Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรศิลปะ64

หลักสูตรศิลปะ64

Published by rsimmakom79, 2021-08-29 14:29:41

Description: หลักสูตรศิลปะ64

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ พทุ ธศกั ราช 2564 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 โรงเรยี นเทศบาล ๒ ศรีบญุ เรือง กองการศึกษา เทศบาลเมอื งเลย จังหวดั เลย กรมสง่ เสรมิ การปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย

คำนำ เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนเทศบาล 2 ศรบี ุญเรือง ตาม หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2564) กลุ่มสาระการ เรียนรศู้ ิลปะ เปน็ เอกสารประกอบหลักสตู รท่ีมีมาตรฐานและตัวชวี้ ัดเปน็ ข้อกำหนดคณุ ภาพของผ้เู รียน ท้งั ด้านความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยม มสี าระการเรียนร้เู ป็นตวั กำหนดองค์ความรู้ ทีเ่ ปน็ เน้ือหาสาระครอบคลุม เพอ่ื ให้ครผู ูส้ อนและผเู้ ก่ียวข้องสามารถจดั การเรียนรู้ได้ตามความ เหมาะสม ในการจัดทำเอกสารประกอบหลักสตู รสถานศึกษาในคร้ังน้ี ไดน้ ำสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ของหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานพุทธศกั ราช 2551 มาใช้เปน็ กรอบและทิศทางในการ จัดทำหลกั สตู รและการจดั การเรยี นการสอนซึ่งประกอบดว้ ย 3 สาระหลัก ดงั น้ี สาระท่ี 1 ทศั นศลิ ป์ สาระท่ี 2 ดนตรี สาระท่ี 3 นาฏศิลป์ ขอขอบคุณคณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ผู้ที่มีส่วนร่วมทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งใน และนอกหน่วยงานตน้ สังกัด รวมทง้ั ภาคเอกชน ประชาชนทกุ สาขาอาชีพ ตลอดจนพ่อแม่ ผู้ปกครอง และนักเรียน ซง่ึ ชว่ ยจดั ทำเอกสารดังกล่าวให้มีความสมบูรณ์และเหมาะสมสำหรับการจดั การเรียนการ สอนในแต่ละระดบั ชนั้ สามารถพัฒนาผเู้ รียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวัดท่ีกำหนด ในหลกั สตู รสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน โรงเรียนเทศบาล 2 ศรบี ุญเรอื ง ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษา ขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 คณะผจู้ ดั ทำ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ โรงเรยี นเทศบาล 2 ศรบี ุญเรอื ง

สารบัญ หน้า เรอ่ื ง 1 3 วสิ ัยทศั น์ พันธกจิ เปา้ ประสงค์ ยทุ ธศาสตร์โรงเรยี น 3 จดุ หมาย 5 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 6 ทำไมต้องเรยี นศิลปะ 9 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ 28 ตวั ช้ีวดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 29 โครงสร้างเวลาเรียนหลักสตู รสถานศกึ ษา 30 โครงสร้างเวลาเรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ คำอธิบายรายวชิ า/โครงสร้างเวลาเรียนรายวชิ าพ้นื ฐาน ภาคผนวก 82 - คำสงั่ โรงเรยี นเทศบาล 2 ศรีบุญเรือง ท่ี 26/2564 เรื่อง แต่งตง้ั คณะกรรมการ ดำเนนิ การปรบั ปรงุ หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนเทศบาล 2 ศรีบุญเรอื ง (ฉบับ ปรบั ปรุง พุทธศักราช 2564) - คณะผจู้ ัดทำ

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา กลุม่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรีบุญเรือง วสิ ยั ทศั น์ “โรงเรยี นเทศบาล 2 ศรบี ญุ เรือง เปน็ แหลง่ เรียนรูค้ คู่ ุณธรรม นำเทคโนโลยีมาใช้ ชุมชนมี ส่วนรว่ มในการพฒั นา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” พันธกจิ 1) สนับสนุนและส่งเสรมิ การจดั การศึกษาตลอดชวี ิตทัง้ การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตาม อัธยาศยั 2) ปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมใหก้ บั ผูเ้ รียน 3) สนบั สนุนและสง่ เสริมการจดั การศึกษาโดยเนน้ เทคโนโลยี วจิ ัยและสร้างนวตั กรรมการสอน 4) สง่ เสริมและพฒั นาการจดั การศึกษาเป็นโรงเรียนพอเพียง 5) สนับสนนุ และสง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษาโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐานและพัฒนาชมุ ชน เปา้ ประสงค์ 1. ผเู้ รยี นมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา 2. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษามคี ุณภาพตามมาตรฐานวิชาชพี 3. สถานศึกษาสู่ความเป็นเลศิ 4. เปน็ องค์กรแห่งการเรยี นรู้ 5. สถานศึกษาจัดการศึกษาโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐานในการพฒั นาท้องถ่นิ ยุทธศาสตร์การพัฒนา ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา มีกลยุทธ์ การพฒั นา 4 กลยุทธ์ ดงั นี้ 1) พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การศึกษาอย่างทว่ั ถงึ และมีคุณภาพ 2) พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายโดยเนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดคล้องกับ ความตอ้ งการของผู้เรยี นและท้องถ่ิน 3) พฒั นาระบบประกนั คุณภาพและนิเทศภายในสถานศึกษา 4) พัฒนาอาคารสถานที่ สภาพแวดล้อมและบรรยากาศภายในห้องเรียน ห้องพิเศษ และ ภายในโรงเรียนใหน้ ่าอยู่และเอื้อตอ่ การเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้คู่คุณธรรม มีกลยุทธ์การพัฒนา 4 กลยุทธ์ ดังน้ี 1) สง่ เสรมิ ผเู้ รียนใหม้ คี ุณธรรมจรยิ ธรรม และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 2) สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นมที กั ษะในการทำงาน รกั การทำงานและอาชพี ท่ีสุจริต สามารถอย่รู ว่ มกับ ผูอ้ ่ืน 3) สง่ เสรมิ และพฒั นาผเู้ รยี นให้มีทักษะในการดำรงชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4) ส่งเสริมและพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี วามรู้ความสามารถเต็มศักยภาพของแต่ละบคุ คล 1

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา กลุม่ สาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรยี นเทศบาล 2 ศรีบุญเรอื ง ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งในและนอกสถานศึกษา มีกลยุทธ์ การพัฒนา 3 กลยทุ ธ์ ดงั น้ี 1) สง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนมกี ารศกึ ษาแหลง่ เรียนร้ทู ง้ั ในและนอกสถานศึกษา 2) สง่ เสริมสนบั สนุนการจัดกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียนท่ีหลากหลาย 3) ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี และมีสุนทรียภาพทางด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ ยุทธศาสตร์ที่ 4 ส่งเสริมให้ชุมชน หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ พัฒนาการศกึ ษา มีกลยุทธ์การพัฒนา 4 กลยุทธ์ ดงั น้ี 1) ส่งเสริมสนับสนุนใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ จดั การเรยี นรู้ 2) สง่ เสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการสอนทักษะดา้ นอาชพี ให้กบั ผเู้ รียน 3) ส่งเสริมสนับสนุนการจดั กิจกรรมร่วมกับชุมชน มีจิตสำนึกในการอนรุ ักษ์ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณแี ละภมู ิใจในความเป็นไทย 4) ส่งเสริมให้ผู้เรียนรักท้องถิ่น มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรใช้เทคโนโลยีในการบริหารงานและการจัดการเรียน การสอนเพื่อให้ทนั ต่อยคุ สมยั ในโลกศตวรรษท่ี 21 มกี ลยุทธก์ ารพฒั นา 3 กลยทุ ธ์ ดังน้ี 1) ส่งเสริมให้ผูบ้ ริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาใช้เทคโนโลยีในการบริหารงานและการ จดั การเรยี นการสอน 2) พัฒนาระบบการเครือขา่ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษาให้มีประสิทธภิ าพ 3) พัฒนาผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความสามารถในการบริหารและ การจัดการเรยี นการสอน ยุทธศาสตรท์ ่ี 6 พฒั นาการจัดการศกึ ษาโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐานในการพฒั นาท้องถน่ิ (SBMLD) มกี ลยุทธก์ ารพัฒนา 2 กลยุทธ์ ดงั น้ี 1) เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน 2) พัฒนาการบรหิ ารการจัดการศึกษาด้วยการจัดการศึกษาตลอดชวี ติ ทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศยั อย่างมีคณุ ภาพ หลกั การ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา พทุ ธศกั ราช 2552 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2564) ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ มหี ลักการท่ีสำคญั ดงั น้ี 1. เป็นเอกสารประกอบหลักสูตร ฯ เพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและ มาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และ คุณธรรมบนพน้ื ฐาน ของความเปน็ ไทยควบคู่กบั ความเปน็ สากล 2. เป็นเอกสารประกอบหลักสูตร ฯ เพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่าง เสมอภาค และมีคุณภาพ 2

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรยี นร้ศู ิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรยี นเทศบาล 2 ศรีบุญเรือง 3. เป็นเอกสารประกอบหลักสูตร ฯ ที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษา ให้สอดคลอ้ งกับสภาพและความต้องการของท้องถนิ่ 4. เป็นเอกสารประกอบหลักสูตร ฯ ที่มโี ครงสรา้ งยดื หยุ่นท้ังด้านสาระการเรยี นรู้ เวลาและการ จัด การเรยี นรู้ 5. เปน็ เอกสารประกอบหลักสตู ร ฯ ทเี่ นน้ ผ้เู รียนเป็นสำคญั 6. เป็นเอกสารประกอบหลักสูตร ฯ สำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลมุ ทกุ กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ จดุ หมาย เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะ พทุ ธศักราช 2564 ตาม หลกั สูตรการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรีบุญเรือง มุ่งพฒั นาผเู้ รยี นให้ เปน็ คนดี มปี ญั ญา มีความสุข มีศกั ยภาพในการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็น จดุ หมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรยี น เม่ือจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน ดงั น้ี 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏบิ ัติ ตนตามหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาท่ตี นนบั ถอื ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมี ทักษะชวี ิต 3. มสี ุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ดี ี มสี ุขนิสยั และรกั การออกกำลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและ การ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข 5. มจี ติ สำนึกในการอนุรักษว์ ัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนรุ ักษแ์ ละพัฒนาส่ิงแวดล้อม มีจติ สาธารณะทมี่ ุง่ ทำประโยชน์และสร้างสิ่งท่ีดงี ามในสังคม และอยู่ร่วมกนั ในสังคมอย่างมีความสุข สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ พุทธศกั ราช 2564 ตาม หลกั สตู รการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 โรงเรยี นเทศบาล 2 ศรีบุญเรือง มุ่งใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ สมรรถนะสำคัญ 5 ประการดังน้ี 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและสง่ สาร มีวัฒนธรรมในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคมรวมทั้งการเจรจาต่อรอง เพอ่ื ขจดั และลดปัญหาความขัดแยง้ ต่างๆการเลือกรบั หรือไม่รบั ข้อมลู ข่าวสารดว้ ยหลักเหตุผลและความ ถูกต้องตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและ สังคม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ และการคิดเปน็ ระบบ เพอ่ื นำไปสูก่ ารสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศเพ่ือการตดั สินใจเก่ียวกบั ตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม 3

เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ พ.ศ. 2564 โรงเรยี นเทศบาล 2 ศรีบญุ เรอื ง 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ี เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพันธแ์ ละการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ต่อ ตนเอง สงั คมและส่งิ แวดลอ้ ม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการตา่ ง ๆ ไปใช้ใน การดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ ร่วมกนั ในสงั คมด้วยการสร้างเสรมิ ความสมั พนั ธ์อนั ดรี ะหว่างบุคคล การจัดการปญั หาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรมปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและ สภาพแวดล้อม และการร้จู กั หลีกเล่ียงพฤติกรรมไมพ่ งึ ประสงค์ที่สง่ ผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ ่ืน 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแกป้ ัญหาอย่างสร้างสรรค์ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ พุทธศักราช 2564 ตาม หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรีบุญเรือง พัฒนาผู้เรียนให้มี คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ เพ่อื ให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อยา่ งมคี วามสขุ ในฐานะเปน็ พลเมือง ไทยและพลโลก ดังน้ี 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 2. ซอื่ สัตยส์ ุจริต 3. มีวนิ ัย 4. ใฝเ่ รียนรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง 6. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 7. รักความเปน็ ไทย 8. มจี ิตสาธารณะ 4

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรบี ุญเรอื ง ทำไมต้องเรียนศลิ ปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเป็นกลุม่ สาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ กิจกรรมทางศิลปะช่วยพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจนการ นำไปสู่การพัฒนาสิ่งแวดล้อม สง่ เสริมให้ผู้เรยี นมีความเชื่อม่ันในตนเอง อนั เปน็ พืน้ ฐานในการศึกษาต่อ หรอื ประกอบอาชพี ได้ เรยี นรอู้ ะไรในศลิ ปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมุ่งพัฒนาให้ผูเ้ รียนเกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะ เกิดความซาบซึ้งในคุณค่าของศิลปะ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนงต่าง ๆ ประกอบด้วยสาระสำคัญ คอื • ทศั นศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบศิลป์ ทัศนธาตุ สร้างและนำเสนอผลงาน ทาง ทัศนศลิ ปจ์ ากจนิ ตนาการ โดยสามารถใช้อุปกรณท์ เ่ี หมาะสม รวมท้งั สามารถใช้เทคนคิ วธิ กี ารของศิลปนิ ในการสร้างงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ เข้าใจ ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานศิลปะที่เป็นมรดกทาง วฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ ภูมิปัญญาไทยและสากล ช่ืนชม ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวนั • ดนตรี มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณคา่ ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ทางดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกตใ์ ช้ ในชีวิตประจำวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าดนตรีท่ี เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล ร้องเพลง และเล่นดนตรีใน รปู แบบตา่ ง ๆ แสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกบั เสยี งดนตรี แสดงความร้สู ึกท่ีมตี ่อดนตรีในเชิงสนุ ทรยี ะ เข้าใจ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งดนตรกี บั ประเพณวี ฒั นธรรม และเหตกุ ารณ์ในประวัติศาสตร์ • นาฏศลิ ป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ แสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่าง สร้างสรรค์ ใช้ศัพท์เบื้องต้นทางนาฏศลิ ป์ วิเคราะห์วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่านาฏศลิ ป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ ประยุกต์ใช้นาฏศิลป์ ในชีวิตประจำวัน เข้าใจความสมั พันธ์ระหว่างนาฏศิลป์กับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของนาฏศิลป์ท่ีเป็นมรดก ทางวฒั นธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน ภมู ิปัญญาไทย และสากล 5

เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรบี ญุ เรือง สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระท่ี 1 ทศั นศลิ ป์ มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์ตามจนิ ตนาการ และความคดิ สร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คณุ ค่างานทศั นศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคดิ ต่องานศิลปะอย่างอสิ ระ ชื่นชม และประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั มาตรฐาน ศ 1.2 เขา้ ใจความสมั พันธร์ ะหวา่ งทศั นศิลป์ ประวตั ิศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างาน ทศั นศลิ ป์ที่เปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ภมู ปิ ญั ญาไทย และสากล สาระท่ี 2 ดนตรี มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ ในชวี ติ ประจำวัน มาตรฐาน ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหวา่ งดนตรี ประวตั ศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณคา่ ของดนตรี ท่ี เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล สาระท่ี 3 นาฏศลิ ป์ มาตรฐาน ศ 3.1 เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ ิจารณค์ ุณค่า นาฏศลิ ป์ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคดิ อยา่ งอสิ ระ ชืน่ ชม และประยุกตใ์ ช้ ในชีวิตประจำวนั มาตรฐาน ศ 3.2 เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหวา่ งนาฏศลิ ป์ ประวัตศิ าสตร์และวัฒนธรรม เหน็ คุณค่า ของนาฏศิลปท์ ี่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ภูมิปัญญาไทยและสากล คุณภาพผู้เรยี น จบช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 • รู้และเข้าใจเกี่ยวกับรูปร่าง รูปทรง และจำแนกทัศนธาตุของสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ มและงานทัศนศลิ ป์ มีทักษะพื้นฐานการใช้วสั ดุอุปกรณ์ในการสรา้ งงานวาดภาพระบายสี โดย ใชเ้ สน้ รูปรา่ ง รูปทรง สี และพ้นื ผิว ภาพปะติด และงานป้นั งานโครงสรา้ งเคลื่อนไหวอย่างง่าย ๆ ถา่ ยทอด ความคิด ความรูส้ ึกจากเร่อื งราว เหตุการณ์ ชีวิตจรงิ สร้างงานทัศนศิลปต์ ามท่ตี นชื่นชอบ สามารถแสดง เหตุผลและวิธกี ารในการปรบั ปรงุ งานของตนเอง • รู้และเข้าใจความสำคัญของงานทัศนศิลป์ในชีวิตประจำวัน ที่มาของงานทัศนศิลป์ ใน ทอ้ งถิน่ ตลอดจนการใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และวธิ กี ารสร้างงานทัศนศิลปใ์ นทอ้ งถิน่ • รู้และเข้าใจแหล่งกำเนิดเสียง คุณสมบัติของเสียง บทบาทหน้าที่ ความหมาย ความสำคัญ ของบทเพลงใกล้ตัวที่ได้ยิน สามารถท่องบทกลอน ร้องเพลง เคาะจังหวะ เคลื่อนไหวร่างกาย ให้ 6

เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา กลุม่ สาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรบี ญุ เรอื ง สอดคล้องกับบทเพลง อ่าน เขียน และใช้สัญลักษณ์แทนเสียงและเคาะจังหวะ แสดงความคิดเห็น เกย่ี วกับดนตรี เสียงขบั ร้องของตนเอง มีสว่ นรว่ มกบั กจิ กรรมดนตรีในชวี ิตประจำวนั • รูแ้ ละเข้าใจเอกลักษณ์ของดนตรีในท้องถิ่น มีความชื่นชอบ เห็นความสำคัญ และประโยชน์ ของดนตรตี อ่ การดำเนนิ ชวี ิตของคนในท้องถิ่น • สร้างสรรคก์ ารเคลอ่ื นไหวในรูปแบบต่าง ๆ สามารถแสดงทา่ ทางประกอบจังหวะเพลง ตาม รูปแบบนาฏศิลป์ มีมารยาทในการชมการแสดง รหู้ นา้ ท่ีของผ้แู สดงและผู้ชม รู้ประโยชน์ ของการแสดง นาฏศลิ ปใ์ นชวี ิตประจำวนั เข้ารว่ มกจิ กรรมการแสดงทีเ่ หมาะสมกับวัย • รู้และเข้าใจการละเล่นของเด็กไทยและนาฏศิลป์ท้องถิ่น ชื่นชอบและภาคภูมิใจ ใน การละเลน่ พื้นบา้ น สามารถเช่อื มโยงสงิ่ ทีพ่ บเหน็ ในการละเล่นพนื้ บ้านกบั การดำรงชีวติ ของคนไทย บอก ลักษณะเด่นและเอกลกั ษณข์ องนาฏศิลป์ไทยตลอดจนความสำคัญของการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทยได้ จบช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 • รแู้ ละเขา้ ใจการใชท้ ัศนะธาตุ รูปรา่ ง รปู ทรง พ้ืนผวิ สี แสงเงา มีทกั ษะพนื้ ฐานในการใช้วสั ดุ อุปกรณ์ ถ่ายทอดความคดิ อารมณ์ ความรู้สึก สามารถใชห้ ลักการจดั ขนาด สัดส่วนความสมดลุ น้ำหนัก แสงเงา ตลอดจนการใช้สีคู่ตรงข้ามที่เหมาะสมในการสร้างงานทัศนศิลป์ 2 มิติ 3 มิติ เช่น งานสื่อผสม งานวาดภาพระบายสี งานปั้น งานพิมพ์ภาพ รวมทั้งสามารถสร้างแผนภาพ แผนผัง และภาพประกอบ เพื่อถ่ายทอดความคดิ จินตนาการเป็นเร่ืองราวเกย่ี วกับเหตุการณต์ ่าง ๆ และสามารถเปรียบเทียบความ แตกต่างระหวา่ งงานทัศนศิลปท์ สี่ รา้ งสรรค์ ด้วยวัสดุอปุ กรณแ์ ละวิธกี ารทแี่ ตกตา่ งกัน เขา้ ใจ ปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์ หลักการลดและเพิ่มในงานปั้น การสื่อความหมายในงานทัศนศิลป์ ของตน รวู้ ิธกี ารปรบั ปรุงงานใหด้ ขี น้ึ ตลอดจน รู้และเข้าใจคุณค่าของงานทศั นศลิ ป์ทมี่ ผี ลต่อชีวิตของคน ในสงั คม • รู้และเข้าใจบทบาทของงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนชีวิตและสังคม อิทธิพลของความเชื่อความ ศรทั ธา ในศาสนา และวฒั นธรรมทม่ี ีผลตอ่ การสร้างงานทัศนศิลปใ์ นท้องถิน่ • รู้และเข้าใจเกีย่ วกับเสียงดนตรี เสียงร้อง เครื่องดนตรี และบทบาทหน้าที่รู้ถึงการเคล่อื นท่ี ขึ้น ลง ของทำนองเพลง องค์ประกอบของดนตรี ศัพท์สังคีตในบทเพลง ประโยคและอารมณ์ของบท เพลงที่ฟัง ร้องและบรรเลงเครื่องดนตรี ด้นสดอย่างง่าย ใช้และเก็บรักษาเครื่องดนตรีอย่างถูกวิธี อ่าน เขียนโน้ตไทยและสากลในรูปแบบต่าง ๆ รู้ลักษณะของผู้ที่จะเล่นดนตรีได้ดี แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ องค์ประกอบดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึกของบทเพลงที่ฟัง สามารถใช้ดนตรีประกอบกิจกรรมทาง นาฏศลิ ปแ์ ละ การเลา่ เร่อื ง • รู้และเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับวิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรมไทยและวฒั นธรรม ต่าง ๆ เรื่องราวดนตรีในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของวัฒนธรรมต่อดนตรี รู้คุณค่าดนตรีที่มาจาก วฒั นธรรมต่างกัน เหน็ ความสำคญั ในการอนรุ ักษ์ • รู้และเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ สามารถแสดงภาษาท่า นาฏยศัพท์พื้นฐาน สร้างสรรค์ การเคลื่อนไหวและการแสดงนาฏศิลป์ และการละครง่าย ๆ ถ่ายทอดลีลาหรืออารมณ์ และสามารถ 7

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา กลุ่มสาระการเรยี นร้ศู ิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรยี นเทศบาล 2 ศรีบุญเรอื ง ออกแบบเคร่ืองแต่งกายหรืออุปกรณป์ ระกอบการแสดงง่าย ๆ เข้าใจความสมั พนั ธ์ระหว่างนาฏศิลป์และ การละครกบั สงิ่ ท่ปี ระสบในชวี ติ ประจำวนั แสดงความคิดเห็นในการชมการแสดง และบรรยายความรู้สึก ของตนเองทมี่ ตี อ่ งานนาฏศิลป์ • รู้และเข้าใจความสัมพันธ์และประโยชน์ของนาฏศิลป์และการละคร สามารถเปรียบเทียบ การแสดงประเภทต่าง ๆ ของไทยในแต่ละท้องถิ่น และสิ่งที่การแสดงสะท้อนวัฒนธรรมประเพณีเห็น คุณค่าการรกั ษาและสืบทอดการแสดงนาฏศลิ ป์ไทย 8

เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรยี นเทศบาล 2 ศรบี ญุ เรอื ง ตวั ช้วี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระที่ 1 ทศั นศิลป์ มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระชื่น ชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวัน ชัน้ ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ป.1 1. อภิปรายเกี่ยวกับรูปร่าง ลักษณะ • รปู ร่าง ลักษณะ และขนาดของสิ่งตา่ ง ๆ และขนาดของสิ่งตา่ ง ๆ รอบตัว รอบตวั ในธรรมชาติและสง่ิ ทมี่ นษุ ย์สร้างข้นึ ในธรรมชาติและสง่ิ ท่ีมนุษย์สร้างข้นึ 2. บอกความร้สู กึ ที่มตี อ่ ธรรมชาติ • ความรสู้ กึ ที่มีต่อธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม และส่งิ แวดล้อมรอบตัว รอบตวั เชน่ รสู้ กึ ประทบั ใจกับความงาม ของบริเวณรอบอาคารเรยี น หรือรสู้ กึ ถึง 3. มีทกั ษะพื้นฐานในการใชว้ สั ดุ ความไม่เป็นระเบยี บ ของสภาพภายในหอ้ งเรยี น อุปกรณส์ รา้ งงานทัศนศิลป์ • การใช้วัสดุ อปุ กรณ์ เชน่ ดินเหนียว 4. สรา้ งงานทัศนศิลปโ์ ดยการทดลองใช้ ดนิ นำ้ มัน ดินสอ พู่กัน กระดาษ สีเทียน สีนำ้ สี ดว้ ยเทคนคิ ง่าย ๆ ดินสอสสี ร้างงานทัศนศลิ ป์ • การทดลองสดี ้วยการใช้สีนำ้ สีโปสเตอร์ สีเทยี นและสจี ากธรรมชาติที่หาได้ในท้องถิน่ 5. วาดภาพระบายสีภาพธรรมชาติ • การวาดภาพระบายสตี ามความรสู้ ึก ตามความรู้สกึ ของตนเอง ของตนเอง ป.2 1. บรรยายรูปร่าง รปู ทรงท่ีพบใน • รปู ร่าง รปู ทรงในธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม เช่น รูปกลม รี สามเหลีย่ ม สเ่ี หลี่ยม และ กระบอก 2. ระบทุ ัศนะธาตุที่อยู่ในสง่ิ แวดลอ้ ม • เส้น สี รูปรา่ ง รูปทรงในส่งิ แวดลอ้ ม และงานทัศนศิลป์ โดยเนน้ เรื่องเสน้ และงานทัศนศลิ ป์ประเภทต่าง ๆ เช่น งานวาด สี รูปรา่ ง และรปู ทรง งานป้ัน และงานพมิ พ์ภาพ 3. สรา้ งงานทัศนศลิ ป์ต่าง ๆ โดยใช้ • เส้น รปู ร่างในงานทัศนศลิ ป์ประเภทตา่ ง ๆ ทศั นะธาตุทเ่ี นน้ เส้น รูปรา่ ง เชน่ งานวาด งานปัน้ และงานพิมพ์ภาพ 9

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ พ.ศ. 2564 โรงเรยี นเทศบาล 2 ศรบี ญุ เรอื ง ช้ัน ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.2 4. มที ักษะพ้ืนฐานในการใช้วัสดุ • การใช้วสั ดุ อุปกรณ์ สร้างงานทัศนศิลป์ 3 มิติ อปุ กรณ์ สรา้ งงานทศั นศลิ ป์ 3 มติ ิ 5. สรา้ งภาพปะติดโดยการตัดหรือ • ภาพปะตดิ จากกระดาษ ฉกี กระดาษ 6. วาดภาพเพื่อถ่ายทอดเร่ืองราว • การวาดภาพถ่ายทอดเร่อื งราว เก่ียวกับครอบครวั ของตนเองและ เพ่อื นบา้ น 7. เลือกงานทศั นศิลป์ และบรรยายถงึ • เนอื้ หาเรื่องราวในงานทัศนศลิ ป์ ส่ิงทีม่ องเห็น รวมถงึ เนื้อหาเร่ืองราว 8. สรา้ งสรรค์งานทัศนศิลป์เปน็ • งานโครงสรา้ งเคลือ่ นไหว รูปแบบงานโครงสร้างเคลื่อนไหว ป.3 1. บรรยาย รปู ร่าง รปู ทรงใน • รูปร่าง รปู ทรงในธรรมชาติส่ิงแวดล้อมและ ธรรมชาติสิง่ แวดล้อม และงาน งานทศั นศลิ ป์ ทศั นศิลป์ 2. ระบุ วสั ดุ อปุ กรณท์ ี่ใชส้ ร้าง • วัสดุ อุปกรณ์ทใี่ ชส้ รา้ งงานทศั นศลิ ป์ประเภท ผลงาน งานวาด งานปนั้ งานพิมพ์ภาพ เมื่อชมงานทัศนศิลป์ 3. จำแนกทัศนะธาตุของส่งิ ต่าง ๆ • เสน้ สี รูปรา่ ง รูปทรง พ้ืนผวิ ในธรรมชาติ ในธรรมชาติส่ิงแวดลอ้ มและงาน สง่ิ แวดลอ้ มและงานทัศนศลิ ป์ ทศั นศิลป์ โดยเนน้ เรื่อง เส้น สี รูปร่าง รูปทรง และพืน้ ผวิ 4. วาดภาพ ระบายสสี ิง่ ของรอบตัว • การวาดภาพระบายสี สง่ิ ของรอบตัว ดว้ ยสีเทยี น ดินสอสี และสีโปสเตอร์ 5. มที กั ษะพน้ื ฐาน ในการใชว้ ัสดุ • การใชว้ ัสดุอปุ กรณใ์ นงานปั้น อุปกรณส์ ร้างสรรค์งานปั้น 6. วาดภาพถา่ ยทอดความคดิ • การใช้เส้น รปู ร่าง รปู ทรง สี และพืน้ ผิว ความรสู้ ึกจากเหตุการณช์ วี ติ จริง โดย วาดภาพถ่ายทอดความคิดความร้สู ึก ใช้เสน้ รปู รา่ ง รปู ทรง สี และพน้ื ผวิ 7. บรรยายเหตผุ ลและวิธกี ารในการ • วัสดุ อปุ กรณ์ เทคนิควิธีการในการสร้างงาน สรา้ งงานทศั นศิลป์ โดยเน้นถึงเทคนคิ ทศั นศลิ ป์ และวัสดุ อุปกรณ์ 8. ระบุสง่ิ ทีช่ ื่นชมและส่งิ ท่ีควรปรับปรุง • การแสดงความคิดเหน็ ในงานทศั นศิลป์ของ ในงานทศั นศลิ ปข์ องตนเอง ตนเอง 10

เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา กล่มุ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรบี ญุ เรอื ง ช้ัน ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.3 9. ระบุ และจัดกลมุ่ ของภาพตามทศั นะ • การจัดกลุ่มของภาพตามทัศนะธาตุ ธาตทุ เี่ น้นในงานทศั นศิลป์นัน้ ๆ 10.บรรยายลักษณะรปู รา่ ง รูปทรง • รูปรา่ ง รูปทรง ในงานออกแบบ ในงานการออกแบบสง่ิ ต่าง ๆ ท่ีมีใน บา้ นและโรงเรยี น 1. เปรยี บเทยี บรปู ลกั ษณะของรปู ร่าง • รูปรา่ ง รปู ทรง ในธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ้ มและ รูปทรงในธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม งานทศั นศลิ ป์ และงานทัศนศิลป์ ป.4 2. อภิปรายเก่ียวกบั อทิ ธิพลของสี • อิทธิพลของสี วรรณะอุน่ และวรรณะเยน็ วรรณะอุน่ และสวี รรณะเย็นที่มตี ่อ อารมณ์ของมนุษย์ 3. จำแนกทัศนะธาตุของสิ่งต่าง ๆ • เส้น สี รปู ร่าง รปู ทรง พ้นื ผิว และพื้นทว่ี า่ ง ในธรรมชาตสิ ิ่งแวดลอ้ มและงาน ในธรรมชาตสิ งิ่ แวดลอ้ มและงานทศั นศลิ ป์ ทศั นศลิ ปโ์ ดยเนน้ เรือ่ งเส้น สี รปู ร่าง รูปทรงพ้ืนผิว และพื้นที่วา่ ง 4. มที ักษะพื้นฐานในการใชว้ ัสดุ • การใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์สรา้ งงานพมิ พ์ภาพ อปุ กรณ์สร้างสรรคง์ านพิมพ์ภาพ 5. มที ักษะพน้ื ฐานในการใชว้ ัสดุ • การใช้วสั ดุ อปุ กรณ์ในการวาดภาพระบายสี อุปกรณส์ รา้ งสรรคง์ านวาดภาพระบาย สี 6. บรรยายลักษณะของภาพโดยเน้น • การจัดระยะความลึก น้ำหนักและแสงเงา เร่อื งการจดั ระยะ ความลกึ น้ำหนัก ในการวาดภาพ และแสงเงาในภาพ 7. วาดภาพระบายสี โดยใช้สีวรรณะ • การใช้สวี รรณะอุ่นและใชส้ ีวรรณะเยน็ วาด อุ่นและสีวรรณะเยน็ ถ่ายทอด ภาพถา่ ยทอดความรสู้ ึกและจินตนาการ ความรู้สึกและจินตนาการ 8. เปรยี บเทยี บความคิดความรสู้ ึก • ความเหมอื นและความแตกตา่ งในงาน ทีถ่ ่ายทอดผา่ นงานทัศนศลิ ป์ของ ทัศนศลิ ป์ความคิดความรู้สึกท่ีถ่ายทอดในงาน ตนเองและบคุ คลอ่นื ทัศนศลิ ป์ 11

เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรีบญุ เรือง ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 9. เลือกใช้วรรณะสีเพอ่ื ถา่ ยทอด • การเลือกใชว้ รรณะสเี พื่อถ่ายทอดอารมณ์ อารมณ์ ความร้สู กึ ในการสร้างงาน ความรูส้ กึ ทศั นศลิ ป์ ป.5 1. บรรยายเกีย่ วกับจงั หวะตำแหนง่ • จงั หวะ ตำแหน่งของส่ิงตา่ ง ๆ ในสิ่งแวดล้อมและ ของสง่ิ ต่าง ๆ ท่ปี รากฏในส่ิงแวดลอ้ ม งานทศั นศิลป์ และงานทัศนศลิ ป์ 2. เปรียบเทียบความแตกตา่ งระหวา่ ง • ความแตกต่างระหวา่ งงานทศั นศลิ ป์ งานทัศนศิลป์ ท่สี ร้างสรรค์ด้วยวสั ดุ อปุ กรณ์และวิธีการท่ีตา่ งกนั 3. วาดภาพ โดยใชเ้ ทคนิคของแสงเงา • แสงเงา น้ำหนัก และวรรณะสี นำ้ หนัก และวรรณะสี 4. สร้างสรรคง์ านปัน้ จาก ดินน้ำมนั • การสรา้ งงานปั้นเพื่อถา่ ยทอดจนิ ตนาการดว้ ย หรอื ดนิ เหนยี ว โดยเนน้ การถ่ายทอด การใช้ดินน้ำมันหรือดนิ เหนียว จนิ ตนาการ 5. สร้างสรรคง์ านพมิ พ์ภาพ โดยเน้น • การจัดภาพในงานพิมพภ์ าพ การจดั วางตำแหน่งของสง่ิ ตา่ ง ๆ ใน ภาพ 6. ระบุปัญหาในการจดั องคป์ ระกอบศลิ • การจดั องค์ประกอบศลิ ป์และการสือ่ และการส่ือความหมายในงาน ความหมาย ในงานทัศนศิลป์ ทศั นศิลป์ของตนเอง และบอกวธิ ีการ ปรับปรงุ งานให้ดขี ้ึน 7. บรรยายประโยชนแ์ ละคุณคา่ • ประโยชน์และคุณคา่ ของงานทศั นศลิ ป์ ของงานทัศนศิลปท์ ี่มีผลต่อชีวิตของคน ในสงั คม ป.6 1.ระบุสคี ู่ตรงข้าม และอภิปราย • วงสธี รรมชาติ และสีคูต่ รงขา้ ม เกยี่ วกับการใช้สคี ู่ตรงขา้ มในการ • หลกั การจดั ขนาด สัดส่วนความสมดลุ ถา่ ยทอดความคิดและอารมณ์ ในงานทัศนศิลป์ 2. อธิบายหลกั การจัดขนาดสดั ส่วน ความสมดลุ ในการสรา้ งงานทัศนศิลป์ 12

เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรยี นเทศบาล 2 ศรบี ุญเรอื ง ชัน้ ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.6 3. สรา้ งงานทศั นศิลป์จากรปู แบบ • งานทศั นศลิ ป์รูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ 2 มิติ เปน็ 3 มติ ิ โดยใช้หลักการ ของแสงเงาและนำ้ หนกั 4. สรา้ งสรรคง์ านปั้นโดยใช้หลกั การเพิ่มและ • การใช้หลกั การเพ่มิ และลดในการ ลด สร้างสรรค์งานป้นั 5. สร้างสรรค์งานทัศนศลิ ปโ์ ดยใช้หลักการ ของ • รปู และพื้นท่ีว่างในงานทศั นศิลป์ รูปและพื้นท่วี ่าง 6. สร้างสรรค์งานทศั นศลิ ปโ์ ดยใช้ • การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยใช้ สคี ตู่ รงข้ามหลักการจดั ขนาดสดั ส่วน และ สีคตู่ รงขา้ ม หลกั การจัดขนาด สัดสว่ นและ ความสมดลุ ความสมดลุ 7. สรา้ งงานทศั นศลิ ปเ์ ป็นแผนภาพ แผนผัง • การสร้างงานทัศนศลิ ป์เปน็ แผนภาพ และภาพประกอบ เพ่ือถ่ายทอดความคดิ หรอื แผนผัง และภาพประกอบ เรอื่ งราวเกย่ี วกับเหตุการณ์ตา่ ง ๆ สาระท่ี 1 ทศั นศลิ ป์ มาตรฐาน ศ 1.2 เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งทศั นศิลป์ ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคณุ คา่ งานทัศนศิลปท์ ี่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ ภมู ิปญั ญาไทย และสากล ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.1 1. ระบงุ านทัศนศิลปใ์ นชวี ิตประจำวนั • งานทศั นศิลป์ในชวี ติ ประจำวัน ป.2 1. บอกความสำคัญของงานทัศนศลิ ป์ • ความสำคญั ของงานทศั นศิลป์ในชีวิต ทีพ่ บเหน็ ในชวี ติ ประจำวนั ประจำวนั 2. อภปิ รายเกย่ี วกับงานทศั นศลิ ป์ • งานทัศนศิลป์ในท้องถ่ิน ประเภทต่าง ๆ ในท้องถน่ิ โดยเนน้ ถงึ วธิ กี ารสรา้ งงานและวสั ดอุ ุปกรณ์ ทใี่ ช้ ป.3 1. เล่าถงึ ท่ีมาของงานทัศนศิลปใ์ นท้องถ่นิ • ท่ีมาของงานทศั นศิลป์ในท้องถิ่น 2. อธิบายเก่ียวกับวสั ดอุ ุปกรณ์และ • วสั ดุ อปุ กรณ์ และวธิ ีการสร้างงาน วิธีการสรา้ งงานทศั นศิลป์ในท้องถ่ิน ทัศนศลิ ป์ในทอ้ งถิ่น ป.4 1. ระบุ และอภปิ รายเกีย่ วกับงานทัศนศลิ ป์ • งานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมท้องถน่ิ ในเหตกุ ารณ์ และงานเฉลิมฉลอง ของวฒั นธรรมในท้องถิ่น 2. บรรยายเกี่ยวกับงานทศั นศลิ ปท์ ี่มา • งานทศั นศลิ ป์จากวัฒนธรรมต่าง ๆ จากวฒั นธรรมตา่ ง ๆ 13

เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรบี ุญเรอื ง ช้นั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.5 1. ระบุ และบรรยายเกี่ยวกบั ลกั ษณะ • ลักษณะรูปแบบของงานทศั นศลิ ป์ รูปแบบของงานทัศนศลิ ป์ในแหลง่ เรียนรู้ หรอื นทิ รรศการศิลปะ 2. อภปิ รายเกีย่ วกบั งานทัศนศลิ ป์ • งานทัศนศลิ ป์ทสี่ ะท้อนวัฒนธรรมและ ท่ีสะท้อนวัฒนธรรมและภมู ิปัญญา ภูมิปัญญาในท้องถ่นิ ในท้องถิ่น ป.6 1. บรรยายบทบาทของงานทัศนศิลป์ • บทบาทของงานทัศนศิลป์ในชีวติ ท่ีสะท้อนชีวิตและสังคม และสังคม 2. อภิปรายเกีย่ วกับอิทธพิ ลของ • อิทธิพลของศาสนาที่มีต่องานทัศนศลิ ป์ ความเชือ่ ความศรทั ธาในศาสนาที่มผี ลตอ่ ในท้องถ่ิน งานทัศนศลิ ป์ในท้องถ่ิน 3. ระบุ และบรรยายอิทธิพลทางวัฒนธรรม • อิทธพิ ลทางวฒั นธรรมในทอ้ งถนิ่ ท่ีมีผล ในทอ้ งถ่ินที่มผี ลตอ่ การสรา้ งงานทศั นศลิ ป์ ตอ่ การสร้างงานทัศนศลิ ป์ ของบุคคล 14

เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะ พ.ศ. 2564 โรงเรยี นเทศบาล 2 ศรบี ุญเรอื ง สาระที่ 2 ดนตรี มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วจิ ารณค์ ณุ คา่ ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชนื่ ชม และประยุกตใ์ ช้ใน ชวี ิตประจำวนั ชนั้ ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ป.1 1. รวู้ ่าสงิ่ ต่าง ๆ สามารถก่อกำเนดิ เสียง • การกำเนิดของเสยี ง ท่ีแตกตา่ งกัน - เสียงจากธรรมชาติ - แหล่งกำเนิดของเสียง - สสี ันของเสยี ง 2. บอกลักษณะของเสยี งดัง-เบา และ • ระดับเสยี งดงั -เบา (Dynamic) ความช้า- เร็วของจงั หวะ • อัตราความเรว็ ของจงั หวะTempo 3. ท่องบทกลอน ร้องเพลงงา่ ย ๆ • การอา่ นบทกลอนประกอบจงั หวะ • การร้องเพลงประกอบจงั หวะ 4. มีสว่ นร่วมในกจิ กรรมดนตรีอยา่ ง • กิจกรรมดนตรี สนุกสนาน - การรอ้ งเพลง - การเคาะจงั หวะ - การเคลอ่ื นไหวประกอบบทเพลง o ตามความดงั - เบาของบท เพลง o ตามความช้าเรว็ ของจังหวะ 5. บอกความเก่ียวข้องของเพลงทใ่ี ช้ • เพลงท่ใี ชใ้ นชวี ิตประจำวนั ในชวี ติ ประจำวัน - เพลงกลอ่ มเด็ก - บทเพลงประกอบการละเลน่ - เพลงสำคัญ (เพลงชาติไทย เพลงสรรเสรญิ พระบารม)ี ป.2 1. จำแนกแหล่งกำเนดิ ของเสียงที่ได้ยิน • สสี นั ของเสียงเคร่ืองดนตรี • สสี ันของเสียงมนุษย์ 2. จำแนกคุณสมบัติของเสยี ง สงู - ตำ่ , • การฝึกโสตประสาท การจำแนกเสยี ง ดงั -เบา ยาว-สนั้ ของดนตรี สูง-ตำ่ ดัง-เบา ยาว-ส้ัน 15

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ พ.ศ. 2564 โรงเรยี นเทศบาล 2 ศรีบญุ เรือง ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.2 3. เคาะจังหวะหรือเคล่ือนไหวร่างกาย • การเคลื่อนไหวประกอบเนอ้ื หาในบทเพลง ให้สอดคล้องกับเน้ือหาของเพลง • การเล่นเคร่อื งดนตรปี ระกอบเพลง 4. รอ้ งเพลงงา่ ย ๆ ท่เี หมาะสมกับวยั • การขับร้อง 5. บอกความหมายและความสำคัญ • ความหมายและความสำคญั ของเพลง ของเพลงท่ีได้ยนิ ทไ่ี ด้ยิน - เพลงปลกุ ใจ - เพลงสอนใจ ป.3 1. ระบรุ ปู รา่ งลักษณะของเครื่องดนตรี • รปู รา่ งลกั ษณะของเคร่อื งดนตรี ท่ีเหน็ และได้ยินในชวี ิตประจำวัน • เสียงของเครอื่ งดนตรี 2. ใช้รปู ภาพหรือสัญลกั ษณ์แทนเสยี ง และ • สัญลกั ษณ์แทนคุณสมบัติของเสียง (สูง-ต่ำ จงั หวะเคาะ ดงั -เบา ยาว-ส้ัน) • สญั ลักษณแ์ ทนรปู แบบจงั หวะ 3. บอกบทบาทหน้าทข่ี องเพลงท่ีได้ยิน • บทบาทหน้าท่ีของบทเพลงสำคญั - เพลงชาติ - เพลงสรรเสริญพระบารมี - เพลงประจำโรงเรยี น 4. ขบั ร้องและบรรเลงดนตรงี ่าย ๆ • การขบั ร้องเดีย่ วและหมู่ • การบรรเลงเคร่ืองดนตรปี ระกอบเพลง 5. เคลื่อนไหวท่าทางสอดคล้องกับอารมณ์ • การเคล่อื นไหวตามอารมณ์ของบทเพลง ของเพลงที่ฟัง 6. แสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกบั เสียงดนตรี • การแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับเสียงร้อง เสียงขบั รอ้ งของตนเองและผู้อ่นื และเสยี งดนตรี - คณุ ภาพเสียงร้อง - คุณภาพเสยี งดนตรี 7. นำดนตรีไปใชใ้ นชีวติ ประจำวันหรือโอกาส • การใช้ดนตรีในโอกาสพเิ ศษ ต่าง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม - ดนตรใี นงานร่ืนเรงิ - ดนตรีในการฉลองวันสำคัญของชาติ 16

เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ พ.ศ. 2564 โรงเรยี นเทศบาล 2 ศรบี ญุ เรอื ง ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป.4 1. บอกประโยคเพลงอยา่ งง่าย • โครงสร้างของบทเพลง - ความหมายของประโยคเพลง - การแบ่งประโยคเพลง 2. จำแนกประเภทของเคร่ืองดนตรีทใี่ ช้ใน • ประเภทของเคร่ืองดนตรี เพลงที่ฟัง • เสยี งของเครือ่ งดนตรีแต่ละประเภท 3. ระบุทศิ ทางการเคล่ือนทขี่ ึ้น – ลงงา่ ย ๆ • การเคลอื่ นท่ีขนึ้ - ลงของทำนอง ของทำนอง รูปแบบจังหวะและความเรว็ • รูปแบบจงั หวะของทำนองจงั หวะ ของจังหวะในเพลงที่ฟัง • รูปแบบจงั หวะ • ความช้า - เร็วของจงั หวะ 4. อา่ น เขยี นโน้ตดนตรีไทยและสากล • เคร่ืองหมายและสญั ลักษณ์ทางดนตรี - กญุ แจประจำหลัก - บรรทดั หา้ เสน้ - โน้ตและเคร่อื งหมายหยุด - เสน้ กั้นห้อง • โครงสร้างโนต้ เพลงไทย - การแบ่งห้อง - การแบง่ จงั หวะ 5. รอ้ งเพลงโดยใชช้ ว่ งเสียงที่เหมาะสมกบั • การขบั ร้องเพลงในบันไดเสียงที่เหมาะสม ตนเอง กับตนเอง 6. ใช้และเกบ็ เคร่อื งดนตรอี ย่างถูกตอ้ งและ • การใช้และการดูแลรักษาเครื่องดนตรี ของ ปลอดภยั ตน 7. ระบวุ า่ ดนตรสี ามารถใช้ในการสอ่ื • ความหมายของเน้ือหาในบทเพลง เรอื่ งราว ป.5 1. ระบอุ งค์ประกอบดนตรใี นเพลงท่ีใช้ใน • การสอ่ื อารมณ์ของบทเพลงด้วยองค์ประกอบ การสอ่ื อารมณ์ ดนตรี - จงั หวะกบั อารมณ์ของบทเพลง - ทำนองกบั อารมณ์ของบทเพลง 17

เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรียนร้ศู ิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรยี นเทศบาล 2 ศรีบญุ เรอื ง ชน้ั ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ป.5 2. จำแนกลกั ษณะของเสยี งขับร้องและ • ลักษณะของเสยี งนักร้องกลมุ่ ต่าง ๆ เคร่ืองดนตรที ่ีอยู่ในวงดนตรีประเภทตา่ ง ๆ • ลักษณะเสียงของวงดนตรีประเภทต่าง ๆ 3. อา่ น เขียนโน้ตดนตรีไทยและสากล • เครอ่ื งหมายและสญั ลักษณท์ างดนตรี 5 ระดับเสยี ง - บนั ไดเสยี ง 5 เสยี ง Pentatonic scale - โนต้ เพลงในบันไดเสยี ง 5 เสยี ง Pentatonic scale 4. ใชเ้ คร่อื งดนตรีบรรเลงจังหวะ และ • การบรรเลงเครื่องประกอบจงั หวะ ทำนอง • การบรรเลงทำนองด้วยเคร่ืองดนตรี 5. รอ้ งเพลงไทยหรือเพลงสากลหรอื เพลง • การร้องเพลงไทยในอัตราจังหวะสองช้ัน ไทยสากลทีเ่ หมาะสมกบั วยั • การรอ้ งเพลงสากล หรอื ไทยสากล • การร้องเพลงประสานเสียงแบบ Canon Round 6. ดน้ สดง่าย ๆ โดยใช้ประโยคเพลง • การสร้างสรรคป์ ระโยคเพลงถาม-ตอบ แบบถามตอบ 7. ใช้ดนตรีร่วมกบั กิจกรรมในการ • การบรรเลงดนตรีประกอบกจิ กรรม แสดงออกตามจนิ ตนาการ นาฏศลิ ป์ • การสร้างสรรค์เสียงประกอบการเล่าเร่อื ง ป.6 1. บรรยายเพลงท่ีฟงั โดยอาศยั • องคป์ ระกอบดนตรแี ละศัพทส์ ังคตี องค์ประกอบดนตรี และศัพท์สงั คตี 1. จำแนกประเภทและบทบาท • เครื่องดนตรีไทยแต่ละภาค หน้าท่ี เคร่ือง • บทบาทและหน้าทข่ี องเครื่องดนตรี ดนตรีไทยและเครื่องดนตรีท่ี • ประเภทของเครื่องดนตรีสากล มาจากวัฒนธรรมตา่ ง ๆ • เครื่องหมายและสญั ลักษณ์ทางดนตรี 2. • โนต้ บทเพลงไทย อัตราจงั หวะสองชน้ั • โน้ตบทเพลงสากลในบันไดเสยี ง C Major 3. อ่าน เขยี นโนต้ ไทย และโนต้ สากล ทำนองง่าย ๆ 4. ใชเ้ ครอื่ งดนตรบี รรเลงประกอบ • การรอ้ งเพลงประกอบดนตรี การร้องเพลง ดน้ สด ท่มี ีจังหวะและ ทำนองง่าย ๆ • การสร้างสรรคร์ ูปแบบจงั หวะและทำนอง ด้วยเครอ่ื งดนตรี 18

เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรีบญุ เรือง ชน้ั ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.6 5. บรรยายความรู้สึกที่มตี อ่ ดนตรี • การบรรยายความรสู้ ึกและแสดงความ คดิ เหน็ ทม่ี ตี ่อบทเพลง 6. แสดงความคิดเห็นเกยี่ วกบั ทำนอง จงั หวะการประสานเสยี ง และคุณภาพ - เนอ้ื หาในบทเพลง เสยี งของเพลงท่ีฟัง - องคป์ ระกอบในบทเพลง - คุณภาพเสียงในบทเพลง 19

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา กลุม่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรีบุญเรือง สาระท่ี 2 ดนตรี มาตรฐาน ศ 2.2 เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหว่างดนตรี ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณค่า ของดนตรีทเี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญั ญาท้องถ่ิน ภมู ิปัญญาไทยและสากล ชั้น ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.1 1. เล่าถงึ เพลงในท้องถ่ิน • ทม่ี าของบทเพลงในท้องถ่นิ 2. ระบุสิ่งทีช่ ืน่ ชอบในดนตรที อ้ งถน่ิ • ความน่าสนใจของบทเพลงในทอ้ งถ่นิ ป.2 1. บอกความสมั พันธ์ของเสยี งร้อง • บทเพลงในทอ้ งถ่นิ เสยี งเคร่อื งดนตรใี นเพลงทอ้ งถนิ่ - ลักษณะของเสยี งร้องในบทเพลง โดยใชค้ ำงา่ ย ๆ - ลกั ษณะของเสียงเครื่องดนตรที ใ่ี ช้ ในบทเพลง 2. แสดงและเขา้ ร่วมกจิ กรรมทางดนตรี • กิจกรรมดนตรีในโอกาสพเิ ศษ ในท้องถน่ิ - ดนตรีกับโอกาสสำคญั ในโรงเรียน - ดนตรกี ับวนั สำคัญของชาติ ป.3 1. ระบลุ กั ษณะเด่นและเอกลักษณ์ • เอกลักษณ์ของดนตรใี นท้องถิ่น ของดนตรีในท้องถ่ิน - ลักษณะเสียงรอ้ งของดนตรใี นท้องถิ่น - ภาษาและเน้ือหาในบทร้องของ ดนตรใี นท้องถ่นิ - เครอ่ื งดนตรีและวงดนตรีในท้องถิน่ 2. ระบคุ วามสำคัญและประโยชน์ของ • ดนตรกี บั การดำเนินชวี ติ ในท้องถ่นิ ดนตรีต่อการดำเนินชวี ติ ของคนในทอ้ งถนิ่ - ดนตรใี นชวี ิตประจำวัน - ดนตรีในวาระสำคญั ป.4 1. บอกแหลง่ ทีม่ าและความสัมพันธ์ • ความสมั พนั ธ์ของวิถชี วี ติ กับผลงานดนตรี ของวิถชี วี ิตไทย ท่สี ะทอ้ นในดนตรี และเพลงทอ้ งถน่ิ - เน้ือหาเรื่องราวในบทเพลงกับวถิ ี ชวี ิต - โอกาสในการบรรเลงดนตรี 2. ระบคุ วามสำคัญในการอนรุ ักษส์ ่งเสรมิ • การอนรุ ักษ์วฒั นธรรมทางดนตรี วัฒนธรรมทางดนตรี - ความสำคัญและความจำเป็นในการ อนรุ ักษ์ - แนวทางในการอนรุ ักษ์ 20

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา กลุ่มสาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ พ.ศ. 2564 โรงเรยี นเทศบาล 2 ศรีบุญเรือง ช้นั ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.5 1. อธิบายความสมั พนั ธ์ระหว่าง • ดนตรกี บั งานประเพณี ดนตรกี บั ประเพณีในวฒั นธรรมต่าง ๆ - บทเพลงในงานประเพณีในท้องถิน่ - บทบาทของดนตรีในแตล่ ะประเพณี 2. อธบิ ายคุณค่าของดนตรีทม่ี าจาก • คณุ คา่ ของดนตรีจากแหลง่ วัฒนธรรม วัฒนธรรมทีต่ ่างกนั - คณุ คา่ ทางสังคม - คุณค่าทางประวัติศาสตร์ ป.6 1. อธบิ ายเรื่องราวของดนตรีไทย • ดนตรไี ทยในประวัตศิ าสตร์ ในประวัติศาสตร์ - ดนตรใี นเหตกุ ารณ์สำคัญทาง 2. จำแนกดนตรีท่ีมาจากยุคสมยั ท่ี ประวตั ศิ าสตร์ ตา่ งกัน - ดนตรใี นยุคสมยั ตา่ ง ๆ 3. อภิปรายอิทธิพลของวฒั นธรรม ต่อดนตรใี นทอ้ งถิ่น - อทิ ธิพลของวัฒนธรรมท่ีมีต่อดนตรี 21

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรบี ุญเรือง สาระท่ี 3 นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ 3.1 เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ปอ์ ยา่ งสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษว์ ิจารณ์ คุณคา่ นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคิดอยา่ งอิสระ ชืน่ ชม และประยุกตใ์ ช้ ในชีวิตประจำวนั ชนั้ ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.1 1. เลียนแบบการเคล่ือนไหว • การเคลื่อนไหวลักษณะต่าง ๆ - การเลยี นแบบธรรมชาติ - การเลียนแบบคน สัตว์ สิ่งของ 2. แสดงท่าทางงา่ ย ๆ เพื่อสื่อ • การใชภ้ าษาท่า และการประดิษฐ์ ความหมาย แทนคำพดู ท่าประกอบเพลง • การแสดงประกอบเพลงทีเ่ ก่ียวกับธรรมชาติสตั ว์ 3. บอกสง่ิ ท่ีตนเองชอบ จากการดู • การเปน็ ผชู้ มทดี่ ี หรือ ร่วมการแสดง ป.2 1. เคลอ่ื นไหวขณะอยู่กบั ทแี่ ละ • การเคล่ือนไหวอย่างมรี ูปแบบ เคล่อื นที่ - การนั่ง - การยืน - การเดนิ 2. แสดงการเคล่ือนไหวที่สะท้อน • การประดิษฐท์ ่าจากการเคล่ือนไหว อารมณ์ของตนเองอย่างอสิ ระ อยา่ งมีรปู แบบ • เพลงทีเ่ ก่ียวกบั สง่ิ แวดลอ้ ม 3. แสดงทา่ ทาง เพ่ือสอื่ ความหมาย • หลกั และวธิ กี ารปฏิบตั ินาฏศิลป์ แทนคำพดู - การฝึกภาษาท่าสอ่ื ความหมายแทน อากปั กิริยา - การฝกึ นาฏยศัพทใ์ นส่วนลำตัว 4. แสดงทา่ ทางประกอบจังหวะ • การใช้ภาษาทา่ และนาฏยศัพทป์ ระกอบจงั หวะ อยา่ งสรา้ งสรรค์ 5. ระบมุ ารยาทในการชมการแสดง • มารยาทในการชมการแสดง การเข้าชมหรือมี สว่ นร่วม 22

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรีบญุ เรอื ง ชนั้ ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.3 1. สรา้ งสรรค์การเคล่ือนไหวในรูปแบบ • การเคล่อื นไหวในรูปแบบต่าง ๆ ตา่ ง ๆ ในสถานการณ์ส้นั ๆ - รำวงมาตรฐาน - เพลงพระราชนพิ นธ์ - สถานการณ์ส้ัน ๆ - สถานการณ์ท่กี ำหนดให้ ป.3 2. แสดงท่าทางประกอบเพลงตามรูปแบบ • หลักและวธิ ีการปฏบิ ัตนิ าฏศิลป์ นาฏศลิ ป์ - การฝึกภาษาท่าส่ืออารมณ์ของมนุษย์ - การฝกึ นาฎยศัพทใ์ นส่วนขา 3. เปรยี บเทยี บบทบาทหนา้ ทีข่ องผู้ • หลักในการชมการแสดง แสดงและผชู้ ม - ผ้แู สดง 4. มสี ่วนรว่ มในกิจกรรมการแสดงท่ี - ผูช้ ม เหมาะสมกับวัย - การมสี ่วนรว่ ม 5. บอกประโยชน์ของการแสดงนาฏศลิ ป์ • การบูรณาการนาฏศิลป์กับสาระ ในชวี ติ ประจำวัน การเรียนรอู้ ่นื ๆ ป.4 1. ระบุทักษะพื้นฐานทางนาฏศิลป์และ • หลกั และวิธกี ารปฏบิ ัตนิ าฏศิลป์ การละครท่ีใชส้ ือ่ ความหมายและอารมณ์ - การฝกึ ภาษาท่า - การฝกึ นาฏยศัพท์ 2. ใช้ภาษาทา่ และนาฏยศพั ท์หรอื ศัพท์ • การใชภ้ าษาท่าและนาฏยศัพท์ประกอบเพลง ทางการละครง่าย ๆ ในการถ่ายทอด ปลุกใจและเพลงพระราชนพิ นธ์ เรือ่ งราว • การใช้ศัพท์ทางการละครในการถา่ ยทอด เร่ืองราว 3. แสดง การเคลื่อนไหวในจังหวะต่าง • การประดิษฐท์ า่ ทางหรือท่ารำประกอบจงั หวะ ๆ ตามความคดิ ของตน พ้ืนเมือง 4. แสดงนาฏศลิ ปเ์ ปน็ คู่ และหมู่ • การแสดงนาฏศลิ ป์ ประเภทคู่และหมู่ - รำวงมาตรฐาน - ระบำ 5. เล่าส่งิ ท่ีชื่นชอบในการแสดงโดยเน้น • การเลา่ เร่ือง จุดสำคญั ของเรอ่ื งและลักษณะเด่น - จดุ สำคญั ของตวั ละคร - ลักษณะเดน่ ของตัวละคร 23

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรีบุญเรอื ง ช้นั ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.5 1. บรรยายองค์ประกอบนาฏศลิ ป์ • องคป์ ระกอบของนาฏศิลป์ - จังหวะ ทำนอง คำร้อง - ภาษาทา่ นาฏยศัพท์ - อุปกรณ์ 2. แสดงท่าทางประกอบเพลงหรือ • การประดิษฐท์ า่ ทางประกอบเพลง เร่ืองราวตามความคิดของตน หรอื ทา่ ทางประกอบเรื่องราว 3. แสดงนาฏศลิ ป์ โดยเน้นการใช้ • การแสดงนาฏศลิ ป์ ภาษาทา่ และนาฏยศพั ทใ์ นการสอ่ื ความหมาย - ระบำ และ การแสดงออก - ฟอ้ น - รำวงมาตรฐาน 4. มสี ว่ นรว่ มในกลุ่มกับการเขียน • องคป์ ระกอบของละคร เคา้ โครงเร่ืองหรือบทละครส้นั ๆ - การเลอื กและเขยี นเคา้ โครงเรื่อง - บทละครสนั้ ๆ 5. เปรยี บเทยี บการแสดงนาฏศลิ ป์ชดุ • ทีม่ าของการแสดงนาฏศลิ ป์ชุดตา่ ง ๆ ต่าง ๆ 6. บอกประโยชน์ท่ีไดร้ บั จากการชม • หลักการชมการแสดง การแสดง • การถ่ายทอดความรู้สกึ และคุณค่า ของการแสดง ป.6 1. สร้างสรรคก์ ารเคลื่อนไหวและการ • การประดษิ ฐท์ า่ ทางประกอบเพลงปลกุ ใจหรือ แสดง เพลงพน้ื เมอื งหรือท้องถิ่นเนน้ ลีลา หรือ โดยเน้นการถ่ายทอดลลี าหรืออารมณ์ อารมณ์ 2. ออกแบบเคร่อื งแตง่ กาย หรือ • การออกแบบสร้างสรรค์ อุปกรณ์ประกอบการแสดงอย่างงา่ ย ๆ - เครอ่ื งแต่งกาย - อุปกรณ์ ฉากประกอบการแสดง 3. แสดงนาฏศิลปแ์ ละละครงา่ ย ๆ • การแสดงนาฏศิลป์และการแสดงละคร - รำวงมาตรฐาน - ระบำ - ฟ้อน - ละครสรา้ งสรรค์ 24

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรบี ุญเรอื ง ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.6 4. บรรยายความรสู้ ึกของตนเองท่มี ตี ่องาน • บทบาทและหน้าที่ในงานนาฏศิลป์และ นาฏศิลป์และการละครอย่างสรา้ งสรรค์ การละคร 5. แสดงความคิดเหน็ ในการชมการแสดง • หลักการชมการแสดง - การวิเคราะห์ - ความรสู้ กึ ชน่ื ชม 6. อธิบายความสมั พนั ธร์ ะหว่างนาฏศิลป์ • องคป์ ระกอบทางนาฏศลิ ป์และการละคร และการละครกับสง่ิ ทป่ี ระสบ ในชีวิตประจำวนั 25

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรยี นเทศบาล 2 ศรบี ญุ เรอื ง สาระท่ี 3 นาฏศลิ ป์ มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ นาฏศิลปท์ ีเ่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปัญญาท้องถิ่นภมู ิปญั ญาไทยและสากล ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ป.1 1. ระบุ และเล่นการละเลน่ ของเด็กไทย • การละเลน่ ของเด็กไทย - วธิ ีการเล่น - กติกา 2. บอกสงิ่ ที่ตนเองชอบในการแสดง • การแสดงนาฏศลิ ป์ นาฏศิลป์ ป.2 1. ระบุและเลน่ การละเลน่ พ้นื บา้ น • การละเล่นพนื้ บ้าน - วิธกี ารเลน่ - กตกิ า 2. เชอ่ื มโยงสิ่งท่ีพบเหน็ ในการละเล่น • ทีม่ าของการละเลน่ พนื้ บ้าน พื้นบ้านกับสง่ิ ท่ีพบเหน็ ในการดำรงชีวติ ของ คนไทย 3. ระบสุ ่งิ ที่ชนื่ ชอบและภาคภมู ิใจ • การละเลน่ พ้นื บ้าน ในการละเล่นพื้นบา้ น ป.3 1. เล่าการแสดงนาฏศิลป์ทเี่ คยเห็น • การแสดงนาฏศิลป์พ้นื บา้ นหรือท้องถ่นิ ในท้องถิน่ ของตน 2. ระบสุ ่งิ ท่เี ป็นลกั ษณะเดน่ และเอกลกั ษณ์ • การแสดงนาฏศลิ ป์ ของการแสดงนาฏศลิ ป์ - ลกั ษณะ - เอกลักษณ์ 3. อธบิ ายความสำคัญของการแสดง • ที่มาของการแสดงนาฏศิลป์ นาฏศลิ ป์ - ส่ิงท่เี คารพ ป.4 1. อธิบายประวตั ิความเป็นมาของ • ความเป็นมาของนาฏศิลป์ นาฏศิลป์ หรอื ชดุ การแสดงอยา่ งง่าย ๆ • ที่มาของชดุ การแสดง 2. เปรียบเทยี บการแสดงนาฏศิลป์ • การชมการแสดง กบั การแสดงท่มี าจากวฒั นธรรมอื่น - นาฏศลิ ป์ - การแสดงของท้องถิ่น 26

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรีบญุ เรือง ชน้ั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.4 3. อธิบายความสำคัญของการแสดงความ • ความเป็นมาของนาฏศิลป์ เคารพในการเรยี นและการแสดงนาฏศิลป์ - การทำความเคารพก่อนเรยี นและ ก่อนแสดง 4. ระบเุ หตุผลทีค่ วรรกั ษา และสืบทอด • ความเปน็ มาของนาฏศิลป์ การแสดงนาฏศลิ ป์ - คณุ ค่า ป.5 1. เปรียบเทยี บการแสดงประเภทตา่ ง ๆ • การแสดงนาฏศิลปป์ ระเภทต่าง ๆ ของไทย ในแต่ละท้องถน่ิ - การแสดงพน้ื บา้ น 2. ระบุหรอื แสดงนาฏศิลป์ นาฏศิลป์ • การแสดงนาฏศลิ ป์ประเภทต่าง ๆ พ้ืนบ้านทส่ี ะท้อนถงึ วฒั นธรรมและ - การแสดงพ้นื บ้าน ประเพณี ป.6 1. อธิบายสงิ่ ที่มีความสำคัญต่อการแสดง • ความหมาย ความเปน็ มา ความสำคัญ นาฏศลิ ปแ์ ละละคร ของนาฏศลิ ป์และละคร - บคุ คลสำคญั - คณุ ค่า 2. ระบุประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับจากการแสดงหรือ • การแสดงนาฏศิลปแ์ ละละคร การชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ในวนั สำคญั ของโรงเรียน 27

เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา กล่มุ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรบี ุญเรือง โครงสร้างเวลาเรยี นหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นเทศบาล 2 ศรีบุญเรือง (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 เวลาเรยี น กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม ระดับประถมศกึ ษา ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 รายวิชาพื้นฐาน 200 200 200 160 160 160 ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160 คณติ ศาสตร์ 80 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 80 80 80 80 80 80 สงั คมศกึ ษา ฯ 40 ประวตั ศิ าสตร์ 80 80 80 80 80 80 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 80 ศลิ ปะ 40 40 40 40 40 80 การงานอาชีพ 80 ภาษาต่างประเทศ 40 40 40 80 80 840 รวมเวลาเรยี นวิชาพืน้ ฐาน รายวชิ าเพ่ิมเตมิ 40 40 40 80 80 40 คอมพิวเตอร์ 40 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 40 40 40 80 80 80 ภาษาตา่ งประเทศ พลศกึ ษา 120 120 120 80 80 40 รวมเวลาเรยี นวชิ าเพ่ิมเตมิ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น 840 840 840 840 840 200 1.กจิ กรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40 2.กจิ กรรมนกั เรยี น 40 40 40 40 40 70 3.กิจกรรมเพื่อสังคม ฯ 80 80 80 80 80 10 120 รวมเวลาเรยี น 40 40 40 40 40 รวมเวลาเรียนทงั้ หมด 200 200 200 200 200 40 40 40 40 40 70 70 70 70 70 10 10 10 10 10 120 120 120 120 120 1,160 ช่ัวโมง/ปี 28

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรบี ุญเรือง โครงสรา้ งเวลาเรียนกลุม่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ ระดับช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 1 - 6 ลำดับ รหสั วชิ า ชอ่ื วิชา / ช้ัน ระดับช้นั เวลาเรยี น / จำนวน สดั ส่วน ที่ เรยี น ชม. หน่วยกติ คะแนน รายวิชาศิลปะพน้ื ฐาน 1 ศ 11101 ศิลปะ 1 1 80 2 70/30 2 ศ 12101 ศิลปะ 2 2 80 2 70/30 3 ศ 13101 ศลิ ปะ 3 3 80 2 70/30 4 ศ 14101 ศิลปะ 4 4 80 2 70/30 5 ศ 15101 ศิลปะ 5 5 80 2 70/30 6 ศ 16101 ศิลปะ 6 6 80 2 70/30 7 ศ 11102 ศิลปะพ้นื ฐาน 1 1 40 1 70/30 8 ศ 12102 ศลิ ปะพนื้ ฐาน 2 2 40 1 70/30 9 ศ 13102 ศลิ ปะพื้นฐาน 3 3 40 1 70/30 29

เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรีบญุ เรอื ง คำอธบิ ายรายวชิ า/โครงสร้างเวลาเรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน 30

เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรบี ญุ เรอื ง คำอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ า ศิลปะ 1 รหสั วชิ า ศ 11101 กลุ่มสาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 เวลาเรียน 80 ชั่วโมง .......................................................................................................................................................... ศึกษาและฝึกปฏิบัติเพื่อให้มีความรู้และความสามารถเกี่ยวกับรูปร่าง รูปทรง และจำแนก ทศั นะธาตขุ องสิ่งตา่ ง ๆ ในธรรมชาตสิ งิ่ แวดลอ้ มและงานทัศนศิลป์ มีทกั ษะพ้นื ฐานการใช้วัสดุอุปกรณ์ใน การสร้างงานทัศนศิลป์อย่างง่าย ๆ ถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกจากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อยู่ รอบตัว สร้างงานทัศนศิลป์ตามที่ตนชื่นชอบ สามารถแสดงเหตุผลและวิธีการในการปรับปรุงงานของ ตนเอง ศึกษาแหล่งกำเนิด และคุณสมบัติของเสียง บทบาทหน้าที่ ความหมาย ความสำคัญของบท เพลงใกล้ตัวทีไ่ ด้ยิน สามารถท่องบทกลอน ร้องเพลง เคาะจังหวะ เคลื่อนไหวร่างกาย ให้สอดคล้องกบั บทเพลง มีส่วนร่วมในกิจกรรมดนตรีอย่างสนุกสนาน และสามารถบอกความเกี่ยวข้องของเพลงที่ใช้ ในชีวิตประจำวนั มีความเข้าใจเอกลกั ษณข์ องดนตรีในท้องถน่ิ ศึกษาเพื่อให้มีความรู้พื้นฐานนาฏศิลป์เบื้องต้น สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ สามารถแสดงท่าทางประกอบจังหวะเพลง มีมารยาทในการชมการแสดง รู้หน้าที่ของผู้ชมที่ ดี ร้จู กั การละเลน่ ของเด็กไทยและบอกสิ่งทีต่ นเองชอบในการแสดงนาฏศลิ ป์ รหสั ตัวชี้วัด ศ 1.1 ป.1/1 ป.1/2 ป.1/3 ป.1/4 ป.1/5 ป.1/3 ป.1/4 ป.1/5 ศ 1.2 ป.1/1 ป.1/3 ตัวชี้วดั ศ 2.1 ป.1/1 ป.1/2 ศ 2.2 ป.1/1 ป.1/2 ศ 3.1 ป.1/1 ป.1/2 ศ 3.2 ป.1/1 ป.1/2 รวมท้ังหมด 18 31

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรยี นร้ศู ิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรบี ุญเรอื ง โครงสรา้ งรายวิชาพ้ืนฐาน รายวชิ า ศลิ ปะ 1 รหสั วชิ า ศ 11101 กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ เวลาเรียน 40 ชั่วโมง ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรียนที่ 1 หนว่ ยที่ มาตรฐาน ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรู้ นำ้ หนกั นำ้ หนกั ชื่อหน่วย เวลาเรียน คะแนน ศ 1.1 สร้างสรรคง์ าน ป.1/1 ระบงุ าน • รูปรา่ งลักษณะ 1 ทศั นศลิ ปต์ าม ทัศนศิลปใ์ น และขนาดของส่งิ ต่าง 10 10 พื้นฐานงาน จนิ ตนาการ และ ชีวิตประจำวัน ๆ รอบตวั ใน ความคิดสร้างสรรค์ ป.1/2 บอก ธรรมชาตแิ ละส่ิงท่ี ศิลป์ วเิ คราะห์ วิพากษ์ ความรสู้ กึ ทีม่ ีตอ่ มนษุ ย์สร้างขึน้ วิจารณ์คุณค่างาน ธรรมชาติและ ทศั นศลิ ป์ ถ่ายทอด ส่งิ แวดล้อม • ความรสู้ กึ ท่มี ีตอ่ ความรู้สกึ ความคิด รอบตัว ธรรมชาตแิ ละ ต่องานศลิ ปะอย่าง ป.1/3 มที ักษะ สิ่งแวดล้อมรอบตวั อสิ ระ ช่ืนชม และ พ้นื ฐานในการใช้ เช่น รูส้ กึ ประทบั ใจ ประยกุ ตใ์ ชใ้ น วัสดุ อุปกรณ์ กบั ความงาม ของ ชวี ติ ประจำวัน สรา้ งงาน บรเิ วณรอบอาคาร ทศั นศิลป์ เรยี น หรือรู้สกึ ถงึ ป.1/5 วาดภาพ ความไมเ่ ป็นระเบียบ ระบายสีภาพ ของสภาพภายใน ธรรมชาตติ าม หอ้ งเรียน ความรู้สกึ ของ ตนเอง • การวาดภาพ ระบายสตี าม ความรู้สกึ ของตนเอง 32

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา กล่มุ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ พ.ศ. 2564 โรงเรยี นเทศบาล 2 ศรบี ญุ เรอื ง หนว่ ยท่ี มาตรฐาน ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้ นำ้ หนัก นำ้ หนกั ชื่อหน่วย เวลาเรียน คะแนน ศ 1.1 สร้างสรรค์งาน ป.1/3 มที ักษะ • การใชว้ สั ดุ 2 ทัศนศลิ ปต์ าม พ้ืนฐานในการใช้ อุปกรณ์ เชน่ 10 15 สนุกกบั การ จินตนาการ และ วสั ดุ อปุ กรณ์ ดนิ เหนียว ดนิ ทดลองสี ความคดิ สร้างสรรค์ สรา้ งงาน น้ำมัน ดินสอ พู่กัน วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ ทศั นศลิ ป์ กระดาษ สีเทียน สี วจิ ารณค์ ุณคา่ งาน ป.1/4 สร้างงาน นำ้ ดินสอสีสรา้ งงาน ทศั นศลิ ป์ ถา่ ยทอด ทัศนศิลปโ์ ดยการ ทัศนศลิ ป์ ความรู้สึก ความคดิ ทดลองใช้สีดว้ ย • การทดลองสีดว้ ย ตอ่ งานศลิ ปะอย่าง เทคนคิ ง่าย ๆ การใชส้ ีนำ้ สี อิสระ ชืน่ ชม และ โปสเตอร์ สเี ทียน ประยกุ ต์ใชใ้ น และสจี ากธรรมชาติท่ี ชีวติ ประจำวนั หาได้ในท้องถิน่ 1 ศ 2.1 เข้าใจแล ป.1/1 รู้วา่ ส่ิงต่าง • เสียงแต่ละเสียงจะ 4 5 กำเนิดเสียง แสดงออก ทางดนตรี ๆ สามารถ มีลักษณะที่แตกต่าง อย่างสร้าง สรรค์ กอ่ กำเนิดเสียงที่ กนั ไปตาม วิเคราะห์ วพิ ากษ์ แตกต่างกัน แหล่งกำเนดิ เสียง ทำ วจิ ารณค์ ุณค่าดนตรี ให้เกดิ สีสันของเสยี ง ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ท่ผี สมกลมกลืนกนั ความคดิ ต่อดนตรีอย่าง อิสระ ชืน่ ชม และ ประยกุ ต์ ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน 33

เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา กลุม่ สาระการเรยี นร้ศู ิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรีบุญเรือง หนว่ ยที่ มาตรฐาน ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้ น้ำหนกั น้ำหนกั ช่ือหน่วย เวลาเรียน คะแนน 2 เสยี งดนตรี ศ 2.1 เข้าใจและแสดง ป.1/2 บอก • เสยี งมีความดงั - 4 5 ออกทางดนตรีอย่าง ลักษณะของเสยี ง เบา และความชา้ -เร็ว 3 สร้างสรรค์ วิเคราะห์ ดงั -เบา และความ ของจงั หวะ ซงึ่ เปน็ ทอ่ งกลอน วพิ ากษ์วิจารณ์คณุ ค่า ช้า- เรว็ ของ คณุ ลกั ษณะของเสยี ง รอ้ งเพลง ดนตรีถา่ ยทอด จงั หวะ ท่ีจะพฒั นานำไปสู่ ความรสู้ ึก ความคิดตอ่ การเล่นดนตรี และ ดนตรีอยา่ งอสิ ระ ชนื่ การขับร้องเพลง ชม และประยุกตใ์ ช้ ใน ชีวิตประจำวนั ศ 2.1 เขา้ ใจและ ป.1/3 ท่องบท • การอ่านบทกลอน 4 5 แสดงออกทางดนตรี กลอน ร้องเพลง และเน้ือเพลงที่ อยา่ งสร้างสรรค์ งา่ ย ๆ ถกู ต้องจะชว่ ยให้ผู้ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ เรยี นร้เู กีย่ วกับจังหวะ วิจารณค์ ณุ ค่าดนตรี ซึ่งเป็นพืน้ ฐานสำคัญ ถา่ ยทอดความรู้สกึ ในการขบั ร้องเพลง ความคิดต่อดนตรีอย่าง อิสระ ชืน่ ชม และ ประยุกตใ์ ช้ ใน ชวี ติ ประจำวัน 4 ศ 2.1 เข้าใจและ ป.1/4 มีสว่ นรว่ ม • การปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 4 5 ร้องเต้น แสดงออกทางดนตรี ในกิจกรรมดนตรี ทางดนตรีทำให้เกดิ ประกอบเพลง อย่างสรา้ งสรรค์ อยา่ งสนกุ สนาน ความสนกุ สนาน วิเคราะห์ วิพากษ์ เพลดิ เพลินและมี วิจารณ์คณุ ค่าดนตรี ความสุข ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคิดต่อดนตรีอย่าง อสิ ระ ชื่นชม และ ประยกุ ต์ใช้ ใน ชีวิตประจำวนั 34

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา กลุ่มสาระการเรยี นร้ศู ิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรีบุญเรือง หนว่ ยท่ี มาตรฐาน ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้ น้ำหนัก นำ้ หนกั ชื่อหน่วย เวลาเรยี น คะแนน 5 ศ 2.1 เข้าใจและ ป.1/5 บอกความ •บทเพลงมีส่วน 45 เพลงใน แสดงออกทางดนตรี เกีย่ วขอ้ งของ เก่ียวข้องกับชีวิต ชีวิตประจำวนั อย่างสรา้ งสรรค์ เพลงทีใ่ ชใ้ น ประจำวนั ของคนเรา วิเคราะห์ วพิ ากษ์ ชีวติ ประจำวนั และบางเพลงมีคุณค่า วิจารณ์คณุ ค่าดนตรี ทางวฒั นธรรมควรค่า ถ่ายทอดความรู้สึก แก่การอนุรกั ษ์ไว้ ความคิดต่อดนตรีอยา่ ง อิสระ ชื่นชม และ ประยุกตใ์ ช้ ใน ชวี ิตประจำวัน รวม 40 50 35

เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ พ.ศ. 2564 โรงเรยี นเทศบาล 2 ศรีบุญเรือง โครงสร้างรายวชิ า รายวชิ า ศลิ ปะ 1 รหสั วชิ า ศ 11101 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ เวลาเรียน 40 ช่ัวโมง ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2 หนว่ ยที่ มาตรฐาน ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้ นำ้ หนกั น้ำหนัก เวลาเรียน คะแนน ชอ่ื หน่วย ป.1/2 บอก • ความรูส้ ึกท่มี ีต่อ ความรูส้ กึ ทม่ี ี ธรรมชาติและ 7 10 3 ศ 1.1 สรา้ งสรรค์งาน ตอ่ ธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อมรอบตัว และ เช่น รูส้ กึ ประทบั ศิลปะกับ ทศั นศลิ ป์ตามจนิ ตนาการ สง่ิ แวดลอ้ ม ใจกบั ความงาม รอบตวั ของบริเวณรอบ ธรรมชาตแิ ละ และความคดิ สร้างสรรค์ ป.1/5 วาด อาคารเรียน หรอื ภาพระบายสี รสู้ ึกถึงความไม่เป็น สิ่งแวดล้อม วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ ภาพธรรมชาติ ระเบยี บ ของสภาพ ตามความรูส้ ึก ภายในห้องเรียน คณุ ค่างานทศั นศลิ ป์ ของตนเอง • การวาดภาพตาม ความรู้สึกของ ถ่ายทอดความรู้สกึ ตนเอง ความคดิ ต่องานศิลปะ อย่างอสิ ระ ชนื่ ชม และ ประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจำวัน 4 ศ. 1.2 เข้าใจความสมั พนั ธ์ ป.1/1 ระบุ • งานทศั นศิลป์ใน 8 5 ศิลป์ ระหวา่ งทศั นศิลป์ งานทศั นศิลป์ ชีวติ ประจำวัน สรา้ งสรรค์ ประวัติศาสตร์และ ใน วัฒนธรรม เหน็ คุณค่างาน ชีวิตประจำวนั ทศั นศิลปท์ ีเ่ ป็นมรดกทาง วัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญา ทอ้ งถ่ิน ภูมปิ ญั ญาไทยและ สากล 36

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรบี ุญเรือง หนว่ ยที่ มาตรฐาน ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรู้ นำ้ หนกั น้ำหนกั เวลาเรียน คะแนน ชือ่ หน่วย ป.1/1 ระบุ • งานทศั นศิลป์ใน งานทศั นศลิ ป์ ชวี ติ ประจำวนั 5 5 4 ศ 1.2 เขา้ ใจความสมั พันธ์ ใน ชีวิตประจำวนั งานศิลปะใน ระหวา่ งทัศนศิลป์ ชวี ติ ประจำวัน ประวตั ิศาสตร์ และ วฒั นธรรม เหน็ คุณค่างาน ทัศนศิลป์ ท่ีเปน็ มรดกทาง วัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน ภูมปิ ญั ญาไทย และสากล 5 ศ 2.2 เขา้ ใจความสัมพันธ์ ป1/1เลา่ ถึง •เพลงพ้ืนเมืองเป็น 4 5 บทเพลง ระหว่างดนตรี เพลงในท้อง เพลงท่คี นใน ท้องถิ่น ประวัตศิ าสตร์ และ ถ่ิน ท้องถิน่ สร้างสรรค์ วฒั นธรรม เหน็ คณุ ค่าของ ป1/2 ระบุสิ่ง ข้นึ มา มีเอกลักษณ์ ดนตรที ่ี เปน็ มรดกทาง ทีช่ น่ื ชอบใน ทแ่ี ตกตา่ งกนั ไป วฒั นธรรม ภูมิปัญญา ดนตรที ้องถน่ิ ตามท้องถน่ิ มี ท้องถิน่ ภูมิปัญญาไทยและ คุณค่าทาง สากล วฒั นธรรมควรคา่ แกก่ ารอนรุ กั ษไ์ ว้ 6 ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออก ป1/1 •การเคลื่อนไหว 4 5 การแสดง ทางนาฏศิลปอ์ ย่าง เลยี นแบบการ เลยี นแบบส่งิ ตา่ งๆ บทบาทสมมุติ สร้างสรรค์ วิเคราะห์ เคล่ือนไหว เป็นพนื้ ฐานการฝกึ วพิ ากษว์ ิจารณ์คุณค่า แสดงละครและ นาฏศิลป์ถ่ายทอดความรูส้ ึก นาฏศลิ ป์ ความคิดอย่างอสิ ระ ช่นื ชม และประยุกต์ใชใ้ น ชวี ติ ประจำวัน 37

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรยี นเทศบาล 2 ศรีบญุ เรอื ง หน่วยท่ี มาตรฐาน ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้ น้ำหนัก นำ้ หนกั ชือ่ หน่วย เวลาเรียน คะแนน ศ 3.1 เขา้ ใจ และ ป1/2 แสดง •ภาษาท่า เป็น 7 ทักษะพ้ืนฐานใน 4 5 ภาษาทา่ การฝกึ การแสดง แสดงออกทางนาฏศลิ ป์ ทา่ ทางง่าย ๆ นาฏศิลปแ์ ละการ แสดงละคร เพ่อื ใช้ อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ เพื่อสื่อ บอกอารมณ์ ความร้สู กึ หรือการ วิพากษว์ จิ ารณ์คุณคา่ ความหมาย กระทำของ นาฏศิลปถ์ า่ ยทอดความร้สู ึก แทนคำพดู ความคดิ อย่างอสิ ระ ชน่ื ชม และประยุกตใ์ ชใ้ น ชีวติ ประจำวนั 8 ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ ป1/1 •การละเล่นของ 4 5 การละเล่น ระหว่างนาฏศลิ ป์ เลยี นแบบการ เด็กไทย มวี ธิ ีเลน่ ของเด็กไทย ประวตั ศิ าสตร์และ เคล่อื นไหว และกติกาการเล่นท่ี วฒั นธรรม เหน็ คุณคา่ ของนาฏศิลป์ทเี่ ป็นมรดก แตกตา่ งกัน ซงึ่ เปน็ ทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญา กจิ กรรมท่ีให้ ทอ้ งถนิ่ ภูมปิ ัญญาไทยและ ประโยชน์ทงั้ ความ สากล สนุกสนาน เพลิดเพลิน และ แสดงถงึ เอกลกั ษณ์ ของความเปน็ ไทย 38

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรบี ุญเรอื ง หนว่ ยที่ มาตรฐาน ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรู้ น้ำหนัก นำ้ หนกั เวลาเรียน คะแนน ชอ่ื หน่วย 4 10 9 ศ 3.2เข้าใจความสัมพนั ธ์ ป1/2 แสดง •การชมการแสดง การชมการ ระหว่างนาฏศิลป์ ทา่ ทางง่าย ๆ นาฏศิลป์ ผู้ชมทีด่ ี 40 50 แสดงและ ประวัติศาสตรแ์ ละ เพื่อสื่อ ต้อง มมี ารยาทใน นาฏศิลป์ไทย วัฒนธรรม เหน็ คุณคา่ ความหมาย การชม และต้งั ใจ ของนาฏศิลป์ทเ่ี ปน็ มรดก แทนคำพดู ชมอยา่ งมสี มาธิ ทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญา ป1/3บอกส่งิ ท่ี ท้องถ่นิ ภมู ปิ ญั ญาไทยและ ตนเองชอบ สากล จากการดหู รือ ศ 3.1เข้าใจ และแสดงออก ร่วมการแสดง ทางนาฏศิลปอ์ ย่าง สรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า นาฏศิลป์ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอสิ ระ ชื่นชม และประยุกต์ใชใ้ น ชีวิตประจำวัน รวม 39

เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรบี ญุ เรือง รายวชิ า ศลิ ปะ 2 คำอธบิ ายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 2 รหัสวิชา ศ 12101 เวลาเรียน 80 ช่ัวโมง ศึกษา อภิปราย บรรยาย ฝึกปฏิบัติ อธิบาย รูปร่าง รูปทรงที่พบในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทัศนะธาตทุ ่ีอยูใ่ นสิ่งแวดล้อมโดยเนน้ เร่อื ง เสน้ สี รปู รา่ ง และรูปทรงการสร้างงานทัศนศิลปโ์ ดยใช้ทัศนะ ธาตุที่เนน้ เสน้ รูปร่างการวาดภาพเพื่อถ่ายทอดเร่ืองราวเก่ียวกับครอบครวั ของตนเองและเพ่ือนบ้านการ บรรยายถึงส่ิงทม่ี องเห็น เน้ือหาเรอื่ งราวจากงานทัศนศลิ ป์ทเ่ี ลือก การใช้วัสดุอุปกรณส์ ร้างงานทัศนศิลป์ 3 มิติ การสร้างภาพปะติดโดยการตัดหรือฉีกกระดาษการสร้างสรรค์งานโครงสร้างเคลื่อนไหว ความสำคัญของงานทัศนศิลป์ที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน วิธีการสร้างงานและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในงาน ทัศนศิลป์ท้องถิ่น แหล่งกำเนิดของเสียงที่ได้ยินคุณสมบัติของเสียงสูง-ต่ำ ดัง-เบา ยาว-สั้น ของดนตรี การเคาะจงั หวะหรือเคลื่อนไหวรา่ งกายให้สอดคล้องกบั เนื้อหาของเพลง การรอ้ งเพลงง่ายๆ ท่ีเหมาะสม กับวัย ความหมายและความสำคัญของเพลงปลุกใจและเพลงสอนใจความสัมพันธ์ของเสียงร้อง เสี ยง เครื่องดนตรใี นเพลงทอ้ งถน่ิ การแสดงและเข้ารว่ มกิจกรรมทางดนตรีทอ้ งถน่ิ การเคลอื่ นไหวขณะอยู่กับ ที่และเคลื่อนที่ การเคลื่อนไหวที่สะท้อนอารมณ์ของตนเองอย่างอิสระ การแสดงท่าทางเพื่อส่ือ ความหมายแทนคำพูดการแสดงท่าทางประกอบจังหวะอย่างสร้างสรรค์ มารยาทในการชมการแสดง การละเล่นพื้นบ้านสิ่งที่พบเห็นในการละเล่นพื้นบ้านในการดำรงชีวิตของคนไทย สิ่งที่ชื่นชอบและ ภาคภมู ิใจในการละเล่นพน้ื บ้านโดยใช้ทักษะกระบวนการทางทศั นศิลป์ ดนตรแี ละนาฏศิลป์ในการสร้าง และนำเสนอผลงานทัศนศิลป์ ในการแสดงออกทางดนตรีและนาฏศิลป์อยา่ งสร้างสรรค์การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ที่เหมาะสม การวิเคราะห์ การวิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์เพื่อให้เห็นคุณค่างาน ทัศนศิลป์ ดนตรีและนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นภูมิปัญญาไทยและ เข้าใจ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งทัศนศิลป์ ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม นำความรู้ไปประยุกตใ์ ช้ ในชวี ิตประจำวนั มจี ริยธรรม คณุ ธรรมและค่านยิ มทเ่ี หมาะสม รหัสตัวชี้วัด ศ 1.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7, ป.2/8 ศ 1.2 ป.2/1, ป.2/2 ศ 2.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5 ศ 2.2 ป.2/1, ป.2/2 ศ 3.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5 ศ 3.2 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3 รวม 26 รหัสตวั ชี้วัด 40

เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา กลุม่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรีบญุ เรอื ง โครงสร้างรายวิชา รายวชิ า ศิลปะ 2 รหสั วิชา ศ 12101 กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ เวลาเรยี น 40 ชั่วโมง ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 หนว่ ยท่ี มาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ นำ้ หนัก นำ้ หนกั ชือ่ หน่วย เวลา คะแนน ศ1.1 สร้างสรรค์งาน ป. 2/1 บรรยาย • รปู รา่ ง รูปทรงใน เรยี น 1 ธรรมชาติและ 15 ทศั นะธาตุ สิ่งแวดล้อม เช่น รปู 12 กับงาน กลม รี สามเหลยี่ ม ทศั นศิลป์ ทัศนศิลปต์ ามจินตนาการ รูปร่าง รูปทรงท่ี สีเ่ หลี่ยมและกระบอก • เสน้ สี รูปร่าง และความคิดสร้างสรรค์ พบในธรรมชาติและ รปู ทรงในสง่ิ แวดลอ้ ม และงาน วิเคราะห์ วพิ ากษ์ สิ่งแวดล้อม ทัศนศลิ ปป์ ระเภทต่าง ๆ เช่น งานวาด งาน วิจารณค์ ุณคา่ งาน ป. 2/2 ระบุทศั นะ ปัน้ และงานพมิ พภ์ าพ • เสน้ รูปร่างในงาน ทัศนศิลป์ ถา่ ยทอด ธาตุทอ่ี ยู่ใน ทัศนศลิ ปป์ ระเภทตา่ ง ๆ เช่น งานวาด งาน ความร้สู ึก ความคิดต่อ สงิ่ แวดล้อมและงาน ป้ัน และงานพิมพ์ภาพ • การใช้วัสดุ อุปกรณ์ งานศิลปะอย่างอสิ ระ ทศั นศิลป์ โดยเนน้ สรา้ งงานทศั นศลิ ป์ 3 มิติ ช่ืนชม และประยกุ ต์ใช้ใน เรื่องเสน้ สี รูปร่าง • ภาพปะตดิ จาก กระดาษ ชีวิตประจำวนั และรูปทรง ป. 2/3 สรา้ งงาน ทัศนศลิ ปต์ า่ ง ๆ โดยใช้ทศั นธาตุท่ี เนน้ เส้น รปู ร่าง ป. 2/4 มีทกั ษะ พื้นฐานในการใช้ วสั ดุ อุปกรณ์ สรา้ งงานทัศนศิลป์ 3 มติ ิ ป. 2/5 สรา้ งภาพ ปะติดโดยการตัด หรือฉีกกระดาษ 41

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรีบญุ เรือง หนว่ ยท่ี มาตรฐาน ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรู้ นำ้ หนกั น้ำหนกั ชอ่ื หน่วย เวลา คะแนน • การวาดภาพถา่ ย เรียน 2 ศ 1.1 สร้างสรรคง์ าน ป. 2/6 วาดภาพ ทอดเรื่องราว 10 วาดภาพ • เนอื้ หาเรื่องราวใน 8 เลา่ เร่ือง งานทัศนศิลป์ ทศั นศิลป์ตามจนิ ตนาการ เพื่อถ่ายทอด และความคดิ สร้างสรรค์ เรอื่ งราวเกย่ี วกบั วิเคราะห์ วิพากษ์ ครอบครัวของ วจิ ารณค์ ณุ ค่างาน ตนเองและ เพ่ือน ทศั นศิลป์ ถา่ ยทอด บ้าน ความร้สู กึ ความคิดต่อ ป. 2/7 เลือกงาน งานศลิ ปะอย่างอสิ ระ ชืน่ ทัศนศลิ ปแ์ ละ ชม และประยกุ ต์ใชใ้ น บรรยายถึงสงิ่ ที่ ชีวติ ประจำวัน มองเหน็ รวมถงึ เนือ้ หาเร่ืองราว 1 ศ 2.1 เข้าใจและ ป. 2/1จำแนก • เสียงมคี วาม 4 5 เสยี งและ แสดงออกทางดนตรี แหล่งกำเนิด ของ แตกต่างกนั หรือ คณุ สมบตั ิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ เสียงท่ไี ด้ยิน คล้ายคลงึ กนั ตาม ของเสียง วิเคราะหว์ พิ ากษ์ ป. 2/2 จำแนก แหล่งกำเนิดของเสยี ง คณุ สมบัติของเสยี ง และเสียงสูง-ต่ำ ดงั - วจิ ารณค์ ณุ ค่าดนตรี สงู - ตำ่ , ดงั -เบา เบา ยาว-ส้ันของ ถ่ายทอดความรู้สึก ยาว-สั้น ของดนตรี ดนตรี ทำใหเ้ กิดสีสัน ความคดิ ต่อดนตรีอยา่ ง ของเสียงตาม อิสระ ช่ืนชม และ คณุ สมบัติของ ประยุกต์ใช้ใน เสียงดนตรี ชวี ิตประจำวนั 42

เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรบี ุญเรือง หนว่ ยที่ มาตรฐาน ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรู้ นำ้ หนกั นำ้ หนกั ชื่อหน่วย เวลา คะแนน ป.2/3 เคาะจังหวะ • การเล่นเคร่อื ง เรยี น 2 ศ 2.1เขา้ ใจและ หรือเคลอื่ นไหว ดนตรีประกอบเพลง 5 สนกุ กบั แสดงออกทางดนตรี ร่างกาย ให้ จะต้องเล่นใหถ้ ูกตอ้ ง 4 ดนตรี อย่างสรา้ งสรรค์ สอดคล้องกับเนื้อหา ตามจงั หวะและ วเิ คราะหว์ พิ ากษ์ ของเพลง ทำนองเพลง จงึ จะเกดิ วจิ ารณ์คณุ ค่าดนตรี ความไพเราะและการ ถา่ ยทอดความรู้สกึ เคลอื่ นไหวรา่ งกาย ความคดิ ต่อดนตรีอย่าง ประกอบเพลงจะต้อง อสิ ระ ชนื่ ชม และ สอดคลอ้ งกับจงั หวะ ประยุกต์ใช้ใน และเน้อื หาของเพลง ชวี ติ ประจำวัน 3 ศ 2.1เขา้ ใจและ ป.2/4รอ้ งเพลงง่าย การขบั ร้องเพลงไทย 4 5 เพลง แสดงออกทางดนตรี ๆ ทีเ่ หมาะสมกับวยั และเพลงไทยสากล ไพเราะ อยา่ งสรา้ งสรรค์ จะตอ้ งขบั รอ้ งให้ วเิ คราะหว์ พิ ากษ์ สอดคลอ้ งกบั จงั หวะ วจิ ารณค์ ณุ ค่าดนตรี ทำนองเพลง จึงจะ ถา่ ยทอดความรู้สกึ ไพเราะและนา่ ฟัง ความคิดต่อดนตรีอยา่ ง ส่วนเพลงปลกุ ใจและ อสิ ระ ช่ืนชม และ เพลงสอนใจ เปน็ เพลง ประยกุ ต์ใช้ใน ทีม่ คี วามหมายและ ชีวิตประจำวัน ความสำคญั รวมท้งั มี คติสอนใจ 43

เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะ พ.ศ. 2564 โรงเรยี นเทศบาล 2 ศรีบุญเรือง หน่วยท่ี มาตรฐาน ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรู้ นำ้ หนัก น้ำหนกั ชื่อหน่วย เวลา คะแนน ป.2/5 บอก บทเพลงในท้องถน่ิ มี เรียน 4 ศ 2.2 เขา้ ใจ ความหมายและ เอกลกั ษณ์เฉพาะตัว 5 ลกั ษณะ ความสัมพันธร์ ะหว่าง ความสำคัญ ทง้ั เสยี งรอ้ งและเสียง 4 เพลง ดนตรี ประวตั ศิ าสตร์ ของเพลงท่ีได้ยิน เครอ่ื งดนตรีทแี่ ตกต่าง ทอ้ งถิ่น และวฒั นธรรม เหน็ กันไปตามสภาพทาง คุณคา่ วฒั นธรรม ประเพณี 5 ของดนตรีทเ่ี ป็นมรดก และวิถีชีวิตของคนใน ดนตรีกบั ทางวฒั นธรรม ภูมิ ท้องถิ่น กิจกรรม ปัญญาท้องถนิ่ ภมู ิ ในวนั ปัญญาไทยและสากล ป.2/2 จำแนก การจดั กิจกรรมในวัน 4 5 สำคญั คุณสมบัติของเสยี ง สำคัญของโรงเรียน ศ 2.2 เขา้ ใจ สงู - ตำ่ , ดงั -เบา และวันสำคัญของชาติ ความสัมพันธ์ระหว่าง ยาว-สั้น ของดนตรี นนั้ มักใชด้ นตรีเข้าไป ดนตรี ประวตั ศิ าสตร์ เป็นสว่ นร่วมของงาน และวฒั นธรรม เหน็ คุณคา่ ของดนตรีทเ่ี ป็นมรดก ทางวัฒนธรรม ภมู ิ ปญั ญาท้องถิ่น ภมู ิ ปัญญาไทยและสากล รวม 40 50 44

เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรยี นเทศบาล 2 ศรบี ุญเรอื ง รายวิชา ศิลปะ 2 โครงสร้างรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 รหสั วิชา ศ 12101 เวลาเรยี น 40 ชว่ั โมง ภาคเรยี นที่ 2 หนว่ ยท่ี มาตรฐาน ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้ น้ำหนกั น้ำหนัก ชอ่ื หน่วย ศ 1.1 สร้างสรรค์ เวลาเรียน คะแนน 3 งานทัศนศลิ ป์ตาม ศิลป์ จนิ ตนาการ และ ป. 2/5 สร้างภาพ •ภาพปะติดจาก 10 10 สรา้ งสรรค์ ความคดิ สร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ ปะตดิ โดยการตัด กระดาษ วจิ ารณ์คณุ คา่ งาน หรือฉีกกระดาษ ทศั นศลิ ป์ ถ่ายทอด ป. 2/7 เลือกงาน • เน้อื หาเร่อื งราว ความรู้สกึ ความคิด ทัศนศลิ ปแ์ ละ ในงานทศั นศิลป์ ตอ่ งานศิลปะอยา่ ง อิสระ ช่นื ชม และ บรรยายถงึ สิ่งที่ ประยกุ ตใ์ ช้ใน ชีวิตประจำวัน มองเห็น รวมถึง เนอ้ื หาเรื่องราว 4 ศ 1.1 สร้างสรรค์งาน ป. 2/8 สร้างสรรค์ • งานโครงสรา้ ง 5 8 โมบายหรรษา ทัศนศลิ ป์ตาม งานทศั นศลิ ป์เป็น เคล่ือนไหว จินตนาการ และ รูปแบบงาน ความคดิ สร้างสรรค์ โครงสรา้ ง วิเคราะห์ วิพากษ์ เคลอ่ื นไหว วจิ ารณ์คณุ คา่ งาน ทศั นศลิ ป์ ถา่ ยทอด ความรู้สึก ความคิด ต่องานศลิ ปะอยา่ ง อิสระ ชนื่ ชม และ ประยุกตใ์ ชใ้ น ชวี ติ ประจำวัน 45

เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรียนเทศบาล 2 ศรบี ญุ เรือง หนว่ ยที่ มาตรฐาน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้ น้ำหนกั นำ้ หนัก เวลาเรียน คะแนน ช่อื หน่วย 57 4 ศ. 1.2เขา้ ใจ ป. 2/1 บอก • ความสำคัญ ความสำคัญของงาน ของงานทัศนศลิ ป์ งานศลิ ปะใน ความสัมพนั ธ์ระหว่าง ทศั นศิลป์ท่ีพบเหน็ ในชีวติ ประจำวนั ในชีวติ ประจำวนั • งานทศั นศิลป์ ชีวติ ประจำวัน ทัศนศิลป์ ป. 2/2 อภิปราย ในท้องถน่ิ เก่ียวกบั งาน ประวัตศิ าสตร์ และ ทัศนศิลป์ประเภท ต่าง ๆ ในทอ้ งถน่ิ วฒั นธรรม เห็นคุณคา่ โดยเน้นถึงวิธกี าร สร้างงาน และวสั ดุ งานทัศนศิลป์ท่ีเปน็ อปุ กรณ์ทีใ่ ช้ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ ภมู ิ ปัญญาไทยและสากล 6 ศ 3.1เขา้ ใจ และ ป.2/1เคล่อื นไหว • การเคลื่อนไหว 5 10 การ แสดงออกทาง ขณะอยกู่ ับทีแ่ ละ ขณะอยูก่ ับท่แี ละ เคลื่อนไหว นาฏศลิ ป์อยา่ ง เคลอ่ื นที่ เคล่อื นท่เี ปน็ เบอ้ื งต้น สร้างสรรค์ วิเคราะห์ ป.2/2 แสดงการ ทกั ษะเบื้องต้น วิพากษ์วจิ ารณ์ เคลอื่ นไหวท่ี ของการแสดง คณุ คา่ นาฏศิลป์ สะท้อนอารมณข์ อง นาฏศิลป์ ซง่ึ การ ถา่ ยทอดความร้สู กึ ตนเองอย่างอสิ ระ เคลื่อนไหวเป็น ความคิดอยา่ งอิสระ การสะท้อน ชื่นชม และประยุกต์ใช้ อารมณ์ของตน ในชีวิตประจำวัน อยา่ งอิสระ 46

เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ พ.ศ. 2564 โรงเรยี นเทศบาล 2 ศรีบญุ เรือง หน่วยท่ี มาตรฐาน ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรู้ นำ้ หนกั น้ำหนัก ชื่อหน่วย เวลาเรยี น คะแนน ศ 3.1เขา้ ใจ และ ป.2/3 แสดงท่าทาง • ภาษาทา่ และ 7 แสดงออกทาง เพ่อื ส่ือความหมาย นาฏยศัพท์ เปน็ 5 5 ภาษาทา่ และ นาฏศิลปอ์ ยา่ ง แทนคำพูด ทกั ษะพ้นื ฐานใน นาฏยศพั ท์ สรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ ป.2/4 แสดงทา่ ทาง การแสดง วิพากษ์วจิ ารณ์ ประกอบจังหวะ นาฏศลิ ปไ์ ทย คุณค่านาฏศิลป์ อย่างสร้างสรรค์ และการละคร จึง ถ่ายทอดความรู้สึก ต้องฝึกให้มีความ ความคิดอย่างอิสระ ออ่ นชอ้ ย ชื่นชม และประยกุ ต์ใช้ สวยงาม ในชีวติ ประจำวนั 8 ศ 3.1เข้าใจ และ ป.2/5 ระบมุ ารยาท • การชมการ 5 5 การชมการ แสดงออกทาง ในการชมการแสดง แสดงท่ดี ี ผู้ชม แสดง นาฏศิลป์อย่าง จะตอ้ งมหี ลักการ สร้างสรรค์ วเิ คราะห์ ชมทถ่ี ูกต้อง วิพากษว์ จิ ารณ์ รวมท้งั แสดงออก คุณค่านาฏศลิ ป์ และปฏิบตั ิอย่าง ถ่ายทอดความรู้สึก เหมาะสม ความคิดอยา่ งอสิ ระ ช่ืนชม และประยุกต์ใช้ ในชวี ิตประจำวัน 47


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook