Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปนิเทศ 2564

สรุปนิเทศ 2564

Published by Phornthep.top, 2022-05-22 18:29:05

Description: สรุปนิเทศ 2564

Search

Read the Text Version

รายงานการนิเทศ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั สมทุ รสงคราม สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ก คำนำ การนเิ ทศภายใน เป็นสว่ นหน่ึงของการบริหารจัดการและระบบการประกันคณุ ภาพ ทส่ี ถานศกึ ษาต้อง ดาเนินการอย่างต่อเน่ือง ซึ่งผลการนิเทศจะสะท้อนการปฏิบตั ิงานที่จะนาไปสู่การพฒั นาสถานศึกษาตามระบบ ประกันคุณภาพการศึกษา ดาเนินการนิเทศโดยบุคลากรภายในหน่วยงาน หรือภายในหน่วยปฏิบัติของ หน่วยงานนั้น ๆ ผู้นิเทศอาจเป็นผู้บริหาร หัวหน้าฝ่าย หัวหน้างาน หรือผู้ได้รับการแต่งต้ังให้เป็นคณะผู้ทาการ นิเทศภายในเป็นกระบวนการทางานร่วมกันระหว่างผู้บริหาร ผู้ทาการนิเทศ และผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงาน เดียวกัน ร่วมพิจารณาปัญหา และหาแนวทางในการแก้ปัญหา หาทางในการทางานร่วมกัน จัดระบบนิเทศ ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้มีการพัฒนาเจตคติและคุณภาพของบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน ซ่ึงจะส่งผลไปถึงคุณภาพ ของงาน ขวัญกาลังใจของผู้ปฏิบัติงาน และความพึงพอใจของประชาชนที่รับบริการ การนิเทศภายใน สถานศึกษา มีความสาคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีการนิเทศในลักษณะของการช่วยเหลือ ซึ่งกันละกันและการนิเทศแบบมีส่วนร่วม โดยใช้กระบวนการ PDCA เป็นแนวทางการนิเทศ การนิเทศ การศกึ ษา มีจดุ ม่งุ หมายทจ่ี ะพัฒนาคน พฒั นาครู ชว่ ยเหลือครใู ห้มีความสามารถในการพฒั นางานด้านหลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ช่วยประสานงานและความร่วมมือเพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างหน่วยงาน ต่าง ๆ ในสถานศกึ ษา และหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้อง อีกทงั้ ยังจะสรา้ งความม่นั คงในอาชีพครู สร้างกาลังใจให้แก่ครู เพือ่ จะไดร้ ว่ มมือพฒั นาผเู้ รียนให้เกดิ การพัฒนาตามความมุง่ หมายของการศึกษา ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรสงคราม ในส่วนงานนิเทศ ได้จัดทา แผนการนิเทศและกาหนดจุดมุ่งหมายด้านการนิเทศติดตามผลการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย เพ่ือการนาผลการนิเทศติดตามไปสู่การพัฒนาการดาเนินงานในทุกกิจกรรมเกิดประโยชน์สูงสุดต่อ ผู้เรยี น/ผรู้ ับบรกิ าร ใหม้ กี ารพฒั นาอยา่ งต่อเนือ่ ง สานักงาน กศน. จังหวัดสมุทรสงคราม โดยคณะกรรมการนเิ ทศภายในสถานศึกษาขอขอบคุณผู้มีส่วน เก่ียวข้องทุกฝ่าย และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารรายงานผลการนิเทศฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการ ปฏิบัตงิ านของผู้บรหิ าร บคุ ลากร กศน. ครู กศน. และผู้สนใจ ซึ่งเห็นประโยชนใ์ นการนาไปสูก่ ารพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยต่อไป กลุม่ งานนิเทศ สานกั งาน กศน.จงั หวดั สมุทรสงคราม

สำรบญั หน้ำ ก คำนำ ข สำรบญั นโยบำยเรง่ ดว่ น 1 7 - เรง่ ยกระดับ กศน.ตาบล เป็น กศน. ตาบล 5 ดี พรเี ม่ยี ม 17 - จัดใหม้ ีศนู ยก์ ารเรียนรูต้ ้นแบบ กศน. ฯ 20 - พัฒนาห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เป็น Digital Library 26 - พัฒนาการจดั การศึกษาออนไลน์ กศน. 30 - จัดให้มหี ลกั สูตรลูกเสือมัคคุเทศก์ 33 - เรง่ ปรบั หลกั สตู รการจัดการศกึ ษาอาชีพ กศน. 41 - เสรมิ สร้างความรว่ มมือกับภาคีเครือข่าย - พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาฯ 53 ภำรกิจต่อเนอ่ื ง 63 - หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 69 - การสง่ เสรมิ การร้หู นังสือไทย 75 - ศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชน 79 - โครงการดจิ ทิ ลั ชมุ ชน 82 - โครงการภาษาต่างประเทศเพ่อื การสือ่ สารด้านอาชีพ 92 - การจดั การศกึ ษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ 95 - การจัดกิจกรรมป้องกันภาวะซึมเศร้าของผูส้ ูงอายุ 103 - กจิ กรรมทกั ษะชีวติ 105 - การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชมุ ชน 113 - โครงการชุมชนต้นแบบตามโครงการไทยนิยมย่ังยืนของสานักงาน กศน. 122 - หอ้ งสมุดประชาชน 125 - บา้ นหนงั สอื ชุมชน 129 - ห้องสมุดเคลือ่ นทชี่ าวตลาด 132 - หอ้ งสมุดประชาชนเคลื่อนท่ี 137 - การพฒั นาระบบการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา 143 - การส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา - พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาของในหลวงรชั กาลท่ี 10 ภำคผนวก

1 ประเด็นการนเิ ทศ เร่ือง เร่งยกระดับ กศน.ตาบล เป็น กศน.ตาบล 5 ดี พรเี มี่ยม 1. นโยบาย จดุ เนน้ การดาเนินงานของสานกั งาน กศน. ประจาปี พ.ศ.2564 จากการท่ีรัฐบาล ได้กาหนดนโยบายการพัฒนาศักยภาพกาลังคนของประเทศที่เกี่ยวข้องกับการ ดาเนนิ งานของกระทรวงศึกษาธิการ โดยกาหนดนโยบายท่ี 4 การศกึ ษาและการเรยี นรู้ การทานุบารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ข้อ 4.4 การพัฒนาคนทุกช่วงวัยโดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต และ กระทรวงศึกษาธิการในฐานะหน่วยงานหลักของประเทศที่รับผิดชอบดูแลในเรือ่ งของการบริหารจดั การศึกษา และพฒั นาศักยภาพกาลงั คนของประเทศ ไดม้ ีแผนพฒั นาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) โดยเฉพาะอย่างย่งิ ในยทุ ธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ ขยายโอกาสการเขา้ ถึงบริการทางการศึกษา และการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชวี ติ ให้ผ้เู รยี นทุกคนเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกัน สามารถ เรยี นรู้จากแหล่งเรยี นรู้ได้อยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชีวติ สานักงาน กศน. จึงได้ขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยใน ยุทธศาสตร์ที่ 3 เป็นยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งมุ่งส่งเสริมการจัด กระบวนการเรียนรทู้ ี่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 รวมท้ังความต้องการของประชาชนและ ชุมชนในรูปแบบที่หลากหลาย ให้ประชาชนคิดเป็น วิเคราะห์ได้ และตัดสินใจภายใต้ข้อมูลที่ถูกต้อง โดยมี กศน.ตาบลเป็นกลไกในระดับพื้นที่ที่มีการดาเนินงานกับประชาชนกลุ่มเปา้ หมายโดยตรง จึงมีการส่งเสริมและ สนับสนุนให้มีรูปแบบการพัฒนา กศน.ตาบล อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยการพัฒนาครูและบุคลากรท่ีเกี่ยวข้อง กับการจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ การจัดบรรยากาศ และสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง การส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายใน กศน. ตาบลการเสริมสร้างและให้ความร่วมมือกับภาคี เครือข่าย และที่สาคัญในโลกศตวรรษที่ 21 กศน.ตาบลต้องนาเทคโนโลยีดิจิทัล เข้ามาบูรณาการประยุกต์ใช้ ให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการศึกษาและการดาเนินงานเพื่อขยายบทบาท การทาหน้าที่เป็นกลไกในการ พัฒนาศักยภาพ และเพิ่มขีดความสามารถของประชาชนกลุ่มเป้าหมายอย่างท่ัวถึง ครอบคลุม และมี ประสิทธิภาพมากข้ึน จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งท่ีตอ้ งสร้าง กศน.ตาบลต้นแบบ “กศน. 5 ดี พรีเม่ียม” (อาเภอ ละ 2 แห่ง) ให้เป็นต้นแบบ กศน.ตาบล โดยนารูปแบบการบริหารจัดการดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ในการบริหาร จัดการ กศน.ตาบล ให้เกดิ ผลงานเชิงประจกั ษ์ ประชาชนในชุมชนเกิดการเรยี นรู้และการศกึ ษาตลอดชวี ิตได้ ในสว่ นของสานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรสงคราม ทม่ี ีต่อนโยบายดังกลา่ วเพ่ือเร่งยกระดับ กศน.ตาบล นาร่อง (อาเภอละ 2 แห่ง) ในพ้ืนที่ให้เป็น กศน.ตาบล 5 ดี พรีเมียม ได้ดาเนินการคัดเลือก กศน.ตาบล 5 ดี พรีเมี่ยม ระดับจังหวัด คือ กศน.ตาบลปลายโพงพาง สังกัด กศน.อาเภออัมพวา และได้ดาเนินการส่งผลการ พจิ ารณาคดั เลือก ไปยังกลมุ่ ศนู ย์สมทุ รคีรี เพอื่ ดาเนนิ การตอ่ ไป 2. สภาพที่พบ สถานศึกษาในสังกัดสานักงาน กศน.จังหวัด ได้ดาเนินการคัดเลือก กศน.ตาบล ที่มีความพร้อมและ มีศกั ยภาพ เพ่ือเป็น “กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดีพรเี มยี่ ม” และมีสภาพทพี่ บตามประเดน็ การนิเทศดังน้ี 1. ครมู ีสมรรถนะในการจดั การเรียนการสอนท่มี คี ณุ ภาพในระดบั ตา่ ง ๆ (Good Teacher) พบว่าในด้านวิชาการ ครู กศน.ตาบลมีข้อมูลในระบบฐานข้อมูลเพ่ือการบริหารจัดการ (DMIS) ครบถ้วนแต่บางรายการไม่เป็นปัจจบุ ัน เชน่ รายช่อื คณะกรรมการ กศน.ตาบลข้อมูลสาธารณูปโภคจานวนผู้ใช้ ส่ือ จานวนผู้เข้ารับบริการใน กศน.ตาบล เป็นต้น มีการจัดทาแผนปฏิบัติการโดยวิเคราะห์ข้อมูลจากสภาพ ปัญหาและความต้องการจาเป็น แต่ไม่ครอบคลุมทุกประเด็น ทาให้การจัดกิจกรรมการศึกษายังไม่สอดคล้อง และแก้ปัญหาตามบริบทของชุมชนเป็นการจัดทาแผนตามงบประมาณที่ได้รับ ตามนโยบายและจุดเน้น

2 ของส่วนกลาง มีการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้รายสปั ดาห์ ส่วนแผนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์หลายจังหวัด ยังไม่ได้ดาเนินการ มีระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนโดยครูออกเย่ียมบ้านนักศึกษาที่ไม่มาพบกลุ่ม ติดตาม ทางสอ่ื โซเชียล ไดแ้ ก่ เฟซบุ๊ก กล่มุ ไลน์ ในการจัดการศึกษาต่อเน่ืองจะดาเนนิ การได้เกนิ กวา่ เป้าหมายท่ีกาหนด สว่ นการติดตามการนาความรู้ ไปใช้ยังไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ไม่มีกระบวนการติดตามที่ชัดเจน และการติดตามส่วนใหญ่ เป็นการสารวจความคิดเห็นหลังจบหลักสูตร ไม่มีการสรุปข้อมูลการติดตามผลทาให้ข้อมูลท่ีได้ยังไม่เป็น ประโยชนใ์ นการพฒั นารูปแบบการจัดกิจกรรมหรอื การปรบั แผนปฏิบัติการ กิจกรรมส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย มีการดาเนินการจัดกิจกรรมใน กศน.ตาบลแหล่งเรียนรู้บ้าน หนังสือชุมชน และบริการส่งเสริมการอ่านเคล่ือนที่โดยใช้รถห้องสมุดเคลื่อนท่ีได้รับการสนั บสนุนจาก สานักงาน กศน.จังหวัดมีอาสาสมัครส่งเสริมการอ่านร่วมดาเนินการและได้รับการสนับสนุนสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ และส่ิงอานวยความสะดวกต่าง ๆจากภาคีเครือข่ายโดยที่บางจังหวัดขาดข้อมูล ไม่มีโครงการ/ กิจกรรมปรากฏในแผนปฏิบัติการประจาปีและไม่ได้จัดทาสมุดลงช่อื ผู้เข้ารับบริการไว้เป็นรอ่ งรอยหลักฐานใน การจัดกิจกรรมท้งั ใน กศน.ตาบล และบา้ นหนงั สือชุมชนการสรปุ ผลการดาเนนิ งาน ยังไม่เปน็ ระบบ ด้านคุณธรรม จริยธรรมพบว่าครูส่วนใหญ่มีการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีวินัย มีการดารงชีวิต อยา่ งเหมาะสมในวชิ าชีพ ยึดหลักการดารงชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ด้านความคดิ สร้างสรรค์ และความรู้ความสามารถพบว่าครูส่วนใหญ่มีทักษะ เทคนิค การจัดการเรียนการสอนที่ครอบคลุม และเข้าถึง ความต้องการของผเู้ รียนอย่างเป็นระบบและชัดเจน ใชส้ อื่ การเรยี นการสอนท่ีหลากหลาย มกี ารจัดทาแผนการ จัดการเรียนรแู้ ละบนั ทึกหลังการสอนแต่ผเู้ รียนมาพบกล่มุ ค่อนข้างน้อย ครู กศน.ตาบลส่วนใหญ่นาเทคโนโลยี มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน เช่น Google classroom Line Facebook เป็นต้น มาใช้ประโยชน์ในการ จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนในวนั พบกลุ่ม และการมอบหมายงานในวนั อนื่ ๆ มีการจดั ทาวิจยั ในช้ันเรียนบ้าง แต่ครู กศน.ตาบล ไม่สามารถพิจารณาเลือกหัวข้องานวิจัยที่เหมาะสม งานวิจัยส่วนใหญ่ไม่เก่ียวข้องกับ กระบวนการพัฒนาการเรียนการสอน การยกระดับผลสัมฤทธ์ิ มีบางส่วนเป็นหัวข้อที่เก่ียวกับพฤติกรรมและ ความรับผิดชอบของนักศึกษา การเขียนรายงานและการเรียบเรียงของครู กศน.ตาบล ยังไม่เป็นไปตาม ระเบียบวิธีวิจยั 2. สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ของกศน.ตาบล ดึงดูดความสนใจและเอื้อต่อการเรียนรู้ (Good Place - Best Check In) พบว่า กศน.ตาบล ส่วนใหญ่มีอาคารอยู่ในสถานที่มั่นคง มีความเป็นสัดส่วนและปลอดภัยบางแห่งมี การจัดทาศูนย์เรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีการจัดทารหสั คิวอาร์โค้ด (QR Code) เพื่อใช้ใน การศึกษาเรียนรู้ข้อมูลต่าง มีการจัดสภาพแวดล้อมท่ีสะอาดร่มรื่น สวยงามท้ังภายในและภายนอก มีพื้นท่ีใน การใช้สอยในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เพียงพอ สถานท่ีต้ังอยู่ในพื้นท่ีที่ประชาชนสามารถมาใช้บริการได้ สะดวกๆ มีระบบสาธารณูปโภค เช่น ไฟฟ้า ประปา อินเทอร์เน็ต มีวัสดุและครุภัณฑ์พื้นฐานเพ่ือการเรียนรู้ท่ี ทันสมัย เพียงพอกับความต้องการของผู้เรียน เช่นแบบเรียน คู่มือ ชุดการเรียน มีโต๊ะ เก้าอี้ หรือที่นั่งสาหรับ อ่านหนังสืออย่างเพียงพอ ท้ังภายในและภายนอกสาหรับผู้ใช้บริการ มีหนังสือพิมพ์ วารสาร ส่ือ เอกสาร ส่ิงพิมพ์ มีที่วางหนังสือพิมพ์ มีตู้ชั้นใส่เอกสาร บาง กศน.ตาบล มีส่ืออิเล็กทรอนิกส์ มีโทรทัศน์ เครื่องเล่น สื่อการศึกษาประเภท DVD มีเคร่ืองรับโทรทัศน์และชุดรับสัญญาณดาวเทียม(ETV)บางแห่งมีอุปกรณ์ สานักงาน ประเภทเครื่องคอมพิวเตอร์ เครอื่ งพิมพ์ Printer

3 3. กิจกรรมการเรียนรู้ มีความทันสมัย มีประสิทธิภาพในการให้บริการ (Good Activities) พบว่า กศน. ตาบลส่วนใหญ่ มกี ารจัดกิจกรรมการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน โดยมีการบรู ณาการ นาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนมีการใชร้ ะบบออนไลน์ในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้และการวัดผล ประเมนิ ผล แตก่ ารจัดการเรียนร้ใู ชร้ ะบบออนไลนย์ ังค่อนขา้ งน้อยเมอื่ เทียบกับจานวน กศน.ตาบลโดยภาพรวม ส่วนด้านการจัดการศึกษาต่อเนื่องยังไม่ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย และทุกพ้ืนท่ีการติดตามผู้เรียนหลังจบ หลักสูตรยังไม่เป็นระบบ กิจกรรมการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ส่วนใหญ่จะจัดกับกลุ่มนักเรียนในโรงเรียนโดยใชร้ ถ โมบายเคลื่อนที่ และจัดร่วมกับห้องสมุดประชาชนการติดตามผู้รับบริการยังขาดความชัดเจนในเรื่องของการ นาความรู้และประสบการณ์ไปใช้ประโยชน์การใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมในการจัดก ระบวนการเรียนรู้ยังไม่ หลากหลายกิจกรรมการเรยี นรยู้ งั เปน็ รูปแบบเดมิ 4. มีภาคีเครือข่ายท่ีสามารถส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ (Good Partnerships) พบว่า กศน.ตาบลมีภาคีเครือข่ายในระดับพ้ืนที่ร่วมจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการ เรียนรู้ตลอดชีวิตของ กศน.ตาบลอย่างต่อเน่ืองและเข้มแข็ง ข้ึนอยู่กับที่ต้ังและพื้นที่ที่ กศน.ตาบลต้ังอยู่ เช่น เทศบาลอบต.รพสต.โรงเรียน เป็นต้น มีอาสาสมัคร กศน.ตาบล อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ช่วยส่งเสริมและ สนับสนุนการจัดการเรียนรู้ของ กศน. ตาบล แต่ยังไม่ครอบคลุมทั่วถึง ในด้านการดาเนินการร่วมกับภาคี เครือข่าย กศน.ตาบลได้ให้การสนับสนุนทรัพยากรวัสดุ อุปกรณ์ บุคลากร งบประมาณ จากภาคีเครือข่ายใน การจัดกิจกรรม เช่น กิจกรรมด้านส่ิงแวดล้อมอนุรักษ์ธรรมชาติ กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ เพ่ือสุขภาพ ห่างไกลโรค NCDs และในช่วงท่ีมีการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสสายพันธ์ุใหม่ โควิด-19ภาคีเครือข่ายให้ สนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ วิทยากรสอนทา และบุคลากร การทาเจลล้างมือการทาหน้ากากอนามัย รวมไปถึง สนับสนุนให้ใช้ห้องประชุมฯ โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย การอบรมให้ความรู้โครงการการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสังคมและ ชุมชน โครงการการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต และโครงการการศึกษาเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง 5. มีนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ และสามารถนาไปใช้ได้จริง (Good Innovation) พบว่า ครู กศน. ตาบลมีการนาเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อให้ชุมชนเกิด การเรียนรู้ตลอดชีวิตได้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมท่ีใช้ในการจัดการเรียนรู้ส่วนใหญ่ มุ่งเน้นกลุ่มนักศึกษาการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและการศึกษาตามอัธยาศัยสว่ นกลุ่มการศึกษาต่อเนอ่ื งจะเนน้ การใช้ เทคโนโลยีในการค้าขายออนไลน์และการประยุกต์เผยแพร่เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมใช้ในกา รจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน เพื่อให้ชุมชนเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตได้อย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ ดาเนินการโดย ครู กศน. ตาบล เปิดให้บริการสื่อเทคโนโลยีตา่ ง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ สัญญาณอินเทอร์เน็ต สร้างเป็นห้องเรียนออนไลน์ ที่มีกระบวนการเรียนการสอนที่สามารถโต้ตอบกับครูได้โดยตรง และครูสามารถติดต่อกับผู้เรียนเพ่ือติดตาม งาน ตรวจใบงานทบทวนบทเรียน และส่ังงานได้ง่ายสะดวกรวดเร็ว ผู้เรียนสามารถสืบค้นแสวงหาความรู้ เพิ่มเติมส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึน ประชาชนในพ้ืนท่ีสามารถเข้ามาศึกษาเรียนรู้ในการใช้ คอมพิวเตอร์เพ่ือการปฏิบัติงานและนาไปใช้ในชีวิตประจาวันของตนเองจนเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต นอกจากน้ัน ยังมีการจัดต้ังศูนย์ให้คาปรึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ์ Brand กศน. ดาเนินกิจกรรมโดยพัฒนา จัดทา Page ในหน้าFacebook กศน.ตาบลให้เป็นรา้ นค้าออนไลน์และการขายผ่านกลุ่ม Line ซึ่งเป็นช่องทาง ในการประชาสัมพนั ธแ์ ละจาหน่ายสนิ คา้ ของตาบลผ่านทางสื่อออนไลน์

4 3. ปจั จัยทสี่ ่งผลต่อความสาเร็จ 1. นโยบายของสานักงาน กศน. ด้านการเร่งยกระดับ กศน.ตาบลเป็นกศน.ตาบล 5 ดี พรีเม่ียมมี ความชดั เจน 2. ผู้บริหารระดับจังหวัด และผู้บริหารระดับอาเภอให้ความสาคัญ ดูแล และใส่ใจกับครู กศน.ตาบล อย่างสม่าเสมอ 3. ครู กศน.ตาบลสว่ นใหญเ่ ป็นครมู ืออาชพี (Good Teacher) กลา่ วคือ มคี วามพยายาม มุ่งม่นั ตง้ั ใจ ในภาระหน้าทีท่ ีไ่ ดร้ บั มอบหมาย 4. ภาคีเครือข่ายให้การสนับสนุนและเห็นความสาคัญของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั 4. ปญั หาอุปสรรค 1. ครู กศน.ตาบลได้รับมอบหมายให้ดาเนินการจัดกิจกรรมท่ีหลากหลายและมีปริมาณมากท้ังงาน ในบทบาทหน้าที่และงานอนื่ ๆ ที่ไดร้ บั มอบหมาย ทาใหผ้ ลงานไมม่ ปี ระสทิ ธิภาพเท่าทีค่ วร 2. ครู กศน.ตาบลยังไม่ได้รับการสนับสนุนเท่าที่ควร ในการพัฒนาความรู้และส่งเสริมการใช้งานด้าน Good Innovation อย่างจริงจัง ทาให้ผลงานทไี่ ด้ไมส่ ามารถนาไปใช้ไดจ้ ริง 5. ข้อนเิ ทศตอ่ ผ้รู ับการนิเทศ กศน.ตาบล ควรจัดทาสรุปรายงานผลการปฏิบัติงานและจัดกิจกรรมให้สมบูรณ์ครบถ้วนทุกกิจกรรม ท้ังในด้านผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียน และความพึงพอใจของผู้รับบริการควร เพ่ิมการจัดการเรียนรู้ทางระบบออนไลน์ ในรูปแบบท่ีหลากหลาย เช่น การสอนวิชาชีพ สอนวิชาพื้น ฐาน ท่ีเหมาะสมกับกจิ กรรม เพอ่ื ให้ผู้เรยี นสามารถเรียนรูไ้ ดด้ ้วยตนเอง และเข้าถึงผู้เรียนได้มากขนึ้ 6. ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพฒั นา 6.1 ข้อเสนอแนะต่อสถานศกึ ษา ควรชี้แจงทาความเขา้ ใจและทบทวนถงึ บทบาทหน้าทใี่ นตาแหน่งครู กศน.ตาบลเพอ่ื สรา้ งความชัดเจน และสามารถนาไปปฏิบัติและบริหารจัดการงานของ กศน.ตาบล ได้อย่างมีประสิทธิภาพสนับสนุน กศน.ตาบล ทุกแห่ง ให้เป็นสถานที่ที่มีสัญญาณอินเตอร์เน็ตท่ีเสถียรเพ่ือทาให้เป็น Good Innovation ท่ีมีนวัตกรรม ที่เป็นประโยชน์ และสามารถนาไปใช้ได้จริงตามนโยบายของสานักงาน กศน.ในส่วนการบริหารจัดการ สนับสนุนให้ครู กศน.ตาบล มีโทรศัพท์มือถือท่ีมีคุณสมบัติเหมาะสมกับกระบวนการจัดการเรียนการสอน ควรจัดทาเป็นบทเรียนสาเร็จรูป หรือใช้วิธีการอ่ืน ๆ ตามความพร้อมของสถานศึกษาและผู้เรียน ส่งเสริมด้าน Good Innovation อยา่ งจริงจงั และต่อเนอ่ื ง 6.2 ข้อเสนอแนะต่อสานักงาน กศน.จงั หวดั 6.2.1ควรเปิดช่องทางการรับฟังปัญหาของครู ด้านการจัดการเรียนการสอน การพบกลุ่ม อย่างต่อเน่ืองและท่ัวถึง เพื่อนามาพฒั นารูปแบบในการจัดการเรยี นการสอนใหเ้ หมาะสมตอ่ ไป 6.2.๒ ควรสง่ เสรมิ ขวัญ และกาลังใจของครู กศน.ใหม้ ากย่ิงขน้ึ 6.3 ขอ้ เสนอแนะตอ่ สานักงาน กศน. -

5 7. Best Practice ปัจจัยท่ีส่งผลต่อความสาเร็จในงานการศึกษาข้ันพื้นฐาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 และ ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 1. ครศู กึ ษาเอกสารการเรยี นและตัวชี้วดั ในแตล่ ะรายวิชาใหเ้ ข้าใจ 2. ถา่ ยทอดความรใู้ หน้ ักศึกษาตามเนอื้ หาในบทเรยี น 3. นกั ศึกษาลงมือปฏิบัติ มีการทาแบบฝกึ หัด และฝึกพัฒนาโจทยท์ ีย่ ากงา่ ยสลบั กัน 4. ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้จบเน้ือหาภายในภาคเรียนท่ี ๒ / 2563 และ ภาคเรียนที่ 1/2564 เนน้ การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนใหเ้ หมาะกับสถานการณ์แพร่ระบาดของเช้ือไวรัส โคโรน่า 2019 (Covid – 19) หลักก่อน โดยจะมีการใช้ส่ือจาก ETV ส่ืออินเทอร์เน็ต แบบฝึกหัด ข้อสอบเก่า ทผี่ า่ นมา 5. อธิบายเนื้อหาเพิ่มเติมในข้อสอบเก่า เป็นรายข้อโดยยกตัวอย่างข้อสอบท่ีคล้ายกันมาเปรียบเทียบ และลงมือฝกึ ปฏบิ ตั ิ กรณนี กั ศึกษาเรียนยังไม่เขา้ ใจต้องทบทวนและอธบิ ายเนือ้ หาเพิ่มเติมอีกครั้ง 6. สร้างความตระหนักให้นักศึกษาอยากเรยี น เชน่ ให้การเสรมิ แรง สรา้ งความเปน็ กันเองกับนกั ศึกษา ในขณะทีก่ าลงั จดั การเรียนการสอนสร้างบรรยากาศในห้องเรยี นใหน้ ักศึกษาสนุกสนาน ไมเ่ ครียด 7. ครูทุ่มเทเวลาในการเรียนการสอน โดยสอนเสริมหลังเลิกเรียน และวันหยุดเรียนให้นักศึกษา ได้เรียนรู้ ด้วยการฝึกทักษะซ้า ๆ บ่อย ๆ ฝึกทาข้อสอบเก่ามาก ๆ และดูแลนักศึกษากลุ่มอ่อนเป็นกรณีพิเศษ ใช้วิธีสอนที่แตกต่างออกไป เปิดโอกาสให้ซักถาม ให้เวลาเพิ่มกิจกรรมที่หลากหลายจนกระทั่งนักเรียนเข้าใจ เน้อื หา และสามารถทาแบบฝกึ ไดเ้ หมือนนักศกึ ษากลุ่มปานกลาง 8. เมื่อสอนจบหลักสูตรแล้วนาข้อสอบ n – net T ของปีก่อน ๆ ให้นักศึกษาทา ครูเฉลยและอธิบาย ท่มี าของคาตอบ 9. จัดกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนโครงการยกผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการใหส้ งู ข้นึ

6 8. ภาพกิจกรรม

7 แบบรายงานการนิเทศ ประเดน็ การนเิ ทศ เรื่อง การจัดใหม้ ศี นู ยก์ ารเรียนร้ตู ้นแบบ กศน. ใน 5 ภมู ภิ าค เปน็ Co – Learning Space 1. เกริน่ นา เร่อื งของนโยบาย จดุ เนน้ การดาเนินงานของสานักงาน กศน.ประจาปี 2564 ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ ยทุ ธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ข้อ 3.2 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ มีความพร้อมใน การใหบ้ รกิ ารกิจกรรมการศกึ ษาและการเรียนรู้ เป็นแหล่งสารสนเทศสาธารณะง่ายต่อการเข้าถงึ มีบรรยากาศ ท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ เป็นคาเฟ่พื้นท่ีการเรียนรู้สาหรับคนทุกช่วงวัย มีสิ่งอานวยความสะดวก มีบรรยากาศ สวยงามมชี วี ติ ทด่ี ึงดดู ความสนใจ และมคี วามปลอดภัยสาหรบั ผู้ใชบ้ รกิ าร ข้อ 2 จัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. เพื่อยกระดับการเรียนรู้ ใน 5 ภูมิภาค เป็นพ้ืนท่ี การเรียนรู้ (Co Learning Space) ที่ทันสมัยสาหรับทุกคน มีความพร้อมในการให้บริการต่างๆ อาทิ พื้นท่ี สาหรับการทางาน/การเรียนรู้ พื้นที่สาหรับกิจกรรมต่าง ๆ มีห้องประชุมขนาดเล็ก รวมทั้งทางานร่วมกับ ห้องสมุดประชาชนในการให้บริการในรูปแบบห้องสมุดดิจิทัล บริการอินเทอร์เน็ต สื่อมัลติมีเดีย เพื่อรองรับ การเรียนรู้แบบ Digital Library การสร้างพ้ืนท่ีแห่งการเรียนรู้ที่ทันสมัยและสร้างสรรค์ จึงเป็นสิ่งจาเป็นที่ผู้เก่ียวของทุกฝ่าย ต้องคานึงถึงและเป็นภารกิจเร่งด่วนท่ีจะต้องดาเนินการ Co Learning Space เป็นแนวคิดในการสร้างพื้นท่ี แห่งการเรียนรู้ สาหรับเยาวชน ที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการ และเป็นพ้ืนที่แห่งการเรียนรู้ ให้เยาวชนได้เรียนรู้ร่วมกัน เพ่ือต่อยอดความต้องการเรียนรู้ ด้วยพื้นที่แห่งการเรียนรู้ที่ทันสมัย พร้อมสิ่ง อานวยความสะดวกรวมถึงเวลาเปิด - ปิด บริการท่ีโดนใจผู้เรียน ส่งผลให้การเรียนรู้ เป็นเร่ืองสนุก มีความสุข และท้าทาย ประกอบกับ Co Learning Space เป็นแนวคิดในการสร้างพื้นที่แห่งการเรียนรู้ท่ีทันสมัย ที่เป็น ท่ีนิยมกันทั้งในประเทศและต่างประเทศ สานักงาน กศน. มีนโยบายให้จัดตั้ง ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ Co Learning Space ทว่ั ทกุ ภมู ิภาค เป็นพน้ื ทกี่ ารเรียนรู้ (Co Learning Space) ท่ีทนั สมยั สาหรับทุกคน 2. สภาพท่พี บ ห้องสมุดประชาชนจังหวัดสมุทรสงคราม กาหนดให้เป็นพื้นที่สาหรับจัดต้ังศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co Learning Space) ประจาจังหวัดสมุทรสงคราม มีความพร้อมในการให้บริการต่าง ๆ ได้แก่ พื้นท่ีสาหรับ การทางาน/การเรียนรู้ พ้ืนที่สาหรับกิจกรรมต่าง ๆ มีพื้นที่สาหรับประชุมขนาดเล็ก การให้บริการในรูปแบบ ห้องสมุดดิจิทัล บริการอินเทอร์เน็ต ส่ือมัลติมีเดีย เพ่ือรองรับการเรียนรู้แบบ Digital Library มีมุมการเรียนรู้ ต่าง ๆ มุมเด็ก และมุมสาหรับสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ มุมกาแฟ ตกแต่งสวยงามทันสมัย มีส่ิงอานวยความ สะดวก รวมทั้งเวลาเปดิ -ปดิ ใหบ้ ริการมีความเหมาะสม

8 3. ปจั จัยทสี่ ง่ ผลต่อความสาเร็จ (ถา้ ม)ี งบประมาณท่ีได้รับทาให้ห้องสมุดได้รับการปรับปรุงและพัฒนาทั้งสถานท่ีมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ เป็นคาเฟ่พื้นที่การเรียนรู้สาหรับคนทุกช่วงวัย มีส่ิงอานวยความสะดวก มีบรรยากาศสวยงามมีชีวิต ทีด่ งึ ดดู ความสนใจ และมีงบประมาณสาหรับวสั ดุอปุ กรณ์สาหรบั จดั กจิ กรรม 4. ปญั หาอปุ สรรค เนื่องจากอยู่ในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ระบาดทาให้การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ทาไปด้วยความลาบาก เพราะต้องปิดให้ห้องสมุด และงบให้บริการอ่านภายในห้องสมุด ทาให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมต่าง ๆ ภายใน ห้องสมดุ ได้ 5. ขอ้ นเิ ทศต่อผู้รบั การนเิ ทศ สภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ มีความพร้อมในการให้บริการกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ เป็นแหล่งสารสนเทศสาธารณะง่ายต่อการเข้าถึง มีบรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ เป็นคาเฟ่พื้นท่ีการเรียนรู้ สาหรับคนทุกช่วงวัย มีสิ่งอานวยความสะดวก มีบรรยากาศสวยงามมีชีวิต ที่ดึงดูดความสนใจ และมีความ ปลอดภัยสาหรับผู้ใช้บริการ มีการแบ่งพ้ืนท่ีการใช้งาน แบ่งเป็นมุมต่าง ๆ สะดวกสาหรับการใช้บริการ มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบันซึ่งมีการระบาดของโควิด-19 ผู้ใช้บริการ ไมส่ ามารถมาใช้บรกิ ารทีไ่ ด้หอ้ งสมุดได้กจิ กรรมการเรียนรูจ้ ึงจดั ในรูปแบบของออนไลน์แทน 6. ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนา 6.1 ขอ้ เสนอแนะต่อสถานศึกษา (ถา้ ม)ี - 6.2 ขอ้ เสนอแนะตอ่ สานกั งาน กศน.จงั หวดั (ถ้ามี) - 6.3 ขอ้ เสนอแนะตอ่ สานกั งาน กศน. (ถ้าม)ี -

9 7. Best Practice (ถ้ามี) โครงการส่งเสรมิ การอ่านและการเรยี นร้หู อ้ งสมุดประชาชนจงั หวัดสมทุ รสงคราม - ได้รับรางวัลห้องสมุดประชาชนจงั หวดั ยอดเยย่ี ม รางวัลที่ 1 ระดับกลุ่มสมุทรคีรี - ได้รบั รางวลั หอ้ งสมดุ ประชาชนจังหวดั ยอดเย่ียม รางวลั ท่ี 1 ระดบั ภาคกลาง - ไดร้ บั รางวลั หอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวัดยอดเย่ยี ม รางวลั ที่ 2 ระดับประเทศ - ไดร้ บั รางวลั บรรณารักษ์ดเี ด่น รางวลั ท่ี 1 ระดบั กลุ่มสมุทรคีรี - ได้รับรางวัลบรรณารกั ษ์ดเี ดน่ รางวัลท่ี 1 ระดบั ภาคกลาง - ได้รับรางวัลบรรณารกั ษด์ ีเด่น รางวัลที่ 2 ระดับประเทศ ภาพกจิ กรรม สง่ เสรมิ อาชพี สอนการทาน้ายาลา้ งจาน

10 ภาพกจิ กรรม ไลฟส์ ดสาธติ การทานา้ ยาลา้ งจาน ไลฟส์ ดกจิ กรรมทักษะชวี ิตการจดั การความเครยี ดและภาวะซึมเศรา้

ภาพกจิ กรรม 11 ไลฟส์ ดสาธิตการปลูกฟา้ ทะลายโจรดว้ ยเมลด็ ใน Facebook ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวัด สมทุ รสงคราม

12 ภาพกิจกรรม สง่ เสริมอาชีพสอนการทาสาเกเชือ่ ม

13 ภาพกิจกรรม สง่ เสริมอาชีพสอนการทานา้ กระชาย

14 ภาพกิจกรรม ส่งเสรมิ อาชพี สอนการทาสายคลอ้ งแมส

15 ภาพกิจกรรม ภาพกิจกรรม

16

17 แบบรายงานการนิเทศ ประเดน็ การนเิ ทศ เรอ่ื ง พฒั นาหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี เปน็ Digital Library 1. เกริ่นนา เรอ่ื งของนโยบาย จุดเน้นการดาเนินงานของสานกั งาน กศน. ประจาปี พ.ศ. 2564 การศึกษาตามอัธยาศัย พัฒนาแหล่งเรียนรู้ ที่มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการอ่านและ พัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ให้เกิดข้ึนในสังคมไทย ให้เกิดข้ึนอย่างกว้างขวาง เช่น การพัฒนา กศน.ตาบล ห้องสมุดประชาชนทุกแห่งให้มีการบริการที่ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การ สร้างเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการห้องสมุดเคล่ือนที่ ห้องสมุดชาวตลาด พร้อมหนังสือและ อุปกรณ์เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลายให้บริการกับประชาชนในพ้ืนที่ต่าง ๆ อยา่ งท่วั ถึง สมา่ เสมอ รวมทง้ั เสรมิ สร้างความพร้อมในด้านบคุ ลากร สอื่ อปุ กรณ์เพื่อสนบั สนนุ การอา่ น และการ จดั กจิ กรรมเพ่อื สง่ เสรมิ การอา่ นอยา่ งหลากหลายรปู แบบ 2. สภาพทพี่ บ ห้องสมุดประชาชน ส่วนใหญ่มีความพร้อมในการให้บริการ การเชื่อมโยงแหล่งเรียนรู้ของสถาบัน ส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ ซ่ึงเป็นเว็บไซต์ท่ีห้องสมุดประชาชนทุกแห่งในสังกัดสานักงาน กศน. และมีกระบวนการในการทางานท่เี ปน็ ระบบ เชน่ ห้องสมุดประชาชนจังหวดั สมทุ รสงคราม หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอเมืองสมุทรสงคราม ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภออัมพวา ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางคนที และห้องสมุดประชาชนอาเภออัมพวา โดยใช้ระบบ เช่ือมโยง lrls.nfe.go.th ออกแบบ การจัดกิจกรรมท่ีหลากหลายสอดคล้องกับสภาพความต้องการของ กลุ่มเป้าหมาย ประสานงานกับครู กศน.ตาบล อาสาสมัครส่งเสริมการอ่านประสานงานกับทุกภาคส่วน เพือ่ สนบั สนุนทรัพยากรในการจดั กจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน มกี ารประชาสมั พันธ์ข้อมลู ขา่ วสารอยา่ งเป็นระบบ และต่อเนื่อง มีบรรณารักษ์สารวจความต้องการของผู้ใช้บริการและกิจกรรม ทาให้ทราบความต้องการของ ประชาชน มกี ารทาแบบความพึงพอใจของผู้รับบริการ จึงจัดทาแผนปฏบิ ัติการจัดกจิ กรรมตามความต้องการ ของแต่ละห้องสมุดฯ เช่น ห้องสมุดดาเนินการโครงการวันเด็กแห่งชาติ โครงการส่งเสริมการอ่านและ การศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ โครงการ ๒ เมษาวันรักการอ่าน กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ออนไลน์เปิดโลกใหม่แห่ง การเรียนรู้ สู่วิถีชีวิตใหม่ (New Normal) ในรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E-Book กิจกรรมส่งเสริมการอ่านออนไลน์ “เปิดโลกใหม่แห่งการเรียนรู้ สู่วิถีชีวิตใหม่” (New Normal) เรื่องเล่าวัน สาคัญ ตอน วันอาสาหบูชา กิจกรรมส่งเสริมการอ่านผ่านออนไลน์ กิจกรรมความรู้คู่วันสาคัญ เก่ียวกับวัน สาคัญของไทย เป็นต้น ในส่วนของกิจกรรม มีการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย กิจกรรมวาดภาพระบายสี กิจกรรมเล่านิทานให้น้องฟัง ส่งเสริมการอ่านและสืบค้นข้อมูล กิจกรรมให้บริการอินเทอร์เน็ต กิจกรรม ประชาสมั พนั ธ์ โรคโควิด 19 ทางสอื่ ออนไลน์ กิจกรรมอ่านหนงั สือผ่าน OR Code อ่านผา่ น E-book

18 3. ปัจจัยท่สี ่งผลต่อความสาเรจ็ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จานวน ๓ แห่ง คือ ๑. ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอเมืองสมุทรสงคราม ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภออัมพวา ๓.ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางคนที ได้ดาเนินการโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายท่ีประกอบด้วย ๑.คณะกรรมการสถานศึกษา ๒. องค์การบริหารส่วนตาบล มีการดาเนินการ จัดประชุมสร้างความรู้ความ เข้าใจเร่ืองนโยบาย กศน. ด้านงาน การศึกษาตามอัธยาศัย มีการสารวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย วิเคราะหส์ ภาพปญั หานามาวางแผนการทางานร่วมกันทุกฝ่าย 4. ปัญหา อุปสรรค ผู้รับบริการห้องสมุดลดลงบางส่วน เนื่องจากเกิดวิกฤตการณ์ โควิด 19 ไม่สามารถร่วมกิจกรรม ส่งเสริมการอา่ นแบบปกตไิ ด้ 5. ข้อนิเทศตอ่ ผู้รบั การนเิ ทศ บรรณารักษ์ห้องสมุด ควรให้บริการเป็นการบริการผ่านสื่อออนไลน์มากข้ึน เพราะประชาชนไม่ค่อย นิยมอ่านหนังสือแต่นิยมอ่านผ่านส่ือออนไลน์ และสมาร์ทโฟน แต่สาหรับกลุ่มเป้าหมายอ่ืน เช่น เด็กเล็ก เด็กปฐมวัย และผู้สูงอายุ กิจกรรมส่งเสริมการอ่านท่ีจัดอยู่ออกแบบได้เหมาะสมกับชว่ งวัยแล้ว อย่างต่อเนื่อง สมา่ เสมอและเป็นปัจจุบนั 6. ข้อเสนอแนะเพ่อื การพัฒนา 6.1 ข้อเสนอแนะต่อสถานศึกษา - 6.2 ขอ้ เสนอแนะต่อสานกั งาน กศน.จังหวัด - 6.3 ข้อเสนอแนะต่อสานกั งาน กศน. -

19 7. Best Practice หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” ทุกแหง่ ใชร้ ะบบเชือ่ มโยงแหล่งเรยี นรู้ LRLS ในการให้บริการ ของห้องสมุด เน่ืองจากผู้ใช้บริการสามารถสืบค้นได้สะดวก ว่ามีส่ือท่ีต้องการพร้อมใหบ้ รกิ ารหรอื ไม่ก่อนจะมา เข้ารับบริการ สามารถจองส่ือ สมัครสมาชิก และทราบข่าวกิจกรรมต่าง ๆ ของห้องสมุด ผ่านระบบออนไลน์ ซึ่งทาให้ห้องสมุดประชาชน“เฉลมิ ราชกุมารี” มีบริการที่รวดเร็วและทันสมัย ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราช กุมารี” มี Facebook Fan Page ของห้องสมุดท่ีเป็นปัจจุบัน และลงข่าวกิจกรรมประชาสัมพันธ์อย่าง สมา่ เสมอ เป็นการประชาสัมพนั ธก์ ิจกรรมงานหอ้ งสมดุ ผ่านโซเชียลมีเดีย (Social Media) ที่มปี ระสิทธภิ าพท่ี ดีสดุ 8. ภาพกจิ กรรม สอ่ื สง่ เสรมิ การอา่ นผา่ น การใช้ QR Code ในการเข้าถงึ ข้อมลู สือ่ ส่งเสริมการอา่ นผ่าน การใช้ E-book เสริมความรู้ ในการเข้าถงึ ข้อมลู ต่าง ๆ Fan Page Facebook ทางโปรแกรม LINE QR Code E-book

20 แบบรายงานการนิเทศ ประเดน็ การนเิ ทศ เรื่อง พัฒนาการจัดการศกึ ษาออนไลน์ กศน. 1. นโยบายของสานกั งาน กศน. ประจาปี พ.ศ. 2564 หลักการและเหตผุ ล การจัดการศึกษาออนไลน์ (Online learning) จัดเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาในอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งสามารถเปล่ียนแปลงวิธีเรียนในรูปแบบเดิมๆ ให้เป็นการเรียนใหม่ ท่ีใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยทาการสอน นอกจากนี้ความหมายอีกในหน่ึงยังหมายถึง การเรียนทางไกล การเรียนผ่านเว็บไซต์ โดยมุ่งเน้นการเรียนรู้ ทางผ่านทางอินเทอร์เน็ต โดยอยู่ในรูปแบบของคอมพิวเตอร์ เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ บวกเข้ากับ เครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต สรา้ งการศกึ ษาทม่ี ปี ฏสิ มั พนั ธ์คุณภาพสงู โดยไมจ่ าเปน็ ต้องเดนิ ทาง ของผเู้ รยี นเกิดความ สะดวกและเข้าถึงได้อย่างรวดเร็ว ทุกสถานที่ ทุกเวลา เป็นการสร้างการศึกษา ตลอดชีวิตให้กับประชาชนและ กลุม่ เป้าหมายที่ตอ้ งการเรียนรตู้ ามอธั ยาศยั การจัดการศึกษาในลักษณะดังกล่าว ได้มุ่งส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียนสามารถเลือก เรยี นตามความสนใจและความถนัดของตนเอง ในส่วนของเนอ้ื หาของเรียน อาจประกอบดว้ ย ข้อความ รูปภาพ เสียง VDO และ Multimedia อ่นื ๆ สิ่งเหล่านี้จะถกู ส่งตรงไปยงั ผู้เรยี นผ่านกลไกทางเทคโนโลยใี นยุคดิจิทลั ท้ัง ผู้เรียน ผู้สอน และเพื่อนร่วมชั้นทุกคน สามารถติดต่อ สื่อสาร ปรึกษา แลกเปล่ียนความคิดเห็นแบบเดียวกับ การเรยี นในชนั้ เรียนทวั่ ไป โดยการใช้ E-mail, Chat, Social Network, Google classroom เปน็ ต้น ด้วยเหตุ นี้การเรียนรูแ้ บบออนไลน์ จึงเหมาะสาหรับทุกคน เรียนได้ทุกเวลา เรียนอยู่ท่ีใดก็ได้ เรียนเวลาใดก็ได้เอาตาม ความสะดวกของผู้เรียนเป็นสาคัญ เนื่องจากให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งจะช่วยกระตุ้นความสนใจ ในการ เรยี นรขู้ องผูเ้ รียนได้เปน็ อยา่ งดี อีกทงั้ ยังทาให้เหตภุ าพของเน้ือหาตา่ งๆง่ายดายมากขึ้น ผ้เู รยี นสามารถเลือก วชิ าเรยี นไดต้ ามความต้องการเอกสารบนเวบ็ ไซตท์ ี่มี Links ต่อไปยงั แหล่งความรู้อ่นื ๆ ทาใหข้ อบเขตการเรยี นรู้ กว้างออกไป และเรียนอยา่ งรลู้ กึ มากขึน้ ประโยชน์ของการเรียนการสอนแบบออนไลน์ จะเป็นการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอน เนื่องจากไม่ได้จากัดอยู่ในสถานที่เดียวเท่านั้น เกิดเครือข่ายความรู้ โยงใยออกไปไกลเน้นการเรียนแบบผู้เรียน เป็นศูนย์กลางช่วยลดช่องว่างระหว่างการเรียนรู้ในเมืองกับท้องถ่ิน เป็นการจัดการศึกษาที่มีความยึดหยุ่นสูง เพราะฉะนั้นผเู้ รียนจาต้องมคี วามรับผิดชอบในการเรียนมากกวา่ ปกติ เพราะไม่มใี ครมาน่งั จ้าจจี้ า้ ไช ยิ่งเรียนย่ิง ได้กับตัวเอง อีกทั้งยังทราบผลย้อนกลับของการเรียน ท้ังจาก การประเมินย่อย การประเมินผลโดยรวม โดย อาจมีระบบ e-testing เป็นเครื่องมือในการสอบ รวมทั้งการประเมินผลรวมตามการสอบ เพื่อเป็นการเช็คว่า ผู้เรียนได้เข้ามาเรียนจริง ตรวจสอบความก้าวหน้าของผู้เรียน ว่าสามารถทาข้อสอบได้ มีความเข้าใจในเน้ือหา เพ่ือสนองนโยบายการจัดการศกึ ษาใหส้ อดรบั กบั เทคโนโลยแี ละความเป็นพลวตั รของสังคม ด้วยเหตุนี้ สานักงาน กศน. จึงได้เล็งเห็นความสาคัญต่อการเปล่ียนผ่านรูปแบบการจัดการศึกษาใน อนาคต จงึ เหน็ ควรใหม้ กี ารเตรยี มความพร้อมท้ังด้านโครงสร้างพ้นื ฐาน ระบบการจดั การศึกษาออนไลน์ ระบบ ส่ือเทคโนโลยี ระบบการวดั และประเมินผล และการปรับหลักเกณฑ์ท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน การจดั การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง และการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย เพื่อพฒั นาผเู้ รยี นและ ผู้รับบริการในกลุ่มเป้าหมายของ กศน. ให้สอดรบกับการเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยีและรูปแบบการจัดการศึกษา ออนไลน์ในอนาคต

21 2. สภาพท่ีพบกศน.ตาบล 1. มีระบบโครงสรา้ งพ้นื ฐาน ระบบข้อมลู ผเู้ รียน และแพลทฟอร์มในการจัดการศึกษาระบบออนไลน์ ของ กศน. 2. มีระบบการพัฒนาส่ือดิจิทัล เพ่ือสง่ เสริมการเรยี นการสอนผา่ นระบบออนไลน์ 3. มีระบบการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนผ่านระบบออนไลน์ มงุ่ ส่งเสรมิ ให้เกิดการปรบั เปล่ียน วิธีการจัดการเรียนรูโ้ ดยให้ผเู้ รียนสามารถสรา้ งการเรยี นรู้ได้ ทุกคน (Anyone) ทุกที่ (Anywhere) ทกุ เวลา (Anytime) ทุกสถานที่ (Anyplace) ข้นึ กับความต้องการแสวงหาความรูข้ องผ้เู รียนพร้อม ปรบั หลักเกณฑ์และวิธีการจดั การเรียนรูใ้ หท้ นั สมัย 4. มีระบบการทดสอบผ่านระบบออนไลน์ ได้จัดทาหลักเกณฑ์ และวิธีการตรวจสอบความก้าวหน้า และคุณภาพผูเ้ รียนให้ทันสมัย เนน้ แนวทางให้เกิดการประเมินทางเลือก (Alternative Assessment) เพื่อใหเ้ กิดความยดื หย่นุ แก่ผเู้ รียน สถานศกึ ษา และการทดสอบระดบั ชาติ 5. มกี ารประชาสัมพนั ธ์และการส่ือสารเพ่ือการรบั รู้ถึงแนวทางการจดั การศึกษาออนไลน์ ของ กศน. ดา้ นบรหิ ารจดั การ มีขอ้ จากัด • สานักงาน กศน. ประกาศ WFH / เลอื่ นเปดิ เทอมปีการศึกษา 1/2564 เป็นวันท่ี 1 ม.ิ ย. 64 / สารวจผตู้ ดิ เชอ้ื และกลุ่มเสีย่ ง • ผ้บู รหิ ารและครู สื่อสารและทาความเขา้ ใจกับนักศึกษาและผปู้ กครอง • ศธ. , สป. และ สานักงาน กศน. จะมกี ารประเมินสถานการณแ์ พร่ระบาดของโควิด-19 และประกาศ ของ ศบค. เป็นระยะๆ • สานักงาน กศน. สารวจความพร้อมของนกั เรียน นักศึกษา และสถานศึกษาในการจัดการเรียนการ สอนในรปู แบบต่างๆ เช่น On-site , On-air , Online , OnHand เปน็ ต้น • สานักงาน กศน. รวบรวมสอ่ื ต่างๆ จากทุกแหลง่ ข้อมูล และจดั ทาเป็นระบบ Shopping List และ ระบบ Share Resource ให้กับสถานศกึ ษา และนักศึกษา ไดเ้ ข้าถงึ อย่างง่าย • การปิดภาคเรยี นที่ 1/2564 ใหเ้ ปน็ ไปตามปฏทิ ินเดมิ ท่ีกาหนดไว้ (15 ต.ค.64) ดา้ นการเรียนการสอน มขี อ้ จากัด การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน (หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ได้แก่ ประถมศึกษา /มัธยมศึกษาตอนตน้ /มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รบั สมคั รนกั ศึกษา ระหวา่ งวนั ท่ี 10 เม.ย.64 - 15 พ.ค.64 (ขยายการรบั สมัคร ถงึ 30 พ.ค. 64) - สมคั รผา่ นออนไลน์ Google form (แต่ละสถานศึกษาดาเนินเอง) สมคั รกับครู กศน.ในพ้ืนที่ • จัดทาปฏิทนิ /แผนการดาเนินการจดั การศกึ ษาหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้น พืน้ ฐาน โดยให้มีการเรียนการสอนชดเชยใหค้ รบหลกั สตู ร • สถานศึกษาดาเนินการมาตรการปลอดภยั ตาม 6 มาตรการหลัก และ 6 มาตรการเสรมิ รองรับการ แพรร่ ะบาดระลอกใหม่ของโควดิ -19 ในสถานศกึ ษา https://multimedia.anamai.moph.go.th/infographics/info210_covid19/ • สถานศึกษาทาแบบประเมินตนเองสถานศกึ ษา ก่อนเปดิ ภาคเรียน 1/2564 ผา่ นระบบ Thai Stop Covid Plus (TSC) ท่เี วบ็ ไซต์ https://stopcovid.anamai.moph.go.th/th/school/ • สถานศึกษาและครจู ดั กิจกรรมเสริมหรือกจิ กรรมเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษา เช่น งานทะเบยี น ปฐมนิเทศ เตรียมการสอน การวัดและประเมนิ ผล การสอบ เปน็ ตน้

22 • การวัดผล ประเมนิ ผล • ระยะเวลาเรยี น • การพบกลุม่ ผเู้ รยี น /การติดต่อส่ือสาร / นวตั กรรมเทคโนโลยีต่างๆ • การมอบหมายงาน ใบงาน การพฒั นาหลักสตู ร - ไม่มีการพัฒนาหลักสูตร ครู กศน. ตาบล บางแห่ง ยังไม่เข้าใจกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยไม่มีการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล ไม่สามารถจัดทาแผนการเรียนรู้รายภาค รายสัปดาห์ แผน กรต.แผนโครงงาน และไม่มีแผนการสอนที่เหมือนกันทุกตาบล โดยมีแผนการสอนแบบ รายวิชา แต่นาแผนไปใช้ในการเรียนการสอนได้จริงเป็นสว่ นน้อย และครบู างส่วน ไมม่ ีการบันทึกหลังสอนที่ เป็นปัจจุบัน ครูบางคนบันทึกแบบสั้น ๆ ขั้นตอนการบันทึกไม่ถูกต้องชัดเจน และส่วนใหญ่จะไม่พบปัญหา และอุปสรรคในการจัดการเรยี นการสอน จงึ ไม่สามารถนาไปเช่ือมโยงส่กู ารจดั ทาวจิ ัยในช้ันเรียนได้ - มีการจัดกระบวนการเรียนรูผ้ ่าน Google classroom และ Application เพ่ือการศึกษา ผา่ นชอ่ งทาง ออนไลนต์ า่ ง ๆ เช่น line facebook QR Code เป็นตน้ - มีกิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริม การอ่าน การเขียน ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการส่ือสาร การประยุกต์ใช้ใน ชีวติ ประจาวัน การแกป้ ัญหาและพัฒนาคุณภาพชวี ิตอย่างสร้างสรรค์ - ครูมกี ารดูแลช่วยเหลอื ผ้เู รียน อย่างเป็นระบบ และมผี ลการดาเนินงาน - ครูมกี ารจดั กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนทุกภาคเรยี น - มีสือ่ ท่ใี ช้มีความหลากหลาย เหมาะสมกบั เนือ้ หา ทันสมัย กระตุน้ ความสนใจผเู้ รยี น - มี ส่ือที่ใช้ (Google classroom / สื่อออนไลน์ /Clip /ส่ือแบบเรียน/ผู้รู้ ฯลฯ) เหมาะสมกับกิจกรรม การเรยี นรู้/กลุม่ ผู้เรยี น ทีห่ ลากหลาย - มีคาส่งั แตง่ ต้ังหลกั เกณฑ์การวดั ผล ประเมินผลตามหลักสตู รสถานศึกษา - มีการออกแบบวิธีการวัดผล ประเมินผลด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย ตามธรรมชาติวิชา ตรงตามจุดประสงค์ การเรยี นรู้ท่ีกาหนด - มีจานวนผูเ้ รียนเขา้ สอบปลายภาค คิดเป็นร้อยละเทา่ ใดเทยี บกบั จานวนผู้ลงทะเบียนของครูแต่ละคน - มีรายงานจานวนผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ย 2.00 ในรายวิชาบังคับต่อภาคเรียน คิดเป็น ร้อยละ เทา่ ใดเทียบกบั จานวนผลู้ งทะเบียน - มีรายงานผู้เขา้ สอบ n-net - มกี ารนาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นมาวางแผนแก้ปัญหา - ครูมกี ระบวนการและหลักฐานการประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผเู้ รียน - ครจู ัดทาเอกสารและหลกั ฐานการศึกษาครบถ้วนถูกต้องทกุ ภาคเรียน - สถานศึกษามีการสรปุ รายงานผลการดาเนินงานเมื่อส้ินสุดภาคเรียน และนาสรุปรายงานผลของครมู า ศกึ ษา วเิ คราะห์และกาหนดแนวทางการแกไ้ ข ปรับปรงุ พัฒนา - มีการอบรมดิจิทัลพื้นฐานให้ครูและบุคลากร กศน. เพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้ และการสร้าง กระบวนการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง (DIY)

23 - มีการพฒั นาครู กศน.ต้นแบบการเรียนรภู้ าษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร - มกี ารพัฒนาครแู ละผเู้ รียนในการใชเ้ ทคโนโลยที างการศกึ ษา Google classroom/ E-learning MOOC - มีการนเิ ทศ ตดิ ตามผลการดาเนนิ งานอย่างตอ่ เนอ่ื ง - มกี ารนาผลจากการนิเทศไปปรบั ปรงุ พัฒนา 3. ปจั จัยท่ีส่งผลต่อความสาเร็จ การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน 1) On-Site การเรียนรู้โดยการพบกลุ่มที่สถานศึกษา หรือพ้ืนที่ ๆ ปลอดภัยภายใต้เง่ือนไขท่ี ศบค. และ คณะกรรมการโรคติดต่อจงั หวัดกาหนด 2) On-Air การเรียนรู้ผา่ นโทรทศั นเ์ พอื่ การศึกษา (ETV) ของศนู ย์เทคโนโลยีทางการศึกษา 3) On-Line การเรียนรูผ้ ่านระบบอนิ เทอรเ์ นต็ แอพพลิเคชน่ั บทเรยี นออนไลน์ เป็นต้น (สว่ นกลางเตรียมไว้ ให้) 4) On-Hand การเรยี นที่บ้านโดยหนังสอื เรยี น แบบฝึกหัด การบา้ น เป็นต้น 4. ปัญหา อุปสรรค สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (Covid – 19) ทาให้ไม่สะดวกในการประสาน งานนักศึกษา และจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูต้องเร่งพัฒนาส่ือนวัตกรรมในการจัดการเรียนการสอน ใหเ้ หมาะสม 5. ข้อนิเทศต่อผู้รับการนเิ ทศ เจ้าหน้าท่ีงานการศึกษาชั้นพ้ืนฐาน ได้ทาความเข้าใจบทบาทหน้าที่ของครู กศน. ในการจัด กระบวนการเรียนการสอน ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยใหส้ ถานศึกษาดาเนนิ การ ดงั นี้ ๑. ครูกศน.ตาบล จัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามปัจจัยท่ีส่งผลต่อความสาเร็จ ขา้ งตน้ ทก่ี ล่าวมาแลว้ ในสถานการณ์ COVID - 19 2. ครู กศน.ทุกคน ตอ้ งมสี ่วนร่วมในการพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา และดาเนนิ การตามขนั้ ตอน ของการพัฒนาหลักสตู ร ๓. ครู กศน.ทุกคน ต้องจัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกภาคเรียน และเสนอผู้บริหาร สถานศกึ ษากอ่ นนาไปจดั การเรียนการสอน ๔. ครู กศน.ทุกคน หลังจากจัดกิจกรรมการเรียนรู้แล้ว ให้บันทึกหลังสอนให้เป็นปัจจุบัน และ สามารถวิเคราะห์ปัญหาท่ีพบจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ นาไปสู่การวิจัยเพื่อแก้ปัญหาในการจัดกิจกรรม การเรยี นรใู้ ห้มปี ระสทิ ธิภาพดยี ิง่ ขึน้ 5. ครู กศน.ทุกคน ต้องจัดทาข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนทุกคน เช่น ข้อมูลจากการวิเคราะห์ ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ข้อมูลช่วยเหลือผู้เรียน ข้อมูลการเย่ียมบ้านผู้เรียน ช้ินงาน ผลงาน โครงงานของ

24 ผู้เรียน ทาเนียบบุคลากร คณะกรรมการกศน.ตาบล อาสาสมัครกศน.ตาบล ข้อมูลการแนะแนวการศึกษา ต่อ เป็นต้น เพื่อเป็นร่องรอยหลักฐาน/เอกสารสาหรับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับ มาตรฐานการศึกษาทสี่ ถานศึกษากาหนด 6. ครกู ศน.ตาบล ตอ้ งจดั ทาข้อมูลขา่ วสารของชุมชน เผยแพร่ข้อมูลที่เปน็ ประโยชน์ ในรปู แบบ เอกสาร แผ่นพับ ป้ายข้อมูล ส่ือ CD VCD และเสนอข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศ ผ่านสื่อวิทยุชุมชน หรือ หอกระจายข่าวประจาหมูบ่ า้ น 7. ครูกศน.ตาบล ต้องจัดอาคารสถานที่กศน.ตาบล สภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมทั้งภายใน ภายนอกอาคาร กศน.ตาบล และต้องให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการวางแผน การนิเทศ ติดตามผลการดาเนินการ จัดกจิ กรรมของ กศน.ตาบล 6. ข้อเสนอแนะเพื่อการพฒั นา 6.1ข้อเสนอต่อสถานศกึ ษา 6.๑.๑ สถานศึกษาควรติดตาม ตรวจสอบ สนับสนุน การจัดกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้มีการบันทึกหลังสอนอย่างเป็นปัจจุบัน มีการทาวิจัยในช้ันเรียนโดยนา ปัญหาทีพ่ บจากการเรียนการสอน มกี ารพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษาอย่างระบบและตอ่ เน่ือง 6.๑.๒ สถานศึกษาควรหาแนวทางการแก้ปัญหาการมาพบกลุ่มของผู้เรียน ในสถานการณ์ COVID–19 โดยอาจจะพัฒนาทางเลอื กที่หลากหลายเพ่อื พัฒนาคุณภาพของผู้เรยี นให้สงู ข้ึน 6.๑.๓ สถานศกึ ษาจดั อบรมพัฒนาบุคลากรเรื่องวิจยั ในชน้ั เรียน โดยมกี ารฝกึ อบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร ๑.๔ สถานศึกษาควรดาเนินการนิเทศภายในอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงผลการนิเทศจะเป็นส่งิ สะท้อนการ ปฏิบัติงานทจี่ ะนาไปส่กู ารพฒั นาสถานศกึ ษาตามระบบประกนั คุณภาพการศึกษา ๑.๕ สถานศึกษาควรจัดประชุมคณะผู้นิเทศภายใน โดยคานึงถึงปัญหาการดาเนินงานกิจกรรม กศน. ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา (จากการประเมินตนเอง การประเมินโดยต้นสังกัด และการ ประเมินคุณภาพภายนอก) ตามความต้องการและความจาเป็นในการนิเทศ เพ่ือคัดเลือกประเด็นท่ีจะนิเทศ ดาเนินการวางแผนการนิเทศเพ่ือใหส้ ามารถนิเทศไดต้ ามแผนและนาผลมาใช้ในการปรบั ปรุงพัฒนาได้ 6.2ขอ้ เสนอต่อสานักงาน กศน.จงั หวดั สมุทรสงคราม 6.๒.๑ ควรเปิดช่องทางการรับฟังปัญหาของครู ด้านการจัดการเรียนการสอน การพบกลุ่ม อยา่ งตอ่ เนื่องและทวั่ ถึงเพือ่ นามาพัฒนารปู แบบในการจดั การเรยี นการสอนใหเ้ หมาะสมตอ่ ไป 6.๒.๒ ควรสง่ เสริมขวัญ และกาลงั ใจของครู กศน.ให้มากย่ิงข้นึ 6.3 ข้อเสนอแนะตอ่ สานักงาน กศน. -

25 7. Best Practice - 8. ภาพกิจกรรม

26 แบบรายงานการนเิ ทศ ประเดน็ การนิเทศ เรื่อง จดั ให้มีหลกั สตู รลูกเสือมคั คเุ ทศก์ สานักงาน กศน.จังหวดั สมุทรสงคราม 1. เกริน่ นา เรือ่ งของนโยบาย จดุ เนน้ การดาเนินงานของสานกั งาน กศน. ประจาปี พ.ศ.2564 ด้วยสานักงาน กศน. ได้กาหนดจุดเนนการดาเนินงานประจาปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ด้านท่ี 1 นอมนาพระบรมราโชบายดานการศึกษาสูการปฏิบัติ ข้อ 1.3 การสรางกลุมจิตอาสาพัฒนาชุมชน รวมท้ัง ปลูกฝงผูเรียนใหมีหลักคิดที่ถูกตองดานคุณธรรม จริยธรรม มีทัศนคติที่ดีตอบานเมือง และเปนผูมีความ พอเพียง ระเบียบวินัย สุจริต จิตอาสา ผานกิจกรรมการพัฒนาผูเรียนโดยการใชกระบวนการลูกเสือและ ยุวกาชาด สานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรสงคราม ได้ดาเนินโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคล่ือนการ ดาเนินงานลูกเสือมัคคุเทศก์ จังหวัดสมุทรสงคราม ในวันท่ี 27 พฤศจิกายน 2563 ณ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอเมืองสมุทรสงคราม เพือ่ จัดทาแผนการดาเนนิ งานของลกู เสือมคั คเุ ทศก์ ในการปฏิบัติ หน้าที่มัคคุเทศก์ท้องถิ่น และเพ่ือสร้างขวัญและกาลังใจในการปฏิบัติงานแก่ลูกเสือมัคคุเทศก์ และเกิดความ ภาคภมู ิใจในการเปน็ ลกู เสือมคั คุเทศก์ 2. สภาพท่ีพบ การดาเนินโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคล่ือนการดาเนินงานลูกเสือมัคคุเทศก์ จังหวัด สมุทรสงคราม ในวันท่ี 27 พฤศจิกายน 2563 ณ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอเมือง สมุทรสงคราม มีลูกเสือมัคคุเทศก์ในสังกัดสานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรสงคราม เข้าร่วม 40 คน เป็นชาย 26 คน หญงิ 14 คน และคณะทางาน วิทยากร จานวน 20 คน โดยมีกิจกรรมแบง่ เปน็ 2 กจิ กรรม ดังน้ี 1.กิจกรรมมอบวุฒิบัตรให้แก่ลูกเสือมัคคุเทศก์ที่ผ่านการอบรม เม่ือวันท่ี 24 – 27 สิงหาคม 2563 จานวน 40 คน 2.กิจกรรมจัดทาแผนการดาเนินงานในการปฏิบัติหน้าท่ีเป็นมัคคุเทศก์ในสถานท่ีท่องเท่ียวในท้องถิ่น ของลูกเสอื มคั คุเทศก์ จงั หวดั สมทุ รสงคราม 3. ปัจจัยทีส่ ่งผลต่อความสาเร็จ มีการประสานงาน และทางานร่วมกันของสถานศึกษาในสังกัดอย่างเป็นระบบ มีการติดตาม แนะนา ให้ความช่วยเหลือแก่ลูกเสือมัคคุเทศก์ จึงทาให้ลูกเสือมัคคุเทศก์มีความไว้วางใจ และมีความกระตือรือร้นใน การเข้าร่วมกจิ กรรมคร้ังตอ่ ไป จึงทาให้การดาเนนิ งานสาเร็จตามวัตถุประสงค์ 4. ปัญหา/อปุ สรรค - มีลูกเสือมัคคุเทศก์บางคนที่สาเร็จการศึกษาไปแล้ว จึงขาดความต่อเนื่องในการปฏิบัติหน้าท่ี มคั คเุ ทศก์ในทอ้ งถิ่น - เนือ่ งจากการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ในหลายพื้นที่ จงึ ทาใหไ้ ม่ สามารถรวมกลมุ่ ทากจิ กรรมในสถานท่ที ่องเทีย่ วได้

27 5. ขอ้ นิเทศต่อผ้รู บั การนิเทศ - ควรมีการติดตาม สื่อสาร กับลกู เสือมัคคเุ ทศก์เป็นระยะๆ เพือ่ ใหเ้ กิดการปฏบิ ัติงานอย่างต่อเน่ือง 6. ข้อเสนอแนะเพือ่ การพัฒนา 6.1 ขอ้ เสนอแนะตอ่ สถานศึกษา - ขยายผลจัดตัง้ กองลูกเสอื มัคคเุ ทศกใ์ นระดับสถานศกึ ษา ในชว่ งแรกอาจจะใช้กาสอดแทรก เนือ้ หาหลักสตู รลูกเสือมคั คเุ ทศก์ ในวชิ าลกู เสอื วิสามัญก่อน เพอื่ ให้นักศึกษา เกิดความสนใจ และมสี ่วนร่วมใน การแสดงความคดิ เหน็ และอธบิ ายแหล่งท่องเท่ยี วในท้องถ่ินของตน 6.2 ขอ้ เสนอแนะตอ่ สานักงาน กศน.จังหวดั 6.3 ขอ้ เสนอแนะต่อสานักงาน กศน. 7. Best Practice 8. ภาพกิจกรรม อยา่ งนอ้ ย 4 – 6 ภาพ มอบวุฒิบตั รให้แก่ลูกเสือมัคคเุ ทศก์ทผ่ี ่านการอบรม

28 มอบวุฒิบตั รให้แก่ลกู เสือมัคคุเทศกท์ ่ีผา่ นการอบรม

29 นาเสนอผลการปฏบิ ัตหิ น้าท่ีมัคคุเทศก์ท้องถ่ิน และจดั ทาแผนการดาเนินงาน

30 ประเดน็ การนิเทศ เรือ่ ง เรง่ ปรับหลกั สตู รการจัดการศกึ ษาอาชพี กศน. 1. นโยบาย จดุ เนน้ การดาเนนิ งานของสานกั งาน กศน. ประจาปี พ.ศ.2564 สานักงานกศน.ได้กาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนงานต่างๆที่เก่ียวข้องกับการจัดกิจกรรมศูนย์ ฝึกอาชีพชุมชน ซ่ึงนโยบายดังกล่าวมีส่วนเก่ียวข้องกับการขับเคล่ือนกิจกรรมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ ดงั นี้ 1.ตัวชว้ี ดั ประกอบด้วยตวั ช้วี ดั เชิงปรมิ าณและเชิงคณุ ภาพ ไดแ้ ก่ - ตัวช้ีวัดเชิงปริมาณ จานวนของผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้/ได้รับบริการกิจกรร ม การศึกษาต่อเนื่อง ท่ีสอดคล้องกับสภาพ ปัญหา และความต้องการ (ตัวช้ีวัดเชิงปริมาณ ข้อ 1.2 ;หน้า 2) รวมถึง จานวนประชาชนที่เข้ารบั การพัฒนาทักษะอาชีพเพื่อสร้างรายได้และการมีงานทา (ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ขอ้ 1.7 ;หน้า 2) -ตวั ชี้วดั เชงิ คุณภาพ ร้อยละของผ้จู บหลกั สูตร / กจิ กรรมการศกึ ษาต่อเนื่อง ท่สี ามารถนาความรู้ความ เข้าใจไปใช้พัฒนาตนเองได้ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร/กิจกรรม (ตัวช้ีวัดเชิงคุณภาพ ข้อ 2.2 ;หน้า 3) ร้อยละของผู้ผ่านการพัฒนาทักษะอาชีพ สามารถนาความรู้ไปใช้ประกอบอาชีพหรือพัฒนาตนเองได้ (ตัวชี้วัด เชงิ คุณภาพ ข้อ 2.3 ;หนา้ 3) 2.การจัดการศกึ ษาและการเรียนรใู้ นสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา่ 2019 (COVID - 19) ได้มีการพัฒนาปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดาเนินการ และการจัดการเรียนรู้เพ่ือรองรับชีวิต แบบปกติวิถีใหม่ (New Normal) มีมาตรการป้องกันที่เข้มงวด มีเจลแอลกอฮอล์ล้างมือ ผู้ให้บริการและ ผู้รับบริการต้องใส่หน้ากากอนามัย มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล เน้นการใช้สื่อดิจิทัลและเทคโนโลยี ออนไลนใ์ นการจัดการเรียนการสอน (หน้า 3) 3.ดา้ นการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ จัดการศึกษาเพ่ือการมีงานทาอย่างย่ังยนื โดยใหค้ วามสาคัญกับการจัดการศึกษาอาชพี เพื่อการมีงาน ทาในกุล่มอาชีพเกษตรกรรม อุสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการบริการรวมถึง เน้นอาชีพช่างพ้ืนฐาน ท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพของแต่ละพ้ืนท่ีมี คุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีการส่งเสริมการรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน การพัฒนาหน่ึงตาบลหนงึ่ อาชีพเด่น การประกวดสนิ คา้ พรเี ม่ยี ม การสร้างแบรนดข์ องกศน. รวมถึงการส่งเสริม และจัดหาช่องทางการจาหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ มีการกากับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษา อาชพี เพอ่ื การมงี านทาอย่างเปน็ ระบบและต่อเนื่อง ตามภารกิจต่อเนอ่ื ง (ขอ้ 1 ; หน้า 6) 2. สภาพท่พี บ 1. มีหลักสูตรที่พัฒนาจากการจัดกิจกรรมท่ีผ่านมาและหลักสูตรที่สร้างข้ึนใหม่ มีความหลากหลาย ออกแบบกจิ กรรมใหส้ อดคล้องกบั บรบิ ทและความต้องการของประชาชนผรู้ บั บริการ 2. เนื้อหาหลักสูตรมีความเหมาะสมในการจัดการเรียนการสอนและตรงกับความต้องการของ ผู้รับบริการ หลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาในพ้ืนที่กศน.อาเภอบางคนที เป็น กลุ่มพณิชย

31 กรรม คหกรรม เช่น การทาอาหาร-ขนม , การสานตะกร้าจากก้านมะพร้าว ,การทาน้าพริกชนิดต่างๆ , การทาขนมเบเกอร่ี 3. มีการสารวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้แบบสอบถามความต้องการเรียนของผู้เรียน ข้อมูลจากการจัดเวทีประชาคม การจัดทาแผนข้อมูลชุมชนในระดับตาบล ซึ่งตรงกับความต้องการของ ประชาชนในพืน้ ท่แี ละสอดคลอ้ งกบั บริบทของชุมชน 3. มีแผนการจัดการเรยี นรทู้ ่คี รแู ละวิทยากรรว่ มกันจดั ทาขึน้ สอดคล้องกับวตั ถุประสงค์ของหลกั สูตร 4. วิทยากรมีความรู้ความสามารถตรงตามเนื้อหาของหลักสูตรและสามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่ ผเู้ รยี นไดเ้ ป็นอยา่ งดี มีการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ในการจัดกจิ กรรมระหวา่ งวทิ ยากรและผู้เรียน 5. วสั ดอุ ุปกรณแ์ ละสถานทใี่ นการจัดกิจกรรม สว่ นใหญ่ได้จากวทิ ยากร และเครอื ข่ายในพ้ืนที่ 6. การวดั ประเมินผลหลักสูตรการจดั กจิ กรรม โดยการสังเกตการณใ์ ห้ความร่วมมอื ความสนใจในการ ทากิจกรรมและผลงานของผู้เรียน การประเมินผลการพึงพอใจโดยใช้แบบประเมินผลตามท่ีสานักงานกศน. กาหนด และมีการรายงานผลการจัดกิจกรรม หลักสูตร สถานศึกษามีการใช้หลักสูตรของสถานศึกษาที่มีอยู่ ท้ัง 5 กลุ่มอาชีพ ได้แก่ กลุ่มอาชีพ เกษตรกรรม กลุ่มอาชีพด้านอุตสาหกรรมหรือหัตถกรรม กลุ่มอาชีพด้านพาณิชยกรรมและบริการ กลุ่มอาชีพ สร้างสรรค์ และกลุ่มอาชีพเฉพาะเน้ือหาหลักสูตรมีการบูรณาการให้สอดคล้องกับบริบทของชุมชน และความ ต้องการของผู้เรียนมีคลังหลักสูตร มีการจัดทาแผนงานโครงการ มีการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละ หลักสูตรโดยวทิ ยากรเป็นผดู้ าเนินการและวิทยากรสว่ นใหญ่เป็นผู้รู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ชาวบ้าน เน้นการเรียน การสอนแบบฝึกปฏบิ ัติมากกวา่ ทฤษฎี ผจู้ บหลักสูตรส่วนใหญ่นาความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวัน มผี ู้เรียนบางคน นาความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพเสริม และบางส่วนสามารถพัฒนาอาชีพเดิมให้มีรายได้เพิ่มขึ้น ผู้จบ หลักสตู รใช้เทคโนโลยีเปน็ ช่องทางในการเผยแพร่ผลิตภัณฑ์ค่อนข้างนอ้ ย 3. ปัจจยั ที่สง่ ผลต่อความสาเร็จ 1. หลกั สตู รที่หลากหลายตรงกบั ความต้องการของผเู้ รยี น 2. วทิ ยากรจัดกระบวนการเรยี นร้ทู ีช่ ัดเจน เข้าใจง่าย 3. ภาคเี ครือข่ายในพืน้ ท่ีใหก้ ารสนับสนนุ สถานที่ วิทยากรในการจัดกจิ กรรม 4. มีการเชื่อมต่อกิจกรรมการฝึกอาชีพ ไปสู่หลักสูตรการค้าออนไลน์ ทาให้ผู้เรียนที่ประกอบอาชีพมี ชอ่ งทางในการจาหน่ายสินคา้ มากขนึ้ 5.ผู้จบหลักสูตรบางรายสามารถนาความรู้ไปพัฒนาต่อยอดอาชีพและพัฒนาคุณภาพสินค้า ให้มคี ณุ ภาพและมาตรฐานราคาเหมาะสม 4. ปัญหาอุปสรรค หลกั สูตรทีป่ ระชาชนมคี วามต้องการเรียนทม่ี ีคา่ ใช้จ่ายในการจัดการเรียนสูง ค่าวสั ดุไม่เพียงพอต่อการ จดั กจิ กรรม ทาใหต้ ้องยกเลิกการจัดกิจกรรม หรอื บางหลักสูตรไมส่ ามารถหาวิทยากรทม่ี ีความรู้ความสามารถ ในดา้ นนัน้ ได้ ทาให้ไมส่ ามารถจัดกิจกรรมหลักสตู รตามความต้องการของชมุ ชนได้ 5. ข้อนเิ ทศตอ่ ผรู้ บั การนเิ ทศ 1. ควรมีการคัดกรองกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการและมีความพร้อมในการเรียนรู้อย่างแท้จริงเพ่ือให้เข้า ร่วมกิจกรรมและบรรลผุ ลตามหลกั สตู ร 2. ควรปรับเนื้อหาระยะเวลาเรียนรวมทั้งพัฒนาหลักสูตรให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับความ ตอ้ งการ ความพรอ้ มของกลุม่ เปา้ หมายและความต้องการของตลาด

32 6. ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนา 6.1 ขอ้ เสนอแนะต่อสถานศึกษา 1. ควรมีการอบรมพัฒนาวิทยากรโดยเฉพาะด้านเทคนิคการถ่ายทอดความรู้การออกแบบผลิตภัณฑ์ การวดั ผลประเมินผลรวมท้งั การจัดหาหลกั ฐานเอกสารท่เี กี่ยวข้อง 2. ควรส่งเสริมหรือจัดหลักสูตรในลักษณะต่อยอดแก่กลุ่มเป้าหมายท่ีมีพ้ืนฐานและมีศักยภาพเพื่อให้ การดาเนินงานบรรลตุ ามเปา้ หมายทาไดข้ ายเป็นพึง่ พาตนเองได้อย่างยัง่ ยืนพัฒนาสูว่ ิสาหกิจชมุ ชน 3. ควรนเิ ทศติดตามผลอยา่ งสม่าเสมอและครอบคลุมทกุ กิจกรร 6.2 ข้อเสนอแนะตอ่ สานกั งาน กศน.จงั หวดั - 6.3 ข้อเสนอแนะตอ่ สานักงาน กศน. - 7. Best Practice - 8. ภาพกิจกรรม

33 แบบรายงานการนิเทศ ประเด็นการนเิ ทศ เรอ่ื ง เสริมสร้างความรว่ มมือกับภาคีเครอื ข่าย สานกั งาน กศน.จงั หวดั สมทุ รสงคราม 1. นโยบาย จดุ เน้นการดาเนนิ งานของสานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จุดเน้นการดาเนินงานของสานักงาน กศน.ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ที่ 4 บูรณาการความร่วมมือใน การส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับประชาชนอย่างมีคุณภาพ ข้อ 4.1 ร่วมมือกับ ภาคีเครือข่ายท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุน การมีส่วนร่วมของชมุ ชน อาทิ การสง่ เสริมการฝกึ อาชพี ท่ีเปน็ อตั ลกั ษณ์และบริบทของชมุ ชน สง่ เสริมการตลาด และขยายช่องทางการจาหนา่ ยเพ่ือยกระดับผลิตภัณฑ์ สินคา้ กศน. 2. สภาพทีพ่ บ สถานศึกษาในสังกัด 3 แห่ง ได้แก่ กศน.อาเภอเมืองสมุทรสงคราม กศน.อาเภออัมพวา และ กศน.อาเภอบางคนที ดาเนินการตามนโยบายเร่งด่วน ด้านที่ 4 Good Partnerships ในการเสริมสร้าง ความรว่ มมือกับภาคีเครือขา่ ย โดยดาเนินการ ดงั นี้ 2.1 มีการทางานร่วมกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ท้ังภาครัฐและเอกชนเพื่อแลกเปล่ียนประสบการณ์ท่ี ผ่านกระบวนการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาถ่ายทอดสืบต่อกันจากบรรพบุรุษจนถึงคนรุ่นปัจจุบันเพื่อประโยชน์ในการ ดาเนินชีวิต และเป็นการส่งเสริมการจัดการเรียนร้ตู ลอดชีวิตให้กับประชาชนในพ้ืนท่ี โดยทุกตาบลจัดทาเนียบ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ และทาเนียบภาคีเครือข่ายในตาบล โดยบันทึกข้อมูลภูมิปัญญาท้องถ่ินใน เวบ็ ไซต์ กศน.ตาบลระบบฐานข้อมลู เพื่อการบรหิ ารจดั การสานักงาน กศน. (DMIS) และทาเอกสารเป็นรูปเล่ม แต่ข้อมูลบางตาบลยังไม่เป็นปัจจุบัน บางตาบลมีข้อมูลเครือข่ายบริการใน Facebook Website ของ กศน. ตาบล แตย่ งั ไม่มีครบทุกตาบล และข้อมลู บางตาบลยังไมท่ ันสมยั 2.2 มีภาคีเครือข่ายในระดับพื้นที่ ร่วมวางแผนการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยการ ประสานงานกับ ภาคีเครือข่ายเข้ามามีบทบาทและมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการและพัฒนา การจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั เพื่อจัดการเรียนร้ทู ่ีหลากหลายและสอดคล้องกบั ความต้องการของประชาชน ชมุ ชน มี เป้าหมายในการทางานร่วมกัน คือ การส่งเสริมการเรียนรู้การศึกษานอกระบบท้ังท่ีเป็นการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน และการศึกษาต่อเนื่อง ซ่งึ ประกอบด้วย การศึกษาเพื่อพฒั นาอาชีพ การศกึ ษาเพ่ือ พัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และการส่งเสริมการเรียนรู้การศึกษาตามอัธยาศัย ในการจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนในพ้ืนที่ โดยครู กศน.ตาบลมีการประชุมวางแผนรว่ มกบั ภาคีเครือข่าย เช่น มีการประชุมร่วมกับองค์การบริหารส่วนตาบลและผู้นาชุมชนในเวทีประชาคมแต่ละหมู่บ้าน บางตาบลมี การเชญิ ภาคีเครอื ข่ายมารว่ มประชมุ วางแผน และเชิญภาคเี ครือขา่ ยมาเปน็ คณะกรรมการ กศน.ตาบล 2.3 สถานศึกษาให้ความสาคัญกับภาคีเครือข่ายในทุกระดับท้ัง ระดับอาเภอ ระดับตาบล ระดับ หมบู่ า้ น มกี ารจัดทาบันทกึ ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ขนึ้ ในทุกระดับ เพอ่ื ประสานความร่วมมือและร่วมมือ ในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของแต่ละตาบล และมีการมอบเกียรติบัตร ใหก้ ับภาคเี ครือข่ายท่สี ง่ เสริมสนับสนุนการจดั กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยเพื่อเป็น เกียรติและสร้างขวัญกาลังใจให้กับเครือข่าย รวมถึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการ กศน.ตาบล เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจและสร้างแรงจูงใจในการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

34 อัธยาศัย ซ่ึงแต่ละ กศน.ตาบลได้จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับประชาชนในพ้ืนที่ตาบล ซ่ึงประกอบด้วย กจิ กรรม ดังนี้ 1) การจัดศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใหก้ บั ผู้ดอ้ ยโอกาส ผู้พลาดโอกาสทาง การศึกษาในพ้ืนที่ให้มีวุฒิทางการศึกษา สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตและใช้ศึกษาต่อในระดับท่ีสูงข้ึน กศน. ตาบล มีการประสานภาคีเครือข่ายในระดับพ้ืนที่ในการประชาสัมพันธ์รับสมัครนักศึกษา โดยประสาน ความร่วมมือกับ อบต. กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ในการประชาสัมพันธ์เสียงตามสายของหมู่บ้าน รวมถึงการชี้แนะใน การสมัครเข้าเรียนต่อของประชาชนในพ้ืนท่ี ร่วมรับสมัครให้กับ กศน.ตาบล และได้เชิญภาคีเครือข่ายร่วม พฒั นา กศน.ตาบลรว่ มกบั นกั ศึกษา กศน. 2) การจัดการศึกษาต่อเนื่อง มีการจัดการศึกษาตอ่ เน่ืองที่หลากหลายเพื่อให้ประชาชนไดร้ ับ การเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับความต้องการของตนเอง ซ่ึงประกอบด้วยการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาอาชีพ กิจกรรม เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต กิจกรรมเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน กิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชน การจัดการศึกษาตอ่ เน่อื ง มีการจดั กิจกรรมแบบรวมกลมุ่ สนใจในรปู แบบชัน้ เรียน ฝกึ อบรม ฝึกเรียนอาชพี ตามความตอ้ งการของผู้เรยี น กศน.ตาบลมกี ารประสานความรว่ มมือกับภาคีเครือข่าย ในการรบั สมัครนักศึกษาอาชีพและผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมโครงการตามความต้องการของประชาชนในพนื้ ที่และ ได้เชิญเครอื ข่ายเป็นวิทยากรให้กบั ประชาชน 3) การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยของกศน.ตาบลมีการขอ ความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในการจัดต้ังบ้านหนังสือชุมชนเพื่อส่งเสริมการอ่านให้กับประชาชนในพ้ื นท่ี รวมท้ังประสานความร่วมมือกับภูมิปัญญาด้านต่างๆ เพ่ือเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับคนในชุมชนและผู้สนใจ ตัวอย่างเช่น บ้านหนังสือชุมชนในการขอความอนุเคราะห์สถานท่ี แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ได้รับความอนุเคราะห์ จากปราชญใ์ นชมุ ชน ซึง่ มใี นทุกตาบลอยา่ งนอ้ ยตาบลละ 1-3 แหง่ 2.4 มภี าคีเครือข่ายในระดับพ้นื ทีร่ ว่ มจดั การนิเทศประเมินผลการเรียนรู้ตลอดชีวติ จากความร่วมมือ ในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกับภาคีเครือข่ายท้ังการส่งเสริม สนับสนุน การจดั หรอื ร่วมจัดกิจกรรมของ กศน.ตาบล โดยภาคเี ครือขา่ ยมีสว่ นร่วมในการนิเทศกิจกรรมทุกประเภท เปิด โอกาสใหภ้ าคเี ครือข่ายตดิ ตามผลการจัดกิจกรรมให้ข้อเสนอแนะ ร่วมวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาตลอดจนสร้าง ขวัญกาลังใจให้กับกลุ่มเป้าหมายเพ่ือนาผลจากการนิเทศไปแก้ไขปัญหา พัฒนาปรับปรุงการจัดกิจกรรมอย่าง ต่อเนื่องสมา่ เสมอ เพอ่ื สร้างความย่ังยืนในความสัมพนั ธ์ของภาคีเครือข่ายทเี่ ข้าร่วมดาเนินการพร้อมนาสรุปผล การจัดกิจกรรม รายงานตอ่ ผู้บริหาร เพ่ือนาไปเปน็ ฐานข้อมูลในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในโอกาส ต่อไป โดยมกี ารนเิ ทศกิจกรรม ดงั นี้ 1) การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีการนิเทศการพบกลุ่มและการ ทากจิ กรรมตา่ งๆ ของนกั ศกึ ษา เชน่ กจิ กรรม กพช. มีการนิเทศจากผู้ใหญ่บ้าน หรอื กานันในแตล่ ะตาบล 2) การจัดการศึกษาต่อเน่ือง ประกอบด้วย การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาอาชีพ กิจกรรมเพ่ือ พัฒนาทักษะชีวิต กิจกรรมเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน กิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชมุ ชน มีการนิเทศจากผ้นู าชุมชน เชน่ กจิ กรรมสง่ เสริมการอา่ นและการเรียนรู้ไดร้ ับการ นเิ ทศจาก อบต. กจิ กรรมผ้สู ูงอายุ ได้รบั การนเิ ทศจากเจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสขุ รพ.สต.ในพ้นื ที่ เปน็ ตน้ 3) การจดั การศึกษาตามอัธยาศยั เช่น บา้ นหนงั สอื ชุมชนแต่ละแหง่ ในชุมชน ไดร้ ับการนิเทศ จากกานนั ผู้ใหญ่บา้ น เป็นตน้

35 3. ปัจจัยทสี่ ง่ ผลต่อความสาเร็จ 3.1 สถานศกึ ษาใหค้ วามสาคัญกับการสร้างเครือขา่ ยและการมสี ว่ นรวมการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ เพอ่ื ใหเ้ กดิ การมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการบริหารจัดการ เนื่องจากกระบวนการสร้างเครือข่าย และมีการส่วนร่วมเป็นปัจจัยสาคัญที่สนับสนุน และส่งเสริมให้สถานศึกษามีศักยภาพในการจัดการศึกษาอัน เป็นเป้าหมายหลักของสถานศึกษา โดยเฉพาะการทางานของ กศน.ตาบล ซ่ึงมีครู กศน.ตาบลคนเดียว การมี เครือข่ายอาสาสมัครช่วยเหลือเพ่ือประสานงานต่างๆ ในพ้ืนท่ีให้ท่ัวถึงเป็นส่ิงจาเป็นมาก กศน.ตาบลแต่ละ ตาบลมีเครือข่ายอาสาสมัคร กศน.ตาบล และอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ช่วยกิจกรรม โดยมีบทบาทหน้าท่ี เสนอความตอ้ งการในการเรียนร้ขู องประชาชนโดยประสานกับครู กศน.ตาบล ประชาสัมพันธ์ ส่ือสาร เผยแพร่ ข้อมูล เพื่อสร้างโอกาสการเรียนรู้ให้แก่ประชาชน ส่งเสริม สนับสนุนและร่วมจัดกิจกรรม กศน. ร่วมกับครู กศน.ตาบล ในการติดตามผลและดแู ลการจัดกจิ กรรม กศน.ในชมุ ชน และส่งเสริมสนบั สนุน การรวบรวมข้อมูล พื้นฐานดา้ นการศกึ ษาของประชาชนในชมุ ชน 3.2 กศน.ตาบลมีกระบวนการในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดหรือร่วมจัดการศึกษาของภาคี เครือข่ายทางานโดยการประสานงานกับภาคีเครือข่ายเข้ามามีบทบาทและมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการและ พัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพ่ือจัดการเรียนรู้ท่ีหลากหลายและและ สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน ชุมชน ภาคีเครือข่ายของสถานศึกษาเป็นเครือข่ายทางสังคมท่ีเกิด จากความสมั พันธร์ ะหว่างบุคคล องคก์ ร วดั โรงเรยี น องคก์ รชมุ ชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ องคก์ รเอกชน หน่วยงานราชการที่เก่ียวข้องในทุกระดับ มีเป้าหมายในการทางานร่วมกัน คือ ส่งเสริมการเรียนรู้การศึกษา นอกระบบ ท้ังการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาต่อเนื่อง ซ่ึงประกอบด้วย การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชมุ ชน และการจัด กระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการส่งเสริมการเรียนรู้การศึกษาตามอัธยาศัย ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนให้ประสบความสาเร็จได้ต้องอาศัย ความร่วมมอื จากภาคเี ครือข่าย 3.3 สถานศึกษามีการทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับภาคีเครอื ข่ายในพื้นที่ทุกตาบล จากการร่วม จัด ส่งเสรมิ สนับสนุน การจดั การเรียนรูต้ ลอดชวี ิตของ กศน.ตาบล 3.4 สถานศึกษาให้การส่งเสริมและยกย่องภูมิปัญญาท้องถิ่นและหน่วยงานภาคีเครือข่าย โดย มอบ เกียรตบิ ตั ร และเชิญเข้าร่วมประชุมอย่างสมา่ เสมอ 3.6 สานักงาน กศน. กาหนดยุทธศาสตร์การส่งเสริมเครือข่ายให้มีส่วนร่วมจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั อยา่ งชัดเจน 4. ปัญหาอปุ สรรค 1. ครูมีภาระงานนอกเหนือจากหน้าที่ประจาทาให้มีข้อจากัดในเร่ืองเวลาในการจัดเก็บข้อมูล และ จัดทาชุดข้อมูลคลังปัญญาภูมิปัญญาท้องถิ่น และหน่วยงานภาคีเครือข่ายจึงทาให้ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถ่ินบาง ตาบลไมค่ รอบคลมุ และเป็นปจั จุบนั 2. สถานศึกษาไม่ได้รับงบประมาณในการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถ่ิน และภาคีเครือข่ายในการสร้าง ความรู้ ความเขา้ ใจในเร่อื งการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั

36 5. ขอ้ นเิ ทศตอ่ ผู้รบั การนเิ ทศ 1. สถานศึกษาควรส่งเสริม สนับสนุนให้ครูเก็บข้อมูล จัดทาและปรับปรุงข้อมูลสารสนเทศ ข้อมูลภูมิ ปัญญาท้องถิ่น และหน่วยงานภาคีเครือข่าย ให้เป็นระบบครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน และควรจัดทาข้อมูล สารสนเทศในรูปแบบดจิ ทิ ลั 2. สถานศึกษาควรพัฒนาภูมิปัญญาท้องถ่ิน ให้มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการถ่ายทอด ความรู้ และการประเมินผลท่ีหลากหลายในหลักสูตรใหม่ที่ได้พัฒนาขึ้น โดยอาจใช้รูปแบบการร่วมเวทีประชาคม การ ให้ข้อมูลตรงตอ่ เครอื ขา่ ยโดยครู กศน.ตาบล เปน็ ตน้ 3. สถานศึกษาควรประสานขอความร่วมมือในการขอใช้/พัฒนาพื้นท่ีภูมิปัญญาท้องถ่ิน ให้เป็นแหล่ง เรียนรู้ของชุมชนอย่างเต็มรูปแบบ และส่งเสริม สนับสนุนให้ภูมิปัญญาเข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมท้ังให้นานักศึกษาไปเรียนรู้ในแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ให้มากขึ้นและ ดาเนินการอยา่ งต่อเนื่อง 5. สถานศึกษาควรจัดกิจกรรมยกย่อง เชิดชูภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งเรียนรู้ตัวอย่างและต้นแบบ ชุมชน ต้นแบบหน่วยงานภาคีเครือข่ายเช่น มอบเกียรติบัตร โล่เกียรติยศ เพื่อเป็นการสร้างขวัญและ กาลังใจ เป็นต้น 6. สถานศึกษาควรจัดให้มีการดาเนินการบันทึกข้อมูลแหล่งเรียนรู้ผ่านเว็บไซต์ กศน.อาเภอ / กศน. ตาบล /แหลง่ เรยี นรู้ของ สวทช. เพ่ือเผยแพรส่ ู่สาธารณะ 7. สถานศึกษาควรชี้แจง ทาความเข้าใจและทบทวนถึงบทบาทหน้าที่ในตาแหน่งครู กศน.ตาบล เพื่อ สร้างความชัดเจนและสามารถนาไปปฏิบัติและบริหารจัดการงานของ กศน.ตาบล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท้ัง ควรเสริมแรงครู กศน. ดว้ ยการสง่ เสริม สนับสนนุ ด้านงบประมาณ ทรัพยากร และใหก้ าลงั ใจ 6. ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพัฒนา 6.1 ขอ้ เสนอแนะตอ่ สถานศกึ ษา 1) ควรนิเทศ ติดตามผล ครู กศน.ตาบล ให้ดาเนินการจัดทาข้อมูลภูมิปัญญาท้องถ่ิน และ หนว่ ยงานภาคเี ครือข่ายให้เป็นปัจจบุ ัน 2) ควรใหค้ าแนะนาและกาชับให้ ครู กศน. ประสานงานกับภูมิปัญญาท้องถ่ินและหน่วยงาน ภาคีเครอื ข่ายตามบทบาทหน้าทเี่ พ่อื ให้เกดิ ประสทิ ธิภาพสงู สุดและเป็นไปด้วยความสะดวก ราบรืน่ 3) ควรจัดประชุมภาคีเครือข่ายระดับอาเภอ เพื่อสร้างความเข้มแข็งและสร้างความเข้าใจ ระหวา่ งกัน มีการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ วิธกี ารทางานร่วมกัน และประสานแผนการดาเนนิ งาน 6.2 ขอ้ เสนอแนะตอ่ สานักงาน กศน.จงั หวัด 1) ควรแนะนาให้สถานศึกษา เห็นความสาคัญของข้อมูลและสรุปข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น และหน่วยงานภาคีเครอื ขา่ ย โดยจัดทาใหเ้ ป็นระบบคลงั ปญั ญาของสานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรสงคราม 2) ควรใหก้ ารสง่ เสริม สนบั สนนุ ดา้ นขวัญ และกาลงั ใจครู ดว้ ยการให้เกยี รตบิ ตั ร รางวัล และ กล่าวชมเชยอยา่ งต่อเน่อื งและสมา่ เสมอ 3) ควรพิจารณามอบประกาศเกียรติบัตร โล่รางวัล เพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติแก่ภูมิปัญญา ท้องถนิ่ และหนว่ ยงานภาคีเครอื ขา่ ย และครู กศน.ทมี่ ีผลงานดเี ด่นเปน็ ประจาทกุ ปี 6.3 ข้อเสนอแนะตอ่ สานักงาน กศน.

37 1) ควรสนบั สนนุ งบประมาณในการพัฒนาภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ และภาคีเครือขา่ ย 2) สานักงาน กศน. ควรจัดโครงการส่งเสริมความร่วมมือหน่วยงานภาคีเครือข่าย ภูมิปัญญา ท้องถ่ิน วิทยากร เพื่อชี้แจงนโยบายจุดเน้นการดาเนินงาน โดยให้สถานศึกษาระดับอาเภอเชิญหน่วยงานใน พ้ืนท่ีเข้าร่วม เพ่ือให้เกิดผลเป็นรูปธรรมและการดาเนินกิจกรรม กศน. กับภาคีเครือข่าย เป็นไปในทิศทาง เดยี วกนั และความเขา้ ใจตรงกัน 7. Best Practice - 8. ภาพกิจกรรม ครู กศน.ตาบล รว่ มในการทาเวทปี ระชาคมของหมบู่ า้ นจานวน 63 ตาบล

38 องค์การบริหารส่วนตาบล อนเุ คราะหส์ ถานทีจ่ ัดกจิ กรรมโครงการส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม ภมุ ปิ ัญญาท้องถ่นิ ให้ความอนุเคราะหส์ ถานทีจ่ ัดตงั้ บา้ นหนงั สือชุมชนและให้บรกิ ารสง่ เสริมการอ่าน

39 ภาคีเครอื ข่ายในพนื้ ท่ี (ผนู้ าชมุ ชน) ร่วมนิเทศกจิ กรรมการศกึ ษาต่อเนอื่ ง วชิ า การทาลกู ประคบสมนุ ไพร อาสาสมัครสง่ เสริมการอา่ น ช่วยดูแลทาความสะอาด ร่วมจัดหมนุ เวียนหนังสือและจัดชน้ั หนงั สอื บา้ น หนังสือชมุ ชน

40 เกียรติบตั รเชิดชเู กียรติภาคีเครอื ขา่ ย

41 ประเด็นการนเิ ทศ เรือ่ ง พัฒนานวตั กรรมทางการศกึ ษา เพ่ือประโยชนต์ ่อการจดั การศกึ ษาและ กลุ่มเปา้ หมาย “หนึง่ ชุมชน หน่ึงนวัตกรรมการพัฒนาชมุ ชนถิน่ ไทยงาม” หน่ึงตาบล หนึ่งนวัตกรรม 1. นโยบาย จุดเนน้ การดาเนินงานของสานักงาน กศน. ประจาปี พ.ศ.2564 การจัดการศึกษาออนไลน์ (Online learning) จัดเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาในอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงวิธีเรียนในรูปแบบเดิมๆ ให้เป็นการเรียนใหม่ ที่ใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยทาการสอน นอกจากน้ีความหมายอีกในหนึ่งยังหมายถึง การเรียนทางไกล การเรียนผ่านเว็บไซต์ โดยมุ่งเน้นการเรียนรู้ ทางผ่านทางอินเทอร์เน็ต โดยอยู่ในรูปแบบของคอมพิวเตอร์ เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ บวกเข้ากับ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต สร้างการศึกษาที่มีปฏิสัมพันธ์คุณภาพสูง โดยไม่จาเป็นต้องเดินทาง ของผู้เรียน เกิดความสะดวกและเข้าถึงได้อย่างรวดเร็ว ทุกสถานท่ี ทุกเวลา เป็นการสร้างการศึกษา ตลอดชีวิตให้กับ ประชาชนและกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเรียนรู้ตามอัธยาศัย และในสถานการณ์ปัจจุบันการนาการพัฒนาการ จัดการศึกษาออนไลน์ ซ่ึงสอดคล้องกับสถานการณ์การป้องกันและการแพร่ระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019(covid-19) เพื่อลดการแพร่กระจายของเชื้อของโรค และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ออนไลน์ ทาให้ กลุ่มเป้าหมายทุกเพศทุกวัยสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ เป็นการเรียนรู้อย่างหน่ึงที่สามารถส่งเสริมการอ่าน สามารถส่ือสารกันได้ตลอดระยะเวลา มคี วามคล่องตวั สะดวกรวดเรว็ และเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่องได้ 2. สภาพทพ่ี บ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 การจัดกิจกรรมการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาในสังกัดสานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรสงคราม ต้องปฏิบัติ ตามมาตรการของจงั หวดั และกระทรวงศึกษาธิการ จงึ ต้องจดั กจิ กรรมในรูปแบบออนไลน์ เพ่อื ใหก้ ารขับเคล่ือน การดาเนินงานตามนโยบายสานักงาน กศน. บรรลุวตั ถปุ ระสงคท์ ่กี าหนดและเกดิ ประโยชน์แกผ่ ู้รับบรกิ ารสูงสุด และบรรลุวตั ถุประสงคท์ ก่ี าหนด การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้จัดทาแผนการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ผ่าน Google Classroom และมีการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ โดยใช้ Google Meet มีการมอบหมายงานให้ผู้เรียน และแก้ปัญหาผู้เรียนไม่สามารถมาพบกลุ่มเนื่องจากสถานการณ์ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า-2019 (COVID-19) หรือเหตุผลความจาเป็นอ่ืน ๆ ในการติดตามผู้เรียน นัดหมายผู้เรียน หรือช่วยเหลือผู้เรียน ครู กศน.ตาบล ปลายโพงพาง ใช้ Application Line และ Facebook เพ่ือกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการ เรียน ให้กาลังใจผู้เรียน รวมทั้งให้ความรู้ด้านวิชาการ ด้านทักษะชีวิต หรือด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ในการ พัฒนาผู้เรียน นอกจากน้ีมีการใช้แบบเรียนระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย รูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ E-book เพื่อเอื้ออานวยความสะดวกให้กับผู้เรียนตามยุคเทคโลยี ที่ทันสมัย และนักศึกษาสามารถผู้เรียนได้เรียนรู้ได้ทาง YouTube ในช่อง Wanna Wanna Chanel มี website ใหบ้ รกิ ารนกั ศกึ ษา การจัดการศึกษาต่อเน่ือง มีการใช้ Application Line เป็นช่องทางในการจัดกระบวนการเรียนรู้แต่ ละหลักสูตร เช่น หลักสูตร “การทาหน้ากากอนามัย” หลักสูตร “ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารด้านอาชีพ” โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น เพ่ือเป็นช่องทางในการสอ่ื สาร ติดตามผู้เรียน และความก้าวหน้าของกิจกรรม รวมทั้งใช้จัดการเรียนการสอนโดยใช้คลิปวิดีโอจากใน YouTube และมีการใชใ้ บความรู้ที่เป็น QR-Code

42 3. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จ 1. บุคลากรในสังกัดสานักงาน กศน.จงั หวัดสมุทรสงคราม มกี ารศึกษาการใช้งานเทคโนโลยีและสร้าง นวตั กรรมเพ่ือใช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน 2. ผูบ้ ริหารทุกระดับสนบั สนุนการพฒั นาบุคลากรดา้ นการใช้เทคโนโลยีและการพัฒนานวัตกรรม 3. ภาคเี ครอื ข่ายให้การส่งเสริมสนับสนนุ และมสี ว่ นร่วมในการจัดกจิ กรรม 4. ปญั หาอปุ สรรค การจัดกิจกรรมในรูปแบบออนไลน์ พบว่า กรณีตัวผู้เรียนหรือนักศึกษาหรือกลุ่มเป้าหมาย ไม่ให้ ความสาคัญและความใส่ใจในการเรียนรู้หรือไม่ได้ต้ังใจเข้ามาเรียนในสถานศึกษาของ กศน.และถูกผู้ปกครอง บังคับ ทาให้มีผลกระทบต่อพฤติกรรมผู้เรียนเองท่ีไม่จบการศึกษาตามระยะเวลาท่ีกาหนด และมีผลต่อการ ประเมินครูผู้สอนตามตัวชี้วัดท่ีคิดเป็นค่าร้อยละ อาจทาให้ครูผู้สอนหรือสถานศึกษามีค่าร้อยละไม่ถึงเกณฑ์ ตามท่ี สานักงาน กาหนด หรือการส่งเสริมการอ่านออนไลน์ พบว่าการกาหนดระยเวลาหรือจานวนวุฒิบัตร อาจไมเ่ พียงพอต่อความต้องการของกลุ่มเปา้ หมาย หรือบางคนไม่มอี ินเตอรเ์ นต็ ในการเรยี นรทู้ ่ีบา้ น เปน็ ต้น 5. ข้อนิเทศตอ่ ผูร้ บั การนิเทศ 1. ประชาสมั พนั ธ์และติดตามให้กลุม่ เป้าหมายเขา้ ร่วมกิจกรรมอย่างทั่วถึงและต่อเนือ่ ง 2. นากิจกรรมอ่ืนๆ มาประกอบการเรียนการสอนในรปู แบบออนไลน์เพ่ือกระตุ้นการเข้ารว่ มกิจกรรม ของกลมุ่ เปา้ หมาย เช่น เกมส์ การตอบคาถามชิงรางวลั เปน็ ตน้ 6. ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา 6.1 ข้อเสนอแนะต่อสถานศกึ ษา 6.1.1 สถานศึกษาควรดาเนินการนิเทศภายในอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงผลการนิเทศจะเป็นสิ่งสะท้อนการ ปฏิบตั งิ านที่จะนาไปสูก่ ารพฒั นาสถานศึกษาตามระบบประกันคุณภาพการศกึ ษา 6.1.2 สถานศึกษาควรติดตาม ตรวจสอบ สนบั สนนุ การจดั กระบวนการเรยี นการสอนโดยใชแ้ ผนการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้มีการบันทึกหลังสอนอย่างเป็นปัจจุบัน มีการทาวิจัยในชั้นเรียนโดยนาปัญหาท่ีพบ จากการเรียนการสอน มีการพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษาอยา่ งระบบและต่อเน่ือง 6.1.3 การดาเนนิ งานแบบมสี ว่ นร่วมทุกภาคส่วนท้ังในและนอกสถานศึกษารวมถึงครแู ละผู้เรียนมามี บทบาทมากขึน้ 6.2 ข้อเสนอแนะต่อสานักงาน กศน.จังหวดั 6.2.1 ควรเปิดช่องทางการรับฟังปัญหาของครู ด้านการจัดการเรียนการสอน การพบกลุ่ม อย่าง ตอ่ เนือ่ งและทัว่ ถึงเพือ่ นามาพัฒนารปู แบบในการจัดการเรยี นการสอนใหเ้ หมาะสมต่อไป 6.2.2 ควรส่งเสริมขวัญ และกาลังใจของครู กศน.ใหม้ ากย่งิ ขึ้น 6.3 ข้อเสนอแนะตอ่ สานักงาน กศน. -

43 7. Best Practice 1. โครงการ/กจิ กรรม พฒั นาการจัดการศึกษาออนไลน์ กศน.(การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ออนไลน)์ ด้านท่ี 3 Good Activities 2. ความสอดคล้องกับนโยบาย 2.1 นโยบายและจุดเน้นของสานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 นโยบายเรง่ ดว่ น ดา้ นท่ี 3 Good Activities สง่ เสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ทนั สมัยและมีประสทิ ธิภาพ 2.2 นโยบายและจดุ เน้นขอ้ ท่ี 3 พฒั นาหลักสตู ร สอื่ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา แหล่ง เรยี นรู้ และรูปแบบการจดั การศึกษาและการเรียนรู้ ในทุกระดบั ทกุ ประเภท เพื่อประโยชน์ตอ่ การจดั การศึกษาท่ีเหมาะสมกบั ทุกกลุ่มเปา้ หมาย มีความทนั สมัย สอดคลอ้ งและพร้อมรองรับกับบริบทสภาวะสังคม ปจั จบุ ัน ความตอ้ งการของผู้เรียน และสภาวะการเรียนรู้ในสถานการณต์ ่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต 1) พฒั นาระบบการเรียนรู้ ONIE Digital Learning Platform ทร่ี องรับ DEEP ของ กระทรวงศึกษาธกิ าร และชอ่ งทางเรียนรู้รูปแบบอ่นื ๆ ท้ัง Online On-site และ On-air 2) พฒั นาแหล่งเรยี นร้ปู ระเภทตา่ ง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/ Digital Library ศนู ยก์ ารเรยี นร้ทู กุ ช่วงวัย และศูนยก์ ารเรียนรูต้ น้ แบบ กศน. (Co-Learning Space) เพื่อให้ สามารถ“เรยี นรู้ไดอ้ ย่างท่วั ถงึ ทุกที่ ทุกเวลา” 3) พัฒนาระบบรบั สมัครนกั ศึกษาและสมคั รฝึกอบรมแบบออนไลน์ มีระบบการเทยี บโอนความรู้ ระบบสะสมหนว่ ยการเรยี นรู้ (Credit Bank System) และพฒั นา/ขยายการใหบ้ ริการระบบทดสอบ อิเล็กทรอนิกส์(E-exam) 3. ความเปน็ มาของโครงการ/กิจกรรม การจัดกจิ กรรมตามนโยบายเรง่ ด่วน การขบั เคลอื่ นนโยบาย กศน. wow ส่สู ถานศึกษา คอื นโยบาย ด้านท่ี 3 Good Activities ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีทันสมัยและมีประสิทธิภาพ อาทิ การปรับ หลกั สูตรการจัดการศึกษาอาชพี หลักสตู รลกู เสอื มัคคุเทศก์ และพฒั นาการจัดการศึกษาออนไลน์ ปรบั หลักสูตร ระยะส้ันรองรับ NEW S-Curve น้ัน สาหรับ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมือง สมุทรสงคราม ได้ดาเนินการนาการพัฒนาการจัดการศึกษาออนไลน์ ซึ่งสอดคล้องกับสถานการณ์การป้องกัน และการแพร่ระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019(covid-19) เพ่ือลดการแพรก่ ระจายของเชอ้ื ของโรค และ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ออนไลน์ ทาให้กลุ่มเป้าหมายทุกเพศทุกวัยสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ เป็นการ

44 เรียนรู้อย่างหนึ่งท่ีสามารถส่งเสริมการอ่าน สามารถส่ือสารกันได้ตลอดระยะเวลา มีความคล่องตัว สะดวก รวดเร็ว และเรียนรู้อยา่ งต่อเน่ืองได้ ดังน้ัน จึงมีการสารวจกลุ่มเป้าหมายนักศึกษาและผู้รบั บรกิ าร สอดคล้องกับมาตรการการป้องกันการ แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทาให้ทราบปัญหาการจัดกิจกรรมที่ไม่สามารถรวมกันกันได้ โดยมีการประชุม วางแผน และร่วมกันออกแบบ และร่วมกันสรุปแนวทางการแก้ไข จึงเกิดกิจกรรมการพัฒนาการจัดการศึกษา ออนไลน์ กศน. (การจดั กิจกรรมการเรยี นรูอ้ อนไลน)์ ขึ้น เพอื่ นาไปแกป้ ญั หาดังกลา่ ว 4. ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน 4.1 วิเคราะหป์ ัญหา - ประชมุ ชี้แจง - สารวจความตอ้ งการ - ประสานงานเครือข่าย และภูมปิ ัญญาในพน้ื ท่ี - เสนอขออนมุ ัตโิ ครงการ - ดาเนนิ การจดั กิจกรรมตามโครงการ - รายงานและสรุปผลการดาเนนิ การตามโครงการ - เสนอผลและพฒั นาปรบั ปรุงโครงการ - จัดทารูปเลม่ เผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธ์โครงการ 4.๒ การดาเนนิ งานตามกิจกรรม (ตามกระบวนการข้ันตอนของ PDCA) ๑. ขั้นเตรยี มการ (Plan) - ประชุมปรึกษาหารือชแ้ี จงในกลมุ่ - แจง้ จุดมุง่ หมายในการทากิจกรรม - ขออนมุ ตั แิ ผนการจัดการเรยี นรู้ และการจัดการเรียนการสอน - เตรยี มเนื้อหาและดาเนินการ

45 ๒. ขั้นดาเนนิ การ (Do) - วิเคราะห์ปัญหา และแนวทางการแกไ้ ข - จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ออนไลน์ เพ่ือให้ผู้เข้าร่วม กิจกรรมสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นการส่งเสริมการอ่านได้ และเพื่อการพบกลุ่มแบบออนไลน์เพื่อรับฟัง ปัญหาทเ่ี กดิ ข้นึ ใหม่ ๓. ขั้นตรวจสอบและประเมินผลการพฒั นา (Check) - ครูผูส้ อน/เจ้าหนา้ ท่ีเป็นผู้ตรวจสอบผลการปฏบิ ตั ิงานของผู้เรียน/ผู้รบั บรกิ าร - ดผู ลงานทีป่ รากฏ และประเมินผลงานตามเกณฑท์ ี่กาหนด - ด้านความรู้ - ดา้ นทกั ษะ ๔. ขนั้ สรปุ และรายงาน (Action) - สรุปอภปิ รายปญั หาและอุปสรรคในการพฒั นา - ปรบั ปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนอ่ื ง - สรปุ และรายงานผลเป็นระยะ 4.๓ ประสิทธิภาพของการดาเนินงาน ดาเนินกจิ กรรมตามรูปแบบ PDCA 4.๔ ขน้ั ประเมินผล ประเมินผลความพึงพอใจในการให้บรกิ ารหรือการจดั กิจกรรมการเรยี นรูอ้ อนไลน์ 5. ความสาเร็จที่เป็นจดุ เด่นของโครงการ/หรอื กจิ กรรมนี้ 5.1) กศน.ตาบลมีความพร้อมในด้านอาคารสถานที่ และส่ืออุปกรณ์การเรียนการสอน รวมถึง อินเตอร์เน็ตในการใช้บรกิ าร 5.2) ห้องสมุดประชาชนจังหวัดและห้องสมุดประชาชนเฉลิมราชกุมารี มีความพร้อมทางด้านสื่อ อนิ เตอรเ์ น็ต และคลังความรนู้ วัตกรรมทางการศกึ ษา

46 5.3) นักศึกษา ประชาชนและบุคลากรในหน่วยงาน กศน.และนอกสังกัด ให้ความสนใจกิจกรรม ส่งเสรมิ การอา่ นออนไลน์ 5.4) นักศึกษาสามารถเรียนรู้ร่วมกับเพ่ือน ๆ ผ่านออนไลน์ สามารถใช้งานสะดวกรวดเร็วในการ ตดิ ตอ่ ประสานงานครูได้ 5.5) นักศึกษาและประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ออนไลน์และมีความพึงพอใจในระดับมาก ทส่ี ดุ ในการเขา้ รว่ มกิจกรรม 5.6) จานวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ที่มีจานวนผู้เข้ารับบริการมากกว่าการจัด กิจกรรมปกติ มกี ลุม่ เปา้ หมายผ้รู ับบริการเป็นนักศกึ ษา ประชาชน ครูและบุคลากรท้ังหน่วยงานในสังกดั กศน. และนอกสงั กัด มผี ้เู ข้ารบั บรกิ าร จานวนทง้ั สน้ิ 12,165 คน แบ่งออก 3 ส่วนดงั น้ี - การจัดการเรยี นการสอนออนไลนน์ ักศึกษา กศน. จานวน 546 คน - กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านออนไลน์ หอ้ งสมุดประชาชนจังหวัดสมทุ รสงคราม จานวน 1,056 คน - กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านออนไลน์ หอ้ งสมดุ ประชาชนเฉลมิ ราชกุมารี จานวน 10,563 คน ตารางแสดงจานวนผรู้ ับบรกิ ารการเรียนรู้รปู แบบออนไลน์ การจดั การเรียนการสอนออนไลน์นักศึกษา กศน. จานวน 1.นางตะเคียน(นายณัฐพล พลพกุ ) 44 2.ลาดใหญ่(นางสาวเกตนส์ ิรี ปรางคจ์ นั ทร)์ 42 3.ท้ายหาด(นางสาวฉรัชชา เศรษฐี) 41 4.คลองเขนิ (นางสาวกัณฐมณี ทองแท้) 44 5.แหลมใหญ(่ นายปัญจะ ทองคา) 41 6.คลองโคน(นายวงศกร โชตคิ ุณากร) 34 7.บางจะเกรง็ (นางพชั รา โฆษติ พาณชิ ย)์ 42 8.บางแกว้ (นางภาวินี นนทลกั ษณ)์ 43 9.บางขันแตก(นางสาวรติมา นครพัฒน์) 35 10.บา้ นปรก(นางณชั ชา ปีบวั ) 41 11.แม่กลอง(นางกาญจนา ปรีดานันต)์ 44 12.ครศู ูนยก์ ารเรยี นชมุ ชน(นางสาวบุณยานุช แป้นทอง) 68

47 13.ครอู าสาฯ(นางวิรญั ชนา รอดภยั ) 8 14.กศน.เมืองฯ(นางสาวธญั พร ดเี ลศิ ) 9 15.ประถมศึกษาแม่กลอง(นางสาวดวงใจ ชวนอาจ) 9 546 คน รวม 15 กลุ่ม ตารางแสดงจานวนผ้รู ับบริการการเรียนรูร้ ปู แบบออนไลน์ (ต่อ) จานวน กิจกรรมส่งเสริมการอ่านออนไลน์ ห้องสมุดประชาชนจงั หวดั สมุทรสงคราม มกราคม 2564 5 1.ส่งเสรมิ การอา่ นออนไลน์ 10 2.กิจกรรมตอบคาถามวนั เดก็ กุมภาพนั ธ์ 2564 15 3.สาระน่ารอู้ อนไลน์ มีนาคม 2564 9 4.ส่งเสริมการอ่านออนไลน์ เมษายน 2564 15 5.สง่ เสรมิ การอา่ นออนไลน์ พฤษภาคม 2564 20 6.ส่งเสริมการอ่านออนไลน์ มิถุนายน 2564 95 7.ลงนามถวายพระพรสมเดจ็ พระนางเจ้าสุทิดา พชั รสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี 47 8.วันสนุ ทรภู่ 5 9.วันต่อตา้ นยาเสพตดิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook