Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา เหล่าทหารปืนใหญ่ ปี4 (ชาย)

วิชา เหล่าทหารปืนใหญ่ ปี4 (ชาย)

Published by military2 student, 2022-05-03 02:22:44

Description: วิชา เหล่าทหารปืนใหญ่ ปี4 (ชาย)

Search

Read the Text Version

กรณเี ชน่ น้ี ผตน. ควรจะท�ำการยงิ นดั แรกด้วยการแกต้ ามปกตโิ ดยใช้แฟคเตอร์ ตม. ทห่ี าได้ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 191 ต่อมาพิจารณาผลการยิงของนัดท่ีแล้วว่า กระสุนตกซ้ายหรือขวามากน้อยกว่าปกติเท่าใด และพจิ ารณาตดั ทอนหรอื เพม่ิ เติมการแก้ของนดั ต่อไปตามสัดส่วนทปี่ รากฏนนั้ ข. การแก้ทางระยะเมื่อต้องการที่จะให้ได้ผลการตรวจทางระยะท่ีถูกต้อง ผตน. ควรพยายามทจ่ี ะปรบั การยงิ โดยการ “เพม่ิ ” หรอื “ลด” ไปตามแนว ตม. โดยใชก้ าร เปรยี บเทยี บระหวา่ งตำ� บลระเบดิ และเปา้ หมาย ถา้ ผลการตรวจเปน็ “หนา้ ” ผตน. ตอ้ งแกท้ าง ระยะเปน็ “เพมิ่ ” และถา้ ผลการตรวจเปน็ “หลงั ” ผตน. ตอ้ งแกท้ างระยะเปน็ “ลด” ผตน. จะตอ้ งพยายามทกุ ๆ วถิ ที างทจ่ี ะรน่ เวลาในการปรบั การยงิ ลงใหส้ น้ั ทสี่ ดุ และคอยโอกาสท่ี จะทำ� การยงิ หาผลใหไ้ ดโ้ ดยเรว็ ทส่ี ดุ การสรา้ งหว้ งควบตามลำ� ดบั ขน้ั ควรจะนำ� มาใชเ้ มอ่ื มี เวลาพอ ฉะนนั้ เมอ่ื มกี ารปรบั การยงิ ตอ่ เปา้ หมาย ผตน. ควรสรา้ งหว้ งควบทางระยะ เพอื่ สรา้ ง ความมน่ั ใจในการปรบั การยงิ ขอ้ แตกตา่ งในการปรบั แกท้ างระยะจะไดก้ ลา่ วไวใ้ นตอนท่ี 2 ค. การแก้สงู กระสนุ แตก 1) การปรบั การยงิ ด้วยชนวนเวลาน้นั ปกตแิ ล้วใช้ปืน 1 กระบอก ทำ� การยิง ผตน. จะท�ำการปรบั สงู กระสนุ แตก (โดยเร่มิ ปรับการยงิ ด้วยชนวนไว จนกระทั่งได้ห้วงควบ ทางระยะ 100 เมตร) จนได้สงู กระสนุ แตกเหมาะเหนือเป้าหมาย 20 เมตร ในการยิงหาผล โดยส่งการแก้ด้วยคำ� ว่า “สูงขน้ึ ” หรือ “ตํ่าลง” (กเี่ มตร) 2) ถ้าผลการตรวจในนดั แรก ๆ ของการยิงชนวนเวลา เป็น “กระทบแตก” ให้แก้เป็น “สงู ขนึ้ 40” โดยอตั โนมตั ิ ถ้าผลการตรวจแตกอากาศสงู กระสุนแตก (เป็นเมตร) ของนดั นน้ั จะตอ้ งนำ� มาคำ� นวณ (โดยใชส้ งู กระสนุ แตกทต่ี รวจไดเ้ ปน็ มลิ . คณู กบั แฟคเตอร์ ตม.) กจ็ ะไดก้ ารแกส้ งู กระสนุ แตก (ใชค้ า่ ใกลเ้ คยี ง 5 เมตร) เหนอื เปา้ หมาย 20 เมตร ตาม ตอ้ งการ 3) เมอื่ จะทำ� การยงิ หาผล ตอ้ งมน่ั ใจวา่ ตวั แกส้ งู กระสนุ แตกนนั้ ถกู ตอ้ ง ฉะนนั้ จะทำ� การยงิ หาผลไมไ่ ดเ้ ลย ถา้ ผลการตรวจของกระสนุ นดั สดุ ทา้ ยเปน็ กระทบแตก หรอื การ แกส้ งู กระสนุ แตกทคี่ ำ� นวณไดเ้ กนิ กวา่ 40 เมตร ถา้ ชดุ แรกของการยงิ หาผลไปแลว้ ตรวจเปน็ “คละ” ตวั แกส้ งู กระสนุ แตกของชดุ ตอ่ ๆ ไปทจี่ ะทำ� การยงิ ควรแกเ้ ปน็ “สงู ขนึ้ 20”

5. การแกข้ ัน้ ตอ่ ไป หลงั จากทก่ี ระสนุ นดั แรกทท่ี ำ� การยงิ ระเบดิ แลว้ ผตน. สง่ การแกไ้ ปให้ ศอย. จนกวา่ ภารกิจจะเสร็จส้ินลง การแก้ต่าง ๆ เหล่าน้ีอาจประกอบด้วยองค์ประกอบต่าง ๆ ท่ี เปลยี่ นแปลงและตวั แกท้ จ่ี ำ� เปน็ ไดแ้ ก่ การแกท้ างทศิ ทางระยะและสงู กระสนุ แตก การแกข้ นั้ ต่อไปมีองค์ประกอบเรยี งไว้ตามล�ำดับดังต่อไปน้ี (15 ล�ำดบั ) 1) มมุ ภาคของแนว ตม. 2) อันตรายใกล้ฝ่ายเรา 3) กระสนุ วถิ ี 4) วธิ ยี งิ 5) การจัดวางตำ� บลระเบิด 6) กระสุน 7) ชนวน 8) ปรมิ าตรการยิง 9) การแก้ทางทศิ 10) การแก้ทางระยะ 11) การแก้สูงกระสุนแตก 12) ลักษณะเป้าหมาย 13) ประเภทของภารกจิ และ/หรอื วิธคี วบคุม 14) การเตรียมตรวจ 15) การยิงซํ้า องคป์ ระกอบขอ้ ใดทไ่ี มต่ อ้ งการเปลย่ี นแปลงใหล้ ะเวน้ ไมต่ อ้ งกลา่ วถงึ การแกข้ น้ั ต่อไป มีแนวทางในการพจิ ารณา ก. มมุ ภาคของแนว ตม. ในลำ� ดบั ของการแกข้ น้ั ตอ่ ไป มมุ ภาคของแนว ตม. เปน็ 192 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ องค์ประกอบแรกทจ่ี ะส่งให้ ศอย. และจะส่งเม่อื ยงั ไม่เคยส่งมมุ ภาคมาก่อน หรอื กรณที ีม่ มุ ภาคเปลีย่ นแปลงไปเกนิ กว่า 100 มลิ . จากทไี่ ด้เคยส่งมุมภาคให้ ศอย. แล้ว (ปกติมุมภาค ของแนว ตม. ท่จี ะส่งใช้ค่าใกล้เคยี ง 10 มลิ .) แต่สามารถส่งได้ละเอยี ดถึง 1 มิล. ท้งั น้ขี ึน้ อยู่กบั เครอื่ งมอื ของ ผตน. มีความถกู ต้องในการวดั มมุ ภาคเพียงใด) ข. อนั ตรายใกลฝ้ า่ ยเรา ในระหวา่ งดำ� เนนิ การกจิ ยงิ การปรบั การยงิ ทำ� ใหก้ ระสนุ ตกใกลฝ้ า่ ยเรา ผตน. จะตอ้ งแจง้ ให้ ศอย. ทราบวา่ “อนั ตรายใกลฝ้ า่ ยเรา” กรณเี ชน่ นี้ ผตน. ควรใช้การยิงคืบ โดยอาศัยการแก้จากนัดท่ีตกใกล้ฝ่ายเรามากท่ีสุด ถ้าปรับการยิงแล้ว กระสุนไปตกไกลกว่าระยะทจ่ี ะเป็นอันตรายต่อฝ่ายเรา ผตน. ควรบอก ศอย. ว่า “ยกเลิก อันตรายใกล้ฝ่ายเรา” ระยะท่จี ะเป็นอนั ตรายใกล้ฝ่ายเรา มีดังน้ี - สำ� หรับ ป. และ ค. 600 เมตร - สำ� หรบั ป.เรือ ขนาด 5 น้วิ หรอื เล็กกว่า 750 เมตร - ส�ำหรบั ป.เรือ ท่มี ขี นาดใหญ่กว่า 5 นิว้ 1000 เมตร - ส�ำหรับ ป.เรอื ขนาด 16 นว้ิ (ใช้กระสนุ ICM หรอื ควบคุมด้วยชนวนวีที) 2000 เมตร

ค. กระสนุ วถิ ี เมอื่ ผตน. เหน็ วา่ ควรจะเปลยี่ นกระสนุ วถิ เี ปน็ การยงิ มมุ ใหญ่ เพอื่ ให้ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 193 ผลการยิงดีหรอื ไม่จ�ำเป็นต้องใช้การยงิ มมุ ใหญ่อีกต่อไป ก็อาจขอเปลยี่ นเป็นการยงิ มมุ เล็ก เชน่ ในระหวา่ งการดำ� เนนิ ภารกจิ ยงิ เปา้ หมายไดเ้ คลอ่ื นทเี่ ขา้ มาในชอ่ งเขา ซงึ่ การยงิ มมุ เลก็ จะไมไ่ ดผ้ ล ผตน. จงึ ควรเปลย่ี นกระสนุ วถิ เี สยี ใหม่ โดยสง่ การแกข้ นั้ ตอ่ ไปนวี้ า่ “มมุ ใหญ”่ ใน ทางกลับกันหากเป้าหมายเคล่ือนที่ออกจากช่องเขาไปอยู่ในท่ีโล่งแจ้ง การยิงมุมใหญ่ก็ไม่ จำ� เป็นอีกต่อไป ผตน. กข็ อ “ยกเลิก มมุ ใหญ่” ไปยงั ศอย. ง. วธิ ยี งิ เมอื่ ผตน. เหน็ วา่ วธิ ยี งิ เดมิ ควรจะเปลย่ี นแปลง เชน่ เปลยี่ นแปลงการยงิ ด้วยปืนกระบอกเดยี วมาเป็นหมวดปืน (หรอื ปืนหลายกระบอก) ยิงจากซ้ายไปขวา ก็จะขอ “หมวดปืน เป็นรอบจากซ้าย” เป็นต้น จ. การจดั วางตำ� บลระเบดิ เมอ่ื เหน็ วา่ รปู แบบการจดั วางต�ำบลทใ่ี ชอ้ ยเู่ ดมิ ไมไ่ ด้ ผลดีเท่าท่คี วร กค็ วรมกี ารเปล่ยี นแปลง (เช่น “กรวยปิด” “กรวยเปิด” หรือ “เป้าหมายเป็น แนวยาว” หรือ “เป้าหมายยาว กว้าง และแนวเฉียง...(เท่าใด)”) ในทางตรงข้าม ถ้า ผตน. ต้องการเปลย่ี นแปลงจากกรวยทใ่ี ช้แล้วอกี กข็ อเปลย่ี นแปลงไปว่า “ยกเลกิ ” แล้วตามด้วย ประเภทของกรวยทเ่ี ลกิ ใช้ (เช่น “ยกเลิกกรวยปิดหรอื กรวยเปิด”) ฉ. กระสุน ถ้าต้องการเปล่ยี นแบบของกระสุน กจ็ ะขอเปล่ียนไป (เช่น “กระสุน ควันขาว”) ช. ชนวน ถ้าต้องการเปลี่ยนแบบของชนวน หรอื การท�ำงานของชนวน ก็จะขอ เปลยี่ นไป (เช่น “ชนวนถ่วงเวลา” “ชนวนเวลา” หรือ “ชนวนวที ี”) ซ. ปรมิ าตรการยงิ ถา้ ตอ้ งการเปลย่ี นแปลงปรมิ าตรการยงิ ใหม่ กจ็ ะขอเปลย่ี นไป (เช่น “2 นดั ” หรอื “3 นัด”) ปรมิ าตรการยงิ หมายถงึ จ�ำนวนกระสุนทีใ่ ช้ในขั้นยงิ หาผล ด. การแกท้ างทศิ ถา้ กระสนุ ไปตกทางซา้ ยหรอื ขวาของแนว ตม. ผตน. จะขอแก้ ทางทิศโดยค่าใกล้เคยี ง 10 เมตร เพอื่ นำ� เอากระสนุ มาตกในแนว ตม. การแก้ของ ผตน. ทจี่ ะส่งไปเป็น “ขวา” (หรอื “ซ้าย”) (ก่เี มตร) (การแก้ทางข้างทนี่ ้อยกว่า 30 เมตร จะไม่ส่ง ไปให้ ศอย. เว้นแต่เม่อื เข้าข้นั ยิงหาผล หรอื ต้องการให้ได้หลักฐานท่ถี กู ต้อง) ต. การแก้ทางระยะถ้ากระสุนไปตกเลยเป้าหมายออกไปบนแนว ตม. การแก้ ของ ผตน. คอื “ลด” (กเี่ มตร) ถ้ากระสนุ ไปตกระหว่าง ผตน. กบั เป้าหมาย การแก้ทางระยะ คอื “เพิ่ม” (ก่เี มตร)

194 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ถ. การแกส้ งู กระสนุ แตก ผตน. สง่ การแกก้ ระสนุ แตกโดยใชค้ า่ ใกลเ้ คยี ง 5 เมตร โดยแกเ้ ปน็ “สงู ขนึ้ ” (หรอื ตา่ํ ลง) ในภารกจิ ยงิ เปน็ พนื้ ทด่ี ว้ ยชนวนเวลาการแกส้ งู กระสนุ แตก จะกระทำ� หลงั จากการปรบั การยงิ ดว้ ยชนวนไว เมอื่ ไดผ้ ลทางทศิ และทางระยะ 50 เมตรแลว้ ท. ลกั ษณะเป้าหมาย ในระหว่างดำ� เนนิ ภารกิจยิงข่มฉบั พลนั ลกั ษณะของเป้า หมายจะถกู สง่ ไปกอ่ นทจี่ ะทำ� การแกข้ น้ั ตอ่ ไป และเมอื่ มเี ปา้ หมายใหมเ่ กดิ ขน้ึ ซง่ึ กำ� ลงั ทำ� การ โจมตอี ยู่ ในกรณเี ช่นน้จี ะไม่มกี ารส่งค�ำขอยงิ ให้ใหม่ (ซึ่งไม่มกี ารบอกลักษณะเป้าหมาย) ธ. ประเภทของภารกิจ และ/หรือวิธีควบคุม ถ้า ผตน. ต้องการเปลี่ยนแปลง ประเภทของภารกจิ และ/หรอื วิธคี วบคมุ อาจส่งวธิ คี วบคมุ ท่ีต้องการได้ (เช่น “ปรบั การยิง” “ยงิ หาผล” หรอื “ตามคำ� สงั่ ขา้ พเจา้ ”) ถา้ วธิ คี วบคมุ ทกี่ ำ� ลงั ใชอ้ ยเู่ ปน็ “ตามคำ� สง่ั ทขี่ า้ พเจา้ ” การแก้ไขควรส่งไปใหม่ว่า “ยกเลกิ ตามค�ำส่งั ข้าพเจ้า” น. การเตรยี มตรวจ ในสถานการณท์ างยทุ ธวธิ ี ผตน. อาจมคี วามยงุ่ ยากตอ่ การพสิ จู น์ ทราบหรือตรวจผลการยิง ว่ากระสุนนัดใดเป็นของตนอาจเป็นเพราะตนเองอยู่ในที่ตั้งท่ีมี การกำ� บงั หรอื มภี ารกจิ ยงิ อนื่ ๆ ซง่ึ กำ� ลงั ดำ� เนนิ อยใู่ นพนื้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ กรณเี ชน่ นอ้ี าจรอ้ งขอ จาก ศอย. ไปวา่ “ขอเตรยี มตรวจ” ศอย. จะแจง้ ให้ ผตน. ทราบกอ่ นทกี่ ระสนุ จะไปตก 5 วนิ าที วา่ “เตรยี มตรวจ” เมอ่ื ผตน. ตอ้ งการจบการเตรยี มตรวจ กจ็ ะบอก “ยกเลกิ เตรยี มตรวจ” บ. การยงิ ซาํ้ การขอ “ยงิ ซาํ้ ” (ในขนั้ ปรบั การยงิ ) ถา้ ผตน. ตอ้ งการใหย้ งิ กระสนุ นดั ต่อไปหรอื กล่มุ ของกระสนุ ชดุ ต่อไป โดยไมม่ กี ารแก้ทางทศิ ทางระยะ หรอื สงู กระสนุ แตก (เช่น “ชนวนเวลา ยงิ ซำ�้ ”) ผตน. อาจขอยิงซำ�้ ในการยงิ หาผลด้วย โดยมกี ารเปลี่ยนแปลง หรือไม่มกี ารเปล่ียนแปลงองค์ประกอบของการแก้ขั้นต่อไปกไ็ ด้ (เช่น “เพ่ิม 50 ยงิ ซํ้า”)

ตอนที่ 2 เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 195 การยิงพืน้ ท่ี 6. เทคนิคในการปรับการยงิ เทคนิคในการยงิ เป็นพื้นท่ี มี 4 วธิ ี ได้แก่ 1. การสร้างห้วงควบตามลำ� ดบั ขัน้ เหมาะสำ� หรับ ผตน. ท่ีไม่ชำ� นาญหรอื ใช้ใน การยงิ ประณตี เชน่ การยงิ หาหลกั ฐานประณตี และการยงิ ทำ� ลาย เปน็ วธิ ที ใี่ หค้ วามมน่ั ใจวา่ กระสนุ ทีย่ งิ หาผลจะไปตกห่างเป้าหมายภายในระยะ 50 เมตร 2. การสร้างห้วงควบแบบเร่งด่วน เหมาะส�ำหรับเม่ือต้องการยิงอย่างรวดเร็ว และ ผตน. ต้องมปี ระสบการณ์ในการปรับการยงิ ด้วย 3. การปรบั การยงิ ดว้ ยกระสนุ หนงึ่ นดั ใชใ้ นกรณเี รง่ ดว่ นจรงิ ๆ เทา่ นน้ั โดยทว่ั ไป ได้กับ ผตน. ท่ีมีความชำ� นาญแล้ว หรือไม่ก็ ผตน. ต้องมีกล้องวัดระยะด้วยแสงเลเซอร์ ในการกำ� หนดท่ตี ั้งเป้าหมายและปรบั การยิง 4. การยิงคืบ ใช้ท�ำการยิงใกล้ฝ่ายเรา ความส�ำเร็จในแต่ละภารกิจขึ้นอยู่กับ การปรบั แกห้ ลกั ฐานยงิ และการเฝา้ ตรวจผลการยงิ ซงึ่ ศอย. จะพจิ ารณาได้จากผลการยงิ ท่ปี รากฏ ก. การสรา้ งหว้ งควบตามลำ� ดบั ขน้ั หลงั จากทท่ี ราบผลการตรวจทางระยะใน นดั แรกแลว้ ผตน. จะสง่ การแกท้ างระยะให้ ศอย. เพอ่ื เปน็ การสรา้ งหว้ งควบทางระยะ (กระสนุ นัดหน่ึงตกหลังและอีกนัดหน่ึงตกหน้า) เม่ือได้สร้างห้วงควบแล้ว ผตน. จะผ่าห้วงควบไป ตามล�ำดบั จนกระท่งั แน่ใจว่ากระสนุ จะตกห่างจุดปรบั การยงิ ภายในระยะ 50 เมตร จงึ ส่งั ยิงหาผล ปกตหิ ้วงควบทางระยะจะได้ 100 200 400 และ 800 เมตร เพือ่ ให้ง่ายต่อการผ่า ห้วงควบ ขอ้ สั่งเกต ผตน. จะสงั่ ยงิ หาผลกต็ ่อเม่ือแน่ใจว่ากระสุนไปตกห่างจากจดุ ปรบั การยิงภายในระยะ 50 เมตร ตัวอยา่ ง - เมอื่ กระสนุ นดั แรกตกหลงั จดุ ปรบั การยงิ ผตน. ควรจะแกเ้ ปน็ “ลด 400 (-400)” ให้ตำ� บลระเบดิ ของนดั ต่อไปตกหน้าจุดปรับการยงิ อย่างแน่นอน

196 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ - นัดที่สอง เมื่อ ผตน. ได้สร้างห้วงควบทางระยะแล้ว โดยมีกระสุนตกหลัง หน่ึงนัด และตกหน้าหนึ่งนัดห่างกัน 400 เมตร ผตน. ก็จะผ่าห้วงควบ โดยส่งการแก้ว่า “เพิ่ม 200” (+200) - นัดท่ีสาม กระสุนตกหลังจุดปรับการยิง ผตน.ได้สร้างห้วงควบ 200 เมตร แล้ว โดยกระสุนนดั ท่ีสองตกหน้าจดุ ปรับการยงิ และมีระยะห่างกันกบั นดั ทส่ี าม 200 เมตร ผตน. ผ่าห้วงควบโดยส่งการแก้ไป “ลด 100 (-100)” - นัดท่สี ี่ กระสนุ ตกหน้า ขณะน้ี ผตน. ได้สร้างห้วงควบ 100 เมตร แล้วจึง ส่งการแก้เป็น “เพิ่ม 50 ยิงหาผล (+50 ยผ.)” การผ่าห้วงควบครั้งสุดท้ายจึงมั่นใจได้ว่า กระสุนจะไปตกภายในระยะ 50 เมตร ของจุดปรับการยงิ โดยแน่นอน ข. การสร้างห้วงควบแบบเร่งด่วน ประสบการณ์ของ ผตน. จะแสดงให้เห็นถึง ประสทิ ธผิ ลของการยงิ ลงบนเปา้ หมาย โดยใชจ้ ำ� นวนกระสนุ ลดลงในการปรบั การยงิ หนทาง ปฏิบัติทางหน่ึงก็คือใช้เทคนิคท่ีการสร้างห้วงควบแบบเร่งด่วน การสร้างตามล�ำดับข้ันเป็น วธิ กี ารทส่ี รา้ งความมนั่ ใจให้ ผตน. วา่ กระสนุ จะไปตกหา่ งจากจดุ ปรบั การยงิ ภายในระยะ 50 เมตร อย่างไรก็ตามวิธีน้ีจึงเป็นเทคนิคที่ให้ผลในการสนองตอบไม่ดีและช้า ฉะนั้น โดย ธรรมชาติของเป้าหมายอาจต้องท�ำให้ยิงหาผลในเวลาอันส้ันกว่าที่จะน�ำเอาวิธีการสร้าง ห้วงควบตามลำ� ดบั ขั้นมาใช้ กรณเี ช่นน้ีจงึ ควรนำ� เอาเทคนิคการสร้างห้วงควบแบบเร่งด่วน มาใชแ้ ทน ในการใชเ้ ทคนคิ การสรา้ งหว้ งควบแบบเรง่ ดว่ นขน้ึ กบั การวเิ คราะหถ์ งึ ภมู ปิ ระเทศ ทจ่ี ะอำ� นวยให้ ผตน. ก�ำหนดทต่ี งั้ เปา้ หมายเรมิ่ แรกไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ผตน. ตอ้ งสรา้ งหว้ งควบ ครงั้ แรกโดยอาศยั การแก้จากนดั แรก เชน่ เดยี วกบั การสร้างห้วงควบตามล�ำดบั ขน้ั ผตน. ใช้ ห้วงควบคร้งั แรกน้เี อง เป็นเกณฑ์ในการหาการแก้นัดต่อไปส่งให้ ศอย. เพ่ือนำ� เอากระสนุ เข้าสู่เป้าหมายและยงิ หาผล ตัวอย่าง - เม่ือกระสุนนัดแรกตกไปทางขวา 35 มิล. และตกหน้าจุดปรับการยิง 100 เมตร ผตน. ซ่ึงตรวจได้เป็น “หน้า 35 ขวา” แฟคเตอร์ ตม. เท่ากับ 4 ผตน. ส่งการแก้เป็น “ซ้าย 140 เพ่มิ 200” - นัดท่ีสองตกซ้ายประมาณ 10 มิล. และหลัง 50 เมตร ผตน. จึงตรวจได้ เป็น “หลัง 10 ซ้าย” ผตน. อาศยั ผลการตรวจตำ� บลกระสนุ ตกและเป้าหมายจงึ ตดั สินใจ

แก้ไปทาง ขวา 40 เมตร (10 X ฟตม.4) และลด 50 คาดว่ากระสุนจะตกลงบนเป้าหมาย เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 197 ฉะนน้ั จงึ ส่งการแก้เป็น “ขวา 40 ลด 50 ยงิ หาผล” การสร้างห้วงควบแบบเร่งด่วนให้ได้ผลย่อมข้ึนกับการมีประสบการณ์และการ ตดั สนิ ใจทถี่ กู ตอ้ งของ ผตน. แตล่ ะคน ควรเพยี รพยายามท�ำใหด้ ที ส่ี ดุ ดว้ ยขดี ความสามารถ ของตน เพื่อให้การสนองตอบต่อหน่วยรบั การสนบั สนุนในสนามรบเพ่มิ มากขน้ึ ค. การปรับการยิงด้วยกระสุนหน่ึงนัด วิธีนี้ไม่เหมือนกับสองวิธีท่ีกล่าวแล้ว ไม่ต้องการสร้างห้วงควบ ผตน. จะตรวจที่ตั้งต�ำบลระเบิดของนัดแรก แล้วจะค�ำนวณ และส่งการแก้ให้กบั ศอย. เพื่อให้ต�ำบลระเบดิ เข้าหาจดุ ปรบั การยงิ และยงิ หาผลได้วธิ ีนี้จะ กระทำ� โดย ผตน. ทช่ี �ำนาญหรอื ไม่ก็ต้องมเี คร่อื งมือวดั ระยะทถ่ี กู ต้อง เช่น กล้องวัดระยะ ด้วยแสงเลเซอร์ ซ่ึงสามารถจะอ�ำนวยให้ท�ำการยิงหาผลได้เลยหรือท�ำการปรับการยิงด้วย กระสุนเพียงนดั เดยี ว ง. การยิงคบื (อันตรายใกล้ฝ่ายเรา) วธิ ใี นการปรับการยิงเมื่อเป็นอนั ตรายใกล้ ฝา่ ยเรา ผตน. ควรจะเปลย่ี นแปลงระยะในการยงิ คบื เขา้ หาเปา้ หมายโดยใชก้ ารแกไ้ ขครงั้ ละ 100 เมตร หรอื น้อยกว่าท่จี ะใช้การแก้ระยะไปคร้งั ละมาก ๆ 7. การยงิ หาผล จุดมุ่งหมายของการยิงเป็นพ้ืนท่ีก็คือ การวางการยิงอย่างหนาแน่นของกลุ่ม กระสุนลงบนพ้ืนที่เป้าหมายให้ได้ผลมากท่ีสุด จ�ำนวนและประเภทของกระสุนที่ใช้น้ันข้ึน อยู่กบั ลักษณะเป้าหมายว่าเป้าหมายนน้ั วางตวั และมที ่าทีการปฏบิ ัตอิ ย่างไร การยิงหาผล จะเร่ิมเม่ือการปรับการยิงได้ผลเป็นท่ีน่าพอใจ กล่าวคือได้ผลท้ังทางทิศทางระยะ และสูง กระสุนแตก (เม่อื ยิงด้วยชนวนเวลา) ถูกต้อง ก. ปกติ ผตน. จะให้การสร้างห้วงควบตามลำ� ดบั ข้นั และจะขอยงิ หาผลเมอ่ื ผ่า ห้วงควบ 100 เมตร ภายใต้เง่อื นไขทว่ี ่า ถ้า ยคร. มคี ่าตงั้ แต่ 38 เมตรข้ึนไป ผตน. จะขอยิง หาผลเมอ่ื ผา่ หว้ งควบ 200 เมตร (ในสถานการณเ์ ชน่ น้ี ศอย. จะแจง้ ให้ ผตน. ทราบเมอื่ ยคร. มีค่าตัง้ แต่ 38 เมตร ขน้ึ ไป) ข. เมอื่ ใชช้ นวนเวลา ผตน. จะขอว่า “ชนวนเวลา” หลงั จากการแก้ทางทศิ และ ทางระยะถกู ตอ้ งแลว้ แตก่ อ่ นทจ่ี ะประกาศคำ� วา่ “ยงิ หาผล” ดว้ ยชนวนเวลา การยงิ หาผลจะทำ� ไมไ่ ดเ้ ลยจนกวา่ สงู กระสนุ แตกจะมคี วามถกู ตอ้ งคอื ไดส้ งู กระสนุ แตกเหมาะ กฎในการปรบั การยิงด้วยชนวนเวลามดี ังนี้

198 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 1) ในการผา่ หว้ งควบ 100 เมตร ผตน. อาจจะสง่ เปน็ “ชนวนเวลา เพมิ่ (ลด) 50 เปล่ยี น” ถ้าระยะและสงู กระสนุ แตกถูกต้อง (20 เมตร เหนอื พ้นื ดนิ ) ผตน. จะส่งไปว่า “ยงิ หาผล เปล่ยี น” 2) เมอ่ื การแกท้ างระยะและทางทศิ ถกู ต้องแล้ว ผตน. สง่ ข่าวไปยงั ศอย. วา่ “ชนวนเวลา” 3) ถ้าผลการตรวจของนัดที่ท�ำการยิงด้วยชนวนเวลาเป็นกระทบแตกและ ยังไม่มีนดั ใดแตกอากาศเลย การแก้สูงกระสุนแตก คือ “สงู ข้ึน 40 เปลี่ยน” 4) ถ้าผลการตรวจของนัดท่ีท�ำการยิงด้วยชนวนเวลาเป็นกระทบแตกและ มีบางนดั แตกอากาศด้วยการแก้สงู กระสุนแตก คอื “สูงขนึ้ 20 ยิงหาผล เปลย่ี น” 5) ถ้าได้ผลการตรวจเป็นแตกอากาศแล้ว ผตน. ควรแก้เข้าหาสูงกระสุน แตกเหมาะ 20 เมตร และยงิ หาผล ตัวอย่างเช่น ถ้าสงู กระสุนแตกนัดสุดท้ายเป็น 40 เมตร การแก้สูงกระสนุ แตกควรเป็น “ตํ่าลง 20 ยงิ หาผล เปลยี่ น” 6) จะไม่ขอยงิ หาผล เมอ่ื - ชดุ สุดท้ายเป็นกระทบแตก - การแก้สูงกระสนุ แตกมีค่ามากกว่า “ตํา่ ลง 40” 8. การตรวจผลการยงิ และการปรบั แกห้ ลักฐานยงิ ผตน. ควรเฝ้าตรวจผลการยงิ ของการยงิ หาผล และจ�ำเป็นต้องปฏบิ ตั ิอย่างใด อย่างหน่ึง เพ่ือให้ภารกิจนั้นเสร็จส้ินโดยสมบูรณ์ ต่อไปน้ีเป็นตารางแสดงการปฏิบัติของ ผตน. และตวั อย่างในการส่งข่าวหลงั จากยงิ หาผลแล้ว ผลของการยิงหาผล การปฏิบตั ิของ ผตน. การส่งข่าวของ ผตน. - ถูกต้องและผลดี - จบภารกจิ , รายงานผล - “จบภารกจิ , ปก.สงบการยิง เปล่ยี น” - ถกู ตอ้ งและผลด,ี ตอ้ งการ - ขอกรุย, จบภารกจิ และ - “กรยุ เป้าหมาย, จบภารกจิ กรยุ ทำ� ลาย รายงานผล ต.ถูกท�ำลาย เปลีย่ น” - ผิดพลาดและผลดี - ปรบั แก้, จบภารกจิ และ - “ขวา 20, เพม่ิ 20, จบภารกจิ รายงานผล ค.สงบการยงิ เปลีย่ น”

ผลของการยิงหาผล การปฏิบตั ิของ ผตน. การสง่ ข่าวของ ผตน. - ผิดพลาดและผลดี ต้องการกรยุ - ปรับแก้, ขอกรยุ , - “ขวา 10, กรยุ เป้าหมาย, จบภารกจิ - ผดิ พลาดและไม่พอใจ จบภารกจิ รายงานผล ปรส.ถกู ทำ� ลาย เปลี่ยน” - ปรับแก้, ขอยงิ ซํ้าหรือ - “ขวา 10, เพ่มิ 50, ยงิ ซํ้า หรือ ขวา - ถูกต้องและไม่พอใจ ปรบั การยงิ ใหม่ 10 เพ่มิ 100, ปรับการยงิ เปลย่ี น” - ขอยิงซ้าํ - “ยงิ ซํา้ เปลีย่ น” ตอนที่ 3 เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 199 การยิงประณีต 9. เทคนคิ ในการปรับการยงิ ผตน. เป็นผู้รับผิดชอบอย่างมากในการด�ำเนินการยิงประณีต ภารกิจการยิง ประณตี แบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 ชนดิ ไดแ้ ก่ การยงิ หาหลกั ฐานประณตี และการยงิ ทำ� ลายในการ ยิงประณีต จะต้องก�ำหนดที่ต้ังของจุดปรับการยิงให้มีความถูกต้อง โดยกำ� หนดเป็นพิกัด 8 ตำ� แหน่ง (ละเอียด 10 เมตร) และอย่างน้อย ผตน. ควรมกี ล้องวัดระยะด้วยแสงเลเซอร์ เพื่อให้เกิดความมน่ั ใจในการก�ำหนดท่ตี งั้ เป้าหมายว่าจะท�ำได้อย่างถูกต้อง ขอ้ สงั เกต : โดยทวั่ ไปแลว้ การยงิ ประณตี จะมคี วามสน้ิ เปลอื งในการใชก้ ระสนุ เป็นจำ� นวนมาก และยงั ล่อแหลมต่อการตรวจจบั ของเครือ่ งมอื ค้นหาเป้าหมายข้าศึก 10. การยงิ หาหลกั ฐานประณตี (ยฐปณ.) การยงิ หาหลกั ฐานประณตี จะใช้ปืนกระบอกเดียวท�ำการยงิ ปกติ นอย. จะสั่ง ให้ ผตน. ทำ� การยงิ หาหลกั ฐานต่อจุดทีก่ �ำหนดให้ (จล.) อย่างไรกต็ าม ผตน. อาจเลือกจดุ ยงิ หาหลกั ฐานข้ึนเอง โดยกำ� หนดท่ตี ้ังให้มีความถกู ต้อง (ภายใน 10 เมตร) อยู่บรเิ วณจุด กงึ่ กลางของเขตการยงิ เป็นจดุ ก่ึงถาวร ถ้าเป็นไปได้ควรจะกำ� หนดลงบนภมู ิประเทศเด่น ๆ และสามารถเช่อื มโยงงานแผนท่เี ข้ากับทตี่ ้งั ของหน่วยยงิ ได้ ก. ความรเิ รมิ่ การยงิ หาหลกั ฐานประณตี จะเรม่ิ เมอ่ื ศอย. สง่ ขา่ วถงึ ผตู้ รวจการณ์ ดงั ตวั อย่างน้ี

200 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ การยงิ หาหลกั ฐานประณตี ต่อจุดทราบทตี่ ัง้ ศอย. ถึง ผตน. : “ลพบรุ ี 18 จาก ลพบุรี 24, ยงิ หาหลักฐานประณตี ต่อ จล.2, ชนวนไวและเวลา , เปล่ยี น” (ผตน.ทวน) ผตน. ถึง ศอย. : “มมุ ภาค 6400, เปล่ยี น © ” (ศอย.ทวนข่าว) ศอย. ถงึ ผตน. : “ยงิ ไปแล้ว, เปลย่ี น” (ผตน.ทวนข่าว) การยงิ หาหลกั ฐานประณีตต่อจุดที่ ผตน.เลอื ก ศอย. ถึง ผตน. : “ลพบรุ ี 18 จากลพบรุ ี 44, เลอื กจดุ ยงิ หาหลกั ฐานบรเิ วณพกิ ดั 6138, ชนวนไวและเวลา, เปลย่ี น” (ผตน.ทวนข่าว) ผดน. ถึง ศอย. : “พกิ ดั 61243543 © , มมุ ภาค 6310, เปลยี่ น” (ศอย.ทวนขา่ ว) ศอย. ถงึ ผตน. : “ยิงไปแล้ว, เปลย่ี น” (ผตน.ทวนข่าว) หมายเหต ุ :  ประกาศเตอื นให้ ผตน. ทราบข่าว เมอื่ ยงิ หาหลกั ฐานชนวนไวแล้ว จงึ ยงิ ด้วยชนวนเวลา ©  เปน็ ความรบั ผดิ ชอบของ ผตน. ในการสง่ ขา่ ว เพอื่ แสดงวา่ พรอ้ มทจี่ ะตรวจ ผลการยงิ ©  ผตน. สง่ พกิ ดั จดุ ยงิ หาหลกั ฐานเปน็ จำ� นวน 8 ตำ� แหนง่ (ละเอยี ด 10 เมตร) ข. การยิงหาหลกั ฐานประณตี ชนวนกระทบแตก จดุ มุ่งหมายในการยิงหาหลัก ฐานกเ็ พ่อื ให้ได้ผลการตรวจของกระสนุ สีน่ ัด (โดยสองนดั ตกหลงั และสองนัดตกหน้า) ตาม แนว ตม. ซึ่งอาจท�ำการยิงด้วยหลกั ฐานยงิ เดียวกัน หรอื อาจทำ� การยงิ ด้วยหลักฐานยงิ ทใ่ี ห้ ผลการตรวจทางระยะท่ตี ่างกนั 25 เมตร (50 เมตร เม่อื ยศร. มคี ่าต้งั แต่ 25 เมตร ข้นึ ไป) ปกติความต้องการในการตรวจผลการยิงของกระสุนสี่นัดนั้น ต้องการให้ผลการตรวจเป็น ทง้ั หลงั และหนา้ อยา่ งไรกต็ ามการทจี่ ะบรรลถุ งึ จดุ มงุ่ หมายดงั กลา่ ว ไดด้ ว้ ยการยงิ กระสนุ ให้ ถูกเป้าหมายสองนดั ตดิ ต่อกนั หรือให้ได้ผลการตรวจเป็นระยะเป้าหมาย กฎต่าง ๆ ที่นำ� มา ใช้และด�ำเนนิ การยงิ กล่าวไว้ดงั ต่อไปน้ี 1) ผตน. สง่ การแกท้ างทศิ เพอื่ นำ� กระสนุ เขา้ หาแนว ตม. โดยใชค้ า่ ใกลเ้ คยี ง 1 มลิ . ก่อนทจ่ี ะสร้างห้วงควบทางระยะ 200 เมตร ได้ ปกติแล้วจะไม่มีการแก้ทางทศิ เมื่อได้ สร้างห้วงควบทางระยะ 200 เมตร แล้ว ผตน. จะทำ� การแก้ทางทศิ เพอื่ น�ำกระสนุ เข้าสู่แนว ตม. เพยี งคร้ังเดยี ว โดยการวดั และบนั ทกึ ผลการตรวจทางทศิ ไว้ทกุ ๆ นัด แต่ไม่ต้องแก้จะ

ทำ� การแกท้ างทศิ กต็ อ่ เมอ่ื มนี ดั ทใ่ี หผ้ ลการตรวจทางระยะเปน็ สงสยั เทา่ นน้ั ถา้ ผตน. แกท้ าง เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 201 ทศิ ไปภายหลงั จากที่ได้สร้างห้วงควบทางระยะ 200 เมตร แล้ว กระสนุ นัดสุดท้ายท่แี ก้และ กระสนุ นดั กอ่ น ๆ ไมส่ ามารถจะนำ� มาใชใ้ นการพจิ ารณาหาผลทางระยะ และทางทศิ ในการ ปรับแก้หลกั ฐานให้ถูกต้องได้ 2) เมอ่ื สร้างห้วงควบทางระยะ 50 เมตร ได้แล้ว กจ็ ะผ่าห้วงควบ (25 เมตร) จากผลการตรวจนดั สุดท้ายไปในทางตรงข้ามแล้วยงิ ไปสองนัด ถ้าผลการตรวจของกระสุน ทัง้ สองนดั เป็นหน้า (หรอื หลงั ) ให้เพม่ิ (หรอื ลด) ไป 25 เมตร และยิงไปหนง่ึ นัด ถ้าผลการ ตรวจทางระยะยงั ไม่เป็นตรงข้ามจะท�ำการยงิ ต่อไป จนกว่ากระสุนจะไปตกที่ปลายอกี ข้าง หนึ่งของห้วงควบ 25 เมตร 3) เมอ่ื ได้ผลการตรวจของกระสนุ ทต่ี ้องการคอื ตกหลงั สองนดั และตกหน้า สองนัด ซึ่งท�ำการยิงด้วยหลักฐานยิงเดียวกัน หรือด้วยหลักฐานยิงท่ีให้ผลการตรวจทาง ระยะท่ีต่างกนั 25 เมตร การยิงหาหลักฐานชนวนกระทบแตกก็จะจบลง จำ� เป็นต้องปรบั แก้หลักฐานให้ถูกต้อง การปรับแก้หลักฐานประกอบด้วยการแก้ทางทิศหรือการแก้ทาง ระยะ หรอื แก้ท้งั สองอย่าง โดยใช้ค่าใกล้เคยี ง 10 เมตร 4) ในการหาหลักฐานเพ่ือปรับแก้ทางระยะ ต้องอาศัยความสัมพันธ์ของ ที่ตั้งจุดยิงหาหลักฐานและผลการตรวจของกระสุนสองกลุ่ม หลักพื้นฐานในการปรับแก้ มีดงั ต่อไปน้ี ก) ถ้าจุดยิงหาหลักฐาน อยู่ใกล้กับกระสุนนัดสุดท้ายมากกว่า ไม่จ�ำเป็น ต้องปรบั แก้ ข) ถ้าจุดยิงหาหลักฐาน อยู่กึ่งกลางระหว่างกระสุนสองกลุ่ม ผตน. หา หลักฐานปรบั แก้ทางระยะเป็น “เพิ่ม 10” หรือ “ลด 10” จากกระสุนนัดสดุ ท้ายท่ยี งิ ไปใน ทางท่เี หมาะ ค) ถ้าจุดยิงหาหลักฐานอยู่ใกล้กับกระสุนนัดท่ีอยู่ตรงข้ามกับนัดสุดท้าย มากกว่า ผตน. หาหลกั ฐานปรับแก้ทางระยะเป็น “เพิ่ม 20” หรือ “ลด 20” จากกระสุนนดั สดุ ท้ายท่ยี งิ ไปในทางท่เี หมาะ ง) ผตน. ต้องบันทึกผลการตรวจของกระสุนไว้ทุกนัดว่ามีความสัมพันธ์กับ ทต่ี ง้ั ของจดุ ยงิ หาหลกั ฐานอยา่ งไร วธิ งี า่ ย ๆ กค็ อื การเขยี นภาพและหมายเลขกำ� กบั ไวท้ กุ นดั

นดั สุดท้าย นัดสดุ ท้าย นดั สดุ ท้าย จล.อยู่ใกล้กลุ่มสดุ ท้ายไม่ต้องแก้ จล.อยู่ใกล้กลุ่มแรกมากกว่า ลด 20 จล.อยู่กึ่งกลางกลุ่มกระสนุ ลด 10 5) หลักฐานในการปรับแก้ทางทิศ หาได้โดยน�ำผลการตรวจทางทิศของ กระสนุ สน่ี ดั ทใ่ี หผ้ ลการตรวจเปน็ หลงั สองนดั และหนา้ สองนดั (อาจเปน็ ผลการตรวจของสอง, สาม หรือท่ีนัด) น�ำมาบวกก้นได้ผลรวมเท่าใดหารด้วยจ�ำนวนนัด (สอง, สาม หรือที่นัด) ก็จะได้ค่าเฉล่ียของผลการตรวจทางทิศ ปัดค่าให้ใกล้เคียง มิล. แล้วน�ำค่าเฉล่ียคูณกับ แฟคเตอร์ ตม. ผลท่ไี ด้คอื หลกั ฐานในการปรับแก้ทางทศิ ใช้ค่าใกล้เคียง 10 เมตร 6) ภายหลังจากท่ีการยิงหาหลักฐานชนวนกระทบแตกจบลง ผตน. จะส่ง หลกั ฐานการปรบั แกใ้ หก้ บั ศอย. ตวั อยา่ ง เชน่ “ซา้ ย 10, ลด 20, บนั ทกึ หลกั ฐานจะก�ำหนด, จบภารกจิ , เปลย่ี น” 202 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ค. การยงิ หาหลกั ฐานดว้ ยชนวนเวลา ถา้ ตอ้ งการยงิ หาหลกั ฐานดว้ ยชนวนเวลา จะทำ� ไดห้ ลงั จากทกี่ ารยงิ หาหลกั ฐานดว้ ยชนวนกระทบแตกเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ ผตน. หาหลกั ฐาน ปรับแก้ให้ และประกาศไปพร้อมกับค�ำสั่งที่ต้องการให้ยิงหาหลักฐานด้วยชนวนเวลา ตวั อย่างเช่น “ขวา 10, เพ่มิ 10, บันทึกหลักฐานกะก�ำหนด, ชนวนเวลา, ยิงซํ้า เปลย่ี น” 1) จดุ มงุ่ หมายของการยงิ หาหลกั ฐานประณตี ดว้ ยชนวนเวลา กเ็ พอื่ ปรบั แก้ ปานกลางมณฑลของกระสุนส่ีนัดท่ีแตกอากาศ โดยยิงไปด้วยหลักฐานยิงเดียวกันเข้าหา ความสงู 20 เมตร เหนอื จุดยงิ หาหลักฐาน ถ้าการยิงชนวนเวลานดั แรกเป็นกระทบแตก ให้ แก้ “สูงข้นึ 40” จนกว่าจะได้ผลการตรวจเป็นแตกอากาศจงึ ส่งว่า “3 นดั , ยงิ ซ้าํ ” จะได้ผล การตรวจของกระสุนส่ีนัดท่ียิงไปด้วยหลักฐานยิงเดียวกัน การยิงหาหลักฐานก็จะเสร็จสิ้น ลงด้วยการปรบั แก้สงู กระสุนแตกเข้าหา 20 เมตร ไปในทางที่เหมาะ 2) เมอ่ื ไดผ้ ลการตรวจของกระสนุ สนี่ ดั เปน็ แตกอากาศ กจ็ ะปรบั แกเ้ ขา้ หา 20 เมตร การหาค่าของสงู กระสนุ แตกทำ� ได้ โดยเอาผลการตรวจ (มมุ ด่งิ ) เป็น มลิ . ของกระสนุ ทงั้ สี่นัดบวกกนั แล้วหารด้วย 4 ผลลพั ธ์ใช้ค่า, ใกล้เคยี ง มลิ . แล้วคูณด้วย เแฟคเตอร์ ตม.

(เช่นเดยี วกับการหาค่าในการปรบั แก้ทางทศิ ) ผลท่ไี ด้ใช้ค่าใกล้เคียง 5 เมตร แก้สูงกระสนุ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 203 แตกเข้าหา 20 เมตร ไปในทางท่เี หมาะ ตวั อย่าง “สูงขึน้ 10, บนั ทกึ เวลาชนวน กะกำ� หนด จบภารกจิ , เปลีย่ น” 3) เมื่อได้ผลการตรวจเป็นแตกอากาศสามนัด และกระทบแตกหนึ่งนัด ไม่ต้องแก้สูงกระสนุ แตก 4) เมื่อได้ผลการตรวจเป็นแตกอากาศสองนัด และกระทบแตกสองนัด ให้แก้ “สูงขน้ึ 10” 5) เม่ือได้ผลการตรวจเป็นแตกอากาศหนึ่งนัด และกระทบแตกสองนัด ให้แก้ “สงู ข้นึ 20” 6) หากไม่มีความม่ันใจในการยิงหาหลักฐานด้วยชนวนเวลา อาจท�ำการ ยิงสอบความถูกต้อง อย่างไรก็ตามปกติแล้วไม่จ�ำเป็นต้องกระท�ำถ้านัดแรกท่ียิงแตก อากาศสงู เกนิ ไปจนผดิ สงั เกต ผตน. อาจจะแกใ้ หต้ ำ่� ลงและยงิ ไปหนงึ่ นดั ถา้ เหน็ วา่ สงู กระสนุ แตกของนดั นน้ั สามารถวดั ได้ กข็ อให้ยงิ เพิ่มเติมอีกสามนัด ง. การยงิ หาหลกั ฐานงวดงานทสี่ อง การยงิ หาหลกั ฐานงวดงานทสี่ องคนปฏบิ ตั ิ เช่นเดียวกับงวดงานแรกหลังจากยิงหาหลักฐานด้วยชนวนกระทบแตกในงวดงานแรกแล้ว จะยงิ หาหลกั ฐานชนวนเวลาตอ่ ไป เมอ่ื ตอ้ งการทำ� การยงิ หาหลกั ฐานงวดงานทสี่ อง ศอย. จะ สง่ ขา่ วถงึ ผตน. วา่ “เตรยี มตรวจงวดงานทสี่ อง” ผตน. กจ็ ะดำ� เนนิ การปรบั เพอ่ื สรา้ งหว้ งควบ ทางระยะท่ีเหมาะขึ้นมาใหม่ แล้วด�ำเนินการยิงต่อไป เช่นเดียวกับการปฏิบัติในงวดงาน แรกให้เสร็จสมบูรณ์จะไม่ท�ำการยงิ หาหลกั ฐานด้วยชนวนเวลาในงวดงานที่สองอีก ตวั อย่าง : ข่าวถงึ ผตน. ในการยงิ หาหลกั ฐานสองงวดงาน ศอย. ถงึ ผตน. : “ลพบรุ ี 18 จากลพบรุ ี 44 ยงิ หาหลกั ฐานประณตี ตอ่ จดุ ยงิ หา หลักฐานท่ี 2 ชนวนไวและเวลา สองงวดงาน เปลย่ี น” (ผตน.ทวนข่าว) - เมื่อยิงหาหลกั ฐานงวดงานแรกเสรจ็ แล้ว ผตน.ถงึ ศอย.:“บนั ทกึ เวลาชนวนกะกำ� หนด,จบภารกจิ เปลยี่ น”(ศอย.ทวนขา่ ว) ศอย. ถึง ผตน. : “เตรียมตรวจ งวดงานท่ีสอง, เปลี่ยน” จ. การยิงหาหลกั ฐานประณตี แบบย่อ 1) บางครงั้ สถานการณท์ างยทุ ธวธิ หี รอื ความขาดแคลนกระสนุ ทำ� ใหไ้ มอ่ าจ ทำ� การยงิ หาหลกั ฐานประณตี แบบสมบรู ณไ์ ด้ จำ� เปน็ ตอ้ งทำ� การยงิ หาหลกั ฐานแบบยอ่ แทน แม้ว่าตวั แก้จากการยงิ หาหลักฐานแบบย่อจะไม่ถูกต้องสมบูรณ์นัก แต่สามารถนำ� ไปใช้แก้

204 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ความไม่มาตรฐานของสภาพต่าง ๆ อย่างได้ผล การตกลงใจว่าจะท�ำการยิงหาหลักฐาน แบบยอ่ นนั้ เปน็ หนา้ ทขี่ อง นอย. ในการยงิ หาหลกั ฐานชนดิ นี้ ผตน. จะลดวธิ กี ารปฏบิ ตั ใิ หส้ น้ั ลง ก) ปกตกิ ระทำ� การปรับการยงิ ไปจนกระทัง่ ผ่าห้วงควบ 100 ม. ข) โดยส่งการแก้เป็น “เพม่ิ (หรอื ลด) 50” ค) จากผลการตรวจต�ำบลระเบิด ท�ำให้สามารถหาหลักฐานปรับแก้ ท้ังทางทศิ และทางระยะส่งให้ ศอย. ตามล�ำดบั ดงั ต่อไปน้ี - สำ� หรบั การยงิ หาหลกั ฐานชนวนไวและเวลา “ซา้ ย 10, ลด 40 บนั ทกึ หลักฐานกะกำ� หนด, ชนวนเวลา, ยงิ ซํ้า เปลี่ยน” - สำ� หรบั การยงิ หาหลกั ฐานชนวนไว “ขวา 40, ลด 10 บนั ทกึ หลกั ฐาน กะกำ� หนด จบภารกจิ เปลย่ี น” ง) ปกติการปรบั การยงิ ด้วยชนวนเวลา มวี ธิ ปี ฏบิ ตั ิดงั ต่อไปน้ี - เมอื่ ตรวจเหน็ กระสนุ นดั ใดนดั หนง่ึ แตกอากาศ ใหแ้ กส้ งู กระสนุ แตกเขา้ หา 20 ม. - อาจทำ� การยงิ กระสนุ เพมิ่ ขนึ้ เพอ่ื ปรบั แกห้ ลกั ฐานใหถ้ กู ตอ้ ง แลว้ สง่ ไป ยงั ศอย. ตามลำ� ดบั ดงั น้ี เช่น “สูงขึ้น 10, บันทึกเวลาชนวนกะกำ� หนด, จบภารกิจ เปลย่ี น” 2) การยิงหาหลักฐานแบบย่อจะให้ความถูกต้องมากยิ่งข้ึนหาก ผตน. ใช้กล้องวดั ระยะด้วยแสงเลเซอร์ 11. ภารกิจยิงท�ำ ลาย ก. ในภารกจิ ยงิ ทำ� ลายใชป้ นื กระบอกเดยี วทำ� การยงิ เพอ่ื ทำ� ลายเปา้ หมายการดำ� เนนิ การยงิ เหมอื นกบั การยงิ หาหลกั ฐาน ผตน. จะปรบั การยงิ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งไปจนกวา่ จะสรา้ งหว้ งควบ 25 เมตร ตอ่ จากนนั้ กจ็ ะผา่ หว้ งควบโดยการเพมิ่ หรอื ลดระยะไป 10 เมตร และท�ำการยงิ ไปครง้ั ละ สามนดั หลงั จากยงิ กระสนุ ไปสามนดั แลว้ กจ็ ะปรบั แกห้ ลกั ฐานครงั้ หนงึ่ ทำ� อยา่ งนเี้ รอื่ ยไปจนกวา่ เปา้ หมายจะถกู ทำ� ลายหรอื จนกวา่ จะจบภารกจิ (ผตน. อาจปรบั แกผ้ ลการยงิ ทลี ะนดั กไ็ ด)้ ข. เนื่องจากภารกิจยิงท�ำลาย จ�ำเป็นต้องใช้เวลาและกระสุนเป็นจ�ำนวนมาก จึงควรหลีกเล่ียง ถ้าได้วิเคราะห์แล้วว่าเป้าหมายมีความส�ำคัญต่อการปฏิบัติของหน่วย ด�ำเนินกลยุทธ์แล้ว สมควรท�ำการโจมตีต่อเป้าหมายนั้นด้วยวิธีการยิงท�ำลายและอาจใช้ การโจมตดี ้วยวธิ ีอน่ื ทเ่ี หมาะสมกว่าได้

¢. ‡π◊ËÕß®“°¿“√°‘®¬‘ß∑”≈“¬ ®”‡ªìπμâÕß„™â‡«≈“·≈–°√– ÿπ‡ªìπ®”π«π¡“° ®÷ߧ«√À≈’°‡≈’Ë¬ß ∂Ⓣ¥â«‘‡§√“–Àå·≈â««à“‡ªÑ“À¡“¬¡’§«“¡ ”§—≠μàÕ°“√ªØ‘∫—μ‘¢ÕßÀπ૬ ¥”‡π‘π°≈¬ÿ∑∏å·≈â«  ¡§«√∑”°“√‚®¡μ’μàÕ‡ªÑ“À¡“¬π—Èπ¥â«¬«‘∏’°“√¬‘ß∑”≈“¬·≈–Õ“®„™â °“√‚®¡μ’¥â«¬«‘∏’Õ◊Ëπ∑’ˇÀ¡“– ¡°«à“‰¥â μ“√“ß∑Ë’ 1 ‡æË¡‘ 25 „ππ—¥∑Ë’ 5 π.6, 7 (+,+)➊ -25 π.8 (-) ∫—π∑÷° („™â π.5, 6, 7, 8) π.6, 7 (-,+) ➊ ¬´. π.8 (√¬¡., ¡.) ∫—π∑÷° („™â π.5, 7, 8) π.2 ´.50 +200 π.9 (-) ∫—π∑÷° ((ใπช.้ 5น,.56,,67, ,7,88)) π.3 -100 π.4 +50 π.8 (+) ¬´. π.9 (√¬¡., ¡.) ∫—π∑÷°((„ใ™ช้â πน.5, 8, 9) π.5 (-) ➋ +25 π.8 (+) π.9 (+) -25 (¥ÀŸ ¡“¬‡Àμÿ 4) π. 8 (√¬¡., ¡.) (¥ÀŸ ¡“¬‡Àμÿ 2) ∫—π∑÷° (ใ„ช™้âπน..55,, 66,,77,,88)) ∫—π∑÷° (ใ„ช™้â นπ.6,,67,,78,)8) π.8 (-) ∫—π∑÷° („ใ™ชâ้ (นπ.33, ,66, ,77, ,88) ) π.6, 7 (-,-) 1 ➊ +25 (Õ“®μÕâ ß √â“ßÀâ«ß§«∫„À¡,à ¥ÀŸ ¡“¬‡Àμÿ 4) «‘™“‡À≈“à ∑À“√ªπó „À≠à 173 μ“√“ß∑Ë’ 2 ≈¥ 25 „ππ¥— ∑’Ë 5 เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 205 π.8 (+) ∫—π∑÷° („™â π.5, 6, 7, 8) π.6, 7 (-,-) ➊ +25 π.8 (√¬¡., ¡.) ∫—π∑÷° („™â π.5, 7, 8) π.2 ´.50 +200 π.9 (+) ∫—π∑÷° („™â π.5, 6, 7, 8) π.3 -100 π.4 +50 π.8 (-) ¬´. π.9 (√¬¡., ¡.) ∫—π∑÷° („™â π.5, 8, 9) π.5 (+)➋ +25 π.8 (+) π.9 (-) +25 (¥ÀŸ ¡“¬‡Àμÿ 4) π. 8 (ร√ย¬ม¡.,¡ม.) ∫—π∑÷° („™â π.5, 6, 7, 8) π.6, 7 (+,-) ➊ ¬´. ∫—π∑÷° („ใช™้â πน.6,6,,77,,88)) π.6, 7 (+,+) ➊ -25 π.8 (+) ∫—π∑÷° („™â π. 3, 6, 7, 8) (Õ“®μâÕß √“â ßÀ«â ߧ«∫„À¡à, ¥ŸÀ¡“¬‡Àμÿ 4) μ“√“ß∑’Ë 3 √–¬–‡ªÑ“À¡“¬, ∂Ÿ°‡ªÑ“À¡“¬√–À«“à ߪ√—∫°“√¬ß‘

π.6, 7 (+,+) ➊ -25 (Õ“®μâÕß √â“ßÀ«â ߧ«∫„À¡à, ¥ÀŸ ¡“¬‡Àμÿ 4) μ“√“ß∑Ë’ 3 √–¬–‡ªÑ“À¡“¬, ∂°Ÿ ‡ª“Ñ À¡“¬√–À«“à ߪ√∫— °“√¬‘ß π.2 ´.50 +200 π.4 (+) -25 π. 5 (+) (¥ÀŸ ¡“¬‡Àμÿ 4) π.3 (¡.) ¬´. π.4 (√¬¡., ¡.) π. 5 (-) ∫—π∑÷° („™â π.3, 4, 5) ∫—π∑÷° („™â π.3, 5,) (¥ŸÀ¡“¬‡Àμÿ 5) (¥ÀŸ ¡“¬‡Àμÿ 1) π.5 (√¬¡., ¡.) ∫—π∑÷° („™â π.3, 4) (¥ÀŸ ¡“¬‡Àμÿ 3) π.4 (-) +25 π.5 (-) +25 (ด¥ÀŸหู ¡ม“า¬ย‡เÀหμตÿ ุ44) ) π.5 (√ร¬ยม¡.,¡ม.) ∫—π∑÷° („™â π.3, 5) (¥ÀŸ ¡“¬‡Àμÿ 5) π.5 (+) ∫—π∑÷° („ใช™้â นπ.33,,44,,55)) หมายเหตุ 206 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 1 ถา้ ไดผ้ ลการตรวจเปน็ “ระยะเปา้ หมาย” หรอื “เปา้ หมาย” ในระหวา่ งการปรบั การยงิ กใ็ หผ้ ตู้ รวจการณด์ ำ� เนนิ ภารกจิ ตอ่ ไป โดยการขอวา่ “ยงิ ซาํ้ ” ถา้ ผลการตรวจในนดั ทผี่ ตู้ รวจการณไ์ ดแ้ กไ้ ขทางระยะไปแลว้ “เพม่ิ หรอื ลด 50” 2 ยงั คงไดผ้ ลเชน่ เดยี วกบั ในนดั กอ่ น ผตู้ รวจการณก์ ค็ งใหผ้ ลการตรวจ และการแก้ เรม่ิ ตน้ จากนดั ท่ี 5 และดำ� เนนิ การปรบั ตอ่ ไปตามปกติ 3 นดั ทไ่ี ดผ้ ลการตรวจเปน็ “เปา้ หมาย” หรอื “ระยะเปา้ หมาย” อาจจะถอื ไดว้ า่ เทา่ กบั ยงิ กระสนุ ไป 2 นดั ดว้ ยหลกั ฐานเดยี วกนั และควบจดุ ยงิ หาหลกั ฐาน ผตู้ รวจการณด์ ำ� เนนิ การแกท้ างระยะไปครง้ั ละ 25 เมตร จนกวา่ จะไดผ้ ลการ ตรวจเปน็ “ระยะเปา้ หมาย” หรอื “เปา้ หมาย” หรอื ไดผ้ ล การตรวจในทางตรง กนั ขา้ ม แลว้ จงึ แกไ้ ปในทางทเี่ หมาะ เพอื่ ใหไ้ ดห้ ว้ งควบทต่ี อ้ งการ ถา้ ไดแ้ กท้ าง 4 ระยะไป 25 เมตร 2 หรอื 3 นดั แลว้ ยงั คงไดผ้ ลการตรวจเชน่ เดยี วกบั ขา้ งมาก กแ็ สดงวา่ ผตู้ รวจการณไ์ ดส้ รา้ งหว้ งควบทางระยะผดิ จงึ ตอ้ งดำ� เนนิ ภารกจิ ตอ่ ไป ดว้ ยการสรา้ งหว้ งควบใหม่ 5 ผู้ตรวจการณ์บอกจบภารกิจเน่ืองจากได้ผลการตรวจเท่ากับกระสุนสองคู่ ทย่ี งิ ดว้ ยหลกั ฐานตา่ งกนั 25 เมตร และควบจดุ ยงิ หาหลกั ฐาน

บทท่ี เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 207 ระบบการสือ่ สาร ป.สนาม ตอนที่ 1 ระบบการสื่อสารของกองรอ้ ยทหารปืนใหญข่ นาด 105 มม. 1. ความมุ่งหมายของการปรบั การยิง ภารกจิ ของทหารปนื ใหญส่ นาม คอื ทำ� การยงิ สนบั สนนุ หนว่ ยดำ� เนนิ กลยทุ ธอ์ ยา่ ง ตอ่ เนอ่ื งและทนั เวลา โดยทำ� การยงิ ตอ่ เปา้ หมายตา่ ง ๆ ทข่ี ดั ขวางความสำ� เรจ็ ในการดำ� เนนิ กลยทุ ธ์ แตท่ หารปนื ใหญจ่ ะท�ำการยงิ สนบั สนนุ หนว่ ยด�ำเนนิ กลยทุ ธอ์ ยา่ งไดผ้ ลนนั้ หนว่ ย ทหารปืนใหญ่จะต้องมรี ะบบการตดิ ต่อสือ่ สารท่ดี ี มปี ระสิทธิภาพและเชอื่ ถือได้ท้ังระบบ ขา่ ยการตดิ ตอ่ สอ่ื สารภายในและภายนอก เพอ่ื ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชามคี วามสะดวกในการสงั่ การ ควบคุมบงั คบั บญั ชา การประสานงาน และการอ�ำนวยการยิง

176 «™‘ “‡À≈“à ∑À“√ªπó „À≠à 14-2. °“√ก®า¥— รÀจπดั «àห¬น่วย °Õß√กâÕอ¬ง∑รอ้Àย“ท√ªหóπาร„ปÀนื≠ใà¢หπญ“ข่ ¥น1า0ด51¡05¡ม. ม¡.’°ม“กี √า®ร—¥จÀดั πหน૬ว่ ยμต“¡าม·แºผπนºผ—ßงั°ก“า√ร®จ—¥ดั ¢ขâ“า้ ßง≈ลà“า่ ßงπน’Èี้ °Õß√âÕ¬ ª∫§. 105 ¡¡. ∫บก°.ร√อ้ âÕย¬. À¡Ÿà Ÿ∑°√√¡ ¡«. ®π∑. °Õß√âÕ¬  ส่«π¬‘ß À¡Ÿàμ√«®°“√≥åÀπâ“ 208 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ∫°.  à«π¬‘ß À¡àŸ ª. À¡àŸ°√– ÿπ ภา¿พ“ผæงัºกß— า°ร“จ√ัด®¥—ก°อÕงรßอ้√Õâย¬ท∑หÀา“ร√ปªืนπó ใ„หÀญ≠่ขà¢นπา“ด¥ 110055 ¡ม¡ม.. ((Õอ®จ¬ย..66--2255≈ลßง22æพ.§..ค2.92)9)

3. ความตอ้ งการในการตดิ ตอ่ สอ่ื สาร เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 209 การติดต่อสื่อสารของกองร้อยทหารปืนใหญ่ จะต้องเป็นที่พอใจทั้งการติดต่อ สอ่ื สารภายในและภายนอก ก. ความตอ้ งการในการตดิ ตอ่ สอื่ สารภายใน การตดิ ตงั้ เครอื่ งมอื เพอื่ การสอ่ื สาร ภายในจะมีมากหรือน้อยข้ึนอยู่กับความสะดวกในการควบคุมและประสานงานของหน่วย ผู้บังคับหน่วยนั้น ๆ ต้องรับผิดชอบในการติดต้ังและซ่อมบำ� รุง ระบบการติดต่อสื่อสาร ภายในจดั ตงั้ ขนึ้ เพอ่ื ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชามคี วามสะดวกในการปฏบิ ตั งิ านเกยี่ วกบั 1) การอำ� นวยการยงิ 2) การควบคมุ กำ� กบั ดแู ลทางธรุ การและทางยทุ ธวธิ ี 3) รวบรวมขา่ วสารและกระจายขา่ วกรอง ข. ความต้องการในการตดิ ต่อส่อื สารภายนอก ความต้องการน้ีขนึ้ อยู่กับความ สะดวกทหี่ น่วยจะรกั ษาไวซ้ งึ่ การตดิ ต่อสอื่ สารกบั หน่วยเหนอื หนว่ ยขา้ งเคยี ง และหนว่ ยรบั การสนบั สนนุ ความมุ่งหมาย เพื่อรับหลักฐานและข่าวสารอน่ื ๆ ท่จี ำ� เป็น เพือ่ ให้ภารกิจ ท่ีได้รบั มาส�ำเร็จลลุ ่วงไปด้วยดี ผู้บงั คบั บญั ชาของหน่วยทมี่ สี ่วนในการใช้การติดต่อส่อื สาร นั้นต้องรับผิดชอบก�ำกับดูแลการปฏิบัติงาน คอยรับฟังทั้งข่ายวิทยุและข่ายทางสายอย่าง แน่ใจว่าตดิ ต่อกันได้ ถ้าการตดิ ต่อส่ือสารหยุดชะงกั ลงจะด้วยกรณใี ด ๆ กต็ าม จะต้องเข้า ช่วยเหลอื แก้ไขให้ลลุ ่วงไปด้วยดี ความมุ่งหมายของระบบการติดต่อส่ือสารภายนอกจัดไว้ เพื่อให้ ผบ. มคี วามสะดวกในการปฏบิ ตั ิงานเกี่ยวกับ 1) รับภารกิจยงิ จากหน่วยเหนอื 2) รับคำ� สง่ั ทางธรุ การและทางยทุ ธวธิ ีจากหน่วยเหนือ 3) ติดต่อกบั หน่วยรบั การสนบั สนนุ 4) รับข่าวแจ้งเตอื นภัย 5) รบั หลกั ฐานเก่ยี วกับอตุ นุ ยิ ม 6) ประสานงานแผนท่ี

210 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ตอนท่ี 2 การตดิ ตอ่ ส่อื สารในท่ีรวมพลของกองร้อยทหารปืนใหญ่ขนาด 105 มม. 4. กลา่ วท่ัวไป ในการออกปฏิบัติการยุทธ์ของหน่วยทหารปืนใหญ่ก่อนท่ีหน่วยจะเข้าท่ีตั้งยิง เพอื่ ปฏบิ ตั ภิ ารกจิ สนบั สนนุ หนว่ ยอนื่ ๆ ทำ� การรบ หนว่ ยนนั้ ๆ จะเขา้ อยใู่ นทร่ี วมพล และจะตอ้ ง จดั กำ� ลงั ส่วนหนงึ่ ออกไปทำ� การลาดตระเวนเลอื กและการเข้าประจำ� ทตี่ งั้ (ลลขต.) ทงั้ นเี้ พอ่ื ให้มีความรวดเรว็ และเป็นระเบยี บเรยี บร้อย ในการเคลอื่ นย้ายหน่วยเข้าที่ต้งั ยงิ และกำ� ลัง ส่วนท่ีเหลือ เมื่อไม่ได้จัดให้อยู่ในรูปขบวนเดินกำ� ลังส่วนนี้จะอยู่ในท่ีรวมพล ท้ังน้ีแล้วแต่ สถานการณ์และกำ� ลงั บางส่วน เช่น ผู้ตรวจการณ์หน้าอาจจะไปกบั นายทหารยิงสนบั สนุน เพอ่ื ไปประจำ� อยู่กบั หน่วยรบั การสนบั สนนุ แล้ว ก. ที่รวมพล ซึ่งเป็นพื้นท่ีท่ีก�ำหนดให้ส่วนต่าง ๆ ของหน่วยนั้นเข้าไป เพื่อ เตรยี มการเก่ยี วกบั ยุทโธปกรณ์ให้อยู่ในสภาพพร้อมท่จี ะท�ำการรบ และจะต้องจัดให้มีการ ระวงั ป้องกนั ตนเองในระหว่างรอคอยเวลาทจ่ี ะนำ� ก�ำลงั ส่วนทเี่ หลอื นเี้ คลอื่ นย้ายเข้าทตี่ งั้ ยงิ ขนาดพ้นื ทร่ี วมพลของกองร้อยปืนใหญ่สนามประมาณ 200 X 200 เมตร ข. การระวังป้องกัน ในท่ีรวมพลควรจะได้วางก�ำลังพร้อมอาวุธต่าง ๆ เพื่อ ปอ้ งกนั ตนเอง โดยวางเปน็ วงรอบ ซงึ่ รอง ผบ.รอ้ ย จะเปน็ ผคู้ วบคมุ กำ� กบั ดแู ลและประสาน แผนการระวงั ป้องกนั 5. การติดตอ่ ส่อื สาร เพ่ือให้บังคับบัญชามีความสะดวกในการส่ังการควบคุมกำ� กับดูแล และการ ประสานงานระหว่างส่วนต่าง ๆ ท่ีอยู่ในพ้ืนทีร่ วมพลเป็นไปด้วยความเรยี บร้อย จึงจำ� เป็น ต้องจดั การตดิ ต่อส่อื สารในพ้นื ทร่ี วมพลขึ้น ทง้ั การตดิ ต่อสอ่ื สารทางสายและทางวทิ ยุ ก. การติดต่อส่อื สารทางสาย เน่ืองจากกำ� ลงั ท่เี หลอื อยู่ในท่ีรวมพล จะเตรียม การต่าง ๆ และรอเวลาที่จะเคลื่อนย้ายเข้าที่ต้ังยิง จึงมีเวลาอยู่ในที่รวมพลไม่มากนัก การวางการสื่อสารทางสายในท่ีรวมพลจึงนิยมวางแบบวงจรต่อเน่ือง (HOTLOOP) ซ่ึงจะ สามารถตดิ ต่อกันได้ทกุ จดุ ในเวลาเดียวกัน การวางสายนัน้ เจ้าหน้าท่สี ่อื สารของกองร้อย

จะเป็นผู้ด�ำเนินการ โดยจะเริ่มต้นวางจาก บก.ร้อย. (รถ รอง ผบ.ร้อย.) วางผ่านไปเข้า เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 211 โทรศพั ท์ท่จี ดุ ต้ังอาวุธป้องกนั ตนเองทกุ จดุ และนำ� ปลายสายมาประจบรวมกนั ที่ บก.ร้อย. น�ำปลายสายคู่เข้าโทรศพั ท์ ข. การตดิ ตอ่ สอ่ื สารทางวทิ ยุ ในระหวา่ งทอี่ ยใู่ นทร่ี วมพล การใชว้ ทิ ยใุ นขนั้ ตอนนี้ สถานีวิทยุต่าง ๆ ภายในกองร้อยจะเปิดท�ำงานอยู่ในข่ายต่าง ๆ ตามที่ นปส. ก�ำหนด แต่การใช้วทิ ยนุ ัน้ จะใช้เท่าทจ่ี �ำเป็นหรือตามท่ี รปจ. ของหน่วยจะก�ำหนด โทรศัพท์สนาม ปืนใหญ่ ปก.93 ปก.7.62 ภาพการตดิ ต่อสอื่ สารทางสายในท่รี วมพลของกองรอ้ ยปืนใหญ่สนาม

212 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ตอนที่ 3 การติดตอ่ ส่อื สารในที่ต้งั ยิงของกองรอ้ ยทหารปนื ใหญข่ นาด 105 มม. 6. กลา่ วทวั่ ไป ในการลาดตระเวนเลอื กและเข้าประจ�ำทีต่ งั้ (ลลขต.) ของคณะลาดตระเวนนั้น เป็นการลาดตระเวนเลือกหาที่ตั้งยิง ซ่ึงที่ต้ังยิงน้ีจะประกอบด้วยที่ต้ังต่าง ๆ ท่ีอยู่ภายใน พน้ื ทต่ี ง้ั ยงิ ของกองรอ้ ยนนั้ เอง มที ต่ี งั้ ศนู ยก์ ลางกองรอ้ ย ทตี่ งั้ หมปู่ นื ใหญ่ ทต่ี ง้ั กลอ้ งกองรอ้ ย ทีต่ ั้งกองกระสนุ ทต่ี ัง้ ศูนย์อำ� นวยการยงิ เมือ่ ผบ.ร้อย. ได้ตกลงใจเลอื กพนื้ ทีเ่ หล่าน้นั เป็น ทต่ี ัง้ ยิงแน่นอนแล้ว นายสบิ สือ่ สารซ่งึ ได้ร่วมไปกบั คณะลาดตระเวนนน้ั จะลงมอื ทำ� การวาง การสอื่ สารทนั ที 7. การติดต่อส่อื สาร เพ่ือให้ผู้บังคับบัญชามีความสะดวกในการอ�ำนวยการยิง การควบคุมก�ำกับ ดูแลทางธรุ การและทางยทุ ธวิธี การแลกเปลี่ยนข่าวสารและข่าวกรอง รบั คำ� สง่ั ทางธรุ การ และทางยทุ ธวธิ ีจากหน่วยเหนอื ตดิ ต่อกบั หน่วยรบั การสนับสนนุ และรับข่าวแจ้งเตอื นภัย จงึ จ�ำเป็นต้องจดั ตั้งการสื่อสารท้งั ทางสายและทางวิทยุ ก. ข่ายการติดต่อสื่อสารทางสาย ขอบเขตของข่ายการติดต่อสื่อสารทางสาย จะมากนอ้ ยเพยี งใดขน้ึ อยกู่ บั เจา้ หนา้ ทแี่ ละเวลาทหี่ นว่ ยยงั อยใู่ นพนื้ ทตี่ ง้ั ยงิ นน้ั วงจรทางสาย ที่จะต้องท�ำการวางเป็นอันดับแรก คือสายอ�ำนวยการยิงและประสานการยิงสนับสนุน วงจรทางสายของกองร้อยปืนใหญ่สนามมกี ารตดิ ตงั้ ดงั น้ี 1) เมอื่ ปฏบิ ตั ภิ ารกจิ เปน็ กองรอ้ ยอสิ ระหรอื ไมไ่ ดอ้ ยใู่ นความควบคมุ ของกอง พนั เจา้ หนา้ ทส่ี อ่ื สารของกองรอ้ ยวางสายอ�ำนวยการยงิ จาก ศอย.กองรอ้ ย ไปหานายทหาร การยงิ สนบั สนนุ ทป่ี ระจำ� อยทู่ ก่ี องพนั ร. หรอื หนว่ ยดำ� เนนิ กลยทุ ธ์ และอาจชว่ ยวางสายจาก นายทหารการยงิ สนบั สนนุ ไปยงั ผตู้ รวจการณห์ นา้ ดว้ ยเมอื่ สง่ั และถา้ กองรอ้ ยปฏบิ ตั ภิ ารกจิ อยู่ในความควบคุมของกองพัน เจ้าหน้าท่ีส่ือสารของกองร้อยต้องวางสายอ�ำนวยการยิง จาก ศอย.กองร้อย ไปหา ศอย.กองพัน และวางวงจรตู้สลบั สายระหว่างกองร้อยกับตู้สลบั สายกองพันด้วย

2) หมู่ยงิ สนบั สนุนวางสายจากท่อี ยู่ตัวเองไปหาผู้ตรวจการณ์หน้า โดยวาง เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 213 สายไปหาผตู้ รวจการณห์ นา้ ทป่ี ระจำ� อยกู่ บั กองรอ้ ยดำ� เนนิ กลยทุ ธใ์ นแนวหนา้ กอ่ น ทงั้ นเี้ มอ่ื เจ้าหน้าท่สี ่อื สารของกองร้อยไม่ได้ท�ำการวางให้ตาม ข้อ 1) 3) ผู้ตรวจการณ์หน้าแต่ละหมู่ วางสายจากทอี่ ยู่ตวั เองไปยงั ตู้สลบั สายกอง ร้อย หน่วยดำ� เนินกลยทุ ธ์ทตี่ นประจ�ำอยู่ 4) เจ้าหน้าท่ีส่ือสารของกองร้อยติดต้ังวงจรทางสายภายในจากตู้สลับสาย กองร้อยไปยงั ทตี่ ั้งต่าง ๆ มี บก.ร้อย., ศอย.กองร้อยหมู่กระสนุ , หมู่สทู กรรม, ทีต่ ัง้ อาวธุ ปอ้ งกนั ตา่ ง ๆ และวางสายจาก บก.สว่ นยงิ ไปยงั จดุ ตงั้ กลอ้ งกองรอ้ ยชนดิ เขม็ ทศิ เมอ่ื ตอ้ งการ 5) เจ้าหน้าท่ีบันทึกวางสายระหว่างโทรศัพท์ของเจ้าหน้าท่ีคำ� นวณท่ี ศอย. กองร้อย กบั ชุดเชอ่ื มต่อสาย MX-155 ที่ บก.ส่วนยิง พร้อมทงั้ ตดิ ตง้ั โทรศัพท์ของตนเองด้วย 6) พลประจำ� ปืนแต่ละหมู่ วางสายจากหมู่ ป. ของตนเอง ไปยงั ชุดเชอ่ื มต่อ สาย MX-155 ทบ่ี ก.ส่วนยิง ข. ข่ายการตดิ ต่อสือ่ สารทางวทิ ยุ 1) เมอ่ื กองรอ้ ยทหารปนื ใหญส่ นามออกปฏบิ ตั ภิ ารกจิ เปน็ กองรอ้ ยอสิ ระ หรอื ข้นึ สมทบกบั หน่วยกองพนั ด�ำเนินกลยทุ ธ์ ต้องการข่ายวทิ ยุเพ่อื ท�ำการติดต่อ มีดงั นี้ - ข่ายภายใน ก) ขา่ ยอำ� นวยการยงิ FM. ใชเ้ พอ่ื อำ� นวยการยงิ และประสานยงิ สถานี วทิ ยทุ อ่ี ยใู่ นขา่ ยนป้ี ระกอบดว้ ย สถานวี ทิ ยุ ศอย.กองรอ้ ย นายทหารการยงิ สนบั สนนุ ประจ�ำ กองพันดำ� เนินกลยทุ ธ์ และผู้ตรวจการณ์หน้า ข) ข่ายบงั คบั บญั ชาร้อย ป. FM. ใช้ในการควบคมุ และกำ� กบั ดแู ลทาง ธุรการและทางยุทธวิธี รวบรวมข่าวสารและกระจายข่าวกรอง สถานีวิทยุท่ีอยู่ในข่ายน้ีจะ ประกอบด้วย ผบ.ร้อย., รอง ผบ.ร้อย. ผช.รอง ผบ.ร้อย., นลว.ผท. และอาจจะมีนายทหาร การยงิ สนบั สนนุ คอยรับฟังอยู่ในข่ายนด้ี ้วย - ขา่ ยภายนอก ค) ขา่ ยบงั คบั บญั ชากองพนั ดำ� เนนิ กลยทุ ธ์ FM. ใชเ้ พอ่ื ตดิ ตอ่ รบั ทราบ คำ� ส่ังทางธรุ การและทางยทุ ธวิธี แลกเปลี่ยนข่าวสาร และประสานการปฏบิ ตั ภิ ารกิจต่าง ๆ สถานีวทิ ยทุ ใ่ี ช้ติดต่ออยู่ในข่ายน้คี อื สถานวี ทิ ยขุ อง ผบ.ร้อย., นายทหารการยงิ สนบั สนุน

214 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ง) ขา่ ยบงั คบั บญั ชากองรอ้ ยดำ� เนนิ กลยทุ ธ์ FM. ใชเ้ พอ่ื ตดิ ตอ่ ประสาน การปฏบิ ตั งิ านกบั กองรอ้ ยดำ� เนนิ กลยทุ ธส์ ถานที อ่ี ยใู่ นขา่ ยน้ี ไดแ้ ก่ วทิ ยขุ องผตู้ รวจการณห์ นา้ จ) ขา่ ยแจง้ เตอื นภยั เนนิ่ AM. ใชร้ บั ขา่ วการแจง้ เตอื นภยั จากหนว่ ยเหนอื โดยใช้เคร่ืองรบั วทิ ยุ AN/GRR-5 ท่ี ศอย.ร้อย.ป. เปิดท�ำงานอยู่ในข่ายน้ี 2) เมื่อกองร้อยทหารปืนใหญ่สนามปฏิบัติภารกิจอยู่ในความควบคุม ของกองพันทหารปืนใหญ่ หรือเป็นส่วนหน่ึงของกองพันทหารปืนใหญ่ ต้องการข่ายวิทยุ เพื่อทำ� การติดต่อสอ่ื สาร มีดังนี้ - ขา่ ยภายใน ก) ข่ายบังคบั บัญชา/อ�ำนวยการยงิ กองพนั FM. ข่ายน้ใี ช้สำ� หรบั การ บังคับบัญชาการธุรการการเดินทาง และอาจใช้ส�ำหรับการอ�ำนวยการยิงได้เมื่อมีความ จำ� เปน็ ขา่ ยนจ้ี ะประกอบดว้ ยสถานวี ทิ ยุ ผบ.รอ้ ย., รอง ผบ. รอ้ ย., ผช.รอง ผบ.รอ้ ย., ผบ.พนั ., รอง ผบ.พัน., นายทหารการยงิ สนับสนุน และฝ่ายอ�ำนวยการของกองพัน ข) ข่ายอ�ำนวยการยิง FM. ข่ายนี้ใช้ส�ำหรับการอ�ำนวยการยิง โดย เฉพาะสถานวี ทิ ยทุ อ่ี ยใู่ นขา่ ยนมี้ สี ถานวี ทิ ยขุ อง ศอย.กองพนั ศอย.กองรอ้ ย นายทหารการยงิ สนบั สนนุ ทปี่ ระจำ� กองพนั หนว่ ยดำ� เนนิ กลยทุ ธ์ ผตู้ รวจการณห์ นา้ ทอี่ ยภู่ ายใตก้ ารควบคมุ ของ นายทหารการยงิ สนบั สนนุ นน้ั ๆ และ ผบ.รอ้ ย. จะเปดิ วทิ ยรุ บั ฟงั อยใู่ นขา่ ยนด้ี ว้ ย ค) ขา่ ยแผนท่ี FM. ขา่ ยนใ้ี ชส้ ำ� หรบั ประสานการปฏบิ ตั งิ านแผนทภ่ี ายใน กองพนั ทหารปนื ใหญส่ นาม ระหวา่ งหมแู่ ผนทกี่ องพนั กบั เจา้ หนา้ ทแี่ ผนทขี่ องกองรอ้ ยตา่ ง ๆ - ขา่ ยภายนอก ง) ข่ายบังคับบัญชากองร้อยด�ำเนินกลยุทธ์ FM. ข่ายน้ีใช้ส�ำหรับให้ ผู้ตรวจการณ์หน้าติดต่อและประสานการยิงกับหน่วยรับการสนับสนุน สถานีวิทยุที่เปิด ท�ำงานอยู่ในข่ายน้ี คอื วิทยุผู้ตรวจการณ์หน้าทป่ี ระจ�ำอยู่กับกองร้อยดำ� เนินกลยทุ ธ์น้ัน จ) ข่ายแจ้งเตอื นภัยเนิ่น AM. ข่ายนใ้ี ช้รับข่าวแจ้งเตือนภัยจากหน่วย เหนือ โดยใช้เคร่อื งรบั วทิ ยุ AN/GRR-5 ที่ ศอย.ร้อย.ป. เปิดท�ำงานอยู่ในข่ายน้ี

บทที่ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 215 ภารกจิ และการจดั หนว่ ย ปตอ. ทบ.ไทย 1. กล่าวน�ำ ภยั ทางอากาศก่อให้เกดิ มติ ิท่ีสามของสนามรบ เป็นภยั ทคี่ กุ คามอย่างรุนแรง และกว้างขวางต่อหน่วยทหารภาคพื้นดิน สามารถก่อให้เกิดผลกระทบกระเทือน หรือ ขัดขวางต่อผลสำ� เร็จในการปฏิบัติภารกิจของหน่วยทหารภาคพ้ืนดิน เพ่ือท่ีจะให้ภารกิจ ของหน่วยก�ำลังรบบรรลุความส�ำเร็จจ�ำเป็นต้องจัดให้มีการป้องกันภัยทางอากาศให้กับ หน่วยภาคพน้ื ดนิ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ปตอ. เป็นอาวธุ หลักของเหล่าทหารปืนใหญ่และ เป็นอาวุธที่ใช้เป็นหลักในการป้องกันภัยทางอากาศของกองทัพบก เพื่อป้องกันภัยทาง อากาศให้กบั หน่วย หรอื ทต่ี ัง้ ต่าง ๆ จึงจำ� เป็นท่นี ายทหารปืนใหญ่ทุกนายจะต้องมคี วาม เขา้ ใจถงึ ภารกจิ และการจดั หนว่ ยทหารปนื ใหญต่ อ่ สอู้ ากาศยานของ ทบ.ไทย เพอ่ื ใหก้ าร ใช้หน่วย ปตอ. บงั เกิดประสิทธภิ าพสงู สุด 2. สงครามทางอากาศ ก. ลกั ษณะของสงครามทางอากาศ สงครามทางอากาศ ซงึ่ เปน็ บอ่ เกดิ ของ ภยั ทางอากาศมลี ักษณะดงั น้ี 1) สามารถท�ำการโจมตีอย่างทันทีทันใดด้วยอากาศยานจ�ำนวนมากต่อ เป้าหมายทางพน้ื ดินหลายเป้าหมาย 2) ก่อให้เกิดการจู่โจมจนไม่มีหน่วยหรือบุคคลใดสามารถเตรียมการ ป้องกนั หรอื ต่อสู้อย่างสมบรู ณ์ได้

216 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 3) สามารถใชอ้ าวธุ หลายรปู แบบทำ� การโจมตไี ด้ เชน่ ลกู ระเบดิ จรวด อาวธุ น�ำวิถีประเภทอากาศ-สู่-พน้ื ปืนใหญ่อากาศ และอน่ื ๆ 4) ห้วงอากาศเหนอื พน้ื ทก่ี ารรบมกี ารใช้อย่างหนาแน่นจากหลายฝ่าย เช่น อากาศยานฝา่ ยเราและฝา่ ยขา้ ศกึ อาวธุ ปตอ. ทง้ั ฝา่ ยเราและฝา่ ยขา้ ศกึ ฯลฯ ความหนาแนน่ ในการให้ห้วงอากาศย่อมก่อให้เกดิ ความสับสนในการป้องกนั ภยั ทางอากาศ 5) สงครามทางอากาศเปน็ การปฏบิ ตั กิ ารทเี่ คลอื่ นทไ่ี กลอยา่ งรวดเรว็ ทงั้ ฝา่ ย โจมตีและฝ่ายต่อต้านการโจมตี ซ่ึงจำ� เป็นต้องใช้หลักการทั้งทางเทคนิคและยุทธวิธีอย่าง สลับซบั ซ้อน 6) เน่ืองจากเวลาท่ีมีอยู่ส�ำหรับใช้ในการป้องกันภัยทางอากาศมีอยู่น้อย มาก จ�ำเป็นต้องใช้การตอบโต้และตอบสนองอย่างรวดเร็ว การปฏบิ ัตติ ่าง ๆ ต้องกระทำ� โดยอัตโนมตั ิ ข. องคป์ ระกอบของภยั ทางอากาศ ภยั ทางอากาศโดยทวั่ ไป จะประกอบดว้ ย องค์ประกอบสำ� คัญดงั ต่อไปน้ี 1) พาหะ อนั ได้แก่ เคร่อื งบินรบ ขปี นาวุธ เครื่องร่อน ฯลฯ 2) ลกู ระเบดิ หรอื หวั รบ 3) สงิ่ อำ� นวยความสะดวกในการควบคมุ ไปยงั เปา้ หมาย อนั ไดแ้ ก่ ระบบการ ควบคมุ อากาศยานยทุ ธวธิ ี ระบบการบงั คับวถิ ี ฯลฯ 3. วธิ ีและแบบของการป้องกนั ภยั ทางอากาศ หวั ข้อพจิ ารณาอ่ืนท่มี ผี ลกระทบต่อการแบ่งมอบหน่วย ปตอ. คือ วิธีและแบบ การป้องกนั ภยั ทางอากาศ ก. วธิ ีการป้องกนั ภยั ทางอากาศ (CLASSES OF AIR DEFENSE) 1) การปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศเชงิ รกุ (ACTIVE AIR DEFENSE) การป้องกนั ภยั ทางอากาศเชงิ รกุ เปน็ การกระทำ� โดยตรงตอ่ การปฏบิ ตั กิ ารทางอากาศของขา้ ศกึ เพอื่ ทำ� ลาย หรอื ลดประสทิ ธผิ ลการโจมตที างอากาศของขา้ ศกึ ดว้ ยการใหเ้ ครอื่ งบนิ สกดั กน้ั ระบบอาวธุ ปตอ. การต่อต้านทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และการใช้อาวุธท่มี ใี ช่ ปตอ. ซ่ึงนำ� มาใช้ในบทบาท ของการป้องกนั ภัยทางอากาศ

2) การปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศเชงิ รบั (PASSIVE AIR DEFENSE) การปอ้ งกนั ภยั เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 217 ทางอากาศเชงิ รบั หมายถึง วธิ ีการทง้ั ปวงทม่ี ใิ ช่การป้องกันภัยทางอากาศเชิงรกุ ซงึ่ นำ� มา ใชเ้ พอื่ ลดอนั ตรายจากการโจมตที างอากาศของขา้ ศกึ ใหเ้ หลอื นอ้ ยทส่ี ดุ วธิ กี ารดงั กลา่ ว ไดแ้ ก่ การกำ� บงั การซ่อนพราง การพราง การกระจายกำ� ลัง และการสร้างที่หลบภยั เป็นต้น การ ป้องกนั ภัยทางอากาศเชงิ รบั นี้ หากนำ� มาใช้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ จะช่วยลดความต้องการ การใช้กำ� ลงั รบป้องกนั ภยั ทางอากาศลงและเพ่มิ อัตราความอยู่รอดของบคุ คล หน่วยทหาร และทรพั ยากรของชาตใิ ห้สงู ข้นึ ข. แบบของการป้องกนั ภยั ทางอากาศ (TYPES OF AIR DEFENSE) ก่อนเริ่มด�ำเนินกรรมวิธีการออกแบบการป้องกันภัยทางอากาศ ซึ่งเป็น กรรมวิธีของการใช้หลักการป้องกันภัยทางอากาศ แนวทางในการใช้ ปตอ. และความ ต้องการในการป้องกันของ ปตอ. มาพิจารณาประกอบขีดความสามารถของระบบอาวุธ ผู้วางแผนจะต้องทราบแบบของการป้องกันภัยทางอากาศท่ีกำ� หนดเสียก่อน ซ่ึงส่วนใหญ่ แล้วจะระบไุ ว้ในแนวทางในการวางแผนของผู้บังคับหน่วย ปตอ. แบบของการป้องกันภัยทางอากาศมี 2 แบบ คือ การป้องกันเป็นพ้ืนท่ี และ การป้องกนั เป็นจุด 1) การป้องกนั เป็นพ้ืนที่ (AREA DEFENSE) การป้องกันเป็นพื้นท่ี มีลักษณะ เป็นการป้องกันที่ได้ออกแบบไว้ส�ำหรับป้องกันเป็นพื้นท่ีบริเวณกว้างขวาง โดยไม่มี การก�ำหนดล�ำดับความเร่งด่วนในการป้องกันภัยทางอากาศให้กับท่ีต้ังใดที่ตั้งหนึ่ง โดย เฉพาะเครื่องบินขับไล่สกัดกั้นมีความรับผิดชอบในการป้องกันภัยทางอากาศเป็นพื้นที่ ท้งั น้เี นอ่ื งจากเคร่อื งบินขบั ไล่สกัดกัน้ มคี วามอ่อนตัว มีความสามารถในการเคล่อื นที่ และ สามารถนา่ กลบั มาใชอ้ กี ทำ� ใหเ้ ครอ่ื งบนิ มคี วามเหมาะสมมากทส่ี ดุ ในการใชป้ อ้ งกนั ภยั ทาง อากาศครอบคลมุ พ้ืนที่อนั กว้างขวาง การป้องกนั เป็นแนว เป็นการป้องกนั ภยั ทางอากาศเป็นทพี่ ื้นทว่ี ธิ ีหน่งึ ด้วยการ ใช้หน่วย ปตอ. ระดับปานกลางถึงสูงวางกำ� ลังตามแนวยาว เพ่ือทำ� ลายเครื่องบินข้าศึก แต่เนนิ่ เมอ่ื เครือ่ งบนิ เหล่านน้ั จะทะลทุ ะลวงเข้ามาในพืน้ ทส่ี ่วนหลงั 2) การป้องกันเป็นจุด (POINT DEFENSE) การป้องกันเป็นจุดมีลักษณะ เป็นการป้องกนั พน้ื ท่บี ริเวณเลก็ ตามปกติใช้ป้องกันหน่วยสำ� คญั ต่าง ๆ ของหน่วยกำ� ลงั รบ หรอื ทตี่ ง้ั สำ� คญั ตา่ ง ๆ ในพนื้ ทสี่ ว่ นหลงั การปอ้ งกนั แบบนจี้ ะตอ้ งก�ำหนดลำ� ดบั ความเรง่ ดว่ น

218 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ในการป้องกนั ภัยทางอากาศให้กบั ท่ีตั้งต่าง ๆ ที่ตงั้ หรอื ส่วนต่าง ๆ ทป่ี ้องกันเหล่านอี้ าจอยู่ กับท่ีหรือเคล่อื นทกี่ ็ได้ ถึงแม้อาวุธ ปตอ. ต่าง ๆ ซง่ึ ป้องกันต่อทต่ี ัง้ เป็นจดุ อาจมรี ัศมกี าร ปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศครอบคลมุ พน้ื ทภ่ี าคพน้ื ภมู ศิ าสตรอ์ นั กวา้ งขวางกต็ าม การปอ้ งกนั นนั้ กม็ ใิ ช่ “การปอ้ งกนั เปน็ พน้ื ท”ี่ เพราะวา่ เปน็ การปอ้ งกนั ทตี่ งั้ โดยเฉพาะแตล่ ะแหง่ ตามลำ� ดบั ความเร่งด่วน 4. กำ�ลังรบปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศ (AIR DEFENSE FORCES) ก. กำ� ลงั รบทใ่ี ชใ้ นการปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศประกอบดว้ ย เครอื่ งบนิ ขบั ไลส่ กดั กนั้ ทมี่ นี กั บนิ ประจำ� ของหนว่ ยบนิ สกดั กนั้ ของกองทพั อากาศ กบั อาวธุ ปตอ. ของหนว่ ย ก�ำลังรบทางภาคพื้นดิน ซึ่งได้แก่หน่วย ปตอ.กองทัพบก หน่วย ปตอ. ของ นาวกิ โยธนิ หนว่ ย ปตอ. ของหนว่ ยอากาศโยธนิ ของกองทพั อากาศ และอาวธุ ทตี่ ดิ ตง้ั ประจำ� เรือรบหลวงของราชนาวี ข. เครอ่ื งบนิ ขบั ไลส่ กดั กน้ั และอาวธุ ปตอ. จะตอ้ งนำ� มาใชผ้ สมผสานกนั อยา่ งดี ท่ีสุดเพ่ือให้ขีดความสามารถของอาวุธป้องกันภัยทางอากาศเชิงรุกแบบหนึ่ง ชดเชยขีด จ�ำกัดของอาวุธป้องกันภัยทางอากาศเชิงรุกอีกแบบหนึ่ง เครื่องบินสกัดกั้นตามปกติจะน�ำ มาใช้ในพื้นท่ีข้างหน้า ด้านข้างหรือข้างหลัง ของพ้ืนที่ที่ ปตอ. วางก�ำลังป้องกัน เพ่ือให้ สามารถท�ำลายอากาศยานให้มากท่ีสุด ท�ำลายการรวมก�ำลังของอากาศยานข้าศึก ก่อน ทจ่ี ะเข้าถงึ บริเวณส�ำคญั ทปี่ ้องกนั เคร่ืองบินสกดั กัน้ ก่อให้มคี วามอ่อนตวั ทางยทุ ธวิธี โดย สามารถรวมขีดความสามารถในการป้องกันภัยทางอากาศ ณ ตำ� บลส�ำคัญ ๆ ได้อย่าง รวดเร็ว อาวธุ ปตอ. จะช่วยเพิ่มการป้องกนั ทางลกึ เสรมิ ความแขง็ แรงในการป้องกันภัย ทางอากาศ ณ บรเิ วณทมี่ ีความส�ำคัญ และชดเชยขดี จำ� กดั ของเครอ่ื งบินสกดั กน้ั ด้วยการ ให้การป้องกนั ภัยทางอากาศอย่างทนั ทที ันใดและต่อเนื่อง ค. หน่วยยิง ปตอ. หน่วยยิงเป็นส่วนมูลฐานของหน่วย ปตอ. ซ่ึงมีขีดความ สามารถในการปฏบิ ตั พิ นั ธกจิ มลู ฐานในการปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศ กลา่ วคอื สามารถคน้ หา อากาศยานท่ีคาดว่าจะเข้าโจมตี สามารถพิสูจน์ฝ่ายอากาศยานน้ันได้ สามารถสกัดกั้น อากาศยานข้าศกึ และสามารถท�ำลายอากาศยานข้าศกึ นนั้ ได้

5. คุณลักษณะของหนว่ ยป้องกนั ภยั ทางอากาศ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 219 หนว่ ยปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศจะจดั ใหม้ กี ารแจง้ เตอื นภยั และการปอ้ งกนั ทางลกึ ต่อการโจมตีทางอากาศของข้าศึก หน่วยป้องกันภัยทางอากาศจะต้องมีคุณลักษณะ เหมาะสมทส่ี ุด ทจ่ี ะปฏิบตั กิ ิจเฉพาะเหล่านัน้ คณุ ลักษณะดังกล่าว ได้แก่ ก. ความพร้อมรบ หน่วยจะต้องพร้อมปฏิบัติการได้ทันที โดยมีการเตือนภัย น้อยที่สุด ข. ความเช่อื ถอื ได้ ระบบต่าง ๆ ของการป้องกนั ภัยทางอากาศ ต้องสามารถ ปฏบิ ตั งิ านได้ตลอดเวลา โดยปราศจากข้อขัดข้อง ค. ความอ่อนตัว สามารถเผชิญกับสถานการณ์แวดล้อมท่ีเปลี่ยนไปอย่าง รวดเร็วได้ ง. ความอยรู่ อด จะตอ้ งคงใหม้ อี าวธุ ปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศทำ� การปอ้ งกนั อยตู่ ลอด เวลาท่ีข้าศกึ เข้าโจมตี จ. อ�ำนาจการท�ำลาย สามารถท�ำลายหรือตัดรอนก�ำลังต่อการคุกคามทาง อากาศของข้าศกึ ได้ ฉ. การปฏบิ ตั กิ ารเปน็ อสิ ระ สามารถปฏบิ ตั กิ ารเปน็ อสิ ระเมอ่ื สงั่ หรอื เมอ่ื จำ� เปน็ 6. ภารกิจป้องกนั ภยั ทางอากาศ หนว่ ยกำ� ลงั รบปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศทงั้ หนว่ ยบนิ ขบั ไลส่ กดั กนั้ และหนว่ ย ปตอ. ย่อมมภี ารกจิ ป้องกนั ภยั ทางอากาศเช่นเดยี วกัน ภารกิจป้องกันภัยทางอากาศ คือ มาตรการท่ีใช้ในการปฏิบัติทั้งปวงที่จำ� เป็น เพอื่ ลบลา้ งหรอื ลดประสทิ ธผิ ลการโจมตหี รอื การเฝา้ ตรวจของอากาศยาน หรอื ขปี นาวธุ ขา้ ศกึ ภายหลงั ทขี่ นึ้ สอู่ ากาศแลว้ เพอื่ สนบั สนนุ การปฏบิ ตั พิ นั ธกจิ หลกั ของกองทพั บกในการดำ� เนนิ สงครามทางภาคพ้นื ได้ทนั ทแี ละต่อเน่อื ง ส�ำหรับอาวุธ ปภอ. หน่วย ปตอ. ที่ใช้ประเภทล�ำกล้องจะสามารถใช้ยิงต่อ เป้าหมายทางผวิ พน้ื เพ่อื สนบั สนุนหน่วยด�ำเนนิ กลยุทธ์เมือ่ จำ� เป็นได้อกี ด้วย

220 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 7. พนั ธกิจของการปอ้ งกนั ภัยทางอากาศ ปัญหาด้ังเดิมของการป้องกันภัยทางอากาศที่เผชิญอยู่ตลอดเวลา ตั้งแต่อดีต มาจนถึงปัจจุบันโดยไม่เปล่ียนแปลงคือ การค้นหา การพิสูจน์ฝ่ายการสกัดก้ัน และการ ท�ำลาย ซึ่งปัญหาต่าง ๆ จะมคี วามยุ่งยากมากข้ึน ท้ังนเี้ นอื่ งจากความเจรญิ ก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีในการพัฒนาอากาศยานสมัยใหม่ท้ังในด้านความเร็ว ความสูง และขีดความ สามารถของอาวุธประจ�ำอากาศยาน ดังนั้นปัญหาต่าง ๆ เหล่าน้ี ในปัจจุบันได้กลายมา เป็นพันธกิจมูลฐาน ที่หน่วยป้องกันภัยทางอากาศจำ� เป็นต้องปฏิบัติเพื่อบรรลุผลส�ำเร็จ การปฏิบตั ภิ ารกจิ ก. การค้นหา (DETECTION) เป็นพันธกิจประการแรกที่จะต้องปฏิบัติโดย ค้นหาเป้าหมายในอากาศตั้งแต่ระยะไกล เคร่ืองมือค้นหาเป้าหมายท่ีมีประสิทธิภาพมาก ท่ีสุดคือ เรดาร์ชนิดต่าง ๆ แต่เรดาร์ก็มีข้อจ�ำกัดบางประการ เช่น ไม่สามารถตรวจค้น อากาศยานทบ่ี นิ ตำ�่ ลดั เลาะไปตามภมู ปิ ระเทศ หรอื อากาศยานทบี่ นิ สงู มาก ๆ ได้ และบางที ปรากฏการณ์ตามธรรมชาติของบรรยากาศอาจท�ำให้ไม่สามารถตรวจค้นอากาศยานได้ วธิ คี น้ หาเปา้ หมายวธิ อี น่ื คอื การคน้ หาเปา้ หมายดว้ ยสายตา ซงึ่ สามารถนำ� มาใชเ้ พอื่ ชดเชย จดุ ออ่ นในการคน้ หาเปา้ หมายดว้ ยเรดาร์ ประสทิ ธภิ าพของการคน้ หาเปา้ หมายดว้ ยสายตา ย่อมข้ึนอยู่กบั ทศั นวสิ ัยเป็นส�ำคัญ ข. การพิสูจน์ฝ่าย (IDENTIFICATION) เมื่อตรวจพบเป้าหมายจะต้องทำ� การ พสิ จู น์ฝ่ายทนั ที การพิสจู น์ฝ่ายเป็นปัญหาส�ำคัญยิง่ ของหน่วยป้องกนั ภยั ทางอากาศ และ จำ� เปน็ ตอ้ งมอี ปุ กรณใ์ นการพสิ จู นฝ์ า่ ยเพอื่ ปอ้ งกนั ไมใ่ หท้ ำ� การยงิ ตอ่ อากาศยานฝา่ ยเดยี วกนั วธิ ที ใ่ี ชใ้ นการพสิ จู นฝ์ า่ ยมแี ผนการบนิ วธิ บี นิ ทไี่ ดก้ ำ� หนดไวล้ ว่ งหนา้ วทิ ยุ การพสิ จู นฝ์ า่ ยดว้ ย สายตา และวธิ พี สิ จู นฝ์ า่ ยดว้ ยอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ IFF (IDENTIFICATION FRIEND OR FOE) ปัญหาของการพสิ ูจน์ฝ่าย ย่อมข้นึ อยู่กบั ความหนาแน่นของจราจรทางอากาศ ค. การสกดั กน้ั (INTERCEPTION) ภายหลงั ทไ่ี ดท้ ราบขา่ วการเขา้ มาของอากาศยาน ขา้ ศกึ ผา่ นทางระบบการปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศเครอ่ื งบนิ สกดั กนั้ จะบนิ ขน้ึ สอู่ ากาศอาวธุ ปตอ. จะเตรยี มการยงิ หนว่ ยตา่ ง ๆ ตอ้ งการเวลา เวลาในการตอบโต้ (REACTION TIME) เครอ่ื งบนิ ขบั ไลส่ กดั กน้ั ตอ้ งบนิ ขน้ึ สอู่ ากาศและมงุ่ ตรงไปยงั เปา้ หมาย ดว้ ยการควบคมุ จากสถานที างพน้ื ดนิ อาวธุ นำ� วถิ ปี ระเภทผวิ พนื้ สอู่ ากาศจะตอ้ งไดร้ บั ขอ้ มลู เปา้ หมายจากเรดาร์ ทำ� การยงิ และนำ� วถิ ี เขา้ สเู่ ปา้ หมาย อาวธุ ปตอ. เตรยี มการยงิ เมอื่ เปา้ หมายเขา้ มาสใู่ นระยะยงิ ของอาวธุ

ง. ทำ� ลาย (DESTRUCTION) อาวธุ สมยั กอ่ นมผี ลคาดคะเนในการสงั หารตำ่� จะตอ้ ง ท�ำการยิงให้ลูกกระสุนถูกส่วนสำ� คัญของอากาศยาน จึงจะสามารถทำ� ลายอากาศยานได้ อาวธุ นำ� วถิ ตี อ่ สอู้ ากาศยานทมี่ หี วั รบขนาดใหญแ่ ละระเบดิ ใกลเ้ ปา้ หมาย ยอ่ มสามารถทำ� ลาย เปา้ หมาย อาวธุ ปตอ. อตั โนมตั ิ แมจ้ ะมผี ลคาดคะเนในการสงั หารตา แตก่ อ็ าศยั ปรมิ าตรการ ยงิ อนั มหาศาลจากอตั ราเรว็ ในการยงิ ของอาวธุ แตล่ ะกระบอกหรอื หลายกระบอก รวมการยงิ ไปยงั เปา้ หมาย จะเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการสงั หารสงู ขน้ึ สำ� หรบั เครอ่ื งบนิ ขบั ไลส่ กดั กน้ั คง ใชร้ ะบบอาวธุ ทตี่ ดิ ตง้ั บนอากาศยาน ผลคาดคะเนในการสงั หารยอ่ มขนึ้ อยกู่ บั ระบบอาวธุ ทใ่ี ช้ 8. ลำ�ดบั ความเร่งดว่ นในการป้องกนั ภยั ทางอากาศ (Air Defense Priorities) ลำ� ดบั ความเรง่ ดว่ นในการปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศ คอื ทตี่ งั้ หรอื สว่ นสำ� คญั ตา่ ง ๆ ซงึ่ ได้เลอื กไวแ้ ละจะตอ้ งไดร้ บั การปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศตามล�ำดบั ความเรง่ ดว่ นจากหน่วย ปตอ. ผบู้ งั คบั หนว่ ยรบั การสนบั สนนุ จะตอ้ งทำ� การประเมนิ คา่ ทต่ี งั้ หรอื สว่ นตา่ ง ๆ ของหนว่ ย รบตน เพื่อก�ำหนดการลำ� ดับความเร่งด่วนให้กบั ที่ต้ังต่าง ๆ ดงั กล่าวน้ี การกำ� หนดลำ� ดับ ความเรง่ ดว่ นดงั กลา่ วยอ่ มแสดงใหเ้ หน็ ความส�ำคญั ของทตี่ งั้ แตล่ ะแหง่ ทม่ี ผี ลตอ่ ความส�ำเรจ็ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 221 ของการปฏบิ ตั ิการตามแผนของตน ปจั จยั ตา่ ง ๆ ทจี่ ะตอ้ งนำ� มาพจิ ารณาในการกำ� หนดหาความสำ� คญั ของแตล่ ะทตี่ ง้ั และความจำ� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งไดร้ บั การปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศ ไดแ้ ก่ ความสำ� คญั ความลอ่ แหลม ความฟื้นตวั และภยั คกุ คาม 1) ความสำ� คญั (CRITICALITY) เป็นระดบั ของความสำ� คญั ของทต่ี ั้งนั้น ๆ มีต่อความส�ำคญั ในการปฏบิ ตั ิภารกจิ เกณฑ์ความส�ำคัญ คือ ขนาดความส�ำคัญของต�ำบลส�ำคัญท่ีมีต่อการ ปฏบิ ตั ิภารกจิ ให้ส�ำเร็จ ซ่งึ จดั เกณฑ์ความส�ำคญั ได้ดงั น้ี คือ (ก) “สำ� คญั ทส่ี ดุ ” คอื ถ้าถกู ท�ำลายแล้ว จะมีผลมิให้สามารถปฏบิ ตั กิ าร ตามแผนได้เลย (ข) “สำ� คญั มาก” คอื ถ้าถูกทำ� ลายแล้ว จะมผี ลขัดขวางอย่างรุนแรงใน ทนั ทีต่อการปฏบิ ัติงานตามแผน (ค) “สำ� คญั ” คอื ถ้าถูกทำ� ลายแล้วจะมผี ลขดั ขวางอย่างรุนแรง แต่ไม่ใช่ ในทนั ทตี ่อการปฏิบัติการตามแผนได้

222 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ (ง) “สำ� คญั นอ้ ย” คอื ถา้ ถกู ทำ� ลายแลว้ อาจเปน็ เหตใุ หข้ ดั ขวางอยา่ งจ�ำกดั ต่อการปฏบิ ัติตามแผนได้ 2) ความล่อแหลม (VULNERABILITY) ความล่อแหลมเป็นระดับของความ แข็งแรงของท่ีต้ังแต่ละแห่ง ที่สามารถป้องกันมิให้ถูกท�ำลายจากการโจมตีทางอากาศของ ข้าศึก และรอดพ้นจากความเสียหายเม่ือถูกโจมตี ทั้งนี้ย่อมหมายรวมถึงหัวข้อพิจารณา เกี่ยวกับความแข็งแรงของท่ีต้ังแต่ละแห่ง ภารกิจ ความสามารถในการเคลื่อนที่ (ขีดขนาด ของการกระจายก�ำลังหรือการเปล่ียนที่ตั้งไปยังท่ีต้ังอีกแห่งหน่ึง ซ่ึงได้รับการป้องกันจาก ปตอ. เป็นต้น) และความสามารถในการใช้มาตรการเชิงรับ และมาตรการป้องกันเชิงรุก เพื่อป้องกันตนเองปริมาณการสนับสนุนทางการช่างเกี่ยวกับขีดความสามารถในการ เคลื่อนท่ี ความอยู่รอดและทางภูมิมาปนวิทยา ควรน�ำมาพิจารณาด้วย 3) ความฟน้ื ตวั (RECUPERABILITY) ความฟน้ื ตวั คอื ขดี ขนาดของทต่ี ง้ั นนั้ ๆ ซงึ่ หากไดร้ บั ความเสยี หายจะทำ� ใหส้ ามารถคนื สสู่ ภาพเดมิ เพอ่ื ปฏบิ ตั กิ ารตอ่ ไปไดอ้ กี เชน่ เดมิ โดยพจิ ารณาในแง่ของเวลา ยทุ โธปกรณ์ และก�ำลังคน 4) ภยั คกุ คาม (THREAT) คณุ ลกั ษณะของภยั คกุ คาม นำ� มาใชเ้ พอ่ื กำ� หนดหา ระบบอาวธุ ปตอ. ท่เี หมาะสำ� หรบั ใช้ป้องกันทตี่ ั้งเฉพาะแต่ละแห่ง และนำ� มาใช้เพ่ือสำ� หรบั หนว่ ย ปตอ. ทไี่ ดก้ ำ� หนดใหป้ อ้ งกนั ใชอ้ อกแบบการปอ้ งกนั ใหด้ ที ส่ี ดุ คณุ ลกั ษณะตา่ ง ๆ ของ ภยั คกุ คามนี้ ยอ่ มหมายรวมถงึ ทต่ี ง้ั ของขา้ ศกึ กำ� ลงั แบบของเครอื่ งบนิ ขา้ ศกึ ทมี่ ใี ชล้ กั ษณะ ของการโจมตขี องข้าศึกในอดตี และหลักนยิ มของฝ่ายข้าศึก การพิจารณาล�ำดับความเร่งด่วนของการป้องกันภัยทางอากาศต่าง ๆ น้ัน ไม่จ�ำเป็นต้องด�ำเนินกรรมวิธีตามล�ำดับขั้นตอน โดยพิจารณาปัจจัยแต่ละอย่างท่ีกล่าวมา แล้วคร้ังละหน่ึงหัวข้อตามปกติจะน�ำเอาปัจจัยทั้งหมดมาพิจารณาพร้อม ๆ กัน โดยใช้ น้ําหนักปัจจัยบางประการมากกว่าปัจจัยอื่น ๆ ในสถานการณ์ที่แตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น กองพันทหารปืนใหญ่ซึ่งมีภารกิจการยิงอาวุธนิวเคลียร์ มีความสามารถในการเคล่ือนท่ีสูง กระจายก�ำลังและมีการพรางเป็นอย่างดี แต่อาจพิจารณาเห็นว่ามีความส�ำคัญยิงต่อ ผลส�ำเร็จของการปฏิบัติการจึงถือว่ามีล�ำดับความเร่งด่านในการป้องกันภัยทางอากาศสูง แม้ว่าเม่ือพิจารณาถึงความล่อแหลมต่อการโจมตีทางอากาศ จะอยู่ในระดับต่ําก็ตาม

9. การแบง่ มอบกำ�ลงั รบ (ALLOCATION OF FORCES) เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 223 บังคับหน่วย ปตอ. พจิ ารณาปัจจยั ต่าง ๆ ทเี่ กี่ยวกบั ภารกิจ ข้าศกึ ภมู ปิ ระเทศ หน่วยทหาร และเวลาทม่ี อี ยู่ (METT-T) เปรยี บเทียบปัจจยั ต่าง ๆ เหล่านี้กับบญั ชีกำ� หนด ล�ำดบั ความเร่งด่วนของทต่ี ง้ั ต่าง ๆ แล้ว จึงจดั ทำ� การแบ่งมอบหน่วย ปตอ. เพื่อป้องกนั ภัย ทางอากาศใหก้ บั ทต่ี งั้ ตา่ ง ๆ ตามล�ำดบั ความเรง่ ดว่ นเหลา่ นนั้ โดยเรม่ิ ตน้ จากทต่ี งั้ ทมี่ ลี �ำดบั ความเรง่ ดว่ นสงู สดุ แลว้ จงึ ตดั สนิ ใจจะตอ้ งใชอ้ าวธุ ปตอ. แตล่ ะแบบจำ� นวนเทา่ ใด เพอื่ แบง่ มอบให้ไปป้องกนั ทตี่ ้งั แต่ละแห่ง การจัดเฉพาะกิจของหน่วย ปตอ. จะจัดส�ำหรับที่ตั้งแต่ละแห่งตามล�ำดับ ความเร่งด่วน โดยพิจารณาถึงความสามารถและขีดจ�ำกัดของระบบอาวุธ ประกอบ สถานการณท์ างยทุ ธวธิ โี ดยเฉพาะ ผบู้ งั คบั บญั ชาคงด�ำเนนิ กรรมวธิ ใี นการวเิ คราะหท์ ต่ี งั้ แต่ ละแห่งตามล�ำดับความเร่งด่วนไปตามลำ� ดบั และแบ่งมอบหน่วย ปตอ. ไปป้องกันจนกว่า ไม่มีอาวุธเหลืออยู่อีกต่อไป ต่อจากน้ันตนก็จะทบทวนการแบ่งมอบ และอาจจะด�ำเนิน กรรมวธิ ซี าํ้ ๆ กนั อกี หลายครง้ั กอ่ นทตี่ นจะพฒั นาการแบง่ มอบอาวธุ ปตอ. ไปท�ำการปอ้ งกนั ภัยทางอากาศให้กบั ทต่ี ั้งต่าง ๆ จ�ำนวนมากที่สดุ ได้อย่างดที สี่ ดุ บัญชีล�ำดับความเร่งด่วนในการป้องกันภัยทางอากาศ และการเสนอแนะการ แบง่ มอบหนว่ ย ปตอ. เพอื่ ปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศตอ่ ทตี่ ง้ั เหลา่ นนั้ จะเสนอไปยงั ผบู้ งั คบั บญั ชา หน่วยรบั การสนบั สนนุ เพ่ือขอรบั อนุมตั ิ ผู้บังคับบญั ชาหน่วยกำ� ลงั รบอาจอนุมตั ใิ ห้ใช้ข้อเสนอแนะต่าง ๆ เหล่าน้ัน หรอื ลดจ�ำนวนท่ีตั้งท่ีป้องกันลง เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการป้องกันภัยทางอากาศให้กับ ท่ีตั้งที่ตนเลือกไว้ หรืออาจเพ่ิมจ�ำนวนที่ตั้งท่ีป้องกันให้มากขึ้น โดยยอมรับขีดขนาดของ การปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศซงึ่ ลดนอ้ ยลง อยา่ งไรกต็ ามผบู้ งั คบั บญั ชาจะตอ้ งเขา้ ใจวา่ การเพม่ิ จำ� นวนทต่ี งั้ ทปี่ ้องกนั นน้ั ตามปกตจิ ะเป็นการลดประสทิ ธผิ ลของการป้องกนั ภยั ทางอากาศ เป็นส่วนรวมลงด้วย ในขัน้ ของการดำ� เนินกรรมวธิ ี ผู้บงั คบั หน่วย ปตอ. จะเป็นผู้มีบทบาทอันส�ำคญั ในฐานะซงึ่ เปน็ ทปี่ รกึ ษาเกยี่ วกบั การปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศ ตนจะตอ้ งใหค้ ำ� แนะนำ� ตอ่ ผบู้ งั คบั หน่วยรบั การสนับสนนุ โดยสามารถชี้ให้เห็นข้อแตกต่างระหว่างการป้องกันภัยทางอากาศ ที่เพียงพอและไม่เพยี งพอได้อย่างชดั เจน

224 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ค�ำแนะน�ำดังกล่าวควรรวมถึงข่าวสารเก่ียวกับการใช้แต่ละระบบอาวุธ ปตอ. อยา่ งดที สี่ ดุ ตวั อยา่ งเชน่ ผบู้ งั คบั หนว่ ยรบั การสนบั สนนุ ไดก้ ำ� หนดลำ� ดบั ความเรง่ ดว่ นใหก้ บั ทต่ี งั้ ตา่ ง ๆ ของตน เพอ่ื ใชช้ าปาเรล วลั แคน และซาเยนตย์ อรจ์ ทง้ั หมดวางกำ� ลงั ปอ้ งกนั หนว่ ย ดำ� เนินกลยทุ ธ์ของตน ซึง่ ผู้บงั คับหน่วย ปตอ. ควรมัน่ ใจว่าผู้บงั คับหน่วยรบั การสนับสนุน ทราบดีว่าการใช้ ปตอ. ดงั กล่าวน้นั ตนจะต้องเสี่ยงต่อการสูญเสยี อาวธุ ปตอ. ชาปาเรล ในพืน้ ที่ข้างหน้าและผู้บงั คับหน่วย ปตอ. กเ็ ช่นเดยี วกนั ควรช้ใี ห้เหน็ ว่าการใช้ระบบอาวธุ ชาปาเรลเพอื่ ตอ่ ตา้ นการคกุ คามทางอากาศทดี่ ที สี่ ดุ ควรจะใชใ้ นพนื้ ทขี่ า้ งหลงั หนว่ ยดำ� เนนิ กลยทุ ธ์ ในทำ� นองเดยี วกนั ลำ� ดบั ความเรง่ ดว่ นของทต่ี งั้ ตา่ ง ๆ ทตี่ อ้ งใชร้ ะบบอาวธุ ปตอ. ชาปาเรล วลั แคน และซาเยนต์ยอร์จ ท้ังหมดวางกำ� ลังป้องกนั ทตี่ ง้ั อยู่กับท่ี ซ่ึงอยู่ข้างหลงั หน่วยด�ำเนินกลยุทธ์ในกรณีน้ีผู้บังคับหน่วย ปตอ. ย่อมทราบดีว่า ปตอ. ซาเยนต์ยอร์จ ควรใชส้ นบั สนนุ หนว่ ยดำ� เนนิ กลยทุ ธ์ จะเหมาะสมกวา่ และตนควรจะมนั่ ใจวา่ ผบู้ งั คบั หนว่ ย รับการสนบั สนนุ คงทราบถึงข้อดี ข้อเสียของการใช้ ปตอ. ซาเยนต์ยอร์จวางกำ� ลงั ป้องกนั ต่อทต่ี งั้ ต่าง ๆ ในพน้ื ท่ขี ้างหลงั กบั การใช้สนับสนุนหน่วยด�ำเนินกลยทุ ธ์ในพ้ืนทขี่ ้างหน้า ค�ำแนะน�ำดังกล่าว ประกอบกับบัญชลี ำ� ดบั ความเร่งด่วนของที่ตง้ั ต่าง ๆ และ การแบ่งมอบก�ำลังรบจะเป็นท่ีมั่นใจได้ว่าการพิจารณาเป็นไปอย่างเหมาะสม และการใช้ ระบบอาวุธทม่ี ีอยู่อย่างจ�ำกดั เหล่าน้ี บงั เกิดประโยชน์สูงสดุ ขนั้ สดุ ทา้ ย เมอ่ื ผบู้ งั คบั หนว่ ยรบั การสนบั สนนุ ไดอ้ นมุ ตั ใิ หท้ ต่ี ง้ั ตา่ ง ๆ เหลา่ นน้ั ได้ รบั การป้องกนั ภัยทางอากาศจากหน่วย ปตอ. ท่ีตง้ั ต่าง ๆ เหล่านั้นก็จะถูกนำ� มาเขยี นไว้ใน ผนวกการปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศ ประกอบคำ� สง่ั ยทุ ธการโดยระบเุ ปน็ ภารกจิ ของหนว่ ย ปตอ. 10. ภารกิจทางยทุ ธวธิ ี (TACTICAL MISSIONS) ผบู้ งั คบั หนว่ ย ปตอ. จะเลอื กภารกจิ ทางยทุ ธวธิ ที เี่ หมาะสมใหก้ บั หนว่ ยรองของตน โดยอาศยั การพจิ ารณาภารกจิ ทตี่ นไดร้ บั และสถานการณท์ างยทุ ธวธิ ที เี่ ผชญิ อยู่ ภารกจิ ทาง ยทุ ธวิธที ่สี ามารถมอบให้หน่วย ปตอ. มี • ภารกิจทางยทุ ธวิธมี าตรฐาน • ภารกิจทางยุทธวิธีดัดแปลง โดยดัดแปลงส่วนใดส่วนหน่ึง หรือตัดส่วนใด ส่วนหนง่ึ ของภารกิจทางยทุ ธวิธมี าตรฐาน

• ภารกิจระบเุ ฉพาะ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 225 ภารกจิ ทางยทุ ธวธิ มี าตรฐานสามารถมอบใหห้ นว่ ย ปตอ. แบบใดกไ็ ด้ ภารกจิ ทาง ยทุ ธวธิ จี ะกำ� หนดความรบั ผิดชอบต่าง ๆ ร่วมกนั และกำ� หนดความสัมพนั ธ์ทางการบังคับ บญั ชาโดยเฉพาะ และแนช่ ดั ระหวา่ งหนว่ ยรบั การสนบั สนนุ และหนว่ ยสนบั สนนุ ภารกจิ ทาง ยทุ ธวธิ ีมาตรฐาน 4 อย่าง ได้แก่ ภารกิจช่วยส่วนรวม (ชร.) ช่วยส่วนรวมเพิ่มเตมิ กำ� ลงั ยงิ (ชร.- พย.) เพม่ิ เตมิ ก�ำลงั ยิง (พย.) และช่วยโดยตรง (ชต.) ก. ภารกิจชว่ ยสว่ นรวม หนว่ ย ปตอ. ทไ่ี ดร้ บั มอบภารกจิ ชว่ ยสว่ นรวม จะใหก้ ารปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศ กบั หน่วยกำ� ลงั รบเป็นส่วนรวม หน่วย ปตอ. จะสนับสนนุ หน่วยกำ� ลงั รบท้ังหมดและจะไม่ มอบใหร้ ว่ มปฏบิ ตั กิ ารกบั หนว่ ยรบใดหนว่ ยรบหนง่ึ ของหนว่ ยกำ� ลงั โดยเฉพาะ ดงั เชน่ ในกรณี ที่ กองร้อย ปตอ. ชาปาเรล วัลแคน ป้องกนั หน่วยรบต่าง ๆ หรือที่ตัง้ ต่าง ๆ ตามลำ� ดับ ความเร่งด่วนทผ่ี ู้บงั คบั บญั ชาหน่วยก�ำลังรบกำ� หนด และยงั อยู่ภายใต้การควบคมุ โดยตรง ของผู้บังคบั กองพนั ปตอ. ช/ว. หน่วย ปตอ. ช/ว. ทไี่ ด้รบั มอบภารกิจ ชร. สามารถนำ� มา ใชไ้ ดอ้ ยา่ งรวดเรว็ เพอื่ สนองตอบตอ่ การเปลยี่ นแปลงของแผนด�ำเนนิ กลยทุ ธห์ รอื ภยั คกุ คาม ทางอากาศ ภารกจิ นโ้ี ดยทวั่ ไปจะน�ำมาใชเ้ มอื่ หนว่ ย ปตอ. ช/ว. ใหก้ ารปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศ ตอ่ สว่ นควบคมุ และสว่ นสนบั สนนุ ในระดบั กองพล ซง่ึ ตงั้ อยใู่ นพนื้ ทสี่ ว่ นหลงั ของกองพลนอ้ ย และกองพล อกี ตวั อย่างหน่งึ กค็ ือ หมวดสตงิ เกอร์ได้รับมอบภารกจิ ชร. ต่อกองพล โดยมี กองพลน้อยเป็นส่วนหนง่ึ ของทตี่ ้ังตามล�ำดับความเร่งด่วนของกองพล เป็นต้น ข. ภารกจิ ชว่ ยส่วนรวมเพิม่ เตมิ กำ� ลงั ยิง หนว่ ย ปตอ. ทไี่ ดร้ บั มอบภารกจิ ชร.- พย. จะใหก้ ารปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศให้ กับหน่วยกำ� ลังรบเป็นส่วนรวม และให้การครอบคลุมการป้องกันภยั ทางอากาศเพ่ิมเตมิ ให้ กบั หน่วย ปตอ. หน่วยอ่ืนอกี หน่วยหนง่ึ หน่วย ปตอ. ชร.- พย. จะไม่มอบให้ร่วมปฏิบัตกิ าร กบั หนว่ ยใดหนว่ ยหนงึ่ ของหนว่ ยกำ� ลงั รบ โดยเฉพาะตวั อยา่ งภารกจิ ชร.- พย. สามารถนำ� มา ใชเ้ มอ่ื ผบู้ ญั ชาการกองพลตอ้ งการใหก้ ารปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศเพมิ่ เตมิ ใหก้ บั หนว่ ยกองพล น้อย ซ่ึงมกี องร้อย ปตอ. วลั แคนช่วยโดยตรงอยู่แล้ว และในขณะเดยี วกนั ยังต้องการดำ� รง การควบคมุ อยา่ งใกลช้ ดิ ตอ่ หนว่ ย ปตอ. ชร.- พย. นอ้ี ยู่ สว่ นหรอื ทต่ี ง้ั ของกองพลนอ้ ยทจ่ี ะให้ หนว่ ย ปตอ. ชร.- พย. ปอ้ งกนั จะตอ้ งระบไุ ว้ และผบู้ งั คบั กองพนั ปตอ. ช/ว. คงสงวนอ�ำนาจ ในการกำ� หนดทต่ี งั้ ของหนว่ ย ปตอ. ชร.- พย. เพอ่ื ใหต้ อบสนองตอ่ ความตอ้ งการเปลย่ี นแปลง ของภารกจิ ได้อย่างรวดเรว็ ภารกจิ ทางยทุ ธวิธีนีม้ ักไม่ใช้กบั หน่วย ปตอ. สตงิ เกอร์

226 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ค. ภารกิจเพ่มิ เตมิ กำ� ลงั ยิง หน่วย ปตอ. ที่ได้รับมอบภารกิจเพ่ิมเติมก�ำลังยิง จะเพิ่มเติมการยิง ครอบคลมุ การป้องกนั ภัยทางอากาศให้กบั หน่วย ปตอ. อีกหน่วยหน่ึง ภารกิจนีแ้ ตกต่างไป จากภารกจิ ชร.- พย. กล่าวคือ เม่อื หน่วย ปตอ. ช/ว. ได้รับมอบภารกิจ พย. หน่วย ปตอ. ท่ี รับ พย. จะเป็นผู้ก�ำหนดท่ตี ้งั หน่วย เพอื่ ป้องกนั ภัยทางอากาศให้กับทต่ี ั้งต่าง ๆ ซ่งึ ผู้บังคับ หน่วยรับการสนับสนุนเป็นผู้ก�ำหนด ภารกิจนี้น�ำมาใช้เม่ือผู้บัญชาการกองพลประสงค์จะ ใหก้ ารปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศเพม่ิ เตมิ ให้กองพลนอ้ ย ซง่ึ มหี น่วย ปตอ. อยแู่ ล้ว เช่น กองรอ้ ย ปตอ. ผสมอาวธุ ชาปาเรล วัลแคน ช่วยโดยตรง ผู้บงั คับกองร้อย ปตอ. ชาปาเรล วลั แคน ที่รบั การเพ่มิ เติมก�ำลงั ยิงจะมอบภารกิจเฉพาะต่าง ๆ การควบคมุ และประสานการกำ� หนด ที่ตั้งของหมวดและหมู่ต่าง ๆ ของหน่วยเพ่ิมเติมก�ำลังยิงตามล�ำดับความเร่งด่วนในการ ป้องกนั ภัยทางอากาศของท่ตี ้งั ต่าง ๆ ที่ผู้บงั คับของหน่วยรับการสนับสนนุ ก�ำหนด ง. ภารกจิ ช่วยโดยตรง หนว่ ย ปตอ. ทไี่ ดร้ บั มอบภารกจิ ชว่ ยโดยตรง จะใหก้ ารปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศ โดยเฉพาะกบั หน่วยใดก็ตามของหน่วยก�ำลังรบทไี่ ม่มี ปตอ. ของตนเอง หน่วย ปตอ. ช/ว. ซงึ่ ไดร้ บั มอบภารกจิ ชต. จะใหก้ ารสนบั สนนุ โดยใกลช้ ดิ และตอ่ เนอ่ื งกบั หนว่ ยด�ำเนนิ กลยทุ ธ์ และประสานการเคลอื่ นยา้ ย และการกำ� หนดทตี่ งั้ ตา่ ง ๆ กบั หนว่ ยรบั การสนบั สนนุ ผบู้ งั คบั หน่วย ปตอ. กำ� หนดท่ตี ัง้ อาวุธของตนตามความจ�ำเป็น เพ่อื สนับสนุนการป้องกนั ภยั ทาง อากาศให้กบั ทต่ี ้ังต่าง ๆ ตามลำ� ดับความเร่งด่วนอย่างเหมาะสม ภารกจิ ชต. เหมาะที่จะ มอบให้กับกองร้อย ปตอ. ชาปาเรล วัลแคน สนับสนนุ กองพลน้อย และในทำ� นองเดยี วกนั ภารกจิ น้มี กั จะใช้กับหน่วยสตงิ เกอร์ด้วยเช่นกนั ภารกจิ ทางยทุ ธวธิ มี าตรฐานของ ปตอ. ดงั ทไ่ี ดก้ ลา่ วมาแลว้ วา่ สามารถมอบให้ หน่วย ปตอ. แบบใดกไ็ ด้ ซึง่ ทงั้ นม้ี ไิ ด้หมายความว่า ภารกจิ ทางยุทธวธิ ีมาตรฐานแบบใด แบบหนงึ่ ตามปกตจิ ะใชก้ บั หนว่ ย ปตอ. แบบใดแบบหนง่ึ ๆ โดยเฉพาะ และอาจเปน็ ไปไดท้ ี่ ในบางสถานการณไ์ มส่ ามารถน�ำมาเอาภารกจิ ทางยทุ ธวธิ มี าตรฐานไปใชไ้ ดเ้ ลย กรณเี ชน่ นี้ ผู้บงั คับหน่วย ปตอ. อาจมอบภารกจิ ทางยุทธวิธมี าตรฐานซึง่ มีการดัดแปลงแก้ไขบางส่วน หรืออาจไม่ใช่ภารกิจทางยุทธวิธีมาตรฐานเลยแต่มอบเป็นภารกิจระบุเฉพาะให้ก็ได้ ต่อไปนี้เป็นตวั อย่างของภารกจิ ทางยทุ ธวธิ ดี ัดแปลง ภมู ิหลัง ปตอ.4 พัน.1 (ช/ว.) เป็นหน่วยในอตั ราของกองพลน้อย ปตอ. ท่ี 9 หน่วยบญั ชาการป้องกนั ภัยทางอากาศที่ 21 ผู้บญั ชาการกองพลน้อย ปตอ. มอบภารกจิ ดงั ต่อไปน้ใี ห้กับ ปตอ.4 พนั .1 (ช/ว.) ดังนี้

ภารกิจ ปตอ.4 พัน.1 (ช/ว.) ช่วยส่วนรวมต่อก�ำลังทางอากาศ ทต่ี ้ังของ ปตอ. เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 227 4 พัน.1 ผู้บัญชาการกำ� ลงั ทางอากาศจะเป็นผู้กำ� หนด ตวั อย่างต่อไปน้เี ป็นภารกจิ ระบเุ ฉพาะ ภูมิหลงั ปตอ.7 พัน.1 (ช/ว.) เป็นหน่วย ปตอ. ของยุทธบริเวณ ซ่ึงจดั เป็นหน่วย ในอตั ราของหนว่ ยบญั ชาการปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศอสิ ระ ผบู้ ญั ชาการปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศ ภาค ได้มอบภารกจิ ให้กองพนั ปตอ. ดังน้ี ภารกจิ ปตอ.7 พนั .3 (ช/ว.) ใหก้ ารปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศเปน็ จดุ ตอ่ ฐานบนิ อลั ฟา บราโว และชาลี การสนบั สนุนของการช่วยรบและการควบคมุ ทางยุทธการทงั้ ปวง ผู้บงั คบั ฐานบนิ แตล่ ะแหง่ จะรบั ผดิ ชอบดำ� เนนิ การ ลำ� ดบั ความเรง่ ดว่ นในการตดิ ตอ่ สอื่ สาร ลำ� ดบั แรก กบั ผู้บญั ชากำ� ลังทางอากาศภาค วิธีท่ีเหมาะสมที่สุดท่ีจะก�ำหนดว่า ภารกิจใดเป็นภารกิจทางยุทธวิธีน้ัน จะใช้ วิธีตอบค�ำถามต่าง ๆ ดงั ต่อไปน้ี - ใครเป็นผู้กำ� หนดลำ� ดับความเร่งด่วนในการป้องกนั ภัยทางอากาศ - ใครเป็นผู้ก�ำหนดท่ตี ้ังหน่วย ปตอ. - ใครเป็นผู้ก�ำหนดท่ตี ง้ั หน่วยยิง ปตอ. - หน่วย ปตอ. จะต้องจดั การตดิ ต่อกบั หน่วยใด - หน่วย ปตอ. จะต้องจดั วางการสอ่ื สารกับหน่วยใด

ภารกิจทางยทุ ธวธิ มี าตรฐานแต่ละภารกจิ พอสรุปไดจ้ ากตารางดงั นี้ ช่วยส่วนรวม ชว่ ยสว่ นรวม-เพมิ่ เตมิ เพ่มิ เติมกำ� ลงั ยงิ ช่วยโดยตรง กำ� ลังยงิ ผู้ก�ำหนดล�ำดับ ผู้บงั คบั หน่วย 1. ผบู้ งั คบั หนว่ ยกำ� ลงั รบ ผู้บงั คับหน่วย หน่วยรบั การ ความเร่งด่วน ก�ำลงั รบ 2. ผู้บงั คบั หน่วย รับการสนบั สนนุ สนับสนุน ในการป้องกนั รับการสนบั สนนุ ผ่าน ผ่านผู้บงั คับหน่วย ภัยทางอากาศ ผู้บังคับหน่วย ปตอ. ปตอ, รับการ รบั การเพม่ิ เตมิ กำ� ลงั ยงิ เพ่มิ เตมิ กำ� ลงั ยิง ผู้กำ� หนดท่ตี งั้ ผู้บงั คบั บัญชาท่ี ผู้บังคับบญั ชาทม่ี อบ ผู้บงั คบั หน่วย ผู้บังคบั หน่วย หน่วย ปตอ. มอบภารกจิ โดย ภารกจิ โดยประสานกบั ปตอ. รับการ ปตอ, ชต, โดย ประสานกบั ผบู้ งั คบั หน่วยทาง เพ่ิมเตมิ กำ� ลงั ยิง ได้รบั อนุมัติ ผู้บังคบั หน่วยทาง พนื้ ดนิ ทรี่ บั การสนบั สนนุ โดยประสานกบั จากผู้บังคบั หน่วย พืน้ ดนิ ท่รี ับการ ผู้บังคับหน่วย ทางพน้ื ดนิ เจา้ ของ สนบั สนนุ ทางพน้ื ดนิ ทรี่ บั การ พน้ื ที่ สนบั สนนุ 228 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ผู้ก�ำหนดทต่ี ง้ั ผู้บงั คับหน่วยยงิ ผู้บังคับหน่วยยงิ โดย ผู้บงั คับหน่วยยงิ ผู้บงั คบั หน่วยยงิ หน่วยยงิ ปตอ. ปตอ, โดย ประสานกบั ผู้บงั คับ โดยได้รับอนมุ ตั ิ โดยได้รบั อนมุ ัติ ประสานกบั หน่วย ปตอ. รบั การ จากหน่วย ปตอ. จากผู้บังคบั หน่วย ผู้บังคบั หน่วย เพม่ิ เติมกำ� ลงั ยิงและ รับการเพ่ิมเตมิ ภาคพนื้ ดนิ เจา้ ของ ภาคพน้ื ดนิ เจา้ ของ ผู้บงั คับหน่วยภาค กำ� ลงั ยิงและ พนื้ ท่ี พน้ื ที่ พืน้ ดินเจ้าของพ้นื ที่ ผู้บังคับหน่วยภาค พน้ื ดนิ เจา้ ของพน้ื ท่ี จดั การตดิ ต่อ ตามความจำ� เป็น ผู้บังคบั หน่วย ปตอ. ผู้บงั คับหน่วย ผู้บังคับหน่วยรบั กบั หน่วยใด รับการเพ่ิมเตมิ ปตอ. รบั การ การสนบั สนนุ กำ� ลงั ยงิ และจดั ตาม เพม่ิ เติมก�ำลังยิง ความจ�ำเป็น และจัดตาม ความจ�ำเป็น จัดการส่อื สาร ตามความจำ� เป็น หน่วย ปตอ. รบั การ หน่วย ปตอ. หน่วยรบั การ กบั หน่วยใด เพิ่มเตมิ กำ� ลังและจดั รบั การเพิ่มเตมิ สนบั สนนุ ตามความจ�ำเป็น กำ� ลงั ยงิ และ จดั ตามความจำ� เปน็

หมายเหตุ 1. ค�ำว่าท่ตี ั้งหน่วย ปตอ. เป็นกำ� หนดบริเวณพน้ื ท่ีปฏิบัติการของหน่วยบริเวณ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 229 กว้าง ๆ (ปกตจิ ะก�ำหนดเป็นวงรปู ไข่) 2. ทีต่ ั้งหน่วยยงิ หมายถงึ ท่ีตง้ั ท่เี ลือกไว้โดยแท้จรงิ ของหน่วยยิง ปตอ. ภายใน บริเวณทต่ี ้ังหน่วย ปตอ. ซ่งึ หมายรวมถงึ ทตี่ ้ังยทุ โธปกรณ์ต่าง ๆ ของแต่ละ รายการทไ่ี ด้เลือกไว้แล้วภายในท่ตี งั้ หน่วย หน่วย ปตอ. ด้วย 11. การควบคุมทางยทุ ธการและการสมทบ หน่วย ปตอ. เมื่อก�ำหนดให้อยู่ภายใต้การควบคมุ ทางยทุ ธการกบั หน่วยอน่ื อีก หนว่ ยหนง่ึ ซงึ่ หากมไิ ดร้ ะบคุ วามสมั พนั ธอ์ นื่ ใดไวใ้ นคำ� สง่ั แลว้ หนว่ ยตน้ สงั กดั ยงั คงรบั ผดิ ชอบ เกย่ี วกบั การฝกึ งานธรุ การ และการสง่ กำ� ลงั บำ� รงุ กบั หนว่ ย ปตอ. นน้ั อยู่ อำ� นาจของผบู้ งั คบั หน่วยรบั การสนบั สนนุ ทม่ี ตี ่อหน่วย ปตอ. นัน้ มตี ง้ั แต่การวางแผนตลอดถงึ การปฏิบัตติ าม ความจ�ำเป็นเพื่อใช้บรรลุภารกิจ การควบคุมทางยุทธการโดยทั่วไปเหมาะสมที่จะใช้การ ปฏบิ ตั กิ ารทางยทุ ธวธิ ี เมอื่ จ�ำเปน็ ตอ้ งจดั ใหม้ กี ารปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศภายในหว้ งเวลาอนั ส้นั เช่น หน่วย ปตอ. สนบั สนุนการยดึ ครองสะพานท่สี ำ� คญั หน่วยดำ� เนินกลยทุ ธ์ เป็นต้น หน่วย ปตอ. ตามปกตจิ ะอยู่ภายใต้การควบคุมทางยทุ ธการของหน่วยอ่นื ภายในห้วงเวลา ที่ก�ำหนดหรือจนกว่าจะปฏิบัติภารกิจได้ส�ำเร็จ แล้วจึงกลับมาอยู่ภายใต้การควบคุมของ หน่วยต้นสงั กดั เมอ่ื หนว่ ย ปตอ. ขนึ้ สมทบ หนว่ ยรบั การสนบั สนนุ ยอ่ มรบั ผดิ ชอบในการสนบั สนนุ งานธรุ การและการส่งกำ� ลังบำ� รงุ ให้กบั หน่วย ปตอ. ตัวอย่างเช่น กองร้อย ปตอ. วลั แคน อาจขนึ้ สมทบตอ่ กองพลนอ้ ยเฉพาะกจิ ซงึ่ ปฏบิ ตั กิ ารแยกอยโู่ ดดเดยี่ วหา่ งไกล จนกองพนั ช/ว. ไม่สามารถให้การสนบั สนนุ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพได้ เป็นต้น 12. การจดั หน่วย ปตอ. ของ ทบ.ไทย การจัดหน่วย ปตอ. ทบ.ไทย ตามอัตราการจดั และยทุ โธปกรณ์ของกองทัพใน ปัจจบุ ัน มกี ารจัดเป็นหน่วยในระดบั ที่ส�ำคญั 2 ส่วน คอื ก. หน่วยในระบบควบคมุ และแจ้งเตอื นภัย ได้แก่ 1) ศนู ย์ต่อสู้ป้องกนั ภยั ทางอากาศกองทัพบก (ศปภอ.ทบ.)

230 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 2) ศูนย์ต่อสู้ป้องกันภัยทางอากาศกองทัพบก ประจ�ำพื้นที่ (ศปภอ.ทบ. ประจำ� พื้นท่)ี 3) ศนู ย์ต่อสู้ป้องกนั ภยั ทางอากาศ พนั .ปตอ. ข. หน่วยในระบบอาวธุ ได้แก่ 1) พล.ปตอ. 2) พนั .ปตอ. ในอตั ราของ กรม ป.กองพลด�ำเนินกลยุทธ์ 13. หน่วยในระบบควบคมุ และแจ้งเตือนภยั ก. กองบัญชาการและกองร้อยบังคบั การ ศปภอ.ทบ. 1) ภารกจิ - บงั คบั บญั ชา วางแผน อำ� นวยการ ประสานงาน ควบคุม กำ� กับการ ต่อสู้ป้องกนั ภยั ทางอากาศกองทพั บก - แจ้งเตือนการเคล่ือนไหวของอากาศยานในเขตประเทศไทย และ ประเทศข้างเคยี ง ให้กับ ศปภอ.ทบ. ประจ�ำพนื้ ท่ี ตลอดเวลา - ควบคุมการใช้อาวธุ ต่อสู้อากาศยานในพ้ืนท่สี ่วนหลงั 2) ผงั การจดั .

3) ขดี ความสามารถ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 231 - ควบคมุ บังคบั บัญชา ศปภอ.ทบ. ประจ�ำพนื้ ท่ี ได้ 4 ศูนย์ - ปฏบิ ตั หิ น้าทก่ี องอ�ำนวยการสำ� รองให้กบั กองอ�ำนวยการต่อสปู้ ้องกนั ภยั ทางอากาศได้ - แจ้งเตือนภยั ทางอากาศให้กบั หน่วยต่าง ๆ และส่วนราชการอน่ื ท่อี ยู่ใน ระบบป้องกนั ภยั ทางอากาศตามความจ�ำเป็น - ควบคุมทางยทุ ธการต่อหน่วย ปตอ. ในภารกจิ ป้องกันภยั ทางอากาศใน พ้นื ทีส่ ่วนหลงั - ประสานการใช้อาวธุ ทีน่ อกเหนือจากอาวธุ ปตอ. ซ่งึ นำ� มาใช้ในบทบาท ป้องกันภัยทางอากาศของ ทบ. - ด�ำรงการติดต่อส่ือสารกับหน่วยเหนือ หน่วยรอง หน่วยข้างเคียง และ ส่วนราชการอน่ื ทเ่ี กีย่ วข้องได้อย่างต่อเนือ่ งตลอดเวลา - ให้คำ� แนะนำ� และก�ำหนดมาตรการในการป้องกนั ภัยทางอากาศ - ส่วนปฏิบตั ิการ สามารถปฏบิ ัติภารกจิ ได้ตลอด 24 ชม. - ด�ำเนินการทางธรุ การ การเลีย้ งดู การส่งกำ� ลัง การขนส่ง และการระวัง ป้องกนั ภยั ให้แก่กองบญั ชาการและกองร้อยกองบัญชาการ ข. ศนู ย์ต่อสปู้ อ้ งกนั ภัยทางอากาศกองทพั บก ประจ�ำพน้ื ที่ 1) ภารกิจอ�ำนวยการ ควบคุม และประสานกับการปฏิบัติการทางยุทธวิธี เกย่ี วกบั การป้องกนั ภยั ทางอากาศของหน่วย ปตอ. และหน่วยต่าง ๆ ในพน้ื ทรี่ ับผดิ ชอบ 2) การจดั .

232 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 3. ขีดความสามารถ - การปฏิบัติภารกิจ ต้องได้รับการสนับสนุนที่จ�ำเป็นจากหน่วยรับการ สมทบ หรอื บรรจมุ อบ - อำ� นวยการและควบคมุ ยทุ ธการ เรอ่ื งการปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศเชงิ รกุ ต่อหน่วย ปตอ. และหน่วยต่าง ๆ ในพ้นื ท่ี - ประสานงานเก่ียวกับข่าวสาร/ข่าวกรองกับหน่วยต่าง ๆ ในระบบ ป้องกนั ภัยทางอากาศ - แจ้งเตอื นภยั ทางอากาศ ให้กับหน่วยต่าง ๆ ในระบบการป้องกนั ภัย ทางอากาศในพน้ื ที่รับผดิ ชอบ - สามารถแยกกำ� ลงั พลและยทุ โธปกรณ์ เพอื่ จดั ตง้ั ศนู ยต์ อ่ สปู้ อ้ งกนั ภยั ทางอากาศได้อกี หน่งึ ศูนย์เมอ่ื จ�ำเป็น ค. ศูนยต์ อ่ สู้ปอ้ งกันภัยทางอากาศ พัน.ปตอ. 1) ภารกจิ - วางแผน อ�ำนวยการ ควบคุมการปฏบิ ัติการใช้อาวธุ ของหน่วยในการ ป้องกนั ภัยทางอากาศในพ้นื ทีร่ บั ผดิ ชอบ - ประสานการปฏิบัติเร่ืองการป้องกันภัยทางอากาศกับ ศปภอ.ทบ. ประจำ� พ้นื ที่ - ประสานระบบงานในขา่ ยแจง้ เตอื นภยั เนนิ่ กบั ศปภอ.ทบ. ประจำ� พน้ื ท่ี และหน่วยทเ่ี ก่ยี วข้อง - ประสานงานในข่ายแจ้งเตอื นภยั ของหน่วยในระดับกองทพั - ปฏบิ ตั ิหน้าท่อี ่นื ทีไ่ ด้รบั มอบ 2) การจัด จัดต้ังในระดับกองพัน ปตอ. ทุกกองพัน โดยใช้เจ้าหน้าท่ีและ ยุทโธปกรณ์ในหมู่ยทุ ธการและการข่าว และหมู่สอ่ื สาร ร้อย.บก. พนั .ปตอ. 14. หนว่ ยใชร้ ะบบอาวุธ ก. กองพลทหารปนื ใหญ่ต่อสูอ้ ากาศยาน (พล.ปตอ.) 1) ภารกจิ วางแผน อำ� นวยการ ควบคมุ ก�ำกบั ดแู ล การต่อป้องกนั ภัยทาง อากาศต่อทต่ี งั้ ต่าง ๆ ให้เป็นไปตามทก่ี องทัพบกก�ำหนด

2) การจดั เห ่ลาทหาร ปนให ่ญ 233 หมายเหตุ 1. ปตอ.2 พนั .1 รอ., ปตอ.พนั .2 และ ปตอ.พนั .3 ใช้ อจย. หมายเลข 45 - 75 2. ปตอ.2 พนั .4 ใช้ อจย. หมายเลข 44 - 85 3. ปตอ.1 พนั .5 ปตอ.พนั .6 ใช้ อจย. หมายเลข 44 - 65 4. ปตอ.1 พนั .7 ประกอบกา� ลังด้วยการรวม ร้อย.ปตอ. อต.1 ใช้อาวธุ นา� วิถี ต่อสู้อากาศยาน ระดบั ต่า� (อตอ. IGLA-S) และ ร้อย.ปตอ. อต.2 (ใช้ระบบอาวธุ VL MICA) ข. กองบัญชาการกองพล (อจย. 44 - 1) 1) ภารกิจบังคับบัญชาควบคุมและด�าเนินการทางธุรการของกองพลและ หน่วยทม่ี าข้ึนสมทบ 2) การแบ่งมอบ เป็นหน่วยในอตั ราของ พล.ปตอ. 3) การจดั

234 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ฝ่ายสรรพาวธุ ค. กองรอ้ ยกองบญั ชาการกองพล (อจย. 44 - 2) 1) ภารกจิ สนบั สนนุ ธุรการและบริการแก่กองบัญชาการกองพล 2) การแบ่งมอบ เป็นหน่วยในอตั ราของ พล.ปตอ. 3) การจัด . ง. กรมทหารปนื ใหญ่ตอ่ สอู้ ากาศยาน (อจย. 44 - 12) 1) ภารกจิ วางแผน อ�ำนวยการ ควบคมุ และการก�ำกบั ดแู ลการปฏบิ ตั กิ าร ต่อสู้ป้องกนั ภัยทางอากาศให้กบั พัน.ปตอ. ในอัตรา และทมี่ าสมทบ 2) การแบ่งมอบ เป็นหน่วยในอตั ราของ พล.ปตอ.

202202«™‘ “‡À«‘™≈“à ‡∑ÀÀ≈“à √∑ªÀóπ“„√Àª≠πó „à À≠à 3) 3°)“ √ก°®า—¥“ร√จ®ัด—¥ ∫°.∫·°≈.–·√≈âÕ–¬√∫âÕ°¬.∫°. °Õß∫°ß—Õ§ß∫— °ß— §“—∫√°°√“¡√°√¡ °Õß√°Õâ Õ¬ß∫√âÕß— §¬∫— °—ߧ“∫—√ °“√ ∫°. √∫บâÕ°ก¬..ร√้อâÕย¬ μÕπμต∫Õอ°πน. °∫บ√°ก¡.ก°ร√ม¡ μÕπμπÕμπμ.πμμ. À¡«¥À ¡◊ËÕ« ¥“ √◊ËÕ “√À¡«¥À¬¡“«π¥¬π“μπå¬πμåÀ¡«¥À√¡–««¥—ß√ª–ÑÕ«ß—ß°ª—πÑÕß°—π เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 235 ∫°. À∫บ¡°ก«..ห¥Àม¡ว«ด¥ μÕπ«μ‘∑Õ¬πÿ«‘∑¬ÿ μÕπ‚μ∑Õ√π»‚—æ∑∑√»å —æ∑å ∫°. À∫บ¡°ก«..ห¥Àม¡ว«ด¥ À¡ŸàÕ“À«¡ÿ∏àŸÕ“«ÿ∏ À¡Ÿà ªÀ≈¡.àŸ ª≈. ·4À4≈¡–-“·4À¬8¬หจ4≈¡5ÿ∑ดั‡ม–-‚À“π¬∏า8แ¬μ—Èπ®ª5ÿ∑ยล‡ÿ.เ‚°Àπะ¡ห∏°°√ยμ—Èπ’¿®ªต≥ÕÕทุÿ.“°ß¡ ุßโå√°°12√ จ æธ(æ’¿°Õ..≥ÕÕ.ป—π“‘® π—®ßÀ°ß12กกก∑å√·21¬æ(∑æ..“π°อรÕอ..À ≈.—π√ณ)À‘®งà«π—®กหง–“À°®∑พÀ¬·¬พ“√°า∑น์—¥“πÀ≈∑ª¡(นั√.ร“√อนั่ว)Àà«–จ“ª’Ë¡“ทóπ√æ®ยจÀ¬ท“√°®ัด¬—¥’°ห„óππทย∑ª¡√—¥“Àห‡“า..่มี„≈พª’Ë¡“óπ√æª)‡≠√ารÀ™®¢ีก¬ห’°นั®„πóป—πμรàπ—¥≠àÀμา‡—¥“ม.ปÕ.4ืน„≈ปªร‡àÕ≠√μ4Àา.¥™μàใ¢ืนจต®μ ยห“√àπ’¬≠àμดัàÕ-—¥ใอÕŸâÕ4“¡เญ«‡ห7àÕตล μ.4¬.¥“μà°5 าขÕญ่ต°ÕŸâ“ร√≈’¬àÕ,-—πมâŸÕา“¡®“่อ–“«474 ่ต∑ย¬“¬»ส°‡°454อÕÕ°ÿÕŸâ°อ่ล≈.¬,ู้อ—π“จ®’-¬-“ªะ–“ส4“4»า∑ย¬»87¥เ°‡4√4πกอู้อ¬Õÿ°55..–¬¥“4¢า-าีย’-¬,“ª°4“4»¢Ÿ·ศÕก1πด84¥4√“πâÕ≈¬2ßย54า-–ด¥√¢-–“า(ศ°1®§ูขŸ¢æ-·Õ®1∑นπ2“ย.4้อâÕ◊Õ≈82ß—π–∫ข√45า–ค·(.อ®ªจ§.æªน®∑‰-μือแ.ง4.◊Õ∑μ—πμ–6∫ล°4(Õ¬·ป5Õ.ทªμะพ.ª‰-.μ.ตบ1à“ ∑μ)μนั46¡°อß.”Õ¬45Õ·ไ.μ’°‡.Àปท.©1≈.1-à““ )√ย¡ตæ–ß√6แ”—∫·’°®‡อ“5Àลªม©≈—¥–“Õ.ะ√สæμ–ีก)√μ—∫®Õ�ำ®าÕ“ปª“¬ห“ร—¥–.Õ¡2ต.μจ«รμ®ÕÕอÿ4∏ดัับÕ“¬4“—μ..ต2ª¡2.«อ√า-Õμÿ4∏“จม74—μ°Õย5ªอ√.“-ัตμ“·√∑47ร°Õ®≈4’Ë„5า—¥.“™–ก-·√∑â 7า®≈’Ë„5ร—¥™–â ·≈–·Õแ≈—μล–√ะÕ“—μ°4√”4“≈°—ß-”æ8≈≈5—ßÀæπน≈à«น้ั À¬π∑มà«’Ë¡ภี ¬’°า∑“ร’Ë¡ก√’°®จิ —¥“แ√μล®“ะ—¥¡กμา“Õร¡จ®ดั¬Õเ.ช®4่น¬4เ.ด-4ยี 47ว5ก- ัน„7™ท5âÕุก„“ป™«รâÕÿ∏ะ“กª«าÿ∏μรÕª.จμ4ะÕ0แ.ต¡4ก0¡ต.¡่า·ง¡∫เ.ฉ∫พ·≈∫า“ะ∫°≈®อ“ߟ า°ว®ุธߟ ·≈–·Õป≈“ต–«อÕÿ∏.“ª«ทÿ∏μ่ีใÕชª.้ μแ1Õล2.ะ7อ12¡ตั .¡ร7า.¡ก·¡�ำ∫ล.∫งั·พ∫‡Õล∫Á¡ห‡นÕ1่ว6Á¡ย(ท1Õ6มี่—μีกμ(Õา“—μร®จμ√ัด)“®ต √าà«)มπ Àอà«ππจà«ยÀ¬.π∑4à«’Ë¡4¬’°∑-“’Ë¡√7’°®5—¥“ใ√μช®“้อ—¥¡าμวÕ“ธุ ¡®ป¬Õ.ต®4อ¬4..4-40845ม- ม85. ·„Õ·™≈μ—≈âÕ–√–·Õ„·““ªแพแแอ™«≈°μ—≈ØบบâÕ4จลÿ∏ล”–√–‘∫4ย““บบ≈มªะª«°—.μß—ลาØ-4μÿ∏เ4攑°ก4าอ‘∫84Õ4≈4≈“กªก1็ม5—μ.ß— √-π)จวμ-).æ4‘°-¬่าูงπ—È8Õ508≈“‘ß1°(°8155.ª5แμ√อÀπ)5¡)Õ))4¬)ล จàÕμสπ—È ¡0ßก‘ßใะ(°°¿ย‡ำ�Õ«àæ.ªช§μอÀอ¡ห.Õ)¬“.≈้อ√àÕμπ—าπงæ¡√4∑รß◊ËÕ”า¿วพ‡ับÕ«à4∑°æ.¡—π’˧°วßุธ¬“ัน.≈‘®À∫°’√ุธ≈π—-.æอ√∑◊ปËÕ”ท“âÕ‘π“18∑ตั°¡—π’Ë °ปß√ต5√„ß,ห∑ร‘®À®∫°’≈.π§ตªอ2า’Ë‚า¥—“âÕ‘π“1°®Ÿà.อก,óπร√(μ√„ß,∑Õ“¡1.ำ�3®ป„𧓪2√2—μ’Ëล‚μ¥—À4¡นื°ª®àŸ·.,óπμัง70’√(μ≠Õ“¡ÑใÕ≈3พ–Õ“„“√มห—μμßม¥–À®ล®μࡪ·°มμ’ญ√ม—∫√¬น≠Õà ÑÕ≈4–—π).Õ“..μั้น)ต่ß ¥–®·®¿แàμ4Ë”°สŸâÕ—่อ∫√≈¬บ4—¬หàÕ4—π�ำ)–.μ“สบ∑น-) ก··¿4Õ°Ë”อู้7“่ว≈ลÕŸâ≈4—¬เ“5“ßยาอ–้อ–“«∑»-Õ·กท¡ม็∑Õง°ÿ∏7“¬≈าี่มคÕ’.“”5“ß°ª–“ศμ—«ู่°ีก1»Õ“¡π∑μ(ÿ∏6ย√“า“อ¬»Õ’“”Õ√รา°ตั(ª“‡¢°μ—°¬อจ.น©“πตμ”√π“ัดัต‘ß1滓า≈Õμ√2ตตข“‡“¢°จ¬.ß—àÕ©¥าา7น–รæ”π‘ß1¬æมจμ)≈าμ¡2≈“4“ร“ด”.ß—àÕแ¡อ¡¥)π70–æ∫ล¬จส.“¬μ4¡≈≈¡4ะ“°ย·่วπ”0¡¡μอπ0¡°∫น.∫μ.“าàÕ¬«ม4ห∫.≈¡å °·ว“∑à4πนม(μุธ¡°∫·‡Õ’ËμμÕ่วÕ-.àÕ«≈∫.®—Èßå®ยÁ¡ป7“∑à(–∑(¬อ¬5ท·‡ตÕ∑’ËμÕ5Ւˉ..≈จม่ี อม¥®’—ËÈÀß5®Á¡44–ยกี∑.อีâ√¬¬¡4 ∑4า.—∫5’ˉตั.1.“-”¥ร’ËÀ542¡4ร¬-4À8จâ√¡4.4าÕ 5Õ74√7ัด—∫ก“-∫∫”—◊Ëπ5-ต¡¬ำ�-มÀ8า7ลÕ5Õม√7ม5งั∫∫—◊Ëπ5. ∫π¿∫“π§¿æ“◊Èπ§æ◊Èπ (ปตอ.พัน. 1, 2, 3 และ 4)

236 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ก) ภารกิจ ในการป้องกันภัยทางอากาศเฉพาะต�ำบลต่อที่ตั้งที่ได้รับมอบ และปฏิบตั ิการยงิ ต่อเครอื่ งบินท่โี จมตรี ะดับต�่ำ และท�ำการยิงต่อยานยนต์ และท่ีหมายอน่ื บนภาคพน้ื ข) การแบง่ มอบ เปน็ หนว่ ยในอตั ราของกรมทหารปนื ใหญข่ องกองพล อาจ ปฏบิ ตั งิ านเปน็ หนว่ ยอสิ ระ หรอื สมทบให้กบั หนว่ ยทหารปืนใหญต่ อ่ สอู้ ากาศยานอนื่ ๆ กไ็ ด้ ค) การจดั (1) กองพัน ปตอ. ขนาด 40 มม. (อจย. 44 - 75, 44 - 85) (2) บก. และ รอ้ ย.บก. (อจย. 44 - 76, 44 - 86) (ก) ภารกจิ (1) อ�ำนวยการและประสานการปฏิบัติของกองพัน โดยจัดให้มี เครอื่ งมือเครอ่ื งใช้ท่ีจ�ำเป็นท้งั ปวงในการควบคุมบังคับบัญชากองพัน (2) สง่ กำ� ลงั สง่ิ อปุ กรณท์ กุ ประเภท ตลอดจนปฏบิ ตั กิ ารซอ่ มบำ� รงุ ขน้ั หน่วยให้แก่กองพนั (ข) การแบ่งมอบ 1 กองร้อย ต่อ 1 กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้ อากาศยาน ขนาด 40 มม.

(ค) การจดั . . บก.ร้อย บก.หมวด บก.หมวด เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 237 (3) กองรอ้ ยปืนใหญ่ตอ่ สอู้ ากาศยาน (อจย. 44 - 77, 44 - 87) (ก) ภารกิจ ท�ำหน้าที่เป็นส่วนกำ� ลังยิงของ กองพันทหารปืนใหญ่ ต่อสู้อากาศยาน ขนาด 40 มม. (ข) การแบ่งมอบ 4 กองร้อย ต่อ 1 กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้ อากาศยาน ขนาด 40 มม.

(ค) การจัด . บก.ร้อย บก.หมวด 238 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ หมายเหต ุ 1. ปตอ. 2 พัน.1 รอ. และ ปตอ.พนั .2 ได้รับ - ปตอ. 12.7 มม. แบบอตั ตาจร 2 กองร้อย (24 หมู่) - ปตอ. 40 มม. แอล 70 แบบลากจูง (องั กฤษ) 2 กองร้อย (24 หมู่) - ปตอ. 40 มม. แอล 60 แบบ เอ็ม. 1 ลากจงู 6 หมู่ (ใช้ในการศกึ ษา) 2. ปตอ.1 พัน.3 ได้รบั - ปตอ. 12.7 มม. แบบอตั ตาจร 2 กองร้อย (24 หมู่) - ปตอ. 40 มม. แอล 70 แบบลากจงู (องั กฤษ) จำ� นวน 1 กองรอ้ ย (12 หม)ู่ ยงั ขาดอตั ราอกี 1 กองร้อย - ปตอ. 40 มม. แอล 60 แบบ เอม็ . 1 ลากจงู 6 หมู่ (ใชใ้ นการศกึ ษา) และ อกี 12 หมู่ ทดแทน ปตอ. 40 มม. แอล 70 ทีย่ งั ขาดอยู่ 12 หมู่ รวมได้รับทงั้ สนิ้ 18 หมู่ - ปตอ. 37 มม. ล�ำกล้องคู่ แบบลากจูง จ�ำนวนหนึ่ง เพื่อใช้ในการ ศกึ ษา 3. ปตอ. 2 พัน.4 ได้รบั - ปตอ. 12.7 มม. แบบลากจูง 2 กองร้อย (-) จำ� นวน 18 หมู่ (ขาดอตั รา 6 หมู่) - ปตอ. 40 มม. เอม็ . 42 แบบอัตตาจร 2 กองร้อย (-) จำ� นวน 18 หมู่ ขาดอตั รา 6 หมู่ - ปตอ. 12.7 มม. RC-24 (สปจ.) จ�ำนวน 16 หมู่ เพื่อทดแทนอาวุธท่ียัง ขาดอตั ราอยู่

สรปุ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 239 1. พัน.ปตอ. ที่มีการจดั ตาม อจย. 44 - 75 คือ ปตอ.พัน. 1 รอ. เป็นหน่วย ในอัตราของ ปตอ.2 ปตอ.พนั .2 เป็นหน่วยในอตั ราของ ปตอ.2 และ ปตอ.พนั .3 เป็นหน่วย ในอัตราของ ปตอ.1 2. พนั .ปตอ. ที่มีการจัดตามใน อจย. 44 - 85 คอื ปตอ.พนั .4 ซง่ึ เป็นหน่วย ในอตั ราของ ปตอ.2 3. พัน.ปตอ. ทม่ี ีการจดั ตามใน อจย. 44 - 65 คือ ปตอ.พัน.5 และ ปตอ. พนั .6 เป็นหน่วยในอตั ราของ ปตอ.1 2) ปตอ.1 พนั .5 (ควบคุมการยงิ ด้วยอิเลก็ ทรอนิกส)์ (อจย. 44 - 65) ก) ภารกิจ ให้การป้องกันภัยทางอากาศเฉพาะตำ� บลต่อท่ีตั้งส�ำคัญ ซ่ึงได้ รับมอบ อาจป้องกันภัยทางอากาศให้กับหน่วยรบในแนวหน้า และทำ� การยิงเป้าหมาย ทางพ้ืนดิน ข) การแบ่งมอบ เป็นหน่วยของกองทัพบก อาจแบ่งออกให้หน่วยรองตาม ความเหมาะสม ค) การจัด .. .

(1) บก. และ ร้อย.บก. (อจย. 44 - 66) (ก) ภารกิจ (1) อ�ำนวยการ และประสานการปฏิบัติของกองพัน โดยจัดให้มี เครือ่ งมือเคร่อื งใช้ทจี่ �ำเป็นทง้ั ปวงในการควบคมุ บังคบั บญั ชากองพัน (2) สง่ กำ� ลงั สงิ่ อปุ กรณท์ กุ ประเภท ตลอดจนปฏบิ ตั กิ ารซอ่ มบำ� รงุ ขน้ั หน่วยในกองพนั (ข) การแบง่ มอบ หนง่ึ หนว่ ยตอ่ หนง่ึ กองพนั ทหารปนื ใหญต่ อ่ สอู้ ากาศยาน (ควบคุมการยงิ ด้วยอิเลก็ ทรอนกิ ส์) ขนาด 20/40 มม. (ค) การจดั 240 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ . บก.ร้อย. บก.หมวด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook