ข. ขน้ั ตอนในการต้งั ปืนตรงทศิ มีดงั น้ี เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 91 1) หามุมภาคจาก ศก.ร้อย. หรือ ศก.หมวด ไปยังท่ีหมายเล็งไกลท่ีเลือก (อาจวดั จากแผนท่ี หรอื ใช้เข็มทศิ วัด) 2) หามมุ ภาคทศิ ทางยงิ ดว้ ยการวดั จากแผนทรี่ ะหว่างพกิ ดั ทตี่ ง้ั ยงิ และพกิ ดั ของเป้าหมายทก่ี รุยไว้ 3) ค�ำนวณหามุมทิศส่ังปืน โดยเอามุมภาคไปยังที่หมายเล็งไกล ลบด้วย มุมภาค ทศิ ทางยงิ (บวก 6,400 เม่อื จ�ำเป็น) 4) ออกค�ำสั่งให้กองร้อยต้ังปืนตรงทิศโดยสั่งว่า “กองร้อยต่อท่ีหมายเล็ง... (ลักษณะทต่ี ง้ั )...มุมทศิ ...(ก่มี ลิ .)...” (พลเลง็ ของปนื แตล่ ะหมู่ ตงั้ คา่ มมุ ทศิ ทกี่ ลอ้ งและจดั ภาพการเลง็ ทถี่ กู ตอ้ ง โดยใหเ้ สน้ เลง็ ไปทบั ทห่ี มายเลง็ ไกลทก่ี ำ� หนด และรายงานวา่ “หม.ู่ ..(เทา่ ใด)...ตอ่ ทห่ี มายเลง็ (ลกั ษณะ, ทต่ี ้ัง),....มุมทศิ ...(ก่มี ลิ .)...” 5) เม่อื ทกุ หมู่รายงานแล้ว คำ� ส่ังทจ่ี ะได้รับต่อไปคอื “กองร้อยเสร็จ” หมายเหตุ : ปกตใิ นระหวา่ งทำ� การยงิ ในภารกจิ ยงิ ฉกุ เฉนิ รอง ผบ.รอ้ ย. หรอื นอย. จะประกาศคำ� สงั่ ยงิ เรม่ิ แรกใหก้ บั ปนื หมทู่ ปี่ รบั การยงิ (สว่ นบรรจแุ ละมมุ ยงิ ) สว่ นคำ� สง่ั ยงิ ขั้นต่อไป จะหาและประกาศโดยเจ้าหน้าท่ี ศอย. ค. การตงั้ ปนื ตรงทศิ ดว้ ยวธิ นี ม้ี ที งั้ ขอ้ ดแี ละขอ้ เสยี ซง่ึ จะตอ้ งนำ� มาพจิ ารณากอ่ น การใช้ 1) ขอ้ ดี ก) เป็นวิธกี ารต้งั ปืนตรงทศิ ทใี่ ห้ความรวดเรว็ มาก ใช้เมอ่ื ต้องเข้าประจำ� ทต่ี งั้ อยา่ งทนั ทที นั ใด และตอ้ งการทจี่ ะออกคำ� สงั่ เพยี งครง้ั เดยี วเทา่ นน้ั ทจี่ ะใหป้ นื ทงั้ กองรอ้ ย ตงั้ ปืนตรงทศิ พร้อมกนั ข) ใช้เวลาเตรยี มการในทต่ี ้งั น้อยกว่า ค) สามารถใช้ท่หี มายเล็งไกลเป็นจดุ อ้างในการตง้ั ปืนตรงทศิ 2) ขอ้ เสีย ก) ต้องมีที่หมายเลง็ ไกล
92 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ ข) แนวเสน้ เลง็ จากหมปู่ นื ไปยงั ทห่ี มายเลง็ ไกล อาจถกู กำ� บงั การเหน็ จาก ควัน, หมอก, ความมดื และส่งิ อื่น ๆ ได้ ค) แนวล�ำกล้องของปืนทุก ๆ กระบอก จะไม่ขนานกัน เมื่อใช้มุมทิศ เดียวกันในการตั้งปืนตรงทิศ เว้นแต่เม่ือท่ีหมายเล็งไกลอยู่ทางปีกซ้ายหรือปีกขวาของที่ ตั้งยงิ ถ้าทหี่ มายเลง็ ไกลอยู่ทางด้านหน้าของท่ตี ั้ง กรวยของปืนจะเป็นกรวยปิด แต่ถ้าอยู่ ทางด้านหลงั ของทต่ี ้งั กรวยของปืนจะเป็นกรวยเปิด ตวั อย่าง : รอง ผบ.ร้อย. ได้รับภารกิจยงิ ฉกุ เฉินในขณะท่อี ยู่บนเส้นทางเพ่ือนำ� ขบวนเดนิ ของกองรอ้ ยไปเขา้ ทต่ี ง้ั แหง่ ใหม่ จงึ ตดั สนิ ใจทจี่ ะนำ� กำ� ลงั เขา้ ทต่ี งั้ ยงิ ขา้ งทาง โดยให้ สญั ญาณแกข่ บวนเดนิ แลว้ กรยุ พกิ ดั ทต่ี งั้ ยงิ และเปา้ หมายลงบนแผนทหี่ ามมุ ภาคทศิ ทางยงิ และหลกั ฐานยงิ เรม่ิ แรก เมอ่ื ทกุ สว่ นเขา้ ทต่ี งั้ เรยี บรอ้ ยแลว้ รอง ผบ.รอ้ ย. ตดั สนิ ใจเลอื กเอาถงั ส่งน้ําประปาซึ่งอยู่ทางปีกด้านซ้ายของที่ตั้งยิง ระยะห่างประมาณ 4 กม. ซึ่งปรากฏบน แผนที่เป็นที่หมายเล็งไกลและวัดมุมภาคจากที่ต้ังยิงไปยังถังส่งน้ําประปาน้ัน ขณะที่ รอง ผบ.ร้อย. มาถงึ ทตี่ งั้ และใช้รถของตนช่วยในการช้ที ิศทางยิงโดยประมาณให้กับปืน เม่ือปืน เข้าประจ�ำท่ตี ้งั เรียบร้อยแล้ว รอง ผบ.ร้อย. ค�ำนวณหามมุ ทิศสง่ั ปืนได้ดังต่อไปนี้ มมุ ภาคไปยงั ทีห่ มายเล็งไกล 4,925 มิล. มุมภาคทศิ ทางยงิ - 0150 มลิ . มุมทิศไปยงั ที่หมายเลง็ ไกล 4,775 มลิ . หมายเหตุ : สำ� หรับกล้องพาโนรามคิ แบบ M12 ต้งั ค่ามุมทศิ ได้ไม่เกิน 3,200 มลิ . ดงั นน้ั ค่ามมุ ทิศสง่ั ปืน คอื (4,775 - 3,200 = 1,575 มิล.) เม่ือปืนทกุ กระบอกเข้าท่ตี ้งั ยงิ เรียบร้อยแล้ว และค่ามมุ ทศิ ส่ังปืนหาได้แล้ว รอง ผบ.รอ้ ย. จงึ เดนิ ออกไปยนื ดา้ นหนา้ ของปนื หมตู่ า่ ง ๆ แลว้ ออกคำ� สง่ั วา่ “กองรอ้ ยตอ่ ทห่ี มายเลง็ ถังส่งนํ้าประปา, ทางปีกซ้าย มุมทิศ 4,775” พลเล็งของปืนหมู่ต่าง ๆ ต้ังค่ามุมทิศ จดั ภาพการเลง็ ให้ถกู ต้อง โดยให้เส้นเลง็ ทบั ทห่ี มายเลง็ ไกลแล้วรายงานว่า “หมู่...(เท่าใด)... ต่อทีห่ มายเลง็ ไกล, ถงั ส่งนา้ํ ประปาทางปีกซ้าย มมุ ทศิ 4,775” เมื่อปืนทุกหมู่รายงานเสรจ็ เรยี บร้อยแล้ว รอง ผบ.ร้อย. ออกคำ� สงั่ ว่า “กองร้อย เสรจ็ ” รอง ผบ.ร้อย. จะสงั่ ส่วนบรรจุ และมมุ ยงิ ใหแ้ ก่ปืนหมทู่ จี่ ะปรบั การยงิ เพอ่ื ใช้ยงิ ในนดั แรก คำ� สง่ั ยงิ ขนั้ ตอ่ ไปเปน็ หนา้ ทข่ี อง เจ้าหน้าท่ี ศอย. จะเป็นผู้หาและประกาศ
7. การตัง้ ปืนตรงทศิ ดว้ ยวิธหี มายเล็งแนวล�ำ กลอ้ งปนื เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 93 ก. ปกติการตั้งปืนตรงทิศด้วยวิธีหมายแนวล�ำกล้องปืนจะใช้ส�ำหรับภารกิจ ยิงฉุกเฉิน จะใช้เมื่อการต้ังปืนตรงทิศด้วยวิธีมุมภาคตาราง และวิธีท่ีหมายเล็งและมุมทิศ ไม่สามารถจะนำ� มาใช้ได้ อปุ กรณ์ท่จี ำ� เป็นสำ� หรบั การต้งั ปืนตรงทิศ วิธนี ีค้ วรมเี ขม็ ทิศ M2 และกล้องกองร้อย ข. ข้นั ตอนในการต้งั ปืนตรงทศิ มดี งั น้ี 1) หามมุ ภาคทศิ ทางยงิ โดยการวดั จากแผนท่ี หลงั จากทกี่ รยุ เปา้ หมายและทต่ี งั้ ยิงไว้แล้ว 2) หมายแนวมมุ ภาคทิศทางยงิ ด้วยหลัก (หมุด) และแถบผ้า (เทป) 3) ต้องแน่ใจว่า ล�ำกล้องของปืนหมู่ท่ีท�ำการปรับการยิงจะช้ีขนานส�ำหรับ (ป. อัตตาจร) หรือทบั (ป. ลากจงู ) กบั แนวมมุ ภาคทิศทางยงิ และลำ� กล้องของปืนหมู่อ่ืน ๆ ก็จะช้ีไปตามแนวมุมภาคทิศทางยิงด้วย และต้องแน่ใจว่าได้ตั้งกล้องกองร้อยไว้ข้างหลัง ทางซ้ายของท่ตี งั้ ยิงแล้ว 4) ศอย. จะประกาศหลกั ฐานยงิ ใหแ้ กป่ นื หมทู่ ปี่ รบั การยงิ และทำ� การยงิ ในนดั แรก 5) เจา้ หนา้ ทปี่ ระจำ� กลอ้ งกองรอ้ ย ออกคำ� สง่ั วา่ “หม.ู่ ..(ทป่ี รบั การยงิ )...ตอ่ กลอ้ ง กองรอ้ ย, จำ� ลองทศิ ” 6) พลเลง็ ของปนื ทจี่ ะปรบั การยงิ รายงานวา่ “หม.ู่ ..(ทปี่ รบั การยงิ )...ตอ่ กลอ้ ง กองร้อย, มมุ ทศิ ...(กี่มลิ .)...” 7) เจา้ หน้าทปี่ ระจ�ำกล้องกองรอ้ ยตง้ั คา่ มมุ ทศิ ทก่ี ล้องกองร้อยด้วยควงจาน ทศิ บน แลว้ ใชค้ วงจานทศิ ลา่ งหมนุ กลอ้ งไปโดยใหเ้ สน้ เลง็ ไปทาบทก่ี ลอ้ งเลง็ ของปนื หมทู่ ป่ี รบั การยิง ต่อจากน้นั เจ้าหน้าทป่ี ระจำ� กล้องกองร้อยจะใช้ควงจานทศิ บน ต้งั ปืนตรงทิศให้กบั ปืนหมู่ต่าง ๆ ทเ่ี หลือ โดยออกค�ำสง่ั ว่า “กองร้อยต่อกล้องกองร้อย” หมายเหตุ : โดยปกตกิ ารตง้ั ปืนตรงทศิ ให้แก่ปืนหมู่ต่าง ๆ จะอ่านค่ามุมทิศให้ เพียงมมุ ทศิ เดยี วเท่าน้นั 8) วางการตดิ ต่อสอ่ื สารภายในกองร้อย
94 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ 9) ก�ำลังส่วนท่ีเหลือของกองร้อยและยานพาหนะ จะวางก�ำลังไว้เป็นส่วน ระวังป้องกนั โดยรอบของด้านหลงั แนวยุทโธปกรณ์ออกไป ค. การตงั้ ปนื ตรงทศิ ดว้ ยวธิ นี ้ี มที ง้ั ขอ้ ดแี ละขอ้ เสยี กอ่ นการใชค้ วรตอ้ งพจิ ารณา 1) ขอ้ ดี ก) ปืนทป่ี รบั การยงิ สามารถท�ำการยิงได้อย่างทนั ทที ันใด ข) ความต้องการในการจดั เตรียมทตี่ ั้งมนี ้อยมาก 2) ข้อเสีย ก) การดำ� เนนิ กรรมวธิ ใี นการตงั้ ปนื ตรงทศิ จะทำ� ไดไ้ มเ่ รว็ ไปกวา่ วธิ อี น่ื ๆ ข) หมปู่ นื ทตี่ อ้ งปรบั การยงิ ถา้ ไดป้ รบั เสน้ เลง็ ไวโ้ ดยมคี วามคลาดเคลอื่ น จะส่งผลกระทบกบั ปืนหมู่ท่ีเหลอื ในการต้ังปืนตรงทศิ ตวั อย่าง : รอง ผบ.ร้อย. ได้รบั ภารกจิ ยงิ ฉกุ เฉินในระหว่างเคล่ือนย้ายไปตาม เส้นทาง เพ่ือไปเข้าทต่ี ้งั ยิงแห่งใหม่ รอง ผบ.ร้อย. ส่งสัญญาณให้ขบวนเดินรับทราบแล้ว เจ้าหน้าท่ี ศอย. หามุมภาคทศิ ทางยิงและหลกั ฐานยิงเริม่ แรกแจ้งให้ รอง ผบ.ร้อย. ทราบ ในการเข้าประจำ� ที่ตงั้ รอง ผบ.ร้อย. จะใช้รถของตนเป็นเคร่อื งช่วยในการชที้ ศิ ทางยงิ โดย ประมาณให้กับหมู่ปืน แล้วท�ำการหมายแนวทิศทางยิงให้กับหมู่ปืนที่ต้องปรับการยิงก่อน โดยใชแ้ ถบผา้ ซง่ึ มคี วามยาวเทา่ กบั ตวั ปนื ปกั หลกั ไมอ้ นั แรกในทศิ ทางทค่ี าดวา่ ลำ� กลอ้ งปนื จะชไ้ี ป เอาแถบผา้ ผกู ตดิ กบั หลกั แลว้ ลากปลายแถบผา้ อกี ขา้ งหนงึ่ ไปในทศิ ทางตรงขา้ มกบั ทศิ ทางยงิ วางเขม็ ทศิ M2 ลงบนปลายแถบผ้าด้านนี้ ย้ายปลายแถบผ้าไปทางซ้ายหรอื ขวา จนกระทงั่ แถบผา้ อย่ใู นแนวทศิ ทางมมุ ภาคทศิ ทางยงิ ทตี่ อ้ งการและปักหลกั ยดึ ทปี่ ลายแถบ ผ้าด้านน้ไี ว้ ขณะท่ี รอง ผบ.ร้อย. ก�ำลังบทหมายแนวมมุ ภาคอยู่ การปฏบิ ัติของส่วนอนื่ ๆ ก็จะด�ำเนินไปพร้อม ๆ กัน โดยนายสิบหัวหน้าส่วนยิงนำ� กล้องกองร้อยไปยังปีกด้านซ้าย ของทต่ี ้งั ยงิ ต้องแน่ใจว่าการตง้ั กล้องจะต้องห่างไปทางด้านหลังซ้ายของปืนอย่างพอเพยี ง โดยให้พ้นจากท่ตี ้ังของปืนท่อี ยู่ทางปีกซ้ายสุด แล้วต้งั กล้องกองร้อยและให้ระดับเตรยี มรับ คา่ มมุ ทศิ ทจ่ี ำ� ลองทศิ จากหมปู่ นื ทต่ี อ้ งปรบั การยงิ เจา้ หนา้ ทคี่ ำ� นวณนำ� รถ ศอย. เขา้ ไปจอด โดยหนั หนา้ รถไปตามทศิ ทางยงิ ของปืน ให้ห่างพอทจ่ี ะมองเหน็ ความพรอ้ มของหมปู่ นื และ สะดวกทจ่ี ะใช้เสยี งในการออกค�ำส่งั ยิงด้วย
- ผู้บังคับหมู่ปืนน�ำรถปืนของตนเข้ามายังที่ตั้งและลงจากรถ รอง ผบ.ร้อย. เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 95 น�ำปืนท่ีต้องท�ำการปรับการยิงเข้าที่ต้ังไปตามแนวของแถบผ้าปูหมายทิศทางยิงไว้อย่าง รวดเรว็ สำ� หรบั ป. อตั ตาจรจดั ใหส้ ายพานของรถทาบไปตามแนวของแถบผา้ สว่ น ป. ลากจงู จัดให้ลำ� กล้องปืนอยู่เหนอื แนวแถบผ้าพอดี - ปนื หมทู่ ต่ี อ้ งทำ� การปรบั การยงิ ตง้ั ปนื ตรงทศิ ไปยงั เปา้ หมายโดยไมช่ กั ชา้ ศอย. หาหลกั ฐานยงิ (สว่ นบรรจแุ ละมมุ ยงิ ) ให้ รอง ผบ.รอ้ ย. เพอื่ สง่ คำ� สง่ั ยงิ เรม่ิ แรกใหป้ นื หมทู่ ี่ ปรบั การยงิ และทำ� การยงิ กระสนุ นดั แรกออกไปพลเลง็ ของปนื ทำ� การปกั หลกั เลง็ ใหแ้ กป่ นื - ขณะท่ีปืนหมู่ปรับการยิงเตรียมท�ำการยิงกระสุนนัดแรก ปืนหมู่ที่อ่ืน ๆ ท่ี เหลอื จะเตรยี มการสำ� หรบั การตง้ั ปนื ตรงทศิ โดยมขี อ้ พจิ ารณาในการตงั้ ปนื ตรงทศิ ซงึ่ ผบู้ งั คบั หมู่ปืนแต่ละหมู่จะต้องให้พลเลง็ ประจ�ำหมู่ของตนมองเหน็ กล้องกองร้อย และปืนหมู่อื่น ๆ จะต้องไม่บงั เส้นเล็งของตนด้วย - ในทนั ทที ปี่ ืนหมู่ปรบั การยงิ ทำ� การยงิ กระสนุ นดั แรกไปแล้ว นายสบิ หวั หน้า ส่วนยงิ จะออกคำ� สงั่ ว่า “หมู่...(ท่ปี รบั การยิง)...ต่อกล้องกองร้อย, จ�ำลองทิศ” - พลเลง็ ของปืนหม่ทู ป่ี รบั การยงิ หมนุ กลอ้ งเลง็ ของปืนไปเลง็ ยงั กล้องกองรอ้ ย แลว้ ขานมมุ ทศิ ทจ่ี ำ� ลองทศิ ไปใหน้ ายสบิ หวั หนา้ สว่ นยงิ อาจสง่ คา่ มมุ ทศิ นโ้ี ดยพลน�ำสารกไ็ ด้ - นายสบิ หวั หนา้ สว่ นยงิ ตงั้ คา่ มมุ ทศิ นท้ี กี่ ลอ้ งกองรอ้ ยดว้ ยควงจานทศิ บนแลว้ ใชค้ วงจานทศิ ลา่ งหมนุ กลอ้ งไปเลง็ ยงั กลอ้ งเลง็ ของปนื ทปี่ รบั การยงิ ขณะนน้ี ายสบิ หวั หนา้ ส่วนยิงกพ็ ร้อมทีจ่ ะตั้งปืนตรงทศิ ให้กบั ปืนหมู่อืน่ ๆ ที่เหลอื ได้ - พลเล็งของปืนแต่ละหมู่ขานรับค่ามุมทิศจากกล้องกองร้อยน�ำค่ามุมทิศไป ต้ังที่กล้องเลง็ ของปืน จัดภาพการเล็งให้ถกู ต้องโดยให้เส้นเลง็ ไปทบั ท่กี ล้องกองร้อยขณะน้ี ปืนได้ตั้งตรงทิศทางยิงแล้ว ปกติแล้วจะไม่ต้องท�ำการเล็งสอบโดยต้องค�ำนึงถึงเวลาท่ีจะ สูญเสียไป ถ้าได้ก�ำหนดท่ตี ้งั เป้าหมายเริ่มแรกไว้ดแี ล้ว และ รอง ผบ.ร้อย. ปูผ้าหมายแนว มุมภาคทศิ ทางยงิ ไว้อย่างถูกต้อง การยงิ ในชดุ ทส่ี องควรจะท�ำการยงิ หาผลได้ - เมอ่ื ปืนแต่ละหมู่ต้งั ตรงทศิ แล้ว ก็จะปักหลักเล็งให้แก่ปืน - นายสบิ หวั หนา้ สว่ นยงิ จะยงั คงตง้ั กลอ้ งกองรอ้ ยไวใ้ นระหวา่ งทกี่ ำ� ลงั ดำ� เนนิ ภารกิจยิงอยู่ ทั้งน้ีเพื่อให้หมู่ปืนบางหมู่ที่มีความต้องการในการตั้งปืนตรงทิศใหม่ หรือ ต้องการหาความถกู ต้องในการต้งั ปืนตรงทิศ
96 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ - รอง ผบ.รอ้ ย. ควรตรวจสอบแนวทศิ ทางยงิ ของลำ� กลอ้ งปนื ทกุ กระบอก ดว้ ย สายตา เพอ่ื ให้แน่ใจว่าจะไม่เกดิ ข้อผดิ พลาดในการตั้งปืนตรงทิศอย่างเห็นได้ชัด 8. การเล็งขนานคู่ ก. ดังได้กล่าวไว้แล้วว่า การเล็งขนานคู่หมายถึงการท�ำให้เส้น 0 - 3,200 ของ กล้อง ตั้งแต่ 2 กล้องข้นึ ไปขนานกัน น่นั คอื ถ้าเส้น 0 - 3,200 ของกล้องปืนขนานกบั เส้น 0 - 3,200 ของกลอ้ งกองรอ้ ย ซงึ่ ตงั้ ตรงไปยงั ทศิ ทางยงิ แลว้ ลำ� กลอ้ งปนื กจ็ ะตรงไปยงั ทศิ ทาง ยงิ ทีต่ ้องการด้วย ข. การเล็งขนานคู่ มวี ธิ ดี �ำเนนิ การดงั น้ี (สมมตวิ ่าเป็น ป. หมู่ 3) 1) เจ้าหน้าทป่ี ระจ�ำกล้องกองร้อย สัง่ “กองร้อยต่อกล้องกองร้อย” 2) พลเลง็ รบั ทราบ “หมู่ 3 ต่อกล้องกองร้อย, ทราบแล้ว” 3) เจ้าหน้าที่ประจ�ำกล้องกองร้อย ใช้ควงจานทิศบนหมุนกล้องกองร้อยไป เลง็ ยังแว่นกระจกหน้ากล้องเลง็ ของ ป. หมู่ 3 แล้วขานมมุ ทศิ ท่อี ่านได้ให้ ป. หมู่ 3 “หมู่ 3 มมุ ทิศ 2,614” 4) พลเลง็ ขานรบั “หมู่ 3 มมุ ทศิ 2,614” ตงั้ คา่ มมุ ทศิ นนั้ บนกลอ้ งเลง็ ของปนื ให้สัญญาณการย้ายท้ายรางปืน (ถ้าจำ� เป็น) และส่ายปืนไปจนเส้นเลง็ ของกล้องเล็งทาบที่ กล้องกองร้อย 5) พลเลง็ ขานว่า “หมู่ 3 พร้อมเล็งสอบ” 6) เจา้ หนา้ ทป่ี ระจำ� กลอ้ งกองรอ้ ย หมนุ กลอ้ งกองรอ้ ยไปเลง็ ณ แวน่ กระจกหนา้ กล้องเลง็ ของ ป. หมู่ 3 อกี แล้วอ่านค่ามมุ ทิศให้ “หมู่ 3 มมุ ทศิ 2,612” 7) พลเล็งขานรับ “หมู่ 3 มุมทิศ 2,612, 2 มิล.” แล้วตั้งค่ามุมทิศใหม่น้ี บนกล้องเลง็ ของปืน และส่ายปืนไปเล็งยังกล้องกองร้อยอีกครั้ง 8) พลเลง็ ขานว่า “หมู่ 3 พร้อมเล็งสอบ” 9) เจา้ หนา้ ทป่ี ระจำ� กลอ้ งกองรอ้ ย หมนุ กลอ้ งกองรอ้ ยไปเลง็ ณ แวน่ กระจกหนา้ กล้องเลง็ ของ ป. หมู่ 3 อกี แล้วอ่านมุมทศิ ให้ “หมู่ 3 มมุ ทศิ 2,612”
10) พลเลง็ ขานรบั “หมู่ 3 มมุ ทศิ 2,612, 0 มลิ .” เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 97 11) เจา้ หนา้ ทป่ี ระจำ� กลอ้ งกองรอ้ ยสงั่ “หมู่ 3 เสรจ็ ทหี่ มายเลง็ หลกั เลง็ มมุ ทศิ 2,800 จำ� ลองทศิ ” 12) พลเลง็ ขานรบั “หมู่ 3 เสรจ็ ทห่ี มายเลง็ หลกั เลง็ มมุ ทศิ 2,800 จ�ำลองทศิ ” แล้ว ป. หมู่ 3 ดำ� เนินการปักหลกั เลง็ เพ่อื ใช้เป็นทีห่ มายเลง็ ต่อไป ค. ในการตง้ั ปืนตรงทิศของปืนท้งั กองร้อย เจ้าหน้าที่ประจำ� กล้องกองร้อยอาจ จะอ่านค่ามมุ ทิศเรม่ิ แรกให้กบั ปืนทกุ หมู่ตามล�ำดบั ไปก่อน เพือ่ ให้ทุกหมู่มีเวลาในการย้าย ท้ายรางปืนถ้าจำ� เป็นและขดุ หลุมฝังพลั่ว เมอ่ื ค่ามมุ ทศิ ที่ขานให้แตกต่างกันไม่เกิน 10 มลิ . แล้ว ควรจะท�ำการเลง็ ขนานคู่ให้เสรจ็ ไปเป็นหมู่ ๆ จะท�ำให้เกิดความรวดเร็วกว่า 9. การปกั หลักเลง็ ก. ในระหว่างการเข้าประจ�ำท่ีตั้งอย่างมีเวลาและเร่งด่วน หลังจากที่กองร้อย ต้ังปืนตรงทศิ แล้ว พลประจำ� ปืนอาจใช้ COLLIMATOR และ/หรือปักหลกั เลง็ เอาไว้ก่อนท่ี ล�ำกล้องปืนจะเคลื่อนไป มุมทิศไปยังท่ีหมายเล็งจะบันทึกไว้โดยพลเล็งของปืน แต่ละหมู่ ทิศทางท่ีกองร้อยใช้ในการตั้งปืนตรงทิศเร่ิมแรกจะมีความเปลี่ยนแปลงไปตามสัดส่วนของ ค่ามมุ ทศิ ทใ่ี ช้อ้างอิง ซง่ึ ศอย. เป็นผู้หาค่ามุมทศิ นเี้ พื่อใช้ยงิ เป้าหมายในอนาคตต่อไป ข. การปกั หลกั เลง็ กค็ อื การสรา้ งทหี่ มายเลง็ ขนึ้ เพอ่ื ใชอ้ า้ งในการใหท้ ศิ ทางแก่ ปืน โดยปกตแิ ล้วจะปักหลกั เลง็ 2 หลกั ให้หลกั เลง็ อนั ไกลห่างจากปืนประมาณ 100 เมตร และหลกั เลง็ อนั ใกลอ้ ยรู่ ะหวา่ งปนื กบั หลกั เลง็ อนั ไกล (จะตอ้ งอยกู่ ง่ึ กลางจรงิ ๆ ไมว่ า่ หลกั เลง็ อนั ไกลจะปักไว้ในระยะเท่าใด มฉิ ะนั้นเมอ่ื ปืนเขยื้อนจะท�ำให้ภาพการเล็งผดิ ไป) ค. บางหน่วยอาจจะใช้ COLLIMATOR แทนหลกั เลง็ หากใช้ควรตง้ั ห่างจากปืน ระหว่าง 4 ถงึ 15 เมตร อยู่ทางหลงั ซ้ายหรอื หน้าซ้ายของปืน ง. เมอื่ ตงั้ ปนื ตรงทศิ แลว้ หมปู่ นื จะตอ้ งรบี ปกั หลกั เลง็ ทนั ที โดยตงั้ คา่ มมุ จำ� ลองทศิ ตาม รปจ. ของหนว่ ยทกี่ ลอ้ งเลง็ ของปนื แลว้ ใหส้ ญั ญาณแกพ่ ลประจำ� ปนื เพอ่ื ดำ� เนนิ การปกั ให้ถูกต้อง ในการปักควรปักหลักเล็งอันไกลก่อน แล้วจึงปักหลักเล็งอันใกล้และในการ ปักหลักเล็งจะต้องไม่แตะต้องควงส่ายของปืนโดยเดด็ ขาด
จ. เมื่อได้ปักหลักเล็งแล้ว รอง ผบ.ร้อย. จะต้องก�ำหนดที่หมายเล็งไกลขึ้น หน่ึงหรือสองที่หมายส�ำหรับใช้อ้างหรือทดแทนหลักเล็ง โดยให้ปืนทุกหมู่จ�ำลองทิศไปยัง ทห่ี มายเลง็ ไกลน้ัน ๆ แล้วบนั ทกึ ไว้ และรายงานให้ ศอย. ทราบด้วย คำ� ส่ังให้จ�ำลองทิศ ต่อท่ีหมายเล็งไกล ดังตัวอย่างต่อไปน้ี “กองร้อยต่อท่ีหมายเล็งไกล เสาทีวีบนยอดเขา, ข้างหน้าทางซ้าย, จ�ำลองทิศ” เมอ่ื ทกุ หมู่หมุนกล้องเลง็ ของปืนไปเลง็ ยงั ท่หี มายเลง็ ไกลนนั้ แล้ว อ่านค่ามุมทิศทไ่ี ด้บนั ทกึ ไว้ แล้วรายงานให้ รอง ผบ.ร้อย. ทราบ เช่น “หมู่ 3 ทีห่ มาย เล็งไกล, มุมทศิ 2,970” ฉ. มุมจ�ำลองทิศของ ป. แบบต่าง ๆ ท่ีนิยมใช้กันคือ มุมทิศที่จะก่อให้เกิด ความ คลาดเคล่ือนของเส้นเล็งน้อยที่สุด มองเห็นที่หมายเล็งได้ดี และไม่บังเม่ือส่ายปืน ตลอดเขตส่าย มีดังนี้ 98 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ 1) ปบค. ขนาด 75 มม. 2,400 มิล. 2) ปบค. ขนาด 105 มม. M.101 2,800 มิล. 3) ปบค. ขนาด 105 มม. M.102 3,200 มิล. 4) ปบค. ขนาด 105 มม. M.618 2,800 มิล. 5) ปบค. ขนาด 105 มม. โบฟอร์ส 6,200 มิล. 6) ปกร. ขนาด 130 มม. แบบ 59-1 5,600 มิล. 7) ปกค. ขนาด 155 มม. M.114 2,400 มิล. 8) ปกค. ขนาด 155 มม. M.198 3,200 มิล. 9) ปกค. ขนาด 155 มม. M.109 3,200 มิล. 10) ปนร. ขนาด 155 มม. M.71 2,600 มิล. 11) ปนค. ขนาด 203 มม. M.110 3,200 มิล. 10. การตรวจสอบการตง้ั ปืนตรงทิศ ก. หลังจากที่กองร้อยต้ังปืนตรงทิศแล้ว รอง ผบ.ร้อย. ตรวจสอบการตั้งปืน ตรงทิศ โดยได้กล้องกองร้อยอีกหนึ่งกล้องเป็นกล้องกองร้อยตรวจสอบ การตรวจสอบการ ต้ังปืน ตรงทิศของกองร้อย ท�ำตามขั้นตอนดังต่อไปน้ี
1) รอง ผบ.ร้อย. หรือนายทหารปลอดภัยท่ีได้รับการแต่งต้ังให้เป็นผู้ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 99 ตรวจสอบตง้ั กล้องกองร้อยอกี กล้องหนง่ึ โดยใช้วธิ กี ารเช่นเดยี วกนั กบั การใช้กล้องกองร้อย ในการต้ังปืนตรงทิศการต้ังกล้องกองร้อยตรวจสอบ ควรตั้งให้สามารถมองเห็นปืนทุกหมู่ และอยู่ห่างจากกล้องกองร้อยท่ีใช้ในการต้ังปืนตรงทิศไม่น้อยกว่า 10 เมตร 2) หลังจากท่ีได้วางแนวเส้นเล็งไปยังกล้องกองร้อยท่ีใช้ในการต้ังปืนตรง ทิศแล้ว เจ้าหน้าท่ีกล้องกองร้อยตรวจสอบ ออกคำ� สั่งว่า “กล้องกองร้อย ต่อกล้องกองร้อย ตรวจสอบ, จ�ำลองทิศ” เจ้าหน้าที่กล้องกองร้อยในการต้ังปืนตรงทิศหมุนกล้องของตน ไปเล็งยังกล้องกองร้อยตรวจสอบด้วยควงจานทิศบน แล้วอ่านค่ามุมทิศ หมายเหตุ : เมื่อใช้กล้องกองร้อยกล้องหน่ึงเล็งขนานคู่กับกล้องกองร้อยอีก กล้องหน่ึง การอ่านค่ามุมของทั้งสองกล้องจะมีค่าแตกต่างกัน 3,200 มิล. เน่ืองจากว่า ค่ามุมที่วัดเป็นมุมทางระดับวัดเวียนตามเข็มนาฬิกาจากทิศทางยิง เพ่ือป้องกันการ สับสนควรจ�ำไว้ว่าเม่ือใช้มาตราสีแดง ให้อ่านเลขตัวแดง 3) หากค่ามุมทิศของกล้องกองร้อยในการต้ังปืนตรงทิศและกล้องกองร้อย ตรวจสอบ อยู่ในห้วงความคลาดเคล่ือนท่ียอมให้ตามท่ีก�ำหนดไว้ใน รปจ. เจ้าหน้าท่ีกล้อง กองร้อยตรวจสอบตั้งค่ามุมทิศที่อ่านจากกล้องกองร้อยในการต้ังปืนตรงทิศด้วยควงจาน ทิศบน แล้วใช้ควงจานทิศล่างหมุนกล้องไปเล็งยังกล้องกองร้อยท่ีใช้ในการต้ังปืนตรงทิศ เป็นการท�ำให้เส้น 0 - 3,200 ของกล้องกองร้อยท้ังสองขนานกัน 4) เจ้าหน้าท่ีกล้องกองร้อยตรวจสอบออกค�ำสั่งว่า “กองร้อยต่อกล้อง กองรอ้ ย, จำ� ลองทศิ ” พลเลง็ ของปนื ทกุ หมจู่ �ำลองทศิ และประกาศขานคา่ มมุ ทศิ ไปยงั กลอ้ ง กองร้อยตรวจสอบ ถ้าค่ามุมท่ีจ�ำลองทิศของปืนอยู่ภายในห้วงความคลาดเคล่ือนที่ยอม ให้ตามที่ก�ำหนดไว้ใน รปจ. เจ้าหน้าท่ีกล้องกองร้อยตรวจสอบจะประกาศว่า “ปลอดภัย” ถ้าปืนทั้งกองร้อยปลอดภัย เจ้าหน้าท่ีจะประกาศว่า “กองร้อย ปลอดภัย” ข. รอง ผบ.ร้อย. ควรตรวจดูด้วยสายตาเพื่อให้มั่นใจว่า แนวล�ำกล้องปืนของ ปืนทุกกระบอกขนานกันอาจใช้เข็มทิศ M2 ช่วยในการตรวจสอบแนวล�ำกล้องปืนว่าชี้ไป ยังมุมภาคทิศทางยิงท่ีต้องการ
11. จะต้ังปืนตรงทิศไดอ้ ย่างไร สรปุ วธิ กี ารในการตง้ั ปนื ตรงทศิ แตล่ ะวธิ ี เพอื่ ใชส้ ำ� หรบั ฝกึ เจา้ หนา้ ทผ่ี เู้ กยี่ วขอ้ งตา่ ง ๆ • วธิ ีกล้องกองร้อยโดยใชม้ มุ ตรงทศิ เมอ่ื งานแผนทเ่ี สรจ็ ใช้มุมภาคของแนวแสดงมมุ ภาค และมมุ ภาคทศิ ทางยงิ ล�ำดับขั้นตอน การปฏบิ ัติ 1 มมุ ภาคของแนวแสดงมมุ ภาค - มมุ ภาคทศิ ทางยงิ = มมุ ตรงทศิ 2 ตง้ั ค่ามมุ ตรงทิศบนกล้องกองร้อย ด้วยควงจานทศิ บน 3 หมุนกล้องกองร้อยไปเลง็ ปลายแนวแสดงมมุ ภาค ด้วยควงจานทศิ ล่าง 4 ใช้กล้องกองร้อยเลง็ ขนานคู่ให้ ป. ต่อไป ด้วยควงจานทศิ บน 100 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ • วิธกี ล้องกองรอ้ ยโดยใชเ้ ขม็ ทศิ (มมุ ภาคตาราง) เม่ืองานแผนท่ยี ังไมเ่ สรจ็ ใช้มุมเย้อื งประจ�ำ และมมุ ภาคทศิ ทางยงิ ล�ำดบั ข้นั ตอน การปฏบิ ตั ิ 1 มมุ เย้ืองประจำ� (+ 6,400 ถ้าจำ� เป็น) - มมุ ภาคทศิ ทางยงิ = มุมต้งั กล้อง 2 ตง้ั ค่ามมุ ตรงทศิ บนกล้องกองร้อย ด้วยควงจานทศิ บน 3 เลย้ี งเขม็ ทศิ ให้ตรงกึ่งกลาง ด้วยควงจานทศิ ล่าง 4 ใช้กล้องกองร้อยเลง็ ขนานคู่ให้ ป. ต่อไป ด้วยควงจานทศิ บน • วธิ เี ข็มทิศ M2 ใชม้ มุ ภาคที่วัดดว้ ยเขม็ ทิศไปยงั ปนื หลกั และมุมภาคทศิ ทางยงิ ล�ำดบั ข้นั ตอน การปฏิบัติ 1 มุมภาคท่วี ดั ไปยังปืนหลกั (+ 6,400 ถ้าจำ� เป็น) - มมุ ภาคทศิ ทางยงิ = มุม ทศิ ทีข่ านให้ปืน 2 ปืนหลกั ตง้ั ค่ามมุ ทิศใน 1 บนกล้องเลง็ แล้วส่ายปืนไปเลง็ เขม็ ทศิ M2 3 ใช้ปืนหลกั เลง็ ขนานคู่ให้กบั ปืนหมู่อ่ืน ๆ ต่อไป
• วิธีท่ีหมายเล็งไกลและมุมทิศ ใช้มมุ ภาคจาก ศก.ร้อย. ไปยังท่หี มายเล็งไกลและมมุ ภาคทศิ ทางยงิ ล�ำดับขน้ั ตอน การปฏิบตั ิ 1 มุมภาคจาก ศก.ร้อย. ไปยงั ทหี่ มายเลง็ ไกล - มมุ ภาคทศิ ทางยงิ = มมุ ทิศท่ขี านให้ปืน 2 ปืนหลักหรอื ปืนทกุ หมู่ต้งั ค่ามุมทศิ ใน 1 บนกล้องเลง็ แล้วส่ายปืนไปเลง็ ยงั ท่ีหมายเลง็ ไกล 3 ถ้า รอง ผบ.ร้อย. ขานมมุ ทศิ ให้ปืนหลกั หมู่เดียว กใ็ ห้ปืนหลกั เล็งขนานคู่ ให้กบั ปืนหมู่อ่นื ๆ ต่อไป • วธิ ีหมายแนวลำ� กลอ้ งปืน ใชห้ ลกั ปักลงบนพนื้ ดนิ 1 หลัก เอาปลายแถบผา้ ผูกแล้วลากปลายอีกข้างหนึ่งไป เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 101 ดา้ นหลัง เอาเขม็ ทศิ M2 วางบนปลายแถบผ้าด้านน้ี แล้วยา้ ยแถบผา้ ใหต้ รง มมุ ภาคทิศทางยงิ ทต่ี อ้ งการ ปกั หลักอีก 1 หลักทป่ี ลายแถบผ้าด้านนี้ นำ� ปนื หลักเขา้ ท่ีตั้งให้ทบั หรอื ขนานกับแถบผ้า ล�ำดับขั้นตอน การปฏิบัติ 1 ตัง้ กล้องกองร้อย ณ จดุ ทส่ี ามารถมองเหน็ ปืนทกุ หมู่ 2 ปืนหลักท�ำการยงิ แล้ววดั มมุ ทศิ ไปยงั กล้องกองร้อยโดยเรว็ 3 ตั้งค่ามมุ ทิศใน 2 ทกี่ ล้องกองร้อยด้วยควงจานทศิ บน 4 หมุนกล้องกองร้อยไปเลง็ กล้องเลง็ ปืนหลกั 5 ใช้กล้องกองร้อยเลง็ ขนานคู่ให้ปืนหมู่อ่นื ๆ ต่อไป
102 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ บทท่ี กชานริดฝลก ากปดบวคย.ย1า0น5ยมนมต. 1. กลา่ วนำา เอกสารน้เี ป็นแนวทางเพ่อื ให้ ผบ. สามารถฝึกปืนใหญ่กระสนุ วถิ โี ค้ง ขนาด 105 มม. ชนิดลากด้วยยานยนต์ ให้สามารถปฏิบัติงานเป็นชุดได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมรี ะเบยี บวนิ ยั ในการทา� งานอยา่ งไดผ้ ล เอกสารนจี้ ะกลา่ วถงึ พลประจา� ปนื เปน็ บคุ คล และเป็นหมู่โดยละเอยี ด 2. ความม่งุ หมาย ก. หมปู่ นื 1 หมู่ประกอบดว้ ยกา� ลงั พล 10 นาย ใหญก่ ระสนุ วถิ โี คง้ ขนาด 105 มม. ประกอบด้วยเครอ่ื งมอื เคร่อื งใช้และรถลาก ข. คา� ว่า “พ่วงปืน” หมายถงึ นา� ปืนมาพ่วงเข้ากับรถลาก ค. ค�าว่า “ปลดปืน” หมายถงึ ปลดปืนออกจากรถลาก ง. คา� ว่า “ข้างหน้า” หมายถงึ เมอื่ พ่วงอยู่กบั รถลากข้างหน้าของหมู่ปืนคือ ทิศทางหน้ารถ ซ่ึงจะเคลื่อนที่ไปเมื่อปืนปลดออกจากรถลากแล้ว ค�าว่า “ข้างหน้าปืน” หมายถงึ ทิศทางท่ลี า� กล้องปืนชไ้ี ป จ. คา� วา่ “ซา้ ย - ขวา” ปนื เมอ่ื ไมไ่ ดพ้ ว่ งปนื กค็ อื ขวา - ซา้ ยของปากลา� กลอ้ งปนื โดยยืนอยู่ท้ายรางปืน ถ้าปืนพ่วงอยู่กับรถลาก ขวา - ซ้าย คอื ขวาซ้ายของหน้ารถโดย ยนื อยู่ท้ายรถหนั หน้าไปทางหน้ารถ
3. การฝึกพลประจ�ำ ปนื ตง้ั ยงิ เป็นบคุ คล ในการฝกึ พลประจำ� ปนื นนั้ จำ� เปน็ ตอ้ งทราบถงึ อตั รากำ� ลงั พลของหมปู่ นื เสยี กอ่ น คือ ปืน 1 หมู่ มกี �ำลงั พล 10 นาย ก. ผบ.หมู่ 1 นาย ข. พลเลง็ 1 นาย ค. พลขับ 1 นาย ง. พลประจำ� ปืน 7 นาย (มพี ลประจ�ำปืนหมายเลข 1 - 7) 4. โดยทว่ั ไปในการฝึกพลประจำ�ปืนนนั้ แบ่งออกเปน็ 4 ตอน คอื เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 103 ก. รปู แถวประกอบปืน ข. รูปแถวประกอบปืนกบั รถลาก ค. การฝึกเป็นบคุ คล ง. การฝึกเป็นหมู่ 5. รูปแถวประกอบกบั ปนื มดี ังน้ี 7 ฟตุ 2 ฟุต ก. รูปแถวท้ายปืน ข. รปู แถวหน้าปืน ค. รูปแถวขวาปืน ง. รูปแถวซ้ายปืน 4 ฟุต 2 ฟุต ผบ. หมู่ 5 ฟุต ล
6. การฝึกปฏิบัตกิ ารใช้ปืนเป็นบคุ คล การฝึกต้ังยิงและเลิกยิงเป็นบคุ คล คำ� สัง่ พลประจ�ำปืนที่ การปฏิบต้ ิ พลประจ�ำปืนท้าย ปฏิบัติ ปืน...แถว พลประจำ� ปืน พลเล็งทวนว่า “แถว” พร้อมทั้งชมู อื ข้ึน นำ� แถว ทัง้ หมด วิ่ง ทวนเข็มนาฬิกาไปเข้าแถวทางด้านท้ายปืน พลประจำ� ปืนขวา โดยให้พลหมายเลข 3 และ 4 อยู่ตรงห่วงพ่วงปืน ปืน...แถว และห่างจาก ผบ. หมู่ 5 ฟตุ ผบ. หมู่อยู่ห่างจาก ห่วงปืน 2 ฟตุ พลเลง็ ทำ� ซ้ายหนั พลประจำ� ปืนอยู่ พลประจำ� ปืนหน้า ในลักษณะจดั แถวจนกว่าจะได้รบั ค�ำสั่งว่า “นง่ิ ” ปืน...แถว 104 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ พลประจำ� ปืน พลเล็งทวนว่า “แถว” พร้อมทัง้ ชูมือข้นึ นำ� แถววง่ิ พลประจำ� ปืนซ้าย ทงั้ หมด ทวนเข็มนาฬิกาไปเข้าแถวทางด้านขวาปืน โดย ปืน...แถว ให้พลเล็งอยู่ตรงดุมล้อปืนด้านขวา ห่างจากดุม ล้อปืน ประมาณ 2 ฟุต ท�ำซ้ายหนั พลประจ�ำปืน ท้ังหมดอยู่ในลักษณะจัดแถวและพลเล็งยังชูมือ อยู่จนกว่าจะได้รบั ค�ำส่งั ว่า “นง่ิ ” พลประจำ� ปืน พลเล็งทวนว่า “แถว” พร้อมท้ังชูมือขึ้นน�ำแถว ทั้งหมด วิ่งทวนเข็มนาฬิกาไปเข้าแถวทางด้านหน้าปืน โดยใหพ้ ลหมายเลข 3 และ 4 อยตู่ รงปากลำ� กลอ้ งปนื หา่ งจากปากลำ� กลอ้ งปนื ประมาณ 7 ฟตุ หรอื 3 กา้ ว ทา่ ซา้ ยหนั พลประจำ� ปนื ทง้ั หมดอยใู่ นลกั ษณะจดั แถว และพลเลง็ ยงั ชมู อื อยจู่ นกวา่ จะไดร้ บั คำ� สง่ั วา่ “นงิ่ ” พลประจำ� ปืน พลเล็งทวนว่า “แถว” พร้อมท้ังชูมือน�ำแถวว่ิง ท้ังหมด ทวนเข็มนาฬิกาไปเข้าแถวทางด้านซ้ายปืน โดยให้พลเล็งอยู่ตรงพลั่วปืนด้านซ้ายห่างจาก พลว่ั ปนื ประมาณ 4 ฟตุ ทา่ ซา้ ยหนั พลประจำ� ปนื ท้ังหมดอยู่ในลักษณะจัดแถวและพลเล็งยังชูมือ อยู่จนกว่าจะได้รบั ค�ำส่งั ว่า “นง่ิ ”
การฝึกตั้งยงิ และเลิกยงิ เป็นบคุ คล นิ่ง พลประจำ� ปืน พลเลง็ ลดมอื ลง พลประจำ� ปนื คนอนื่ ๆ ทำ� แลตรง ตรวจต�ำแหน่ง ท้ังหมด แลว้ พลเลง็ สง่ั “นบั ” คนทอ่ี ยทู่ างซา้ ยพลเลง็ “นบั 1” คนต่อไปนบั 2 - 3 - 4 จนถงึ 7 ตามล�ำดบั พลประจำ� ปืน เมอ่ื ผฝู้ กึ ออกนามหมายเลขอะไร ใหพ้ ลหมายเลข ท้ังหมด นั้นชูมือขึ้น จะลดมือลงได้ต่อเม่ือผู้ฝึกได้ขาน หมายเลขต่อไปหรือได้รับค�ำส่ังจากผู้ฝึกว่า “ลด มือลง” พลประจำ� ปืนวง่ิ ไปเข้าแถวตามรูป พลประจ�ำปืน... พลประจำ� ปืน ประจ�ำท่ี ทง้ั หมด พลประจ�ำปืนท้าย พลประจ�ำปืน พลประจำ� ปืนจดั แถวเพ่อื เตรียมการฝึก เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 105 ปืน...แถว ทง้ั หมด เปน็ คำ� สง่ั เตอื นใหพ้ ลประจำ� ปนื ทกุ นายทราบวา่ จะ ต่อไปนจ้ี ะด�ำเนนิ พลประจ�ำปืน ดำ� เนนิ การฝกึ การใชป้ นื เปน็ บคุ คล (กอ่ นดำ� เนนิ การฝึก ทั้งหมด การฝกึ ผบ. หม,ู่ เตรยี มปผู า้ ใบทางซา้ ยปนื หา่ ง จากลอ้ ปนื 3 กา้ ว) การปฏบิ ตั ใิ หพ้ ลหมายเลขควู่ ง่ิ การตัง้ ยงิ เป็นบคุ คล 4-5 ไปทางซา้ ย หมายเลขควี่ ง่ิ ไปทางขวาปนื ถา้ ปฏบิ ตั ิ 2-3 พรอ้ มกนั ใหห้ มายเลขคว่ี งิ่ ออกกอ่ น หา้ มลอ้ การหา้ มลอ้ จะตอ้ งกระทำ� กอ่ นเสมอ หมนุ หว่ งพว่ งปนื ปลดสลักยึดห่วงพ่วงปืนและหมุนห่วงพ่วงปืนขึ้น ในทา่ ... ตงั้ ยงิ 180 องศา ทวนเขม็ นาฬกิ าหมายเลข 2 - 3 ชว่ ยกนั ใส่สลักยึดห่วงพ่วงปืน
ปลด...โลล่ า่ ง การฝกึ ต้ังยิงและเลกิ ยงิ เปน็ บุคคล ปลดเหลก็ ยดึ ทา้ ย... 4 - 5 ปลดสลกั แลว้ คอ่ ย ๆ ผอ่ นโลล่ า่ งลง รางปนื 6 ถา้ ปลดไมอ่ อก ใหพ้ ลหมายเลข 7 ชว่ ย ถอดสลกั ยดึ หวั ... ล, 1 ดึงสลักยึดหัวรางปืนออกจากต�ำแหน่ง “เตรียม รางปนื เดนิ ” ไปตำ� แหนง่ “ตงั้ ยงิ ” ตดิ เหลก็ คดั ทา้ ย... 6 นำ� เหลก็ คดั ทา้ ยมาใสใ่ นชอ่ งรบั เหลก็ คดั ทา้ ยรางปนื อนั ซา้ ย อนั ซา้ ย ปลดสลกั ...ยดึ เพลา 4, 5 ดงึ สลกั พลกิ ขนึ้ ใหอ้ ยใู่ นตาํ แหนง่ “ตง้ั ยงิ ” เขา้ แถวดงั รปู เพอ่ื เตรยี มการแยกราง เตรยี มแยกราง 4, 5 ประ...จำ� ท่ี 106 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ แยกราง พลประจำ� ปืน การแยกราง (หรือรวมราง) พลหมายเลขต่าง ๆ ทั้งหมด ประจ�ำที่การแยก (รวม) รางน้ัน ต้องคอยรอ ใส่สลักยดึ หวั ... ค�ำสง่ั ว่า “แยก” หรือ “รวม” จากพลหมายเลข 4 รางปืน ล, 1 เสียก่อน โดยพลเลง็ ร้อง “พร้อม” พลหมายเลข 4 4, 5 ร้อง “แยก” ขณะแยกพลหมายเลข 4, 5 ต้องผ่อน ปลด...โล่ล่าง ห้ามล้อจนสุด เม่ือแยกเสร็จแล้วพลเล็งร้องเสร็จ หมายเลข 4, 5 ห้ามล้อดงั เดมิ .....รางปืน ใสส่ ลกั ยดึ หวั รางปนื (รบู น) กดสลกั ยดึ โลล่ า่ ง แลว้ คอ่ ย ๆ ผอ่ นโลล่ า่ งลงจนสดุ ตงั้ ...โล่บน ล, 1 ถอดสลักโล่บนออก ต้งั โล่ขึน้ แล้วใส่สลกั
เตรยี มหบี เคร่อื งมอื การฝึกตง้ั ยงิ และเลิกยงิ เป็นบคุ คล ...ประจ�ำหมู่ 6, 7 น�ำมาวางไว้ทางซ้ายของผ้าใบท่ีปูวางไว้ประมาณ ทางตอนลา่ ง ดงั รปู หบี ผา้ ใบ ปลดผ้า...คลมุ ปืน ล, 1, 4, 5 พลหมายเลข 1 โยนไวท้ างขวาของลอ้ ปนื ดา้ นขวา เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 107 ปลดผ้าหุ้มปากล�ำ... 5 ปลดแลว้ นำ� มาวางรวมไวท้ างดา้ นลอ้ ปนื ดา้ นขวา กล้องปืน ล, 1 พลเล็งวิ่งไปน�ำกล้องข้อศอกออกมาจากหีบที่ติด สวม...กล้องเลง็ 1 ไว้ข้างหน้าปืน ส่งให้หมายเลข 1 พร้อมกบั ร้องว่า 2 “กล้อง” หมายเลข 1 นำ� กล้องข้อศอกไปใส่ไว้ท่ี เปิด...ลูกเลอ่ื น 5 ฐานกล้องขอ้ ศอกพลเลง็ นำ� กล้องเลง็ ออกจากหบี พบั ผ้า...คลมุ ปืน ล, 1, 4 มาสวมใส่กบั ฐานกล้องเลง็ ให้เรียบร้อย เตรยี ม...หลกั เลง็ 2 ใช้มือซ้ายเปิดลกู เลอ่ื น ปลดเหลก็ ...ยดึ เปล พบั ผา้ คลมุ ปนื ตา่ ง ๆ ทก่ี องเอาไวใ้ หเ้ รยี บรอ้ ยแลว้ ประกอบ...ด้ามแส้ ล ต้งั กองไว้ท่เี ดมิ 3 น�ำหลักเล็งซ่ึงอยู่ทางขวารางปืนประกอบเข้า ตัวกล้อง...ปกติ เรียบร้อย แล้วจงึ น�ำไปปักไว้ทางขวาของปืน เตรยี มเครอ่ื ง... ถ้าไม่ออกพลหมายเลข 4 ขาน “สงู ” หรือ “ต่าํ ” เม่ือออกแล้วให้ร้อง “เสรจ็ ” ตงั้ ชนวน ปลดแสอ้ อกจากรางปนื แลว้ ประกอบเขา้ กบั ดอกแส้ ซ่ึงมีอยู่ในหีบประจ�ำอยู่แล้วน�ำไปวางไว้ทางขวา ของล้อปืน ณ ท่ผี ้าคลมุ ปืนกองไว้ ให้ระดับกับหลอดระดับทางข้างและทางยาว ตลอดจนมาตราต่าง ๆ ตรงขดี หลกั น�ำกุญแจและเครื่องตั้งเวลาชนวนมาจากหีบ ประจ�ำหมู่ วางไว้ที่ผ้าใบปูไว้ตรงท่ีประมาณ มุมล่างทางซ้าย
วางสาย...โทรศพั ท์ 7 วางสายโทรศัพท์จากปืนไปยังที่อยู่ของ รอง 1 ผบ.ร้อย. ตงั้ เครอ่ื งตงั้ มมุ ยิง... ผบ. หมู่ พลหมายเลข 1 ให้ระดับหลอดระดับทางข้าง, ปกติ พลประจำ� ปืน ทางยาว ตลอดจนมาตราตา่ ง ๆ ตรงขดี หลกั ทง้ั หมด ทั้งหมด เตรยี มเคร่อื งต้งั น�ำมาสะพายขวางจากไหล่ซ้ายไปไหล่ขวา มุมยิง...ประณตี ประจำ� ตำ� แหน่ง... เตรยี มรบ 108 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 7 . การปฏบิ ตั ติ ามค�ำ ส่งั 1. ค�ำสงั่ “4, 5 หา้ มล้อ” การปฏิบตั ิ 4, 5 วง่ิ ออกมาทางดา้ นของตน แลว้ หยดุ ทางลอ้ รถทางดา้ นของตน คอื 4 ดา้ น ซา้ ย 5 ดา้ นขวา โดยหวั หนา้ กลบั มาทางทา้ ยปนื (เขา้ หา้ มลอ้ ) หา่ งจากลอ้ ประมาณ 1 กา้ ว 4 ตบเทา้ ขวาตรงไปประมาณ 1 กา้ ว 5 ตบเทา้ ซา้ ยตรงไปประมาณ 1 กา้ ว 4 น�ำมอื ขวาเท้าท่ยี างรถ 5 นำ� มอื ซ้ายเท้าที่ยางรถ 4 น�ำมือซ้ายจบั ห้ามล้อกดลงมา 5 นำ� มอื ขวาจับห้ามล้อกดลงมา ทั้ง 4 และ 5 ลากเท้าหน้ากลบั มาชดิ เท้าหลังแล้วว่ิงกลบั เข้าท่ี
2. ค�ำสง่ั “2, 3 หมนุ ห่วงพว่ งปนื ในทา่ ...ตง้ั ยงิ ” เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 109 การปฏิบัติ 2 ก. เรม่ิ ปฏิบัติ วิ่งออกมาหยุดตรงกับพล่ัว ห่างประมาณ 1/2 ก้าว ทำ� ท่าซ้ายหัน จงั หวะ 1 (เขา้ หาพลว่ั ปนื ) นงั่ ลงไปคกุ เขา่ ขวาจรดพนื้ เขา่ ซา้ ยตงั้ ขน้ึ มอื ซา้ ยไขวห้ ลงั มอื ขวา ปลดสลักยึดห่วงพ่วงปืน ข. เมื่อปฏิบัติเรียบร้อยแล้ว ยืนข้ึนลากเท้าซ้ายเข้ามาชิดเท้าขวา ทำ� ท่าซ้ายหนั แล้วว่งิ ไปเข้าแถว 3 ก. เริม่ ปฏบิ ตั ิ วงิ่ ตรงออกมาหยดุ หา่ งจากหว่ งพว่ งปนื ประมาณครงึ่ กา้ วกระโดดแยกเทา้ (หน้ายังคงหันไปทางปากล�ำกล้องปืน) ก้มตัวใช้มือท้ังสองจับห่วงพ่วงปืนหมุนข้ึนทวนเข็ม นาฬิกาให้ต้งั ข้ึนข้างบนรอจนหมายเลข 2 ใส่สลกั เสรจ็ 3. คำ� ส่ัง “6 ตดิ เหล็กคัดทา้ ย...อันซ้าย” การปฏิบตั ิ 6 ก. เริ่มปฏิบัติ วงิ่ ตรงออกมาหยดุ ใหต้ รงกบั ทเ่ี กบ็ เหลก็ คดั ทา้ ยอนั ซา้ ยทางดา้ นปลาย แหลมหา่ งประมาณครง่ึ กา้ ว ทำ� ทา่ ขวาหนั จงั หวะ 1 แลว้ กา้ วเทา้ ซา้ ยตบไปทางกง่ึ ซา้ ยประมาณ 1 กา้ ว มอื ซา้ ยหงายจบั เหลก็ คดั ทา้ ยอนั ซา้ ย ประมาณกงึ่ กลางของความยาวของมนั มอื ขวา ปลดเหลก็ ทยี่ ดึ ดา้ มเหลก็ คดั ทา้ ย มอื ซา้ ยถอื เหลก็ คดั ทา้ ยออกมา พรอ้ มกบั มอื ขวากเ็ กบ็ เหลก็ ทรี่ ดั ดา้ มเหลก็ คดั ทา้ ยเขา้ ทเี่ ดมิ นำ� มอื ขวามาจบั เหนอื มอื ซา้ ย (ควา่ํ มอื ) หมนุ ตวั ไปทางพลว่ั ปนื และตบเทา้ ไปทางพลว่ั ปนื ใหช้ ดิ กบั พลวั่ ปนื นำ� เหลก็ คดั ทา้ ยใสเ่ ขา้ ในทข่ี องมนั ข. เม่อื ปฏิบตั เิ สร็จแล้ว ลากเท้าขวาไปชดิ แล้ววง่ิ กลับเข้าแถว 4. ค�ำสงั่ “4, 5 ปลดสลัก...ยึดเพลา” การปฏิบตั ิ หมายเลข 4 ก. เริ่มปฏิบัติ ว่ิงออกมาทางด้านของตนแล้วมาหยุดให้ชิดเปลปืน ตบเท้าขวาไป ข้างหน้า 1 ก้าว นั่งคกุ เข่า (เข่าซ้ายจรดพ้ืน) มือซ้ายไขว้หลงั มือขวาจบั สลักยดึ เพลาหมุน ทวนเข็มนาฬิกาน�ำเข้าไปไว้ในรทู างด้านใน ข. เมอื่ ปฏบิ ตั เิ สรจ็ แลว้ ลกุ ขน้ึ ลากเทา้ ขวามาชดิ เท้าซา้ ย วงิ่ กลบั เขา้ แถว
110 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ หมายเลข 5 ก. เรมิ่ ปฏิบัติ วิ่งออกมาทางด้านของตนแล้วมาหยุดให้ชิดเปลปืน ตบเท้าซ้ายไป ข้างหน้า 1 ก้าว นั่งคกุ เข่า (เข่าขวาจรดพนื้ ) มอื ขวาไขว้หลัง มอื ซ้ายจับสลักยึดเพลาหมุน ทวนเข็มนาฬิกาน�ำเข้าไปไว้ในรทู างด้านใน ข. เมอ่ื ปฏบิ ตั เิ สรจ็ แลว้ ลกุ ขนึ้ ลากเท้าซ้ายมาชดิ เท้าขวา วงิ่ กลบั เข้าแถว 5. คำ� สงั่ “6 ปลดเหล็กยดึ ทา้ ย...รางปืน” การปฏบิ ตั ิ ก. เม่ือเริ่มปฏบิ ตั ิ ว่ิงออกมาหยุดตรงกับเหล็กยึดท้ายรางปืน ห่าง 1 ก้าว ท�ำท่าขวาหัน จงั หวะ 1 ตบเท้าซ้ายไปข้างหน้า 1 ก้าว ก้มตวั ลง นำ� มอื ซ้ายจบั สลกั ยดึ เหลก็ ยดึ ท้ายรางปืน มือขวาจับห่วงเหล็กยึดท้ายรางปืนข้ึนปล่อยมือซ้ายช่วยมือขวาปลดขอออกจากรูยึดแล้ว กดห่วงเหลก็ ยึดท้ายด้วยมอื ขวาให้เข้าท่ี ข. เมอื่ ปฏบิ ตั เิ สรจ็ แลว้ ลากเทา้ ซา้ ยมาชดิ เทา้ ขวาทำ� ทา่ ขวาหนั วง่ิ กลบั เขา้ แถว 6. คำ� สง่ั “หม.ู่ ..แยกราง” การปฏิบตั ิ ทุกคนว่ิงออกมาพร้อม ๆ กัน มาประจำ� ดงั ในรูป ก. ล ดกู ารเข้าท่ขี องทกุ คน ว่าเรยี บร้อยหรอื ไม่ 1 คอยฟัง ล ถ้า ล ให้หมนุ ควงสูงก็หมนุ ตาม (ถ้าแยกรางไม่ออก) 2 ยนื จบั ที่เหลก็ คดั ท้ายอนั ซ้าย เตรยี มแยกราง 3 ยืนจบั ท่ีห่วงพ่วงปืน เตรยี มแยกราง 4, 5 ยนื อยู่ในท่าห้ามล้อ (มอื จับห้ามล้อ) 6 ก้มตัวจบั เหลก็ ส�ำหรับแยกรางด้านซ้าย 7 ก้มตัวจบั เหล็กส�ำหรับแยกรางด้านขวา ข. ล เม่ือเห็นทกุ คนเข้าทพี่ ร้อมกพ็ ดู ว่า “พร้อม” 4 เม่อื ได้ยิน ล ร้อง พร้อม กใ็ ห้ร้องว่า “แยก” ค. ให้ทุกคนปฏบิ ัติดังนี้ 2, 3, 6, 7 ยกรางใหส้ งู ประมาณ 1 ฟตุ แยกรางออกจากกนั จนรางกางออก เตม็ ท่แี ล้ววางลง 4, 5 ในขณะ 2, 3, 6, 7 แยกรางน้ัน ให้ผ่อนห้ามล้อขน้ึ พอวางรางลงกใ็ ห้ ห้ามล้อไว้อย่างเดมิ (ถ้าแยกไม่ออกให้พลเลง็ ขยับควงส่าย)
ง. ล เม่ือเห็นทุกคนปฏิบัติเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้ร้องว่า “เสร็จ” ทุกคน เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 111 วง่ิ กลับเข้าแถว ท�ำท่าจดั แถวแล้วเอามอื ลง ตอนน้ี 3, 4 อยู่ตรงระหว่างเปลปืนส่วนหลัง 7. คำ� ส่ัง “ล, 1 ใสส่ ลกั ยึดหวั ...รางปืน” การปฏิบัติ ล วิ่งออกมาหยุดตรงกับล้อทางด้านความหนาของยางด้านใน หันหน้า ไปทางหน้าปืนห่างล้อ 1 ก้าว ตบเท้าขวาไปทางกึ่งขวาประมาณ 1 ก้าว มือซ้ายไขว้หลัง มือขวาจบั สลกั ยดึ หัวรางปืนน�ำไปใส่ไว้ในรบู น เพ่ือยดึ ราง เม่อื เสร็จแล้วลากเท้าขวามาชดิ ท�ำท่ากลบั หลงั หัน แล้ววง่ิ กลับเข้าแถว 1 วง่ิ ออกมาหยดุ ตรงกบั ลอ้ ทางดา้ นความหนาของยางดา้ นใน หนั หนา้ ไปทาง หน้าปืน ห่างล้อ 1 ก้าว ตบเท้าซ้ายไปทางก่งึ ซ้ายประมาณ 1 ก้าว มือขวาไขว้หลัง มือซ้าย จบั สลักยดึ หวั รางปืนน�ำไปใส่ไว้ในรบู น เพอ่ื ยดึ ราง เมือ่ เสร็จแล้ว ลากเท้าซ้ายมาชิด ทำ� ท่า กลบั หลงั หนั แล้ววง่ิ กลับเข้าแถว 8. คำ� สง่ั “4, 5 ปลด...โลล่ า่ ง” การปฏบิ ตั ิ ก. เรมิ่ ปฏบิ ัติ 4, 5 ว่ิงไปหยุดข้างหน้าปืนเหมือนกับท่าปลดสลักยึดเหล่า แต่เมื่อน่ัง คุกเข่าลงไปแล้ว 4, 5 ไม่เอามือไขว้หลัง 4 เอามอื ซ้ายจบั โล่ล่างและเอามอื ขวากดสลกั ยดึ โล่ล่าง 5 เอามอื ขวาจบั โล่ล่างและเอามอื ซ้ายกดสลักยึดโล่ล่าง ข. เม่อื เสร็จแล้ว ลกุ ข้นึ มาปฏบิ ตั ิเช่นเดียวกับท่าปลดสลักยึดเพลาในการ กลับเข้าแถว 9. ค�ำสัง่ “2 ประกอบ...ด้ามแส”้ การปฏบิ ัติ ก. เร่ิมปฏบิ ตั ิ วิ่งออกมาแล้วหยุดอยู่ข้างรางตรงก่ึงกลางที่เก็บด้ามแส้ ห่างจากราง ประมาณครงึ่ กา้ ว ทำ� ทา่ ขวาหนั แลว้ กระโดดแยกเทา้ กม้ ตวั เอามอื ซา้ ยแกะเหลก็ รดั ดา้ มแส้ ทางซา้ ย และมอื ขวาแกะทางขวาหยบิ เอาดา้ มแสอ้ อกมาวางบนหนา้ ขาเกบ็ เหลก็ รดั ดา้ มแส้ เตรียมต่อเข้าด้วยกันลากเท้าซ้ายมาชิดเท้าขวา แล้วหมุนตัววิ่งอ้อมไปทางด้านขวาปืน (ดา้ นปากลำ� กลอ้ งปนื ) ในขณะวง่ิ กท็ ำ� การตอ่ ดา้ มแสไ้ ปดว้ ย แลว้ วง่ิ ไปหยดุ ทางลอ้ ใหป้ มุ่ เกลยี ว ทองเหลอื งชไี้ ปทางปากลำ� กลอ้ งปนื ตรงดมุ ลอ้ หา่ งจากลอ้ 2 กา้ ว ข. วิง่ กลับไปเขา้ แถว โดยไม่ต้องกลับทางเดมิ
112 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 10. คำ� สง่ั “ล ถอดผา้ คลมุ ฐาน...เครอื่ งเลง็ ” การปฏบิ ตั ิ ก. เรม่ิ ปฏิบัติ ล วงิ่ ออกมาหยดุ และปฏบิ ตั เิ ชน่ เดยี วกบั การใสส่ ลกั ยดึ หวั รางปนื เพยี งแต่ วา่ ไมม่ กี ารเอามอื ไขวห้ ลงั ใชท้ ง้ั สองมอื ถอดผา้ คลมุ ฐานเครอื่ งเลง็ ออกโยนไวป้ ระมาณตรงกบั ดมุ ลอ้ ดา้ นขวา หา่ งจากดมุ ลอ้ ประมาณ 2 กา้ ว ทงั้ ล และ 1 ตา่ งโยนผา้ คลมุ ฐานเอง 11. ค�ำส่ัง “5 เตรียม...หลักเลง็ ” การปฏิบตั ิ ก. เรม่ิ ปฏบิ ตั ิ 5 ว่ิงออกมาหยุดอยู่ทางข้างรางปืนตรงกึ่งกลางท่ีเก็บหลักเล็งห่างจาก รางปืนประมาณคร่ึงก้าว ท�ำท่าซ้ายหันแล้วกระโดดแยกเท้า ก้มตัวเอามือซ้ายและขวา แกะสลกั ยดึ หลกั เลง็ พรอ้ ม ๆ กนั หยบิ หลกั เลง็ ออกมาวางบนหนา้ ขาแลว้ เอามอื ทงั้ สองเกบ็ เหลก็ รดั หลกั เลง็ พรอ้ มกนั ทง้ั สองมอื และหยบิ หลกั เลง็ ขนึ้ มาถอื ไว้ ลากเทา้ ซา้ ยเขา้ มาชดิ เทา้ ขวา เดนิ ถอยหลงั แลว้ เอาหลกั เลง็ วางไวบ้ นพน้ื ดนิ หา่ งจากดมุ ลอ้ ขวา 1 กา้ ว ข. เมอื่ ทำ� เสร็จแลว้ วง่ิ กลบั เขา้ แถวทา้ ยปนื 12. คำ� สงั่ “1 ตั้ง...โลบ่ น” การปฏบิ ตั ิ ก. เร่ิมปฏิบัติ 1 วิ่งออกมาทางด้านขวาของตน แล้วมาหยุดให้ตรงและชิดกับยาง ทางดา้ นความหนาของยาวดา้ นนอกทางหวั รางปนื ตบเทา้ ขวาไปขา้ งหนา้ ใหต้ ดิ กบั ทางดมุ ลอ้ 1 กา้ ว (ขณะนตี้ วั เราจะทบั บนยางรถ) กม้ หนา้ มองดสู ลกั ยดึ โลบ่ น ใชม้ อื ขวาดงึ สลกั ยดึ โลบ่ น ออกมาทางขวามอื ใช้มอื ซ้ายดึงโล่บนเอาศอกทาบไปกับเหล็กยดึ โล่ ซึ่งเขาทำ� เป็นโค้งตาม ศอกพอดี เอามอื ขวาใส่สลกั โล่บน ข. เมอื่ ทำ� เสรจ็ แลว้ ลากเทา้ ขวามาชดิ เทา้ ซา้ ย ทำ� ทา่ กลบั หลงั หนั วงิ่ กลบั เขา้ แถว 13. ค�ำสงั่ “5 ปลดผา้ หมุ้ ปาก...ลำ� กล้องปืน” การปฏิบตั ิ ก. เรมิ่ ปฏบิ ตั ิ 5 วง่ิ ออกมาหยดุ หนั หนา้ เข้าหาปากลำ� กล้องปืน หา่ งประมาณ 1 ก้าว กระโดดแยกเท้า พร้อมกับเอามือทั้งสองช่วยแกะเข็มขัดรัดผ้าหุ้มปากลำ� กล้อง ดึงผ้าหุ้ม ปากลำ� กลอ้ งปนื ออกมา โดยไปกองรวมกบั ผา้ คลมุ ฐานเครอื่ งเลง็ ทางดา้ นดมุ ลอ้ ขวา
ข. เมอ่ื ท�ำเสร็จแลว้ ลากเท้าซ้ายเข้ามาชิดเท้าขวา วิ่งกลบั เข้าแถว เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 113 14. คำ� ส่ัง “ล, 1, 4 ปลดเหลก็ ...ยึดเปล” การปฏิบัติ พลเลง็ , หมายเลข 1 ล, 1 วงิ่ ออกมายนื ชดิ กบั รางปนื ทางซอกระหวา่ งลอ้ ของปนื กบั รางปนื ส�ำหรบั 1 จบั ควงสงู (เมอ่ื 4 บอกว่า สูง ๆ ตา่ํ ๆ) สำ� หรับ ล. จบั ควงส่าย (เมอ่ื 4 บอกว่า ซ้าย ๆ ขวา ๆ) เมื่อ 4 บอกหยดุ ล, 1 ก็หยดุ หมุน ล, 1 เม่อื ได้ยิน 4 บอก “เสร็จ” กย็ นื ชิดเท้า โดย ละจากเท้าใดกไ็ ด้ แยกออกมาจากหวั รางปืนกบั ล้อของปืน ชกั เท้าซ้ายถอยหลงั นำ� เท้าขวา มาชิดแล้ว กลบั เข้าแถว หมายเลข 4 วิ่งออกมาร้องสงู ๆๆๆ เป็นการเตอื น ล และ 1 มาหยดุ ตบเท้า ขวาออกไปและทำ� ท่าคล้ายกบั ปลดสลกั ยดึ เพลา ลอดตวั เข้าไปนงั่ คกุ เข่าใต้เปลปืน มอื ขวา กำ� เหลก็ ยดึ เปล มอื ซา้ ยกดสลกั ยดึ เปลพรอ้ มกบั รอ้ งสงู ๆ ๆ หรอื ตำ่� ๆ หรอื ซา้ ย ๆ หรอื ขวา ๆ ความต้องการพร้อมดึงเหล็กยึดเปลตลอดเวลาจนหลุด น�ำเหล็กยึดเปลเข้าไปเก็บติดไว้ใต้ เปล เมอื่ ทำ� เสรจ็ แล้วลกุ ขน้ึ ลากเท้าขวามาชิดเท้าซ้าย ว่ิงกลบั เข้าแถว 15. ค�ำสั่ง “2 จดั ผ้า...คลมุ ปืน” การปฏิบัติ ก. เร่ิมปฏิบัติ 2 ว่งิ อ้อมไปหยดุ ประมาณดุมล้อขวาห่างออกไป 2 ก้าว พับผ้าคลุมฐาน เครือ่ งเลง็ ด้านกล้องพาโนรามคิ เป็น 2 ส่วน วางห่างจากกล้อง 2 ก้าว ให้รอยพบั หันไป ทางปากลำ� กล้องปืน พบั ผ้าคลมุ ฐานกล้องเล็งทางกล้องข้อศอกเป็น 2 ส่วน ยกขึน้ ทบั บน อันแรกให้รอยพับหันไปทางเดียวกัน เอาผ้าหุ้มปากล�ำกล้องปืนวาง โดยให้แนวเข็มขัดนั้น ขนานกบั ลำ� กลอ้ งปนื วางใหข้ อบลา่ งตรงกบั รอยพบั พอดี บนผา้ หมุ้ ปากล�ำกลอ้ งปนื วางดา้ ม แส้ทบั ผ้าให้ขนานกบั ล�ำกล้องปืน เอาหลกั เล็ง 2 อันมาวางต่อจากด้ามแส้โดยวางให้ปลาย ด้ามตดั เสมอเกลยี วทองเหลอื งวางเรยี งตามลำ� ดบั ออกมาทางข้างนอกคอื ด้ามแส้อยู่ในสดุ ถา้ เหลก็ ไมเ่ ทา่ กนั ใหเ้ อาอนั สนั้ ทส่ี ดุ เรยี งไวด้ า้ นนอกสดุ ดา้ มแส้ หลกั เลง็ ตอ้ งวางชดิ เรยี งกนั ข. เมอื่ ทำ� เสรจ็ แลว้ ลากเทา้ ซา้ ยมาชดิ ทำ� ทา่ กลบั หลงั หนั แลว้ วงิ่ กลบั เขา้ แถว 16. ค�ำสง่ั “พลประจำ� ปนื ประจำ� ต�ำแหนง่ ...เตรยี มรบ” การปฏิบัติ อธบิ ายไว้ในรปู ประจ�ำต�ำแหน่งเตรียมรบแล้ว
114 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 17. คำ� สัง่ “หมตู่ ั้งปืน...ปกต”ิ การปฏบิ ตั ิ พลเลง็ ชดิ เทา้ ทา่ ตรง ยกมอื ขวาขน้ึ เหนอื ศรี ษะ รายงานวา่ “หม.ู่ ...ทราบแลว้ ” เอามือลงแล้วเปิดฝาครอบหลอดระดับ ปรับหลอดระดับทางข้างและทางสูง (ถ้ามีกล้อง พาโนรามคิ ) ใหต้ ง้ั มาตรามมุ ทศิ 0 ทง้ั สว่ นใหญแ่ ละสว่ นยอ่ ย คอยฟงั หมายเลข 1 บอก “เสรจ็ ” ถ้าได้ยิน 1 ร้องบอกเสร็จให้ตรวจหลอดระดับคร้ังสุดท้าย ถูกต้องดีแล้วให้ยกมือขวาแล้ว รายงาน “หมู่...พร้อม” รายงานเสรจ็ เอามอื ลงท�ำท่าตามระเบยี บพัก หมายเลข 1 ชิดเท้าท่าตรง เม่อื ส้นิ ค�ำรายงานของ ล ทร่ี ายงานว่า “หมู่... ทราบแล้ว” ขยบั ตวั เข้าไปทเ่ี คร่อื งต้ังระยะยิง ตง้ั มาตรามุมสงู 300 มุมพืน้ ท่ี 300 ปรับหลอด ระดบั ทางข้าง ทางสูง เมื่อได้ระดบั ท่ีถูกต้องแล้ว ชดิ เท้าร้อง “เสรจ็ ” (ไม่ยกมอื ) ทำ� ท่าตาม ระเบยี บพกั หมายเหตุ 1. การฝกึ เปน็ บคุ คลน้ี ถา้ เราใชก้ ลอ้ งพาโนรามคิ และกลอ้ งขอ้ ศอกดว้ ยตอ้ ง มคี �ำว่า “ตดิ กล้องเล็ง” ก่อนทจ่ี ะประจ�ำตำ� แหน่งเตรยี มรบ ถ้าไม่มีก็ไม่ต้องข้ามไป 2. การออกมาเพื่อปฏิบัติทุกครั้งเม่ือส้ินเสียงค�ำส่ังให้ทวนต�ำแหน่งของตน ออกมาก่อนแล้วจงึ ออกไปปฏบิ ัติ 3. ถ้าพร้อมกนั ทงั้ หมู่ กข็ านพร้อมกันเลย 8. การเปล่ยี นตำ�แหน่ง เป็นการปฏิบัติต่อจากการฝึกเป็นบุคคลตามหมายเลขไว้แล้ว และต้องการ เปลีย่ นต�ำแหน่งอ่นื ให้แก่พลประจ�ำปืนได้ฝึกทกุ หน้า คำ� ส่ัง “พลประจำ� ปืน...เปลย่ี น...ต�ำแหน่ง” การปฏบิ ตั ิ พลเลง็ กา้ วเทา้ ซา้ ยถอยหลงั ไป 1 กา้ ว ลากเทา้ ขวามาชดิ แลว้ ทำ� ทา่ ซ้ายหันจงั หวะหนง่ึ แล้วว่ิงไปต่อท้ายแถว พลหมายเลข 1 - 7 กา้ วเทา้ ซา้ ยไปทางขา้ งเลอื่ นขนึ้ ไปแทนทต่ี ามล�ำดบั ในขณะ เล่ือนขึ้นไปให้ยกแขนทำ� ท่าจดั แถวด้วย ส�ำหรับพลหมายเลข 1 เม่ือเล่ือนข้ึนไปแทนที่พลเล็งเรียบร้อยแล้ว ก็สลัดมือ ซ้ายลงพร้อมกบั สงั่ “นับ” พลหมายเลข 2 เดมิ กเ็ ปน็ หมายเลข 1 กน็ บั 1 คนตอ่ ๆ ไปกน็ บั ตามล�ำดบั ดงั นน้ั พลเล็งเดิมก็จะกลายเป็นพลหมายเลข 7 และพลหมายเลข 1 เดิมกจ็ ะกลายเป็นพลเล็ง
9. การฝกึ เลิกยิงเป็นบคุ คล ค�ำส่งั พลประจำ� ปนื ท่ี การปฏบิ ัติ ปฏบิ ตั ิ ปฏบิ ตั ิตามท่กี ล่าวมาแล้ว พลประจำ� ปืนท้าย ปืน...แถว พลประจำ� ปืน ทงั้ หมด นิ่ง พลประจำ� ปืน ปฏิบตั ติ ามท่กี ล่าวมาแล้ว ทัง้ หมด เปลีย่ นต�ำแหน่ง พลประจำ� ปืน ปฏบิ ตั ติ ามทกี่ ลา่ วมาแลว้ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 115 ทงั้ หมด ตรวจต�ำแหน่ง ปฏบิ ตั ติ ามทก่ี ล่าวมาแล้ว พลประจำ� ปืน ต่อไปจะเป็นการฝึก ทง้ั หมด เป็นการบอกเตอื นพลประจ�ำปืน เลกิ ยิงเป็นบคุ คล ตงั้ กล้อง....ปกติ พลประจำ� ปืน พลเล็งปรับระดับทางข้างและทางยาวและต้ัง ทั้งหมด มาตราต่าง ๆ ตรงขดี หลกั ตงั้ เครื่องให้ระยะ ล ปรับระดบั ทางข้างและต้งั มาตราต่าง ๆ ยิง...ปกติ 1 เกบ็ ...กล้องเลง็ ล, 1 พลเล็งถอดกล้องเล็งออกจากฐานเล็งน�ำไปเก็บ เก็บ...หลกั เลง็ ในหบี ซงึ่ อย่ขู ้างหน้าโลพ่ ลหมายเลข 1 ถอดกล้อง ข้อศอกออกจากฐานกล้องข้อศอก ส่งให้พลเล็ง พร้อมกับร้องว่า “กล้อง” พลเล็งรับกล้องแล้ว น�ำกล้องไว้ในหบี 5 น�ำหลักเล็งเก็บที่รางปืนด้านขวา ณ ที่เก็บหลัก เลง็ เดมิ
ค�ำสั่ง พลประจ�ำปืนท่ี การปฏบิ ัติ ปฏิบัติ เกบ็ เครอื่ ง...ตงั้ ชนวน 3 น�ำเกบ็ ไว้ในหบี ประจ�ำหมู่ให้ถกู ท่ี ปิด...ลูกเลอ่ื น 1 ใช้มือซ้ายปิดลกู เลอ่ื น เก็บ...ด้ามแส้ 2 น�ำดอกแส้เก็บไว้ในหีบประจ�ำหมู่ด้ามแส้เก็บ ทีร่ างปืน เกบ็ กระสนุ 7, 6, 5, 4, 3 พลหมายเลข 5 ดูส่วนบรรจทุ ง้ั 7 ครบ และเรียง เข้าหีบ...กระสนุ กันตามหมายเลข แล้วร่วมกันประกอบกระสุน กบั พลหมายเลข 3 และ 4 โดยใส่สลกั ปลอดภยั ไว้อย่างเดมิ แล้วส่งให้พลหมายเลข 6, 7 และ 6, 7 น�ำเข้าเกบ็ ในซองกระสุนและหบี กระสุนต่อไป เกบ็ เคร่อื งตั้งมมุ ผบ. หมู่ นำ� เก็บในหบี ประจ�ำหมู่ให้ถกู ท่ี ยงิ ...ประณตี 116 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ เก็บสาย...โทรศพั ท์ 7 เก็บสายโทรศพั ท์ที่วางไปยงั รอง ผบ.ร้อย. ติดเหลก็ ...ยดึ เปล ล, 1, 4 ถา้ ไมเ่ ขา้ ทพี่ ลหมายเลข 4 ขาน “สงู ๆ ตำ�่ ๆ, ขวา ๆ, ซ้าย ๆ” เมอ่ื เข้าท่ีพลหมายเลข 4 บอก “เสรจ็ ” ถอดสลักยดึ หวั ... ล, 1 ดงึ สลกั ยดึ หวั รางปืนออกจากตำ� แหน่งตง้ั ยงิ ไปใส่ รางปืน ไว้ในรลู ่าง (ตำ� แหน่งเตรยี มเดิน) รวมราง พลประจำ� ปืน ดคู �ำอธิบายการแยกราง ทัง้ หมด สวมผ้า...คลมุ ปืน ล, 1, 4 โดยพลหมายเลข 4 น�ำมาวางไว้ท่ีเปลท้ายปืน แล้วพลหมายเลขต่าง ๆ ช่วยกนั คลุมปืน พบั ...โล่ล่าง 4, 5 พลหมายเลข 4, 5 ยกขน้ึ ให้ถงึ ท่ี ตดิ เหลก็ ยดึ ท้าย... 6 ถ้าไม่เข้าให้พลหมายเลข 7 มาช่วย รางปืน พับ...โล่บน ล, 1 พลเล็งและหมายเลข 1 จะต้ังโล่บนเม่ือโล่บน ยงั พบั อยู่
คำ� ส่ัง พลประจ�ำปนื ท่ี การปฏิบัติ ปฏบิ ตั ิ สวมผ้าหุ้มปาก ...ล�ำกล้องปืน 5 น�ำผ้าหุ้มปากล�ำกล้องปืนมาสวมที่ปากล�ำกล้อง เกบ็ เหล็กคดั ท้าย... ปืน อนั ซ้าย 6 น�ำมาใส่ไว้ในทเ่ี กบ็ ทร่ี างปืนอนั ซ้าย ใส่สลกั ...ยึดเพลา หมุนห่วงพ่วงปืน 4, 5 ดึงสลักพลกิ ข้นึ ให้อยู่ในต�ำแหน่งเตรยี มเดนิ ในท่า...เตรยี มเดนิ 2, 3 หมุนลงมาไว้ในต�ำแหน่งเตรียมเดินโดยหมุน เกบ็ หีบเครือ่ งมอื ตามเขม็ นาฬิกาลงข้างล่าง ...ประจ�ำหมู่ 6, 7 น�ำเก็บไปยังรถลาก (ถ้าในการฝึกครั้งนั้นไม่มี ปลด...ห้ามล้อ รถลากให้ก�ำหนดท่ใี ดท่ีหนงึ่ ขนึ้ ) 4, 5 กระท�ำภายหลัง เมื่อต้องการจะเคล่ือนย้าย เตรียมห่วงพ่วงปืนกบั รถลาก 10. รายละเอยี ดการปฏบิ ัติตามคำ�ส่งั การฝกึ เลิกยิงเป็นบุคคล เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 117 ปฏบิ ตั ติ รงกนั ข้ามกับการฝึกตง้ั ยิงเป็นบคุ คล 11. การฝึกตงั้ ยงิ เปน็ หมู่ ความมุ่งหมายในการฝึกเป็นหมู่คอื ต้องการให้เกดิ สมรรถภาพสงู แก่พลประจำ� ปืน ทั้งในด้านความถกู ต้องและความรวดเรว็ ในการปฏบิ ตั ิ คำ� บอกค�ำสงั่ “หมู่..........ต้งั ยงิ ” การปฏบิ ตั ิ ทกุ คนขานตำ� แหนง่ หมายเลขของตนออกมา แลว้ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทดี่ งั น้ี พลเล็งมหี น้าที่ ถอดผ้าคลมุ ฐานเครื่องเลง็ ถ้าจำ� เป็นส่ายควงส่ายช่วยในการแยกราง เปิดฝาครอบหลอดระดบั ท้งั สองอัน ใส่สลักหวั รางปืน เมอ่ื แยกรางแล้ว
118 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ เอากล้องพาโนรามคิ มาสวม ตง้ั กล้องปกติ ส่ายควงส่ายเม่อื 4 ร้อง ซ้าย ๆ ขวา ๆ ช่วยปลดเหลก็ ยดึ เปล ปรับหลอดระดบั ทง้ั สอง ปรบั หลอดระดบั ทางสงู ก่อน เมอื่ ทกุ คนทำ� หนา้ ทข่ี องตนเสรจ็ และ 1 รอ้ งบอก “เสรจ็ ” กช็ ดิ เทา้ ยกมอื ขนึ้ รายงาน “หมู่...พร้อม” หมายเลข 1 มีหนา้ ที่ ถอดผ้าคลมุ ฐานเคร่อื งเล็ง เปิดฝาครอบหลอดระดบั ท้งั สองอนั ใส่สลักหวั รางปืน เม่อื แยกรางแล้ว ช่วยปลดเหลก็ ยึดเปลเมื่อ 4 ร้อง สงู ๆ ตํา่ ๆ ใส่สลักหวั รางปืน เม่อื แยกรางแล้ว เปิดลกู เล่อื น ต้ังโล่บน ตงั้ ปืนปกติ โดยตั้งมาตรามมุ สงู 300 มิลเลยี ม มมุ พืน้ ที่ 300 มลิ เลียม ปรบั หลอดระดบั ทางสูงก่อน แล้วปรับหลอดระดบั ทางข้าง ชดิ เท้าร้อง “เสรจ็ ” เม่อื ปรบั หลอดระดบั แล้ว หมายเลข 2 มหี นา้ ท่ี ปรับหลอดระดบั ทางสงู ก่อน แล้วปรบั หลอดระดบั ทางข้าง ชดิ เท้าร้อง “เสรจ็ ” เม่อื ปรับหลอดระดบั แล้ว หมายเลข 3 มีหน้าที่ หมุนห่วงพ่วงปืนในท่าตง้ั ยิง ช่วยแยกราง หมายเลข 4 มหี น้าท่ี ห้ามล้อ ปลดสลักยึดเพลา แล้วร้อง “แยก” ปลดโล่ล่าง ปลดเหล็กยึดเปล หมายเลข 5 มีหนา้ ที่ เตรียมหลักเลง็ ปลดผ้าหุ้มปากล�ำกล้องปืน
หมายเลข 6 มีหน้าท่ี เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 119 ปลดเหล็กยดึ ท้ายรางปืน ช่วยแยกราง เม่อื 4 ร้อง “แยก” ติดเหล็กคดั ท้ายอันซ้าย หมายเลข 7 มีหน้าท่ี ช่วย 3 แยกราง ตั้งโล่บน หยิบหบี เครอ่ื งมือประจ�ำหมู่ ช่วย 6 วางสายโทรศพั ท์ไปยงั รอง ผบ.ร้อย. หมายเหตุ เมื่อทุกคนท�ำหน้าท่ีของตนเสร็จเรียบร้อยแล้วก็ไปประจำ� ต�ำแหน่ง เตรยี มรบ 12. การฝกึ เลิกยงิ เป็นหมู่ ทุกคนท�ำเหมือนท่าตั้งยิง แต่กลับกัน ใครเอาอะไรออกมา ก็กลับเอาเข้าไป เว้นแต่ หมายเลขต่อไปน้ี พลเลง็ ถอดสลักยึดหวั รางปืนก่อน ช่วยตดิ เหลก็ ยึดเปล ปิดฝาครอบหลอดระดบั เกบ็ กล้องเลง็ สวมผ้าคลมุ ฐานเคร่ืองเลง็ หมายเลข 1 ถอดสลักยึดหวั รางปืน ช่วยติดเหลก็ ยดึ เปล โดยหมนุ ควงสงู เมื่อ 4 ร้อง สงู ๆ ตํ่า ๆ ปิดลกู เล่อื น ปิดฝาครอบหลอดระดบั สามผ้าคลมุ ฐานเครอ่ื งเลง็ (ใส่ให้พลเลง็ ด้วย)
120 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ หมายเลข 4 วงิ่ ออกมารอ้ ง สงู ๆ เพอ่ื เตอื น ล และหมายเลข 1 ใหช้ ว่ ยตดิ เหลก็ ยดึ เปล ตดิ เหล็กยึดเปลแล้วร้อง “รวม” พบั โล่ล่าง ใส่สลกั ยดึ เพลา ปลดห้ามล้อ หมายเลข 6 เกบ็ เหลก็ ดดั ทา้ ยอนั ซา้ ย รวมราง ตดิ เหลก็ ยึดท้ายรางปืน หมายเลข 7 พบั โลบ่ นแลว้ ช่วย 3 รวมราง เก็บสายโทรศพั ท์ เมอ่ื ทกุ คนปฏบิ ตั เิ สรจ็ ใหก้ ลบั ไปอยทู่ ท่ี า้ ยปนื แถว เมอื่ เขา้ แถวแลว้ พลเลง็ สง่ั “นบั ” พรอ้ มกบั สลกั มอื ลง 1 - 7 นบั พรอ้ มกบั เอามอื ลงตามลำ� ดบั เสรจ็ แลว้ ล รายงาน “หม.ู่ ..เสรจ็ ” 13. การปฏิบตั ติ ามค�ำ สัง่ ยิง ค�ำสง่ั พลประจำ� ปนื ที่ การปฏบิ ัติ ต้ังมุมทศิ 2,735 ปฏบิ ัติ ต้ังมุมพนื้ ท่ี 300 ล ตงั้ มมุ ทศิ 2,735 ทม่ี าตรามมุ ทศิ สว่ นใหญส่ ว่ นยอ่ ย แล้วหมุนควงส่ายให้เส้นเล็งของกล้องเล็งตรงไป ยังหลักเลง็ ท่ปี ักไว้ 1 ตั้งมุมพ้นื ทป่ี กติ โดยตง้ั ค่าส่วนใหญ่ท่เี ลข 3 และ มาตราส่วนย่อยที่เลข 0 แล้วปรับระดับทางยาว ด้วยควงสูง
คำ� สั่ง พลประจ�ำปืนที่ การปฏบิ ัติ ตั้งมุมยงิ 370 ปฏบิ ัติ เตรยี มส่วนบรรจุ 4 1 ตั้งค่ามุมยิง 370 โดยต้ังค่ามุมยิงส่วนใหญ่ท่ี ตงั้ ชนวนถ่วงเวลา เลข 3 และส่วนย่อยทเ่ี ลข 70 แล้วปรบั ระดบั ทาง ยาวด้วยควงสูงตง้ั เสรจ็ แล้วร้อง “เสร็จ” ตั้งโล่บน พลประจำ� ปืน 5 น�ำส่วนบรรจุ 5, 6, 7 ออกจากปลอกกระสนุ ประจำ� ...ต�ำแหน่ง 3, 4, 5 พลหมายเลข 5 ประกอบกระสนุ และพลหมายเลข 3 เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 121 ใช้กุญแจหมุนร่องให้ตรงกับอักษร DELAY แล้ว วางนอนไว้ ล ถ้าโล่บนบังเส้นเล็งของกล้องเล็ง พลเล็งก็พับโล่ บนลงได้ ปฏบิ ตั ติ ามรปู ขา้ งล่าง ทกุ คนอย่ใู นทา่ ยนื หนั หน้า ไปทศิ ทางยงิ พลประจำ� ปืนท้าย พลประจำ� ปืน ปฏบิ ตั ิตามท่ไี ด้กล่าวมาแล้ว ปืนแถว ทั้งหมด ปฏิบตั ิตามรปู หมายเลข 7, 6, 3, 5 น่งั หันหน้า เข้าหากนั ดังรูป พลประจำ� ปืนประจำ� ตำ� แหน่ง...เตรยี มรบ
122 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 14. การฝึกเป็นหม่เู มือ่ ปนื พ่วงอยกู่ บั รถลาก (ปบค.95 ขนาด 105 มม.) 1. คำ� สัง่ “พลประจ�ำปืน...ประจำ� ที่” “ตรวจต�ำแหน่ง ล, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7” การปฏิบตั ดิ ังรปู ข้างล่าง พลขบั ผบ. หมู่ 2. ค�ำสง่ั “พลประจ�ำปืนหน้ารถ...แถว” “ตรวจตำ� แหน่ง ล 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7” การปฏิบตั ิ พลเล็งร้อง “แถว” เข้าแถวชมู อื ผบ. หมู่ บอก “น่งิ ” พลเลง็ ลด มือลงพร้อมกบั ร้อง “นับ” (เข้าแถวดงั รปู ) พลขบั ผบ. หมู่ 3. ก) คำ� สงั่ “พลประจ�ำปืนเตรยี ม...ขน้ึ รถ” การปฏบิ ตั ิ พลประจ�ำปืนมาประจำ� ท่ี ตามรปู ในข้อ 1 ข) ค�ำสง่ั “ขนึ้ รถ” การปฏบิ ัติ พลประจ�ำปืนขนึ้ รถไปนง่ั ตามตำ� แหน่ง ดังรูป
พลขบั ผบ. หมู่ 4. คำ� ส่ัง “พลประจ�ำปืน ลงรถ” การปฏิบตั ิ พลประจ�ำปืนลงจากรถมาประจำ� ที่ตามรปู ในข้อ 1 5. คำ� สัง่ “ปลดปืนจาก รถลาก” การปฏบิ ตั ิ พลประจ�ำปืนประจำ� ตำ� แหน่ง ตามรูป พลเลง็ ปลดสายไฟทตี่ อ่ กบั รถลากแลว้ ไปประจำ� ทล่ี อ้ ชว่ ยในการกวา้ นลอ้ ตอ่ ไป เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 123 หมายเลข 1 ถอดระบบเครอื่ งไฟทา้ ยปนื ออกจากปนื แลว้ นำ� ไปเกบ็ ไวใ้ นหบี เครือ่ งมือประจำ� หมู่ แล้วไปประจ�ำท่ีล้อ ช่วยในการกว้านล้อต่อไป หมายเลข 2, 3, 6, 7 ช่วยกนั ปลดปืนออกจากรถลาก หมายเลข 4, 5 ช่วยกนั โหนปืนท่ปี ากล�ำกล้องปืน หมายเลข 2 เป็นผู้ปลดสลกั ขอพ่วงท้ายรถ แล้ว 3, 6, 7 ช่วยกนั ยกให้พ้น ขอพ่วงท้ายรถ หมายเลข 2, 3, 4, 5, 6 และ 7 ช่วยกนั เคลื่อนปืนไปยังท่ีตง้ั ยิง หมายเลข 2, 3, 6, 7 วางท้ายปืนลงทพ่ี น้ื แล้ว 4, 5 ไปห้ามล้อทนั ที 6. ค�ำส่งั “พ่วงปืนเข้ากบั ...รถลาก” การปฏิบัติ ตรงกันข้ามกบั การปลดปืนจากรถลาก
บทท่ี การจัดและหน้าทคี่ วามรับผิดชอบของ ผ้ตู รวจการณ์หนา้ 124 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 1. กลา่ วทว่ั ไป การใช้ ป.สนามให้ได้ผลนั้น โดยปกติแล้วต้องการการตรวจการณ์บางแบบ ประกอบดว้ ยเสมอ อาจจะเปน็ การตรวจการณด์ ว้ ยสายตา (คน) ตรวจการณด์ ว้ ยเครอ่ื งมอื อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ (เช่น เรดาร์) หรือการตรวจการณ์ทางอ้อมใด ๆ (เช่น ศึกษา ภาพถ่ายทางอากาศ) ผู้ตรวจการณ์เป็นเจ้าหน้าท่ีหลักคนหน่ึง ในระบบการตรวจการณ์ของทหาร ปนื ใหญ่ จงึ จดั ประจำ� หนว่ ยทหารปนื ใหญเ่ กอื บจะทกุ หนว่ ยในรปู ของหมตู่ รวจการณห์ นา้ 2. หมูต่ รวจการณห์ นา้ ก. โดยปกตผิ ู้ตรวจการณ์หน้าประกอบด้วย 1. กำ� ลงั พล ก) ผู้ตรวจการณ์หน้า อัตรา ร.ท. 1 นาย ข) นายสบิ ลาดตระเวน อัตรา จ่า 1 นาย ค) นายสิบตดิ ต่อ อตั รา จ่า 1 นาย ง) พลวทิ ยโุ ทรศพั ท์ อตั รา ส.ต. 1 นาย จ) ทหารบรกิ าร พลทหาร 1 นาย จาก บก.ร้อย.
2. อาวุธยุทโธปกรณ์ท่สี �ำคัญ ก) รอบ 1/4 ตัน พร้อมรถพ่วง 1 คนั ข) วิทยุ AN/GRC-160 1 เครอ่ื ง ค) วิทยุ AN/PRC-68 2 เครื่อง ง) โทรศัพท์สนาม 3 เครอ่ื งพรอ้ มสาย1/2ไมล์ จ) กล้องส่องสองตา 2 กล้อง ฉ) ปลย. 5.56 มม. 4 กระบอก ช) เขม็ ทศิ M. 2 4 ตลบั ซ) นาฬิกาจบั เวลา 1 เรือน ข. หมู่ตรวจการณ์หน้าจดั ไว้ในอตั ราการจดั ของหน่วยต่าง ๆ ดงั น้ี 1. ในร้อย ป. ของ พนั .ป. 105 มม. กองร้อยละ 3 หมู่ 2. ในร้อย บก.พนั .ป. 155 มม. พล.ป. 2 หมู่ 3. ในร้อย บก.พนั .ป. 155 มม. กรม ป.พล.ร. 3 หมู่ หมายเหตุ ศป. มแี นวความคดิ ในอนั ทจ่ี ะปรบั อตั ราการจดั ของหมตู่ รวจการณห์ นา้ เสยี ใหม่ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 125 ให้เหมาะสมกับภารกิจและหน้าท่ีความรับผิดชอบที่เกิดขึ้น (ขณะน้ียังไม่ได้เปลี่ยนแปลง) โดยเปลยี่ นชอ่ื เป็น “ชดุ ยงิ สนับสนนุ ” (ชยส., Fire Support Team = FIST) 1. กำ� ลังพล ก. หัวหน้าชดุ ยงิ สนบั สนนุ (FIST Chief) อัตรา ร.ท. 1 นาย ข. นายสบิ ยงิ สนบั สนนุ (FS SGT) อตั รา จ่า 1 นาย ค. ผู้ตรวจการณ์หน้า (FO) อตั รา จ่า 1 นาย ง. พลวิทยุโทรศพั ท์ (ผช.ผตน. RTO ASSTFO) อัตรา ส.อ. 3 นาย จ. พลขบั (พล., Driver) อัตรา ส.อ. 2 นาย 2. ยุทโธปกรณ์หลกั ประกอบด้วย ก. รยบ. 1/4 ตนั พร้อมรถพ่วง 2 คนั ข. วิทยุ AN/VRC-47 1 เคร่อื ง ค. วิทยุ AN/GRC-160 2 เครอ่ื ง
ง. วทิ ยุ AN/PRC-77 3 เคร่ือง จ. โทรศพั ท์สนาม 6 เครือ่ ง ฉ. กล้องวัดระยะด้วยแสงเลเซอร์ 4 กล้อง 3. ขีดความสามารถทต่ี ้องการ คอื ก. สามารถจดั พวก ผตน. พวกละ 2 นาย ได้ 3 พวก และเมือ่ จำ� เป็นก็อาจ จดั ไดถ้ งึ 4 พวก ทง้ั นเ้ี พอ่ื เพม่ิ ขดี ความสามารถในการตรวจการณใ์ หเ้ พยี งพอกบั ความจำ� เปน็ ข. สามารถประสานการยงิ สนบั สนนุ ใหก้ บั กองรอ้ ยดำ� เนนิ กลยทุ ธแ์ บบตา่ ง ๆ ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 126 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 3. หนา้ ท่หี รอื ความรับผดิ ชอบของ ผตน. ผทู้ ไ่ี ดร้ บั แต่งตง้ั ใหด้ �ำรงตำ� แหนง่ ผ้ตู รวจการณห์ น้านน้ั หมายความวา่ ได้รบั มอบ งานหลกั (Job) หรอื ชกท. ให้ ย่อมมหี น้าท่ี (Duties) หรอื ความรบั ผดิ ชอบ (Responsiblities) หลายประการ และแต่ละหน้าท่กี ็จะมีงาน (Tasks) ท่ีจะต้องกระทำ� ให้ได้อยู่หลายงานหรือ หลายกิจกรรมด้วยกนั ซ่งึ หน้าทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบของ ผตน. น้นั มหี ลายอย่าง แต่เมือ่ สรปุ แล้วจะได้ 4 ประการหลกั ๆ คอื ก. หน้าท่ใี นฐานะที่เป็นส่วนหนง่ึ ของชดุ หลกั ยงิ หรอื ระบบอ�ำนวยการยงิ ข. หน้าทใ่ี นฐานะทีเ่ ป็นส่วนหนง่ึ ของระบบค้นหาเป้าหมาย ค. หน้าท่ใี นฐานะท่ีเป็นผู้ประสานการยิงสนบั สนนุ ของกองร้อยด�ำเนินกลยทุ ธ์ ง. หน้าท่ใี นฐานะผู้บงั คบั บญั ชาหรือผู้น�ำหน่วย 4. งานของ ผตน. ในฐานะเปน็ ส่วนหนึ่งของชดุ หลักยงิ ก. ชดุ หลกั ยงิ (Gunnery Team) ของทหารปืนใหญ่ประกอบด้วย ผู้ตรวจการณ์ ศนู ย์อำ� นวยการยงิ (ศอย.) และส่วนยงิ (สย.) ข. ระบบอ�ำนวยการยิง ได้แก่ ระบบของทหารปืนใหญ่ส่วนหน่ึงในอันที่ จะหาหลักฐานยิงให้กับอาวุธและกระสุน ซ่ึงจะเก่ียวข้องกับการก�ำหนดที่ตั้งเป้าหมาย
ที่ต้ังอาวุธ และกรรมวิธีในการหาหลักฐานยิง ผตน. เก่ียวข้องกับการก�ำหนดท่ีตั้งเป้าหมาย เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 127 ต่าง ๆ ให้สัมพันธ์กับที่ตั้งอาวุธท่ีจะท�ำการยิง ค. งานของ ผตน. ในบทบาทนห้ี ลกั ๆ กค็ อื ชว่ ยในการแกป้ ญั หาทางหลกั ยงิ ให้ สามารถทำ� การยงิ ป. ไดอ้ ยา่ งราดเรว็ ทนั เวลา แมน่ ยำ� และไดผ้ ลดยี ง่ิ ขนึ้ ดว้ ยการกำ� หนดท่ี ตงั้ เปา้ หมาย การขอยงิ การปรบั การยงิ และตรวจผลการยงิ งานทจี่ ะทำ� ใหไ้ ดม้ าตรฐาน ไดแ้ ก่ 1. การเลือกและการใช้ท่ตี รวจการณ์ 2. การเขยี นภาพภมู ปิ ระเทศสงั เขป 3. การหาทศิ ทางในบรเิ วณเป้าหมาย 4. การกำ� หนดและการรายงานทต่ี งั้ ทต่ี รวจการณ์ 5. การรายงานสถานการณ์ทางยทุ ธวธิ ไี ปยัง ศอย. และ นยส. (นตต.) 6. การกำ� หนดท่ตี ้ังเป้าหมายด้วยวธิ ีพิกดั ตาราง 7. การกำ� หนดท่ตี ้งั เป้าหมายด้วยวธิ ีพกิ ัดโปล่าร์ 8. การกำ� หนดทต่ี ง้ั เป้าหมายด้วยวธิ กี ารย้ายจากจุดทราบทีต่ ้ัง 9. การเตรยี มและการส่งคำ� ขอยิง 10. การปรับการยงิ เป็นพน้ื ทโ่ี ดยวธิ ีสร้างห้วงควบตามล�ำดบั ขัน้ 11. การปรับการยงิ เป็นพืน้ ทโ่ี ดยวธิ สี ร้างห้วงควบเร่งด่วน 12. การขอและการปรับการยิงกระสุนส่องแสงโดยวิธีส่องสว่างต่อเนื่องและ ประสานส่องสว่าง 13. การขอและปรบั การยงิ โดยการยงิ คบื 14. การขอและปรับการยงิ ฉากป้องกันขนั้ สดุ ท้าย 15. การขอและปรับการยงิ เป้าหมายรูปร่างผดิ ปกติ 16. การขอและปรบั การยงิ โดยเทคนคิ การใช้เสยี ง 17. การหาทศิ ทางหรือพกิ ดั ต�ำบลใด ๆ โดยใช้เทคนคิ การยงิ หมายพิกดั 18. การด�ำเนนิ การยงิ ควันฉับพลัน 19. การด�ำเนินการยงิ ฉากควนั เร่งด่วน 20. การด�ำเนนิ การยงิ ข่มฉบั พลนั
21. การดำ� เนนิ การยงิ ข่ม 22. การเลือกและก�ำหนดทต่ี ้งั จุดยงิ หาหลักฐานและจุดอ้าง 23. การดำ� เนนิ การยงิ หาหลักฐาน 24. การดำ� เนินการยงิ โดยวิธีตรวจการณ์ร่วม 25. การด�ำเนนิ การยงิ ท�ำลาย 26. การดำ� เนินการยงิ หาหลกั ฐานของ ค. 27. การขอและการปรบั การยงิ ปืนเรอื 28. การขอและการปรบั การยิง 2 ภารกจิ พร้อมกัน 29. การดำ� เนินการยงิ ต่อเป้าหมายทป่ี รากฏและหายไปอย่างรวดเรว็ 30. การดำ� เนินการยงิ กระสุนพเิ ศษอนื่ ๆ 5. งานของ ผตน. ในฐานะท่เี ป็นส่วนหน่งึ ของระบบคน้ หาเป้าหมาย (คปม.) 128 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ก. ในระบบ คปม. ผตู้ รวจการณห์ นา้ ยอ่ มมหี นา้ ทหี่ ลกั เกยี่ วกบั การคน้ หา, พสิ จู น์ ทราบ และการกำ� หนดทต่ี ง้ั หมายตา่ ง ๆ ใหถ้ กู ตอ้ งและทนั เวลาพอทจ่ี ะโจมตอี ยา่ งไดผ้ ล ข. การเฝ้าตรวจสนามรบแล้วรายงานข่าวสารต่าง ๆ ให้หน่วยเหนือและหน่วย ที่เก่ียวข้องได้ทราบงานท่จี ะต้องท�ำให้ได้มาตรฐานในบทบาทนี้ ได้แก่ 1. การเตรยี มและดำ� เนนิ กรรมวธิ ีต่อแผนผงั การมองเห็น 2. การวเิ คราะห์และรายงานหลมุ ระเบดิ และสะเก็ดระเบิด 3. การรวบรวมและรายงานข่าวสาร 4. การดำ� เนินกรรมวธิ ตี ่อเชลยศึกหรือผู้ต้องสงสัย 5. การจดจำ� ทหารและยทุ โธปกรณ์ของข้าศกึ 6. การจดจำ� ยานเกราะของข้าศกึ 7. การจดจำ� อากาศยานของข้าศึก
6. งานของ ผตน. ในฐานะที่เป็นผ้ปู ระสานการยงิ สนับสนนุ ของกองรอ้ ย เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 129 ก. ในฐานะ ผปยส. ของกองรอ้ ยดำ� เนนิ กลยทุ ธ์ ผตน. ยอ่ มมคี วามรบั ผดิ ชอบหรอื หนา้ ทหี่ ลกั ในการแนะนำ� แก่ ผบ.รอ้ ย. ทตี่ นสนบั สนนุ เกยี่ วกบั เรอ่ื งการยงิ สนบั สนนุ ทงั้ ปวง ข. การวางแผนและประสานการยิงสนับสนุนให้ผสมผสานเข้ากับแผนด�ำเนิน กลยุทธ์ของหน่วยงานน้นั หรอื ความช�ำนาญในเรือ่ งนี้ ได้แก่ 1. การเตรียมและดำ� รงแผนการยงิ สนับสนนุ 2. การเตรียมและดำ� รงแผ่นสถานภาพการยิงสนบั สนนุ 3. การเตรียมแผ่นบรวิ ารแผนท่ี 4. การเตรยี มแผ่นบรวิ ารขดี ความสามารถของการยิงสนบั สนนุ 5. การเตรยี มและการดำ� เนินกลวธิ ีต่อบัญชีเป้าหมาย 6. การน�ำการสนับสนนุ ทางอากาศใกล้ชดิ (สอก.) เข้าโจมตีเป้าสนาม 7. การวางแผนการยงิ สนบั สนุนการรับด้วยวธิ ีรกุ 8. การวางแผนการยงิ สนบั สนนุ การรบด้วยวธิ ีรบั 9. การใหค้ ำ� แนะนำ� ผบ.หนว่ ยดำ� เนนิ กลยทุ ธเ์ กยี่ วกบั เรอ่ื งการยงิ สนบั สนนุ ทงั้ ฝ่ายเราและข้าศกึ 10. การขอรบั การสนบั สนุนทางอากาศใกล้ชดิ และบรรยายสรปุ แก่นกั บนิ 11. การรายงานแผนดำ� เนนิ กลยทุ ธ์และแผนการยงิ สนบั สนนุ ให้หน่วยเหนอื และ นยส. (นตต.) ทราบ 12. การประสานการยงิ ให้กับกองร้อยด�ำเนินกลยทุ ธ์ 13. การขอ ฮ.โจมตี 14. การเตรียม การใช้ และส่งแผนการยงิ เร่งด่วน 15. การวิเคราะห์เป้าหมายและพจิ ารณาใช้อาวธุ โจมตี 7. งานของ ผตน. ในฐานะเป็นผ้บู งั คับบัญชาหรอื ผูน้ ำ�หน่วย ผู้ตรวจการณ์หน้าในฐานะท่ีเป็นผู้บังคับบัญชาหรือผู้น�ำหน่วย ย่อมมีความ รับผิดชอบหลัก เช่น เดียวกับผู้บังคับบัญชาท้ังหลาย คือ เตรียมคนและหน่วยของตนให้ พร้อมที่ปฏิบัติงานในความรับผิดชอบอย่างดีที่สุด และควบคุมก�ำกับดูแลการปฏิบัติงาน ให้มีประสทิ ธภิ าพสงู สดุ
130 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ บทที่ เครือ่ งชว่ ยในการตรวจการณ์ 1. กล่าวทวั่ ไป ก. การยงิ อย่างแม่นย�ำและทนั เวลา เป็นปัจจัยหลักทจี่ ะท�ำให้การได้อำ� นาจ การยงิ ของ ป. ได้ผลสมความม่งุ หมาย ผตน. ทเ่ี ชย่ี วชาญในหลกั การและร้จู กั ได้เครอ่ื งมอื ช่วยต่าง ๆ อย่างฉลาดจะช่วยให้การยิงกระทำ� ได้อย่างแม่นยำ� และรวดเรว็ ข. เคร่อื งช่วยในการตรวจการณ์น้ันมจี �ำนวนมาก ในทนี่ ี้จะกล่าวเฉพาะ 1. หลกั ฐานเพ่มิ เตมิ แผนที่ (Auxiliary Map Data) 2. แผ่นพัดตรวจการณ์ (Observed Fire Fan, Of.Fam) 3. ภาพภูมปิ ระเทศสังเขป (Terrain Sketch) 4. แผนผงั การเหน็ (Visibility Diagram) 5. การวดั มมุ ด้วยมอื (Measuring Angle With Hand) 6. กล้องส่องสองตา (Binocularx) 7. เขม็ ทศิ (Compass) 8. กล้องวดั ระยะด้วยแสงเลเซอร์ (Laser Range Finder) 9. กล้องส่องเวลากลางคนื (Night Vision Device) 10. เวลาต่าง แสง-เสยี ง (Flash-To-Bang Time)
2. หลักฐานเพมิ่ เติมแผนท่ี เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 131 ก. เม่อื ผตน. กำ� หนดท่อี ยู่ของตนหาทศิ และวางแผนทใ่ี ห้ถกู ทศิ แล้ว ถ้าไม่มี แผ่นพัดตรวจการณ์ ก็จะเริ่มเพิ่มเติมหลักฐานลงบนแผนท่ี เพ่ือช่วยให้การก�ำหนดทิศทาง และทต่ี ้ังของตำ� บลต่าง ๆ ถูกต้องและรวดเรว็ ขน้ึ โดย 1. ลากเสน้ รศั มลี งบนแผนท่ี แสดงทศิ ทางจากทต่ี รวจการณ์ แตล่ ะเสน้ หา่ งกนั เป็นมมุ ตามทต่ี ้องการ (เตม็ 100 น่าจะง่ายกว่า) 2. เขยี นเส้นโค้งแสดงระยะตัดรศั มเี หล่าน้ี โดยใช้ทต่ี ั้งของทต่ี รวจการณ์เป็น จดุ ศูนย์กลางโดยปกตจิ ะใช้ห้วง 1,000 เมตร 3. หมายจดุ สำ� คญั ตา่ ง ๆ ซงึ่ ไมป่ รากฏในแผนทล่ี งในแผนท่ี และควรหมายจดุ อ่นื ๆ ทต่ี ้องใช้บ่อย ๆ ลงไปด้วย เช่น จุดอ้าง จุดยิงหาหลกั ฐาน เป้าหมายต่าง ๆ เป้าหมาย ทเี่ คยยิงมาแล้วและต�ำบลท่นี ่าจะมเี ป้าหมายหรอื ข้าศึกอยู่ ข. เมอื่ ตอ้ งการทราบมมุ ภาคของจดุ หรอื เปา้ หมายใด กอ็ าจหาไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ โดยพิจารณาจากเส้นรัศมีท่ีเขียนขึ้น และระยะก็จะทราบจากการพิจารณาเส้นโค้งซึ่งลาก ตดั เส้นรศั มเี หล่าน้นั
132 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 3. แผ่นพดั ตรวจการณ์ แผ่นพดั ตรวจการณ์ เป็นเครอ่ื งมอื ช่วยในการก�ำหนดจดุ ต่าง ๆ ทตี่ รวจเห็นใน ภมู ปิ ระเทศลงบนแผนทไี่ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี และเปน็ เครอ่ื งชว่ ยหาหลกั ฐานดว้ ยการกรยุ แบบโปลา่ ร ์ ลงบนแผ่นพดั ได้โดยตรง แผ่นพดั ตรวจการณ์ทใ่ี ช้อยู่ในปัจจบุ นั มี 3 ชนิด ด้วยกนั คือ ก. แผน่ พดั ตรวจการณช์ นดิ 1 มมุ ฉาก เปน็ เครอ่ื งมอื วดั มมุ ทำ� ดว้ ยวตั ถโุ ปรง่ ใส รปู ร่างคล้ายพดั แบ่งมมุ ไว้บนแผ่นพดั 1,600 มลิ . โดยแบ่งเส้นรศั มหี ่างกนั เส้นละ 100 มิล. มีส่วนโค้งก�ำหนดระยะตามเส้นรศั มเี ป็นช่วง ๆ ช่วงละ 500 เมตร ซงึ่ เรม่ิ ตัง้ แต่ 1,000 เมตร ถึง 6,000 เมตร ข. แผ่นพัดตรวจการณ์ชนิดครึ่งวงกลม เป็นเคร่ืองมือกรุยชนิดสร้างด้วยวัตถุ โปร่งใส มีรูปร่างเป็นครง่ึ วงกลม เขยี นมมุ ไว้บนแผ่นพัด 6,400 มลิ . ใช้สำ� หรบั วดั มุมได้ทัง้ เป็น มิล. และ องศา แบ่งมาตราตามส่วนโค้งละเอยี ดถงึ 20 มิล. และ 2 องศา เขียนตวั เลข กำ� กบั ไวท้ กุ ๆ 100 มลิ . และ 10 องศา ระยะแสดงไว้ทข่ี อบแผน่ พดั สามารถอา่ นได้ถงึ 7,000 เมตร และยงั มบี รรทดั ฉากส�ำหรับกรุยจดุ และอ่านพกิ ัดรวมอยู่ในแผ่นพดั ชนิดนี้ด้วย
ค. แผ่นพัดตรวจการณ์ชนิดวงกลม เป็นเคร่ืองมือวัดมุมท�ำด้วยวัตถุโปร่งใส มรี ปู รา่ งเปน็ วงกลม เขยี นไวบ้ นแผน่ พดั 6,400 มลิ . ไดแ้ บง่ เปน็ เสน้ รศั มหี า่ งกนั เสน้ ละ 100 มลิ . และระหวา่ งเสน้ 100 มลิ . จะมเี สน้ แบง่ ครง่ึ ทำ� มมุ หา่ งกนั 50 มลิ . มเี สน้ โคง้ รว่ มศนู ยก์ ลางเดยี วกนั ซงึ่ ตดั เสน้ รศั มใี ชแ้ ทนระยะเปน็ ชว่ ง ๆ ชว่ งละ 500 เมตร ซงึ่ เรม่ิ ตง้ั แต่ 1,000 เมตร ถงึ 3,000 เมตร และยงั มบี รรทดั ฉากสำ� หรบั กรยุ จดุ และอา่ นพกิ ดั รวมอยใู่ นแผน่ พดั ชนดิ นดี้ ว้ ย 4. ภาพภมู ิประเทศสงั เขปและแผนผงั จดุ อา้ ง ก. ภาพภมู ปิ ระเทศสงั เขป เปน็ ภาพทผ่ี ตู้ รวจการณว์ าดขน้ึ อยา่ งครา่ ว ๆ เพอื่ ใช้ แทนภมู ปิ ระเทศจรงิ ในการกำ� หนดทตี่ งั้ เปา้ หมายโดยมจี ดุ อา้ ง จดุ ยงิ หาหลกั ฐาน เปา้ หมาย และจดุ ทคี่ าดวา่ ขา้ ศกึ จะปรากฏแสดงไว้ ลานจอด ฮ. เรดาร์ หนิ ดำ� รงั ปนื กล คลงั อาวธุ ภต 0950 ภต 1120 ภต 0500 ภต 0600 ภต 0820 ด + 30 ด + 45 ด + 30 ด + 30 ด + 10 เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 133 ข. ภาพภมู ปิ ระเทศสงั เขปนจ้ี ะชว่ ยใหผ้ ตู้ รวจการณก์ ำ� หนดทตี่ งั้ เปา้ หมายไดเ้ รว็ ขนึ้ เช่น ถ้าเป้าหมายปรากฏข้ึนใกล้กับจุดใด ๆ ที่เขียนแสดงไว้ในภาพภูมิประเทศสังเขป ผ้ตู รวจการณก์ จ็ ะสามารถหามมุ ภาคไปยงั เปา้ หมายได้อย่างรวดเรว็ โดยวดั มมุ ข้างระหวา่ ง จดุ ทที่ ราบมมุ ภาคกบั เปา้ หมาย แลว้ นำ� คา่ มมุ ขา้ งทวี่ ดั ไดอ้ าจจะโดยการใชก้ ลอ้ งสอ่ งสองตา หรือใช้มอื กไ็ ด้ ไปค�ำนวณหามมุ ภาคของเป้าหมายต่อไป ค. แผนผงั จดุ อา้ ง เปน็ แผนผงั ซงึ่ กำ� หนดมมุ ภาคของตำ� บลสำ� คญั ในภมู ปิ ระเทศไว้ ล่วงหน้า เช่นเดียวกบั ภาพภูมิประเทศสงั เขป เพือ่ ช่วยผู้ตรวจการณ์ก�ำหนดทต่ี ้งั เป้าหมาย ได้รวดเรว็ เช่นกนั
220 340 750 800 920 1150 1360 เรดาร์ รถถงั หนิ ขาว รงั ปก. จล. ตน้ ไมเ้ ดย่ี ว ต 120 410 50 120 230 210 แผนผงั จดุ อ้างแบบหนึง่ 5. แผนผังการเหน็ 134 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ แผนผงั การเหน็ เปน็ ภาพสงั เขปของพน้ื ทตี่ รวจการณข์ องผตู้ รวจการณ์ เขยี นขน้ึ ตาม มาตราสว่ นของแผนที่ แสดงพนื้ ทท่ี ผี่ ตู้ รวจการณไ์ มส่ ามารถมองเหน็ ไดจ้ ากทตี่ งั้ ของตน แผนผงั การเหน็ เปน็ สงิ่ สำ� คญั ยง่ิ สำ� หรบั ฝอ.2 พนั ป. โดยพจิ ารณาแผนผงั การเหน็ แตล่ ะแผน่ ทไ่ี ดร้ บั จากผตู้ รวจการณท์ กุ ๆ คน ฝอ.2 กส็ ามารถทจี่ ะพจิ ารณาพนื้ ทต่ี า่ ง ๆ ในเขตปฏบิ ตั กิ ารของ หนว่ ยรบั การสนบั สนนุ ทไ่ี มอ่ าจทำ� การตรวจการณไ์ ดอ้ ยา่ งทว่ั ถงึ ฝอ.2 กจ็ ะจดั ตง้ั ทตี่ รวจการณ์ ของกองพนั ขน้ึ เพอื่ ใหส้ ามารถทำ� การตรวจการณไ์ ดค้ รอบคลมุ พน้ื ทตี่ า่ ง ๆ เหลา่ นนั้ ถา้ สามารถ ทำ� ได้ หรอื อาจขอการตรวจการณท์ างอากาศเพอื่ ใหค้ รอบคลมุ พนื้ ทเ่ี หลา่ นนั้ ในการเตรยี ม แผนผงั การเหน็ ผตู้ รวจการณว์ างกระดาษแกว้ ลงบนแผนทข่ี องตน แลว้ ลากเสน้ รศั มตี ่าง ๆ เหลา่ นตี้ ามปกตเิ ขยี นหา่ งกนั 100 มลิ . และเขยี นมมุ ภาคตารางทถ่ี กู ตอ้ งกำ� กบั แตล่ ะเสน้ ไว้ แลว้ สรา้ งภาพทรวดทรงของแตล่ ะเสน้ รศั มขี นึ้ แสดงจดุ เครอ่ื งหมายแสดงจดุ ตา่ ง ๆ ซงึ่ มอง ไมเ่ หน็ ไปตามเสน้ รศั มแี ตล่ ะเสน้ และทำ� การแรเงาในพน้ื ทรี่ ะหวา่ งเสน้ ทลี่ ากตอ่ จดุ ทมี่ องไม ่ เหน็ ตา่ ง ๆ เหลา่ นนั้ พน้ื ทที่ แี่ รเงาไวแ้ สดงพน้ื ทซี่ ง่ึ ผตู้ รวจการณไ์ มส่ ามารถมองเหน็ ไดจ้ ากท่ี ตรวจการณข์ องตน (วธิ สี รา้ งภาพทรวดทรงของภมู ปิ ระเทศและแผนผงั การเหน็ นไี้ ดก้ ลา่ วใน รายละเอยี ดยง่ิ ขน้ึ ในวชิ าการอา่ นแผนทแ่ี ละภาพถา่ ยทางอากาศ) แผนผงั การเห็นโดยใชเ้ สน้ รัศมีทางทศิ รปู หนา้ ตดั แสดงพน้ื ทอี่ บั สายตา (แรเงา)
6. การวัดมุมดว้ ยมือ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 135 เมอ่ื มคี วามจำ� เปน็ ทจี่ ะหามมุ ขา้ งระหวา่ งจดุ 2 จดุ ใหไ้ ดโ้ ดยเรว็ และไมต่ อ้ งการ ความถกู ตอ้ งมากนกั ผตู้ รวจการณก์ อ็ าจใชม้ อื และนว้ิ มอื ของตนเปน็ เครอ่ื งมอื ในการวดั มมุ ได ้ ผู้ตรวจการณ์แต่ละคนควรจะได้เทียบมือและน้ิวมือของตนไว้เพื่อให้ทราบค่ามุม ส�ำหรับ น้ิวเดยี ว น้ิวหลายน้วิ รวมกันและค่ามมุ ของมอื ท่แี สดงไว้ในรปู ค่าต่าง ๆ ทไ่ี ด้แสดงไว้ในรูป เป็นค่าท่ีได้จากมือที่มีขนาดปานกลาง ผู้ตรวจการณ์แต่ละคนจะต้องเทียบมือและน้ิวมือ ของตนแต่ละบุคคล การเทียบท�ำได้โดยใช้กล้องส่องสองตาหรือเคร่ืองมือวัดมุมอย่างอ่ืน ทำ� การวดั มุมทีต่ รงกบั มุมท่มี ือ หรอื น้ิวมือหลายน้ิวมือรวมกนั ทำ� การวดั ได้ เมื่อทำ� การเทยี บ มือและใช้มือและหรือน้ิวมือน้ิวเดียว (หรือหลายน้ิว) ในการวัดมุม แขนของผู้ตรวจการณ์ จะต้องเหยยี ดไปจนสุด เพื่อที่จะให้มอื และหรือน้วิ มอื เดยี ว (หรือหลายนิ้ว) อยู่ห่างจากตา มรี ะยะเท่ากนั เสมอ หมายเหตุ คา่ ของมมุ ซง่ึ ไดแ้ สดงไวเ้ ปน็ เพยี งตวั อยา่ งเทา่ นนั้ อาจผดิ แผกแตกตา่ งกนั ไปบา้ ง ตามลักษณะของแต่ละบคุ คล
7. กลอ้ งส่องสองตา บานพบั ปลอกปรับจดุ รวมแสง มาตราปรบั 136 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ก. กล่าวทั่วไป กล้องส่องสองตา ใช้ส�ำหรับการตรวจการณ์ ปรับการยิง ป. วัดมุมทางระดับและทางด่ิงจากจุดอ้าง กล้องส่องสองตามีประโยชน์อย่างย่ิงในการลาด ตระเวนตรวจการณ์ และกจิ การแผนทเี่ พราะเหตทุ ม่ี ขี นาดเลก็ และนำ้� หนกั เบา กลอ้ งสอ่ งสอง ตานี้จึงเป็นเคร่ืองมือหลักของผู้ตรวจการณ์หน้า กล้องส่องสองตาประกอบด้วยกล้องส่อง ทางไกล 2 อัน ติดอยู่บนบานพับ เพื่อใช้ปรับระยะห่างของช่องตาให้เหมาะกับระยะห่าง ของตาผู้ใช้แต่ละคน บานพับจะยดึ ให้แกนกล้องทง้ั สองขนานกัน กล้องส่องสองตาท่ีใช้อยู่ มี 2 ขนาดด้วยกนั ท้งั 2 ขนาด มมี าตราประจำ� แก้ว การใช้และการปรนนิบตั บิ �ำรุงคล้ายกัน สว่ นทแี่ ตกตา่ งกนั ไดแ้ ก่ คณุ สมบตั ขิ องเลนส์ นา้ํ หนกั และรปู รา่ ง กลอ้ งสอ่ งสองตาขนาดเลก็ คือขนาด 6 X 30 ซงึ่ หมายความว่ามกี ำ� ลังขยาย 6 เท่า และความยาวโฟกสั (จุดรวมแสง) 30 มลิ ลเิ มตร มนี า้ํ หนกั ประมาณ 2 1/2 ปอนด์ และมคี วามกว้างของการมองเห็นประมาณ 150 มลิ . กลอ้ งสอ่ งสองตาขนาดใหญค่ อื ขนาด 7 X 50 ซง่ึ มกี ำ� ลงั ขยาย 7 เทา่ และความยาว โฟกสั (จดุ รวมแสง) 50 มลิ ลิเมตร มีความกว้างของการมองเห็นประมาณ 130 มิล. หนกั ประมาณ 6 ปอนด์ หมู่ตรวจการณ์หน้าแต่ละหมู่จะได้รบั กล้องส่องสองตาทง้ั สองขนาดน้ี อย่างละกล้อง หรืออาจจะเป็นขนาดเดยี วกนั ทั้งสองกล้องก็ได้ ท้งั น้ีขึ้นอยู่กบั ว่ากองพนั จะ มเี ครอ่ื งอย่างไหนอำ� นวยให้
ข. การจับกล้องจับด้วยมือทั้งสองและกดเบา ๆ เข้ากับตาท้ังสองข้างเพ่ือให้ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 137 ประสานกบั ตาอย่างสมํา่ เสมอ ถ้ากดกล้องกับตาแรงเกินไป การสัน่ โยกของร่างกายจะถูก ถ่ายทอดไปยังกล้อง ท�ำให้ยากแก่การที่จะจับกล้องให้นิ่งได้ การใช้กล้องในท่าน่ังหรือท่า นอน ให้มอื หรือข้อศอกมสี ิง่ รองรับ หรอื มีวัตถแุ ข็งรองรับจะเป็นการช่วยตดั การเคลอ่ื นไหว ทีไ่ ม่ต้องการออกได้ ค. การปรบั ช่องตา ให้มองผ่านแว่นด้านทใ่ี ช้มองไปยงั วตั ถทุ ีอ่ ยู่ไกลพอสมควร แล้วกางหรือหุบกล้องท่ีบาน จนกระทั่งภาพท่ีมองเห็นไม่แยกกันหรือเป็นวงกลมซ้อนกัน และปรากฏเป็นภาพที่อยู่ในวงกลมเดียวกันอย่างแท้จริง ขณะน้ีช่องตาของกล้องก็เหมาะ กับระยะห่างของตาผู้ตรวจการณ์แล้วอันจะท�ำให้ปริมาณของแสงที่เข้าตามีมากที่สุด ผู้ตรวจการณ์ควรบันทึกการตั้งที่มาตราระยะช่องตาและจดจ�ำไว้ เพ่ือตนจะได้ใช้ในคราว ต่อไปโดยทจ่ี ะได้ไม่ต้องท�ำการปรับดงั ที่กล่าวมาแล้วในแต่ละคร้งั ที่ใช้ ง. การปรับจุดรวมแสง (Focus) ช่องมองแต่ละอันสามารถปรับจุดรวมแสง ได้โดยอิสระ หลังจากได้ช่องว่างระหว่างตาเหมาะสมแล้ว ให้มองผ่านช่องมองทั้งสองไป ยังวัตถุท่ีอยู่ไกลพอเหมาะ เอามือข้างหน่ึงปิดหน้ากล้องของกล้องข้างหน่ึงมืออีกข้างหนึ่ง ปรับปลอด ปรับจุดรวมแสงของกล้องอีกข้างหน่ึงเข้าหรือออกจนกระทั่งภาพชัดเจน แล้ว ท�ำอย่างนซ้ี ํ้าอกี ส�ำหรับตาอกี ข้างหนงึ่ ผู้ตรวจการณ์ควรบนั ทกึ ตง้ั ทมี่ าตราสายตา (มาตรา ปรบั จุดรวมแสง) ของแต่ละข้างและจดจำ� ไว้เพอ่ื นำ� ไปใช้กบั กล้องอ่นื ๆ ได้ ในทางทฤษฎี ระยะจุดรวมแสงจะเปล่ยี นเม่อื ระยะเป้าหมายเปลี่ยน อย่างไรก็ตามเมือ่ ได้ปรบั จดุ รวมแสง ณ ระยะปานกลางของเขตการตรวจการณ์เอาไว้แล้ว เป้าหมายอนื่ ๆ ทอี่ ยู่ในระยะอ่นื ๆ ก็ สามารถจะมองเหน็ ไดช้ ดั เจนโดยไมต่ อ้ งปรบั จดุ รวมแสงอกี นอกจากวา่ เมอื่ ใชด้ เู ปา้ หมายท ี่ อยู่ใกล้มากเท่าน้นั จงึ อาจต้องปรับระยะจดุ รวมแสงอกี จ. มาตราประจ�ำแก้ว ท้ังกล้องขนาด 6 X 30 และ 7 X 50 มมี าตราประจ�ำแก้ว เหมือนกนั มาตราทางระดบั แบ่งขดี ย่อยไว้ทกุ ๆ 10 มิล. และเขยี น 1, 2, 3, 4, 5 กำ� กับไว้ซง่ึ หมายถงึ 10, 20, 30, 40, 50 มลิ . มาตรานใี้ ชว้ ดั มมุ ในทางระดบั เสน้ ขดี สน้ั ๆ เหนอื มาตราทาง ระดบั ตรงกงึ่ กลางและขอบซา้ ยเปน็ มาตราวดั มมุ ทางดง่ิ แตล่ ะขดี เทา่ กบั 5 มลิ . มาตราทางดงิ่ เหล่าน้ี ผู้ตรวจการณ์ใช้วัดมุมทางด่ิงซ่ึงมีค่าน้อย (มาตราระยะทางด่ิงท่ีมีตัวเลขก�ำกับไว้ ซึ่งอยู่ทางปลายขวาของมาตราทางระดับได้จัดทำ� ไว้เพื่อใช้ในการต้ังศูนย์ของปืนเล็กและ ปืนกล ผู้ตรวจการณ์ไม่ใช้มาตราน้)ี
8. เขม็ ทิศ เอ็ม.2 ศนู ยห์ นา้ ศูนย์หลัง แผน่ ยดึ ศูนย์หลัง 138 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ก. เข็มทิศ เอ็ม.2 เป็นเครื่องมือที่ใช้ได้หลายประการ สามารถใช้วัดมุมภาค เข็มทศิ มมุ ภาคจรงิ มมุ ภาคตารางและวดั มมุ ทางด่งิ ได้ ตามปกตผิ ู้ตรวจการณ์จะใช้เขม็ ทศิ เอม็ .2 วดั มมุ ภาค สว่ นมมุ ทางระดบั นน้ั ใชก้ ลอ้ งสอ่ งสองตาวดั ตวั เรอื นของเขม็ ทศิ เอม็ .2 ทำ� ดว้ ยวสั ดทุ ไี่ มเ่ ปน็ สารแมเ่ หลก็ กนั ฝนุ่ และกนั นาํ้ คา้ งไดเ้ ขม็ ทศิ เอม็ .2 ประกอบดว้ ยระดบั วงกลม ส�ำหรับใช้เมื่ออ่านมุมภาคและมีหลอดระดับใช้เม่ืออ่านมุมดิ่ง มีศูนย์เป็นแผ่นแบนร่วมกับ กระจกเงาทฝ่ี าปดิ เพอ่ื เลง็ และอา่ นมมุ นอกจากนย้ี งั มคี วงปรบั มาตรามมุ ภาคซง่ึ ทำ� ใหผ้ ตู้ รวจการณ ์ สามารถอ่านมมุ ภาคจรงิ มมุ ภาคตารางไดโ้ ดยตรง ควงปรบั นสี้ ามารถหมนุ ให้ มาตราเลอ่ื น ได้ประมาณ 800 มลิ . ข. การถอื เข็มทิศ ควรถอื เขม็ ทศิ ให้แน่นและน่ิงท่ีสุดเท่าท่ีจะท�ำได้ เพ่ือให้อ่าน คา่ ไดถ้ กู ตอ้ ง ทา่ นง่ั หรอื ทา่ นอนใชม้ อื หรอื ขอ้ ศอกเปน็ สง่ิ รองรบั หรอื วางเขม็ ทศิ บนสง่ิ รองรบั ทแ่ี ขง็ แรง จะชว่ ยตดั การเคลอื่ นไหวของเขม็ ทศิ และจะชว่ ยลดความผดิ พลาดในการวดั ลงได้ เมื่อใช้เข็มทิศ เอ็ม.2 เล็งต่อเป้าหมายหรือจุดเล็ง มือทั้งสองข้างควรจะถือเข็มทิศให้แน่น อย่าใช้เขม็ ทศิ เอ็ม.2 ใกล้กับสารแม่เหลก็ เพราะสารเหล่านีจ้ ะดึงดูดเขม็ ทศิ และท�ำให้เกิด ข้อผิดพลาดในการวดั
ค. การวดั มมุ ภาคเขม็ ทศิ ลำ� ดบั ขนั้ ในการวดั มมุ ภาคเขม็ ทศิ ของจดุ หรอื เปา้ หมาย เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 139 โดยใช้เข็มทศิ เอ็ม.2 มดี ังนี้ 1. ยกฝาปิดขน้ึ ประมาณ 45 องศา กับตวั ตลบั เข็มทศิ เพอ่ื จะได้เหน็ มาตรา มุมภาคในกระจก 2. ถอื เขม็ ทศิ ดว้ ยมอื ทงั้ สองในระดบั สายตา โดยใหศ้ นู ยห์ ลงั ใกลต้ าทสี่ ดุ และ กระชบั แขนท้งั สองเข้ากับล�ำตวั 3. ให้ระดับแก่เข็มทิศด้วยการปรับหวอดระดับให้อยู่ก่ึงกลางวงกลมโดยดู ในกระจก 4. เลง็ ไปยังจดุ หรอื เป้าหมาย 5. อา่ นคา่ มมุ ภาคบนมาตรามมุ ภาคทปี่ รากฏในกระจกเงา โดยอา่ นทป่ี ลาย เข็มแสดงทศิ ใต้ (สีด�ำ) ค่ามมุ ทอ่ี ่านได้ เป็นมุมภาคเขม็ ทศิ ของจุดหรือเป้าหมายนั้น ง. การวดั มมุ ภาคตาราง จะวดั มมุ ภาคตารางไดจ้ ะตอ้ งทราบคา่ มมุ เยอ้ื งประจำ� ของพน้ื ทปี่ ฏบิ ัตงิ าน (ตามปกตจิ ะตั้งค่ามมุ เยื้องประจ�ำส�ำหรับพนื้ ท่ที ี่ใช้ไว้ทเี่ ข็มทิศ และค่า มุมเยื้องประจ�ำจะบันทึกไว้บนแผ่นส�ำหรับบันทึกท่ีตลับเข็มทิศ ค่าเข็มทิศที่ใช้น้ันไม่มีแผ่น สำ� หรบั บนั ทกึ คา่ มมุ เยอื้ งประจำ� จะบนั ทกึ บนแผน่ กระดาษ ซงึ่ ทำ� กาวเหนยี วแลว้ ปดิ ไวท้ ต่ี ลบั ) ข้ันแรกในการวดั มุมภาคตาราง ก็คอื ตั้งค่ามมุ เยื้องประจำ� บนมาตรามมุ ภาค โดยหมุนควง ปรบั มาตรามมุ ภาค (ใช้ไขควง) จนกระทงั่ ค่าของมมุ เยอื้ งประจำ� อย่ตู รงกบั ขดี หลกั หลงั จาก ได้ตั้งค่ามุมเยื้องประจ�ำบนเคร่ืองมือแล้ว การวัดค่ามุมภาคตารางก็คงปฏิบัติเช่นเดียวกับ การวดั มมุ ภาคเขม็ ทิศ จ. การวดั มุมภาคจรงิ การทจี่ ะวดั มมุ ภาคจรงิ ไปยังเป้าหมายนน้ั จะต้องทราบ ค่ามุมเย้ืองเข็มทิศของพื้นที่น้ัน ค่านี้จะได้รับทราบจากนายทหารลาดตระเวนและแผนที่ ของกองพนั หรือจากขอบระวางของแผนท่บี รเิ วณนัน้ ๆ ขนั้ แรกในการใช้เขม็ ทิศ เอม็ .2 วัด มุมภาคจริงก็คือต้ังค่ามุมเย้ืองเข็มทิศบนมาตรามุมภาค โดยหมุนควงปรับมาตรามุมภาค (ใช้ไขควง) จนกระท่งั ค่ามุมเย้ืองเขม็ ทศิ อยู่ตรงขดี หลกั มุมภาค หลงั จากท่ไี ด้ต้ังค่ามมุ เย้อื ง เขม็ ทศิ แล้ว กค็ งปฏบิ ัติเช่นเดยี วกบั การวดั ค่ามมุ ภาคเข็มทศิ ฉ. การวดั มุมด่งิ ค่ามมุ ด่งิ จากทีอ่ ยู่ของผู้ตรวจการณ์ไปยังเป้าหมาย สามารถ ใช้เข็มทศิ เอม็ 2 วัดได้ล�ำดับขนั้ ในการวัดมุมดง่ิ มดี ังนี้ 1. เปิดฝาปิดออกไปให้กางท�ำมุมประมาณ 45 องศา กับตลับเข็มทิศกาง ศนู ย์หลังออกจนกระทง่ั ต้งั ได้ฉากกับตวั ตลบั เข็มทศิ
140 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 2. หมนุ เขม็ ทศิ เอาดา้ นขา้ งลงและถอื ใหอ้ ยใู่ นพนื้ ดง่ิ โดยใหศ้ นู ยห์ ลงั ชเี้ ขา้ หา ตัว และกระเดอ่ื งส�ำหรบั ให้ระดบั มุมพืน้ ทอี่ ยู่ทางด้านขวา 3. มองผา่ นชอ่ งศนู ยห์ ลงั แลว้ ยกเขม็ ทศิ ขนึ้ หรอื กดลง จนกระทงั่ เสน้ กง่ึ กลาง ในกระจกแบ่งครง่ึ ช่องศูนย์หลงั ตัดกบั จุดทว่ี ดั มมุ ด่ิง 4. ใหร้ ะดบั แกห่ ลอดระดบั มมุ สงู ทปี่ รากฏในกระจกเงา โดยการหมนุ กระเดอื่ ง ส�ำหรับให้ระดบั 5. อ่านค่ามุมดิ่งท่ีตรงกับขีดหลักมุมพ้ืนท่ี ค่ามุมนี้คือ มุมดิ่งจากที่อยู่ของ ผู้ตรวจการณ์ไปยงั จดุ ทว่ี ดั หรอื เป้าหมาย 9. กลอ้ งวดั ระยะดว้ ยแสงเลเซอร์ (Laser Range Finder) ก. เครอื่ งมอื วัดระยะด้วยแสงเลเซอร์หรือกล้องวดั ระยะด้วยแสงเลเซอร์น้ี ทบ. มแี นวความคดิ ทจ่ี ะจดั หาใหเ้ ปน็ เครอ่ื งของ ผตน. หรอื ประจำ� ทตี่ รวจการณต์ า่ ง ๆ ในอนาคต ซ่ึงจะช่วยเพิ่มขีดความสามารถให้กับ ผตน. เป็นอันมาก ท้ังความรวดเร็วและแม่นย�ำใน การปฏบิ ัติภารกจิ ต่าง ๆ ข. ลกั ษณะโดยทวั่ ไปของกลอ้ งน้ี คลา้ ยกบั กลอ้ งสอ่ งสองตาทง้ั ขนาดและนำ้� หนกั แต่สามารถวดั ระยะไปยังต�ำบลใด ๆ กไ็ ด้ในระยะกว่า 10 กโิ ลเมตร และมคี วามผดิ พลาด ไม่เกิน 5 เมตร โดยใช้เวลาในการวัดเพียงแต่กดปุ่มแล้วปล่อยเท่าน้ัน ระยะก็จะปรากฏ ออกมาเป็นตวั เลข รายละเอยี ดและวธิ ใี ช้จะยงั ไม่กล่าวถงึ ในทน่ี ้ี สำ� หรบั ทสี่ หรฐั ฯ ใช้อยู่เป็น แบบ AN/GVS-5 ค. เมอ่ื สามารถวดั ระยะไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งรวดเรว็ เชน่ น้ี ผตน. กอ็ าจจะใชก้ ลอ้ งวดั ระยะด้วยแสงเลเซอร์ให้เป็นประโยชน์ได้หลายประการ เช่น
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291