Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา เหล่าทหารปืนใหญ่ ปี4 (ชาย)

วิชา เหล่าทหารปืนใหญ่ ปี4 (ชาย)

Published by military2 student, 2022-05-03 02:22:44

Description: วิชา เหล่าทหารปืนใหญ่ ปี4 (ชาย)

Search

Read the Text Version

(2) กองร้อยปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานขนาด 20 มม. วัลแคน (อจย. 44 - 67) เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 241 บก.ร้อย. (3) กองร้อยปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ขนาด 40 มม. ควบคุมการยิงด้วย เรดาร์ (อจย. 44 - 68) บก.ร้อย.

242 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 3) ปตอ.1 พนั .6 (ควบคมุ การยงิ ดว้ ยอิเลก็ ทรอนิกส)์ (อจย. 44 - 65) ก) ภารกจิ ให้การป้องกนั ภยั ทางอากาศเฉพาะตำ� บลต่อท่ตี ้งั ส�ำคัญ ซ่งึ ได้ รับมอบ อาจป้องกนั ภัยทางอากาศให้กับหน่วยรบในแนวหน้า และทำ� การยงิ เป้าหมายทาง พน้ื ดิน ข) การแบ่งมอบ เป็นหน่วยของกองทพั บก อาจแบ่งมอบให้หน่วยรองตาม ความเหมาะสม ค) การจดั 1) บก. และ ร้อย. บก. (อจย. 44 - 66) (ก) ภารกิจ (1) อ�ำนวยการ และประสานการปฏิบัติของกองพัน โดยจัดให้ มเี คร่อื งมอื เครือ่ งใช้ท่ีจ�ำเป็นท้งั ปวงในการควบคมุ บงั คับบญั ชากองพัน (2) สง่ กำ� ลงั สง่ิ อปุ กรณท์ กุ ประเภท ตลอดจนปฏบิ ตั กิ ารซอ่ มบำ� รงุ ขัน้ หน่วยในกองพนั (ข) การแบ่งมอบ 1 กองร้อย ต่อ 1 กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้ อากาศยาน ขนาด 40 มม. (ค) การจัด

. บก.ร้อย. บก.หมวด เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 243 2) ร้อย ปตอ. 20 มม. (อจย. 44 - 85) (ก) ภารกิจ (1) ทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ สว่ นกำ� ลงั ยงิ ของกองพนั ปนื ใหญต่ อ่ สอู้ ากาศยาน (2) ป้องกนั ภยั ทางอากาศต่ออากาศยานระดับต่าํ ของข้าศกึ (ข) การแบ่งมอบ เป็นหน่วยในอัตรากองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้ อากาศยาน (ค) การจดั บก.ร้อย. บก.หมวด

244 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 3) ร้อย. ปตอ. 57 มม. บก.ร้อย. บก.หมวด หมายเหต ุ 1. พนั .ปตอ. ทม่ี กี ารจัดการตาม อจย.44 – 65 คอื ปตอ.พัน.5 และ ปตอ.พัน.6 ซึ่งเป็นหน่วยในอตั ราของ ปตอ.1 และ ปตอ.พนั .6 ซงึ่ เป็นหน่วยในอัตราของ ปตอ.1 ระบบ อาวธุ ทใี่ ชค้ อื ปตอ. 40 มม. แอล 70 ควบคมุ การยงิ ดว้ ยฟลายแคทเชอร์ ปตอ. 20 มม. (วลั แคน) อจ. ปตอ. 57 มม. ควบคมุ การยิงด้วยเรดาร์ (สปจ.) ปตอ. 20 มม. (วลั แคน) ลจ. 2. ปตอ.1 พนั .5 ได้รบั - ปตอ. 20 มม. อตั ตาจร (วัลแคน) 2 กองร้อย (24 หมู่) - ปตอ. 40 มม. แอล 70 (สวีเดน) 2 กองร้อย (มี 8 หมวด ยงั ขาดอตั รา 4 หมวด) - ปตอ. 40 มม. แอล 70 (องั กฤษ) 8 หมู่ เพม่ิ เติมจากทขี่ าดอตั รา (เฉพาะ อาวธุ ) - เรดาร์แลดส์ 2 หมู่ (ร้อย.บก.) 3. ปตอ.1 พัน.6 ได้รบั - ปตอ. 20 มม. ลากจูง (วลั แคน) 2 กองร้อย (24 หมู่) - เรดาร์แลดส์ 2 หมู่ (ร้อย.บก.) - เรดาร์แจ้งเตอื นภัย (TYPE-513) - เรดาร์ควบคมุ การยงิ TYPE-B - เคร่อื งให้ทศิ ทาง (DIRECTOR)

4) ปตอ.1 พัน.7 - ปตอ.พนั .7 เป็นหน่วยจดั ตง้ั ใหม่ โดยการรวม กองร้อย ปตอ. อต.1 และ กองร้อย ปตอ. อต.2 สำ� หรับอาวธุ ในกองพัน จะประกอบด้วย อาวธุ ของทั้ง 2 กองร้อย เหมือนเดมิ ทกุ ประการ ก) กองร้อยทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานอาวุธน�ำวิถีระดับต่ําที่ 1 (อจย. 44 - 167) 1) ภารกิจ ท�ำการต่อสู้ป้องกันภัยทางอากาศ ให้กับหน่วยปฏิบัติการ ทางยุทธวิธีที่ตั้งส�ำคัญต่าง ๆ และขบวนเดินโดยท�ำการยิงต่อสู้อากาศยานข้าศึกท่ีบิน ระดับตา่ํ 2) การแบง่ มอบ เป็นหน่วยของ ทบ. ซ่งึ อาจแบ่งมอบให้หน่วยรองได้ ตามความเหมาะสม 3) การจัด บก.ร้อย. เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 245 บก.หมวด บก.หมวด บก.ร้อย. หมายเหต ุ ร้อย.ปตอ. อต.1 ได้รบั อตอ. IGLA-S

ข) กองร้อยทหารปีนใหญ่ต่อสอู้ ากาศยานอาวธุ น�ำวถิ ีระดับต่ําท่ี 2 บก.ร้อย. บก.หมวด บก.หมวด บก.มว. บก.หมวด 246 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ หมายเหตุ ร้อย.ปตอ. อต.2 ได้รบั ระบบ VL MICA ค) กองพัน ปตอ. ในอัตราของ กรม ป. กองพลด�ำเนนิ กลยุทธ์ กองพนั ปตอ. ในอตั ราของ กรม ป. กองพลดำ� เนนิ กลยทุ ธ์ มปี รากฏอยู่ ในผงั การจดั ของ กรม ป. พล.ร.มาตรฐาน และ ร. ยานเกราะ และ พล.ม. จำ� นวน 1 กองพนั แต่ปัจจบุ ัน ทบ. ยังไม่บรรจกุ �ำลงั พัน.ปตอ. ให้กบั กรม ป. ดังกล่าวเลย 1) ภารกิจ - ให้การป้องกันภัยทางอากาศเฉพาะต�ำบลต่อท่ีต้ังท่ีได้รับมอบ โดยปฏบิ ัตกิ ารยงิ อากาศยานในระดบั ต�่ำ

2) การจัด ตามปกตมิ ีการจดั ตาม อจย. 6 - 101 (24 ต.ค. 20) 155 มม. ลจ. 105 มม. ลจ. 40/12.7 มม. - ท�าการยงิ เป้าหมายทางผวิ พ้ืนอืน่ ๆ หมายเหตุ ส�าหรับระบบอาวุธ อาจปรับปรุงขีดความสามารถในการเคล่ือนท่ีให้ เห ่ลาทหาร ปนให ่ญ 247 สอดคล้องกับแบบของกองพลดา� เนนิ กลยทุ ธ์ 3) ขีดความสามารถ - ในการป้องกนั ภยั ทางอากาศเฉพาะตา� บลต่อทตี่ ง้ั ตา่ ง ๆ ทไี่ ดร้ บั มอบ โดยปฏิบัตกิ ารยงิ อากาศยานในระดบั ต�่า - ทา� การยิงเป้าหมายผวิ พนื้ ได้ - มีความคล่องแคล่วในการเคลื่อนท่ีในภูมิประเทศ สามารถเคล่ือนที่ ติดตามกองพลได้ “เกดิ มาทง้ั ทมี นั กด็ อี ยแู่ ตเ่ มอื่ เปน็ ...”

248 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ บทท่ี อาวธุ และยทุ โธปกรณป์ ืนใหญ่ตอ่ สู้ อากาศยาน ทบ.ไทย 1. กล่าวน�ำ ภยั ทางอากาศไดเ้ กดิ ขน้ึ เปน็ ครง้ั แรกในระหวา่ งสงครามโลกครง้ั ท่ี 1 โดยนกั บนิ ได้หย่อนลูกระเบดิ เล็ก ๆ ออกจากห้องนกั บนิ และท�ำการบนิ อยู่ในอากาศ และก่อให้เกดิ อนั ตรายตอ่ เหลา่ ทหารบกบนพนื้ ดนิ วงการทหารจงึ ไดเ้ รม่ิ เผชญิ กบั ปญั หาการปอ้ งกนั ทาง อากาศตงั้ แตบ่ ดั นนั้ เปน็ ตน้ มาจงึ ไดป้ ระดษิ ฐอ์ าวธุ เพอื่ ตอ่ สอู้ ากาศยานขนึ้ โดยในระยะแรก ได้น�ำเอาปืนกลมาติดตั้งกับรถบรรทุกเพ่ือยิงต่ออากาศยาน คร้ันต่อมาอากาศยานและ อาวธุ ทใี่ ชโ้ จมตตี อ่ เปา้ หมายทางพน้ื ดนิ ไดม้ กี ารพฒั นาใหม้ ขี ดี ความสามารถเพอ่ื กอ่ ใหเ้ กดิ อันตรายเพม่ิ มากขนึ้ อย่างรวดเรว็ หน่วยทหารทางพื้นดนิ จงึ ได้ประดษิ ฐ์อาวธุ ปตอ. เพ่ือ ตอ่ สอู้ นั ตรายทค่ี กุ คามความปลอดภยั ของตนขนึ้ ภายหลงั สงครามโลกครงั้ ท่ี 1 อากาศยาน ทางทหารไดร้ บั การพฒั นาอยา่ งรวดเรว็ ทง้ั ในดา้ นความเรว็ ความสงู ระยะการปฏบิ ตั กิ าร และระบบอาวธุ ซึง่ อาวธุ ปตอ. กไ็ ด้รบั การพฒั นาควบคู่ไปกบั ความเจริญก้าวหน้าของ อากาศยาน จนถึงสมัยสงครามโลกคร้ังที่ 2 คู่สงครามได้นำ� เอาอากาศยานมาใช้อย่าง กวา้ งขวาง ภยั ทางอากาศไดท้ วคี วามรนุ แรงยง่ิ ขน้ึ เปา้ หมายทางอากาศมไิ ดจ้ �ำกดั อยเู่ พยี ง เปา้ หมายทางยทุ ธวธิ แี ละยทุ ธศาสตรใ์ นเขตยทุ ธบรเิ วณเทา่ นน้ั หากยงั ขยายการปฏบิ ตั กิ าร ต่อเป้าหมายทางยุทธศาสตร์ในเขตภายในอีกด้วย ปัจจุบันภัยทางอากาศมิได้เกิดจาก พาหะคอื เครอ่ื งบนิ รบแตเ่ พยี งอยา่ งเดยี วเทา่ นน้ั แตเ่ กดิ จากอากาศยานทไี่ มม่ พี ลประจำ� ปนื อันได้แก่ ขปี นาวธุ ท้ังปวง ซงึ่ ส่งจากฐานยงิ บนพืน้ ดนิ บนผวิ นํ้า ใต้ผวิ น้าํ ในบรรยากาศ

และในอากาศทำ� การโจมตเี ปา้ หมายทางผวิ พภิ พทกุ แหง่ ไดอ้ ยา่ งแมน่ ย�ำ อำ� นาจการทำ� ลาย เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 249 ของหวั รบหรอื ลูกระเบดิ สามารถเลอื กใช้ได้อย่างกว้างขวาง ให้เหมาะกับเป้าหมาย ต้งั แต่ อำ� นาจการทำ� ลายของระเบดิ แรงสูง สารเคมี ชีวะ ไปจนถึงอาวุธนิวเคลยี ร์ ซ่ึงอำ� นาจการ ทำ� ลายล้างขนาดต่าง ๆ กัน ดงั นั้นอาวุธ ปตอ. ในปัจจุบันจงึ ได้รบั การพฒั นาควบคู่ไปกบั ความเจริญก้าวหน้าของภัยทางอากาศ จนสามารถเผชิญกับภัยทางอากาศทุกรูปแบบได้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ส�ำหรับ ทบ.ไทย อาวุธ ปตอ. เป็นอาวธุ หลกั ของเหล่าทหารปืนใหญ่ และเป็นอาวธุ หลกั ของ ทบ. ท่ใี ช้ในการป้องกันภยั ทางอากาศ ดังนัน้ ทหารปืนใหญ่ควรให้ ความสนใจต่ออาวธุ น้เี ป็นพิเศษ วัตถปุ ระสงค์ สำ� หรับการสอนเรอ่ื งอาวุธยทุ โธปกรณ์ ปตอ.น้ี เพอ่ื ให้นกั เรยี นมี ความรู้ในเร่อื ง 1) การแบ่งประเภทอาวธุ ปตอ. 2) อาวุธ ปตอ. ของ ทบ.ไทย 3) อาวธุ ปตอ. ของ สหรฐั อเมรกิ า 4) อาวธุ ปตอ. ของ โซเวยี ต 2. การแบง่ ประเภทอาวธุ ปตอ. เนอ่ื งจากอาวธุ ปตอ. ได้รบั การพฒั นาและได้นำ� มาใช้ในปัจจบุ นั มหี ลายระบบ และหลายชนิด อาวุธดังกล่าวสามารถแบ่งออกได้ดังน้ี คือ การแบ่งประเภทอาวุธ ปตอ. ตามลกั ษณะอาวธุ การแบ่งประเภทอาวธุ ปตอ. ตามระยะยงิ และการแบ่งประเภทอาวุธ ปตอ. ตามลกั ษณะการนำ� ไปมา ก. การแบง่ ประเภทอาวธุ ปตอ. ตามลกั ษณะอาวธุ สามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คอื 1) ปตอ. ล�ำกล้อง อาวธุ ปตอ. ลำ� กล้องเป็นอาวธุ ป. กระสนุ วิถีราบ ทำ� การ ยิงแบบอัตโนมัติด้วยความเร็วในการยิงสูง โดยทั่วไปแล้วมีขนาดกว้างปากล�ำกล้องไม่เกิน 40 มม. และมรี ะยะยงิ จ�ำกัด 2) อาวุธน�ำวิถีผิวพื้นสู่อากาศหรืออาวุธน�ำวิถีต่อสู้อากาศยาน (SURFACETOAIR MISSILE) เป็นอาวุธส่งซ่ึงส่งจากเคร่ืองส่ง (LAUNCHER) แล้วสามารถ ปรบั วถิ เี ขา้ หาเปา้ หมายไดใ้ นขณะเคลอื่ นทอ่ี ยใู่ นอากาศ ระบบของการนำ� วถิ ที ใี่ ชม้ ี 3 แบบ คอื

250 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ก) สั่งการนำ� วถิ ี (COMMAND GUIDANCE) คอื ระบบนำ� วิถกี ารเคล่อื นท่ี ของอาวุธส่งสามารถเปล่ียนแปลงได้ ภายหลังปล่อยขึ้นสู่อากาศแล้วด้วยสัญญาณส่ังการ จากภายนอกตวั อาวุธ เช่น โรแลนด์, ไนกเี้ ฮอร์ควิ ลสิ ข) การแล่นไต่ลำ� นำ� วถิ ี (BEAM-RIDING GUIDANCE) คือ ระบบน�ำวถิ ีซง่ึ อาวุธส่ง เมอื่ ส่งข้นึ สู่อากาศแล้ว อาวธุ ส่งจะเคลือ่ นที่เข้าหาลำ� คลื่นและจะเคล่ือนทไี่ ปตาม ลำ� คลนื่ (BEAM) แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ซง่ึ สง่ ออกไปจากเรดารท์ ต่ี ดิ ตงั้ อยบู่ นผวิ พน้ื ลำ� คลน่ื ดงั กลา่ ว จะเลง็ ตามเป้าหมาย ซง่ึ อาวุธส่งจะบังคับให้เคล่อื นท่ไี ปตามลำ� คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าเข้าสกัด กับเป้าหมายทเ่ี คลื่อนที่ เช่น เทอรเิ ออร์ ของ ทร.สหรฐั ฯ ค) เป้าหมายน�ำวิถี (HOMING GUIDANE) คือ ระบบน�ำวิถีซ่ึงอาวุธส่ง เมอื่ ได้ส่งขนึ้ สอู่ ากาศแล้ว การเคลอ่ื นทข่ี องอาวธุ สง่ สามารถเปลยี่ นแปลงวถิ ไี ดด้ ว้ ยอปุ กรณ์ ภายในอาวุธส่ง จะท�ำการปฏิกิริยาตอบโต้คุณลักษณะเด่นชัดบางประการของเป้าหมาย โดยธรรมดาจะอาศัยพลังงานรูปแบบต่าง ๆ ที่สะท้อนหรือแพร่ออกจากเป้าหมาย ระบบ เปา้ หมายนำ� วถิ แี บง่ ออกไดต้ ามลกั ษณะพลงั งานทแ่ี พรอ่ อกมาจากเปา้ หมายไดเ้ ปน็ 3 แบบ คอื (1) เป้าหมายน�ำวิถีแบบสะท้อนกลับโดยตรง (ACTIVE HOMING GUID-ANCE) ใชก้ ารสะทอ้ นกลบั จากพลงั งานทส่ี ง่ มาจากเครอ่ื งสง่ พลงั งาน (ILLUMINATOR) ทีต่ ดิ ต้ังอยู่ในตวั อาวธุ ส่งเอง เช่น โรแลนด์, ไนกีเ้ ฮอร์ควิ ลิส (2) เป้าหมายนำ� วถิ ีสะท้อนกลับทางอ้อม (SEMI ACTIVE HOMING GUIDANCE) ใช้การสะท้อนกลบั ของพลังงานทสี่ ่งมาจากเคร่อื งส่งพลงั งาน ซึง่ แยกออกมา ต่างหากจากตวั อาวธุ ส่ง เช่น SPADA (3) เปา้ หมายนำ� วถิ ี แบบสอ่ื จากเปา้ หมาย (PASSIVE HOMING GUID- ANCE) ใช้การแพร่พลงั งานทส่ี ่งมาจากตวั เป้าหมายเอง เช่น เรดอาย, สตงิ เกอร์, HN-5 ข. การแบ่งประเภทอาวธุ ปตอ. ตามระยะยงิ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท 1) อาวธุ ปตอ.ระยะใกล้ (SHORT RANGE AIR DEFENSE SYSTEM) อาวธุ ปตอ. ระยะใกล้มีทั้งอาวุธ ปตอ.ล�ำกล้อง และอาวุธน�ำวิถีผิวพ้ืนสู่อากาศ เช่น ปตอ. (ซาเจนทย์ อรค์ ) วลั แคน, ดสั เตอร์ อาวธุ นำ� วถิ ผี วิ พน้ื สอู่ ากาศ โรแลนด์ ชาปาเรล และประเภท น�ำไปมาด้วยคน (MANPAD) เช่น สตงิ เกอร์ และเรดอาย อาวุธ ปตอ.ระยะใกล้ ปกตจิ ะใช้ สนับสนุนหน่วยด�ำเนินกลยุทธ์ เพ่ือป้องกันภัยทางอากาศต่อท่ีต้ังท่ีส�ำคัญมากท่ีสุดต่อการ

สนับสนนุ ทางอากาศโดยใกล้ชดิ ของเคร่ืองบนิ และเฮลคิ อปเตอร์ของข้าศกึ และสามารถนำ� เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 251 มาใช้ในพ้นื ทส่ี ่วนหลงั เพอ่ื ป้องกนั ทต่ี ง้ั ต่าง ๆ เช่น สนามบิน ที่ตัง้ หน่วยทหาร และท่ีตง้ั ส�ำคญั อืน่ ๆ ในพ้ืนท่ขี องกองทพั น้อย ปตอ.ระยะใกล้ จะมีขดี ความสามารถในการเคล่ือนท่ี และความแข็งแรงเพียงพอ เพื่อให้ม่ันใจได้ว่าสามารถด�ำรงความอยู่รอดได้ภายใต้สภาพ แวดล้อมของหน่วยก�ำลงั รบท่ตี นไปสนับสนนุ 2) อาวุธ ปตอ.ระยะปานกลางและไกล (HIGH-TO-MEDIUM AIR DEFENSE SYSTEM) เปน็ อาวธุ นำ� วถิ ปี ระเภทผวิ พนื้ สอู่ ากาศ เชน่ ไนกเี้ ฮอรค์ วิ ลสิ พาตรอิ อด และฮอรค์ อาวุธ ปตอ.ปานกลางและไกล จะนำ� มาใช้กบั ภัยทว่ั ยุทธบริเวณ/ทพั น้อย ต่อการโจมตีของ อากาศยานขา้ ศกึ นอกจากนนั้ ยงั อาจบรรจใุ หก้ บั กองทพั นอ้ ยหรอื กองพลเมอ่ื มอี าวธุ เพยี งพอ เพื่อให้การป้องกันภัยทางอากาศครอบคลุมที่ตั้งส�ำคัญต่าง ๆ ของกองทัพน้อย/กองพล ต่อการโจมตขี องอากาศยานความเรว็ สูงของข้าศึก ค. การแบง่ ประเภทอาวธุ ปตอ. ตามลกั ษณะการเคลอื่ นที่ อาวธุ ปตอ. แบง่ ลักษณะการเคล่อื นท่ีได้เป็น 4 ประเภท คือ 1) ประจ�ำท่ี (FIXED) เป็นอาวุธ ปตอ. ที่ติดตั้งอยู่อย่างถาวร เพื่อป้องกัน บริเวณท่สี �ำคญั หรอื สถานที่ส�ำคัญ 2) ลากจูง (TOWED) เป็นอาวธุ ปตอ. ท่ีออกแบบสำ� หรับการเคล่อื นที่โดย พ่วงไปเบ้อื งหลังรถลาก 3) อตั ตาจร (SELF-PROPELLED) เป็นอาวธุ ปตอ. ทตี่ ิดต้งั บนยานพาหนะท่ี มกี ำ� ลังเคลอื่ นท่ไี ด้ด้วยตวั เอง 4) น�ำไปมาด้วยคน (MAN PORTABLE AIR DEFENSE SYSTEM - MANPAD) เป็น อาวธุ ปตอ. ท่ีน�ำไปมาด้วยพลยงิ 3. อาวุธและยุทโธปกรณ์ ปตอ.ทบ.ไทย อาวุธยุทโธปกรณ์ ปตอ. ทบ.ไทย นี้ จะได้กล่าวถงึ ปตอ. ส�ำกล้องและอปุ กรณ์ ควบคุมการยงิ อาวุธน�ำวิถีพน้ื สู่อากาศ และระบบเรดาร์แจ้งเตอื นภยั ของ ปตอ. ทบ.ไทย โดยสงั เขป เพ่อื ให้นกั เรยี นมีความรู้พน้ื ฐานเพยี งพอท่จี ะศึกษาวชิ ายุทธวิธี ปตอ. ต่อไป

ก. อาวธุ ปตอ. ลำ� กล้อง 1) ปตอ. 12.7 มม. แบบ M.55 ปตอ. 12.7 มม. แบบ M.55 เป็น ปตอ. ระยะ ใกลล้ ากจงู ประกอบดว้ ย ปก. ขนาด 12.7 มม. 4 กระบอก ติดต้ังอยู่บนแท่น ปก. แบบ M.45 แท่น ปก. น้ีติดตั้งบนรถพ่วง แบบ M.20 การนำ� ไปมาใช้ลากจงู ด้วย รยบ.1/4 ตนั หรอื บรรทกุ ไปบน รยบ.2 1/2 ตนั กไ็ ด้ คณุ ลกั ษณะ โดยสังเขปมดี ังนี้ ก) น้ําหนกั ประมาณ 3,000 ปอนด์ ข) ความเร็วต้น 2,930 ฟุต/วนิ าที ค) ระยะยงิ ไกลสดุ 6,660 เมตร ง) ระยะยิงหวงั ผล 252 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ - ทางอากาศ 725 เมตร - ทางพื้นดนิ 1,800 เมตร จ) อัตราเร็วในการยงิ (4 ล�ำกล้อง) 1,800 - 2,000 นดั /นาที ฉ) อตั ราเร็วในการเลง็ ตามสูงสดุ ท้งั ทางระดบั และทางด่งิ 60 องศา/วนิ าที ช) การหมนุ แท่นปืน - ทางทศิ 360 องศา - ทางสูง ต่ำ� สดุ -10 องศา สงู สุด 90 องศา ซ) เครอ่ื งเล็ง เครอ่ื งเลง็ วงกลมความเร็วสะท้อนแสงแบบ M.18 ญ) กระสนุ - กระสนุ ธรรมดา (BALL) - กระสนุ ส่องวถิ ี (TRACER) - กระสุนเจาะเกราะ (ARMOR PIERCING) - กระสนุ เพลงิ (INCENDIARY) - กระสนุ เจาะเกราะเพลิง (ARMOR PIERCING INCENDIARY) ด) พลประจำ� ปืน 5 นาย ต) ประจำ� การอยู่ในหน่วยรบ ปตอ.พัน.4

2) ปตอ. 12.7 มม. แบบ M.16 เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 253 ปตอ. 12.7 มม. แบบ M.16 เป็นอาวธุ ปตอ.ระยะใกล้ อัตตาจรประกอบด้วย ปก. ขนาด 12.7 มม. 4 กระบอก ตดิ ตงั้ อยู่บนแท่น ปก. แบบ M.45 แท่น ปก. น้ตี ิดต้งั อยู่บนรถกง่ึ สายพาน แบบ M.3 คุณลักษณะโดยสังเขปคงเช่นเดียวกับ ปตอ. 12.7 มม. แบบ M.55 เว้นแต่ ปตอ. 12.7 มม. แบบ M.16 มนี ํ้าหนกั 20,765 ปอนด์ ปตอ. 12.7 มม. แบบ M.16 ประจ�ำการอยู่ทใ่ี นหน่วยรบ คอื ปตอ.พัน.1 รอ. ปตอ.พัน.2 และ ปตอ.พนั .3 3) ปตอ. 12.7 มม. RC-24 ปตอ. 12.7 มม. RC-24 เป็น ปตอ.ระยะใกล้ ผลิตโดยประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจนี (REPUBLIC OF CHINA) เปน็ อาวธุ ปตอ.ลำ� กลอ้ งเดยี ว ตดิ ตง้ั บนขาหยงั่ สำ� หรบั ตง้ั ยงิ บนพ้นื ดนิ ทบ.ไทย ได้รับอาวธุ นี้เข้าประจำ� การในปี 2524 จงึ มีช่อื ปตอ. 12.7 มม. แบบ RC-24 ต่อมา ทบ.ไทย ได้ดดั แปลงโดยนำ� อาวุธนีม้ าติดตง้ั บนรถ รยบ. 1 ตัน 4 X 4 คุณลักษณะสงั เขปมดี ังนี้ ก) น้�ำหนกั ประมาณ (เฉพาะตัวปืนและขาหยัง่ ) 92 ปอนด์ ข) ความเรว็ ต้น 800 เมตร/วนิ าที ค) ระยะยิงไกลสดุ 7,000 เมตร ง) ระยะยงิ หวงั ผล - ทางอากาศ 1,600 เมตร - ทางพ้ืนดนิ 3,300 เมตร จ) อตั ราเร็วในการยงิ 600 นัด/นาที ฉ) การหมุนปืน - ทางทศิ 360 องศา - ทางสงู ตา่ํ สดุ -26 องศา สงู สดุ 78 องศา ช) เครอื่ งเลง็ เคร่อื งเล็งวงกลมความเรว็ แบบโลหะเปิด

ซ) กระสุน กระสนุ เจาะเกราะส่องวถิ ีแบบ 54 ญ) พลประจำ� ปืน 5 นาย ด) ประจำ� การอยู่ในหน่วยรบ ปตอ. พัน 4 (เป็นอาวุธเสริมให้กบั อาวธุ ปตอ. ที่ขาดอัตรา) จำ� นวน 16 หน่วยยงิ 254 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ 4) ปตอ. 20 มม. วลั แคน อตั ตาจร แบบ M.163 ปตอ. 20 มม. วลั แคน แบบ M.163 เปน็ ปตอ.ระยะ ใกล้ อตั ตาจรประกอบด้วย ปืนขนาด 20 มม. 6 ลำ� กลอ้ ง แบบ M.168 ลำ� กลอ้ งหมนุ ขณะทำ� การ ยงิ (GATLING TYPE GUN) ตดิ ตั้งอยู่บนแท่นปืน แบบ M.157 A1 ซึ่งแท่นปืนน้ีติดต้ังอยู่บนรถ สายพาน แบบ M.741 (รถสายพานน้ดี ดั แปลง มาจากรถสายพานล�ำเลียงพลแบบ M.113) นอกจากน้ันบนแท่นปืนดังกล่าวยังเป็นท่ีติดต้ัง ของเครอื่ งเลง็ ต่าง ๆ และชดุ เรดาร์ AN/VPS-2 อีกด้วย ก) น้ําหนกั 12,493 กก. ข) ความเร็วต้น 1,030 เมตร/วนิ าที ค) ระยะยงิ หวงั ผล - ทางอากาศ 1,200 เมตร - ทางพืน้ ดนิ เลง็ ตรง 2,000 เมตร - ทางพน้ื ดนิ เลง็ จ�ำลอง 4,500 เมตร ง) อัตราเร็วในการยงิ - อตั ราเรว็ ในการยงิ ตํา่ (ยงิ ต่อเนอ่ื ง) 1,000 นดั /นาที - อตั ราเรว็ ในการยิงสงู 3,000 นดั /นาที (ต้องตงั้ ห้วงการยงิ ต่อเนอ่ื ง 10, 30, 60 หรอื 100) จ) อัตราเรว็ ในการเลง็ ตาม - ทางทศิ 60 องศา/วินาที - ทางสงู 45 องศา/วนิ าที

ฉ) เครอ่ื งเล็ง - เครอ่ื งเลง็ คำ� นวณแบบ M.61 ใชย้ งิ เปา้ หมายทางอากาศและทางพนื้ ดนิ - กล้องเลง็ เครอ่ื งเลง็ เทเลสโคป แบบ M.134 ใชย้ งิ เป้าหมายทางพืน้ ดนิ ในเวลากลางวนั - กลอ้ งเลง็ ในเวลากลางคนื แบบ AN/TVS - 2B ใชส้ ำ� หรบั การตรวจการณ์ และยิงเป้าหมายทางพน้ื ดินในเวลากลางคนื ช) การหมุนปืน - ทางทศิ 360 องศา - ทางสงู ตา่ํ สุด -5 องศา สูงสดุ 80 องศา ซ) กระสุน (จำ� นวนกระสุนพร้อมยงิ 1,100 นัด) - กระสนุ ระเบดิ เพลงิ สอ่ งวถิ ที ำ� ลายตวั เอง (HEIT-SD) ใชย้ งิ เปา้ หมายทาง อากาศ - กระสนุ ระเบิดเพลิง (HEI) ใช้ยงิ เป้าหมายทางพ้ืนดิน - กระสุนฝึกยิงส่องวถิ ี (TP-T) ใช้ฝึกยิงเป้าหมายทางอากาศ - กระสนุ ฝึกยิง (TP) ใช้สำ� หรบั ฝึกยิงและทดสอบการยงิ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 255 - กระสุนฝึกบรรจุ (DUMMY) ใช้ส�ำหรับการฝึกบรรจุ ระบบการป้อนกระสุนแบบไม่มีข้อต่อสายกระสุน (LINKLESS FEED SYSTEM) ญ) ชุดเรดาร์ AN/VPS-2 - เป็นเรดาร์วดั ระยะ (RANGE ONLY RADAR) ใช้วดั ระยะและอตั ราการ เปลี่ยนแปลงทางระยะของเป้าหมายทางอากาศ และป้อนข้อมูลดังกล่าวให้กับเคร่ืองเล็ง ค�ำนวณ แบบ M.60 - ระยะท�ำงาน 250 - 5,000 เมตร พ้นื ท่สี ะท้อนคลื่นของเป้าหมาย 1 ตารางเมตร ด) พลประจำ� ปืน 4 นาย ต) ประจำ� การอยู่ในหน่วย ปตอ.พัน.5

5) ปตอ. 20 มม. วัลแคน ลจ. แบบ M.167 ปตอ. 20 มม. วลั แคน แบบ M.167 เป็น ปตอ. ระยะใกล้ ลากจูง ประกอบด้วย ปืนขนาด 20 มม. 6 ลำ� กล้อง แบบ M.168 ลำ� กล้องหมนุ ขณะทำ� การ ยงิ (GATLING TYPE GUN) ตดิ ตัง้ อยู่บนรถลากจงู ประกอบด้วย รยบ.1 1/4 ตนั หากดดั แปลงขอพ่วง สามารถใช้รถ รยบ.2 1/2 ตนั ลากจงู ได้ แท่นปืน แบบ M.157 A1 ซง่ึ แทน่ ปนื นตี้ ดิ ตง้ั บนรถพว่ ง แบบ M.42 ส่วนประกอบ และคุณลักษณะส่วนใหญ่ คงคลา้ ยคลงึ กบั ปตอ. 20 มม. วลั แคน อจ. คงมขี อ้ แตกต่างท่คี วรทราบดงั น้ี ก) นา้ํ หนกั 1,583 กก. ข) จ�ำนวนกระสนุ พร้อมยงิ 500 นดั ค) ระบบการป้อนกระสนุ ใช้ข้อต่อสายกระสนุ (LINKED FEED SYSTEM) 256 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ง) มีเคร่อื งตดั วงจรการยิง (FIRING INTERRUPTER) จ) พลประจำ� ปืน 6 นาย ฉ) ประจำ� การอยู่ในหน่วย ปตอ.พนั .6 6) ปตอ. 37 มม. ปตอ. 37 มม. เป็น ปตอ.ระยะใกล้ ลากจูง สร้างโดยประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจนี ประกอบด้วย ปตอ. 37 มม. 2 ล�ำกล้อง ตดิ ตั้งอยู่บนแท่นปืนซ่งึ ตดิ ต้งั บนรถ รองปืน อาวธุ แบบน้ี ทบ. ยังมิได้บรรจุเข้าประจำ� การให้กบั หน่วย ปตอ. แต่คงเก็บไว้เป็น อาวธุ เสรมิ คณุ ลกั ษณะโดยสังเขปมดี ังน้ี ก) น�ำ้ หนกั 2,650 กก. ข) ความเรว็ ต้น 880 เมตร/วินาที ค) ระยะยงิ ไกลสดุ 8,500 เมตร ง) ระยะยิงหวงั ผล 3,000 - 3,500 เมตร จ) อตั ราเรว็ ในการยงิ 320 - 360 นัด/วนิ าที ฉ) อัตราเรว็ ในการเลง็ ตาม - ทางระดบั 18 องศา/1 รอบควงส่าย

- ทางด่ิง 8.7 องศา/1 รอบควงสูง ช) การหมุนปืน - ทางทิศ 360 องศา - ทางสงู ต่าํ สุด -10 องศา สงู สุด 85 องศา ซ) เครอ่ื งเลง็ เครอื่ งเลง็ คำ� นวณและเครอื่ งเลง็ วงกลมความเรว็ แบบสะทอ้ นแสง ญ) กระสนุ - กระสนุ ระเบิด - กระสุนเจาะเกราะ ด) พลประจำ� ปืน 9 นาย ต) ยังมิได้บรรจุเข้าประจ�ำการกับหน่วยใดคงมีไว้เพื่อการฝึกศึกษาและใช้ เป็นอาวธุ เสรมิ ของ ทบ. 7) ปตอ. 40 มม. L60 เป็นอาวธุ ปตอ.ระยะใกล้ ลากจงู ประกอบด้วย ปตอ. 40 มม. หน่ึงลำ� กล้อง แบบ M.1 ตดิ ตง้ั บนรถรองปืนแบบ M.2 A1 ลากจูงด้วย รยบ.2 1/2 ตัน คณุ ลกั ษณะโดย สงั เขปมีดงั น้ี เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 257 ก) นํา้ หนักประมาณ 6,000 ปอนด์ ข) ความเรว็ ต้น 2,870 ฟุต/วนิ าที ค) ระยะยงิ ไกลสดุ ประมาณ 10,000 เมตร ง) ระยะยงิ หวงั ผล - ทางอากาศ 1,650 เมตร - ทางพนื้ ดนิ 1,850 เมตร จ) อตั ราเรว็ ในการยงิ 120 นัด/นาที ฉ) การหมนุ แท่นปืน

- ทางทศิ 360 องศา - ทางสูง ตํา่ สดุ -6 องศา สูงสุด 90 องศา ช) เคร่ืองเล็ง เครอ่ื งเล็งวงกลมความเรว็ แบบโลหะเปิด ซ) กระสุน - กระสุนระเบดิ แรงสูงส่องวิถี (HE-T) - กระสนุ ระเบิดเพลิงส่องวถิ ี (HEI-T) - กระสุนเจาะเกราะส่องวิถี (AP-T) - กระสุนฝึกบรรจุ ญ) พลประจำ� ปืน 7 นาย ด) มปี ระจำ� การอยใู่ นหนว่ ย พนั .ป. ศป.1 กองรอ้ ย, พนั .ปฐบ.1 กองรอ้ ย, ปตอ. พนั .3 18 หมู่ (ใชท้ ดแทนอาวธุ ปตอ.40 L70 ทย่ี งั ขาดอตั รา 12 หมู่ และสำ� หรบั ฝกึ ศกึ ษา 6 หม)ู่ 8) ปตอ. 40 มม. L60 แบบ M.42 258 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ปตอ. 40 มม. L60 แบบ M.42 เปน็ ปตอ. ระยะใกล้ อตั ตาจร ประกอบดว้ ย ปตอ. 40 มม. L60 ลำ� กลอ้ งคู่ ตดิ ตง้ั บนแทน่ ปนื แบบ M.4 A1 แทน่ ปนื ตดิ ตงั้ บนรถสายพาน M.41 คณุ ลกั ษณะโดยสงั เขปมดี งั นี้ ก) นาํ้ หนัก 49,500 ปอนด์ ข) ความเรว็ ต้น 2,870 ฟุต/วินาที ค) ระยะยงิ ไกลสดุ ประมาณ 10,000 เมตร ง) ระยะยงิ หวงั ผล - ทางอากาศ 1,650 เมตร - ทางพ้ืนดนิ 1,850 เมตร จ) อัตราเรว็ ในการยงิ (2 ล�ำกล้อง) 240 นดั /นาที ฉ) อตั ราเรว็ ในการหมนุ แท่นปืนด้วยไฟฟ้า - ทางทิศ 40 องศา/วนิ าที - ทางสงู 25 องศา/วนิ าที

ช) การหมุนแท่นปืน - ทางทิศ 360 องศา - ทางสูง ต่ำ� สุด -5 องศา สูงสุด 87 องศา ซ) เครื่องเลง็ - เคร่ืองเล็งคำ� นวณแบบ M.38 - เครอ่ื งเล็งวงกลมความเรว็ แบบโลหะเปิด ญ) กระสนุ - กระสนุ ระเบดิ เพลงิ ส่องวถิ ี (HEI-T) - กระสุนระเบดิ แรงสงู ส่องวิถี (HE-T) - กระสนุ เจาะเกราะส่องวถิ ี (AP-T) - กระสุนฝึกบรรจุ ด) พลประจำ� ปืน 5 นาย ต) ประจำ� การอยู่ในหน่วยรบ ปตอ.พนั .4 9) ปตอ. 40 มม. แบบ L70 ควบคมุ การยงิ ดว้ ยเครอื่ งควบคมุ การยงิ ฟลาย แคทเชอร์ ก) ปตอ. 40 L70 (สวเี ดน) เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 259 ปตอ. 40 L70 เปน็ อาวธุ ปตอ.ระยะใกล้ ลากจูง สร้างโดยบรษิ ัท โบฟอร์ส แห่ง ประเทศสวเี ดน ประกอบดว้ ย ปตอ. 40 L70 หนง่ึ กระบอก ตดิ ตง้ั อยบู่ นรถรองปนื การน�ำไปมาใช้ รยบ. 5 ตัน เป็นรถ ลากจูง คณุ ลักษณะโดยสงั เขปมดี ังน้ี ก) นํ้าหนกั 5,250 กก. ข) ความเรว็ ต้น 1,000 เมตร/วนิ าที ค) ระยะยิงไกลสดุ 12,500 เมตร ง) ระยะยงิ หวงั ผลทางอากาศ - เมอ่ื ใช้เครอ่ื งเลง็ วงกลมความเรว็ 2,000 เมตร - เมอื่ ใชเ้ ครอื่ งควบคมุ การยงิ ฟลายแคทเชอร ์ 4,000 เมตร

จ) อตั ราเร็วในการยงิ 300 นดั /นาที ฉ) อัตราเรว็ ในการเลง็ ตาม - ใช้ระบบไฟฟ้า ทางสงู 45 องศา/วนิ าที ทางทศิ 85 องศา/วนิ าที - ใช้ระบบมือหมนุ ทางสงู 8 องศา/1 รอบควงสูง ทางทศิ 10 องศา/ 1 รอบควงส่าย ช) แบบของการควบคมุ การหมนุ ปืน - หมุนปืนด้วยมอื (HAND OPERATION) - หมนุ ปืนด้วยระบบไฟฟ้าบนตัวปืน (LOCAL CONTROL) - หมุนปืนด้วยการควบคุมจากภายนอก (REMOTE CONTROL) ซ) การหมนุ แท่นปืน - ทางทิศ 360 องศา - ทางสงู ต่�ำสุด -4 องศา สงู สุด 90 องศา ญ) เครือ่ งเล็ง - เครอ่ื งควบคมุ การยงิ บนรถปืน เครอื่ งเลง็ วงกลมความเรว็ สะท้อนแสง 260 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ NIFE SRS-5 - เครอ่ื งควบคมุ การยงิ นอกรถปืนเคร่อื งควบคมุ การยงิ ฟลายแคทเชอร์ ด) กระสุน - กระสุนแตกสะเก็ดชนวนวถิ ี (PRE-FRAGMENTED) HE SHELL PROX FUSE) ใช้ยงิ เป้าหมายทางอากาศ - กระสนุ ระเบดิ สอ่ งวถิ ี (HE-T) ใชย้ งิ เปา้ หมายทางอากาศและทางพนื้ ดนิ - กระสุนเจาะเกราะส่องวิถี (AP-T) ใช้ยงิ เป้าหมายทางอากาศและทาง พน้ื ดนิ - กระสนุ ฝึกยงิ ส่องวถิ ี (PRATICE TRACER SHELL) ใช้ในการฝึกซ้อมยงิ ปตอ. ต) พลประจำ� ปืน 8 นาย ถ) ประจำ� การอยู่ในหน่วย ปตอ.พนั .5

ข) เคร่ืองควบคุมการยิงฟลายแคทเชอร์ (FLYCATCHER FIRE CONTROL SYSTEM) เคร่อื งควบคุมการยิงฟลายแคทเซอร์ เป็น เคร่ืองควบคุมอาวุธ ปตอ.ลำ� กล้อง หรืออาวุธ น�ำวิถีต่อสู้อากาศยานได้ 3 กระบอก หรือ 3 แท่นยงิ (ทีม่ ีใช้อยู่ใน ทบ.ไทย สามารถควบคุม ปตอ. ได้ 2 กระบอก) เครอ่ื งควบคมุ การยงิ นี้ สร้างโดยบริษัทซินยาล แห่งเนเธอร์แลนด์ มี ส่วนประกอบส�ำคัญ ได้แก่ ระบบเรดาร์ (เรดาร์ ค้นหาเป้าหมาย และเรดาร์ติดตามเป้าหมาย) ระบบพิสูจน์ฝ่ายด้วยอิเล็กทรอนิกส์ กล้อง ทีวี คอมพิวเตอร์ และเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า คณุ ลักษณะสงั เขปมีดงั น้ี (1) ปฏิบัติงานได้ทุกสภาพลมฟ้าอากาศ สามารถค้นหาและติดตาม เป้าหมายได้ในเวลาเดยี วกนั (2) เรดาร์ค้นหาเป้าหมาย (SEARCH RADAR) เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 261 - มีระยะปฏบิ ัตกิ าร 20 กม. จับเป้าหมายได้จะปรากฏบนจอ PPI - ท่ีเสาอากาศมรี ะบบ IEF ติดต้งั ร่วมอยู่ด้วยได้พิสจู น์ฝ่ายอากาศยาน ทนั ที เมอ่ื ตรวจจับเป้าหมายได้ - เมอื่ ตรวจพบเปา้ หมายและพสิ จู นท์ ราบฝา่ ยขา้ ศกึ จะสง่ ขอ้ มลู ใหเ้ รดาร์ ติดตาม (3) เรดาร์ตดิ ตามเป้าหมาย (TRACKING RADAR) - มีระยะปฏิบตั กิ าร 20 กม. - ท่ีเสาอากาศมีกล้องทีวีติดต้ังร่วมอยู่ด้วยใช้พิสูจน์ฝ่าย และประเมิน ผลการยิงด้วยสายตา - เมอ่ื ไดร้ บั ขอ้ มลู เปา้ หมายจากเรดารค์ น้ หาเปา้ หมาย กจ็ ะหมนุ เสาอากาศ เรดารต์ ดิ ตามเปา้ หมายไปจบั เปา้ หมาย จนกระทง่ั ไดร้ บั สญั ญาณสะทอ้ นกลบั จากเปา้ หมาย อยา่ งเพยี งพอกจ็ ะ LOCK ON แลว้ สง่ ขอ้ มลู เปา้ หมาย อนั ไดแ้ ก่ ทศิ ทาง ความสงู ความเรว็ ของ เปา้ หมายไปยงั COMPUTER และขอ้ มลู ดงั กลา่ วจะแสดงใหป้ รากฏในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารอกี ดว้ ย

262 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ (4) COMPUTER จะป้อนข้อมูลเก่ียวกับระยะคลาดเคล่ือนของปืน จาก เสาอากาศตดิ ตามเป้าหมาย ความเร็วต้นของกระสุน และข้อมูลทางอุตนุ ยิ มวทิ ยา (ได้แก่ อณุ หภมู อิ ากาศ ความกดอากาศ ความเรว็ และทศิ ทางลม ณ ผวิ พน้ื ) เมอื่ ไดร้ บั ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ทิศทาง ความสูง และความเร็วเป้าหมายจากเรดาร์ติดตามเป้าหมาย ก็จะค�ำนวณหา หลักฐานยงิ ให้กบั อาวธุ ปตอ. แต่ละกระบอก แล้วจงึ ส่งสญั ญาณดิจิทัลผ่านสายโทรศพั ท์ สนามยาวไม่เกนิ 1 กม. ไปยงั เครื่องรับข้อมลู ประจ�ำปืน (GUN DATA RECEIVER, GDR) ทีต่ ั้งปืน GDR กจ็ ะแปลงเป็นสญั ญาณแอนะล็อกไปควบคมุ การหมุนปืน และการยิงต่อไป (5) การยิง เจ้าหน้าท่ปี ระจ�ำเครอื่ ง เมอ่ื สังเกตเห็นหลอดไฟ COMPUTER READY สว่างโดยไม่กะพรบิ แสดงว่าระบบพร้อมยงิ กจ็ ะกดปุ่มยงิ ซึ่งเป็นการส่งสญั ญาณ ควบคุมการยงิ ไปยังอาวธุ ปตอ. ภายใต้การควบคุม (6) เครอ่ื งกำ� เนดิ ไฟฟา้ ตดิ ตงั้ อยเู่ บอื้ งหลงั หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ผลติ ไฟฟา้ 115 V 400 Hz 3 PHASE ให้กบั ส่วนต่าง ๆ ของเครื่องควบคุมการยงิ ฟลายแคทเชอร์ 10) ปตอ. 40 มม. L70 (อังกฤษ) ปตอ. 40 มม. L70 (องั กฤษ) เป็น ปตอ.ระยะใกล้ ลากจงู สร้างโดยประเทศ องั กฤษ ทบ.ไทย ไดจ้ ดั หามาเพอ่ื ใชท้ ดแทน ปตอ.40 L60 แบบลากจงู คณุ ลกั ษณะโดยสงั เขป คล้ายคลึงกับ ปตอ.40 L70 ของสวีเดน แต่มีข้อแตกต่างเพียงเล็กน้อยดังน้ีคือ ปตอ. 40 L70 (อังกฤษ) ก) ไม่มีเคร่ืองรับข้อมูลประจ�ำหมู่ปืน (GUN DATA RECEIVER - GDR) ส�ำหรบั รบั สัญญาณจากเครอ่ื งควบคุมการยงิ ฟลายแคทเชอร์ ข) ไม่มี MAGAZINE เสรมิ เครอื่ งป้อนกระสุนอัตโนมตั ิ ค) เครื่องขยายสญั ญาณ (AMPLIFIER) ติดตง้ั อยู่ภายนอกรถรองปืน ง) ประจำ� การอยู่ใน ปตอ.พนั .1 รอ., ปตอ.พัน.2 และ ปตอ.พนั .3 11) ระบบ ปตอ. 57 มม. ของ สปจ. ระบบอาวธุ ปตอ. 57 มม. ของ สปจ. ประกอบด้วยส่วนประกอบส�ำคญั 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนค้นหาเป้าหมาย ส่วนควบคมุ การยงิ และส่วนยงิ ก) สว่ นคน้ หาเปา้ หมาย ประกอบดว้ ย เรดารค์ น้ หาเปา้ หมายและเครอื่ ง ก�ำเนดิ ไฟฟ้า (1) เรดาร์ค้นหาเป้าหมาย (WARNING RADAR) เรดาร์ค้นหาเป้าหมาย แบบ 513 ตดิ ตง้ั อยบู่ น รยบ. 6 x 6 มหี นา้ ทส่ี ง่ ขอ้ มลู เปา้ หมายในระยะไกลใหก้ บั ทก. ควบคมุ

เพื่อถ่ายถอดข้อมูลดังกล่าวให้กับเรดาร์ควบคุมการยิง เรดาร์ไม่มีขีดความสามารถในการ พสิ ูจน์ฝ่ายด้วยอเิ ล็กทรอนกิ ส์ คุณลกั ษณะท่คี วรทราบมดี งั น้ี - นํ้าหนักรวมท้งั รยบ. 9.1 ตัน - สามารถหาขอ้ มลู เกย่ี วกบั เปา้ หมาย ไดแ้ ก่ ระยะทศิ ทางและความสงู - ระยะตรวจจบั เป้าหมายไกลสดุ • เป้าหมายสูง 10,000 เมตร 200 กม. • เป้าหมายสูง 17,000 เมตร 250 กม. - เขตครอบคลมุ ของเรดาร์ • ทางทศิ 360 องศา • ย่านมุมสูงทต่ี รวจจับได้ 4 - 17 องศา • หากใช้วิธียกสายอากาศช่วยมุมสูงท่ีตรวจจับเป้าหมายได้ ไม่เกิน 30 องศา - ความถูกต้อง • ระยะลาด ± 1 กม. • มุมทศิ ± 3 องศา • ความสงู 2% ของระยะเป้าหมาย เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 263 - เวลาในการตดิ ตัง้ 1 1/2 ชม. - เวลาอุ่นเคร่อื ง 5 นาที - กำ� ลงั งานทใ่ี ช้ 5 KW - เจ้าหน้าท่ ี 7 นาย (2) เครือ่ งกำ� เนิดไฟฟ้า 5 KW เคร่ืองกำ� เนิดไฟฟ้าทใ่ี ช้กับเรดาร์แจ้งเตอื นภยั มี 2 เครอ่ื ง ตดิ ตั้งอยู่ บน รยบ. 4 x 4 สลบั กนั ใช้งาน มคี ุณลกั ษณะดงั น้ี - เคร่ืองยนต์ดเี ซลระบายความร้อนด้วยน�้ำ 2 สูบ - ก�ำลงั ไฟฟ้า 5 KW - ขนาด 220 VAC, 50Hz, 3 PHASE ข) ส่วนควบคมุ การยิง สว่ นควบคมุ การยงิ ประกอบดว้ ย เรดารค์ าบคมุ การยงิ (FIRE CONTROL RADAR) และเครอื่ งกำ� เนดิ ไฟฟ้า 10 KW กบั เครอ่ื งให้ทศิ ทาง (DIRECTOR) และเครอื่ งกำ� เนดิ ไฟฟ้า 10 KW

(1) เรดารค์ วบคมุ การยงิ แบบ บี เรดารค์ วบคมุ การยงิ แบบ บี ตดิ ตงั้ อยบู่ นรถพว่ ง 4 ลอ้ มหี นา้ ทร่ี บั ขอ้ มลู เปา้ หมายระยะไกล อนั ไดแ้ ก่ ระยะทศิ ทางและความสงู จาก ทก.ควบคมุ (ซง่ึ ไดร้ บั ขอ้ มลู ดงั กลา่ วจากเรดารแ์ จง้ เตอื นภยั ) หรอื อาจไดร้ บั ขอ้ มลู โดยตรงจากเรดารค์ น้ หา เปา้ หมายกไ็ ด้ เมอื่ เรดารค์ วบคมุ การยงิ ไดร้ บั ขอ้ มลู ดงั กลา่ วกจ็ ะใหท้ ศิ ทางเสาอากาศไปยงั เปา้ หมาย และเมอ่ื ตรวจจบั เปา้ หมายและตดิ ตามเปา้ หมายโดยอตั โนมตั ิ (LOCK ON) กจ็ ะหาขอ้ มลู เปา้ หมายท่ี จำ� เปน็ ตอ่ การหาหลกั ฐานยงิ ของอาวธุ ปตอ. อนั ไดแ้ ก่ ระยะ ทศิ ทาง แนวบนิ และความสงู ใหก้ บั เครอ่ื งใหท้ ศิ ทาง เพอ่ื คำ� นวณหาหลกั ฐานยงิ ตอ่ ไป คณุ ลกั ษณะโดยสงั เขปของเรดาร์ ควบคมุ การยงิ มดี งั นี้ - น้าํ หนักทง้ั ระบบ 7,500 กก. - ความถ่ที ่ีใช้-งาน 2 ย่าน S-BAND และ X-BAND - สามารถหาข้อมลู เก่ยี วกบั เป้าหมาย (LOCK ON) ระยะทศิ ทางและ ความสงู - ระยะติดตามเป้าหมายได้ 2 แบบ 264 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ แบบ MANUAL 80 กม. แบบ AUTO 40 กม. - มรี ะบบ ECCM - การแพรค่ ลน่ื CONICAL SCAN และ MONOPULSE - เจา้ หนา้ ทป่ี ระจำ� ระบบ 6 นาย (2) เครอ่ื งกำ� เนดิ ไฟฟา้ 10 KW เครอื่ งกำ� เนดิ ไฟฟา้ 10 KW 2 เครอ่ื ง ตดิ ตง้ั บนตงั้ บนรถ รยบ. 4x4 สลบั กนั ใชง้ าน มหี นา้ ทจ่ี า่ ยกระแสไฟใหก้ บั เรดารค์ วบคมุ การยงิ มคี ณุ ลกั ษณะสงั เขปดงั น้ี - เครอื่ งยนตแ์ กส๊ โซลนี ระบายความรอ้ นดว้ ยอากาศ 4 สบู - ใหก้ ำ� ลงั ไฟ 10 KW - ขนาด 220 VAC, 400 Hz, SINGLE PHASE - มีมอเตอร์ส�ำหรับใช้ไฟบ้านขับเคล่ือนเคร่ืองก�ำเนิดไฟฟ้าแทน เคร่ืองยนต์ได้

(3) เครอื่ งใหท้ ศิ ทาง (DIRECTOR) เครอื่ งให้ทศิ ทาง ตดิ ตง้ั บนรถพ่วง 4 ล้อ ประกอบด้วยเคร่อื งวัดระยะ (RANGE FINDER) และเครื่องคำ� นวณ (COMPUTER) มหี น้าทรี่ ับข้อมูลเป้าหมายจากเรดาร์ ควบคมุ การยงิ แลว้ นำ� มาคำ� นวณในเครอ่ื งคำ� นวณ เพอ่ื สง่ั การควบคมุ ปตอ. 57 มม. ภายใต้ การควบคมุ (8 กระบอก) หากมิได้รบั ข้อมลู จากเรดาร์ควบคุมการยิง หรอื เจ้าหน้าทีป่ ระจำ� เครอื่ งให้ทศิ ทางตรวจพบเป้าหมาย กจ็ ะหาข้อมลู ท่จี ำ� เป็นด้วยตนเองและใช้เครื่องวดั ระยะ ซึง่ ใช้หลักภาพเหล่อื ม (STEREO VISION) หาระยะเป้าหมาย เครอื่ งให้ทิศทางมีคุณลกั ษณะ สังเขปดงั น้ี - นา้ํ หนัก 4,970 กก. - การหมนุ ส่าย 1,000 เมตร/วินาที - ทางทศิ 6,000 มิล. - ทางสงู ต่�ำสดุ -100 องศา สูงสุด 1,450 มลิ . - ระยะติดตามเป้าหมาย ใช้ร่วมกบั เรดาร์ควบคุมการยงิ 670 - 31,600 เมตร ใช้ RANGE FINDER 750 - 30,000 เมตร เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 265 - กล่องกระจายสาย (CENTRAL DISTRIBUTION BOX) - เชอื่ มสายไฟฟา้ กำ� ลงั จากเครอ่ื งกำ� เนดิ ไฟฟา้ เพอื่ จา่ ยกำ� ลงั ไฟฟา้ ให้ กบั DIRECTOR และปืนท่คี วบคมุ - เชอ่ื มสายไฟฟ้าก�ำลงั ในการควบคุมปืนจาก DIRECTOR ไปยงั ปืน ทค่ี วบคุม - กล่องควบคุมการยิง (COMMAND BOX) ใช้ส�ำหรับนายทหาร ควบคมุ การยงิ ท�ำการยงิ ปืนทง้ั หมดท่คี วบคุม - เจ้าหน้าทป่ี ระจ�ำระบบ 6 นาย (4) เคร่ืองก�ำเนิดไฟฟ้า 40 KW เครอ่ื งกำ� เนดิ ไฟฟา้ 40 KW ตดิ ตง้ั บนรถพว่ ง 4 ลอ้ มหี นา้ ทจ่ี า่ ยกำ� ลงั ไฟฟา้ ใหก้ บั DIRECTOR และอาวธุ ปตอ. 57 มม. ภายใตก้ ารควบคมุ มคี ณุ ลกั ษณะสงั เขปดงั น้ี - เครือ่ งยนต์ดเี ซลระบายความร้อนด้วยนํ้า 4 สบู - กำ� ลังไฟฟ้า 40 KW - ขนาด 380 VAC 50 Hz 3 PHASE 4 WIRES

ค) สว่ นยงิ สว่ นยงิ ประกอบดว้ ย ปตอ. 57 มม. 8 กระบอก (ทบ.ไทย 6 กระบอก) เปน็ ปตอ.ระยะใกล้ แบบลากจงู มหี นา้ ทรี่ บั การควบคมุ หรอื รบั ขอ้ มลู จาก DIRECTOR เพอ่ื สกดั กน้ั และท�ำลายเป้าหมายทางอากาศหรือปฏิบัติหน้าท่ีเป็นหน่วยยิง ปตอ. ได้เมื่อจำ� เป็น มี คุณลักษณะโดยสงั เขปดงั นี้ - น�้ำหนัก 4,750 กก. - ความเรว็ ต้น 1,000 เมตร/วนิ าที - ระยะยิงไกลสดุ 12,000 เมตร - ระยะยิงหวงั ผลทางอากาศ 6,000 เมตร - อตั ราเรว็ ในการยงิ สงู สุด 105 - 120 นัด/นาที ปกต ิ 50 - 60 นัด/นาที - การหมุนแท่นปืน 266 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ ทางทศิ 360 องศา ทางสงู ตาํ่ สดุ -2 องศา สงู สุด 87 องศา - เครอื่ งเล็ง เคร่อื งให้ทศิ ทาง (นอกรถปืน)

ข. อาวุธนำ� วถิ ตี อ่ สอู้ ากาศยาน เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 267 1) อาวธุ นำ� วถิ ตื อ่ สูอ้ ากาศยานระดับตา่ํ (อตอ. IGLA-S) คณุ ลกั ษณะ * ผลิตจากประเทศสหภาพโซเวยี ต * เป็นอาวุธน�ำวิธีต่อสู้อากาศยานระดับตํ่า ออกแบบมาเพ่ือท�ำลาย อากาศยานทางยุทธวิธี, อากาศยานปีกหมุน, อาวุธน�ำวิธีแบบ Cruise missile และ อากาศยานไร้นกั บิน UAV * สามารถปฏบิ ัติงานได้ในสภาวะต่อไปน้ี - เม่อื มองเหน็ เป้าด้วยสายตาหรือทราบทศิ ทางของเป้าหมาย - เมื่อท�ำการยิงร่วมกบั อปุ กรณ์ค้นหาและติดตามเป้าชนดิ อื่น - ในเวลากลางวนั และกลางคืน - ในสภาวะท่ถี กู รบกวนด้วยอินฟราเรด - ทำ� การยิงได้ท้งั แบบยิงสวนเป้าและยงิ ตามเป้าในทุกมมุ ยงิ * เข้าประจ�ำการเพ่ือทดแทน อต.30 HN-5 * พลประจำ� 1 นาย * นํ้าหนกั ของระบบอาวธุ 18 กก. * ระยะทำ� การ 6,000 เมตร * ความสงู ทำ� การ 3,500 เมตร

268 เหลา่ ทหารปืนใหญ่ * ความเรว็ ของเป้าเม่อื ท�ำการยงิ สวนเป้า 400 เมตร/วินาที * ความเรว็ ของเป้าเม่ือท�ำการยงิ ตามเป้า 320 เมตร/วินาที * ความเรว็ ของอาวุธน�ำวถิ ี 700 เมตร/วนิ าที * หวั ค้นหาและนำ� ทางแบบภาครับติดตามเป้าอนิ ฟราเรด * เวลาเตรยี มพร้อมระบบ 13 วนิ าที 2) อาวธุ นำ� วถิ ตี อ่ สอู้ ากาศยานระดบั ตา่ํ แบบแลน่ ไตล่ ำ� นำ� วถิ เี ลเซอร์ (Starstreak) คณุ ลกั ษณะ - อาวุธน�ำวิถี (Starstreak) เป็นอาวุธประเภทขีปนาวุธแบบผิวพื้นสู่ อากาศ เพอ่ื ต่อต้านอากาศยานทบ่ี ินในระดับตํา่ เช่น เฮลิคอปเตอร์ เป็นต้น - เป็นอาวุธน�ำวิถีท่ีสามารถติดต้ังได้ทั้งแบบบนพื้น (Lightweight Multiple Launcher) และแบบประทบั บ่า (Shoulder Launcher) - สามารถทำ� ลายเป้าหมายได้ด้วยอาวธุ นำ� วธิ ี (darts) จำ� นวน 3 ลูก ทบี่ รรจอุ ยใู่ นกระสนุ ครบนดั (canister) โดยเลเซอรจ์ ากอปุ กรณก์ ารเลง็ (Aiming unit) สรา้ งมา่ น เลเซอรไ์ ปกระทบเปา้ หมาย แลว้ หวั รบอาวธุ นำ� วถิ พี งุ่ เขา้ หามา่ นเลเซอร์ แลว้ ทำ� ลายเปา้ หมาย โดยการควบคมุ ม่านเลเซอร์ไปกระทบเป้าหมายนั้นจะควบคมุ โดยพลเลง็ ด้วย joystick สว่ นประกอบหลกั ของอาวุธน�ำวิถี Starstreak - จรวดหวั รบน�ำวิถี (Guided missile) - อุปกรณ์การเลง็ (Aiming unit) - ชดุ ยิงจรวด (Lightweight Multiple Launcher)

หน้าท่ี และขีดความสามารถของอาวุธนำ� วถิ ี Starstreak - ระยะยงิ ไกลสงู สดุ 6 กม. - ระยะยงิ หวงั ผลไกลสงู สุด 5 กม. - ระยะยงิ ใกล้ท่สี ดุ 500 เมตร (เม่อื เป้าหมายมคี วามเรว็ ตํา่ กว่า 100 เมตร/วินาที เท่ากับ 360 กม./ชม. - ขาตงั้ LML (Lightweight Multiple Launcher) ปรับความสูงได้ตง้ั แต่ 1.6 ถงึ 1.9 เมตร โดยสามารถปรบั มุมลาดชันได้ถงึ 10 องศา (178 มิลเลียม) เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 269



ภาคผนวก

เพลงชาติไทย ประเทศไทยรวมเลอื ดเนื้อชาตเิ ชือ้ ไทย เปนประชารฐั ไผทของไทยทกุ สวน อยูดาํ รงคงไวไดทง้ั มวล ดวยไทยลวนหมายรกั สามคั คี ไทยนร้ี ักสงบแตถงึ รบไมขลาด เอกราชจะไมใหใครขมข่ี สละเลอื ดทกุ หยาดเปนชาตพิ ลี เถลงิ ประเทศชาตไิ ทยทวมี ชี ยั ชโย เพลงสดุดจี อมราชา ถวายบงั คมจอมราชา พระบุญญาเกรกิ ฟาไกล ธ ทรงเปนรมโพธร์ิ มไทร ศูนยรวมใจชาวไทยสมคั รสมาน ถวายพระพรองคราชนิ ี คูบารมีองคราชนั ขอพระองคทรงเกษมสาํ ราญ งามตระการเคยี งขัตติยะไทย อุนไอจากฟาเรอื งรอง แสงทองสองมา ไพรฟาตางสดใส มหาราชา ราชนิ ี ม่ิงขวญั ปวงชนชาวไทย เทดิ ไทพระภวู ไนย ถวายใจสดดุ ี

เพลงสรรเสรญิ พระบารมี ขาวรพทุ ธเจา เอามโนและศริ ะกราน นบพระภมู บิ าล บญุ ดิเรก เอกบรมจักรนิ พระสยามินทร พระยศยงิ่ ยง เย็นศิระเพราะพระบรบิ าล ผลพระคณุ ธ รกั ษา ปวงประชาเปนสขุ ศานต ขอบันดาล ธ ประสงคใด จงสฤษดิด์ งั หวังวรหฤทยั ดจุ ถวายชยั ชโย เพลงสยามานสุ ติ หากสยามยงั อยูยัง้ ยนื ยง เราก็เหมอื นอยูคง ชพี ดวย หากสยามพนิ าศลง ไทยอยูได เราก็เหมอื นมอดมวย หมดส้นิ สกุลไทย ใครรานใครรกุ ดาวแดนไทย ไทยรบจนสดุ ใจขาดดิ้น เสียเนื้อเลือดหลง่ั ไหลยอมสละ ส้นิ แล เสยี ชีพไปเสยี สิ้น ช่อื กองเกยี รติงาม

เพลงรกั ชาติยิง่ ชพี เกิดเปนไทยเปนไทยดงั นาม เพยี บดวยความรกั ชาตยิ ิง่ ทั้งใจทงั้ กายทกุ สิ่ง อกี วาจาจรงิ ทกุ สง่ิ ไป ชาตทิ ่ีรกั ของไทย เราควรเทดิ ไวบชู า มีคุณลนเหลอื ลนคา สดุ จะพรรณนานับได เราเปนไทย ตองใจมคี วามภกั ดชิ์ าติ เราตองพลีชวี าตม สละใหชาตดิ วยความหวงั ดี มาเถดิ พงษวงศวานของไทย เรารวมใจดาํ รงคงชาตดิ วยดี รักชาติเราน้ยี งิ่ ชพี เพลงมารช นศท. เราเหลานกั ศกึ ษาวชิ าทหาร กรมการรกั ษาดนิ แดน ฝกฝนทกุ คนรูจกั ใหรักแผนดนิ ถนิ่ แควนเปนปกแผนแดนไทย ยามศึกเรารวมรบพรอมพลชี วี ัน เคียงกนั ทุกคนรวมใจ ตองเตรียมพรอมความเกรยี งไกร เลอื ดไทยยอมพลีทุกคน เราพรอมผจญผูรกุ ราน ไทยมชี าตศิ าสนามหากษัตริย เกยี รติประวตั เิ ลอื ดไทยหาวหาญ ชอ่ื ไทยอยูคูฟาท่วั กาล เรานกั ศึกษาวชิ าทหารจะรกั ษาสถาบนั เราเหลานกั ศึกษาวิชาทหาร รวมใจสามคั คกี นั เลือดไทยมใิ หไหวหว่นั รวมกันรกั ษาดนิ แดน เราหวงแหนแผนดนิ ไทย

เพลงรกั ชาติย่ิงชพี หากแผนดนิ ตองการพวกเรา เจาปาเขาจงเปนพยาน ขายอมตายดวยความกลาหาญเพื่อบานเมอื งเรา เปนกาํ ลังสาํ รอง ฝกซอมในทกุ เรอื่ งราว ไมยอทอแมจะเหนบ็ หนาวสกั เพยี งใด หากเอกราชกาํ ลังลกุ เปนไฟ จงจับมือรวมใจ สูตอไปดวยความรกั ชาติ *จะไมยอมใหใครยา่ํ ยแี ผนดินนีข้ องเราไปได ยอมเสยี เลือดเสยี เนือ้ เสียกายหากตองเสียแผนดิน จะรกั ษาแผนดนิ ของพอ ตอบแทนคณุ ทานทาํ ใหเรามกี นิ ประเทศสยามจะจาํ เรญิ ไมสน้ิ แผนดินขวานทอง (ประเทศสยามจะจาํ เรญิ ไมส้นิ ...แผนดินขวานทอง) (แรป็ 1) รด. รกั ษาดนิ แดนไมเคยขาดแคลนเร่อื งกองกาํ ลัง เกดิ มาเปนลกู ผูชายตองยอมพลกี ายไมพลาดพลง้ั เปนกองกาํ ลงั สาํ รองพวกเราคัดกรองคนขงึ ขัง รกั ษาเสยี งเกียรตยิ ศไมมีวนั หมดใหคนรุนหลงั (ญ) อาจเปนหญงิ แคเพยี งรางกาย ไมแพชายยอมตายเพื่อชาติ สํารองหญงิ ไมเคยคดิ วาหวาด เพอื่ ชาติผองไทย (ซ้าํ * (ญ)) (แรป็ 2) จงรกั ชาติย่งิ ชพี แมวากายจะวายชวี นั ไมวาจะเปนยงั ไง ก็ขอใหใจน้นั สูฟน อยูใตรมพระบารมพี ระเจาอยูหวั จอมราชันย ทําดีเถดิ อยาขเ้ี กียจ เพอื่ เทิดพระเกยี รติพระองคทาน (ซ้ํา * (ช)) (แร็ป 3) เราจะรวมสบื ทอดพระปณิธานของพอ ตามรอยศาสตรพระราชาดงั ท่ีพระองคไดสานตอ พฒั นาชาตไิ ทยใหกาวไกลโดยไมทอ สบื สานงานจติ อาสาชวยชาวประชาไมรีรอ (ซา้ํ * (ช + ญ))

เพลงรกั ชาติ ความรกั อนั ใด แมรักเทาไหน กไ็ มยง่ั ยนื เชนรักคูรกั รกั แทบจะกลืน กลบั กลายขมขืน่ ลมื ไดภายหลงั แตความรกั ชาติ รกั แสนพศิ วาส รักจนสุดกาํ ลัง กอเกิดมานะ ยอมสละชวี ัง รกั จนกระท่ัง หมดเลือดเน้ือเรา ชวี ติ รางกาย เราไมเสยี ดาย ตายแลวก็เผา ทกุ สงิ่ ยอมคลาด เวนแตชาตขิ องเรา อยาใหใครเขา เหยยี บย่าํ ทาํ ลาย เพลง รด. รนุ ใหมหัวใจ New Gen. ขาคอื นกั ศกึ ษา เสาะหาตาํ รานอกหองเรยี น ไมไดขดี เขยี น ไมไดเรยี นในอาคารหองแอร *ฉนั เรยี นกลางแดด ฉนั รอน ฉนั เหน่ือย ฉันเพลียเหลือเกนิ ฉันเดินยาํ่ ลง ยา่ํ ฝน ยํ่าบนพ้นื ดินไทย ฉันคือกองหนนุ สนับสนนุ การรบของกองทัพไทย ศกึ ษาตําราวชิ าทหาร ขาคอื นศท. ขาคอื รด. รกั ษาดินแดน ไมตองตดั หัวเกรยี น แมยงั เรียนอยู ม.ปลาย มีทง้ั หญงิ ทั้งชาย มาศกึ ษาเลาเรียน ท้งั ผูสาวสวยอกี ถึกทน ยงั พากเพียร เรียนวิชาทหาร ไดความสามคั คี

คา่ นิยมหลกั คนไทย 12 ประการ 1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ  2. ซอื่ สตั ย เสียสละ อดทน มีอุดมการณใ นสง่ิ ทด่ี ีงามเพ่อื สว นรวม 3. กตัญตู อ พอ แม ผูป กครอง ครบู าอาจารย 4. ใฝหาความรู หมนั่ ศึกษาเลา เรยี นทงั้ ทางตรงและทางออ ม 5. รกั ษาวัฒนธรรมประเพณไี ทยอันดงี าม 6. มศี ลี ธรรม รักษาความสัตย หวงั ดตี อผอู ืน่ เผือ่ แผแ ละแบง ปน 7. เขา ใจเรยี นรกู ารเปน ประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมขุ ทถ่ี กู ตอ ง 8. มรี ะเบยี บวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผนู อยรจู กั การเคารพผูใหญ 9. มสี ติ รตู วั รคู ดิ รทู าํ รปู ฏบิ ตั ติ ามพระราชดาํ รสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั 10. รูจักดํารงตนอยูโดยใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดํารัสของ พระบาทสมเด็จพระเจา อยหู ัว รูจ ักอดออมไวใชเมอ่ื ยามจาํ เปน มไี วพ อกนิ พอใช ถา เหลอื กแ็ จกจาํ หนา ย และพรอ มทจ่ี ะขยายกจิ การเมอ่ื มคี วามพรอ มมภี มู คิ มุ กนั ท่ีดี 11. มีความเขมแข็งท้ังรางกายและจิตใจ ไมยอมแพตออํานาจฝายต่ําหรือกิเลส มีความละอายเกรงกลัวตอ บาปตามหลกั ของศาสนา 12. คาํ นงึ ถงึ ผลประโยชนข องสว นรวม และของชาตมิ ากกวา ผลประโยชนข องตนเอง

เข้าควิ สร้างวนิ ยั สร้างน้ำ� ใจ สร้างไมตรี “รกั ชาติ ยงิ่ ชพี ”



พมิ พ์ท่ี ส�ำนักงานกิจการโรงพิมพ์ องคก์ ารสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ โทร. 0 2587 3137 ตอ่ 117 โทรสาร 0 2587 3137 ต่อ 103


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook