Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา เหล่าทหารปืนใหญ่ ปี4 (ชาย)

วิชา เหล่าทหารปืนใหญ่ ปี4 (ชาย)

Published by military2 student, 2022-05-03 02:22:44

Description: วิชา เหล่าทหารปืนใหญ่ ปี4 (ชาย)

Search

Read the Text Version

1. การหาท่ีอยู่ของตนเองโดยวิธีสกัดกลับ เช่น วัดระยะไปยังจุดท่ีปรากฏ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 141 ในแผนท่ี หรือต�ำบลระเบิดในการยิงหมายพิกัด และวัดมุมภาคอย่างประณีตไปยังจุดน้ัน แล้วท�ำการกรยุ กลับจากจดุ อ้างนน้ั ๆ ด้วยตนเอง หรือให้ ศอย. หาให้กไ็ ด้ ก็จะได้พกิ ัดท่ีอยู่ ของ ผตน. อย่างถูกต้อง 2. ทำ� แผนทบี่ รเิ วณเปา้ หมาย เมอ่ื สามารถวดั ระยะและมมุ ภาคไปยงั จดุ ใด ๆ ได้อย่างถูกต้อง ผตน. กอ็ าจใช้วธิ โี ปล่าร์ก�ำหนดพิกดั ของจุดอ้าง จล. เป้าหมายคาดคะเน เป้าหมายทป่ี รากฏหรือต�ำบลส�ำคัญต่าง ๆ ได้อย่างถกู ต้อง 3. ใช้ปรับการยิง เมื่อวัดระยะและมุมภาคไปยังต�ำบลระเบิดของกระสุนท่ี ยิงออกไปได้อย่างถูกต้อง การปรับการยิงก็จะท�ำได้รวดเร็วขึ้น โดยเฉพาะอย่างย่ิงการยิง หาหลักฐาน และการยิงทำ� ลาย เป็นต้น การผ่าห้วงควบกไ็ ม่จำ� เป็นอกี ต่อไปและในการยิง เป็นพนื้ ท่ี อาจจะสั่งยงิ หาผลได้ในนดั ที่ 2 เลยทีเดยี ว 4. ข้อควรระวงั ก็คอื แสงเลเซอร์เป็นอันตรายต่อตา ดังน้นั ขณะทำ� การวัด ซึ่งเป็นการยงิ แสงเลเซอร์ห้ามอยู่หน้ากล้องและห้ามเล็งไปยังทหารฝ่ายเดยี วกัน 10. กล้องส่องเวลากลางคืน ก. เครอ่ื งชว่ ยการเหน็ ในเวลากลางคนื หรอื กลอ้ งสอ่ งเวลากลางคนื ทพ่ี ฒั นาขน้ึ ใน ปัจจบุ นั มขี ีดความสามารถสงู เช่น สามารถตรวจเหน็ คนได้ในระยะกว่า 1 กโิ ลเมตร ตรวจ เหน็ ยานพาหนะต่าง ๆ ได้กว่า 10 กโิ ลเมตร เป็นต้น ข. กล้องส่องเวลากลางคนื มีหลายแบบ โดยปกติแล้วใช้หลกั การดงั ต่อไปนี้ 1. การขยายแสงธรรมชาติ เชน่ แสงดาว แสงเดอื นหรอื แสงเรอื งจากตวั เมอื ง เป็นต้น ให้มคี วามสว่างเพ่มิ ขึ้น กล้องประเภทนีเ้ รียกว่า กล้องแสงดาว (Star Light Scope) 2. อาศยั แสงอนิ ฟราเรด คือ ยงิ แสงอินฟราเรดออกไป ช่วยให้การเห็นในท่ี มืดดีข้นึ 3. อาศัยความร้อนจากธรรมชาติ เช่น ร่างกายคน เคร่ืองยนต์ท่ีร้อนหรือ ท่อไอเสยี ต่าง ๆ กล้องประเภทน้ชี ่วยการเหน็ ได้ดี แม้จะมีหมอกหรอื ควนั ก�ำบงั ค. กลอ้ งสอ่ งเวลากลางคนื เหลา่ น้ี ผตน. สามารถทจ่ี ะใชป้ ระโยชนไ์ ดด้ ที ง้ั ในการ เฝ้าตรวจสนามรบ การค้นหาเป้าหมาย, การปรบั การยิง และมีบางแบบทใ่ี ช้เป็นกล้องเลง็ ของปืนเลก็ ยาวได้ด้วย

11. เวลาตา่ ง แสง-เสียง (Flash To Bang Time) ก. บางครงั้ ระยะ ต. - ม. ทก่ี ำ� หนดไดไ้ มถ่ กู ตอ้ ง จะทำ� ใหย้ ากในการปรบั การยงิ ผตน. ท่มี ีขีดความสามารถอาจตรวจสอบระยะ ต.- ม. ได้โดยอาศยั การสังเกตต�ำบลระเบิด ของกระสนุ หรอื การยิงของข้าศกึ แล้วจบั เวลาจากทเ่ี หน็ แสงแลบนั้น จนกระทัง่ ได้ยินเสยี ง “ปัง” แล้วนำ� มาค�ำนวณหาระยะ ข. เสยี งเคล่อื นท่ีในอากาศมคี วามเรว็ ประมาณ 350 เมตรต่อวินาที ดงั นน้ั ระยะ ต.- ม. = เวลาต่าง แสง-เสียง (วินาท)ี X 350 (เมตร) ในเวลาคํา่ มดื หรือทัศนวิสัยเลว อาจใช้เทคนิค เวลาต่าง แสง-เสียงนี้ ช่วยในการปรับการยิงได้ด้วย ซึ่งจะกล่าวถงึ ต่อไป 142 เหลา่ ทหารปืนใหญ่

บทท่ี เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 143 หลักการและเทคนิคมลู ฐาน ทผี่ ้ตู รวจการณห์ น้าควรทราบ 1. กล่าวท่วั ไป ก. ในทนี่ จ้ี ะนำ� หลกั การและเทคนคิ ตา่ ง ๆ ท่ี ผตน. จะตอ้ งใชบ้ อ่ ย ๆ ในการปฏบิ ตั ิ หนา้ ทเ่ี ปน็ ตาของชดุ หลกั ยงิ และเปน็ ผเู้ ฝา้ ตรวจสนามรบ เพอ่ื รวบรวมขา่ วสารตา่ ง ๆ ข. ในฐานะท่เี ป็นผู้มองเหน็ สนามรบ และเฝา้ ตรวจสนามรบตลอด 24 ชัว่ โมง ผตน. จะต้องตรวจตราตรวจสอบทุกอย่างท่ีมีอยู่ในสนามรบ ได้แก่ ภูมิประเทศ ลมฟ้า อากาศ ข้าศึกและฝ่ายเราว่ามีลักษณะการปฏิบัติหรือมีการเปล่ียนแปลงอย่างไร ตาม ความเป็นจริงท่ีตนตรวจพบห้ามคาดคะเนหรือเดา เพราะถ้าเดาข้อมูลท่ีได้จะไม่ถูกต้อง ท�ำให้การตคี วามข่าวกรองผดิ พลาด ซึง่ อาจจะมีผลร้ายมากกว่าไม่ได้รายงานเสยี อกี ค. ในการรายงานข่าวโดยท่ัวไป ให้ระลึกถึงความสมบูรณ์แจ่มแจ้งกะทัดรัด ไว้เสมอ คอื ต้องตอบคำ� ถามเหล่าน้ี 1. ใคร - ใครเป็นผู้รายงาน 2. อะไร - วตั ถุ ภูมปิ ระเทศ สภาพอากาศทร่ี ายงาน 3. เมื่อไร - วนั เวลา ทร่ี ายงานหรอื ที่ตรวจพบ 4. ท่ไี หน - บรเิ วณทต่ี ้งั หรอื พืน้ ทท่ี ่ตี รวจพบ 5. อย่างไร - สงิ่ ทต่ี รวจพบเป็นอย่างไร ลกั ษณะหรอื กจิ กรรมต่าง ๆ ท่ี ตนได้กระทำ� หรือสงั เกตเหน็

ง. ในการรายงานเก่ยี วกบั ก�ำลังของข้าศึกนน้ั ให้ระลึกถึงเร่อื งดังต่อไปน้ี 1. ขนาดหน่วย (Size) - หน่วยใหญ่ขนาดไหน 2. การปฏบิ ตั ิ (Activities) - กำ� ลงั ท�ำอะไรอยู่ 3. ทตี่ ง้ั (Location) - ทีไ่ หน ควรบอกพิกดั 4. หน่วย (Unit) - เป็นหน่วยประเภทใด 5. เวลา (Time) - ตรวจเหน็ เมอ่ื ใด 6. ยุทโธปกรณ์ (Equipment) - หน่วยน้ันมยี ทุ โธปกรณ์อะไรบ้าง จ. ในการดำ� เนินภารกจิ ยงิ เป็นวธิ ปี ฏบิ ัติมาตรฐาน ได้แก่ 1. การก�ำหนดทต่ี ้ังเป้าหมาย 2. ส่งคำ� ขอยิง 3. ปรบั การยงิ ถ้าจำ� เป็น 4. เฝ้าตรวจและรายงานผลการยงิ 144 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 2. มมุ และการวัดมุม ก. มมุ (Angie) คอื จำ� นวนหรอื ปรมิ าณการหมนุ ของเสน้ ตรงเสน้ หนงึ่ รอบจดุ หนงึ่ ในพ้นื ทคี่ งทอ่ี ันหนง่ึ ๆ จากทศิ ทางหน่งึ ไปยงั ทิศทางหนง่ึ อาจจะหมนุ ตามเข็มนาฬิกาก็ได้ ข. มาตราวดั มมุ มีหลายมาตรา แต่ทที่ างทหารนยิ มใช้กัน มอี ยู่ 3 ระบบ คือ 1. ระบบองศา แบง่ วงกลมออกเปน็ 360 สว่ น เรยี กวา่ องศา (Degree) แตล่ ะ องศาแบ่งออกไปถงึ 60 ส่วน เรยี กว่า ลิปดา (Minute) แต่ละลิปดาแบ่งออกไปอกี 60 ส่วน เรยี กว่า ฟิลปิ ดา (Second) 2. ระบบเกรดหรอื เกรเดยี นท์ แบง่ วงกลมออกเปน็ 400 สว่ น เรยี กแตล่ ะสว่ น ว่า 1 เกรด (Grad, G) แต่ละเกรดแบ่งออกเป็น 100 ส่วน เรยี กว่า เซนติเกรด (Centigrad, C) แต่ละเซนตเิ กรดแบ่งออกเป็น 100 ส่วน เรียกว่า เซนติ เซนตเิ กรด (Centi-Centigrad, CC) ส�ำหรับระบบนี้เครื่องค�ำนวณคาสิโอท่ีมีใช้อยู่ในเหล่า ป. ปัจจุบันแบ่ง ระบบออกเป็น 400 G, 600, 6,000 ไปตามลำ� ดบั ซง่ึ 1 เกรดจะเท่ากบั 12 มลิ เลยี มพอดี เป็นประโยชน์มากในการคำ� นวณเป็นมลิ เลียมซ่งึ ไม่มีในเครอ่ื งคำ� นวณ

3. ระบบมลิ เลยี มหรอื มลิ . แบ่งวงกลมออกเป็น 6,400 ส่วน แต่ละส่วนเรียก ว่า 1 มลิ เลยี ม (Mil, m) การแบ่งละเอียดออกไปใช้ทศนิยมไปตามล�ำดบั สรุปว่า 1 วงกลม = 360 องศา = 400 เกรด = 6,400 มลิ . 1 มุมฉาก = 90 องศา = 100 เกรด = 1,600 มิล. ค. สำ� หรบั วชิ าหลกั ยงิ ทหารปนื ใหญน่ น้ั นยิ มใชร้ ะบบมลิ เลยี มมากทสี่ ดุ เพราะวา่ 1. ความง่ายในการอ่าน เขยี น และวดั 2. มุม 1 มิลเลยี ม ท่ีแขนของมมุ ยาว 1,000 ส่วน จะรองรบั เส้นรอบวงทมี่ ี ความยาว 0.9817 สว่ น ใกลเ้ คยี งกบั 1.0 มาก ถอื วา่ เสน้ รอบวง 1 เมตร จะรองรบั มมุ 1 มลิ เลยี ม ณ ระยะ 1,000 เมตร แล้วนำ� ไปใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง 3. สูตรมลิ เลียม หรือ กฎ กผร. (Mil Formula) ก. ดว้ ยคณุ สมบตั ขิ องมมุ 1 มลิ . ดงั ทกี่ ลา่ วมาแลว้ ในขอ้ 2. ขา้ งตน้ คอื 1 สว่ นของ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 145 เส้นรอบวงกลมทม่ี ีรัศมี 1,000 ส่วน จะรองรับมมุ 1 มลิ . ณ จุดศูนย์กลางของวงกลมน้นั น่นั คอื มุม 1 มลิ . ณ ระยะ 1,000 เมตร จะมีเส้นรอบวงหรอื กว้างด้านหน้า 1 เมตร มุม 10 มิล. ณ ระยะ 1,000 เมตร จะมีเส้นรอบวงหรอื กว้างด้านหน้า 10 เมตร มุม 1 มิล. ณ ระยะ 2,000 เมตร จะมเี ส้นรอบวงหรอื กว้างด้านหน้า 2 เมตร ข. เขยี นเป็นสตู ร มลิ . หรือ กฎ กผร. ได้ว่า 1. ก = ผ/ร หรอื m = W/R 2. ผ = ก X ร หรอื W = m X R 3. ร = ผ/ก หรอื R = W/m ในเม่ือ ก (m) = มุมเป็นมลิ เลยี ม (Mil) (W) = กว้างด้านหน้าหรอื ด้านประกอบมมุ ยอด (Width) (R) = แขนของมมุ หรอื ระยะเตม็ 1,000 หรอื หารดว้ ย 1,000 (ทศนิยม 1 ตำ� แหน่ง) (Range)

146 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ค. อยา่ งไรกต็ าม เมอ่ื มมุ โตขน้ึ ความถกู ตอ้ งกจ็ ะคอ่ ย ๆ ลดลง ตามหลกั การแลว้ ยอมให้ใช้ได้กบั มุมท่ีเล็กกว่า 600 มลิ . ลงมา ง. ตวั อยา่ งเชน่ สามเหลยี่ มมมี มุ ก = 100 มลิ . ระยะ 3,000 เมตร จะมกี วา้ งดา้ น หนา้ = 100 X 3,000/1,000 = 300 เมตร หรอื กวา้ งดา้ นหนา้ 20 เมตร วดั มมุ ณ จดุ หนงึ่ ได้ 5 มลิ . ดังนัน้ ระยะเตม็ 1,000 = 20/5 = 4 ระยะยิง = 4 X 1,000 = 4,000 เมตร ดังน้ี เป็นต้น 4. การวดั มุมและการใช้มมุ ก. มมุ ท่ี ผตน. ใช้ส่วนมากแล้วได้แก่ มมุ ภาค มุมข้าง และมมุ ดง่ิ โดยปกตแิ ล้ว จะใช้เคร่อื งมอื และวิธวี ดั มมุ ต่าง ๆ ในภูมิประเทศ ดังน้ี 1. มุมภาค (Azimuth) วัดโดยเขม็ ทิศ หรอื กล้องกองร้อยในขั้นต้นแล้วใช้การ วัดมุมทางข้างประกอบเพอ่ื ให้รวดเร็วขนึ้ มมุ ภาคที่ใช้โดยปกตแิ ล้วเป็นมมุ ภาคตาราง 2. มมุ ขา้ ง (Deviation) วดั โดยใชก้ ลอ้ งสองตา กลอ้ ง ผบ.รอ้ ย. กลอ้ งกองรอ้ ย หรือวดั ด้วยมอื 3. มุมด่ิง (Vertical Angle) วัดโดยใช้กล้องส่องสองตา กล้อง ผบ.ร้อย. กล้องกองร้อยเขม็ ทิศ เอ็ม 2 หรอื วัดหยาบ ๆ ด้วยมือ ข. ผตน. ใช้มมุ ประเภทต่าง ๆ ดงั กล่าวแล้ว ดังน้ี 1. มมุ ภาค ใชก้ ำ� หนดทตี่ งั้ เปา้ หมายวธิ โี ปลา่ ร์ หรอื การสกดั ตรงแสดงทศิ ทาง ทต่ี รวจการณ์ (แนว ตม.) และหาทอ่ี ยู่ของตนเองด้วยวธิ ีต่าง ๆ 2. มมุ ดงิ่ ใชใ้ นการกำ� หนดทตี่ งั้ เปา้ หมาย (โปลา่ รห์ รอื ยา้ ยจากจดุ ทราบทตี่ งั้ ) การปรบั การยงิ ท้ังทางด่ิงหรอื สงู กระสนุ แตกรายละเอยี ดจะกล่าวไว้ในเรอ่ื งนนั้ ๆ

5. ระยะและการหาระยะ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 147 ก. ผู้ตรวจการณ์หน้าเก่ียวข้องกับระยะตลอดเวลา ท้ังในการก�ำหนดท่ีอยู่ของ ตนเอง กำ� หนดทต่ี ง้ั เป้าหมายและในการปรับการยงิ การหาระยะของ ผตน. ตามหลกั แล้ว ควรผดิ พลาดไม่เกนิ 20% ทงั้ ทางบวกหรอื ลบของระยะจริง ข. วธิ ที ี่ ผตน. ใช้หาระยะนน้ั โดยปกตแิ ล้วได้แก่ 1. วธิ ีเทยี บสนามฟุตบอล หรอื ยงิ หมายระยะ 2. วธิ ีสังเกตลกั ษณะของวัตถหุ รอื ภูมปิ ระเทศ 3. วิธีเวลาต่าง แสง-เสยี ง 4. วธิ กี ฎ กผร. 5. วิธวี ัดเอาในแผนทห่ี รอื เปรยี บเทียบกับแผนที่ 6. วิธใี ช้กล้องวดั ระยะ 6. วิธีเทยี บสนามฟุตบอล สนามฟตุ บอลนน้ั ปกตจิ ะมคี วามยาว 90 - 110 เมตร แตก่ ใ็ หถ้ อื วา่ ยาว 100 เมตร สามารถนำ� มาเป็นหน่วยระยะได้เป็นอย่างดี โดยด�ำเนนิ การดังนี้ ก. ท�ำความคุ้นเคยกับภาพของระยะ 100 เมตร หรือขนาดของความยาว สนามฟุตบอล ข. สำ� หรบั ระยะไกลต้งั แต่ 500 เมตร ลงมา ให้ประมาณว่าจะมีสนามฟุตบอล ได้กส่ี นามจากท่ที ่านอยู่ไปถงึ เป้าหมาย ค. ส�ำหรบั ระยะระหว่าง 500 - 1,000 เมตร ให้พจิ ารณาหาจุดกึ่งกลางของระยะ ทางนัน้ แล้วพิจารณาระยะทางไปยงั จดุ กึง่ กลางนัน้ เหมอื นข้อ ข. แล้วเอา 2 คูณ ง. การใช้วธิ นี จี้ ะตอ้ งเขา้ ใจและคนุ้ เคยกบั ลกั ษณะของสง่ิ แวดล้อม ทที่ ำ� ให้ร้สู กึ ว่าระยะไกลหรอื ใกล้กว่าปกตเิ ป็นอย่างดี คือ 1. รู้สึกว่าใกล้กว่าปกตเิ ม่อื ก) มองข้ามน้าํ หบุ เหว ข) อากาศสดใสปลอดโปร่งโดยเฉพาะอย่างย่ิงหลังฝนตก ค) ตะวนั อยู่ข้างหลงั ผู้ตรวจการณ์หรอื หน้าเป้าหมาย

148 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ง) สขี องฉากหลงั ตดั กบั วัตถุอย่างมาก จ) วตั ถุสสี ดใส เช่น ขาว แดง เหลือง ฉ) มองขึน้ ข้างบน ช) เป้าหมายใหญ่ ซ) ในทะเล ด) ขณะทต่ี ้นไม้ไม่มใี บ เช่น ในฤดหู นาว (ของฝร่งั ) ต) ต้นไม้หรอื ก่งิ ก้านของมนั ตดั กับขอบฟ้า หรอื ฉากหลังท่สี ว่างจ้า ถ) ใช้กล้องส่องทางไกล 2. รู้สึกว่าไกลกว่าปกติ ก) มองข้ามพน้ื ท่ี เป็นลกู คลน่ื ข) ตะวนั อยู่หน้าผู้ตรวจการณ์หรือหลงั เป้าหมาย ค) อากาศไม่สดใส เช่น มหี มอก ควนั ฝนตก เป็นต้น ง) ฉากหลงั สกี ลมกลืนกับวัตถนุ ั้น จ) มองลงไปยงั ที่ต่าํ ฉ) เป้าหมายเลก็ ช) สที มึ ทบึ ซ) เป้าหมายมกี ารพราง ด) เม่ือตรวจการณ์ด้วยท่าคุกเข่าหรือท่านั่ง ในขณะที่อากาศร้อน โดย เฉพาะอย่างย่งิ เมอ่ื ดนิ เปียกชน้ื ทงั้ นี้เพราะการแผ่รังสคี วามร้อน จ. สำ� หรบั การยงิ หมายระยะ กค็ งใช้เทคนคิ คล้าย ๆ กนั โดย ผตน. ขอให้ ศอย. ท�ำการยงิ หมายระยะให้ เช่น 400 หรอื 500 เมตร แล้วจดจำ� ระยะนั้นไว้ นำ� ไปเปรยี บเทยี บ กบั ระยะทต่ี อ้ งการดงั กลา่ วแลว้ 7 - 6 วธิ นี ี้ ผตอ. ใชม้ าก เพราะความสงู ของการบนิ แตล่ ะครง้ั อาจจะไม่เท่ากนั ฉ. หากไม่แน่ใจให้ใช้วธิ เี ฉล่ยี เช่น ระยะทีค่ าดว่าใกล้สดุ ไม่น้อยกว่า 900 เมตร ไกลสุดไม่เกนิ 1,200 เมตร ก็ให้เฉล่ยี ปานกลาง คอื 1,000 เมตร หรือ 1,100 เมตร

7. วิธสี งั เกตลกั ษณะของวัตถุหรอื ภูมิประเทศ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 149 ก. วิธีน้ีจะช่วยขจัดความผิดพลาดของวิธีใช้สนามฟุตบอลได้เป็นอย่างดี เช่น ตามรายการข้างล่าง ถ้าท่านสามารถทราบด้วยตาเปล่าว่า พาหนะน้นั ใช้ล้อหรอื สายพาน ระยะ กจ็ ะอย่รู ะหว่าง 1,500 - 2,000 เมตร และถา้ แยกไดว้ ่าเปน็ รถถงั แต่ไม่ทราบแบบ ระยะ ก็จะอยู่ระหว่าง 1,000 - 1,500 เมตร ดังนเ้ี ป็นต้น ข. ถ้าปรากฏให้ระยะต่าง ๆ เม่อื มองด้วยตาเปล่า 1. ระยะ 500 เมตร - ทราบวา่ เปน็ พลประจำ� รถถงั ทหารราบ ปนื กล ค. ปตถ. หรอื จรวดตอ่ ส ู้ รถถัง 2. ระยะ 1,000 เมตร - ทราบว่าเป็นรถถงั รสพ. รยบ. แบบใด 3. ระยะ 1,500 เมตร - ทราบว่าเป็นรถถงั รสพ. รยบ. และ ป. 4. ระยะ 2,000 เมตร - ทราบว่าเป็นรถสายพานหรอื รถล้อ ค. ภาพปรากฏในระยะต่าง ๆ เมอ่ื ใช้กล้องสองตา 1. ระยะ 1,000 เมตร - ต้นไม้สามารถมองเหน็ กง่ิ เล็กได้ใบจะรวมเป็นกลุ่มบาง ๆ เมอ่ื ตัดกบั ขอบฟ้าและสามารถมองทะลกุ ง่ิ ต่าง ๆ 2. ระยะ 1,200 เมตร - แยกขบวนเดนิ ของทหารราบได้ - อาคารเหน็ เสาธง และป้ายหรอื ตราประจำ� อาคารได้ 3. ระยะ 1,500 เมตร - ต้นไม้เหน็ ใบเป็นกลุ่มหนาทบึ ทราบลกั ษณะอย่างหยาบได้ และเห็น กลุ่มของกง่ิ ใหญ่ - ทหารเดนิ เท้าเหน็ การแยกกลุ่มได้ เห็นพลประจ�ำรถถังหรอื เหน็ รปู ร่าง ของม้าแยกประเภทพาหนะได้

150 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 4. ระยะ 2,000 เมตร - ทราบว่าเป็นพลประจ�ำรถถังทหารราบ ปืนกล ค. ปตถ. หรือจรวด ต่อสู้รถถงั 5. ระยะ 3,000 เมตร - ต้นไม้เหน็ ล�ำต้นส่วนล่างได้ กิง่ ใหญ่ ๆ จะกลมกลืนไปกับใบ - ขบวนยานยนต์หรอื ป. ท่กี �ำลงั ลากแยกแยะได้ 6. ระยะ 4,000 เมตร - ต้นไม้จะกลมกลนื เข้ากบั กลุ่มใบ มผี วิ เรียบ - ทราบว่าเป็นรถถงั รสพ. รยบ. แบบใด - ทราบว่าเป็นบ้านหรอื อาคารแบบใด 7. ระยะ 5,000 เมตร - พืน้ ทปี่ ่าจะมองเหน็ คล้ายป่าละเมาะ แต่มผี ิวเรียบ และทึมทบึ - ทราบว่าเป็นรถถงั รสพ. หรอื รยบ. - เหน็ ปล่อยโรงงาน โรงสไี ด้ 8. ระยะ 6,000 เมตร - แยกออกว่าเป็นรถล้อหรอื สายพาน 9. ระยะ 15,000 เมตร - โบสถ์ วหิ าร และอาคารเด่น ๆ แยกประเภทได้ 8. การหาระยะโดยวธิ ีใช้เสยี งหรือวธิ เี วลาต่าง แสง-เสียง ก. โดยอาศัยหลักการที่ว่า แสงมีความเร็วมากจนถือได้ว่าไม่เสียเวลาเดินทาง เลย สว่ นเสยี งมคี วามเรว็ ประมาณ 340 เมตรตอ่ วนิ าที ทอี่ ณุ หภมู อิ ากาศ 59 องศาฟาเรนไฮต์ (อณุ หภูมโิ ดยทว่ั ไปถือว่า 350 เมตรต่อวินาท)ี เมอ่ื เหน็ ต้นกำ� เนิดของเสยี งและจับเวลาเส้น ทางของเสยี งได้กจ็ ะหาระยะโดยประมาณได้อย่างใกล้เคียง ข. วิธปี ฏิบตั โิ ดยทัว่ ไป กค็ ือ 1. เมื่อเห็นแสงแลบ ฝุ่นหรือควันจากการระเบิดของกระสุนหรือการยิงของ อาวุธให้เรม่ิ จับเวลา 2. เมื่อได้ยนิ เสยี งนน้ั ให้หยดุ จับเวลา

3. นำ� เวลาท่จี บั ได้เป็นวนิ าที คูณกับ 350 จะได้ระยะจากต้นกำ� เนดิ เสียงนั้น เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 151 มาถงึ ผตน. เป็นเมตร ค. วิธีจับเวลา อาจจะใช้นาฬิกาจับเวลาท่ีมีอยู่ในอัตราของหมู่ตรวจการณ์ หน้าจะถูกต้องดีข้ึน ถ้าไม่มีนาฬิกาจับเวลา ให้เร่ิมนับเม่ือเห็นแสงและหยุดนับเม่ือได้ยิน เสียงด้วยจังหวะนับหน่ึงถึงเจ็ด หรือนับเจ็ดครั้งในสองวินาที จ�ำนวนท่ีนับได้คือหลักร้อย ของระยะ เช่น เม่อื นบั ได้ถงึ หกได้ยินเสียง แสดงว่าต้นเสียงห่าง 600 เมตร นบั ถึงสบิ สอง แสดงว่าห่าง 1,200 เมตร เป็นต้น สำ� หรบั การนบั ตงั้ แตส่ บิ วนิ าทขี น้ึ ไป ไมต่ อ้ งนบั ซาํ้ ตวั เลขนน้ั เชน่ หนงึ่ สอง สาม ฯลฯ แทนการนบั สบิ เอ็ด ฯลฯ 9. วธิ ีใช้สูตรมิลเลยี ม หรือ กฎ กผร. ก. หาก ผตน. ทราบระยะทางข้างหรอื ทางดง่ิ ของวตั ถใุ ด ๆ อย่างแน่นอน เช่น รยบ. ขนาด 2 1/2 ตัน ยาว 7.3 เมตร หรือเสาธงหน้าอาคารสงู 16 เมตร เป็นต้น กจ็ ะท�ำการ วัดมุมภายในระหว่างปลายทง้ั สองของส่งิ นนั้ แล้วใช้กฎ กผร. คำ� นวณโดย 1. วดั มมุ ภาคในหรอื งา่ มมมุ ระหวา่ งปลายทง้ั สองของวตั ถหุ รอื ระยะทท่ี ราบ นน้ั โดยกล้องส่องสองตา, กล้อง ผบ.ร้อย หรือด้วยมือ 2. น�ำความยาวหรือระยะที่ทราบมาหารค่ามุมท่ีวัดได้ แล้วคูณด้วย 1,000 ก็จะได้ระยะไปยงั จุดน้นั ข. ตัวอย่าง เช่น ผตน. วดั มมุ จากหน้า รยบ. ขนาด 2 1/2 ตนั ไปยังท้ายรถได้ 5 มลิ . (รยบ. ขนาด 2 1/2 ตนั โดยทว่ั ไปยาว 7.3 เมตร) ร = ผ/ร X 000 = 7.3/5 X 1,000 = 1,460 เมตร ดังนั้น ระยะจาก ผตน. ถึง รยบ. 2 1/2 ตนั เท่ากับ 1,460 เมตร หรอื 1,500 เมตร ดังน้เี ป็นต้น ค. หากระยะท่ีทราบไม่ต้ังฉากกับแนวตรวจการณ์ (ตม.) ความผิดพลาดจะมี มากขึน้ แต่กอ็ าจหาค่าโดยประมาณ หมายเหตุ การหาค่าอย่างละเอยี ดควรใช้สตู รสัมพนั ธ์ตรีโกณแทน ง. ตารางตอ่ ไปน้ี ใชส้ ำ� หรบั ประมาณระยะไปยงั รถถงั ฝา่ ยตรงขา้ ม ซง่ึ มลี กั ษณะ โดยทวั่ ไป คอื

À¡“¬‡Àμÿ °“√À“§à“Õ¬à“ß≈–‡Õ’¬¥§«√„™â Ÿμ√ —¡æ—π∏åμ√’‚°≥·∑π ß. μ“√“ßμàÕ‰ªπ’È „™â ”À√—∫ª√–¡“≥√–¬–‰ª¬—ß√∂∂—ßΩÉ“¬μ√ߢⓡ´÷Ëß¡’≈—°…≥– ‚¥¬∑—Ë«‰ª §◊Õ 1212.... ∂∂ถถ....À°กห≈ลπน“า—°กั ßง((T(T(μต66—Èß4ง้ั4·แTTμต77à่22TT66·แ22≈ล≈–ละßงA¡AมUU“าS)S) °8ก8«5ว5â“)้า)ß°งก«3ว3â“.5้า.ß5ง‡3¡เ3ม.5μ.5ต√‡ร¡เ¬มμย“ต√า«รว¬6ย“6.5า«.5ว‡7¡เ.7ม5μ.5ต√‡¡รเมμต√ ร ¡¡ÿ ∑Ë’«—¥‡ªìπ¡≈‘ . 1 2 3 √–¬– (‡¡μ√) 7 8 9 10 456 ∂.°≈“ß - ¬“« 6,500 3,000 2,200 1,600 1,300 1,100 900 800 700 700 - °«â“ß 3,500 1,800 1,200 900 700 600 500 400 400 400 ∂.Àπ—° - ¬“« 7,500 1,800 2,500 1,900 1,500 1,300 1,100 900 800 800 - °«â“ß 3,500 1,800 1,200 900 700 600 500 400 400 400 152 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ตμา“ร√า“งßปªร√ะ–ม¡า“ณ≥ร√ะ–ย¬–ะ‰ไªป¬ย—ßัง√ร∂ถ∂ถß— ัง¢ขâ“า้ »ศ°÷ ึก 10. วิธวี ัดหรือเทียบกับแผนท่ี 10-10 «∏‘ ก’«.—¥ กÀาร√ห◊Õา‡ร∑ะย’¬ะ∫โด°ย—∫กา·รºวดั πจ∑าก’Ë แผนทด่ี ำ� เนนิ การดงั นี้ °. °“1√. Àก“√ำ� –ห¬น–ด‚ท¥่ตี¬้ัง°“2√«จ—¥ดุ ®น“้นั °·ลºงπบ∑น’Ë¥แ”ผ‡นπท‘πี่ °“√¥—ßπ’È √§‡คเร∑–«ทะว’¬¬“ียยา–∫¡ะบม¢¬°ขกยÕ“—∫อัาบß«ง¡®ว¢ม¢จขÿ¥“.Õาุดอμ∑ข ßตทง213À√¡’Ë∑.ร ม่ที...“““√าห32 าร“°μส..«°πาา ตà«∫°√่—¥วก”บ”นวรπ“∑”นÀ√ก√าดัทำ�π‡À–’Ëμ–เนำ�π รร่ตีส—Èπ¬π¬—Èßหะะ้นั¥âπั้ง้·น‡––¥ยยนแ เ∑∫º√∑สบะะ∑ดผ¡’Ëμ–√πม’Ë«ทรร’ËμนทÀÕ√—Èßะ—¥∑รอว่ี—Èß∑ที่ต«หท2‰ดั’Ë¢—à“¥ั้ง่ี2¥วัดไÕ2®ขߧด่า≮ค®ßอÿ¥ªงจ«ไ้ÿ¥®วÿ¥งπจป§“ุดÿ¥าจ∑ดุ—Èπค´¡Ÿ≥มดุ∑—Èßซท÷Ëßณู¬ย ≈ท’Ë°μง่ึ°ง้ั “าÕกกß—∫ี่ตâÕส”«∫วßบัำ�À้อßอ ∑∫ทหπ°สงπงà«’Ë«ี่πกวนบ“·วπ่¥—¥ัด√าº·นดน¢®¥«รดºπขจÕแÿ¥—ว¥â«πอ้ว∑ุดผßÀดั≈¬ย¡ง∑ห’Ëน√ลß¡มม“’Ëπ◊Õรท∫งา“μือา«—Èπบีน่ πตμว√ต—¥ั้นน·ร“ัด√√รแา “º–ราสผ„ะà«π¬ใ¥ว่นยดπ–∑นะท·‰’ˉ¥แไ¡ºีไ่ตดμผมâ πà้‰อ้âนÕ่ไ¥μ∑งตดßทâ“ต’Ëπา้μ¡น่ีัดมก—Èπ°—¥น§ั้ ทคใ็Á„∑ห«ÀวอหÀ“Õ้เาâ‡นรป¡√ªπมอืใ◊Õร‡√„เหนÀยีπห’¬Àำ�้เ¡บ”ม∫ปâ‡ไ“ªเ‰ปา‡ท็นª–∑ìะπเียห ‡ป’¬สÀªบ¡นร∫มπ√กยี่ว°’¬à«ับบย—∫∫¬ 11. การใช้กลอ้ งวัดระยะ ถ้ามกี ล้องวดั ระยะด้วยแสงเลเซอร์หรือแบบอนื่ ๆ ที่มลี กั ษณะคล้ายกัน ผตน. กจ็ ะหาระยะไปยงั จุดต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว ง่ายดาย เป็นเครอื่ งมือทมี่ ีประโยชน์ มากต่อ ผตน. ทศิ ทาง ก. ผตน. ทมี่ ขี ดี ความสามารถจะตอ้ งหาทศิ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ทศิ ทางไดป้ ระโยชน ์ ทง้ั ในการกำ� หนดทอี่ ยขู่ องตนเอง กำ� หนดทตี่ งั้ เปา้ หมาย, ปรบั การยงิ และรายงานขา่ วสารตา่ ง ๆ โดยปกตแิ ลว้ จะใชร้ ว่ มกบั ระยะ

ข. การหาทศิ ทางอากาศอาจหาได้ โดยวธิ ตี า่ ง ๆ ดงั น้ี 1. การกะประมาณดว้ ยการศกึ ษาภมู ปิ ระเทศประกอบกบั แผนที่ ผตน. ทไี่ มม่ ี เครอ่ื งมอื วดั มมุ หรอื วดั ทศิ ทางกอ็ าจกำ� หนดทศิ ทางอยา่ งครา่ ว ๆ ในภมู ปิ ระเทศได้ อยา่ งนอ้ ย ผตน. จะตอ้ งศกึ ษาภมู ปิ ระเทศ 2. การใชเ้ ขม็ ทศิ กลา่ วแลว้ ในบทกอ่ น 3. การวดั บนแผนที่ ดว้ ยการไดแ้ ผน่ พดั ตรวจการณ์ 4. การวัดจากจุดอ้าง จุดอ้างท่ีทราบทิศทางแล้วสามารถน�ำมาค�ำนวณหา ทศิ ทางจดุ นนั้ ๆ ได้ 5. ใชก้ ลอ้ งหาทศิ หรอื เครอื่ งมอื วดั มมุ อนื่ ๆ เชน่ กลอ้ งไยโร 12. การขานตัวเลขและตัวอกั ษรของทหารปนื ใหญ่ ก. เพอื่ ความรวดเรว็ แจม่ แจง้ และไมผ่ ดิ พลาดในการสง่ั การ คำ� ขอและการตดิ ตอ่ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 153 ส่ือสาร การขานหรือออกเสียงตัวเลขและอักษรของทหารปืนใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ เก่ียวกบั วชิ าหลักยิง ป. ให้ยดึ หลักการดงั ต่อไปน้ี ข. การขานตัวเลขไม่ว่าจะเป็นด้วยปากเปล่าหรือการใช้เครื่องมือสื่อสารให้ยึด หลกั การท่วี ่า 1. เลขหลกั หน่วย หลกั สบิ อ่านทลี ะตวั 2. เลขหลกั ร้อย หลักพนั ที่เตม็ ร้อย เตม็ พนั อ่านเป็นร้อยเป็นพนั 3. เลขที่มจี ดุ ทศนยิ มและเลขท่ไี ม่เต็มร้อยเต็มพนั อ่านทีละตวั ตวั อยา่ งเชน่ 1 ขานว่า หน่งึ 0 ขานว่า ศนู ย์ 2 ขานว่า สอง 3 ขานว่า สาม 10 ขานว่า หนง่ึ ศนู ย์ 11 ขานว่า หนึง่ หน่ึง 90 ขานว่า เก้าศนู ย์ 100 ขานว่า หน่งึ ร้อย 500 ขานว่า ห้าร้อย 1000 ขานว่า หนึ่งพัน 10000 ขานว่า หน่งึ ศนู ย์พัน 5000 ขานว่า ห้าพัน 1 6000 ขานว่า หน่งึ หกพนั 1.1 ขานว่า หน่ึงจุดหนง่ึ 100.5 ขานว่า หน่งึ ศนู ย์ศูนย์จดุ ห้า 596 ขานว่า ห้าเก้าหก เป็นต้น

ค. การขานตวั อักษร คงยดึ ระเบียบการใช้วทิ ยุโทรศัพท์ ตัวอย่างเช่น ก = ไก่, ข = ข้าว, ค = ควาย, ษ = ฤๅษี, ส = สิงโต เป็นต้น หมายเหตุ ข ที่เปลยี่ นเป็น ข้าว เพราะใกล้กบั ไก่ ส ที่เปล่ียนเป็น สงิ โต เพราะใกล้กบั เรอื ซงึ่ อาจฟังผิดได้ง่าย ง. สำ� หรบั อกั ษรภาษาองั กฤษซง่ึ มปี ะปนอยเู่ สมอ และจำ� เปน็ ตอ้ งอา่ นหรอื ขาน ให้ทราบ ควรจดจำ� ไว้ด้วยดงั นี้ A = อัลฟ่า B = บราโว่ O = ชาล ี D = เดลต้า E = เอคโก้ F = ฟอกทรอต G = กอล์ฟ H = โฮเตล I = อนิ เดีย J = จเู ลยี ต K = กโิ ล L = ลีม่า M = ไมค์ N = โนเวมเบอร์ O = ออสก้า P = ปาป้า Q = ควิ เบค R = โรเมโอ S = เซียร่า T = แทงโก้ U = ยนู ฟิ อร์ม V = วคิ เตอร์ W = วิสกี ้ X = เอกซเรย์ Y = แยงก้ี Z = ซูลู 13. มาตรฐานของความถูกตอ้ งและการปดั เศษ 154 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ก. ความถูกต้องมาตรฐานของการก�ำหนดท่ีต้ังเป้าหมาย และการปรับการยิง ของ ผตน. นน้ั ให้ถอื เกณฑ์ดงั ต่อไปนี้ เว้นแต่จะกล่าวเป็นอย่างอ่นื 1. ทศิ ทาง มมุ ภาคหรอื แนวอ้างอน่ื ๆ เต็ม 10 มลิ . 2. การย้ายทางเข้า (ข/ซ) เตม็ 10 เมตร 3. การย้ายทางระยะ (พ/ล) เตม็ 100 เมตร (เว้นเม่ือของ ยผ.) 4. การย้ายทางสงู หรอื ทางด่งิ (ส/ต) เตม็ 5 เมตร 5. พกิ ัดตารางละเอยี ด (จล.ม. ยผ.) เต็ม 10 เมตร (8 ตำ� แหน่ง) 6. พิกดั ตารางหยาบ (ม.ปรบั ) เตม็ 100 เมตร (6 ต�ำแหน่ง) ข. ส�ำหรับการปัดเศษทศนิยมน้ัน ให้ใช้ตามวิชาหลักยิง ป. ท่ีก�ำหนดเป็น มาตรฐานไว้ดงั นี้ (ถ้าจ�ำเป็นจะต้องปัด) 1. ทศนยิ มท่นี ้อยกว่า 0.5 ให้ปัดท้งิ เช่น 22.4 ปัดเป็น 22 2. ทศนยิ มท่มี ากกว่า 0.5 ให้ปัดขึน้ เช่น 22.6 ปัดเป็น 23 3. ทศนยิ ม 0.5 ให้ปัดเป็นเลขจำ� นวนคู่ เช่น 22.5 ปัดเป็น 22 หมายเหตุ ท้ังน้เี พราะว่า ในวิชาหลกั ยิง ป. นน้ั มกั จะมีการแบ่งครึง่ หรือผ่า ห้วงควบอยู่เสมอจำ� นวนคู่จะง่ายในการแบ่งยิ่งกว่า

บทที่ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 155 การก�ำหนดท่ีต้งั เปา้ หมาย 1. กล่าวทัว่ ไป ก. การกำ� หนดทตี่ ง้ั เปา้ หมายและการหาหลกั ฐานเรม่ิ แรกกอ่ นทจ่ี ะยงิ นนั้ จำ� เปน็ อยา่ งยงิ่ ทจ่ี ะตอ้ งใชว้ ธิ หี รอื มาตรการทถ่ี กู ตอ้ งทส่ี ดุ ทมี่ อี ยหู่ รอื ทใี่ ชไ้ ด้ ทง้ั นก้ี เ็ พอ่ื ให้ 1. ปลอดภยั ตอ่ ฝา่ ยเรา 2. ประหยดั กระสนุ (ยงิ ปรบั แตน่ อ้ ย) 3. ประหยดั เวลา (ยงิ หาผลไดเ้ รว็ ) 4. เพม่ิ พนู ผลการยงิ ใหท้ วขี นึ้ (เกดิ การจโู่ จมมากขนึ้ ) ข. การกำ� หนดทต่ี ง้ั เปา้ หมายของ ผตน. นนั้ จะตอ้ ง 1. กำ� หนดทอ่ี ยขู่ องตนใหถ้ กู ตอ้ งมากทส่ี ดุ (ไมค่ วรผดิ พลาดเกนิ 100 เมตร) 2. ใชภ้ มู ปิ ระเทศเดน่ ๆ ชว่ ยในการหาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งแผนทก่ี บั พน้ื ที่ บรเิ วณเปา้ หมาย 3. ศกึ ษาแผนทแ่ี ละภมู ปิ ระเทศอยา่ งละเอยี ดตอ่ เนอื่ ง 4. หาจดุ หรอื ตำ� บลทเี่ สน้ ตารางตา่ ง ๆ ของแผนที่ ขดี ผา่ นและจดจำ� ไวใ้ หด้ ี 5. เตรยี มใชเ้ ครอ่ื งชว่ ยในการตรวจการณต์ า่ ง ๆ ทก่ี ลา่ วไวแ้ ลว้ อยา่ งประณตี และใชอ้ ยา่ งมากทสี่ ดุ เสมอ 6. พยายามแสวงหาประโยชนจ์ ากการยงิ ทแี่ ลว้ ๆ มา

156 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 2. วิธีกำ�หนดที่ตง้ั เปา้ หมาย ก. โดยท่ัวไปแล้ว ผตน. กำ� หนดท่ตี ้ังเป้าหมายด้วยวิธหี ลกั 3 วธิ ี ด้วยกันคอื 1. พกิ ัดตาราง (Grid Coordinates) 2. โปล่าร์ (Polar Coordinates) 3. ย้ายจากจดุ ทราบท่ีตง้ั (Shit Form a Known Point) ข. ปกติแล้วการก�ำหนดที่ตั้งเป้าหมายที่จะมีการปรับการยิงจะประกอบด้วย 2 ส่วนใหญ่ ๆ คอื 1. แนวตรวจการณ์ หรือทศิ ทางของแนวตรวจการณ์ท่ี ผตน. ให้ตรวจและ ปรบั การยิง 2. ทีต่ ั้งของเป้าหมาย ได้แก่ ที่อยู่ของเป้าหมายหรอื ต�ำบลที่จะยงิ ในแผนท่ี อาจกำ� หนดดว้ ยวธิ กี ารหลายแบบ และอาจมหี ลายองคป์ ระกอบ ทง้ั นกี้ เ็ พอื่ ให้ ศอย. สามารถ กำ� หนดท่ตี ัง้ นั้น ลงในแผ่นเรขายงิ ได้ ค. แนวตรวจการณค์ อื แนวท่ี ผตน. ใชอ้ า้ งในการทจ่ี ะกำ� หนดวา่ เปน็ ซา้ ย-ขวา- หนา้ -หลงั ในการนบั ตำ� บลระเบดิ ของกระสนุ เขา้ สเู้ ปา้ หมาย หรอื ตำ� บลทต่ี อ้ งการ ซงึ่ เรยี กวา่ การปรับการยิงหรือใช้อ้างในการตรวจผลการยิงสู้ แนวตรวจการณ์นี้ ปกติแล้วนิยมใช้อยู่ 4 แบบ กล่าวคอื 1. มมุ ภาคผู้ตรวจการณ์เป้าหมาย (แนว ตม.) ได้แก่ มุมภาคตารางหรอื มมุ ภาคเขม็ ทศิ จาก ผตน. ไปยงั เปา้ หมายวธิ นี ส้ี ะดวกและนยิ มใหม้ ากทสี่ ดุ เชน่ “มมุ ภาค 1200 หรอื มุมภาคเขม็ ทศิ 4,800” เป็นต้น 2. แนวปนื -เปา้ หมาย (แนว ปม.) ถา้ ผตน. ไมอ่ าจหามมุ ภาค ตม. ได้ แตท่ ราบวา่ แนว ปม. อยแู่ นวใด กอ็ าจใหแ้ นว ปม. ในการตรวจการณไ์ ด้ เชน่ “ทศิ ทางแนว ปม.” เปน็ ตน้ 3. ทศิ หลกั ได้แก่ การกำ� หนดทศิ หลักท้งั 8 ทิศ ที่จะใช้อ้างในการตรวจการณ์ เมอื่ ผตน. ไมส่ ามารถหามมุ ภาคได้ แตส่ ามารถทราบทศิ หลกั เหลา่ นน้ั เชน่ “ทศิ ทางตะวนั ออก เฉยี งใต้” เป็นต้น 4. แนวอา้ งอน่ื ๆ ถา้ ผตน. ไมอ่ าจหาหรอื ทราบแนวตรวจการณด์ งั กลา่ วแลว้ ได้ ก็อาจก�ำหนดแนวใดแนวหนึ่งข้ึนเป็นแนวตรวจการณ์ได้ แต่ต้องมั่นใจว่า ศอย. สามารถ ทราบได้ เช่น แนวถนน ทางรถไฟหรอื ยอดเขาต่าง ๆ เช่น “ทิศทางยอดเขา 642, เขา 534” เป็นต้น

ง. แนวตรวจการณ์น้ี จำ� เป็นต้องบอกเสมอ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ เมอ่ื จะต้องปรบั เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 157 การยิง ถ้า ผตน. ไม่สามารถบอกได้ในครง้ั แรกหรือเมอ่ื ผตน. ต้องเคล่ือนทีจ่ ะรายงานแนว ตรวจการณ์ก่อนทจ่ี ะปรบั ในนัดน้ัน ๆ กไ็ ด้ เช่น “มมุ ภาค 0140 ขวา 40 เพ่มิ 100” เป็นต้น หมายเหตุ แนวปืน-เป้าหมาย, ทศิ หลกั และแนวอ้างอ่ืน ๆ ใช้มากในกรณีที่ - ผตน. ไม่มเี คร่ืองมอื วัดมมุ ภาค - ผตน. ใช้เขม็ ทิศไม่ได้ เช่น อยู่บนรถถัง - ผตน. เคล่ือนท่อี ยู่เสมอ เช่น เมอ่ื ต้องเดนิ ทางไปกบั ทหารราบหรือนงั่ อยู่ บนรถถัง หรอื เป็น ผตอ. เป็นต้น 3. การก�ำ หนดที่ตั้งเป้าหมายโดยวธิ พี ิกดั ตาราง ก. แผนท่ีทางทหารจะมีตารางระบบ UTM. เอาไว้ส�ำหรับก�ำหนดที่ต้ังต่าง ๆ เรยี กว่า พกิ ัดตาราง ประกอบด้วย พิกดั ตะวันออก (แกนต้งั ) และพิกัดเหนอื (แกนนอน) ข. องค์ประกอบของการกำ� หนดท่ตี ัง้ เป้าหมาย ด้วยวิธพี ิกัดตาราง คอื 1. พกิ ดั (ตะวนั ออก-เหนอื ) จำ� นวน 8 หรอื 6 ตำ� แหนง่ (ละเอยี ด 10 หรอื 100 เมตร) 2. แนวตรวจการณ์ ถ้าเป็นมมุ ภาคใช้เตม็ 10 มิลเลียม ตวั อย่างเช่น พกิ ัด 84645431 มมุ ภาค 0800 พิกัด 962485 มุมภาคเขม็ ทิศ 1220 พิกัด 943544 ทิศทางปืนเป้าหมาย พิกัด 56432984 ทศิ ทางยอดเขา 456 เขา 323 ค. การก�ำหนดท่ีต้ังเป้าหมายแบบนี้ไม่จ�ำเป็นต้องบอกความสูงของเป้าหมาย เพราะ ศอย. สามารถหาไดจ้ ากแผนทอ่ี ยแู่ ลว้ แตถ่ า้ ผตน. ทราบความสงู ของเปา้ หมายไดแ้ นช่ ดั และดีกว่า ศอย. กอ็ าจจะบอกไปด้วยก็ได้ ง. เปา้ หมายทก่ี ำ� หนดไวแ้ ลว้ หรอื เคยยงิ มาแลว้ ผตน. จะขอยงิ กค็ งใชอ้ งคป์ ระกอบ แบบพิกดั ตารางน้ี เช่น “เป้าหมาย กข 6010 มมุ ภาค 1200” เป็นต้น จ. การหาพกิ ดั ของจดุ ใด ๆ นน้ั ผตน. หาได้โดย 1. การตรวจ (Map Spot) คอื เปรยี บเทยี บลกั ษณะภมู ปิ ระเทศกบั แผนที่ แลว้ จงึ ก�ำหนดจดุ ท่ีเป้าหมายอยู่ลงไป แล้ววดั พกิ ัดด้วยบรรทดั ฉาก หรอื ประมาณด้วยสายตา

158 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 2. การกรยุ แบบโปล่าร์ (Polar plot) ดำ� เนินการ ดงั นี้ ก) หาท่อี ยู่ของตนเอง ข) วัดมมุ ภาคไปยงั เป้าหมาย ค) ประมาณหรอื หาระยะไปยงั เป้าหมาย ง) ใช้แผ่นพดั ตรวจการณ์ โค้งวัดมมุ หรือขดี แบ่งเอาเอง ลากเส้นมมุ ภาค ทว่ี ัดได้ลงบนแผนท่ี จ) ดว้ ยระยะทหี่ าไดจ้ าก ขอ้ ค) กำ� หนดทอ่ี ยขู่ องเปา้ หมายลงบนเสน้ มมุ ภาค ฉ) ใช้บรรทดั ฉากวดั พิกัดของจดุ ท่ีตั้งเป้าหมายนน้ั ช) การเตรียมการต่าง ๆ ไว้ล่วงหน้าดังที่กล่าวไว้แล้วในบทท่ีว่าด้วย เครอื่ งชว่ ยในการตรวจการณ์ จะทำ� ให้ ผตน. กำ� หนดทต่ี ง้ั ตา่ ง ๆ ไดร้ วดเรว็ และถกู ตอ้ งยง่ิ ขนึ้ ซ) ในการก�ำหนดท่ีต้ังใด ๆ ลงบนแผนท่ีน้ัน จะต้องพิจารณาลักษณะ ภมู ิประเทศประกอบกบั แผนทีอ่ ย่างรอบคอบก่อนเสมอ เพ่อื ป้องกนั ความผิดพลาด ฉ. การก�ำหนดที่ต้ังเป้าหมายด้วยวิธีพิกัดตารางนี้ เป็นวิธีท่ีใช้มากและเป็น ประโยชน์มากเพราะ 1. ไม่จำ� เป็นต้องทราบท่อี ยู่ของ ผตน. หรือท่ตี รวจการณ์กไ็ ด้ 2. ไม่ต้องอ้างกับจุดที่อ่ืนใด ซึง่ อาจผิดพลาดหลายต่อ โดยปกติ ผตน. กำ� หนดทต่ี งั้ เปา้ หมายดว้ ยวธิ พี กิ ดั ตารางละเอยี ด 100 เมตร (6 ตำ� แหนง่ ) เวน้ ไวแ้ ต่ พกิ ดั จดุ ยงิ หาหลกั ฐานและเป้าหมายตามแผน จำ� เป็นต้องละเอียด 10 เมตร (8 ต�ำแหน่ง) 4. การกำ�หนดท่ีตงั้ เปา้ หมายโดยวิธโี ปลา่ ร์ ก. วิธีโปล่าร์ คือ วิธีแสดงที่ต้ังโดยอาศัยระยะและทิศทางจากจุดหลักจุดหนึ่ง โดยปกติแล้ว ผตน. อาศยั ทอี่ ยู่ของตนเองหรอื ทต่ี ้งั ทต่ี รวจการณ์ เป็นจดุ หลักทใี่ ช้อ้าง ข. องค์ประกอบของวธิ โี ปล่าร์ 1. จุดอ้าง ถ้าเป็นทอ่ี ยู่ของตนเองและ ศอย. ทราบแล้วไม่ต้องบอก 2. มมุ ภาคหรอื ทิศทางจากจดุ อ้างไปจุดนนั้ (มิลเลยี มหรอื องศา) 3. ระยะจากจดุ อ้างไปยงั จดุ นน้ั (เมตรหรือหลา) 4. แตกต่างสงู ของจดุ น้นั กบั จดุ อ้าง (สงู ข้นึ -ตา่ํ ลง)

ค. ตวั อย่างเช่น เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 159 - มมุ ภาค 1,060 ระยะ 2,000 สงู ขนึ้ 35 แสดงว่าใช้ทีอ่ ยู่ของ ผตน. หรือ ต. เป็นจุดอ้าง - จากยอดเนนิ 630 มมุ ภาค 1,200 ระยะ 3,000 ตาํ่ ลง 60 แสดงว่าใช้ ยอดเนิน 630 เป็นจดุ อ้าง - จากพกิ ัด 648053 มมุ ภาค 0200 ระยะ 1,000 แสดงว่าขณะนัน้ ผตน. อยู่ที่พกิ ัด 648053 ง. ข้อควรระลกึ ในการกำ� หนดท่ตี ั้งเป้าหมายโดยวธิ ีโปล่าร์ 1. ที่ตัง้ ของจดุ อ้าง ศอย. ต้องทราบ เช่น ผตน. ได้รายงานที่อยู่ของตนเอง แล้ว หรอื ทราบว่า ต. ต่าง ๆ อยู่ ณ พิกดั ใด ถ้ายงั ไม่ทราบต้องแจ้งให้ทราบ 2. มมุ ภาค ควรให้ละเอยี ดและถกู ต้องทสี่ ุด ปกติใช้ 10 มลิ . 3. ทิศทางอน่ื ๆ เช่น ตะวันออก เหนอื เป็นต้น รวมท้ังมมุ ภาคเขม็ ทศิ ก็อาจ ใช้เป็นข้อก�ำหนดท่ตี งั้ ได้เช่นกนั 4. สำ� หรบั ทศิ ทางตรวจการณน์ นั้ ถา้ ผตน. กำ� หนดทต่ี ง้ั เปา้ หมายดว้ ยวธิ โี ปลา่ ร ์ จากทอ่ี ยู่ของตน และใช้แนวน้นั เป็นแนวตรวจการณ์ไม่ต้องบอกอีก แต่ถ้าแนวตรวจการณ์ เปลี่ยนแปลงหรอื ใช้จดุ อ่นื เป็นจดุ อ้างต้องบอกทิศทางตรวจการณ์ด้วยเสมอ 5. ระยะปกตใิ ช้เตม็ 100 เมตร แต่ถ้าทราบระยะถกู ต้องกว่าน้ี กใ็ ช้ละเอียด กว่าน้ไี ด้ ความถูกต้องกจ็ ะดขี ึน้ เช่น ในกรณที ี่ ผตน. มกี ล้องวัดระยะด้วยแสงเลเซอร์ 6. สำ� หรบั แตกตา่ งสงู นนั้ ในกรณที ตี่ อ้ งการยงิ หาผลเลย ผตน. ตอ้ งบอกเสมอ ในกรณีอ่ืน ๆ เช่น ภารกิจปรับการยิงหรือไม่แน่ใจในความสูง หรือต้องการความรวดเร็ว ไม่ต้องบอกกไ็ ด้ ถ้าแตกต่างสูงนน้ั ไม่มากกว่า 300 เมตร จ. วธิ ีโปล่าร์น้ี มีข้อดี คอื 1. ผตน. ไม่ต้องใช้แผนท่ปี ระกอบ 2. เป็นวธิ ีทีง่ ่ายและรวดเรว็ มาก ฉ. ส่วนข้อเสยี ได้แก่ ในขณะเคล่อื นท่ี ผตน. ย่อมยากและเสียเวลาในการเข้า ประมวลลับ รายงานทอ่ี ยู่ของตนเอง และเสยี่ งต่อการที่ข้าศกึ จะดกั จับได้ ช. วิธีปฏบิ ตั โิ ดยทวั่ ไปกค็ อื 1. เมอ่ื เหน็ เปา้ หมาย ผตน. ใชเ้ ขม็ ทศิ หรอื กลอ้ งสอ่ งสองตา วดั มมุ ภาคไปยงั เป้าหมายนน้ั

160 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 2. ประมาณระยะไปยงั เป้าหมายนน้ั 3. ประมาณหรอื วัดความสูงของเป้าหมาย โดยใช้เขม็ ทศิ เอ็ม 2 วัด มมุ ดง่ิ แล้วน�ำมาค�ำนวณหาแตกต่างสงู โดยใช้กฎ กผร. 5. การกำ�หนดทตี่ ้งั เปา้ หมายโดยวิธียา้ ยจากจุดทราบท่ีตัง้ ก. จุดทราบทต่ี ้งั คอื จดุ ท่ี ผตน. และ ศอย. ทราบที่ตง้ั อยู่แล้ว และกรุยลงใน แผ่นเรขายิงแล้ว หรืออาจจะกรุยลงได้ง่าย ๆ เช่น จุดยิงหาหลักฐาน เป้าหมายท่ีเคยยิง แล้วยอดเขาหรอื ภูมปิ ระเทศทเ่ี ด่น ๆ ซึ่งปรากฏอยู่ในแผนที่ ข. องคป์ ระกอบของการกำ� หนดทตี่ ง้ั เปา้ หมายโดยวธิ ยี า้ ยจากจดุ ทราบทต่ี ง้ั คอื 1. จุดทราบท่ตี ั้งท่ีใช้อ้าง 2. แนวตรวจการณ์ท่ใี ช้อ้างไปยังเป้าหมาย 3. การย้ายทางข้างหรอื ทางทศิ จากจดุ อ้างไปยงั เป้าหมาย 4. การย้ายทางระยะเปรยี บเทยี บระหว่างจดุ อ้างและเป้าหมาย 5. การย้ายทางสูงหรอื แตกต่างสงู ระหว่างจุดอ้างและเป้าหมาย ค. วธิ ปี ฏบิ ัตโิ ดยทั่วไปกค็ ือ 1. ผตน. กำ� หนดจดุ ทราบท่ตี ั้งทีใ่ ช้อ้าง เช่น จล.1 จากยอดเนิน 642 2. หาทศิ ทางตรวจการณ์ไปยงั เป้าหมายด้วยวธิ ใี ดวิธีหน่งึ เหล่านี้ ก) มุมภาค ตม. เช่น มมุ ภาค 1,300 มุมภาคเขม็ ทิศ 60 ข) ทศิ หลัก เช่น ทศิ ทางตะวนั ออก ทศิ ทางตะวนั ตกเฉียงใต้ ค) แนว ปม. เช่น ทศิ ทางแนวปืนเป้าหมาย ง) แนวอ้างอน่ื ๆ เช่น ทศิ ทางถนนพหลโยธินไปโคกส�ำโรง 3. หาการย้ายทางข้างจากจุดอ้างไปยังเป้าหมาย โดยวัดง่ามมุมระหว่าง จุดอ้างและเป้าหมายหรือโดยการกะประมาณ เมื่อวัดง่ามมุมได้แล้วน�ำมาค�ำนวณหา การยา้ ยทางขา้ งโดยใชก้ ฎ กผร. เมอ่ื งา่ มมมุ นอ้ ยกวา่ 600 มลิ . เชน่ วดั งา่ มมมุ จาก จล. ไปยงั ม. ได้ 100 มลิ . ระยะไป จล. 2,000 เมตร ระยะไป ม. 2,500 เมตร ม.อยู่ทางขวา การย้ายทางข้าง (ใช้กฎ กผร.) = 2,000/1,000 x 100 = ขวา 200

หมายเหตุ : เมือ่ ง่ามมมุ ต้ังแต่ 600 มลิ . ข้ึนไป ความถกู ต้องในการคำ� นวณการย้ายทาง เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 161 ข้างจะลดลง จงึ ควรก�ำหนดท่ตี ง้ั เป้าหมายโดยใช้วิธอี ่นื หากใช้แนวอ้างหรอื แนวตรวจการณ์อืน่ ๆ ท่มี ิใช่แนว ตม. ก็ให้กะประมาณว่า เปา้ หมายอยทู่ างขวาหรอื ซา้ ยของจดุ อา้ งไปเทา่ ใด โดยใชแ้ นวอา้ งนน้ั เปน็ หลกั ในการคดิ ขวาซา้ ย 4. หาการยา้ ยทางระยะ โดยเปรยี บเทยี บกบั แนวอา้ งทกี่ ำ� หนด ถา้ ใชแ้ นว ตม. เปน็ แนวอา้ งกค็ งใชก้ ฎ กผร. เชน่ จากตวั อยา่ งในขอ้ 3) การยา้ ยทางระยะคอื 2,500 - 2,000 = เพม่ิ 500 หากเป็นการใช้แนวอ้างอ่นื ๆ ก็ให้พจิ ารณาเอาว่า เป้าหมายอยู่หน้าหรือหลงั จุดอ้างเท่าใด โดยยดึ หลกั แนวอ้างเป็นหลกั 5. การย้ายทางสงู นน้ั มขี ้อพจิ ารณาเช่นเดียวกับวธิ ีโปล่าร์ กล่าวคอื ก) เมอ่ื กำ� หนดทต่ี ง้ั เปา้ หมายอยา่ งละเอยี ด เชน่ ในภารกจิ ทจ่ี ะยงิ หาผลเลย ควรหาและรายงานให้ ศอย. ทราบเสมอ ข) ในกรณที ต่ี อ้ งการความเรง่ ดว่ นหรอื มกี ารปรบั หากแตกตา่ งสงู ระหวา่ ง เป้าหมายและจดุ อ้างไม่มากกว่า 30 เมตร (35 เมตร) ผตน. กไ็ ม่จ�ำเป็นต้องบอกกไ็ ด้ การหาแตกตา่ งสงู นนั้ อาจจะกระทำ� ไดโ้ ดยใชก้ ลอ้ ง ผบ.รอ้ ย. หรอื เขม็ ทศิ เอ็ม.2 วัดมุมดิ่งเปรียบเทียบกันระหว่างจุดอ้างและเป้าหมาย แล้วใช้กฎ กผร. ค�ำนวณ หาความสูงของ 2 จดุ นน้ั เช่น ในกรณีข้อ ก) สมมติว่า ผตน. วัดมุมดิ่งของ จล. ได้ + 5 มลิ . วดั มมุ ด่ิงของ ม. ได้ + 6 มลิ . กจ็ ะหาความสูงท่แี ตกต่างระหว่าง จล. กบั ม. ได้ดังนี้ - แตกต่างสูงของ ต.- จล. = 5 X 2,000/1,000 = + 10 เมตร - แตกต่างสูงของ ต.- ม. = 6 X 2,500/1,000 = + 15 เมตร นน่ั คอื ม. สูงกว่า จล. = 15 - 10 = สูงข้ึน 5 ง. ข้อดีของการก�ำหนดเป้าหมายวิธีนี้ก็คือ ผตน. ไม่ต้องใช้แผนที่ประกอบ มีความถูกต้องพอสมควร แต่เป็นวธิ ีท่ีช้าท่สี ดุ ในการก�ำหนดท่ตี ้งั เป้าหมายทัง้ 3 วิธี จ. ในกรณีท่ีทัศนวิสัยเลว แผนที่เช่ือถือไม่ได้ ภูมิประเทศลวงตา หรือ ผตน. ต้องเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว เป็นต้น ผตน. อาจจะล�ำบากในการก�ำหนดจุดท่ีทราบท่ีต้ัง ไดถ้ กู ตอ้ ง การแกป้ ญั หากอ็ าจจะทำ� ไดโ้ ดยขอให้ ศอย. ยงิ หมายพกิ ดั หรอื ภมู ปิ ระเทศเดน่ ๆ หรือแม้แต่การหมายกึ่งกลางเขตปฏิบัติการ แล้วใช้ต�ำบลระเบิดนั้น ๆ เป็นจุดทราบที่ต้ัง และทำ� การกำ� หนดท่ตี งั้ เป้าหมายด้วยวธิ ยี ้ายจากจดุ ทราบท่ตี ง้ั นก้ี ไ็ ด้

6. สรปุ การกำ�หนดท่ีตง้ั เปา้ หมาย ก. วธิ ีพิกดั ตาราง 1. พิกดั ตาราง (พกิ ดั ) 100 หรอื 10 เมตร (6 หรอื 8 ตำ� แหนง่ ) 2. มมุ ภาค ตม. (มมุ ภาค) 10 มิล. (4 ตำ� แหน่ง) ข. วิธีโปล่าร์ 1. มมุ ภาค ตม. (มมุ ภาค) 10 มิล. (4 ตำ� แหน่ง) 2. ระยะ ตม. (ระยะ) 100 เมตร 3. แตกต่างสงู ตส. (สงู ข้นึ -ต่าํ ลง) 5 เมตร ค. วิธีย้ายจากจดุ ทราบท่ตี งั้ 1. จดุ ทราบท่ตี ้งั (จาก) 2. มุมภาค ตม. (มมุ ภาค) 10 มิล. (4 ตำ� แหน่ง) 3. การย้ายทางข้าง (ขวา, ซ้าย) 10 เมตร 4. การย้ายทางระยะ (เพ่มิ , ลด) 100 เมตร 5. การย้ายทางสงู (สูงข้นึ , ต่าํ ลง) 5 เมตร 162 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ง. มุมภาค ตม. นนั้ ปกตแิ ล้วใช้อ้างถึงแนวตรวจการณ์ และเป็นแนวอ้างอิงใน การกำ� หนดท่ีตั้งเป้าหมายด้วยวิธีโปล่าร์และการย้ายจากจุดทราบที่ต้ัง นอกจากจะใช้แนว ตม. แล้วอาจใช้แนวอน่ื ๆ แทนกไ็ ด้ คอื 1. แนวปืนเป้าหมาย 2. ทศิ หลกั ทั้ง 8 3. แนวอ้างอน่ื ๆ จ. ตวั อย่างการกำ� หนดท่ตี ง้ั เป้าหมายแบบต่าง ๆ 1. วธิ ีพิกดั ตาราง “พกิ ดั 413492 มุมภาค 0210” 2. วิธโี ปล่าร์ “มมุ ภาค 1210 ระยะ 2,000 ต่าํ ลง 45” หรอื “จากยอดเนนิ 462 มุมภาค 1,220 ระยะ 1,500 ตา่ํ ลง 35” 3. วธิ ยี ้ายจากจดุ ทราบท่ตี ั้ง “จาก จล.1 มมุ ภาค 0510 ขวา 150 ลด 400 สงู ขึ้น 35” หรอื “จากยอดเนนิ 510 ทางรถไฟไปวฒั นานคร ซ้าย 410 เพ่มิ 1,100 ต่าํ ลง 45”

บทท่ี เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 163 คำ� ขอยงิ ตอนท่ี 1 องคป์ ระกอบค�ำ ขอยิง 1. กลา่ วทัว่ ไป ก. คำ� ขอยงิ (Call For Fire) ไดแ้ ก่ ขา่ วสารทจ่ี ำ� เปน็ ท่ี ศอย. พงึ ทราบ เพอ่ื พจิ ารณา วธิ โี จมตเี ปา้ หมายใหไ้ ดผ้ ล ซง่ึ เตรยี มขน้ึ โดย ผตน. หรอื ผทู้ ข่ี อใหท้ ำ� การโจมตเี ปา้ หมาย ข. คำ� ขอยงิ นจ้ี ะตอ้ งสง่ อยา่ งรวดเรว็ ทสี่ ดุ แตจ่ ะตอ้ งใหแ้ จม่ แจง้ ชดั เจนเพยี งพอ ในอนั ทจี่ ะเขา้ ใจบนั ทกึ และทวนขา่ วไดอ้ ยา่ งไมผ่ ดิ พลาด ค. เมอ่ื ผตน. เหน็ เปา้ หมายและกำ� ลงั หาหลกั ฐานอยู่ ควรทจี่ ะไดบ้ อกพลวทิ ยุ โทรศพั ทข์ องตนทนั ที เพอื่ ใหพ้ ลวทิ ยเุ รมิ่ เรยี กและเรมิ่ สง่ คำ� ขอยงิ สว่ นทส่ี ง่ ไดไ้ ปกอ่ น ในขณะ ท่ี ผตน. กำ� ลงั หาทตี่ ง้ั เปา้ หมายอยู่ แทนทจี่ ะคอยจนเสรจ็ สมบรู ณแ์ ลว้ จงึ เรม่ิ เรยี ก ง. องคป์ ระกอบของคำ� ขอยงิ มี 6 ประการดว้ ยกนั คอื 1. การแสดงตนของผตู้ รวจการณ์ (Observer Indenticif ation) 2. คำ� สง่ั เตอื น (Warning Order) 3. ทต่ี งั้ เปา้ หมาย (Target Location) 4. ลกั ษณะเปา้ หมาย (Target Description) 5. วธิ โี จมตี (Method of Engagement) 6. วธิ ยี งิ และการควบคมุ (Method of Fire and Control)

164 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ จ. ไม่ว่าจะก�ำหนดที่ตั้งเป้าหมายแบบใด ค�ำขอยิงควรจะส่งเป็น 3 กลุ่มหรือ 3 สว่ นใหญ่ ๆ แลว้ หยดุ และใหท้ วนขา่ วในแตล่ ะตอน กลา่ วคอื 1. การแสดงตนของผตู้ รวจการณแ์ ละคำ� สง่ั เตอื น 2. ทตี่ ง้ั เปา้ หมาย 3. ลกั ษณะเปา้ หมาย วธิ โี จมตี วธิ ยี งิ และการควบคมุ 2. การแสดงตนของผตู้ รวจการณ์ (บอกเสมอ) คอื การเรยี กขานทางการสอื่ สารดว้ ยนามสถานหี รอื ประมวลลบั ให้ ศอย. ทราบวา่ ใครเรยี กและขอยงิ เพอ่ื ท่ี ศอย. จะไดร้ ะงบั การสอ่ื สารอน่ื ๆ เสยี เชน่ “ลพบรุ ี 18 จาก ลพบรุ ี 24” 3. คำ�สัง่ เตือน (บอกเสมอ) เป็นการแสดงความเร่งด่วนในการสอ่ื สาร และเตอื นเจ้าหน้าที่ ศอย. ให้เตรยี ม ปฏบิ ตั ิภารกจิ ประกอบด้วยส่วนสำ� คัญคือ ประเภทของภารกจิ ขนาดหน่วยท่ีจะยงิ และวิธี ก�ำหนดทต่ี ั้งเป้าหมายทจ่ี ะตามมา ก. ประเภทของภารกจิ (Type of Mission) ภารกจิ ยงิ มหี ลายแบบ ตามแต่ ผตน. จะเลือกใช้ส่วนใหญ่ คอื 1. ปรบั การยงิ (ปย.) เมอ่ื ผตน. ตอ้ งการปรบั การยงิ กอ่ นทจ่ี ะยงิ หาผลอาจจะ เป็นเพราะการก�ำหนดที่ต้ังเป้าหมายไม่แน่นอน หรือขาดตัวแก้ท่ีเหมาะสม ก็จะระบุใน ค�ำส่ังเตอื นว่า “ปรบั การยงิ ” 2. ยงิ หาผล (ยผ.) ผตน. ควรจะแสวงหาประโยชนจ์ ากการยงิ หาผลในนดั แรก ไวเ้ สมอ ความถกู ตอ้ งของการยงิ หาผลนน้ั ขน้ึ อยกู่ บั ความถกู ตอ้ งในการกำ� หนดทต่ี งั้ เปา้ หมาย ลักษณะเป้าหมายและกระสุนที่จะใช้ยิงเป็นส�ำคัญ เมื่อ ผตน. เห็นว่าการก�ำหนดที่ต้ัง เปา้ หมายถกู ตอ้ งเพยี งพอทจ่ี ะยงิ หาผลไดใ้ นนดั แรก กจ็ ะระบใุ นคำ� สง่ั เตอื นมาวา่ “ยงิ หาผล” 3. ยิงข่ม (ยข.) เมื่อ ผตน. ต้องการท่ีจะให้ท�ำการยิงอย่างรวดเร็วลงบน เปา้ หมายทย่ี งั ไมไ่ ดม้ กี ารปฏบิ ตั ติ อ่ ฝา่ ยเรา ผตน. กจ็ ะขอใหย้ งิ ขม่ แลว้ ตามดว้ ยชอื่ หรอื หมายเลข เปา้ หมาย การยงิ ขม่ ปกตแิ ลว้ มกั จะทำ� การยงิ ตอ่ เปา้ หมายตามแผน ตามคำ� ขอทวี่ างแผนไว้ เช่น “ยงิ ข่ม เป้าหมาย กข 1001”

4. ยงิ ข่มฉบั พลนั (ยฉ.) และควนั ฉบั พลนั เมอื่ ผตน. ต้องการให้ยงิ อย่าง เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 165 รวดเรว็ ตอ่ เปา้ หมายทว่ี างแผนไวแ้ ลว้ หรอื เปา้ หมายตามเหตกุ ารณ์ เพอื่ สนบั สนนุ ฝา่ ยเราใน การดำ� เนนิ กลยทุ ธ์ หรอื หนว่ ยเคลอ่ื นทที่ างอากาศภายใตก้ ารยงิ ผตน. กจ็ ะขอยงิ ขม่ ฉบั พลนั หรอื ควนั ฉบั พลนั แลว้ ตามดว้ ยการกำ� หนดทต่ี งั้ เปา้ หมาย การกำ� หนดทต่ี งั้ เปา้ หมายวธิ พี กิ ดั ตารางเปน็ วธิ ที ด่ี ที สี่ ดุ สว่ นวธิ อี น่ื กอ็ าจนำ� มาใชไ้ ด้ เชน่ “ยงิ ขม่ ฉบั พลนั ยอดเนนิ 176” การยงิ ขม่ ฉบั พลนั นจ้ี ะยงิ เรว็ กวา่ การยงิ ขม่ และใชไ้ ดท้ ง้ั เปา้ หมายทว่ี างแผนไว้ และเปา้ หมายตามเหตกุ ารณท์ เ่ี พง่ิ ตรวจพบ ข. ขนาดหนว่ ยทจ่ี ะยงิ หาผล ผตน. อาจกำ� หนดขนาดหนว่ ยทจี่ ะใชท้ ำ� การยงิ หาผล ดว้ ยกไ็ ด้ ถา้ ไมก่ ำ� หนดกม็ กั จะไดห้ นว่ ยขนาดกองรอ้ ยยงิ หาผล เชน่ “ปรบั การยงิ กองพนั ” ค. วธิ ที ใ่ี ชก้ ำ� หนดทต่ี งั้ เปา้ หมาย 1. ถา้ ใชว้ ธิ โี ปลา่ ร์ กใ็ หร้ ะบุ “โปลา่ ร”์ ไวใ้ นคำ� สงั่ เตอื นดว้ ย เชน่ “ปรบั การยงิ โปลา่ ร์ เปลย่ี น” 2. ถา้ ใชว้ ธิ เี ลเซอรโ์ ปลา่ ร์ กใ็ หร้ ะบุ “เลเซอรโ์ ปลา่ ร”์ ไวใ้ นคำ� สง่ั เตอื นดว้ ย เชน่ “ปรบั การยงิ เลเซอรโ์ ปลา่ ร์ เปลยี่ น” 3. ถา้ จะใชว้ ธิ ยี า้ ยจากจดุ ทราบทต่ี ง้ั กใ็ หร้ ะบุ “จาก...(จดุ ทราบทตี่ งั้ ) เอาไว้ ดว้ ย เชน่ ปรบั การยงิ จาก กข 7101 เปลย่ี น” 4. ถา้ จะกำ� หนดทต่ี ง้ั เปา้ หมายดว้ ยวธิ พี กิ ดั ตาราง ไมต่ อ้ งระบใุ ด ๆ ในคำ� สง่ั เตอื นคอื ถา้ ไมร่ ะบุ “โปลา่ ร”์ หรอื “จาก...” ตวั อยา่ งขององคป์ ระกอบแรกทจี่ ะสง่ ขา่ วในคำ� ขอยงิ คอื ปรบั การยงิ ดว้ ยวธิ พี กิ ดั ตาราง “ลพบรุ ี 18 จาก ลพบรุ ี 24 ปรบั การยงิ เปลยี่ น” ยงิ หาผลดว้ ยวธิ โี ปลา่ ร์ “ลพบรุ ี 18 จาก ลพบรุ ี 24 ยงิ หาผลกองพนั โปลา่ ร์ เปลยี่ น” ปรบั การยงิ ดว้ ยวธิ ยี า้ ยจากจดุ ทราบทตี่ งั้ “ลพบรุ ี 18 จาก ลพบรุ ี 24 ปรบั การยงิ จาก กข 7101 เปลย่ี น”

166 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ การยิงข่ม “ลพบรุ ี 18 จาก ลพบรุ ี 24 ยงิ ข่ม กก 7749 เปลี่ยน” การยงิ ขม่ ฉบั พลนั “ลพบรุ ี 18 จาก ลพบรุ ี 24 ยงิ ขม่ ฉบั พลนั พกิ ดั 453215 เปลย่ี น” 4. การก�ำ หนดที่ตัง้ เปา้ หมาย (บอกเสมอ) องคป์ ระกอบนกี้ เ็ พอื่ ให้ ศอย. กรยุ ทตี่ ง้ั เปา้ หมายลงในแผน่ เรขายงิ และหาหลกั ฐาน ยงิ ไดน้ นั่ เอง ซง่ึ ไดก้ ลา่ วโดยละเอยี ดแลว้ ในตอนตน้ ในทนี่ จ้ี ะยาํ้ เฉพาะทส่ี ำ� คญั ก. พกิ ดั ตาราง ปกตใิ ช้ 6 ตำ� แหนง่ แตถ่ า้ ทำ� ไดก้ ค็ วรเปน็ 8 ตำ� แหนง่ โดยเฉพาะ อยา่ งยงิ่ จดุ ยงิ หาหลกั ฐานหรอื เปา้ หมายทจี่ ะทำ� การยงิ หาผลโดยไมป่ รบั เพอื่ ความรวดเรว็ ในการขอยงิ ทศิ ทางตรวจการณจ์ ะสง่ ในภายหลงั กไ็ ด้ เพราะ ศอย. ไมต่ อ้ งการใชป้ ระกอบในการกรยุ ทตี่ ง้ั เปา้ หมาย ข. วธิ โี ปลา่ ร์ เมอ่ื ขานวา่ โปลา่ รใ์ นคำ� สง่ั เตอื นไวแ้ ลว้ ศอย. กจ็ ะทราบและเตรยี ม การกรยุ ดว้ ยวธิ โี ปลา่ รไ์ วท้ นั ที ถา้ ผตน. ใชท้ อ่ี ยขู่ องตนเปน็ จดุ อา้ งในการกรยุ โปลา่ ร์ กจ็ ะขาน มมุ ภาค (10 มลิ .) และระยะ (100 เมตร) ศอย. กส็ ามารถกรยุ เปา้ หมายไดแ้ ลว้ และแจง้ ให้ ศอย. ทราบถงึ ผลการยา้ ยทางสงู (5 เมตร) โดยกำ� หนดเปน็ สงู ขนึ้ หรอื ตา่ํ ลงจากทตี่ งั้ ทต่ี รวจการณ์ เทา่ ไร การยา้ ยทางสงู อาจจะกำ� หนดเปน็ มมุ ดงิ่ (ด) เปา้ หมายเปน็ มลิ . โดยอาศยั ความสมั พนั ธ์ กบั ทต่ี ง้ั ทต่ี รวจการณ์ หมายเหตุ : สง่ ขอ้ มลู ในการใชเ้ ลเซอรส์ ำ� หรบั มมุ ใหใ้ ชค้ า่ ใกลเ้ คยี ง 1 มลิ . และ ระยะใชค้ า่ ใกลเ้ คยี ง 10 เมตร ค. ยา้ ยจากจดุ ทราบทต่ี ง้ั เมอื่ ขานจาก...(จดุ ทราบทตี่ ง้ั ) ไวใ้ นคำ� สง่ั เตอื นแลว้ ศอย. กพ็ รอ้ มทจ่ี ะกรยุ เปา้ หมาย ผตน. กจ็ ะสง่ มมุ ภาค (10 มลิ .) การยา้ ยทางขา้ ง (10 เมตร) การยา้ ยทางระยะ (100 เมตร) และการยา้ ยทางสงู (5 เมตร) ไปใหท้ ราบ องคป์ ระกอบใดทไี่ มใ่ ช้ ใหล้ ะเวน้ เสยี เพอื่ ความสะดวกในการสง่ ขา่ ว

5. ลักษณะเปา้ หมาย (บอกเสมอ เว้นแตก่ ารยงิ หาหลักฐาน) ผตน. บอกลกั ษณะเปา้ หมายสน้ั ๆ แตใ่ หก้ ระจา่ งพอที่ ศอย. จะพจิ ารณาจำ� นวน และประเภทของกระสนุ ในการโจมตไี ดอ้ ยา่ งเหมาะสม ลกั ษณะเปา้ หมายทคี่ วรจะบอก ไดแ้ ก่ ก. ชนดิ ของเปา้ หมาย เปา้ หมายนน้ั เปน็ อะไร เชน่ ทหาร ยานพาหนะ รถถงั คลงั อปุ กรณ์ เปน็ ตน้ ข. จำ� นวนของเปา้ หมาย เปา้ หมายนนั้ มจี ำ� นวนเทา่ ใด เชน่ หมู่ หมวด รถบรรทกุ 3 คัน เป็นต้น ค. การเคล่อื นไหวของเป้าหมาย เป้าหมายนัน้ ก�ำลังทำ� อะไร เช่น กำ� ลงั ขดุ หลุม ก�ำลังเคลอ่ื นท่หี รอื อยู่ในท่รี วมพล ง. การป้องกนั ของเป้าหมาย เป้าหมายนน้ั อยู่ในบงั เกอร์ หลุมบุคคล หรือในท่ี โล่งแจ้ง เป็นต้น จ. รูปร่างและขนาดของเป้าหมาย เป้าหมายนัน้ มีรูปร่างและขนาด ซึ่งมคี วาม สำ� คญั ในการยงิ เชน่ เปา้ หมายมรี ปู รา่ งเปน็ รปู สเ่ี หลย่ี มผนื ผา้ กใ็ หบ้ อกความยาวและความ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 167 กว้างเป็นเมตร และแนวเฉยี งมุมภาคตามแกนยาวของเป้าหมายตัง้ แต่ 0000 - 3,199 มลิ .) ใชค้ า่ ใกลเ้ คยี ง 100 มลิ . (แกนยาวของเปา้ หมายทำ� มมุ เปน็ แนวเฉยี งกบั ทศิ เหนอื ตารางเทา่ ไร ไม่ใช่มมุ ภาคจากผู้ตรวจการณ์ไปยังเป้าหมาย) เช่น บอกว่า “ค่ายทหารยาว 400 กว้าง 200 แนวเฉยี ง 2,800” ถ้าเป้าหมายมรี ปู ร่างเป็นวงกลมกใ็ ห้บอกรศั มไี ปดว้ ย เชน่ บอกว่า “ทหาร 1 กองพันในทร่ี วมพล รัศมี 200” เป็นต้น 400 ม. นต. รัศมี 200 ม. นต. 200 ม. แนวเฉยี ง จดุ ปรบั ภต.จาก ผตน.ไปเปา้ หมาย เปา้ หมายเป็นรูปส่ีเหล่ยี มผนื ผ้า เป้าหมายเปน็ รปู วงกลม

168 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 6. วิธีโจมตี (บอกเมื่อเห็นว่าจ�ำ เปน็ ) เปน็ วธิ กี ารตา่ ง ๆ ทตี่ อ้ งการใชใ้ นการโจมตเี ปา้ หมาย ซงึ่ ประกอบดว้ ย ชนดิ ของการ ปรบั การยิง อนั ตรายใกล้ฝ่ายเรา การยิงหมาย กระสุนวิถี สูงกระสนุ และการจดั วางตำ� บล ระเบิด (กรวยพ้นื ยงิ ) ก. ชนดิ ของการปรบั การยงิ การปรบั การยงิ มี 2 ชนดิ คอื การปรบั การยงิ ประณตี และการปรบั การยงิ เป็นพื้นท่ี อาจจะทำ� การปรับการยงิ ชนดิ หนึง่ ชนดิ ใดกไ็ ด้ ถ้าไม่ระบุชนิด ของการปรบั การยงิ ไว้ในคำ� ขอยงิ ให้ถือว่าชนดิ ของการปรับการยิงน้ัน เป็นการยงิ เป็นพืน้ ที่ 1. การยิงประณตี ไม่ว่าจะเป็นการยิงหาหลักฐานหรือการยงิ ทำ� ลาย คงใช้ ปืน 1 กระบอก ท�ำการปรบั การยิงจนกว่าจะได้ตัวแก้จากการยงิ หาหลกั ฐาน หรอื จนกว่า เป้าหมายจะถูกทำ� ลาย เมอ่ื ต้องการยงิ หาหลกั ฐานประณตี ศอย. จะเป็นผู้ส่งข่าวให้ ผตน. ทราบถ้าต้องการยงิ ทำ� ลาย ผตน. จะต้องระบุในค�ำขอยงิ ว่า “ยงิ ท�ำลาย” 2. การยิงเป็นพื้นที่ ใช้โจมตีเป้าหมายที่อยู่กระจัดกระจายเป็นพ้ืนท่ี โดยเหตุที่เป้าหมายเป็นพื้นที่ส่วนมาเป้าหมายที่เคล่ือนที่ได้ ดังนั้นการปรับการยิงจะต้อง ปรบั ให้รวดเรว็ และถกู ต้องแม่นยำ� ทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะทำ� ได้ เพอ่ื ป้องกันมใิ ห้เป้าหมายหนีไปเสยี กอ่ นควรเลอื กจดุ ปรบั ทเี่ หน็ เดน่ ชดั ใกล้ ๆ กบั ศนู ยก์ ลางของพน้ื ทเี่ ปา้ หมายทจ่ี ะทำ� การโจมตี จุดนเ้ี รยี กว่า “จุดปรับการยงิ ” เพอื่ ให้การยงิ จู่โจมได้ผล อาจจะกระทำ� การปรบั ต่อจุดปรับ การยิงช่วยไว้ด้วย เม่ือท�ำการปรับต่อจุดปรับการยิงช่วยเสร็จแล้วจึงย้ายไปยิงเป้าหมายที่ จะยงิ จริง ๆ ตามปกตกิ ารปรบั การยงิ ต่อเป้าหมายพ้ืนที่ จะท�ำการปรับด้วย ป.1 กระบอก ข. อันตรายใกล้ฝ่ายเรา เมื่อเป้าหมายอยู่ห่างจากแนวทหารฝ่ายเดียวกัน ใน ระยะไม่เกนิ 600 เมตร สำ� หรบั ค. และ ป. 750 เมตร สำ� หรับ ป.เรอื ขนาด 5 น้วิ และเลก็ กว่า และ 1,000 เมตร สำ� หรบั ป.เรือ ทม่ี ีขนาดใหญ่กว่า 5 นว้ิ ส�ำหรบั ป.เรอื ขนาด 6 นว้ิ ใช้กระสุน ICM ใช้ระยะ 2,000 เมตร ให้ผู้ตรวจการณ์บอกว่า “อนั ตรายใกล้ฝ่ายเรา” โดย บอกในหัวข้อประกอบย่อยชนดิ ของการปรบั การยิง ค. การยิงหมาย เป็นวธิ กี ารโจมตี ผู้ตรวจการณ์ขอยงิ เพอื่ เหตผุ ล ดงั ต่อไปน้ี 1. ใช้สกดั หาท่อี ยู่ของตนเอง 2. ใชช้ เี้ ปา้ หมายใหห้ นว่ ยทหารราบพนื้ ดนิ , เครอ่ื งบนิ หรอื หนว่ ยยงิ สนบั สนนุ

ง. กระสนุ วถิ ี มี 2 ชนดิ คอื การยงิ มมุ เลก็ และการยงิ มมุ ใหญ่ เมอ่ื ผตู้ รวจการณ์ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 169 ตอ้ งการยงิ ดว้ ยมมุ เลก็ ไมต่ อ้ งระบุ “มมุ เลก็ ” ไวใ้ นคำ� ขอยงิ แตถ่ า้ ผตู้ รวจการณต์ อ้ งการยงิ ดว้ ย มมุ ใหญต่ อ้ งระบุ “มมุ ใหญ”่ ไวใ้ นคำ� ขอยงิ ดว้ ย โดยระบตุ อ่ จากชนดิ ของการปรบั การยงิ ในกรณที ผ่ี ตู้ รวจการณไ์ มร่ ะบใุ หย้ งิ มมุ ใหญ่ ถา้ ทาง ศอย. คำ� นวณหาหลกั ฐานยงิ ออกมาแลว้ จำ� เปน็ ตอ้ งยงิ ดว้ ยมมุ ใหญ่ ศอย. จะตอ้ งแจง้ ใหผ้ ตู้ รวจการณท์ ราบวา่ จะยงิ ดว้ ย มุมใหญ่ จ. ลกู กระสนุ ถา้ ผตู้ รวจการณไ์ มร่ ะบกุ ระสนุ ชนวนไวใ้ นคำ� ขอยงิ ใหห้ มายถงึ ยงิ ด้วยกระสนุ ระเบดิ ชนวนไว ทงั้ ในข้ันปรับการยิงและขน้ั ยงิ หาผล ในกรณที ่ชี นดิ ของภารกจิ “ปรับการยงิ ” ผู้ตรวจการณ์ระบเุ ฉพาะกระสุนหรือชนวนในการยงิ หาผลไว้ ให้หมายถึงว่า ผู้ตรวจการณ์ต้องการให้ยิงหาผลด้วยกระสุนหรือชนวนที่ระบุไว้น้ัน เช่น ระบุว่า “กระสุน ระเบดิ และกระสนุ ควันขาว ในการยงิ หาผล “ชนวนวีที ในการยงิ หาผล” หรอื ชนวนไวและ วิที ในการยงิ หาผล” เป็นต้น ในกรณีที่ชนิดของภารกิจ “ปรับการยิง” ผู้ตรวจการณ์ระบุเฉพาะกระสุนหรือ ชนวน แตไ่ มม่ คี ำ� วา่ “ในการยงิ หาผล” ตอ่ ทา้ ยกระสนุ หรอื ชนวน ใหห้ มายถงึ วา่ ผตู้ รวจการณ์ ต้องการกระสุนหรือชนวนชนิดท่ีบอกน้ันยิงท้ังข้ันปรับการยิงและข้ันยิงหาผล เว้นแต่ ผตู้ รวจการณจ์ ะมคี ำ� ขอเปลยี่ นแปลงชนดิ กระสนุ หรอื ชนวนภายหลงั เชน่ การขอยงิ กระดอน แตก ผตู้ รวจการณจ์ ะตอ้ งขอวา่ “...ชนวนถว่ งเวลา เปลย่ี น” ซงึ่ หมายความวา่ ในขนั้ ปรบั การ ยงิ ใช้ชนวนถ่วงเวลาทำ� การปรบั และใช้ชนวนถ่วงเวลาในขัน้ ยิงหาผลด้วย เว้นแต่ถ้าปรากฏ ว่าทีป่ ลายท้งั สองข้างของห้วงควบ 100 เมตร มกี ระสนุ แตกอากาศน้อยกว่า 50 เปอร์เซน็ ต์ กใ็ ห้เปลีย่ นชนวนยงิ หาผลเป็นชนวนไว้หรือวที ี ในกรณเี ช่นน้ี ผู้ตรวจการณ์ส่งการแก้ข้ันต่อ ไปว่า “ชนวนไวยงิ หาผล” หรอื “ชนวนวที ียิงหาผล” 1. กระสุนผู้ตรวจการณ์อาจจะขอกระสุนชนิดอ่ืนนอกเหนือไปจากกระสุน ระเบิด เช่น กระสนุ ส่องแสง กระสนุ ควันขาว กระสนุ ICM เป็นต้น 2. ชนวน ภารกจิ ยงิ โดยมากในขน้ั ปรบั การยงิ จะปรบั ด้วยชนวนไว แต่มบี าง ภารกจิ ไม่ใช้ชนวนไวทำ� การปรับการยิง เช่น ภารกิจยิงส่องสว่าง หรอื ภารกิจยิงเป็นพืน้ ท่ีซึ่ง ใช้ชนวนถ่วงเวลายิงกระดอนแตก เมื่อผู้ตรวจการณ์ขอให้ยิงกระสุนท่ีมีชนวนชนิดเดียวอยู่ ในตวั มนั เอง ผตู้ รวจการณก์ ไ็ มต่ อ้ งระบชุ นวนลงไปในคำ� ขอยงิ ดว้ ย เชน่ ขอยงิ กระสนุ สอ่ งแสง กระสุน ICM หรือกระสุนควนั ขับทางท้าย ซ่ึงเป็นกระสุนทม่ี ชี นวนชนดิ เดียวอยู่ในตวั มันเอง ผู้ตรวจการณ์กไ็ ม่ต้องระบุ “กระสนุ ส่องแสง ชนวนเวลา” ลงไปในค�ำขอยงิ

170 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 3. ปริมาตรการยิง ถ้าผู้ตรวจการณ์เห็นว่า จ�ำเป็นต้องใช้กระสุนในการยิง หาผลประมาณกน่ี ดั ใหร้ ะบจุ ำ� นวนกระสนุ ลงไปในคำ� ขอยงิ ดว้ ย เชน่ ระบวุ า่ “ชนวนวที ี 3 นดั ในการยงิ หาผล” ถ้าเป็นคำ� ขอยิงหาผลด้วยชนวนไว กร็ ะบวุ ่า “3 นดั ” เฉย ๆ โดยไม่ต้อง ระบวุ ่า “ชนวนไว 3 นดั ในการยงิ หาผล” ฉ. การจัดวางต�ำบลระเบิด ผู้ตรวจการณ์สามารถวางรูปแบบต�ำบลระเบิดให้ เหมาะสมกับเป้าหมาย รูปแบบต�ำบลระเบิดน้ีเรียกว่า กรวย ปกติในการยิงหาผลจะยิง ดว้ ยกรวยปกติ ในกรณกี วา้ งดา้ นหนา้ ของกองรอ้ ยซง่ึ ตง้ั ปนื ตามปกติ แตใ่ นกรณที กี่ วา้ งดา้ น หนา้ ของกองรอ้ ยมขี นาดกวา้ งกวา่ ปกติ และไมม่ กี ารขอเปน็ อยา่ งอน่ื แลว้ เจา้ หนา้ ทคี่ ำ� นวณ ของกองร้อยจะก�ำหนดให้เป้าหมายเป็นวงกลม รัศมี 100 เมตร เจ้าหน้าท่ีค�ำนวณจะหา หลักฐานยิงให้ปืนแต่ละกระบอก (มว.) ท�ำการยิงลงบนเป้าหมายให้ครอบคลุมเป้าหมาย การยิงโดยใช้กรวยปิด เป็นการท�ำให้กระสุนทุกนัดไปตก ณ จุดจุดหน่ึงโดยเฉพาะใช้ยิง เป้าหมายขนาดเล็กและแข็งแรง ถ้าเป็นการยิงโดยใช้กรวยพิเศษจะต้องก�ำหนดความยาว และความกว้างของเป้าหมายด้วย ส�ำหรับกรวยเปิดเป็นการกระจายต�ำบลระเบิด เพ่ือให้ ไดผ้ ลสงู สดุ ตามความกวา้ งของตำ� บลระเบดิ ถา้ เปา้ หมายมขี นาดกวา้ งและยาวควรกำ� หนด แนวเฉยี งไปดว้ ย ถา้ ความยาวของเปา้ หมายนนั้ เทา่ กบั หรอื ยาวกวา่ เปน็ หา้ เทา่ ของความกวา้ ง เจ้าหน้าท่ีค�ำนวณจะก�ำหนดเป้าหมายเป็นแนวยาว อาจท�ำการยิงด้วยกรวยขนานคู่ หรือ กรวยพเิ ศษเมอ่ื ถูกร้องขอ 7. วิธยี งิ และการควบคุม (บอกเมื่อจ�ำ เป็น) วิธียิงและการควบคุมเป็นองค์ประกอบหนึ่งในค�ำขอยิง ซึ่งผู้ตรวจการณ์ใช้ กำ� หนดในการโจมตเี ปา้ หมายไมว่ า่ ตอ้ งควบคมุ เวลาเรม่ิ ยงิ หรอื สามารถตรวจเหน็ เปา้ หมาย หรือไม่ก็ตาม ผู้ตรวจการณ์จะระบุใช้วิธียิงและการควบคุมตามความเหมาะสม ดัง ทไี่ ด้กล่าวไว้ข้างล่างน้ี ก. วิธียิงในการยิงเป็นพื้นท่ี ตามปกติปรับด้วย ป.1 กระบอก ของหมวด ท่ีอยู่ก่ึงกลางของกองร้อย (หรือใช้ ป.1 กระบอกของคู่กลางของกองร้อยท�ำการปรับ) ถา้ ผตู้ รวจการณม์ เี หตผุ ลอยา่ งหนงึ่ อยา่ งใด ซง่ึ พจิ ารณาเหน็ วา่ ปรบั ดว้ ย ป.2 กระบอก (1 หมวด) จะท�ำให้การปรบั ให้ผลดกี ว่าการปรบั ด้วย ป.1 กระบอก โดยอาจยงิ เป็นรอบจากขวา (ซ้าย) ผู้ตรวจการณ์กข็ อไปว่า “เป็นรอบจากขวา (ซ้าย)” และถ้าต้องการให้ทำ� การยิงพร้อมกนั ทงั้

2 กระบอก ก็จะขอไปว่า “ปืนสองกระบอก” โดยท่ัวไปจังหวะการยิงเป็นรอบระหว่างนัด เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 171 คือ 2 วนิ าที ส�ำหรับ ปบค.105 มม. และ 5 วินาที สำ� หรบั ปกค.155 มม. แต่ถ้าต้องการ จังหวะการยิงอย่างอ่ืนก็ให้ระบุในค�ำขอยิงนั้นด้วย เช่น “เป็นรอบจากขวา (ซ้าย) จังหวะ 10 วนิ าท”ี เป็นต้น ข. วธิ คี วบคมุ (บอกเมอื่ เหน็ ว่าจำ� เป็น) 1. ตามค�ำส่ังข้าพเจ้า (ตคจ., At My Command-AMC) เป็นค�ำขอยิงของ ผตู้ รวจการณเ์ พอื่ ควบคมุ เวลาทจี่ ะยงิ เมอื่ ผตู้ รวจการณต์ อ้ งการควบคมุ เวลาทจี่ ะยงิ ใหร้ ะบวุ า่ “..ตามค�ำส่ังข้าพเจ้า” ในองค์ประกอบวิธีควบคุมศูนย์อ�ำนวยการยิงจะบอกผู้ตรวจการณ์ ใหท้ ราบเมอื่ ปนื พรอ้ มทจ่ี ะยงิ เชน่ “หมวดหรอื กองรอ้ ยหรอื กองพนั พรอ้ ม เปลย่ี น” และเมอื่ ผตู้ รวจการณพ์ รอ้ มทจ่ี ะยงิ กจ็ ะบอกวา่ “ยงิ ” ปนื จะยงิ ตามคำ� สงั่ ของผตู้ รวจการณไ์ ปเรอื่ ย ๆ จนกว่าผู้ตรวจการณ์จะบอกว่า “ยกเลิกตามค�ำส่ังข้าพเจ้า เปล่ยี น” 2. ตรวจไม่ได้ (Can Not Observe) เป็นการควบคมุ การยงิ วธิ หี นึ่ง ซง่ึ แสดง ให้ทราบว่าตรวจการณ์ไม่สามารถปรบั การยิง M ได้ แต่มีเหตผุ ลเชือ่ ได้แน่นอนว่า ณ ทน่ี ้นั มีเป้าหมายอยู่จริง และมีความส�ำคัญเพียงพอท่ีจะท�ำการยิงได้ (อาจเป็นเพราะดินเลน ภูมปิ ระเทศ สภาพอากาศ หรอื ควันกำ� บงั ) โดยไม่ต้องมกี ารปรับการยงิ หรือการตรวจการณ์ กรณีเช่นนผ้ี ู้ตรวจการณ์จะขอให้ทำ� การยงิ หาผล และระบวุ ่า “ตรวจไม่ได้” ในองค์ประกอบ วิธีควบคมุ 3. พรอ้ มกนั ณ เปา้ หมาย เปน็ เทคนคิ การยงิ พเิ ศษของอาวธุ จากหลายหนว่ ย เพ่อื ให้กระสนุ ไประเบิด ณ เป้าหมายเดยี วกัน ในเวลาเดยี วกนั เป็นการบอกให้ศูนย์อ�ำนวย การยงิ ทราบวา่ ผตู้ รวจการณต์ อ้ งการใหก้ ระสนุ ทกุ กระสนุ ทกุ นดั ระเบดิ พรอ้ มกนั ณ เปา้ หมาย โดยร้องขอว่า “พร้อมกัน ณ เป้าหมาย...นาที จากขณะนี้ เปล่ียน” หรือ “พร้อมกัน ณ เป้าหมาย 0859 ขณะนเ้ี วลา 0800 เปล่ียน” 4. สอ่ งสวา่ งตอ่ เนอื่ งถา้ ผตู้ รวจการณไ์ มไ่ ดก้ ำ� หนดหว้ งเวลาในการยงิ ระหวา่ ง นดั ในการสอ่ งสวา่ งตอ่ เนอ่ื งแลว้ ศอย. จะตอ้ งหาหว้ งเวลาดงั กลา่ วโดยอาศยั เวลาในการเผาไหม ้ ของกระสนุ ส่องแสงทใ่ี ช้ เมอ่ื ได้ห้วงเวลาในการยงิ แล้วควรก�ำหนดเป็นจ�ำนานวนิ าที 5. ประสานส่องสว่าง ผู้ตรวจการณ์อาจระบุห้วงเวลาในการยิงระหว่าง กระสุน ส่องแสง และกระสุนระเบดิ เป็นจำ� นวนวนิ าที เพ่อื ให้ตรวจเหน็ การตกกระทบของ กระสุนระเบิด ในขณะที่กระสุนส่องแสงส่องสว่างอย่างเต็มที่หรืออาจใช้การควบคุมว่า “..ตามคำ� สง่ั ข้าพเจ้า” กไ็ ด้

172 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 6. หยดุ บรรจุ ค�ำสัง่ “หยุดบรรจุ” ใช้ในระหว่างการยงิ กระสนุ ตัง้ แต่ 2 นัด ขึ้นไป เพื่อหยุดการบรรจุกระสุนเข้าสู่ตัวปืนช่ัวคราว หมู่ปืนอาจท�ำการยิงให้นัดที่ได้บรรจุ เข้ารงั เพลงิ ไปแล้ว 7. หยุดยงิ คำ� สัง่ “หยดุ ยงิ ” ใช้เพอ่ื ต้องการให้ปืนหยดุ ยงิ ในทนั ทีทนั ใด 8. ยงิ ตอ่ เนอ่ื ง ใน ป.สนาม, ค. และ ป.เรอื การยงิ ตอ่ เนอื่ ง หมายถงึ การบรรจุ กระสนุ และทำ� การยงิ อยา่ งราดเรว็ และถกู ตอ้ ง ไมเ่ กนิ อตั ราเรว็ ในการยงิ ของแตล่ ะชนดิ อาวธุ การยิงอย่างต่อเน่อื งจะกระทำ� ต่อไปจนกว่าจะได้รบั ค�ำสง่ั “หยดุ บรรจ”ุ หรอื “หยุดยงิ ” 9. ยิงซา้ํ สามารถสง่ั “ยิงซํา้ ” ในระหว่างการปรบั การยงิ หรอื ในภารกจิ ยิง หาผล ก) ระหว่างปรับการยิง “ยงิ ซ้าํ ” หมายถึงการยิงซํา้ ด้วยหลักฐานยิงครั้ง สุดท้ายและใช้ในการปรับการยิงเมื่อจ�ำเป็นท่ีต้องการเปลี่ยนกระสุนท่ีใช้ยิงใหม่ “ยิงซ้ํา” จะไม่ระบไุ ว้ในคำ� ขอยงิ เรม่ิ แรก ข) ระหว่างการยงิ หาผล “ยิงซ�้ำ” หมายถงึ การยงิ โดยใช้จ�ำนวนนดั และ วิธียิงในการยิงหาผลเช่นเดียวกับการยิงหาผลในคร้ังสุดท้าย โดยอาจจ�ำเป็นต้องเปลี่ยน จำ� นวนปืน, ตวั แก้เร่งด่วน, ห้วงเวลาในการยงิ หรือกระสุน เม่อื ถกู ร้องขอ 10. ...เปลี่ยนเป็น...เป็นส่วนประกอบของชุดค�ำส่ังใช้เพ่ือการเปลี่ยนแปลง ในอตั ราเร็วในการยงิ แบบของกระสนุ หรอื ค�ำสง่ั อนื่ ๆ สำ� หรับการยงิ หาผล ตัวอย่างเช่น “กระสุนควนั ขาว เปล่ียนเป็นกระสนุ ระเบดิ ” 8. การแก้ค�ำ ขอยิงทผ่ี ดิ ก. การสง่ คำ� ขอยงิ ของผตู้ รวจการณห์ รอื การทวนขา่ วของเจา้ หนา้ ท่ี ศอย. บางครง้ั อาจผิดพลาดได้ ถ้าผู้ตรวจการณ์ได้ส่งค�ำขอยิงไปแล้วนึกได้ว่าผิด หรือ ศอย. ทวนข่าว กลบั มาผิด ผู้ตรวจการณ์กบ็ อกไปว่า “ผิดหยดุ ” แล้วส่งข้อความท่ีถกู ต้องไปใหม่ ตัวอย่าง เช่น ผตน. ส่งไปว่า “...จากจดุ ยิงหาหลกั ฐานท่ี 2 เปลยี่ น” “มุมภาค 4680 ...เปลย่ี น” ทนั ใดนน้ั ผตน. นกึ ขน้ึ ไดว้ า่ มมุ ภาคทถ่ี กู ตอ้ งนนั้ เปน็ 5680 จงึ บอก ศอย. ไปวา่ “ผิดหยุด มมุ ภาค 5680 เปลีย่ น”

หลงั จากทไี่ ดร้ บั การทวนกลบั อยา่ งถกู ตอ้ งแลว้ ผตน. จะสง่ คำ� ขอยงิ ทเ่ี หลอื ตอ่ ไป เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 173 ข. ถ้า ผตน. ส่งผิดในองค์ประกอบย่อย และการแก้องค์ประกอบย่อยน้ัน จะทำ� ให้มผี ลกระทบกระเทอื นหลกั ฐานอืน่ ท่สี ่งไปแล้วให้ ผตน.บอกว่า “ผิดหยุด” แล้วส่ง องค์ประกอบย่อยท่ีถูกต้อง และหลักฐานท่ีถูกกระทบกระเทือนขององค์ประกอบย่อยน้ัน ท้ังหมด ตามลำ� ดบั อย่างถูกต้องไปด้วย ตัวอย่างเช่น ผตน. ส่งไปว่า “ซ้าย 200 เพ่มิ 400 สงู ขึ้น 40 เปล่ียน” ทันใดน้นั ผตน. นกึ ข้ึนได้ว่า เพ่ิม 400 ควรจะเป็น ลด 400 ดังน้นั จึงส่งองค์ ประกอบย่อยท่ถี กู ต้อง คอื “ลด 400” และหลกั ฐานท่ถี กู กระทบกระเทอื นขององค์ประกอบ ย่อยท้ังหมดนน้ั ไปด้วย คอื “ผดิ หยุด ซ้าย 200 ลด 400 สูงข้นึ 40 เปลย่ี น” เพราะว่า หากไม่ส่ง “ซ้าย 200” และ “สูงข้ึน 40” ไปด้วย ก็จะท�ำให้ หมายความว่าได้ยกเลกิ “ซ้าย 200” และ “สงู ขึ้น 40” ไปแล้ว ค. ถ้า ผตน. ได้ส่งค�ำขอยิงไปหมดแล้ว จึงพบว่าส่งองค์ประกอบหรือ องค์ประกอบย่อยผิด หรือลืมไม่ได้ส่งองค์ประกอบหรือองค์ประกอบย่อย ผตน. จะส่ง องคป์ ระกอบหรอื องคป์ ระกอบยอ่ ยทถี่ กู ตอ้ งไปใหม่ พรอ้ มทง้ั หลกั ฐานทถ่ี กู กระทบกระเทอื น ทั้งหมดไปด้วย ตวั อย่างเช่น ผตน. ส่งไปว่า “กระทงิ แดง จาก เสอื ด�ำ ปรบั การยิงจากจดุ ยิงหาหลักฐานท่ี 2 เปลยี่ น” “มุมภาค 5680 ซ้าย 200 เพม่ิ 400 สงู ขนึ้ 40 เปล่ยี น” “ทหารราบในท่แี จ้ง ชนวนเวลาในการยงิ หาผล ตามคำ� ส่งั ข้าพเจ้า เปลย่ี น” เม่ือส่งคำ� ขอยงิ ไปหมดแล้ว ผตน. นกึ ขน้ึ ได้ว่า ควรใช้ชนวนวที ีในการยงิ หา ผลต่อเป้าหมายน้จี ะดีกว่าใช้ชนวนเวลา จงึ สรปุ การแกไปว่า “ผิดหยดุ ชนวนวที ีในการยงิ หาผลเปลีย่ น” หรอื เพ่มิ 400 ท่ถี ูกต้องคอื ลด 400 จงึ ส่งการแก้ไปว่า  “ผดิ หยดุ ซ้าย 200 ลด 400 สงู ขึน้ 40 เปล่ียน” หรอื ไมต่ อ้ งการควบคมุ กส็ ง่ การแกไ้ ปวา่ “ผดิ หยดุ ยกเลกิ ตามคำ� สง่ั ขา้ พเจา้ เปลยี่ น”

174 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ง. การแก้ค�ำขอยิงที่ผิดวิธีโปล่าร์ให้ค�ำเนินการเช่นเดียวกับข้อ ข. เช่น ผตน. ส่งไปว่า “มุมภาค 0800 ระยะ 2000 สงู ขน้ึ 40 เปลี่ยน” ทนั ใดน้นั นกึ ขนึ้ ได้ว่าส่งระยะผดิ ระยะท่ถี กู ต้องคือ 1000 จงึ ส่งการแก้ไปว่า “ผดิ หยุดระยะ 1000 สงู ข้นึ 40 เปลย่ี น” (บอกทง้ั ระยะและสูงขน้ึ /ตํ่าลงด้วย) จ. ในกรณแี ก้คำ� ขอยิงทผ่ี ดิ ต้องบอกว่า “ผิดหยดุ ” ด้วยเสมอ 9. ขา่ วถงึ ผ้ตู รวจการณ์ เมอื่ ศอย. ไดร้ บั คำ� ขอยงิ แลว้ กพ็ จิ ารณาวา่ จะโจมตเี ปา้ หมายอยา่ งไร ขอ้ ตกลงใจใน การโจมตีเป้าหมายน้ีจะส่งกลับไปยังผู้ตรวจการณ์หน้าในรูปของข่าวถึงผู้ตรวจการณ ์ ซ่งึ ประกอบด้วย 1. หนว่ ยทจี่ ะยงิ กำ� หนดกองรอ้ ยเดยี วหรอื หลายกองรอ้ ยทจี่ ะทำ� การยงิ ในภารกจิ น้ัน ถ้าจะยิงหาผลหลายกองร้อยหรอื ท้งั กองพนั โดยใช้กองร้อยใดกองร้อยหน่งึ ปรบั การยงิ จะบอกกองร้อยปรบั การยิงด้วย เช่น - ร้อย.1 ปรบั และยิงหาผล “ร้อย.1” “...” - ร้อย.3 ปรบั ร้อย.2 และ 3 ยิงหาผล “ร้อย.2 กับร้อย.ร, ร้อย.3” “...” - ร้อย.2 ปรบั กองพันยงิ หาผล “กองพันร้อย.2” “...” 2. การเปลี่ยนแปลงหรอื เพ่มิ เตมิ จากคำ� ขอยงิ เช่น - ผตน. ขอไอซเี อ็ม แต่ ศอย. จะใช้วิธี “ร้อย.1 วที ใี นการยิงหาผล” “...” - ผตน. ขอปรบั การยงิ ศอย. ตกลงใจยงิ หาผล กจ็ ะส่งข่าวเปล่ียนแปลงไป “กองพนั ยงิ หาผล” “...” 3. จ�ำนวนนดั (ทจ่ี ะยิงหาผลต่อกระบอก) “กองพนั ร้อย.2 วที ีในการยงิ หาผล 3 นดั ” “...” 4. หมายเลขเป้าหมาย ก�ำหนดไว้ใช้เรียกช่ือเป้าหมายในแต่ละภารกิจ เพื่อ สะดวกในการอ้างองิ และสะดวกในการค�ำเนินการขอตัวแก้ต่าง ๆ ในขน้ึ ต่อไป เช่น “กองพัน ร้อย.2, วที ใี นการยงิ หาผล 3 นัด, กก 7732”

10. ขา่ วสารเพ่มิ เติม เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 175 ข่าวสารเพ่มิ เตมิ ต่อไปนี้ ปกติจะไม่ส่งไปพร้อมกับข่าวถงึ ผู้ตรวจการณ์ ก. ยา่ นคาดคะเนทางระยะ (ยคร.) ถา้ ยา่ นคาดคะเนทางระยะตง้ั แต่ 38 เมตรขน้ึ ไป ในภารกจิ เป็นพื้นท่ี ศอย. จะบอก ผตน. ให้ทราบ เพอื่ ผตน. จะได้ขอยิงหาผลเม่ือผ่าห้วง ควบ 200 เมตร และเป็นข้อพึงระลึกในการปรับการยิง แต่ในการยิงหาหลักฐานประณีต ถ้าย่านคาดคะเนทางระยะตง้ั แต่ 25 เมตรข้ึนไป จะต้องบอก ผตน. ด้วย เพอื่ ผตน. จะได้ใช้ ห้วงควบ 50 เมตร พจิ ารณาหลกั ฐาน ข. มมุ ตรวจการณ์ (มุม ต.) ศอย. จะต้องบอก ผตน. เสมอ ถ้ามมุ ตรวจการณ์ 500 มิล. หรอื มากกว่า เพ่ือให้ ผตน. ใช้ดุลยพนิ จิ ในการตรวจและปรับการยิงและบอกเม่อื ผตน. ขอทราบ ค. เวลาแลน่ ปกตเิ วลาแลน่ จะขานให้ ผตน. ทราบเสมอ เมอ่ื เปน็ การตรวจการณ์ ทางอากาศ การยงิ มมุ ใหญ่ การโจมตเี ปา้ หมายเคลอ่ื นทกี่ ารประสานสอ่ งสวา่ ง เมอ่ื ใชค้ ำ� วา่ “ชนดิ กระสนุ ตามคำ� สงั่ ข้าพเจ้า” หรอื เม่อื ร้องขอ ง. การยิงมุมใหญ่ ถ้าจะยิงมุมใหญ่โดยท่ีผู้ตรวจการณ์ไม่ได้ร้องขอ ศอย. ต้องบอกคำ� ว่า “มมุ ใหญ่” รวมไปกบั ข่าวถงึ ผู้ตรวจการณ์ด้วย จ. เตรยี มตรวจ ศอย. จะสง่ คำ� วา่ “เตรยี มตรวจ” ใหผ้ ตู้ รวจการณ์ ถา้ ผตู้ รวจการณ ์ ร้องขอเพอ่ื ท่จี ะบอกให้ผู้ตรวจการณ์ทราบว่า กระสุนจะไปตกภายใน 5 วินาที หลังจากส่ง ค�ำว่า “เตรียมตรวจ” ส�ำหรบั ภารกจิ ยิงมมุ ใหญ่และภารกจิ ของผู้ตรวจการณ์ทางอากาศจะ ต้องส่งเสมอ โดยถอื เป็นข้อผกู พันของ ศอย. 11. การรับรองฝ่าย เว้นไว้แต่กรณเี ร่งด่วนหรอื การตดิ ตามสนบั สนนุ อย่างใกล้ชิดอยู่แล้ว เช่น กรณี เปน็ กองรอ้ ยแยกเฉพาะหรอื ภารกจิ ยงิ ขม่ ตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ การถามฝา่ ยและรบั รองฝา่ ย (บอกพวก) ปกติจะใช้ประกอบในการขอยิงอยู่เสมอ โดย ศอย. ถามฝ่ายไปในการทวนข่าวค�ำขอ ยงิ วรรคสดุ ท้าย ซ่งึ ผตน. จะต้องตอบหรอื รบั รองฝ่ายกลบั มาในทนั ที การโต้ตอบหรือการรับรองฝ่าย ปกติแล้วจะใช้เวลาประมาณ 15 - 20 วินาท ี ถ้านานกว่านใ้ี ห้สงสยั ไว้ก่อน

การถามฝ่ายน้ี ใช้เฉพาะในตอนแรกเท่านน้ั การปรบั การยิงหรือการยิงเพม่ิ เติม ทีต่ ิดต่อกนั อยู่ตลอดเวลาไม่จำ� เป็นต้องถามฝ่ายอีก (ดตู วั อย่างในข้อ 12 - 13) 176 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 12. การขอยงิ จากหน่วยเหนอื ก. เมอ่ื บก.หน่วยเหนอื เช่น กรม ป. เป็นต้น ขอยงิ คำ� ขอยิงน้มี ีลกั ษณะคล้าย กับขอยิงของ ผตน. แต่มลี ักษณะเป็นคำ� สงั่ มากกว่า เช่น ก�ำหนดหน่วยท่ีจะยงิ หาผลและ จำ� นวนนดั ท่ีจะยิงด้วยกไ็ ด้ ข. องค์ประกอบของคำ� ขอยิงจากหน่วยเหนอื คอื 1. ค�ำส่ังเตอื น 2. ทตี่ ั้งเป้าหมาย 3. วธิ ีโจมตี 4. การควบคมุ ตัวอย่างเช่น (1) “ลพบรุ ี 18 จาก ชยั นาท 10 ยิงหาผล กองพนั เปลีย่ น” (2) “เป้าหมาย กข 1010” หรอื “พกิ ัด 432789 สงู 520 เปลีย่ น” (3 และ 4) “วที ี 3 นดั พร้อมกัน ณ เป้าหมาย 10 นาที จากขณะนี้ เปล่ียน” 13. ตวั อยา่ งและวรรคตอนการสง่ ค�ำ ขอยงิ ก. ไม่ว่าจะกำ� หนดเปา้ หมายดว้ ยวธิ ใี ด ผตู้ รวจการณค์ วรแบง่ ส่งคำ� ขอยงิ เป็น 3 วรรคตอนเสมอ (เม่อื ส่งไปแต่ละวรรคตอนแล้ว ศูนย์อำ� นวยการยงิ จึงจะทวนกลับ) คือ 1. การแสดงตนและคำ� สง่ั เตอื น 2. หลักฐานในการกำ� หนดทต่ี งั้ เป้าหมายทง้ั หมด 3. องค์ประกอบท่เี หลือท้งั หมดของค�ำขอยงิ ข. คำ� ขอยงิ วธิ พี กิ ัดตาราง ผตน. ค�ำขอยงิ เร่ิมแรก ศอย. “18 จาก 24 ปรบั การยงิ เปล่ียน” “24 จาก 18 ปรบั การยงิ ทราบ แล้ว”

ผตน. ค�ำขอยิงเร่ิมแรก ศอย. “พิกดั 845526 เปล่ยี น” “พิกดั 845526 ทราบแล้ว” “รถบรรทกุ 4 คนั กำ� ลังจอด เปลยี่ น” “รถบรรทุก 4 คัน ก�ำลังจอดทราบ แล้ว” ข่าวถงึ ผู้ตรวจการณ์ “ร้อย.2, 2 นดั กจ 1027 ทราบแล้ว” “ร้อย. 2, 2 นดั กจ 1027 เปลย่ี น” “ยิงไปแล้ว ทราบแล้ว” “ยงิ ไปแล้ว เปล่ยี น” “มมุ ภาค 1650 ขวา 60 ลด 400 เปลย่ี น” “มุมภาค 1650 ขวา 60 ลด 400 ทราบแล้ว” หมายเหตุ การสง่ คำ� ขอยงิ วธิ พี กิ ดั ตาราง ผตู้ รวจการณอ์ าจจะสง่ มมุ ภาคพรอ้ ม กับคำ� ขอยงิ เร่มิ แรกหรอื ส่งมมุ ภาคในภายหลังหรือส่งมมุ ภาคก่อนจะแก้ไขนัดแรกก็ได้ ค. คำ� ขอยงิ วิธีโปล่าร์ ผตน. ค�ำส่งั ยิงเริม่ แรก ศอย. เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 177 “ลพบรุ ี 18 จาก ลพบรุ ี 24 ยิงหาผล “ลพบุรี 24 จาก ลพบรุ ี 18 ยงิ โปล่าร์ เปลยี่ น” หาผล โปล่าร์ทราบแล้ว” “มุมภาค 4520 ระยะ 2300 ตา่ํ ลง 35 “มุมภาค 4520 ระยะ 2300 เปลยี่ น” ตา่ํ ลง 35 ทราบแล้ว” “ทหารราบ 1 กองร้อยในทแ่ี จ้ง เปลีย่ น” “ทหารราบ 1 กองร้อยในท่แี จ้ง ทราบแล้ว” ขา่ วถึงผตู้ รวจการณ์ “กองพัน ชนวนวที ี 3 นัด กจ 7742 “กองพนั ชนวนวที ี 3 นัด ทราบแล้ว” กจ 7742 เปลีย่ น” หมายเหตุ 1. นายทหารอำ� นวยการยิงสัง่ ให้รามก�ำลงั ยงิ ท้งั กองพัน 2. นายทหารอำ� นวยการยงิ เปลยี่ นยงิ หาผลจากชนวนไวเปน็ ชนวนวที ี 3. สมมตุ วิ ่าไม่มกี ารถามฝ่าย

ง. คำ� ขอยงิ วธิ ยี ้ายจากจดุ ทราบท่ีตง้ั ผตน. ค�ำขอยงิ เริม่ แรก ศอย. “ลพบรุ ี 18 จาก ลพบรุ ี 24” “ลพบรุ ี 24 จาก ลพบรุ ี 18 “ปรับการยงิ จากเนนิ 732 เปลย่ี น” “ปรับการยงิ จากเนนิ 732 “มมุ ภาค 380 เพ่มิ 400 ตํ่าลง 35 เปลี่ยน” ทราบแล้ว” “ทหารราบ 1 หมวด รถถงั 1 คนั ในท่แี จ้ง” “ซ้าย 380 เพ่ิม 400 ตา่ํ ลง 35 ทราบ “ชนวนไวและวที ีในการยงิ หาผล เปล่ยี น” แล้ว” “ทหารราบ 1 หมวด รถถัง 1 คัน ในทแี่ จ้ง” “ชนวนไวและวีทีในการยิงหาผล ทราบแล้ว” ข่าวถึงผตู้ รวจการณ์ 178 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ “ร้อย.3, 1 นดั กค 2036 ทราบแล้ว” “ร้อย.3,1 นดั กค 2036 เปล่ียน” หมายเหต ุ 1. สมมตุ ิว่าไม่มกี ารถามฝ่าย จ. ค�ำขอยงิ ยิงข่ม ค�ำสง่ั ยิงเริ่มแรก ศอย. ผตน. “ลพบุรี 18 จาก ลพบรุ ี 24 ยิงข่ม “ลพบุรี 24 จาก ลพบุรี 18 ยิงข่ม กข 3104 เปล่ยี น” กข 3104 ทราบแล้ว” ฉ. ค�ำขอยงิ ยิงข่มฉับพลัน ผตน. คำ� สั่งยิงเริม่ แรก ศอย. “ลพบุรี 18 จาก ลพบรุ ี 24 ยิงข่มฉบั พลัน “ลพบุรี 24 จาก ลพบุรี 18 ยิงข่ม พิกดั 211432 เปล่ยี น” ฉับพลนั พิกัด 211432 ทราบแล้ว”

ช. คำ� ขอยงิ จากหน่วยท่เี หนือกว่ากองพัน ค�ำส่งั เตอื น “ลพบุรี 18 จาก ชยั นาท 30 ยิงหาผลกองพัน เปล่ียน” การกำ� หนดทตี่ ้ังเป้าหมาย “เป้าหมาย กฉ 7010 หรอื พิกัด 43257891 สูง 320 เปลี่ยน” วธิ กี ารโจมต ี “ชนวนวที ี 3 นัด” การควบคมุ “พรอ้ มกนั ณ เปา้ หมาย เวลา 0955 ขณะนเ้ี วลา 0945 เปลย่ี น” 14. สรปุ ก. ทว่ั ไปเมอื่ ผตู้ รวจการณเ์ ขา้ ใจในเรอ่ื งคำ� ขอยงิ ตลอดจนการพจิ ารณาใชก้ ระสนุ และชนวนให้เหมาะสมกบั เป้าหมายแล้ว จะท�ำให้ผู้ตรวจการณ์ปรบั การยงิ ต่อเป้าหมายได้ ข. องค์ประกอบและลำ� ดับค�ำขอยงิ ตัวอย่าง 1. การแสดงตนของผู้ตรวจการณ์ “ลพบรุ ี 18 จากลพบุรี 24” 2. ค�ำสง่ั เตอื น ก) วธิ พี กิ ัด “ปรบั การยงิ ” เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 179 ข) วธิ ีโปล่าร์ “ปรับการยงิ โปล่าร์” ค) วิธยี ้ายจากจดุ ทราบท่ตี ง้ั “ปรับการยงิ จากเนิน 732” 3. การกำ� หนดท่ตี ัง้ เป้าหมาย ก) วิธพี กิ ดั “พิกัด 845526 มมุ ภาค 1650” ข) วธิ โี ปล่าร์ “มุมภาค 4520 ระยะ 2300 ตํา่ ลง 35” ค) วธิ ยี า้ ยจากจดุ ทราบทตี่ ง้ั “มมุ ภาค 5210 ซา้ ย 380 เพมิ่ 400 ตำ่� ลง 35” 4. ลกั ษณะเป้าหมาย “ผกค. 20 คน ในที่แจ้ง” 5. วธิ โี จมตี ก) ชนดิ ของการปรบั การยงิ (ยิงประณตี , ยงิ เป็นพน้ื ท่ี) ข) อันตรายใกล้ฝ่ายเรา “อนั ตรายใกล้ฝ่ายเรา” ค) การยงิ หมาย ง) กระสุนวถิ ี “มุมใหญ่” (เว้นเมอ่ื ยิงมุมเลก็ ) จ) ลูกกระสุน

1) กระสนุ “กระสุนควนั ขาว” (เว้นเม่ือใช้กระสุนระเบดิ ) 2) ชนวน “ชนวนวที ี” (เว้นเมอื่ ใช้ชนวนไว) 3) ปรมิ าตรการยงิ “3 นดั ” ฉ) การจดั วางต�ำบลระเบิด “กรวยเปิด” (เว้นเมอ่ื ใช้กรวยปกต)ิ 6. วิธียงิ และการควบคมุ ก) วธิ ียิง “เปน็ รอบจากขวาหรอื ซา้ ย” (เวน้ เมอ่ื ปรบั ดว้ ย ป. 1 กระบอก) ข) วธิ ีควบคุม “ตามค�ำส่ังข้าพเจ้า” (เว้นเมื่อไม่มีการ ควบคุมการยงิ ) ค. คำ� ขอยงิ จากหนว่ ยเหนอื และคำ� ขอยงิ จากผตู้ รวจการณม์ ลี กั ษณะคลา้ ยคลงึ กนั คำ� ขอยงิ จากหนว่ ยเหนอื จะระบใุ หห้ นว่ ยใดทำ� การยงิ หาผลกไ็ ดส้ ว่ นขอยงิ ของ ผตู้ รวจการณจ์ ะขอได้เพยี งหนว่ ยทจี่ ะทำ� การยงิ ให้เท่านนั้ ตวั อย่างคำ� ขอยงิ จากหน่วยเหนอื “ยิงหาผล กองพนั เปลี่ยน” “เป้าหมาย กฉ 7010 ชนวนวที ี 3 นัด พร้อมกบั ณ เป้าหมาย 10 นาที จาก 180 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ขณะ นี้ เปลี่ยน” ง. ความรวดเรว็ คอื หวั ใจของการส่งคำ� ขอยงิ แตจ่ ะตอ้ งแจม่ แจง้ ไม่ผดิ พลาดใน กรณีเร่งด่วนเม่ือก�ำหนดท่ีต้ังเป้าหมายยังไม่เสร็จ หรือเตรียมค�ำขอยิงยังไม่สมบูรณ์ อย่า รีรอให้เสียเวลา ส่วนส่งได้ให้ส่งไปก่อน ไม่ต้องค�ำนึงถึงล�ำดับประมวลหรือวิธีส่งค�ำขอยิง ให้รวดเรว็ ใด ๆ ทเ่ี ตรยี มการหรอื ตกลงกันไว้ล่วงหน้าแล้วมีประโยชน์มาก เปา้ หมายในสนามรบปจั จบุ นั ปรากฏขนึ้ และหายไปอยา่ งรวดเรว็ มาก ทำ� อยา่ งไร ท่านจงึ จะยงิ ได้ทันที น่ีแหละคอื ปัญหาหลกั ตอนที่ 2 การเลอื กใชก้ ระสุนและชนวน 15. ผลของการยงิ ก. เมอ่ื ผตน. เหน็ เปา้ หมาย และกำ� หนดทต่ี งั้ ไวแ้ ลว้ สงิ่ ตอ่ ไปทจ่ี ะตอ้ งกระทำ� กค็ อื ตกลงใจวา่ จะโจมตอี ยา่ งไรจงึ จะไดผ้ ลมากทส่ี ดุ ความรเู้ รอ่ื งกระสนุ และชนวนอยา่ งตี จะชว่ ย ให้ ผตน. เลอื กใช้กระสนุ และชนวนได้อย่างรวดเร็ว ถ้าผู้บังคบั บญั ชามไิ ด้ให้แนวทาง หรือ

กำ� หนดขอ้ จำ� กดั ไว้ ขอ้ ตกลงใจประการแรกท่ี ผตน. จะตอ้ งทำ� กค็ อื ตอ้ งการผลการยงิ ระดบั ใด เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 181 ใน 3 ระดับ คอื ท�ำลาย ตดั รอนกำ� ลงั หรือข่มเป้าหมาย ข. การยงิ ทำ� ลาย (Destruction) คอื ทำ� ความเสียหายให้กับข้าศึก 30% ขน้ึ ไป จะเป็นการทำ� ลายหน่วยน้นั จนไม่อาจรบได้อกี เป็นการถาวร ถ้าเป็นเป้าหมายแข็งแรงต้องมีการยิงถูกด้วยกระสุนระเบิด หรือกระสุนเจาะ คอนกรตี หลายนดั การยงิ ทำ� ลายปกตแิ ลว้ ใชก้ ระสนุ มากและถอื วา่ เปน็ การไมป่ ระหยดั อยา่ งยง่ิ ค. การยิงตดั รอนกำ� ลัง (Neutralization) ท�ำความเสยี หายให้ข้าศกึ 10% ข้ึนไป จะท�ำให้ข้าศกึ ไม่สามารถปฏบิ ตั หิ น้าท่ีได้เป็นการชั่วคราว การยงิ ตดั รอนกำ� ลงั สามารถใชก้ ระสนุ และชนวนไดเ้ กอื บทกุ ชนดิ ทเี่ หมาะสมกบั เป้าหมายน้นั ๆ และเป็นวธิ ีโจมตีทปี่ ระหยัด การโจมตเี ป้าหมายส่วนใหญ่แล้วควรใช้การยิงด้วยตดั รอนกำ� ลงั นเี้ ป็นหลัก ง. การยิงข่ม (Suppression) เป็นการจ�ำกัด หรือลดขีดความสามารถในการ ปฏิบตั หิ น้าท่ขี องข้าศกึ การยงิ ดว้ ยกระสนุ ระเบดิ ชนวนวที หี รอื กระสนุ ควนั จะทำ� ใหข้ า้ ศกึ สบั สนวนุ่ วายไดด้ ี แต่การยงิ ข่มนจี้ ะมีผลในการข่มข้าศกึ กต็ ่อเมื่อการยิงยงั คงดำ� รงอยู่ การยงิ ข่มใช้กระสนุ น้อย แต่ไม่อาจดำ� รงผลไว้ได้นาน ส่วนใหญ่จงึ มักใช้เฉพาะ เป้าหมายท่จี �ำเป็น จ. การทต่ี กลงใจใชช้ นวนกระทบแตกหรอื แตกอากาศนนั้ ผตน. ควรจะไดพ้ จิ ารณาถงึ 1. ลักษณะธรรมชาตขิ องเป้าหมาย 2. ระดับการป้องกนั ทีข่ ้าศกึ ใช้อยู่ 3. ขีดความสามารถในการเคล่อื นที่ของเป้าหมาย 4. จะมีการปรบั การยิงหรือไม่ 5. รายละเอียดและตัวอย่างในการพิจารณาใช้กระสุนและชนวน ในการ โจมตเี ป้าหมายจะกล่าวในบทต่อไป 16. กระสนุ ระเบดิ ชนวนตา่ งๆ กระสุนระเบิดนั้นเป็นกระสุนมาตรฐานท่ี ผตน. จะพึงได้ สามารถใช้ได้ท้ังกับ ชนวนไว ชนวนเวลา ชนวนวที ี และชนวนถ่วงเวลา (กระดอนแตก)

ก. กระสนุ ระเบดิ ชนวนไว จะระเบดิ เมือ่ กระทบควรได้กบั 1. บคุ คลยืนบนพ้นื ราบ 2. บุคคลนอนหรอื น่งั บนพน้ื ราบ 3. ยานทไ่ี ม่มเี กราะ 4. ยุทโธปกรณ์ขนาดเบา กระสนุ ระเบดิ ชนวนไวนจ้ี ะลดผลไปมากถ้าขา้ ศกึ อย่ใู นหลมุ เพลาะ หรอื พนื้ ทไี่ ม่ ราบเรียบ ในอาคารหรอื ในบงั เกอร์ ข. กระสนุ ระเบดิ ชนวนถว่ งเวลา ปกตแิ ลว้ จะระเบดิ 0.05 วนิ าที หลงั จากกระทบ เม่ือตั้งเป็นถ่วงเวลา (Delay) สามารถใช้ในการเจาะทะลวงหรอื กระดอนแตก 1. การยงิ เป้าหมายในป่าทบึ บังเกอร์ดนิ รอบบาง อาคารหรอื ยานท่มี ีเกราะ ควรได้ชนวนถ่วงเวลาเพอ่ื ผลการเจาะทะลวง 2. ถา้ ยงิ ดว้ ยสว่ นบรรจสุ งู มมุ ยงิ เลก็ ๆ ตอ่ พนื้ ทแ่ี ขง็ ๆ จะทำ� ใหเ้ กดิ การกระดอนแตก ค. กระสนุ ระเบดิ ชนวนเวลาจะระเบดิ ตามเวลาทต่ี งั้ ไว้ แตต่ อ้ งเสยี เวลาปรบั การยงิ เพื่อให้ความสูงท่ีเหมาะ ดังน้ันถ้าเวลาจ�ำกัดไม่ควรใช้ชนวนเวลาและการยิงมุมใหญ่ไม ่ 182 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ควรได้เช่นเดยี วกัน ปกตกิ ระสนุ ระเบดิ ชนวนเวลาได้กบั 1. หน่วยทหารในทโ่ี ล่ง 2. หน่วยทหารในคสู นามเพลาะ 3. หน่วยทหารในหลมุ บคุ คลลกึ 4. หน่วยทหารในยานพาหนะ ง. กระสุนระเบดิ ชนวนวที ี ชนวนวที ีทำ� งานด้วยคลื่นวทิ ยจุ ะระเบิดเมอ่ื ห่างจาก พ้ืนตามท่ีออกแบบไว้ ไม่จ�ำเป็นต้องปรับความสูงของต�ำบลระเบิดเหมือนชนวนเวลา จึง ให้การจู่โจมได้ดีและใช้กับการยิงโดยไม่มีการปรับ ชนวนวีทีน้ีเมื่อได้ยิงด้วยมุมใหญ่จะได้ ผลดมี าก - เป้าหมายทเ่ี หมาะ ได้แก่ เป้าหมายท่เี หมาะสมกบั ชนวนเวลา หมายเหตุ - ชนวนวที ี เอม็ 513 และ 514 ไมค่ วรใชข้ ณะฝนตกและไมค่ วรใชย้ งิ เปา้ หมาย ท่ีอยู่ในน้าํ บนหมิ ะ หรอื นํา้ แข็ง - ชนวนวที ี เอ็ม 728 ไม่ไวต่อฝน นา้ํ หิมะ หรอื นํ้าแขง็ จึงอาจใช้ได้กับทกุ เป้าหมายและทกุ สภาพ

- ชนวนวที ี เอม็ 728 จะระเบดิ เหนอื พน้ื ประมาณ 7 เมตร จงึ อาจเขา้ ใจผดิ ได้ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 183 ง่ายเป็นกระทบแตก สำ� หรบั เอ็ม 513 และ 514 จะระเบดิ 20 เมตร เหนือพื้น จ. กระสนุ ระเบดิ ชนวนเจาะคอนกรตี ควรใช้กับเป้าหมายทเ่ี ป็นคอนกรตี ชนวน เจาะคอนกรตี มี 2 ชนดิ คือ 1. ไมถ่ ว่ งเวลาใชส้ ำ� หรบั ปรบั การยงิ ขนั้ ตน้ ขจดั สงิ่ ปกคลมุ และทำ� ใหค้ อนกรตี รา้ ว 2. ถ่วงเวลา ใช้สำ� หรบั ทะลุทะลวงเป้าหมายที่เป็นคอนกรีต 17. กระสุนระเบดิ ปรบั ปรงุ (ICM) กระสนุ ระเบดิ ปรบั ปรงุ เป็นกระสนุ ระเบดิ ขบั ออกท้าย ประกอบชนวนเวลา มลี ูก ระเบดิ เลก็ ๆ อยู่ภายในจำ� นานมาก และร่อนบนิ ได้ จงึ แผ่กระจายคลมุ พ้นื ทไ่ี ด้กว้าง มที งั้ แบบสงั หาร (Antipersonel, AP) และแบบสองความมุ่งหมาย (DUAL Purpose, DP) กระสนุ ระเบดิ ปรบั ปรงุ แบบสงั หารใชก้ บั เปา้ หมาย เปน็ บคุ คลขนาดใหญใ่ นทโ่ี ลง่ แจ้งในหลมุ บุคคลเปิด ส่วนกระสุนระเบิดปรับปรุงแบบสองความมุ่งหมายน้ัน ใช้ได้ท้ังในการสังหาร บคุ คลและมดี นิ ระเบดิ โพลงซงึ่ สามารถทำ� ลายเกราะขนาดบาง ๆ ไดอ้ กี ดว้ ย รวมทงั้ สามารถ ใช้ในการยงิ หาหลกั ฐานได้ กระสนุ ชนดิ นเี้ หมาะกบั เป้าหมายทเี่ ป็นบคุ คลและยานรบขนาด เบาในทโ่ี ล่งแจ้ง กระสุนระเบิดปรับปรุงน้ีไม่ควรใช้ใกล้ฝ่ายเราที่ไม่มีการก�ำบัง เพราะว่ามัน กระจดั กระจายคลมุ บริเวณกว้างขวาง 18. กระสนุ ควันขาว (White Phosphorus, WP) กระสนุ ควนั ขาวนนั้ ใช้ประโยชน์ได้ 3 ประการ คอื 1. เผาผลาญ 2. หมายจดุ ต่าง ๆ 3. ควนั กำ� บงั สามารถใชท้ ำ� ลายยทุ โธปกรณข์ องขา้ ศกึ และกำ� บงั การตรวจของขา้ ศกึ ไดด้ อี กี ดว้ ย เป้าหมายท่ีเหมาะ คือ ยานพาหนะ คลังนํ้ามัน ก�ำบังการตรวจการณ์ของข้าศึก และ ชเี้ ป้าหมาย หรอื หมายก่งึ กลางเขตปฏบิ ัตกิ าร

19. กระสนุ ควัน (Hexachloroethane, HC) กระสุนควันเป็นกระสุนขับออกท้ายมีกระป๋องควันหลายกระป๋อง มีควันมาก และนานกว่าควันขาวและกระจายได้ดีกว่า เหมาะส�ำหรับสร้างฉากควันหรือรบกวนการ ตรวจการณ์ของข้าศกึ แต่ต้องพจิ ารณาทศิ ทางลมให้ดี 20. กระสุนส่องแสง เป็นกระสุนขับออกท้าย มีพลุส่องแสงติดอยู่กับร่มท�ำให้หล่นช้า ปกติแล้วจะ ใช้ส�ำหรบั 1. ส่องแสงพน้ื ท่ีทม่ี ีหรอื สงสยั ว่าจะมีข้าศกึ 2. ช่วยในการปรบั การยงิ ในเวลากลางคืน อตั ราการส่องแสงและพนื้ ทส่ี ่องสว่างขน้ึ อยู่กบั ขนาดของอาวธุ โดยปกตจิ ะส่อง สว่างได้นานระหว่าง 1 - 2 นาที และคลุมพน้ื ทที่ ม่ี เี ส้นผ่าศูนย์กลาง 2,000 เมตรได้ 184 เหลา่ ทหารปืนใหญ่

บทท่ี เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 185 การปรับการยิง ตอนที่ 1 การแกข้ น้ั ตอ่ ไป 1. ความมงุ่ หมายของการปรบั การยิง ความตอ้ งการหลกั ในการโจมตเี ปา้ หมายใหไ้ ดผ้ ลกค็ อื การยงิ อยา่ งแมน่ ยำ� และ จโู่ จมลงบนเปา้ หมายนน้ั ๆ ถา้ ผตน. สามารถกำ� หนดทตี่ งั้ เปา้ หมายไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง กจ็ ะ สง่ คำ� ขอยงิ สำ� หรบั การยงิ หาผลได้ หาก ผตน. ไมอ่ าจกำ� หนดทตี่ ง้ั เปา้ หมายไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง อาจเปน็ เพราะทศั นวสิ ยั เลว ภมู ปิ ระเทศลวงตา แผนทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง หรอื ยากแกก่ ารกำ� หนด ท่ีอยู่ของตนเอง จนไม่ม่ันใจว่าการยิงหาผลในนัดแรกจะบรรลุผลตามความต้องการได้ กค็ วรจะปรบั การยงิ แมว้ า่ ผตน. จะขอยงิ หาผลในนดั แรก เพราะมน่ั ใจวา่ การกำ� หนดทตี่ ง้ั เปา้ หมายของตนถกู ตอ้ งกต็ าม หาก ศอย. ไมม่ น่ั ใจในการหาหลกั ฐานยงิ เชน่ ไมม่ ตี วั แกท้ ี่ ถูกต้อง นอย. ก็อาจส่ังให้ปรับการยิงก็ได้โดยปกติแล้วการปรับการยิงจะกระทำ� ด้วยปืน กระบอกเดยี ว เวน้ ไวแ้ ตใ่ นบางสถานการณ์ อาจใชป้ นื มากกวา่ หนง่ึ กระบอก ซง่ึ จะไดก้ �ำหนด ไวโ้ ดยเฉพาะในแตล่ ะสถานการณ์ 2. จดุ ปรบั การยิง เมอ่ื จำ� เปน็ จะตอ้ งปรบั การยงิ ผตน. จะตอ้ งเลอื กจดุ ปรบั การยงิ มาจดุ หนง่ึ เพอื่ ชว่ ยใหก้ ารปรบั การยงิ กระทำ� งา่ ยขนึ้ ในการยงิ เปน็ พนื้ ที่ ผตน. จะเลอื กจดุ เดน่ ๆ จดุ ใดจดุ หนง่ึ

186 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ บรเิ วณกงึ่ กลางพน้ื ทเี่ ปา้ หมายนน้ั เปน็ จดุ ปรบั การยงิ จดุ นก้ี ค็ อื ทต่ี งั้ ของเปา้ หมายในคำ� ขอยงิ นน้ั เอง ในการยิงหาหลกั ฐานหรอื การยิงทำ� ลาย (การยงิ ประณตี ) จุดปรบั การยิงกค็ อื จดุ ยิง หาหลักฐานหรอื เป้าหมายทต่ี ้องการยงิ ท�ำลาย 3. การตรวจ การตรวจคือ การที่ ผตน. พิจารณาต�ำบลกระสุนตก หรือก่ึงกลางของต�ำบล กระสนุ ตก หรอื ปานกลางมณฑลของกลมุ่ ต�ำบลระเบดิ นำ� ไปเปรยี บเทยี บกบั จดุ ปรบั การยงิ โดยใช้แนวตรวจการณ์ หรอื แนว ตม. เป็นแนวอ้าง การตรวจกระท�ำได้ดังน้ี - การตรวจทางข้างหรอื ทางทศิ ได้แก่ การวดั ว่าต�ำบลระเบดิ อยู่ทางขวา หรอื ทางซ้ายของแนวตรวจการณ์ หรอื แนว ตม. เท่าใด (มิล.) - การตรวจทางระยะ ได้แก่ การประมาณว่าตำ� บลระเบดิ อยู่หน้าหรอื หลงั ของ จุดปรบั การยงิ - การตรวจสงู กระสนุ แตก (เมอ่ื ยงิ ดว้ ยชนวนแตกอากาศ) วา่ สงู กระสนุ แตกอยู่ เหนือจุดปรบั การยงิ เท่าใด (มลิ .) การตรวจน้ีจะต้องกระท�ำในทนั ทที กี่ ระสนุ ระเบดิ ขึน้ เว้น การยิงด้วยชนวนถ่วงเวลา อาจต้องคอยสงั เกตควันหรอื ฝุ่นหลังการระเบดิ ในการฝึก ผตน. ข้นั แรกควรจะให้รายงานผลการตรวจด้วยเสมอ เม่ือมิความชำ� นาญแล้ว อาจเกบ็ ผลการ ตรวจไวใ้ นใจ ผตน. ควรจะตอ้ งคอยสงั เกตผลการตรวจทกี่ ระท�ำไดย้ ากกวา่ กอ่ นเสมอ ไดแ้ ก่ การตรวจสงู กระสนุ แตก (แตกอากาศหรือกระทบแตก), การตรวจทางระยะ (หน้าหรือหลัง) และการตรวจทางทศิ (ซ้ายหรอื ขวา) ก. การตรวจสงู กระสนุ แตก การตรวจสงู กระสนุ แตกกระทำ� ได้อยา่ งใดอย่าง หนึ่งดงั ต่อไปน้ี - แตกอากาศ (อ.) นัดหรือกลุ่มต�ำบลระเบิดในอากาศ ตรวจเป็น “แตกอากาศ” (กม่ี ิล., เหนอื พ้นื ดนิ ) เช่นตำ� บลระเบดิ แตกอากาศ 10 มิล. เหนอื พนื้ ดินตรวจ ได้เป็น “แตกอากาศ 10” - กระทบแตก (ก.) นดั หรือกลุ่มกระสนุ ที่กระทบพ้ืนแล้วจงึ ระเบิดตรวจ เป็น “กระแทกแตก” - คละ (ค.) เมอื่ กลมุ่ กระสนุ ทยี่ งิ ไปแตกอากาศ และกระทบแตก มจี ำ� นวน เท่า ๆ กนั ตรวจเป็น “คละ”

- แตกอากาศคละ (อค.) เม่อื กลุ่มกระสนุ ทย่ี งิ ไป แตกอากาศมากกว่า เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 187 กระทบแตก ตรวจเป็น “แตกอากาศคละ” - กระทบแตกคละ (กค.) เมือ่ กลุ่มกระสนุ ทีย่ งิ ไป กระทบแตกมากกว่า แตกอากาศ ตรวจเป็น “กระทบแตกคละ” ข. การตรวจทางระยะ กระท�ำเพ่ือให้ทราบว่ากระสุนที่ยิงไปตกหน้า, ตกหลัง หรือระยะเป้าหมาย เพ่ือประโยชน์ในการปรับการยิงนั่นเอง ตามปกติกระสุนนัดท่ี ให้ผลการตรวจเป็นตรงทิศหรือระเบิดใกล้แนว ตม. มักจะตรวจผลทางระยะได้เสมอ ส่วน กระสุนท่ีระเบิดไกลแนว ตม. การตรวจผลทางระยะมักกระท�ำได้ยากกว่า ดังนั้น ผตน. ควรพยายามหาประโยชน์จากการศึกษาภูมิประเทศ ควันของต�ำบลระเบิด เงาและลม ให้สามารถตรวจผลทางระยะได้ อย่างไรก็ตามแม้ว่าจะเป็น ผตน. ท่ีมีประสบการณ์แล้ว ก็จะต้องใช้ความรอบคอบ และการตัดสินใจช่วยในการตรวจผลทางระยะ การตรวจผล ทางระยะที่กระท�ำได้ มีดังนี้ - หลัง (+) นัดที่กระสุนไประเบิดเลยจุดปรับการยิงออกไปตรวจเป็น “หลัง” - หน้า (-) นัดท่ีกระสุนไประเบิดระหว่าง ผตน. กับจุดปรับการยิงตรวจเป็น “หน้า” - เป้าหมาย (ม.) นัดท่ีกระสุนไประเบิดบนเป้าหมายตรวจเป็น “เป้าหมาย” ใช้เฉพาะการยิงประณีตเท่าน้ัน (การยิงหาหลักฐานและการยิงท�ำลาย) - ระยะเป้าหมาย (รยม.) นัดท่ีกระสุนไประเบิดในระยะถูกต้องตรวจเป็น “ระยะเป้าหมาย”

188 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ - สงสัย (?) นัดที่สามารถตรวจผลการยิงได้ แต่บอกไม่ได้ว่าเป็นหน้า หรือหลังเป้าหมาย หรือระยะเป้าหมาย ตรวจเป็น “สงสัย” - หาย (ห.) ไม่สามารถก�ำหนดท่ีต้ังของต�ำบลระเบิดได้ด้วยสายตาหรือ ฟังเสียง ตรวจเป็น “หาย” - ตรวจไม่ได้ (ตมด.) ไม่สามารถตรวจต�ำบลระเบิดได้ แต่ทราบว่า กระสุนไประเบิด (ปกติได้ยินเสียง) ตรวจเป็น “ตรวจไม่ได้” - ตรวจไมไ่ ดห้ ลงั (หนา้ )(ตมด.+,-)ไมส่ ามารถตรวจตำ� บลระเบดิ ได้แตท่ ราบวา่ กระสุนตกหลงั หรอื หน้า ตรวจเป็น “ตรวจไม่ได้หลงั (หน้า)” ค. การตรวจทางทศิ หรอื ทางข้าง 1) ผลการตรวจทางทศิ ไดแ้ ก่ งา่ มมมุ ทวี่ ดั ระหวา่ งจดุ ปรบั การยงิ กบั ตำ� บล ระเบดิ ซงึ่ มองเหน็ ไดจ้ ากทต่ี ง้ั ทตี่ รวจการณ์ ระหวา่ งปรบั การยงิ ผตน. วดั มมุ ทางขา้ งเปน็ มลิ . โดยใช้กล้องส่องสองตา (หรอื เครือ่ งมอื วัดมมุ อน่ื ๆ) ในการยงิ เป็นพ้นื ทก่ี ารวดั มมุ ทางข้าง ใช้ค่าใกล้เคยี ง 5 มลิ . ส่วนการยงิ ประณตี ใช้ค่าใกล้เคยี งถึง 1 มิล. ผลการตรวจทางข้างท่ี กระท�ำได้มดี งั น้ี - ตรงทิศ (ตท.) นัดท่กี ระสุนไประเบิดบนแนวของจดุ ปรับการยงิ ซึ่งมอง เห็นได้จาก ผตน. (บนแนว ตม.) ตรวจเป็น “ตรงทศิ ” - ซา้ ย (ซ.) นดั ทกี่ ระสนุ ไประเบดิ ทางซา้ ยของจดุ ปรบั การยงิ โดยสมั พนั ธ์ กบั แนว ตม. ตรวจเป็น “ซ้าย” - ขวา (ข.) นดั ทกี่ ระสนุ ไประเบดิ ทางขวาของจดุ ปรบั การยงิ โดยสมั พนั ธ์ กบั แนว ตม. ตรวจเป็น “ขวา” ตัวอย่างเช่น ผตน. ตรวจเหน็ กระสุนตกทางขวาของแนว ตม. วัดมมุ ทาง ข้างได้ 40 มลิ . ผลการตรวจทางทศิ คือ “40 ขวา” การตรวจทางทิศ ซ้าย 20 การตรวจทางทิศ ตรงทิศ

2) ผลการตรวจทางทศิ ใหว้ ดั จากกงึ่ กลางตำ� บลระเบดิ นดั เดยี ว หรอื วดั เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 189 จากปานกลางมณฑลของกลมุ่ ตำ� บลระเบดิ เมอื่ ทำ� การยงิ ดว้ ยหมวดปนื หรอื กองรอ้ ยปนื ผล การตรวจทางทศิ ควรกระทำ� อยา่ งถกู ตอ้ งเทา่ ทจ่ี ะทำ� ได้ เพอื่ ชว่ ยใหผ้ ลการตรวจทางระยะใชไ้ ด้ ง. ตรวจไมไ่ ด้ บางครงั้ ผตน. จะไมเ่ หน็ ตำ� บลระเบดิ แตก่ อ็ าจจะบอกใหท้ ราบ ไดว้ า่ ผลการตรวจเปน็ อยา่ งไร เชน่ เมอ่ื ไดย้ นิ เสยี งระเบดิ แตไ่ มส่ ามารถเหน็ ต�ำบลระเบดิ และ ภูมปิ ระเทศด้านหลงั จดุ ปรับการยงิ เป็นหบุ เหว ผตน. กต็ รวจได้ทนั ทวี ่า “ตรวจไม่ได้, หลงั ” จ. หาย ถ้า ผตน. ไม่สามารถตรวจทต่ี ้ังของตำ� บลระเบดิ (ด้วยการมองเห็น หรอื ได้ยินเสยี ง) ตรวจเป็น “หาย” 1) กระสุนหายได้หลายกรณี เช่น - กระสนุ ดา้ น (ชนวนไมท่ ำ� งาน) ทำ� ใหม้ องไมเ่ หน็ และไดย้ นิ เสยี งระเบดิ - ภูมิประเทศก�ำบังกระสนุ และก�ำบงั ไม่ให้เหน็ ควนั ระเบิด - สภาพอากาศไมอ่ ำ� นวยใหเ้ หน็ กระสนุ และกำ� บงั ไมใ่ หเ้ หน็ ควนั ระเบดิ - การยิงของข้าศกึ ท�ำให้ไม่ได้ยินเสียงหรอื มองเห็นตำ� บลระเบดิ - ความเผลอของผู้ตรวจการณ์เอง - ความผิดพลาดของ ศอย. และหมู่ปืน 2) เมื่อปรากฏว่ากระสุนหาย ผตน. จะต้องพิจารณาถึงประสบการณ์ ของตนท่ีมีความช�ำนาญของ ศอย. หมู่ปืน และท่ีตั้งของแนวหน้าฝ่ายเราที่เกี่ยวข้องกับ เปา้ หมาย แลว้ จงึ ควรตกลงใจแกอ้ ยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ โดยชง่ั น�้ำหนกั ใหด้ รี ะหวา่ งความเชอื่ มน่ั ในการก�ำหนดท่ีตั้งเป้าหมายของตนว่าถูกต้อง ความถูกต้องในการยิงของภารกิจก่อน ๆ นัดทีห่ ายเป็นนดั แรกของการยงิ หรอื นดั กดั ไปและความรีบเร่งในการด�ำเนนิ ภารกิจยิง 3) เมอ่ื มกี ระสนุ หาย ผตน. จะตอ้ งกระทำ� อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ตอ่ ไปนใ้ี นทนั ที - ตรวจสอบหลักฐานต่าง ๆ โดยเริ่มจากการกำ� หนดที่ต้ังเป้าหมาย และค�ำขอยิงของตน - ขอยงิ กระสนุ ควนั ขาวหรอื กระสนุ ควนั หรอื ยงิ แตกอากาศสงู 200 เมตร ด้วยกระสนุ ระเบดิ ในนดั ต่อไป - ขอยงิ ซ้ํา - จบภารกจิ และเรม่ิ ภารกจิ ใหม่ - ตกลงใจอยา่ งรอบคอบ ในการทจี่ ะยา้ ยไปยงิ ในนดั ตอ่ ไป โดยคาดวา่ จะท�ำการตรวจผลได้ ต้องระมดั ระวังเป็นพิเศษ ถ้าเป้าหมายอยู่ใกล้ฝ่ายเรา

190 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 4. ประเภทของการแก้ หลังจากได้ผลการตรวจแล้ว ผตน. จะส่งการแก้เป็นเมตรไปให้ ศอย. เพ่อื ทีจ่ ะ น�ำต�ำบลระเบดิ เข้าหาจดุ ปรับการยงิ การแก้ของ ผตน. จะเป็นผลตรงข้ามกับผลการตรวจ การแกข้ อง ผตน. ทำ� ไดต้ ามลำ� ดบั คอื การแกท้ างทศิ การแกท้ างระยะ และการแกส้ งู กระสนุ แตก (สกต.) ก. การแก้ทางทศิ 1) การแก้ทางทิศเป็นเมตร ในอันที่จะย้ายต�ำบลระเบิดไปตรงข้ามกับผล การตรวจนั้น หาได้โดยใช้ผลการตรวจทางข้างเป็น มิล. ของ ผตน. คูณกับระยะ ตม. เป็นจ�ำนวนเต็มพันเมตร (แฟคเตอร์ ตม.) จะได้การแก้ทางทิศใช้ค่าใกล้เคียง 10 เมตร หากการแก้ทางทิศท่ีก�ำหนดได้มีค่าน้อยกว่า 30 ม. ลงมาถือว่ามีค่าเล็กน้อย ปกติจะยัง ไม่ส่งให้ ศอย. ส�ำหรับใช้ในการยงิ เป็นพื้นที่ เว้นแต่เมอ่ื ต้องการความถูกต้อง หรือจนกว่า จะเข้าขน้ั การยิงหาผล 2) ในการหาแฟคเตอร์ ตม. เมอ่ื ระยะ ตม. ตงั้ แต่ 1000 เมตร ขนึ้ ไปใชจ้ ำ� นวนเตม็ พนั เมตร และเมอ่ื ระยะ ตม. น้อยกว่า 1000 เมตร ให้ใช้ทศนยิ มหน่งึ ต�ำแหน่ง 3) เมื่อค�ำนวณการแก้ทางทิศได้แล้ว ปัดเป็นจ�ำนวนเต็ม 10 เมตร แล้ว ประกาศให้ ศอย. ทราบเป็นซ้าย...(หรือขวา...) เท่าใด การแก้จะมีผลตรงข้ามกับการตรวจ 4) หาการแก้ทางทศิ ได้ตามตวั อย่าง เช่น ระยะ ตม. (เมตร) แฟคเตอร์ ตม. ผลการตรวจ (มลิ .) การแกท้ างทศิ (เมตร) 4000 4 45 ขวา ซ้าย 180 2500 2 100 ซ้าย ขวา 200 3400 3 55 ซ้าย ขวา 160 1500 2 20 ขวา ซ้าย 40 700 0.7 45 ซ้าย ขวา 30 5) มุมตรวจการณ์ (มมุ ต.) คอื มุมทีส่ กัด ณ เป้าหมายระหว่างแนว ตม. กับแนว ปม. หากมมุ ต. มีค่าต้งั แต่ 500 มลิ .ขึน้ ไป ศอย. จะแจ้งให้ ผตน. ทราบ เพราะมุม ต. ใหญ่ ท�ำให้การกระจายทางระยะของปืนจะเป็นผลต่อการแก้ทางทิศของ ผตน. มาก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook