหนกั 42 ปอนด์ ข. อัตราการยงิ - อตั ราการยงิ สูงสดุ 30 นัด/นาที - อตั ราการยงิ ต่อเน่ือง 18 นัด/นาที - ถา้ ยงิ ดว้ ยอตั ราการยงิ สงู สดุ นานเกนิ 1 นาที จะทำ� ใหแ้ กส๊ รวั่ ออกมา ทางเคร่อื งปิดท้าย ค. ระยะยิง ข้ึนอยู่กบั ชนิดของลูกระเบดิ ยงิ - ระยะยิงไกลสดุ 1,790 เมตร

ง. ลูกระเบดิ ยงิ มี 5 ชนดิ 1,790 เมตร (1,985 หลา) - ลย.สงั หาร เอม็ .49 เอ.2 - ลย.ควันฟอสฟอรสั ขาว เอม็ .302 1,450 เมตร (1,650 หลา) - ลย.ส่องแสง เอม็ .83 เอ.1 1,000 เมตร (1,075 หลา) - ลย.ซ้อมยงิ เอ็ม.40 เอ.2 1,790 เมตร (1,985 หลา) - ลย.ฝึกยงิ เอม็ .69 225 เมตร (250 หลา) - รศั มฉี กรรจ์ 18 เมตร ลกึ มาข้างหลงั 9 เมตร (ป.-ม.) ฉากการยงิ 50 เมตร การใช้ทางยุทธวธิ ี การใช้ มว.ค.60 ในทางยุทธวิธีในการเข้าตีและต้ังรับ โดยใช้ ลักษณะใดลักษณะหนง่ึ ดงั น้ี ก. การยงิ สนบั สนนุ ส่วนรวม ข. การยิงสนบั สนนุ โดยตรง ค. หรือการจดั หมู่ ค.สมทบให้กบั มว.ปืนเล็กต่าง ๆ ในการเข้าตี ท่ีตั้งยิงขั้นต้นอยู่ใกล้ ๆ กับแนวออกตี ณ ต�ำบล ซ่ึงสามารถยงิ คุ้มครองเขตปฏบิ ตั กิ ารของกองร้อย อวบ. ได้ดที ส่ี ดุ เมื่อไม่สามารถทำ� การยงิ 6 เหลา่ ทหารราบ สนับสนนุ ได้อย่างเพยี งพอแล้วจงึ เปล่ยี นย้ายทต่ี ั้งยิง ในการตง้ั รบั เม่ือใช้ ค.60 ช่วยส่วนรวม ทต่ี ัง้ ยงิ หมู่ ค.60 จะอยู่ใน พน้ื ทีใ่ กล้เคยี งหมวดหนนุ และจะต้องปฏิบัตกิ ารยิงได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพสงู สุด 1.4 เคร่อื งยงิ ลกู ระเบิด แบบ 93 ขนาด 81 มม. (ค.93 แบบ เอ็ม.1 และ เอม็ .29) ก. ลักษณะทว่ั ไป - ประเภทอาวุธประจ�ำหน่วย ระดับ ตอน ค.81 ร้อย. สสก. - กว้างปากลำ� กล้อง 81 มม. เป็นอาวธุ กระสนุ วถิ โี ค้งลำ� กล้องเกล้ียง ไม่มีเกลยี ว - ทำ� การยงิ ทลี ะนัด - บรรจุลกู ระเบดิ ยิงด้วยมือทางปากล�ำกล้อง - ทำ� การยงิ ดว้ ยมมุ สงู โดยใชก้ ลอ้ งเลง็ เอม็ .34 ใชม้ มุ สงู ได้ 712 - 1513 (ค.93 เอม็ .29 ใช้มมุ สงู ตง้ั แต่ 800 - 1,500 มลิ เลียม) - ค.เคร่อื งพร้อมหนัก 136.5 ปอนด์

ข. อตั ราการยิง อตั ราการยงิ สูงสุด 30 นัด/นาที - ค.93 แบบ เอม็ .1 อตั ราการยิงต่อเน่อื ง 18 นัด/นาที - ค.93 แบบ เอม็ .29 อตั ราการยงิ สูงสุด 12 นดั /นาที อัตราการยงิ ต่อเนื่อง 3 นดั /นาที - ค.81 มม. แบบ ป.1 (ธรรมดา) อัตรายิงสูงสดุ 12 นาท/ี นัด อตั รายงิ หวงั ผล 3 นดั /นาที - ค.81 มม. แบบ ป.2 (ลน่ั ไก) อตั ราการยงิ สูงสุด 12 นดั /นาที อตั รายงิ หวังผล 3 นัด/นาที - ค.ท้ัง 4 แบบ ถ้ายิงด้วยอัตราการยิงสูงสุดนานเกินกว่าก�ำหนด จะทำ� ให้แก๊สร่วั ออกมาทางท้ายล�ำกล้อง ค. ระยะยิง ขนึ้ อยู่กับชนดิ ของลกู ระเบิดยงิ - ค.93 แบบ เอม็ .1 ลย.สงั หาร เอม็ .43 เอ.1 ระยะยงิ ไกลสดุ 3,000 เมตร - ค.93 แบบ เอม็ .29 ลย.สงั หาร เอม็ .374 เอ.2 ระยะยงิ ไกลสดุ 4,737 เมตร - ค.81 มม. แบบ ป.1 (ธรรมดา) ลย.สงั หาร เอ็ม.262 ระยะยิงไกลสดุ เหล่าทหารราบ 7 4,450 เมตร - ค.81 มม. แบบ ป.2 (ล่ันไก) ลย.สงั หาร เอ็ม.261 ระยะยิงไกลสดุ 4,450 เมตร ง. ลกู ระเบิดยงิ มี 5 ชนดิ - ลย.สังหาร - ลย.ควนั - ลย.ส่องแสง - ลย.ซ้อมยงิ - ลย.ฝึกยงิ การใชท้ างยุทธวิธีของ ค.81 มม. - ภารกิจใช้ในการสนับสนุนการยิงอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่องแก่ กองร้อย อวบ. ท่เี ข้าตีและต้งั รบั

8 เหลา่ ทหารราบ ในการเขา้ ตี - ทตี่ ง้ั ยงิ ควรอยใู่ นระยะ 2,000 เมตร จากทห่ี มายขนั้ ตน้ ของกองรอ้ ย อวบ. - อยู่หลงั แนวออกตอี ย่างน้อย 300 เมตร - ควรอยู่ย่านกลางเขตปฏบิ ัติการของกองพัน - มเี ส้นทางลำ� เลยี งกระสนุ - ควรต้งั อยู่หลังทกี่ ำ� บัง และไม่มเี คร่อื งกดี ขวางเหนอื ศีรษะ - ตัง้ ห่างกนั แต่ละกระบอกประมาณ 30 เมตร ในการตง้ั รับ - ตง้ั อยู่ในเขตกองร้อยหนุนของกองพนั - อาจข้ึนไปตั้งในพื้นท่ีของกองรักษาด่านรบ (เมื่อได้รับค�ำสั่งให้ขึ้น สมทบ) 1.5 เคร่ืองยงิ ลกู ระเบิด ขนาด 120 มม. คณุ ลักษณะโดยทั่วไป 1. ความมุง่ หมาย ใช้ส�ำหรับแนะน�ำเก่ียวกับอาวุธศึกษาของเคร่ืองยิงลูกระเบิดขนาด 120 มม. ที่จำ� เป็นโดยทว่ั ไปและข้อแนะน�ำพิเศษในการปฏิบัติการยงิ ในสนาม 2. ลักษณะช้ินสว่ น ก. ลกั ษณะโดยทว่ั ไป - ประเภทอาวุธประจ�ำหน่วย ระดับ ร้อย.ค. หนัก, กรม ร.เบา, พนั .ร. ยานเกราะ, พนั .ร. (ยน) - เปน็ อาวธุ กระสนุ วถิ โี คง้ ลำ� กลอ้ งเกลยี้ งไมม่ เี กลยี ว บรรจกุ ระสนุ ทางปากลำ� กล้องด้วยมอื - ประกอบด้วย 3 ชน้ิ ส่วน คือ ลำ� กล้องและเครอ่ื งปิดท้าย ขาหยงั่ และแผ่นฐาน - ทำ� การยงิ แบบอตั โนมตั ิ (ทลี ะนดั ) (Droprif e) และดว้ ยเครอื่ งลน่ั ไก (Trigger) - ทำ� การยงิ ด้วยวธิ ีเลง็ จ�ำลอง โดยใช้กล้องเล็ง เอม็ .53 เป็นเคร่อื ง เลง็ ยิง

ข. ลกั ษณะเฉพาะโดยทว่ั ไป 1. นำ้� หนกั ค. 120 มม. (ศอว.ทบ.) - ลำ� กล้อง (รวมเคร่อื งปิดท้าย) 95±3 กก. - แผ่นฐาน 73±3 กก. - ชุดขาหย่งั 80±3 กก. - ค.เครอื่ งพร้อม หนัก 285 กก. (M132A1) เหล่าทหารราบ 9 - กล้องเล็ง เอ็ม.53 5.25 ปอนด์ 2. ระยะยิง - ไกลสดุ (บจ.9) ประมาณ 6,500 เมตร - ไกลสุด (กระสุนเพิ่มระยะ บจ.8) 8,250 เมตร - ใกล้สุด (บจ.0) ประมาณ 400 เมตร 3. มุมสงู - มมุ สูงสงู สดุ 1,500 มลิ เลียม - มมุ สูงตำ่� สุด 790 มลิ เลยี ม 4. การย้ายพ้นื ยิง - 1 รอบควงส่ายประมาณ 10 มลิ เลียม - หมุนควงมมุ สงู 1 รอบ 7 มิลเลียม - สะพานโครงส่าย (จากซ้ายไปขวา) ประมาณ 68 มิลเลียม - ถ้าย้ายขาหย่งั ได้รอบตัว 6,400 มลิ เลียม

3. ลักษณะโดยละเอียด ก. ล�ำกลอ้ ง - ล�ำกล้องไม่มเี กลยี ว ผวิ ภายนอกด้านท้ายลำ� กล้องจะโตกว่า - กว้างปากลำ� กล้อง 120 มม. - ความยาวลำ� กล้องไม่รวมเคร่ืองปิดท้าย 1,738 มม. รวมเคร่อื งปิดท้าย 1,913 มม. - เครอ่ื งปิดท้ายและแป้นเขม็ แทงชนวนยงิ ได้ 2 ระบบ (ล่ันไกด้วย มอื และอตั โนมตั )ิ ข. ขาหยง่ั ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังน้ี - เครอื่ งใหท้ างทศิ และทางสงู ปลอกรดั ลำ� กลอ้ ง เครอื่ งแกแ้ ปน้ เอยี ง ปลอกรัดแรงถอย ขาหยั่ง 2 ขา ส�ำหรับปักอยู่กับพ้ืนดิน ปลายขาหยั่งมีพล่ัวฝังลงในดิน เพอ่ื ให้แน่น 10 เหลา่ ทหารราบ 1. ด้ามควงสูงติดอยู่ข้างหน้าของขาหยั่ง ในตอนส่วนขาหยั่ง อยู่ก่ึงกลางระหว่างขาหย่งั ทง้ั สอง ใช้ส�ำหรับยกหรอื ลดล�ำกล้องเครอ่ื งยงิ ตามต้องการ 2. เคร่ืองให้การส่าย และด้ามควงส่ายทางทิศ ประกอบด้วย เกลยี วของแกส้ ะพานโครงสา่ ย และปลอกเกลยี วซง่ึ ตดิ อยกู่ บั ตอนบนของขาหยง่ั ในทางระดบั เมือ่ หมุนควงส่ายทางขวามอื จะท�ำให้ส่วนเคร่ืองยิงไปในทางทศิ ได้ 3. เครื่องแก้ปืนเอียง เป็นกระบอกมีเกลียว ภายในติดอยู่กับ ขาหยั่งด้านซ้าย เมอ่ื น�ำออกใช้ต้องยดึ ติดกบั แกนขาหยง่ั ตรงกลาง มคี วงส�ำหรับใช้มือหมุน ตดิ อยู่ด้านปลายด้วย 4. ปลอกรับแรงถอย ติดอยู่ใต้ปลอกรัดล�ำกล้อง มีแหนบอยู่ ภายในมลี กั ษณะเป็นกระบอก มอี ยู่ 2 อัน ทั้งซ้าย - ขวา ใช้รับแรงถอยเมื่อทำ� การยงิ เครอื่ งยงิ 5. ปลอกรัดล�ำกล้อง เป็นเหล็กรูปคร่งึ วงกลมประกบกนั มีควง มือหมนุ ส�ำหรบั หมนุ ยึดล�ำกล้องให้ตดิ กบั ขาหยั่ง

ค. ฐานหมนุ เหล่าทหารราบ 11 ฐานหมุนมีลักษณะเป็นวงกลม มีสลักหมุนได้รอบตัว เส้นผ่า ศนู ย์กลางประมาณ 7 ซม. ดา้ นบนมเี ป้าสำ� หรบั รบั ส่วนทา้ ยของลำ� กล้อง มสี ลกั เปน็ ตวั แกน หมนุ ส�ำหรับส่วนท้ายของล�ำกล้อง ฐานหมนุ นีห้ มนุ ได้รอบตัวแผ่นฐาน ง. แผ่นฐาน แผน่ ฐานมลี กั ษณะเปน็ วงกลม เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางประมาณ 800 มม. ตรงกลางมีช่วงส�ำหรับติดฐานหมุน พื้นด้านใต้ของแผ่นฐานมีครีบรวมท้ังหมด 16 ครีบ แต่ละครีบลกึ ประมาณ 15 ซม. ครบี นท้ี �ำไว้เพื่อเพิม่ การยดึ แน่นกับพ้ืนดิน การใชท้ างยุทธวิธี - ยงิ สนบั สนุนให้กบั พนั .ร. ท้งั 3 พัน.ร. - ในการตง้ั รบั อาจแยกช่วยโดยตรงแก่ พัน.ร. - ค. 120 มม. ใช้ทำ� การยิงเป็นฉากก้นั กลางในการยิงป้องกันขัน้ สุดท้าย - ในการเข้าตี ใช้เช่นเดยี วกับ ค. 4.2 นวิ้ คือ สนบั สนุนให้กับ พัน.ร. ของ กรม ในการตงั้ รับ เมื่อใช้ ช่วยโดยตรง ให้ตั้งยิงหลังกองร้อยหนุนของกองพันใน แนวหน้า ถ้าภารกิจช่วย ส่วนรวม ปกติจะตั้งในย่านกลางเขตปฏิบัติการในพื้นท่ีของ กองพันหนนุ ของกรม ห่างจาก ขนพร. 1,500 - 3,000 เมตร เขา้ ตี ตง้ั ยงิ หา่ งจากแนวออกตี 800 - 1,200 เมตร ลกั ษณะการใชค้ งเชน่ เดยี วกบั ค.4.2 นว้ิ 1.6 ปนื ไรแ้ รงสะท้อนถอยหลงั 106 มม. แบบ เอม็ .40 เอ.2 (ปรส.106 มม. ประกอบปืนชเ้ี ป้าหมาย เอม็ .8 ซี. ขนาด .50 นว้ิ ) ก. ลกั ษณะท่วั ไป - ประเภทอาวธุ ต่อสู้รถถงั ขนาดกลาง ระดับ พัน.ร., กรม ร. - กว้างปากล�ำกล้อง 106 มม. เป็นอาวุธต่อสู้รถถังขนาดกลางและ สังหารบุคคล เป็นอาวุธที่ไม่มีแรงสะท้อนถอยหลัง มีน�้ำหนักเบากว่าอาวุธที่มีกว้างปาก ล�ำกล้องขนาดเดยี วกนั

- มปี ืนชี้เป้าหมายขนาด .50 นิ้ว เอ็ม.8 ซ.ี ติดตง้ั อยู่บนลำ� กล้อง ปรส. 106 บรรจกุ ระสนุ ด้วยซองกระสนุ ชนิดซองละ 10 นัด และ 20 นัด - บรรจุกระสนุ ทางท้ายลำ� กล้องด้วยมือทลี ะนิด - ตัวปืนมอี ายใุ ช้ท�ำการยงิ 5,000 นัด, กรวยจดั แก๊ส 2,500 นดั , แหวน ปรบั แก๊ส 500 นดั - น้ำ� หนัก ปรส.พร้อมเครื่อง 462 ปอนด์ (210 กก.) ข. อัตราการยงิ - อตั ราการยงิ เร็ว 1 นดั ต่อทุก ๆ 6 วินาที (เม่อื ทำ� การยิงด้วยอตั รา การยงิ จงั หวะเร็ว ต้องให้มกี ารพกั 15 นาที แต่ละครั้งเพือ่ ให้ล�ำกล้องเย็น) ค. ระยะยงิ ไกลสุด - กระสุนเจาะเกราะ 7,700 เมตร - กระสนุ ปืนพลาสตกิ ส่องวถิ ี 7,700 เมตร - กระสนุ สังหารบุคคลส่องวิถี 3,300 เมตร - ระยะยิงหวงั ผล 1,100 เมตร 12 เหลา่ ทหารราบ - กระสนุ ต่อสู้รถถงั เจาะเกราะได้หนา 18 นิว้ - ปืนชี้เป้าหมาย เอ็ม.8 ซ.ี ขนาด .50 น้วิ ระยะยิงได้ไกลสดุ 3,100 เมตร ใช้กระสุนชเ้ี ป้าหมายแบบส่งวถิ มี องเหน็ ได้เด่นชัดถึงระยะ 1,500 เมตร ง. พนื้ ทีอ่ นั ตรายดา้ นหลังรังเพลิง - ย่านอนั ตราย 24 เมตร - ย่านพึงระวงั ต่อไปอกี 15 เมตร - ความกว้างของย่านอันตรายด้านหลงั ข้างละ 23 เมตร การใช้ทางยทุ ธวิธใี นการเขา้ ตี ตอน ปรส. มีภารกิจ ดงั น.ี้ - ภารกจิ หลกั คอื ทำ� ลายรถถงั ข้าศึก ภารกจิ รอง คอื ให้การสนบั สนนุ ดว้ ยการยงิ อยา่ งใกล้ชดิ และต่อเนอื่ ง ให้แก่ ร้อย.อวบ. - การใชท้ างยุทธวธิ ี มี 3 วธิ ี คือ ก. การใช้สนบั สนุนส่วนรวม

ข. การใช้สนบั สนนุ โดยตรง ค. การใช้ข้ึนสมทบ - การท�ำการยิงสนับสนนุ ระหวา่ งเขา้ ตี ท�ำการยงิ ได้ 3 วธิ ี ก. การยิงตามกำ� หนดเวลา ข. ทำ� การยงิ ตามคำ� ขอ ค. ยิงเป้าหมายตามเหตกุ ารณ์ ที่ตั้งยิงในการเข้าตีของ ปรส.นั้น ควรตั้งยิงให้สามารถป้องกัน ช่องทางเคลื่อนที่ของรถถังเข้ามาในเขตปฏิบัติการของกองพัน และทำ� การยิงทางปีกหรือ ทางเฉยี งได้ ท่ตี ัง้ ยงิ ของ ปรส. มี 3 ชนิด คอื ทตี่ ้ังยิงจรงิ , ท่ตี ้งั ยงิ สำ� รอง และท่ตี ้ังยิงเพิม่ เติม การใช้ในทางยทุ ธวิธีในการตง้ั รบั ตอน ปรส. จะได้รับมอบพืน้ ทีต่ ง้ั และหน้าท่รี ่วมกับ อาวุธต่อสู้รถถังชนิดอื่น เพ่ือคุ้มกันเส้นทางท่ีรถถังข้าศึกอาจจะเข้ามาในพ้ืนที่ตั้งรับของ กองพัน และจะต้องต้ังล้�ำไปข้างหน้าเพ่ือท�ำการยิงระยะไกลได้ดี หรือใช้ ปรส.คุ้มครอง เครอ่ื งกดี ขวาง (ตามธรรมชาตหิ รอื ทส่ี รา้ งขนึ้ ) ทนุ่ ระเบดิ ดกั รถถงั หรอื กบั ระเบดิ และใชใ้ นการ ระวังป้องกนั ให้กบั ที่รวมพลของกองพนั เพื่อเตรยี มการปฏบิ ัตทิ างยุทธวิธี 1.7 เครอ่ื งฉีดไฟ แบบ เอ็ม.2 เอ.1-7 (คฟ.บ.2 เอ.1-7) เหล่าทหารราบ 13 ก. ลกั ษณะทัว่ ไป - เครอ่ื งฉดี ไฟ แบบ เอม็ .2 เอ.1-7 เปน็ อาวธุ ทอี่ ยใู่ นอตั ราของรอ้ ย. บก. กรม.ร. และกองร้อย อวบ. ลักษณะเป็นเครือ่ งฉดี ไฟประจำ� กาย มชี ื่อย่อว่า คฟ.บ.2 ป.1-7 มีความมุ่งหมายในการใช้เพื่อทำ� ลายขวัญ, เผาผลาญทำ� ลายอาวุธยุทโธปกรณ์ที่กีดขวาง, ท�ำลายท่ีก�ำบัง, กวาดล้างข้าศึกในที่กำ� บังทุกแห่ง ตลอดจนอาคารบ้านเรือน การใช้ทาง ยุทธวิธีใช้ร่วมกบั อาวธุ ชนดิ อน่ื ๆ ของหมู่ทหารราบทเ่ี ข้าตะลุมบอน - การทำ� งานของเครื่องฉีดไฟแบบ เอ็ม.2 เอ.1-7 มอี ยู่ 3 อย่าง คอื นำ้� มนั , ไฟ และเครอื่ งบงั คบั ลม นำ�้ มนั เชอ้ื เพลงิ ทพี่ งุ่ ออกมาจากคนั ฉดี มาผสมกบั เปลวเพลงิ จะลุกรุนแรงและพุ่งไปได้ไกล มคี วามร้อนสงู - นำ้� หนักพร้อมยงิ 68 - 72 ปอนด์ (30 - 32 กก.) ข. อตั ราการยงิ - เชือ้ เพลิงยงิ ตดิ ต่อกันได้นาน 6 - 9 วนิ าที

- ยิงเป็นชดุ ส้ัน ๆ ได้ 4 - 5 ชดุ - ชนวน 1 อนั มคี ันเพลิง 5 อัน - ชนวนแต่ละอนั ลุกเป็นไฟได้นาน 9 - 12 วินาที ค. ระยะยงิ - น�ำ้ มันเชอ้ื เพลิงใสยิงได้ไกลสุดประมาณ 20 - 25 เมตร - น�้ำมนั เชอ้ื เพลิงชนดิ ข้นยิงได้ไกลสุดประมาณ 40 - 50 เมตร - ระยะยิงหวงั ผลประมาณ 10 - 15 เมตร ง. ระยะหา้ มยงิ - เป้าหมายที่เป็นผนังหรือก�ำแพงต้ังฉากกับพลยิงหรือทหารฝ่าย เดียวกนั ระยะใกล้กว่า 7 - 0 เมตร - เป้าหมายทเ่ี ป็นช่องเลก็ ๆ ในมลู ดิน, หน้าหลุมปืน ไม่ควรเข้าใกล้ กว่า 5 เมตร 1.8 ปลก. เอม็ .249 (มนิ มิ )ิ 14 เหลา่ ทหารราบ 1. กล่าวน�ำ - ปลก. เอ็ม.249 (มินิมิ) เป็นอาวุธประเภทประจ�ำกาย (อาวุธกล) ระดบั หมู่ปืนเลก็ หนงึ่ หมู่ปืนเลก็ มีจำ� นวน 2 กระบอก แทน ปลย. เอม็ .16 เอ.1 ตดิ ขาทราย ชุดยิงละหนึ่งกระบอก เป็นอาวุธใช้กระสุนร่วมกับพลปืนเล็กท่ีใช้อาวุธประจ�ำกาย เอ็ม.16 เอ.2 ซง่ึ ใชก้ ระสนุ นาโตข้ นาด 5.56 × 44 มม. ไดก้ ารบรรจกุ ระสนุ บรรจไุ ดท้ ง้ั สายกระสนุ และ ซองกระสนุ เอม็ .16 เป็นอาวธุ ยิงอตั โนมตั ิ ทำ� งานด้วยแก๊ส ระบายความร้อนด้วยอากาศ ปกตปิ ้อนกระสนุ ด้วยสายกระสุน 200 นดั กรณีฉกุ เฉินสามารถใช้ซองกระสนุ ปลย.เอม็ .16 ชนิด 20 นดั และ 30 นดั บรรจทุ �ำการยิงได้ แต่อาจตดิ ขดั ขณะทำ� การยงิ มากขนึ้ ปลก. เอ็ม.249 (มินิมิ) แม้จะเป็น ปลก. แต่ก็สามารถใช้แทน ปกบ. ได้ในบางโอกาส หากมี ชิ้นส่วนเพ่ิมเติมสามารถต้ังยิงโดยใช้เดือยปืน ปก.เอ็ม.60 ต้ังยิงบนขาหย่ัง เอ็ม.122 ได้ โดยพับขาทรายให้ไปทางหน้า เพราะมีแกนเหล็กติดเดือยปืนท่ีหลังขาทรายอยู่แล้ว ปลก. เอ็ม.249 (มินิมิ) สามารถท�ำการยิงด้วยการประทับบ่า ประทับสะโพก และท่ายิงใต้แขน รวมทงั้ ตง้ั ยงิ บนขาทรายเมอื่ ตอ้ งการใชเ้ ปน็ ปกบ. ตอ้ งมขี าหยงั่ และลำ� กลอ้ งอะไหลท่ ชี่ า่ งอาวธุ ได้ปรับระยะหน้าลกู เล่อื นให้ขดั กลอนได้สนทิ เสียก่อน

เอม็ .855 2. รายการทวั่ ไปและขีปนวิธี ล�ำกล้อง ก. คณุ ลกั ษณะท่ัวไป - กว้างปากลำ� กล้องขนาด 5.56 มม. - ใช้กระสนุ ขนาด 5.56 × 45 มม. นาโต้ คือ เอสเอส.109 หรือ - ขัดกลอนด้วยกลอนลูกเล่ือนกับช่องขัดกลอนท่ีโครงต่อท้าย - ลำ� กล้องคู่กบั ตวั ปืนจะมหี มายเลขเดียวกับตวั ปืน - เครอื่ งมอื ทำ� ความสะอาดและแส,้ ดอกแสเ้ กบ็ ไวใ้ นรองล�ำกลอ้ งปนื - ขวดนำ�้ มนั ทำ� ความสะอาดเกบ็ ไว้ในด้ามปืน - ขาทรายพบั เกบ็ ได้ใต้ล�ำกล้องปืน ปรบั สงู ตำ�่ ได้ 3 ตำ� แหน่ง - ช่องบรรจซุ องกระสนุ และช่องคัดปลอกกระสนุ มีฝาปิดกนั ฝุ่น - มีเหลก็ พาดบ่าติดอยู่ทพี่ านท้าย - ปืนยาว 1,040 มม. (40.87 น้วิ ) เหล่าทหารราบ 15 - ความสงู : ขาทรายหดสั้น 260 มม. : ขาทรายยดื ยาว 395 มม. - กว้าง 110 มม. - รัศมขี องศูนย์ 495 มม. - ล�ำกล้อง : รหู ลอดลำ� กล้อง 460 มม. : เกลยี วยาว 415 มม. : ลกั ษณะเกลยี วในล�ำกล้อง 6/ขวา/180 มม. (7 นว้ิ ) ข. รายการขนาด น�้ำหนัก และขีปนวิธี - น�ำ้ หนักต้งั ยิง : พร้อมเครือ่ งประกอบ 16.41 ปอนด์ (8.20 กก.) : กระสนุ 1 กล่อง 200 นัด หนัก 6.92 ปอนด์ : ลำ� กล้อง 1.60 กก.

- อตั ราการยงิ : ต่อเนอ่ื ง 85 นดั /นาที : ยงิ เร็ว 200 นดั /นาที : ยงิ สงู สุด 985 นัด/นาที - การเผาไหม้ของกระสุนส่องวถิ ี 900 เมตร (+) - พลงั งานปากลำ� กล้อง 925 เมตร/วนิ าที - ระยะยงิ ไกลสดุ บริษทั FN เบลเยียม 2,700 เมตร (FM23-14 สหรัฐ) 3,600 เมตร - ระยะยิงหวงั ผล : เป้าหมายเป็นจดุ 600 เมตร : เป้าหมายเป็นพ้ืนท่ี 800 เมตร : การยงิ ข่ม 1,000 เมตร - กระสนุ ยิง ปลก. 600 นดั (3 กลอ่ ง) - ระยะการยงิ กราดพนื้ ที่ลาดเสมอ 600 เมตร 16 เหลา่ ทหารราบ - ปืนพร้อมสายกระสนุ (ภาพที่ 1) ปนื พรอ้ มสายกระสุน

- ปนื พรอ้ มสายกระสนุ บรรจใุ นกลอ่ งบรรจุกระสนุ 200 นัด (ภาพที่ 2) เหล่าทหารราบ 17 ปนื พร้อมกล่องกระสุน 1.9 ปก.38 1. กล่าวน�ำ ปก.38 เป็นปืนกลอเนกประสงค์ สามารถต้ังยิงบนพ้ืนดิน บนยานพาหนะยานรบ ฮ.ที่มีแท่นยึดปืนได้ กองทัพบกมีความประสงค์ที่จะใช้ทดแทน ปก.เอม็ .60 ท่ชี �ำรุดการใช้เช่นเดยี วกบั ปก.เอม็ .60 หลักการใหญ่ ๆ ในการทำ� งาน ประเภทอาวธุ ประจ�ำหน่วย ระดับ มว.ปล. กว้างปากลำ� กล้อง 7.62 มม. ใช้กระสนุ ขนาด 7.62 x 51 มม. นาโต้ ทำ� งานด้วย แก๊ส ป้อนกระสุนด้วยสายกระสุนในกล่องกระสุนชนิดแบบยึดคร่ึงนัด ระบายความร้อน ด้วยอากาศ ท�ำการยิงด้วยท่าลูกเล่ือนเปิด เป็นอาวุธท่ีจัดระยะหน้าลูกเล่ือนแบบตายตัว เปลยี่ นล�ำกล้องได้รวดเรว็ กล่องกระสนุ ชนดิ 50 นัด และสายกระสุนชนดิ 100 นดั ท้ังสาย กระสุน แบบ เอม็ .13 และสายกระสนุ ปก.เอ็ม.60 สามารถปรับอตั ราการยงิ ได้ 3 ตำ� แหน่ง จากอัตราการยงิ 650 - 1,000 นดั /นาที กระสุน ขนาด 7.62 × 51 มม. นาโต้ 6 ชนดิ 1. กระสนุ ธรรมดา 2. กระสนุ ส่องวิถี 3. กระสนุ เจาะเกราะ 4. กระสนุ เจาะเกราะเพลงิ

5. กระสุนซ้อมรบ 6. กระสนุ ฝึกบรรจุ รายการหลักฐาน - กว้างปากลำ� กล้อง 7.62 มม. - ใช้กระสุนขนาด 7.62 × 51 มม. (นาโต้) - การทำ� งาน ทำ� งานด้วยแก๊ส - การยงิ อัตโนมตั ิ - ความยาว : ปืน 1,255 มม. (1.26 ม., 49.4 นิ้ว) โดยประมาณ : ล�ำกล้อง 5.55 มม. (54.5 ซม., 21.5 น้ิว) โดยประมาณ : ล�ำกล้องรวมปลอกลดแสง 630 มม. (63 ซม., 25.7 นว้ิ ) โดยประมาณ - รังเพลิงและล�ำกล้องชบุ โครเมี่ยม - ความสงู : ไม่กางขาทราย 225 มม. 18 เหลา่ ทหารราบ : กางขาทราย 318 มม. - น�้ำหนกั : ปืนทั้งกระบอก 11 กก. (ประมาณ 24.2 ปอนด์) : ชดุ ลำ� กล้อง 3 กก. (ประมาณ 6.6 ปอนด์) - อัตราการยงิ 650 - 1,000 นัด/นาที - ระยะยงิ ไกลสดุ 3,500 เมตร - ระยะยิงหวงั ผล 1,800 เมตร - การยิงกวาดในภมู ิประเทศพืน้ ระดบั ลาดเสมอ 600 เมตร เครือ่ งเลง็ - ศูนย์หน้า แบบคมมีด ปรบั ทางทศิ และทางระยะได้ - ศนู ย์หลงั แบบศนู ย์รู และศูนย์บาก ปรับทางระยะได้ - ศูนย์ยงิ ระยะ 200 - 800 เมตร (พบั ศนู ย์ลง) ศนู ย์บากยงิ ระยะ 800 - 1,800 เมตร (ต้งั ศนู ย์ข้นึ )

ทกุ ระยะ 100 เมตร เริ่มจาก 200 เมตร จะมีดรรชนีก�ำกับไว้ เลขคู่อยู่ทาง ขวา เลขค่อี ยู่ทางซ้ายของกรอบศูนย์หลัง - การต้งั ศนู ย์ปืน เพอ่ื ฝึกพลประจำ� ปืน ตงั้ ระยะ 500 เมตร กระสุนชดุ พลประจ�ำปืนคนละ 300 นัด 1.10 โทว์ 2 (TOW 2) T = TUBE LAUNCHER ยงิ ด้วยท่อ O = OPTICALLY TRACKED เล็งเกาะเป้าหมายด้วยกล้อง W = WIRE COMMAND LINK บงั คบั น�ำวถิ ผี ่านเส้นลวด 1. คุณลกั ษณะของระบบอาวธุ ชน้ิ สว่ นประกอบท่สี ำ� คญั - ผลิตโดย Hughes USA ปี 1983 - ประเภทอาวธุ ต่อสู้รถถังขนาดหนัก ระดบั พล.ร.ร้อย.ตถ. - กว้างปากลำ� กล้อง 153 มม. (6 นวิ้ ) ใช้ลูกจรวด 153 มม. - การทำ� งานเป็นระบบอาวธุ ครบนดั น�ำวิถีด้วยเส้นลวด - ท�ำการยิงประกอบเคร่ืองเล็งและชุดบังคับนำ� วิถี เปิดห้ามไกเล็ง เกาะเป้าหมาย แล้วกดปุ่มล่นั ไก เหล่าทหารราบ 19 - ระยะยิงหวงั ผล 65 - 3,750 เมตร - ความเรว็ ต้น 310 เมตร/วนิ าที (ระยะยิง 3,750 เมตร/20.7 วนิ าที) - กล้องเลง็ ขยาย 13 เท่า - น้ำ� หนกั อาวธุ ครบนัด 22 กก. ชดุ ประกอบการยงิ 188.45 กก. - เครอ่ื งยงิ ยาว 203.2 ซม. ลกู จรวดยาว 16 ซม. (ดา้ นคอย 30 วนิ าท)ี - เจาะเกราะหนา 20 นว้ิ ท�ำการยงิ ได้ 360 องศา มุมยก 30 องศา มุมกด 20 องศา - อันตรายท้ายเคร่ืองยิงไกล 75 เมตร (เปลวเพลิงไกล 50 เมตร) มุม 90 องศา 1.11 ค.อัตโนมัติ ขนาด 40 มม. (CIS 40 AGL) - ประเภทอาวธุ ประจ�ำหน่าย ระดบั พนั .ร. (มว.ลว.) - กว้างปากลำ� กล้อง 40 มม. (24 เกลยี วเวยี นขวา)

20 เหลา่ ทหารราบ - กระสนุ ระเบิดแรงสูง 40 มม. (HE}HEDP) รศั มฉี กรรจ์ 5 เมตร - ท�ำงานลกั ษณะหน้าห้องลูกเล่ือนเปิด - ท�ำการยงิ แบบอตั โนมัติบนขาหยง่ั - ความเรว็ ต้น 241 เมตร/วนิ าที - อตั ราการยงิ สงู สดุ 350 - 550 นดั /นาที - ระยะยงิ ไกลสดุ 2,200 เมตร หวงั ผล 1,500 เมตร - น้�ำหนกั รวม 33 กก. ลำ� กล้อง 2.6 กก. - ความยาวท้งั กระบอก 966 มม. - กระสนุ มี 4 ชนดิ ได้แก่ - กระสุนระเบิดแรงสูง 2 ความมุ่งหมาย (HEDP) M430 - กระสนุ ระเบดิ แรงสูง (HE) M384 - กระสนุ ฝึกยงิ เป้าส่องวถิ ี (TPT) M928 - กระสนุ ฝึกยงิ เป้า (TP) M385 - รศั มีสังหาร 5 เมตร บาดเจบ็ 15 เมตร อันตราย 60 เมตร 2. อาวุธเสริมและอาวธุ เสริมพเิ ศษ 2.1 เครอ่ื งยงิ จรวดต่อสู้รถถงั M 72 A 5 - ประเภทอาวธุ ต่อสู้รถถังขนาดเบา ที่เสรมิ ในระดบั หมู่ ปล. - กว้างปากลำ� กล้อง 66 มม. ลูกจรวด 66 มม. - ท�ำงานระบบอาวธุ ครบนัด ยงิ เสร็จแล้วท้งิ - ท�ำการยงิ โดยวธิ ยี ดื เครอ่ื งยิง พาดบ่ายงิ - ความเรว็ ปากล�ำกล้อง 200 เมตร/วินาที (ที่ระยะ 250 เมตร/1.4 วินาท)ี - ระยะนริ ภยั ปากลำ� กล้อง 30 ฟตุ (ด้านคอย 15 วินาที) - ระยะยิงไกลสุด 1,350 เมตร หวงั ผล 220 เมตร น้�ำหนกั 3.45 กก. - ปิดเครื่องยงิ ยาว 775 ซม. เปิด 980 ซม. - เจาะเกราะ 330 มม. - อันตรายท้ายเคร่อื งยงิ ไกล 50 เมตร มุม 90 องศา

2.2 เครือ่ งยงิ จรวดตอ่ สู้รถถงั M 72 A 6 เหล่าทหารราบ 21 - ประเภทอาวธุ ต่อสู้รถถังขนาดเบา ทเ่ี สรมิ ในระดบั หมู่ ปล. - กว้างปากลำ� กล้อง 66 มม. ลกู จรวด 66 มม. - ทำ� งานระบบอาวุธครบนัด ยงิ เสร็จแล้วทิ้ง - ทำ� การยิงโดยวิธยี ดื เคร่อื งยงิ พาดบ่ายิง - ความเรว็ ปากล�ำกล้อง 200 เมตร/วนิ าที (ที่ระยะ 250 เมตร/1.4 วินาท)ี - ระยะนิรภยั ปากลำ� กล้อง 30 ฟตุ (ด้านคอย 15 วนิ าที) - นำ้� หนกั 3.45 กก. - ปิดเครอื่ งยิงยาว 775 ซม. เปิด 980 ซม. - เจาะเกราะ 150 มม. - อันตรายท้ายเคร่อื งยงิ ไกล 50 เมตร มมุ 90 องศา 2.3 เครอ่ื งยงิ จรวดระเบดิ อากาศเชอื้ เพลงิ ขนาด 80 มม. แบบ WPF 89-1 (FAE) - WPF = FUEL AIR EXPLOSIVE WEAPON SYSTEM MODEL WPF 89-1 - ประเภทอาวุธเสริมพิเศษชนิดท�ำลายที่ม่ันและสังหารบุคคลด้วยแรงอัด อากาศ กว้างปากลำ� กล้อง 80 มม. ลูกจรวดขนาด 80 มม. - ทำ� งานระบบเข็มแทงชนวนกระแทกต่อชดุ เช้อื ปะทุชนวน - การยงิ ทลี ะนัด - บรรจดุ ้วยมอื ท้ายเครอื่ งยงิ (รุ่นใหม่ชนดิ ครบนัด) พาดบ่ายิง - อตั ราการยงิ สงู สดุ 1 นดั /นาที - ความเรว็ ต้น 124 เมตร/วนิ าที - ระยะนิรภยั ปากลำ� กล้อง 10 เมตร - ระยะยงิ ไกลสดุ 25 - 850 เมตร หวังผล 200 เมตร (ด้านคอย 30 วินาท)ี - นำ้� หนัก 2.713 กก. ลูกจรวด 4.31 กก. - เครื่องยิงยาว 900 ซม. - จรวดยาว 730 มม. - ทำ� ลายดว้ ยแรงอดั อากาศสงู สดุ เปน็ พน้ื ที่ 3 - 5 ตารางเมตร 0.28 - 0.04 Mpa กล้องเลง็ ขยาย 2.5 เท่า - อันตรายท้ายเครอ่ื งยิงไกล 50 เมตร (เพลิงไกล 6 เมตร) มมุ 60 องศา

2.4 อาวธุ นำ� วถิ ตี อ่ สรู้ ถถงั (TOW M 901 IMPROVED TOW VIHICLE ITV) ก. ลกั ษณะท่วั ไป - ประเภทอาวุธต่อสู้รถถงั ขนาดหนกั ใน พนั .ร.ยก.ร.12 รอ. - มคี ณุ ลกั ษณะและขีดความสามารถเช่นเดยี วกบั TOW 2 แต่ TOW M 901 เป็นระบบท่อยงิ คู่ บรรจุ 2 นดั ยิงนดั ท่ี 2 ภายใน 40 วินาที ตดิ ตง้ั บนรถ รสพ.M113 A 3 บรรทกุ อกี 10 นัด ฐานยิงระบบ Hydroric เกบ็ ในป้อม - น้�ำหนกั พร้อมรบ 11.8 ตัน ระยะปฏิบัตกิ าร 480 กม. อัตราความเรว็ 60.7 กม./ชม. - กล้องเลง็ ขยาย 13 เท่า Night Sight 12 เท่า กล้องเล็ง Telescope รวมชุดถ่ายทอดภาพ ขยาย 3 เท่า ย่านการมองกว้าง 25 องศา 2.5 เครื่องยิงจรวดขนาด 40 มม. (อาร์พีจ.ี 2) ก. ลักษณะทั่วไป - เครื่องยิงจรวดขนาด 40 มม. หรือ อาร์พีจี.2 มีขนาดกว้างปาก ลำ� กลอ้ ง 40 มม. เปน็ อาวธุ เสรมิ ใหก้ บั หมปู่ นื เลก็ ทหารราบ มอี �ำนาจในการทำ� ลาย ใชส้ ำ� หรบั 22 เหลา่ ทหารราบ ยงิ ทำ� ลายยานพาหนะ, รถถงั , ยานเกราะ และสงั หารบุคคลเป็นกลุ่มก้อน - เป็นอาวธุ วถิ ีราบ ท�ำการยงิ ด้วยวถิ ีเลง็ ตรง ด้วยการพาดบ่ายิง - บรรจุกระสุนทางปากล�ำกล้อง ท�ำการยิงทีละนัด ไม่มีแรงสะท้อน ถอยหลัง - ใช้ลกู จรวดซึง่ มขี นาดใหญ่กว่าปากลำ� กล้อง ขนาด 82 มม. ข. อัตราการยงิ - อัตราการยงิ 4 - 6 นัด/นาที ค. ระยะยงิ - ระยะยิงไกลสดุ 600 เมตร - ระยะยงิ หวงั ผล 150 เมตรลงมา ง. ขดี ความสามารถ - เจาะเกราะเหลก็ กล้าได้หนาประมาณ 180 มม. (กระทบตัง้ ฉาก) - เจาะคอนกรีต 600 - 800 มม. - เจาะดนิ 1 - 1.2 เมตร

จ. พื้นทอ่ี นั ตราย เปลวเพลงิ ท้ายเครอ่ื งยิง 60 องศา - เป็นรูปกรวยทำ� มมุ - ห่างจากท้ายเครอ่ื งยงิ 10 - 15 เมตร - พ้นื ทอ่ี ันตรายประมาณ 60 ตารางเมตร ฉ. ลกู จรวด - ชนิดระเบดิ แรงสงู ชนดิ ต่อสู้รถถังขนาด 80 มม. 2.6 เครื่องยิงจรวดขนาด 40 มม. (อารพ์ จี ี.7) ก. ลักษณะทว่ั ไป - เคร่ืองยิงจรวดขนาด 40 มม. หรือ อาร์พีจี.7 มีขนาดกว้างปาก ล�ำกล้อง 40 มม. เป็นอาวุธเสริมให้กับหมวดปืนเล็กทหารราบ มีอ�ำนาจในการท�ำลาย ใช้ส�ำหรับยงิ ต่อสู้รถถงั ท�ำลายทมี่ น่ั ดัดแปลงป้อมสนาม - เป็นอาวธุ วิถีราบ ท�ำการยิงด้วยวถิ เี ลง็ ตรง ด้วยการพาดบ่ายงิ - บรรจกุ ระสุนทางปากลำ� กล้อง ทำ� การยิงทลี ะนัด - ใช้ลกู จรวดซึง่ มขี นาดใหญ่กว่าปากลำ� กล้องขนาด 85 มม. เหล่าทหารราบ 23 ข. อตั ราการยงิ - อัตราการยงิ 4 - 6 นัด/นาที ค. ระยะยงิ - ระยะยิงไกลสดุ 1,500 เมตร - ระยะยงิ หวงั ผล 500 เมตร ง. ขดี ความสามารถ - เจาะเกราะเหล็กกล้าได้หนาประมาณ 33 - 33.5 ซม. จ. พ้นื ทอ่ี ันตราย เปลวเพลงิ ท้ายเครือ่ งยิง - เป็นรูปกรวยทำ� มุม 80 องศา - ห่างท้ายเคร่อื งยงิ 30 เมตร ฉ. ลูกจรวด - ชนดิ ดินระเบดิ แรงสูงขนาด 85 มม.

24 เหลา่ ทหารราบ บทท่ี เครอื่ งยิงลูกระเบิด 93 ขนาด 81 มม. แบบ เอ็ม.1 1. กล่าวนำ� ก. การศกึ ษาวชิ าอาวธุ เรื่อง เคร่อื งยิงลูกระเบดิ 93 ขนาด 81 มม. แบบ เอ็ม.1 มีความมุ่งหมายให้นักศึกษาได้ศึกษาเกี่ยวกับเร่ืองอาวุธศึกษาและการฝึกพล ประจำ� ปืน เพอ่ื ให้ทราบลักษณะของเครอ่ื งยิงลกู ระเบดิ 93 ขนาด 81 มม. แบบ เอม็ .1 ลกู ระเบิดยิง, การตัง้ เครอ่ื งยงิ และการเก็บเคร่อื งยิง, ตลอดจนวธิ กี ารเล็งเคร่ืองยงิ ด้วย หลักฐานการยงิ ครง้ั แรก และหลกั ฐานการยิงต่อมา ข. เครอ่ื งยงิ ลูกระเบดิ 93 ขนาด 81 มม. ทบ.ไทยมีให้อยู่ด้วยกนั 2 แบบ คอื แบบ ค.93 ขนาด 81 มม. เอม็ .1 และ ค.93 ขนาด 81 มม. เอ็ม.29 ท้ังสองแบบน ้ี มลี กั ษณะคลา้ ยกนั จะผดิ กนั บา้ งกท็ ลี่ ำ� กลอ้ งและแผน่ ฐาน ในการศกึ ษาครงั้ นจ้ี ะกลา่ วถงึ ค.93 ขนาด 81 มม. เอม็ .1 เป็นหลกั ส่วน ค.93 ขนาด 81 มม. เอ็ม.29 น้ัน จะให้ นกั ศึกษาได้ทราบลกั ษณะและรายการทั่วไปไว้ในการศกึ ษาคร้งั นด้ี ้วย

1. ลกั ษณะของเครือ่ งยงิ ลูกระเบดิ 93 ขนาด 81 มม. แบบ เอม็ .1 และ เหล่าทหารราบ 25 แบบ เอม็ .29 ก. เครื่องยิงลูกระเบิด 93 แบบ เอ็ม.1 และแบบ เอ็ม.29 มีขนาด กว้างปากลำ� กล้อง 81 มม. จัดเป็นอาวธุ ประจ�ำหน่วย กระสนุ วิถีโค้งภายในล�ำกล้องเกลย้ี ง ไม่มเี กลียว บรรจุลกู ระเบดิ ยงิ ทางปากล�ำกล้อง ทำ� การยงิ ด้วยมมุ สงู ใช้วธิ ีเล็งจ�ำลองเป็น หลัก และสามารถใช้วิธีเล็งตรงได้ เคร่ืองยิงน้ีประกอบด้วยชิ้นส่วนส�ำคัญ 3 ชิ้นส่วน คือ ลำ� กลอ้ ง, ขาหยง่ั , แผน่ ฐาน สามารถถอดแยกออกจากกนั ได้ แตล่ ะชนิ้ สว่ นพลประจำ� เครอ่ื งยงิ สามารถน�ำไปในภูมิประเทศได้เพยี งคนเดียว  รูปที่ 1 ค.93 แบบ เอ็ม.1

ข. รายการขนาดน้ำ� หนกั ค.93 แบบ เอ็ม.1 ค. เครื่องพร้อมหนัก...................................... 136.5 ปอนด์ ล�ำกล้อง................................................... 44.5 ปอนด์ ขาหยง่ั ...................................................... 47.0 ปอนด์ แผ่นฐาน................................................... 45.0 ปอนด์ ความยาวของล�ำกล้อง............................ 49.5 นว้ิ ความกว้างในการบรรทกุ ......................... 14.3 นิ้ว ความกว้างท่สี ดุ ........................................ 16.6 น้ิว ความสงู ทง้ั หมดของขาหยง่ั ..................... 36.5 นวิ้ ความยาวของเคร่อื งส่าย......................... 4.8 นวิ้ สามารถใช้มมุ สูงได้ตั้งแต่........................ 40 - 85 องศา หรือ....................... 712 - 1,513 มลิ เลยี ม หมนุ ควงสงู 1 รอบ มุมทางสงู จะเปล่ยี นไป 26 เหลา่ ทหารราบ (โดยประมาณ) ........................................ 21 องศา จ�ำนวนรอบของควงส่ายทง้ั หมด (โดยประมาณ)......................................... 18 รอบ ส่ายควง ส่ายไปทางขวาและซ้าย จากจดุ ศูนย์กลางได้ข้างละ...................... 90 มลิ เลยี ม หมนุ ควงส่าย 1 รอบ (โดยประมาณ)...... 10 มลิ เลียม ย้ายพ้นื ยงิ ด้วยการยกขาหยั่งไปทางขวา ทางซ้ายได้ข้างละ..................................... 750 มลิ เลียม ระยะยงิ ไกลสุด......................................... 3,300 หลา อตั ราการยิงสงู สดุ .................................... 30 นดั /นาที ยงิ ต่อเนอ่ื ง................................................ 18 นดั /นาที การยงิ โดยใช้ความเรว็ ในการยิงสงู สดุ นานเกิน 1 นาที จะท�ำให้แก๊สรว่ั ออกมาทางท้ายลำ� กล้อง

เหล่าทหารราบ 27 รปู ที่ 2 ค.93 แบบ เอ็ม.29

ค. รายการขนาดน�้ำหนัก ค.93 แบบ เอม็ .29 93 ปอนด์ เครอ่ื งพร้อมหนกั ....................................... ล�ำกล้อง.................................................... 28.0 ปอนด์ ขาหยง่ั เอม็ .23 เอ.1.................................. 31.0 ปอนด์ ขาหย่งั เอ็ม.23 เอ.3.................................. 40 ปอนด์ แผ่นฐาน (กลม) เอ็ม.3.............................. 25.0 ปอนด์ ความยาวของล�ำกล้อง.............................. 51.0 น้ิว ความกว้างในการบรรทุก.......................... 21.8 น้วิ ผ่าศนู ย์กลางแผ่นฐาน............................... 21.0 น้ิว สามารถต้งั มมุ สูงได้ตง้ั แต่......................... 800 - 1,500 มลิ เลยี ม หรอื ........................ 40 - 85 องศา หมุนควงสงู 1ส่ารยอจบากมจมุ ุดทกางึ่งกสลงู จางะไเปด้ขล้าีย่ งนลไะป. ..21. องศา หรือ 10 มลิ เลียม (8.9) ส่ายควง 95 มลิ เลยี ม 1 รอบ ควงส่าย......................................... 10 มลิ เลียม 28 เหลา่ ทหารราบ ย้ายพน้ื ยงิ ด้วยการยกขาหย่ังได้................ 6,400 มิลเลยี ม หมนุ ควงส่ายตลอดแกนควงส่าย.............. 19 รอบ ระยะยงิ ไกลสุด.......................................... 4,737 เมตร อตั ราการยงิ ของ ค.81 มม. แบบ เอม็ . 29 ชนดิ ลย. สงู สดุ ต่อเนือ่ งนัด/นาที เอ็ม. 362 15 นัด/2 นาที 4 นดั /นาที 27 นัด/นาที เอม็ . 374, 375 18 นัด/2 นาที 5 นดั /นาที 30 นดั /นาที ง. การแบ่งช้นิ ส่วนใหญ่ 3 ช้นิ สว่ น 1. ขาหยง่ั 2. ล�ำกล้อง 3. แผ่นฐาน

1. ขาหยั่ง ประกอบด้วย 1.1 พลัว่ ขาหยง่ั ซ้าย 1.2 ปลอกรับโซ่ขาหย่งั 1.3 แกนขาหยงั่ 1.4 ปลอกขาหยง่ั ซ้าย 1.5 ควงยึดคานแก้เอียง 1.6 คานแก้เอยี ง 1.7 ควงแก้เอยี ง 1.8 หัวขาหยง่ั ซ้าย 1.9 พลว่ั ขาหยง่ั ขวา 1.10 โซ่ยึดขาหยง่ั 1.11 แกนขาหยั่งขวา 1.12 หวั ขาหย่งั ขวา 1.13 กระบอกเกลยี วควงสงู 1.14 ควงสูง 1.15 กระปุกเฟืองควงสูง 1.16 เกลียวควงสงู 1.17 ปลอกสะพานโครงส่าย 1.18 จานควงส่าย 1.19 ด้ามควงส่าย 1.20 ปลอกเกลยี วควงส่าย 1.21 สะพานโครงส่าย 1.22 โครงส่าย 1.23 จุกเกลียวกระบอกแหนบ 1.24 ปลอกรัดลำ� กล้องอันล่าง ผ่อนอาการสะเทอื น 1.25 ปลอกรัดล�ำกล้องอนั บน 1.26 กระบอกเกลยี วเรง่ ปลอกลำ� กลอ้ ง 1.27 เกลียวเร่งปลอกรัดลำ� กล้อง 1.28 ด้ามกระบอกเกลียวเร่งปลอก เหล่าทหารราบ 29 รัดล�ำกล้อง 1.29 หลอดระดับ 2. ลำ� กล้อง ประกอบด้วย 2.2 ตัวล�ำกล้อง 2.1 ปากล�ำกล้อง 2.4 เดือยท้ายลำ� กล้อง 2.3 เคร่ืองปิดท้าย 2.6 เขม็ แทงชนวน 2.5 ช่องใส่เขม็ แทงชนวน 3. แผ่นฐาน ประกอบด้วย 3.2 หหู ิว้ ฐาน 3.1 ช่องรบั เดือยท้ายลำ� กล้อง 3.4 ห่วงห้วิ ฐานอนั หลงั (หลงั , กลาง, หน้า) 3.6 พล่ัวฐาน 3.3 ห่วงหว้ิ ฐานอนั หน้า 3.5 แนวสนั ฐานยาวและส้ัน (ซ้ายและขวา)

เครอ่ื งมือเครื่องใช้ประจ�ำ ค.93 ประกอบด้วย 1) แส้แยงล�ำกล้อง เอ็ม.8 2) แปลงทำ� ความสะอาดรงั เพลงิ เอ็ม.6 3) แส้ท�ำความสะอาดช่องเขม็ 4) กระป๋องอัดน�้ำมัน แทงชนวน  5) กระเป๋าผ้าใบไล่เครอ่ื ง 6) ย่ามลกู ระเบิดยงิ เอม็ .1 และ อะไหล่ เอม็ .1 เอ.2 7) ฝาครอบล�ำกล้อง เอม็ .307 8) นวมรองบ่า เอ็ม.3 9) สายสะพายฐาน เอม็ .1 10) กญุ แจปากตายปลายงอ 11) กุญแจปากตาย 12) ไขควงหน้าใหญ่ 13) ไขควงหน้าเลก็ 14) เหลก็ ตอกสลกั 15) ผ้าใบห่อเครอ่ื งมอื 16) ถงุ สมดุ ประวตั ิ 30 เหลา่ ทหารราบ เครอ่ื งอะไหล่ประจำ� ค.93 ประกอบด้วย 1) เข็มแทงชนวน 2) สลักแกนควงสงู 3) สลกั แกนด้ามควงสูง 4) สลักแกนปลอกรัดลำ� กล้อง 5) หมุดเกลียวยึดจกุ เกลียวกระบอกแหนบผ่อนอาการสะเทอื น 2. การท�ำงานของเครอื่ งกลไก ลกั ษณะการทำ� งานของเครอ่ื งกลไก ค.93 เปน็ แบบงา่ ย ๆ เครอ่ื งยงิ ทำ� การยงิ ลูกระเบิด ยิงออกไปได้ด้วยการหย่อนลูกระเบิดพร้อมนัดลงไปในล�ำกล้อง โดยเอาทาง ครีบหางลงไปในล�ำกล้องแล้วปล่อยลูกระเบิดยิงมุมสูงของล�ำกล้อง จะท�ำให้ลูกระเบิดยิง เล่ือนลงไปยังท้ายของล�ำกล้อง เม่ือถึงท้ายจอกกระทบแตกของส่วนบรรจุหลักท่ีหางของ ลูกระเบิดจะกระแทกกับเข็มแทงชนวนซ่ึงโผล่ยื่นออกมาจากเคร่ืองปิดท้ายประมาณ 210 น้วิ กจ็ ะเกดิ การจุดระเบิดของส่วนบรรจหุ ลักข้นึ ประกายของเปลวเพลิงจากการระเบิด ของส่วนบรรจหุ ลกั จะไปจุดส่วนบรรจุเพิม่ ด้วย จากการเผาไหม้ของส่วนบรรจจุ ะกลายเป็น ก๊าซผลักดันให้ลูกระเบิดยิงข้ึนข้างบน และออกจากปากล�ำกล้องไปท่ีตัวลูกระเบิดยิงจะม ี

แหวนกันแก๊สอยู่ด้วย จะป้องกันมิให้แก๊สรั่วไหลออกไปก่อนที่ลูกระเบิดยิงจะพ้นจาก เหล่าทหารราบ 31 ปากล�ำกล้อง และจะท�ำหน้าที่ประคองลูกระเบิดยิงในขณะท่ีเคล่ือนท่ีอยู่ในลำ� กล้องด้วย สลักนิรภัยที่ชนวนหัวลูกระเบิดยิงจะป้องกันมิให้ชนวนอยู่ในลักษณะพร้อมท�ำงานเพ่ือ ความปลอดภยั จนกว่าลกู ระเบดิ ยิงจะพ้นจากปากล�ำกล้องไปแล้ว (ประมาณ 4 - 5 วินาที) เมือ่ ลกู ระเบิดยิงพ้นปากลำ� กล้องไปแล้ว ภายในลำ� กล้องจะว่างเปล่า พร้อมทจ่ี ะท�ำการยิง ลกู ระเบิดยิงนดั ต่อไปได้ทนั ที   ลกู ระเบิดยงิ 1. กลา่ วท่ัวไป ลกู ระเบดิ ยงิ ทใี่ หก้ บั ค.93 ขนาด 81 มม. จดั อยใู่ นประเภทกง่ึ รวม คอื ลกู ระเบดิ ยงิ พร้อมนัดจะประกอบด้วย ตัวลูกระเบิดยิง, ชนวนหัวและส่วนหาง ส่วนหางซ่ึงเป็นส่วน สง่ ลกู ระเบดิ ยงิ มคี รบี หางนำ� ทศิ พรอ้ มดว้ ยสว่ นบรรจหุ ลกั จอกกระทบแตก และสว่ นบรรจเุ พมิ่ ส�ำหรับส่วนบรรจุเพ่ิมน้ีท�ำให้มีลักษณะเป็นกึ่งรวมโดยสามารถถอดออกเพ่ือจัดส่วนบรรจุ เพิ่มได้ตามความต้องการของระยะยิง เมื่อท�ำการยิงออกไป ลูกระเบิดยิงจะนำ� ปลอกของ สว่ นบรรจหุ ลกั กบั จอกกระทบแตกตดิ ไปดว้ ย ดงั นน้ั เครอ่ื งยงิ จงึ พรอ้ มจะยงิ นดั ตอ่ ไปไดท้ นั ที แม้ว่า ลกู ระเบดิ ยิงจะทำ� การยงิ จากเครื่องยงิ ท่มี ลี �ำกล้องเกล้ยี งกม็ คี วามแน่นอนท่ีท�ำให้วถิ ี การว่ิงและครอบเขม็ แทงชนวนกระทบพ้นื ก่อนเสมอ 2. ประเภทของลกู ระเบิดยงิ ประเภทใหญ่ ๆ ของลูกระเบดิ ยงิ ท่ใี ห้กับเครอ่ื งยงิ ลกู ระเบิด คือ ¬ 1. ลูกระเบิดสังหารให้กับชนวนกระทบแตกไว ลูกระเบิดยิงชนิดน้ีให้ส�ำหรับ สังหารบคุ คล 2. ลูกระเบิดยิงท�ำลายให้กับชนวนกระทบแตกไวและชนวนเวลา (รูปที่ 3) ลกู ระเบดิ ยงิ ชนดิ นใ้ี หส้ ำ� หรบั สงั หารบคุ คล และเมอ่ื ใชก้ บั ชนวนเวลาจะใชส้ ำ� หรบั การทำ� ลาย ป้อมสนามก่งึ ถาวรที่มที ่กี �ำบงั เหนอื ศรี ษะไม่แข็งแรงนกั

32 เหลา่ ทหารราบ 3. ลกู ระเบดิ ยงิ ควนั ฟอสฟอรสั ขาว (WP) ใหก้ บั ชนวนกระทบแตกไวและชนวน เวลา ลูกระเบิดยิงชนิดนี้ให้ส�ำหรับท�ำฉากควัน, อาณัติสัญญาณ, เผาผลาญท�ำให้เกิด บาดเจบ็ และตาย ลกู ระเบดิ ควนั มอี กี ชนดิ หนงึ่ คอื ลกู ระเบดิ ยงิ ควนั ซลั เฟอไตรออกไซด์ (FS) ใช้กับชนวนกระทบแตกไว ลูกระเบิดยิงชนิดนี้ให้ส�ำหรับท�ำฉากควันและอาณัติสัญญาณ เท่าน้นั ลูกระเบิดยงิ ควนั ทง้ั สองชนดิ น้ีคล้ายคลงึ กันมากในการสร้าง และมีรปู ร่างคล้ายกัน กับลูกระเบดิ ยงิ ทำ� ลาย 4. ลกู ระเบดิ ยงิ สอ่ งแสงใหก้ บั ชนวนเวลา ลกู ระเบดิ ยงิ ชนดิ นใ้ี หส้ ำ� หรบั สอ่ งสวา่ ง สนามรบในเวลากลางคนื หรอื เพือ่ ท�ำอาณตั สิ ัญญาณ 5. ลูกระเบิดซ้อมยิงให้กับชนวนกระทบแตกไว ลูกระเบิดยิงชนิดน้ีมีรูปร่าง เหมอื นกบั ลูกระเบิดยิงสังหาร ใช้ส�ำหรับการฝึกยิงและการตรวจการณ์ในภมู ิประเทศ  6. ลูกระเบิดฝึกยิง เป็นลูกระเบิดยิงท่ีไม่มีชนวนหัว ใช้ท�ำการฝึกยิงในสนาม ร่นระยะสำ� หรบั ฝึกยงิ ลย./ฝึกยงิ 3. ลักษณะของลูกระเบิดยงิ ลกู ระเบดิ ยิงประกอบด้วยส่วนสำ� คัญ 3 ส่วน คือ ส่วนหวั , ตวั ลกู ระเบิด และ ส่วนหาง 1. สว่ นหัว ประกอบด้วยชนวนหัวลกู ระเบดิ ซึ่งมชี นิดการท�ำงานแตกต่างกัน ตามแบบของชนวนท่ใี ช้กบั ลกู ระเบดิ ยิงแต่ละแบบ ชนวนหัวลูกระเบดิ นีป้ ระกอบไว้ตอนหวั ของลกู ระเบดิ ยงิ ด้วยการขนั เกลยี วดงึ ไว้ มหี น้าทจ่ี ดุ ระเบดิ ลูกระเบดิ ยงิ ให้เกดิ การระเบดิ ขน้ึ เมอื่ กระทบท่หี มายหรือระเบิดขน้ึ ตามเวลาทไ่ี ด้ตงั้ ไว้ล่วงหน้า 2. ตัวลูกระเบิดยงิ ประกอบด้วยเปลอื กลูกระเบิด และวัตถทุ ีบ่ รรจอุ ยู่ภายใน ก. เปลือกของลูกระเบิดยิง จะสร้างด้วยเหล็กตามแบบของลูกระเบิดยิง แตล่ ะแบบ เชน่ ลกู ระเบดิ สงั หารหรอื ลกู ระเบดิ ทำ� ลาย เปลอื กของลกู ระเบดิ จะทำ� ดว้ ยเหลก็ หลอ่ หนา เมอ่ื เกดิ การระเบดิ ขนึ้ เปลอื กของลกู ระเบดิ นกี้ จ็ ะแตกเปน็ สะเกด็ ระเบดิ กระเดน็ ออก ไปสงั หารและทำ� ลายตอ่ ทหี่ มาย สำ� หรบั ลกู ระเบดิ ควนั หรอื สอ่ งแสง เปลอื กของลกู ระเบดิ ยงิ จะสร้างด้วยเหลก็ บางไว้ เพ่อื บรรจวุ ัตถุท่อี ยู่ภายในตวั ลกู ระเบดิ ยิง

ข. บนผิวของตัวลูกระเบิดยิงทุกนัด ได้ถูกทาสีไว้เพื่อป้องกันสนิม และ เหล่าทหารราบ 33 สที ี่ทายงั บอกถึงลกั ษณะและชนดิ ของลูกระเบดิ ยิงด้วย สตี ่าง ๆ ทท่ี า มีดงั นี้ 1. ลย./สงั หาร สเี ขยี วมะกอก อกั ษรและเครอ่ื งหมายเขยี นด้วยสเี หลอื ง 2. ลย./ควนั สเี ทา คาดด้วยสเี หลือง อกั ษรและเครอ่ื งหมายเขียนด้วย สีเหลอื ง หรอื ลย./ควันแบบใหม่สเี ขยี วอ่อน คาดด้วยสีเหลอื ง อกั ษรและเครอื่ งหมายสแี ดง 3. ลย./ส่องแสง สขี าว อักษรและเคร่ืองหมายเขยี นด้วยสีดำ� 4. ลย./ซอ้ มยงิ สฟี า้ หรอื สนี า้ํ เงนิ อกั ษรและเครอ่ื งหมายเขยี นดว้ ยสขี าว 5. ลย./ฝึกยงิ สีด�ำ อักษรและเคร่ืองหมายเขยี นด้วยสีขาว ค. อกั ษรและเครื่องหมายต่าง ๆ บนตัวลูกระเบิดยิง ลูกระเบิดยิงพร้อมนัด ได้แจ้งลกั ษณะทีส่ �ำคัญไว้บนตวั ลกู ระเบดิ ยงิ เคร่ืองหมายเหล่าน้ีประกอบด้วย 1. ขนาดกว้างปากล�ำกล้องของเคร่อื งยิง ซ่งึ จะใช้ยิง เช่น 81 2. ชนดิ ของวัตถทุ ีบ่ รรจุภายใน เช่น TNT, COMP, WP หรอื ILLUM 3. แบบของลูกระเบิดยิง เช่น M.43 A.1 หรือลูกระเบิดยิงแบบใหม ่ จะเขยี นว่า CTG M.374, CTG M.375 และ CTG M.301 A.3 เป็นต้น  4. งวดงานดนิ ของระเบิดยงิ เช่น AMMLOT LS.-54-4 8-70¬ 5. เครื่องหมายท่ีท�ำไว้บนชนวนหัวลูกระเบิด เคร่ืองหมายนี้จะถูกตอก ติดไว้กบั โลหะ 5.1 ชนดิ และแบบของชนวน เช่น FUZEPD M.524 A.6 5.2 งวดงานดนิ เช่น LS-86-86 5.3 ปีท่สี ร้าง เช่น 7-70 5.4 การทำ� งานของชนวน เช่น FUZE TIME หรือ SQ-D ง. แหวนกันแก๊ส แหวนกันแก๊สนี้บางแบบของลูกระเบิดยิงจะถูกหล่อเป็น รปู รา่ งตดิ อยกู่ บั ตวั ลกู ระเบดิ ยงิ ตอนบนหรอื อย่ตู อนล่างแต่ละแบบของลกู ระเบดิ ยงิ สำ� หรบั ลกู ระเบดิ ยงิ สงั หารและลกู ระเบดิ ยงิ คานแบบใหมท่ ใ่ี ชอ้ ยปู่ จั จบุ นั ทตี่ อนกลางคอ่ นมาขา้ งลา่ ง ของตวั ลกู ระเบดิ ยงิ จะทำ� เปน็ รอ่ งและมแี หวนกนั แกส๊ เปน็ รปู แหวนสปรงิ อยใู่ นรอ่ งแหวนกนั แกส๊ นมี้ หี นา้ ทปี่ ระคองลกู ระเบดิ ยงิ ขณะวงิ่ อยใู่ นลำ� กลอ้ ง และกนั มใิ หแ้ กส๊ ทขี่ บั ลกู ระเบดิ ยงิ ภายในลำ� กล้องร่วั ขน้ึ ไปทางปากล�ำกล้อง

34 เหลา่ ทหารราบ 3. สว่ นหาง จะเปน็ สว่ นทถ่ี อื ทศิ ทำ� ใหล้ กู ระเบดิ ยงิ วงิ่ ตรงทศิ ทางไปยงั เปา้ หมาย และท�ำให้ส่วนครอบเข็มแทงชนวนของชนวนหัวกระทบเป้าหมายก่อนเสมอ ส่วนหาง ประกอบด้วย 1. ครีบหาง มีจ�ำนวนครบี หางตามแบบของลูกระเบดิ ยิงแต่ละแบบ 2. สว่ นบรรจหุ ลกั และจอกกระทบแตก สอดประกอบตดิ ไวใ้ นชอ่ งสว่ นบรรจุ หลกั ซ่งึ อยู่ตอนกลางของหาง 3. ส่วนบรรจุเพ่ิม ส่วนบรรจุเพ่ิมจะหนีบหรือเกี่ยวไว้ตอนบนของครีบหาง หรอื อยใู่ นระหวา่ งใบครบี หาง สว่ นบรรจเุ พมิ่ บางแบบจะเปน็ รปู แผน่ ทเี่ หลย่ี มผนื ผา้ แตล่ ะชนิ้ ของส่วนบรรจเุ พมิ่ เป็นแผ่นสนี ้�ำตาลบาง ๆ เยบ็ ติดซ้อนกันหลายแผ่น ห่อไว้ด้วยแซลโลโฟน รวมกนั เป็น 1 ส่วนบรรจเุ พม่ิ อีกแบบหนง่ึ เป็นถุงผ้ายาวบรรจุดินส่วนบรรจุเพิ่มไว้ 1 ถงุ เป็น 1 ส่วนบรรจุเพ่ิมลูกระเบิดยิงของ ค.93 แต่ละแบบจะมีส่วนบรรจุเพ่ิมที่ติดมาพร้อม ลกู ระเบิดยิงพร้อมนดั ไม่เท่ากนั บางแบบจะมีเพียง 4 ส่วนบรรจเุ พมิ่ หรือบางแบบจะมถี ึง 6และ8สว่ นบรรจเุ พมิ่ สว่ นบรรจเุ พม่ิ นอ้ี าจจดั ถอดออกไดต้ ามจำ� นานทตี่ อ้ งการของระยะยงิ   4. แบบของลกู ระเบดิ ยงิ (รูปที่ 3) รูปท่ี 3 ลกู ระเบิดยิงของ ค.93 ขนาด 81 มม. แบบต่าง ๆ

ลกู ระเบดิ ยงิ ไดถ้ กู ออกแบบสรา้ งไวเ้ พอื่ ใชต้ ามความมงุ่ หมายดงั ทไี่ ดก้ ลา่ วไว้ ในประเภทของลูกระเบดิ ยงิ ลูกระเบดิ ยิงท่ี ทบ. มีใช้กบั ค.93 ขนาด 81 มม. แบบ เอม็ . 1 และแบบ เอม็ .29 ปัจจบุ ัน มดี งั น้ี 1. ลย./สังหาร เอม็ .43 เอ.1 ใช้กบั ชนวนกระทบแตกไว เอม็ .525 - น้�ำหนกั 7.15 ปอนด์ - ระยะยงิ ไกลสุด 3,000 เมตร - ระยะยงิ ใกล้สุด 45 เมตร - รัศมรี ะเบดิ ฉกรรจ์ 20 × 15 เมตร - ย่านส่วนบรรจุเพมิ่ 0 - 6 ส่วน - ถ้าใช้ยงิ กับ ค.เอม็ .29 เพิ่มส่วนบรรจเุ พิม่ อกี 2 ส่วน ระยะยิงไกลสดุ 3,550 เมตร 2. ลย./สงั หาร เอม็ .374 ใชก้ บั ชนวนกระทบแตกไวและถว่ งเวลา เอม็ .524 เอ.6 - นํ้าหนกั 9.34 ปอนด์ - ระยะยงิ ไกลสดุ 4,737 เมตร เหล่าทหารราบ 35 - ระยะยงิ ใกล้สุด 72 เมตร - รัศมีระเบดิ ฉกรรจ์ 25 × 20 เมตร - ย่านล้วนบรรจเุ พิ่ม 0 - 9 ล้วน (ใช้ส่วนบรรจุเพ่มิ ได้ถึง 9 ส่วน) 3. ลย./สังหาร เอ็ม.362 ใช้กับชนวนกระทบแตกไวและถ่วงเวลา เอม็ .524 - นํ้าหนัก 9.42 ปอนด์ - ระยะยงิ ไกลสดุ 4,737 เมตร - ระยะยงิ ใกล้สุด 50 เมตร - รศั มรี ะเบดิ ฉกรรจ์ 25 × 20 เมตร - ย่านล้วนบรรจุเพ่มิ 0 - 8 ส่วน 4. ลย./ควนั ฟอสฟอรสั ขาว (WP) เอ็ม.375 ใช้กบั ชนวนกระทบแตกไว เอ็ม.524 เอ.5 - นํา้ หนกั 9.34 ปอนด์ - ระยะยงิ ไกลสดุ 4,734 เมตร

- ระยะยงิ ใกล้สุด 72 เมตร - รัศมีระเบดิ 20 เมตร - ย่านส่วนบรรจเุ พิ่ม 0 - 9 ล้วน 5. ลย./ส่องแสง เอ็ม.301 เอ.3 ใช้กับชนวนเวลา เอ็ม.84 เอ.1 (ตงั้ เวลา ได้ 0 - 50 วนิ าท)ี - นํา้ หนัก 10.1 ปอนด์ - ระยะยงิ ไกลสุด 3,150 เมตร - ระยะยงิ ใกล้สดุ 100 เมตร - แสงสว่าง 500,000 แรงเทียน - ส่องสว่างนาน 75 วนิ าที - ย่านส่วนบรรจุเพ่มิ 3 - 8 ส่วน 6. ลย./ส่องแสง เอม็ .301 ใช้กบั ชนวนเวลา เอ็ม.84 (ต้งั เวลาได้ 0 - 25 วินาท)ี - นํา้ หนัก 10 ปอนด์ - ระยะยงิ ไกลสุด 2,300 หลา (2,150 เมตร) 36 เหลา่ ทหารราบ   - แสงสว่าง 275,000 แรงเทียน - ส่องสว่างนาน 1 นาที - ย่านส่วนบรรจุเพม่ิ 2 - 4 ส่วน 7. ลย./ซ้อมยิง เอ็ม.43 เอ.1 ใช้กับชนวนกระทบแตกไว เอ็ม.525 - น�้ำหนัก 7.15 ปอนด์ - ระยะยงิ ไกลสุด 3,000 เมตร - รศั มีระเบดิ 0 หลา - ย่านส่วนบรรจุเพม่ิ 0 - 6 ส่วน - เพม่ิ ส่วนบรรจไุ ด้เช่นเดยี วกบั ลย./สงั หาร เอ็ม.43 เอ.1 8. ลย.ฝึกยงิ เอม็ .68 ไม่มีชนวนหวั ลูกระเบิดยิง - นํ้าหนกั 10.7 ปอนด์ - ระยะยงิ ไกลสุด 300 เมตร - ระยะยงิ ใกล้สุด 50 เมตร - รัศมีระเบดิ 0 เมตร - ส่วนบรรจเุ พ่มิ ไม่ม ี

หมายเหตุ เหล่าทหารราบ 37 - ถ้าใช้ ลย./สงั หาร เอม็ .362 กบั ค.93 แบบ เอ็ม.1 จะต้องใช้ส่วนบรรจเุ พม่ิ ไม่เกิน 5 ส่วน ระยะยงิ ไกลสดุ 3,600 เมตร - ถ้าใช้ ลย./ควันฟอสฟอรัสขาว เอม็ .375 กบั ค.93 แบบ เอม็ .1 จะต้องใช้ส่วน บรรจุเพ่มิ ไม่เกนิ 5 ส่วน - ถ้าใช้ ลย./สงั หาร เอ็ม.374 กับ ค.93 แบบ เอ็ม.1 จะต้องใช้ส่วนบรรจุเพ่มิ ไม่เกิน 5 ส่วน - ถ้าใช้ ลย./สังหาร หรือ ลย./ซ้อมยิง เอ็ม.43 เอง กบั ค.93 แบบ เอม็ .29 เพม่ิ ส่วนบรรจเุ พมิ่ ได้อกี 2 ส่วน ระยะยงิ ไกลสุด 3,550 เมตร 5. ชนิดของชนวนหัวลูกระเบิดยงิ 1. ชนวน เอม็ .519, เอม็ .524, เอม็ .525 การท�ำงานของชนวนกระทบแตก 2. ชนวน เอม็ .526 การท�ำงานของชนวน : กระทบแตกไว - ถ่วงเวลา  3. ชนวน เอม็ .517, เอม็ .532 การท�ำงานของชนวน : แตกอากาศใกล้เป้าหมาย (สูง 4 - 20 ฟุต) 4. ชนวนเวลา เอม็ .84 : ตง้ั เวลาได้ 0 - 25 วินาที 5. ชนวนเวลา เอ็ม.84 เอ.1 : ตัง้ เวลาได้ 0 - 50 วนิ าที 6. การระวังรกั ษา การจับถือ และการบ�ำ รงุ รกั ษา 1. ลูกระเบดิ ยงิ ได้สร้างและเก็บไว้เพ่ือให้ทนทานต่อสภาพการณ์ปกตทิ งั้ หมด ที่จะประสบในสนามรบ แต่ก็อาจเสียหายหรือเสื่อมคุณภาพได้เนื่องจากความชื้นและ อุณหภมู สิ ูงจะต้องป้องกันลกู ระเบดิ ยงิ ให้พ้นจากสภาพเหล่าน้ี 2. การจบั ถือลกู ระเบดิ ยิงพร้อมนดั ด้วยความระมัดระวงั ตลอดเวลา เพราะว่า ชนวนและวัตถุระเบิดในจอกกระทบแตก และชนวนของลูกระเบิดยิงอาจไวต่อการระเบิด เม่อื มีการกระทบกระแทกแรง ๆ และเม่อื มีอณุ หภมู ิสงู มาก 3. อย่าลอกผ้ายางกันช้ืนออกจากกล่องเก็บลูกระเบิดยิงจนกว่าจะใช้ ลกู ระเบดิ ยงิ ลกู ระเบดิ ยงิ ทบี่ รรจไุ วใ้ นกลอ่ งซงึ่ อากาศเขา้ ไมไ่ ดม้ กั จะเปน็ สนมิ เมอ่ื มอี ากาศชน้ื

38 เหลา่ ทหารราบ มาก ๆ เป็นเหตทุ ที่ �ำให้ลูกระเบดิ ยงิ เสอ่ื มคุณภาพลงไป การจะเตรียมลกู ระเบิดยงิ จ�ำนวน มาก ๆ สำ� หรับท�ำการยิง เมื่อนำ� ลกู ระเบิดยงิ ออกมาจากกล่อง จัดส่วนบรรจแุ ละถอดลวด สลักนิรภัยไว้แล้ว จะต้องน�ำถุงพลาสติกที่ติดมากับลูกระเบิดยิงส�ำหรับคลุมกันส่วนบรรจุ สวมไว้ และสอดส่วนหางของลูกระเบิดยิงเข้าไปในกล่องทุกนัด เป็นการป้องกันมิให้ส่วน บรรจุได้รบั ความชืน้ 4. อย่าพยายามถอดชนวนใด ๆ 5. ต้องป้องกนั ไม่ให้ลกู ระเบิดยิงถูกโคลน ทราย ฝุ่น และน�้ำ ก่อนใต้ยงิ ต้อง เช็ดให้สะอาดและแห้ง ส่วนใดทเ่ี ป็นสนมิ ให้เช็ดถอู อก ไม่ควรถูลูกระเบดิ ยงิ จนเป็นเงางาม 6. อย่าปล่อยใหล้ กู ระเบดิ ยงิ โดยเฉพาะสว่ นบรรจเุ พมิ่ ถกู แดดส่องโดยตรงเป็น เวลานาน ๆ การยงิ ทไ่ี ด้ผลดจี ะต้องใช้ลกู ระเบดิ ยงิ ทอ่ี ยู่ในอุณหภมู เิ ดยี วกัน 7. ก่อนท�ำการยิงถอดลวดสลกั นิรภัยออกจากชนวน 8. เมอ่ื จะทำ� การยงิ หยอ่ นลกู ระเบดิ ยงิ ลงไปในลำ� กลอ้ งโดยไลด่ า้ นหางลกู ระเบดิ ยงิ ลงไปก่อน เม่อื ลูกระเบดิ ยงิ ไหลลงไปในล�ำกล้อง ให้เลือ่ นนิ้วออกจากล�ำกล้องทันที 9. ถา้ เตรยี มลกู ระเบดิ ยงิ ไวแ้ ลว้ ไมใ่ ชท้ ำ� การยงิ ใหส้ อดลวดสลกั นริ ภยั เขา้ ทเี่ ดมิ และน�ำส่วนบรรจุเพิ่มท่ีถอดออกมาใส่เข้าที่เดิม แล้วน�ำลูกระเบิดยิงบรรจุกล่องพันผ้ายาง กันช้ืนให้เรียบร้อย ท�ำเครื่องหมายไว้เป็นสังเขป ในการยิงคราวต่อไปให้ใช้ลูกระเบิดยิง เหล่าน้ยี งิ ก่อน 7. ลกู ระเบิดยิงด้าน ลกู ระเบิดยงิ ด้านแบ่งออกได้เป็น 2 ลกั ษณะ คือ ด้านใน กบั ด้านนอก 1. ด้านใน หมายถงึ เม่ือบรรจลุ กู ระเบิดยงิ ลงไปในล�ำกล้องแล้ว ลูกระเบิดยงิ ไม่ลั่นออกไป ลักษณะเช่นนี้อาจเกิดจากจอกกระทบแตกของส่วนบรรจุหลักไม่ทำ� งานหรือ เขม็ แทงชนวนท่เี ครอ่ื งปิดท้ายล�ำกล้องหกั ช�ำรดุ เมื่อปรากฏว่าลูกระเบดิ ยงิ ด้านในลำ� กล้อง จะตอ้ งคอยอยา่ งนอ้ ย 30 วนิ าที หา้ มมใิ หช้ ะโงกไปมองดใู นลำ� กลอ้ งซง่ึ อาจจะไดร้ บั อนั ตราย จากการลั่นออกมาของลูกระเบิดยิง กรณีลูกระเบิดยิงด้านในล�ำกล้อง ให้เทลูกระเบิดยิง ออกจากลำ� กล้องด้วยการคลายด้ามกระบอกเกลียวปลอกรัดล�ำกล้องออก พอให้ปลอกรัด ล�ำกล้องหลวม แล้วหมุนล�ำกล้องให้เดือยท้ายล�ำกล้องพ้นจากการขัดกับช่องรับเดือยท้าย

ล�ำกล้อง แล้วยกท้ายล�ำกล้องขน้ั สดุ ท้าย ลูกระเบิดจะเล่อื นออกมา และคอยให้มือรอรับไว้ เหล่าทหารราบ 39 นำ� ลวดสลกั นริ ภยั สวมเขา้ ตำ� แหนง่ เดมิ ทช่ี นวนหวั นำ� ลกู ระเบดิ ยงิ ด้านแยกไวเ้ พอื่ หาสาเหตุ การด้าน จดั เครือ่ งยงิ เข้าท่ี แล้วให้ลกู ระเบิดยิงนัดใหม่ทำ� การยงิ ต่อไป 2. ด้านนอก หมายถึง เม่ือท�ำการยิงลูกระเบิดยิงออกไปแล้วกระทบที่หมาย ไม่มีการระเบดิ ข้นึ ลักษณะเช่นน้เี กดิ จากการไม่ท�ำงานของชนวนหัวลกู ระเบดิ ยงิ การด้าน ของลูกระเบิดยิงในลักษณะนี้มีอันตรายมาก เน่ืองจากชนวนหัวลูกระเบิดยิงพร้อมที่จะ ท�ำงานได้ทกุ ขณะ เม่อื ตรวจพบลูกระเบิดยงิ ด้านในลกั ษณะนห้ี ้ามแตะต้องตัวลกู ระเบดิ ยิง ให้ท�ำเคร่อื งหมายไว้ด้วยธงหรอื หลักทาสีขาวไว้ แล้วรายงานให้เจ้าหน้าท่ี สพ. ไปท�ำลาย ต่อไป เครอื่ งเลง็ 1. กล่าวทั่วไป เคร่ืองเลง็ ท่ใี ช้กับ ค.93 ขนาด 81 มม. แบบเอ็ม 1 มีใช้อยู่ 3 แบบ คอื กล้องเล็ง แบบ เอ็ม 4 (M4) กล้องเลง็ แบบ บ.34 ป.2 (M 34 A 2) และกล้องเล็งแบบ เอ็ม.53 - กล้องเลง็ แบบ บ.4 (M.4) เป็นกล้องเลง็ ซง่ึ ได้ประจ�ำกบั ค.88 ขนาด 60 มม. และ ค.93 ขนาด 81 มม. แบบ เอม็ .1 กล้องเลง็ แบบ บ.4 นใ้ี ช้มาตราทางทิศเป็นมลิ เลียม ใช้มาตราทางสูงเป็นองศา มคี วามสะดวกและง่ายในการใช้ ดงั ทน่ี ักศกึ ษาได้ทราบมาแล้ว จากการศกึ ษาวิชา ค.88 ขนาด 60 มม. - กล้องเลง็ แบบ บ.34 ป.2 (M.34 A.2) ที่นำ� มาได้กบั ค.93 ขนาด 81 มม. เป็น กล้องเล็งทใ่ี ช้กับ ปรส.94 ขนาด 75 มม. สำ� หรบั การเลง็ จ�ำลอง และได้กับ ค.95 ขนาด 4.2 นว้ิ เป็นกล้องเลง็ มาตรฐาน มีความละเอียดแน่นอนมากกว่ากล้องเลง็ แบบ บ.4 ใช้มาตรา ทางทศิ และมาตราทางสงู เปน็ มลิ เลยี ม กลอ้ งเลง็ แบบ บ.34 ป.2 ประกอบดว้ ยชน้ิ สว่ นส�ำคญั 3 ชิน้ ส่วน คอื กล้องส่องรูปข้อศอก, แท่นกล้องส่อง และก้านต่อแท่นกล้องส่อง 1. กลอ้ งสอ่ งรปู ขอ้ ศอก กลอ้ งสอ่ งนมี้ กี ำ� ลงั ขยาย 3 เทา่ ตดิ ตงั้ อยบู่ นกา้ นตอ่ แท่นรับ กล้องส่องแว่นแก้ว กล้องส่องน้ีมีเส้นสีด�ำตัดกันเป็นกากบาททั้งทางดิ่งและ

40 เหลา่ ทหารราบ ทางขวางตรงศนู ยก์ ลางของแวน่ แกว้ เสน้ ทางดงิ่ ใชส้ ำ� หรบั เลง็ เครอื่ งยงิ ในทศิ ทาง ควงเกลยี ว เสื้อตัวบน เป็นควงยึดกล้องส่องให้อยู่กับท่ี เม่ือคลายควงเกลียวผีเส้ือตัวนี้แล้ว กล้อง ส่องสามารถจะหมุนลงมาในทางพื้นราบ, ท้ังทางฉากกับแนวเส้นเล็ง การหมุนของกล้อง ส่องลงมาให้อยู่ในต�ำแหน่งทางราบก็เพ่ือป้องกันนํ้าท่ีหยดเข้าไปในกล้องส่องและบังภาพ การเห็นเสีย ขณะท่ีได้อยู่ในสภาพอากาศฝนตกหรือมีละอองนํ้า ควงเกลียวผีเส้ือตัวล่าง เป็นควงเกลียวท่ีเปิดโอกาสให้กล่องส่องมีการยกขึ้นหรือลงได้เพ่ือปรับภาพการเห็น ครบี รอ่ งแบนทอ่ี ยตู่ อนสว่ นแบนของกลอ้ งสอ่ งรปู ขา้ ศกึ เปน็ ทส่ี ำ� หรบั ยดึ ครอบควงโคมสำ� หรบั ส่องกล้องได้ในโอกาสการยงิ เวลากลางคืน 2. แท่นกล้องส่อง แท่นกล้องส่องน้ีประกอบด้วยเคร่ืองให้มุมทางสูงและ ก้านสวม แท่นกล้องควงสูงและมาตราส่วนย่อยของควงสูง, มาตรามุมสูงส่วนใหญ่และ ดรรชนีชี้ และหลอดระดับมุมสูงเป็นเคร่ืองที่ท�ำให้เกิดมุมทางสูง มาตราสูงส่วนใหญ่แบ่ง ขดี มาตราออกเปน็ ชอ่ งละ 100 มลิ เลยี ม, มตี วั เลขเขยี นกำ� กบั ไวใ้ นระหวา่ งชอ่ ง 200 มลิ เลยี ม ตงั้ ต้นจากลบ 200 ถึงบวก 1,600 มิลเลียม มาตราสูงส่วนย่อยได้แบ่งขีดมาตราไว้จากเลข 0 ถึงเลข 100 ของคร่ึงวงกลมของควงมุมสูงต่อเนื่องกัน ในคร่ึงวงกลมของควงมุมสูงมี ขีดมาตรา 50 ขีด ซงึ่ มีคุณค่าขดี ละ 2 มิลเลยี ม ดังน้นั เมือ่ หมุนควงมมุ สงู ครบ 1 รอบ ก็ ท�ำให้อ่านมาตรามมุ สงู ได้ 200 มลิ เลยี ม หลอดระดบั มมุ สงู สร้างติดไว้กับส่วนใหญ่ของตวั กล้องเล็งแหนบกลอนยดึ กล้องเลง็ ทอี่ ยู่บนด้านสวมแท่นกล้องทำ� หน้าที่ยดึ กล้องเล็งให้ติด อยู่กบั แท่นกล้องทต่ี วั เคร่ืองยงิ 3. ก้านต่อแท่นกล้องส่อง ประกอบด้วยเคร่ืองให้มุมทิศ, หลอดระดับทาง ข้างศูนย์เปิด และสาแหรกรัดกล้องส่อง เคร่ืองให้มุมทิศน้ีท�ำขึ้นโดยมีแผ่นมาตรามุมทิศ ส่วนใหญ่ทเ่ี คล่ือนทไ่ี ม่ได้พร้อมกบั ส่วนยดึ แผ่นมาตราและควงเกลียวผเี สอ้ื , และดรรชนชี ี้ที่ ตดิ อยกู่ บั ท,ี่ มาตรามมุ ทศิ ส่วนใหญแ่ บ่งขดี ออกเป็น 64 ขดี โดยมชี ่องว่างระหว่างขดี มาตรา ช่องละ 100 มลิ เลียม ทกุ ๆ 4 ขีด จะมีตวั เลขเขียนไว้จาก 28 ถึง 0 ไปทางซ้ายและจาก 0 ถึง 28 ไปทางขวา, มาตรามมุ ทิศส่วนย่อยแบ่งขีดออกเป็น 10 ขดี ขีดละ 1 มลิ เลยี ม และ เขยี นตวั เลขก�ำกับไว้ทกุ ๆ 10 มิลเลียม จาก 0 ไปถงึ 90 กลอนปลดกล้องส่องแสงท�ำไว้ ให้ใช้ในโอกาสท่ีจะให้กล้องส่องหมุนเป็นอิสระได้รวดเร็ว ในเม่ือต้องการตั้งเปล่ียนมุมทิศ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook