Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักกฎหมายอาญา 1

หลักกฎหมายอาญา 1

Published by dopayut, 2019-01-30 00:00:01

Description: FULL TEXT LAW2006

Keywords: อาญา,กฎหมาย

Search

Read the Text Version

กฎหมายอาญา 1 CRIMINAL LAW I LW 206 ภาควิชากฎหมายวิธีสบญั ญตั ิ คณะนติ ิศาสตร มหาวทิ ยาลยั รามคําแหง รองศาสตราจารยวนิ ยั ล้ําเลศิ

สงวนลขิ สิทธิ์ ลิขสทิ ธข์ิ องมหาวทิ ยาลัยรามคําแหง พมิ พท ่ี สํานกั พิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง พิมพค ร้งั ที่ 1 (ฉบับปรบั ปรุงใหม) พ.ศ. 2551 จํานวน 20,000 เลม จํานวนหนา 393 หนา ISBN 974-9913-46-9 ปทเ่ี คยพิมพ พ.ศ. 2548 ผจู ัดจาํ หนา ย สาํ นกั พมิ พมหาวิทยาลัยรามคําแหง

หมวด 1 ศกึ ษาบทบญั ญตั หิ ลักการใชและความรบั ผดิ ทางอาญา บทนาํ ความเปนมาของประมวลกฎหมายอาญา ประเทศไทยเปนประเทศท่ีใชประมวลกฎหมาย สําหรับประมวลกฎหมายอาญา พระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมาย พ.ศ. 2499 มาตรา 3 บัญญัติใหใชประมวล กฎหมายอาญาตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2500 เปนตนไป และมาตรา 4 บัญญัติวา “เมื่อ ประมวลกฎหมายอาญาไดใชบงั คับแลว ใหยกเลิกกฎหมายลกั ษณะอาญา” ท่ีตองประกาศใชประมวลกฎหมายอาญาเปนเพราะเหตุวากฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 ไดประกาศใชมานานแลว และไดมีการแกไขเพิ่มเติมอยูหลายแหงกระจัดกระจาย กันอยู จึงเปนการสมควรที่จะไดจัดรวบรวมและนําเขารูปเปนประมวลกฎหมายอาญาใน ฉบับเดียวกัน ประกอบกับเวลาไดลวงเลยมานานสังคมยอมเปล่ียนแปลงไป และเพ่ือให เปนแนวนิยมของนานาประเทศที่ไดมีการปรับปรุงแกไขกฎหมายอาญาเก่ียวกับหลักการ บางอยางและวิธีการลงโทษ จึงเห็นควรใหมีการปรับปรุงแกไขเรื่องวิธีการลงโทษไวใน ประมวลกฎหมายอาญา แตเดิมกอนมีกฎหมายลักษณะอาญาและประมวลกฎหมายอาญา ไดมีกฎหมาย อาญาบญั ญัติไวใ นแผนดินของสมเด็จพระเจาอูทอง เม่ือ พ.ศ. 1895 คือ กฎหมายลักษณะ อาญาหลวง พ.ศ. 1985 และไดมีบทบญั ญัติเพ่มิ เตมิ ตอมาอีกดังน้ี 1. กฎหมายลกั ษณะลักพา พ.ศ. 1895 2. กฎหมายลักษณะโจร พ.ศ. 1903 3. กฎหมายลกั ษณะขบทศกึ พ.ศ. 1978 4. กฎหมายลักษณะกรมศักด์ิ (บทปรับ) พ.ศ. 2136 5. กฎหมายลกั ษณะววิ าท พ.ศ. 2230 LW 206 (ก)

กฎหมายอาญาโบราณเหลาน้ีไดยกเลิกไปเม่ือวันท่ี 1 กันยายน ร.ศ. 127 โดย กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 และกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 ไดถูกยกเลิกไป โดยพระราชบัญญตั ิใหใชป ระมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 ความมุงหมายของกฎหมายอาญา1 กฎหมายอาญานั้นยอมมีความมุงหมาย ท่ัวไปในเบื้องตนเชนเดียวกับกฎหมายอ่ืนที่จะควบคุมความประพฤติของบุคคลใหอยูใน สังคมดวยความเรียบรอย แตกฎหมายอาญายังมีความมุงหมายเฉพาะท่ีจะคุมครองความ ปลอดภัยของสังคมอีกดวย กลาวคือ กฎหมายอาญาทําหนาท่ีรักษาโครงสรางของสังคม ใหม่ันคง และรักษาความสงบสุขใหแกสมาชิกของชุมชนโดนสวนรวม ในการที่จะบรรลุ จดุ มงุ หมายทร่ี ฐั ไดใชโทษอาญาเปนเคร่อื งมือจดั การกับผูกระทาํ ความผดิ สําหรับการพิจารณาวาพฤติกรรมอยางใดควรบัญญัติเปนความผิดและมีโทษหนัก เบาสถานใด กฎหมายอาญาสมัยใหมไดคาํ นึงถึงขอ พิจารณา 2 กรณคี อื 1. สวนไดเสยี สาํ คัญของสงั คมท่จี ะตองรักษาไว 2. ลกั ษณะอันเปน ภัยของผูกระทาํ ความผิด การศึกษากฎหมายอาญา 1. ประมวลกฎหมายอาญา ไดบัญญัตไิ ว 398 มาตรา โดยแบง ออกเปน 3 ภาค คอื ภาค 1 บทบัญญตั ิทวั่ ไป ภาค 2 ความผิด ภาค 3 ลหโุ ทษ ภาค 1 บทบัญญัติท่ัวไป แบงออกเปนบทบัญญัติท่ีใชแกความผิดท่ัวไปและ ความผดิ ลหุโทษ การศึกษาบทบัญญัติในภาคน้ี ยอมจะทําใหไดทราบถึงหลักท่ัวไปของ กฎหมายอาญาวา มอี ยอู ยา งไร ในเร่ืองตาง ๆ ตอไปนีค้ อื 1สงา ลีนะสมิต, ศาสตราจารย, กฎหมายอาญา 1 (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2521), หนา 7-8. (ข) LW 206

1) การใชกฎหมายอาญา ซ่ึงมีปญหาวากําหนดเวลาและสถานท่ีในการใช กฎหมายอาญามอี ยูอยางไร 2) โทษ และวิธีการเพ่ือความปลอดภัย ซึ่งมีปญหาวาโทษและวิธีการเพ่ือ ความปลอดภยั นน้ั มีอยอู ยา งไร วธิ ีเพิ่มโทษ ลดโทษ และรอการลงโทษ มีอยูอ ยา งไร 3) ความรับผิดในทางอาญา ซ่ึงมีปญหาวาอยางไรจึงเรียกวากระทําโดย เจตนา กระทําโดยประมาท กระทําโดยพลาด กระทําโดยสําคัญผิพด ขอแกตัววาไมรู กฎหมาย ความไมสามารถรูผิดชอบ ความมึนเมา กระทําดวยความจําเปน การปองกัน โดยชอบดวยกฎหมาย กระทําตามคําส่ังของเจาพนักงาน ปญหาเกี่ยวกับความสัมพันธ ระหวางสามีภรรยาและญาติ บันดาลโทสะ เด็กกระทําความผิด ผูออนดวยอายุ เหตุบรรเทาโทษ ฯลฯ 4) การพยายามกระทาํ ความผดิ ซ่ึงเปน ปญ หาวา หากการกระทําความผิดมิได สําเร็จลง ผูกระทําจะมคี วามรับผิดเพียงใดหรอื ไม 5) ตวั การผใู ชแ ละผสู นับสนุน ซึ่งเปนปญหาวาหากมีผูกระทําความผิดรวมกัน ใชใหกระทํา หรือสนับสนุนใหผูอื่นกระทําความผิด ฐานะของบุคคลเหลาน้ีจะเหมือนกัน หรือแตกตางกันอยางไรหรือไม ใครเปนตัวการ ผูใชใหกระทําความผิด หรือผูสนับสนุน นอกจากน้ีแลวยังรวมถงึ เหตสุ วนตัวและเหตใุ นลักษณะคดดี วยท่ีจะตองกลา วถงึ 6) การกระทําความผิดหลายบทหรือหลายกระทง ซึ่งมีปญหาวาจะพึงลงโทษ กันอยา งไร 7) การกระทําความผิดอีก ซ่ึงมีปญหาวาจะมีความรับผิดเปล่ียนแปลงไป อยา งไรหรอื ไม 8) อายุความ ซึ่งมีปญหาในเร่ืองการฟองคดีอาญาในการลงโทษ ในการยึด ทรัพยส นิ ใชคา ปรบั หรอื การกกั ขังแทนคาปรบั ในการกักกัน และในเรอ่ื งทณั ฑบน 9) ความผิดลหุโทษ ซึ่งมีปญหาวาเปนความผิดชนิดใด และกฎหมายได กาํ หนดวิธีปฏบิ ัติไวแ ตกตางกบั ความผดิ ธรรมดาอยา งไรหรอื ไม ภาค 2 ความผิด เปนบทบัญญัติท่ีระบุความผิดตาง ๆ ทุกฐานความผิดและ โทษท่ีจะพงึ ลงแกผ ูกระทาํ ความผิด ภาค 3 ลหุโทษ เปน บทบัญญัติท่รี ะบคุ วามผิดลหโุ ทษ คอื ความท่ีมโี ทษเบา LW 206 (ค)

2. ขอบเขตวิชากฎหมายอาญา ตามหลักสูตรนิติศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง ไดแบง วชิ ากฎหมายอาญาออกเปน 3 กระบวนวิชา คือ 1) กฎหมายอาญา 1 (LW 206) ศึกษาในภาค 1 บทบัญญัติท่ัวไป ต้ังแต มาตรา 1 ถึงมาตรา 106 แหงประมวลกฎหมายอาญา รวมทั้งพระราชบัญญัติใหใช ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 2) กฎหมายอาญา 2 (LW 207) ศึกษาในภาค 2 ภาคความผิด ต้ังแตมาตรา 107 ถงึ มาตรา 287 แหง ประมวลกฎหมายอาญา 3) กฎหมายอาญา 3 (LW 301) ศึกษาในภาค 2 ภาคความผิด ตั้งแตมาตรา 288 ถึงมาตรา 366 และภาค 3 ลหุโทษ ตั้งแตมาตรา 367 ถึงมาตรา 398 แหงประมวล กฎหมายอาญา 3. ขอบเขตวิชากฎหมายอาญา 1 (LW 206) กฎหมายอาญา 1 เปนกระบวนวิชา แรกท่ีผศู ึกษาจะตอ งรกู อนท่ีจะไปศกึ ษากระบวนวิชาที่ 2 และท่ี 3 ตอ ไป สําหรับขอบเขตท่ี จะตองศึกษา1 จะตองศึกษาในภาค 1 บทบัญญัติทั่วไป ต้ังแตมาตรา 1 ถึงมาตรา 106 แหง ประมวลกฎหมายอาญา รวมทง้ั พระราชบญั ญตั ใิ หใ ชประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 4. วิธีศึกษากฎหมายอาญา ก. ผูศึกษาจะตองมีประมวลกฎหมายควบคูกับคําบรรยาย เวลาอานคําบรรยาย ที่ใดอางมาตรา ผูศึกษาจะตองเปดประมวลกฎหมายดูขอความในมาตราน้ันดวย เพื่อ ความเขา ใจและจดจาํ ข. เวลาอานคําบรรยายและขอความในมาตรา จะตองอานแลวทําความเขาใจ ใหด ีเสยี กอน อยาใชว ธิ ที องจําโดยไมเ ขา ใจจะไมไ ดผ ล ตองทําความเขาใจแลวจึงคอ ยจําใหได ค. นอกจากจะทําความเขาใจและจดจําแลว จะตองนําไปใชไดดวย กลาวคือ จะตองนําไปปรับกับปญหาท่ีเกิดข้ึนไดทุกกรณี ไมวาจะเปนการตอบปญหาขอสอบไล หรือไปใชแ กขอ เทจ็ จรงิ ทีเ่ กดิ ข้ึนจริง ๆ ก็ตาม 1ดูหวั ขอ เรือ่ งการศกึ ษากฎหมายอาญา ขอ 1. ประมวลกฎหมายอาญา หนา ข. LW 206 (ง)

หมวด 3 วธิ กี ารเพอื่ ความปลอดภัย บทที่ 1 การใชบังคบั วธิ ีการเพือ่ ความปลอดภยั การใชบังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัย บัญญัติไวในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 12 ถงึ 16 มีสาระสําคญั ดังน้ี 1. ตองมีบทบัญญัติแหงกฎหมายใหใชบังคับวิธีการเพ่ือความปลอดภัยได และ กฎหมายที่จะใชบังคับใหใชกฎหมายในขณะที่ศาลพิพากษาคดีน้ัน (ป.อ.มาตรา 12) หมายความวา วิธีการเพ่ือความปลอดภัยที่ศาลจะนํามาใชบังคับแกผูใดตองเปนวิธีการท่ี กฎหมายกําหนดไว และตองใชกฎหมายในขณะท่ีศาลพิพากษาคดี ไมใชกฎหมายในขณะ กระทําความผดิ 2. ถาผูใดถูกใชบังคับวิธีการเพ่ือความปลอดภัยใดอยู และมีกฎหมายบัญญัติขึ้น ใหมใ นภายหลังอยางใดอยา งหนงึ่ ดังตอไปนี้ คือ 2.1 กฎหมายใหมยกเลิกวิธีการเพื่อความปลอดภัยนั้น ก็ใหศาลส่ังระงับการใช บังคับวิธีการเพ่ือความปลอดภัยนั้นเสีย โดยศาลสั่งเอง หรือผูน้ัน ผูแทนโดยชอบธรรม ของผนู ั้น ผูอนบุ าลของผูน น้ั หรอื พนกั งานอยั การรองขอ (ป.อ.มาตรา 13) 2.2 กฎหมายใหมเปล่ียนแปลงเง่ือนไขที่จะส่ังใหมีการใชบังคับวิธีการเพ่ือ ความปลอดภัยน้ันเปนอยางอ่ืน ซ่ึงเปนผลอันไมอาจนํามาใชบังคับแกกรณีของผูนั้นได หรือนํามาใชบังคับได แตการใชบังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยตามบทบัญญัติของ กฎหมายท่ีบัญญัติในภายหลังเปนคุณแกผูนั้นยิ่งกวา เม่ือสํานวนความปรากฏแกศาล หรือเม่ือผูน้ัน ผูแทนโดยชอบธรรมของผูนั้น ผูอนุบาลของผูน้ัน หรือพนักงานอัยการรอง ขอตอศาลใหยกเลิกการใชบังคับวิธีการเพ่ือความปลอดภัย ใหศาลมีอํานาจสั่งตามท่ี เหน็ สมควร (ป.อ.มาตรา 14) LW 206 381

3. ถาตามกฎหมายท่ีบัญญัติในภายหลัง โทษใดไดเปลี่ยนลักษณะมาเปนวิธีการ เพ่ือความปลอดภัย ก็ใหถือวาโทษท่ีลงตามคําพิพากษานั้นเปนวิธีการเพ่ือความปลอดภัย ดวย และถายังไมไดลงโทษผูนั้น หรือผูนั้นยังรับโทษอยู ก็ใหใชบังคับวิธีการเพื่อความ ปลอดภัยแกผูนั้นแทนโทษน้ันตอไป (ป.อ.มาตรา 15ป หมายความวา ผูใดถูกศาล พิพากษาลงโทษตามกฎหมายในขณะนั้น ตอมาน้ันเปลี่ยนลักษณะมาเปนวิธีการเพ่ือ ความปลอดภัยตามกฎหมายใหม ใหถือวาโทษที่ลงแกผูน้ันเปนวิธีการเพ่ือความปลอดภัย ซง่ึ ใชบ ังคบั แกผนู ้ันไดต อไปถายังไมพ น โทษ 4. เม่ือศาลไดพิพากษาใหใชบังคับวิธีการเพ่ือความปลอดภัยแกผูใดแลว ถา ภายหลังความปรากฏแกศาลตามคําเสนอของผูนั้นเอง ผูแทนโดยชอบธรรมหรือผูอนุบาล ของผูน้ัน หรือพนักงานอัยการวาพฤติการณเกี่ยวกับการใชบังคับน้ันไดเปล่ียนแปลงไป จากเดิม ศาลจะส่ังเพิกถอนหรืองดการใชบังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยแกผูน้ันไว ชัว่ คราวตามทศี่ าลเหน็ สมควรก็ได (ป.อ.มาตรา 16) 382 LW 206

บทที่ 2 ชนิดของวิธกี ารเพอ่ื ความปลอดภัย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 12 บัญญัติวา “วิธีการเพื่อความปลอดภัยจะ ใชบังคับแกบุคคลไดก็ตอเมื่อมีบทบัญญัติแหงกฎหมายใหใชบังคับไดเทานั้น.....” ดังนั้น ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 39 จึงไดบัญญัติวิธีการเพ่ือความปลอดภัยไว 5 ชนิด ดว ยกนั คอื 1. กักกนั (ป.อ.มาตรา 40 ถึงมาตรา 43) 2. หา มเขา เขตกาํ หนด (ป.อ.มาตรา 44, 45 และ 46 วรรคสอง) 3. เรยี กประกันทัณฑบน (ป.อ.มาตรา 46, 47) 4. คมุ ตัวไวในสถานพยาบาล (ป.อ.มาตรา 48, 49) 5. หา มการประกอบอาชพี บางอยา ง (ป.อ.มาตรา 50) 1. กกั กัน 1.1 ความหมายของคาํ วา “กักกัน” ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 40 บัญญัติวา “กักกัน คือ การควบคุม ผูกระทําความผิดติดนิสัยไวภายในเขตกําหนด เพ่ือปองกันการกระทําความผิด เพื่อดัด นิสัยและเพื่อฝกหัดอาชีพ” ตามบทบัญญัตินี้กักกันเปนเรื่องปองกันสังคมใหปลอดภัย มคี วามมงุ หมาย 3 ประการ คอื ก. เพื่อปองกันการกระทําความผิดตอไปอีก อันเปนการทําใหสังคมหรือ ผูอืน่ ปลอดภยั จากการกระทาํ ของผนู ัน้ ข. เพื่อดัดนิสัย อันเปนการเปล่ียนความเคยชินตอการกระทําผิดใหเปน ความเคยชินในทางทีถ่ กู ตอ งและเหมาะสมแกอุปนิสัย ทัศนคติ และวิถขี องผูน้นั ค. เพื่อฝกหัดอาชีพ โดยนําผูถูกกักกันมาฝกหัดอาชีพ เพื่อจะไดรู คุณประโยชนข องการทํางาน รกั งาน และรูจักประกอบอาชีพเพื่อไดใชอาชีพเปนประโยชน แกการดํารงชพี ของตนและครอบครวั ภายหลังจากกักกันแลว LW 206 383

1.2 หลักเกณฑใ นการกกั กนั ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 41 ไดบัญญัติถึงหลักเกณฑการกักกัน ดงั น้ี (1) ผูน้ันเคยถูกศาลพิพากษาใหกักกนั มาแลว หรอื (2) ผนู ั้นเคยถูกศาลพพิ ากษาใหลงโทษจําคุกไมต่ํากวา 6 เดือนมาแลวไม นอยกวา 2 คร้ัง ในความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาตามที่ระบุไวตามมาตรา 41(1) ถงึ (8) และ (3) ผูนั้นพนจากการกักกัน (ตามขอ 1.) หรือพนโทษไปแลว (ตามขอ 2.) ยังไมเกิน 10 ป (4) ผูนั้นไดกระทําความผิดอยางหน่ึงอยางใดในบรรดาความผิดที่ระบุไว น้ันอีกคร้ังหนึ่ง จนศาลพิพากษาลงโทษจําคุกไมต่ํากวา 6 เดือนสําหรับการกระทํา ความผิดน้นั และ (5) ผูน้นั ไดกระทาํ ความผิดทร่ี ะบไุ วในขณะที่อายุตํา่ กวา สบิ แปดปแลว 1.3 การคํานวณระยะเวลากักกัน ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 42 ไดบัญญัติการคํานวณระยะเวลา กกั กันไวว า “การคํานวณระยะเวลากักกันใหนับวันที่ศาลพิพากษาเปนวันเร่ิมกักกัน แตถา ยังมีโทษจําคุกหรือกักขังท่ีผูตองถูกกักกันน้ันจะตองรับอยู ก็ใหจําคุกหรือกักขังเสียกอน และใหนับวันถดั จากวันท่ีพนโทษจําคกุ หรือพน จากกกั ขงั เปนวนั เร่ิมกกั กัน ระยะเวลากักกันและการปลอยตัวผูถูกกักกัน ใหนําบทบัญญัติมาตรา 21 มาใชบงั คับโดยอนุโลม” เมื่อศาลพิพากษาใหกักกันมีกําหนดเทาใดในระหวาง 3 ป ถึง 10 ป การ คํานวณระยะเวลากักกันใหนับวันท่ีศาลพิพากษาเปนวันเร่ิมกักกัน แตถาผูนั้นมีโทษจําคุก อยูดวยหรือถูกกักขัง ก็ตองใหจําคุกหรือกักขังเสียกอน เมื่อครบกําหนดแลวจึงใหนับวัน ถดั จากวนั ท่ีพนโทษจาํ คุกหรือพน จากการกกั ขังเปนวนั เร่มิ กักกัน 1.4 การฟองคดกี ักกัน การฟองคดีกักกัน กฎหมายบัญญัติใหเปนอํานาจของพนักงานอัยการ โดยเฉพาะ (ป.อ.มาตรา 43) ราษฎรแมจะเปนผูเสียหายในการกระทําความผิดก็ไมมี อาํ นาจฟองขอใหกักกนั ได 384 LW 206

1.5 อายคุ วามในการฟองขอใหก กั กัน พนกั งานอยั การตองฟองขอใหกักกันภายใน 6 เดือนนับแตวันท่ีฟองคดีอัน เปน มูลใหเกดิ อํานาจฟองกกั กัน (ป.อ.มาตรา 97) 2. หา มเขา เขตกําหนด 2.1 ความหมายของคําวา “หามเขาเขตกาํ หนด” ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 44 บัญญัติความหมายหามเขาเขต กําหนดไววา “หามเขาเขตกําหนด” คือการหามมิใหเขาไปในทองที่หรือสถานท่ีที่กําหนด ไวในคําพพิ ากษา 2.2 หลกั เกณฑก ารหามเขาเขตกําหนด มดี ังนี้ (1) ตองเปนคดีที่ศาลพิพากษาใหลงโทษผูกระทําความผิดน้ันโดยไม จาํ กัดความผิด (2) ตองมีพฤติการณท่ีสมควรจะส่ังหามเขาเขตกําหนด เพ่ือความ ปลอดภยั แกป ระชาชน (3) กาํ หนดเวลาหามเขา ไปตองไมเกิน 5 ปน บั จากวนั พน โทษ (4) คําส่ังหามน้ันศาลตองสั่งในคําพิพากษาท่ีลงโทษ จะสั่งภายหลังที่มีคํา พิพากษาแลวไมไ ด (5) ศาลมีอํานาจส่ังหา มไดเองโดยโจทกไมตอ งมคี ําขอใหหา ม 3. เรยี กประกนั ทณั ฑบน ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 46 ไดบัญญัติถึงเหตุที่ศาลจะส่ังใหใช บงั คับวิธีการเพื่อความปลอดภยั 2 กรณคี ือ 1) ถาความปรากฏแกศาลตามขอเสนอของพนักงานอัยการวาผูใดจะกอ เหตุรายใหเกิดภยันตรายแกบุคคลหรือทรัพยสินของผูอ่ืน หรือจะกระทําการใดใหเกิด ความเสียหายแกสิ่งแวดลอมหรือทรัพยากรธรรมชาติตามกฎหมายเก่ียวกับสิ่งแวดลอม และทรัพยากรธรรมชาติ หรอื 2) ในการพิจารณาความผิดใด ถาศาลไมลงโทษผูถูกฟอง แตมีเหตุอันควรเช่ือ วาผูถูกฟองนาจะกอเหตุรายใหเกิดภยันตรายแกบุคคลหรือทรัพยสินของผูอื่น หรือจะ LW 206 385

การกระทําทั้งสองกรณีนี้ถาเปนการกระทําของบุคคลที่มีอายุไมตํ่ากวา สิบแปดปแ ลว ศาลจะส่งั ดังน้ี (1) สั่งผูนั้นใหทําทัณฑบนวาจะไมกอเหตุรายดังกลาวตลอดเวลาที่ศาล กําหนดไมเกิน 2 ป ถาผิดทัณฑบนยอมใหใชเงินตามท่ีศาลกําหนดไมเกินหาหมื่นบาท และศาลจะส่ังใหม ีประกันทณั ฑบ นนั้นดวยหรอื ไมก็ได (2) ถาผูน้ันไมยอมทําทัณฑบน หรือหาประกันไมได ศาลมีอํานาจส่ังกักขัง ผูนั้นจนกวาจะยอมใหทําทัณฑบนหรือหาประกันไดไมเกิน 6 เดือน หรือมิฉะนั้นศาลจะส่ัง หามผูน้ันเขาไปในเขตกําหนดตามมาตรา 45 ก็ได โดยศาลจะส่ังอยางใดอยางหนึ่ง จะส่ัง ท้ังสองอยางไมไ ด (3) ถาผูนั้นยอมทําทัณฑบนและทําผิดทัณฑบน ศาลมีอํานาจสั่งใหผูน้ัน ชําระเงินตามจํานวนท่ีกําหนดไวในทัณฑบน ถาผูนั้นไมชําระจะถูกบังคับเชนเดียวกับ คา ปรับตามมาตรา 29 และมาตรา 30 (ป.อ.มาตรา 47) ขอสังเกต การกระทําของบุคคลตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 46 ท่ี ศาลจะสั่งใหทําทัณฑบนไดน้ัน ตองปรากฏวาการกระทํานั้นยังไมถึงข้ึนเปนความผิดตาม กฎหมาย 4. คุมตวั ไวในสถานพยาบาล กรณศี าลจะสง่ั ใหใชวิธกี ารเพือ่ ความปลอดภัยโดยส่ังคุมตัวไวในสถานพยาบาล มเี หตุกระทาํ ได 2 กรณีคอื 1) ถาศาลเห็นวาการปลอยตัวผูมีจิตบกพรอง โรคจิต หรือจิตฟนเฟอน ซึ่งไม ตองรับโทษหรือไดร ับการลดโทษตามมาตรา 65 จะเปนการไมปลอดภัยแกประชาชน ศาล จะส่ังใหสงไปคุมตัวไวในสถานพยาบาลก็ได และคําส่ังนี้ศาลจะเพิกถอนเสียเม่ือใดก็ได (ป.อ.มาตรา 48) 2) ผูกระทําความผิดเปนผูเสพสุราเปนอาจิณ หรือเปนผูติดยาเสพติดใหโทษ และศาลไดกําหนดในคําพิพากษาวาบุคคลนั้นจะตองไมเสพสุรา เสพยาเสพติดใหโทษ ภายในระยะเวลาไมเกินสองปนับแตวันพนโทษหรือวันปลอยตัว เพราะรอการกําหนดโทษ 386 LW 206

5. หา มการประกอบอาชพี บางอยา ง ประมวลกฎหมายอา มาตรา 50 บัญญัติวา “เม่ือศาลพิพากษาใหลงโทษผูใด ถาศาลเห็นวาผูน้ันกระทําความผิดโดยอาศัยโอกาสจากการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพ หรือเน่ืองจากการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพ และเห็นวาหากผูน้ันประกอบอาชีพหรือ วิชาชีพนั้นตอไปอาจจะกระทําความผิดเชนนั้นขึ้นอีก ศาลจะส่ังไวในคําพิพากษาหามการ ประกอบอาชีพหรือวิชาชีพน้ันมีกําหนดเวลาไมเกินหาปนับแตวันพนโทษไปแลวก็ได” ตามมาตราน้ศี าลจะส่ังหา มการประกอบอาชีพหรอื วิชาชพี มหี ลักเกณฑ ดังนี้ 1) ผูใดกระทําความผิดใด ๆ โดยอาศัยโอกาสหรือเน่ืองจากการประกอบ อาชพี หรอื วิชาชีพ 2) ศาลไดพพิ ากษาใหลงโทษผนู ้ันตามความผิดน้นั แลว 3) ศาลเหน็ วา ถาใหผ นู น้ั ประกอบอาชีพหรือวิชาชีพนั้นตอไปอีก อาจจะกระทํา ความผดิ เชน นน้ั ขน้ึ อีก 4) ศาลจะส่ังหามการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพไวในคําพิพากษาท่ีลงโทษนั้น กไ็ ด มีกําหนดเวลาไมเ กนิ 5 ป นบั จากวนั พน โทษนน้ั 5) ผฝู า ฝนคําสงั่ ศาลเชน น้ี มีความผดิ ตามมาตรา 196 ดว ย ตัวอยาง เชน ตั้งสถานพยาบาลรักษาโรคเปนอาชีพ แตรับจางทําแทงมีอาชีพ ขับรถรับจาง (TAXI) ฉวยโอกาสจี้ขูเข็ญชิงเอาทรัพยของผูโดยสาร หรือมีอาชีพเปนคน ยามแตรูเห็นเปนใจใหคนรายเขามาโจรกรรมทรัพย เปนตน เมื่อศาลพิพากษาใหลงโทษ สําหรับความผิดนั้นแลว ศาลเห็นวาหากผูนั้นประกอบอาชีพหรือวิชาชีพนั้นตอไปอีก อาจ กระทําความผิดเชนนั้นขึ้นอีก ศาลจะส่ังไวในคําพิพากษาหามการประกอบอาชีพหรือ วชิ าชพี นั้นมกี าํ หนดเวลาไมเ กนิ หาปน บั แตวนั พน โทษไปแลวก็ได จบคําบรรยาย LW 206 387

บทที่ 1 ความหมายและลักษณะของกฎหมายอาญา 1. ความหมายของกฎหมายอาญา กฎหมายอาญา คือบรรดากฎหมายท้ังหลาย ที่บญั ญตั ิถึงความผดิ และกําหนดโทษไว จากความหมายของกฎหมายอาญาน้ี แยกความสาํ คญั ได 2 ประการคือ 1) กฎหมายทีบ่ ัญญัตถิ งึ ความผดิ และ 2) จะตองกําหนดโทษไวดว ย 1) กฎหมายท่ีบัญญัติถึงความผิด “ความผิด” ไดแก การกระทําอยางใด อยางหน่ึงซึ่งกฎหมายบัญญัติหามไว และการที่ตองกระทําอยางใดอยางหน่ึงตามที่ กฎหมายบัญญัติใหมีหนาท่ีตองกระทํา โดยถือวาเปนการขัดกับประโยชนของชุมชน ความผิดอาจมีรูปผิดแผกแตกตางกันไดมากมาย ท้ังนี้สุดแทแตลักษณะของการกระทบ กระเทือน ซึ่งความผิดเปนเหตุใหเกิดขึ้นแกผลประโยชนของชุมชน การกระทบกระเทือน อาจมีตอชุมชนเปนสวนรวมท้ังหมด เชน ความผิดฐานขมขืนกระทําชําเรา การรวมกัน กระทําความผิด การปลอมแปลงเงินตรา ฯลฯ หรือการกระทบกระเทือนอาจมีตอชีวิต รางกาย เสรีภาพ อนามัย สิทธิและทรัพยสิน ดังน้ันจะเห็นไดวากฎหมายใดจะเปน กฎหมายอาญาก็ตอเม่ือกฎหมายนั้นบัญญัติถึงความผิด เชน ความผิดฐานลักทรัพยเปน ความผิดทางอาญา เพราะมีประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติเปนความผิดไวในมาตรา 334 วา “ผูใดเอาทรัพยของผูอ่ืนหรือที่ผูอ่ืนเปนเจาของรวมอยูดวยไปโดยทุจริต ผูน้ันกระทํา ความผิดฐานลักทรัพย ฯลฯ” กลาวคือ ถาผูใดเอาทรัพยของผูอ่ืน หรือท่ีผูอ่ืนเปน เจาของรวมอยูดวย โดยผูน้ันมิไดยินยอม และผูเอาไปมีเจตนาทุจริต ถือวาผูเอาไปมี ความผิดฐานลักทรพั ย 2) จะตองกําหนดโทษไวดวย “โทษ” ไดแก การทรมานทางกายหรือจิตใจ จะพึงใชลงในนามของชุมชนแกผูที่เปนตัวการกระทํากรรมอันเปนการขัดตอชุมชน การทรมานที่ลงแกผูกระทํากรรมน้ีจะตองลงโดยอาศัยเกณฑพิจารณาถึงกรรมท่ีได LW 206 1

(1) ความประสงคในการลงโทษ คอื ก. เปนการตอบแทนตอ การกระทําความผดิ ข. เปน การปองกันสังคม ซึ่งอาจเปน การปองกนั ท่วั ไป ไดแก ก) การปราบปราม ไมใหผูกระทําความผิดนั้นคิดกระทําผิดข้ึนอีก และไมใ หผ ูอื่นเอาอยางทาํ ผิดอยางน้ันขึน้ บาง ข) ความม่ันคงของชุมชน โดยแสดงใหเห็นวาชุมชนไมยอมให มีการกระทาํ ผิดเชนนั้นเกดิ ขึน้ หรืออาจเปนการปอ งกนั โดยเฉพาะ ไดแ ก (ก) การปองกัน ไมใหผูนั้นทําผิดไดอีกโดยตลอดไป เชน ประหารชีวิต หรอื โดยชัว่ คราว เชน ขงั ไวมีกําหนดเวลา (ข) ดัดนสิ ัย ใหก ลับตวั เปนพลเมอื งดตี อไป (2) โทษในทางอาญากําหนดไว 5 สถานดวยกัน คือประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา 18 บัญญัตวิ า โทษสําหรับลงแกผ ูกระทําความผิดมีดงั นี้ ก. ประหารชวี ิต ข. จาํ คกุ ค. กกั ขัง ง. ปรบั จ. รบิ ทรัพยส ิน จึงสรุปไดวาจะเปนกฎหมายอาญาไดตอเมื่อกฎหมายนั้นบัญญัติถึง ความผิดและกําหนดโทษไว เชน ความผิดฐานลักทรัพย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 334 บญั ญตั วิ า “.....ผูน้นั กระทําความผดิ ฐานลกั ทรพั ย ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน สามปแ ละปรบั ไมเกินหกพนั บาท” 2 LW 206

2. ลกั ษณะของกฎหมายอาญา กฎหมายอาญามีลักษณะดังตอไปนี้ 1) เปนกฎหมายมหาชน เปนกฎหมายท่ีวาดวยความสัมพันธระหวางรัฐกับ เอกชน 2) วา ดว ยความผดิ และโทษอาญา 3) ตามปกตบิ ังคบั เฉพาะการกระทําในราชอาณาเขต 4) บัญญัติเปน ลายลกั ษณอ กั ษร 5) กฎหมายอาญาตอ งตคี วามโดยเครง ครดั 6) ไมม ผี ลยอ นหลังในทางเปนโทษ 1) เปน กฎหมายมหาชน ท่ีวากฎหมายอาญาเปนกฎหมายมหาชนเพราะวา เปนบทบัญญัติถึงความเก่ียวกันระหวางเอกชนกับรัฐ แมการกระทําความผิดบางอยางจะ ไดกระทาํ โดยตรงตอเอกชนใหไดร บั อนั ตรายเสียหายกด็ ี การกระทําความผิดน้ันก็ยังไดชื่อ วากระทบกระเทือนตอมหาชนเปนสวนรวม ถึงขนาดที่รัฐตองเขาดําเนินการปองกันและ ปราบปรามไดเองโดยไมตองใหผูใดมารองทุกขกลาวโทษ ยกเวนแตความผิดบางประเภท ทีเ่ รียกวา ความผดิ อนั ยอมความไดเ ทา นัน้ 2) วาดว ยความผดิ และโทษอาญา (1) ความผดิ ในทางอาญา อาจแยกออกไดหลายประเภท คอื ก. แบง แยกประเภทความผดิ ในแงการกระทาํ ข. แบง แยกประเภทความผดิ ท่ีตองมีผลปรากฏกับความผิดที่ไมตองมี ผลปรากฏ ค. แบงแยกประเภทความผิดธรรมดากับความผิดซับซอน สําหรับ ความผดิ ซับซอนยังแยกออกเปน ก) ความผดิ ตอเนือ่ ง ข) ความผิดทย่ี ดื ออกไป ค) ความผดิ เปนปกติธรุ ะ ง) ความผิดซอ น LW 206 3

ง. แบงแยกประเภทความผดิ ในแงเจตนา อาจแบงแยกไดด งั นี้ ก) ความผิดทีก่ ระทําโดยเจตนา ข) ความผิดทกี่ ระทาํ โดยประมาท ค) ความผดิ ทไ่ี มตอ งมเี จตนา ง) ความผิดนอกเหนอื เจตนา จ) ความผดิ ชนดิ ทตี่ องรบั ผดิ ในผลสุดทายแหงเจตนา ฉ) ความผิดการเมอื ง (2) โทษอาญา จะตองเปนโทษท่ีกฎหมายบัญญัติถึงความผิดไดกําหนด ไว โทษในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 18 ไดบัญญัติไว 5 สถานคือ ประหารชีวิต จาํ คกุ กักขงั ปรับ รบิ ทรพั ยส ิน 3) ตามปกติบังคบั เฉพาะการกระทําในราชอาณาเขต ตามปกติแลวกฎหมาย อาญาจะใชบังคับเฉพาะภายในราชอาณาเขตเทานั้น เวนแตการกระทําความผิดนอก ราชอาณาเขต ตามมาตรา 7, 8 และ 9 แหงประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งกฎหมายอาญาใช บงั คบั ได 4) บัญญัติเปนลายลักษณอักษร กฎหมายอาญาจะตองบัญญัติไวเปนลาย ลักษณอ ักษร (ป.อ.มาตรา 2 วรรคแรก) 5) กฎหมายอาญาตองตีความโดยเครงครัด หมายความวา เมื่อรัฐไดตรา บทบัญญัติโดยชัดแจงวากระทําหรืองดเวนกระทําอยางใดเปนความผิดอาญาแลว ก็ตอง ถือวาตามบทบัญญัตินั้นเทาน้ันท่ีเปนความผิด จะไมรวมถึงกรณีอื่นนอกเหนือจากบท บญั ญัติดวย 6) ไมมีผลยอนหลังในทางเปนโทษ กฎหมายอาญานั้นจะตองไมมีผลยอน หลังในทางเปนโทษ เวนแตกรณีท่ีกฎหมายใหมเปนคุณแกผูกระทําความผิดย่ิงกวากฎหมาย ในขณะกระทําความผิดแลว ใหยอนหลงั ได ในการพิจารณาวาเปนกฎหมายอาญาหรือไม นอกจากจะทราบความหมาย แลว ยังตองพิจารณาถึงลักษณะท้ัง 6 ประการดวย ถาเขาลักษณะท้ัง 6 ประการก็เปน กฎหมายอาญา กฎหมายอาญามิใชมีแตประมวลกฎหมายอาญาเทานั้น ยังมีกฎหมาย อาญาอน่ื อกี เชน พระราชบัญญัติการพนัน พระราชบัญญัติความผิดอันเกิดจากการใชเช็ค 4 LW 206

กฎหมายอาญาแยกออกได 2 ประเภท คือ 1. กฎหมายอาญาสารบัญญตั ิ หมายความถึงกฎหมายที่กําหนดวาการกระทํา และการงดเวนกระทําอยางใดเปนความผิดอาญา และจะลงโทษหรือใชวิธีการอยางใดแก การกระทาํ และการงดเวนกระทําอนั เปน ความผิดอาญานนั้ 2. กฎหมายอาญาวิธีสบัญญัติ หมายความรวมถึงการลงโทษผูกระทําผิดตาม ความมุงหมายของกฎหมายอาญาสารบัญญัติโดยวิธีสืบสวน สอบสวน ฟองรอง พิจารณา และลงโทษผูก ระทาํ ความผดิ อาญา LW 206 5

บทที่ 2 พระราชบญั ญตั ิใหใชป ระมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 ในการบัญญัติกฎหมายออกมาใชบังคับ โดยปกติเม่ือมีการบัญญัติกฎหมายใด ออกใชบังคับ ในตัวกฎหมายนั้นเองระบุไววาใหใชกฎหมายนั้นเม่ือใด และหากจะมี บทบัญญัติใหยกเลิกบทบัญญัติเดิม ก็จะกําหนดไวในกฎหมายท่ีออกใชบังคับเชนกัน แต สําหรับประมวลกฎหมายอาญามิเปนไปดังที่กลาวไว กลาวคือ ไดมีพระราชบัญญัติใหใช ประมวลกฎหมายอาญาข้ึนอีกเปนฉบับหนึ่งตางหากจากตัวประมวลกฎหมายอาญา โดย ในพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายอาญาไดระบุไววาใหใชประมวลกฎหมายอาญา บังคับตั้งแตเมื่อใด และยังมีบทบัญญัติพิเศษที่เกี่ยวกับการท่ีบัญญัติประมวลกฎหมาย อาญาออกใชด ว ย1 ท้งั นเ้ี พอ่ื แสดงวา ประมวลกฎหมายอาญามศี ักดิเ์ ทากบั พระราชบัญญัติ นั่นเอง และเพื่อใหเวลาผูใชศึกษารายละเอียดของประมวลกฎหมายอาญาลวงหนากอน เปนระยะเวลาพอสมควร พระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายอาญาแยกพิจารณาได ดงั น้ี ประการที่ 1 กาํ หนดวันใชบ ังคับพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายอาญา ซึ่ง บัญญัติไวในมาตรา 2 แหง พ.ร.บ.ใหใชฯ วา “พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับต้ังแตวันถัด จากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน ตนไป” พ.ร.บ.ใหใ ชฯ ไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันท่ี 15 พฤศจิกายน 2499 จึงมีผล ตั้งแตว ันที่ 16 พฤศจกิ ายน 2499 ประการท่ี 2 กําหนดวันใชบังคับประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งบัญญัติไวในมาตรา 3 แหง พ.ร.บ.ใหใชฯ วา “ประมวลกฎหมายอาญาทายพระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแต วันท่ี 1 มกราคม 2500 เปนตน ไป” การนับระยะเวลาต้ังตนใชกฎหมายเม่ือระบุใหใชวันใด คือวันเริ่มตนตั้งแตเวลา 0.00 น. ของวนั น้นั เปนตนไป 1สงา ลนี ะสมิต, ศาสตราจารย, กฎหมายอาญา 1, อางแลว. LW 206 6

ประการท่ี 3 เมื่อประมวลกฎหมายอาญาใชบังคับแลว จะมีผล 5 ประการ ดังที่ บัญญัติไวในมาตรา 4 ถึงมาตรา 8 แหง พ.ร.บ.ใหใชฯ ในสวนท่ีเกี่ยวของกับกฎหมายที่ จะตองยกเลิกไปและกฎหมายอ่ืนท่ีอางถงึ ดังนี้ 1. ใหยกเลิกกฎหมายลักษณะอาญา ซ่ึงไดบัญญัติไวในมาตรา 4 แหง พ.ร.บ.ให ใชฯ วา “เมอื่ ประมวลกฎหมายอาญาไดใชบ งั คบั แลว ใหย กเลิกกฎหมายลกั ษณะอาญา” หมายความวา บทบัญญัติตามกฎหมายลักษณะอาญาเปนอันยกเลิกโดย ประมวลกฎหมายอาญา ความผิดที่บัญญัติไวในกฎหมายลักษณะอาญา หากประมวล กฎหมายอาญามิไดบัญญัติวาเปนความผิด ผูกระทําความผิดในขณะใชกฎหมายลักษณะ อาญายกข้ึนอา งวาไมเปน ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาได แตถาประมวลกฎหมาย อาญายังบัญญัตวิ า การกระทาํ เชนนนั้ เปนความผดิ อยู ผูกระทาํ นัน้ หาอาจอางวา การกระทํา เชน น้นั ไมเปน ความผดิ ตอไปไดไ ม 2. การแกไขอัตราโทษปรับ ซ่ึงมาตรา 5 แหง พ.ร.บ.ใหใชฯ บัญญัติวา “เม่ือ ประมวลกฎหมายอาญาไดใชบังคับแลว ในกรณีที่กฎหมายใดไดกําหนดโทษโดยอางถึง โทษฐานลหุโทษในกฎหมายลักษณะอาญาไว ใหถือวากฎหมายนั้นไดอางถึงโทษ ดงั ตอ ไปน้ี ถา อางถงึ โทษชั้นท่ี 1 หมายความวา ปรบั ไมเ กินหนง่ึ รอยบาท ถาอา งถึงโทษช้ันที่ 2 หมายความวา ปรบั ไมเกินหารอยบาท ถาอา งถงึ โทษช้ันท่ี 3 หมายความวา จาํ คกุ ไมเ กนิ สิบวัน หรอื ปรบั ไมเกินหนึ่ง พันบาท หรอื ท้ังจาํ ท้งั ปรับ ถาอางถึงโทษชั้นที่ 4 หมายความวา จาํ คุกไมเกนิ หนง่ึ เดือน หรือปรับไมเ กิน หนงึ่ พันบาท หรือท้ังจาํ ทั้งปรบั ” หมายความวา กฎหมายใดไดกําหนดโทษโดยอางถึงโทษฐานลหุโทษใน กฎหมายลักษณะอาญา เม่ือประมวลกฎหมายอาญาใชบังคับใหแกไขโทษปรับใหเปนไป ตามมาตรา 5 แหง พ.ร.บ.ใหใชฯ 3. “เมื่อประมวลกฎหมายอาญาไดใชบังคับแลว ในการจําคุกแทนคาปรับตาม กฎหมายใด ไมวากฎหมายน้ันจะบัญญัติไวประการใด ใหนําประมวลกฎหมายอาญามาใช บังคับ แตสําหรับความผิดท่ีไดกระทํากอนวันที่ประมวลกฎหมายอาญาใชบังคับมิใหกักขัง LW 206 7

หมายความวา ไมวาจะมีกฎหมายอาญาฉบับใดท่ีบัญญัติไวกอนหนาแลว เก่ียวกับเร่ืองจําคุกแทนคาปรับ เม่ือประมวลกฎหมายอาญาใชบังคับแลว จะตองถือตาม บทบัญญัติของประมวลกฎหมายอาญาเปนเกณฑ 4. ในกรณีวิธีการเพ่ือความปลอดภัยตามมาตรา 46 แหงประมวลกฎหมายอาญา ใหนําบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาใชบังคับเสมือนเปน ความผิดอาญา แตหามมิใหคุมขังช้ันสอบสวนเกินกวาสี่สิบแปดชั่วโมงนับแตเวลาท่ีผูถูก จับมาถึงท่ีทําการของพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ แตมิใหนับเวลาเดินทางตามปกติ ที่นําตัวผูถูกจับมาศาลรวมเขาในกําหนดเวลาสี่สิบแปดชั่วโมงน้ันดวย (มาตรา 7 แหง พ.ร.บ.ใหใชฯ) หมายความวา เมื่อยังใชกฎหมายลักษณะอาญาอยูนั้น วิธีปฏิบัติตอผูกระทํา ความผิดมีแตการลงโทษ ฉะนั้นในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาจึงไดบัญญัติ แตเ พียงวธิ ีดําเนนิ การในกรณีผูกระทาํ ความผิดหรือตองหาวากระทําความผิดซ่ึงจะตองถูก ลงโทษ แตเม่ือไดเปล่ียนมาใชประมวลกฎหมายอาญาไดกําหนดวิธีปฏิบัติตอผูกระทํา ความผิดไว 2 กรณีคือ การลงโทษกรณีหน่ึง และการบังคับใชวิธีการเพ่ือความปลอดภัย อีกกรณีหนึ่ง สําหรับในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามิไดคลุมถึงกรณีที่จะ ดําเนินการเพ่ือใหเปนไปตามวิธีการเพ่ือความปลอดภัย พ.ร.บ.ใหใชฯ มาตรา 7 จึงได บัญญัติวา “วิธีการเพ่ือความปลอดภัยตามมาตรา 46 แหงประมวลกฎหมายอาญา ใหนํา บทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาใชบังคับเสมือนเปนความผิด อาญาฯ” แตจะควบคุมหรือขังผูจะกอเหตุรายนั้นในระหวางสอบสวนเกิน 48 ชั่วโมงไมได และมีขอยกเวนสําหรับเด็กที่มีอายุยังไมเกิน 17 ปที่จะกอเหตุราย มิใหอยูในบังคับมาตรา 46 แหง ประมวลกฎหมายอาญา 5. เม่ือยังใชกฎหมายลักษณะอาญาบังคับอยูนั้น ไดมีกฎหมายหลายฉบับอางอิง ถึงกฎหมายลักษณะอาญา ตอมายกเลิกกฎหมายลักษณะอาญา ใชประมวลกฎหมาย อาญาบังคับใหถือวาบทบัญญัติแหงกฎหมายนั้นอางถึงประมวลกฎหมายอาญาหรือ บทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายอาญาในบทมาตราที่มีนับเชนเดียวกัน แลวแตกรณี (มาตรา 8 แหง พ.ร.บ.ใหใ ชฯ ) 8 LW 206

บทท่ี 3 บทนยิ าม ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 “นิยาม” แปลวา “กําหนด ทาง อยาง วิธีกําหนดหรือจํากัดความหมายท่ีแนนอน” ฉะนั้น “บทนิยาม” จึงหมายถึง บท กําหนดหรือ จํากัดความหมายที่แนนอนของคําตาง ๆ ท่ีใชอยูในบทบัญญัติของกฎหมาย น้ัน ๆ วามคี วามหมายแนนอนตามที่บญั ญตั ไิ วในบทนิยามของกฎหมายน้นั โดยปกติกฎหมายไมจําตองมีบทนิยามไว ถาคําตาง ๆ ท่ีใชอยูในบทบัญญัติของ กฎหมายน้ันมีความหมายเปนธรรมดาอยูแลว แตถาคําตาง ๆ น้ันจะตองกําหนดหรือ จํากัดความหมายท่ีแนนอนจึงบัญญัติบทนิยามไวเพ่ือผูใชกฎหมายจะไดอานและตีความ ไปในแนวเดยี วกนั สําหรับบทนิยามที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายอาญานั้น ใชเฉพาะเปนบท กําหนดหรือจํากัดความหมายท่ีแนนอนของคําตาง ๆ ท่ีใชอยูในบทบัญญัติของประมวล กฎหมายอาญา หรือกฎหมายอาญาอ่ืนเทาน้ัน จะนําไปใชกับกฎหมายอื่นซึ่งไมเกี่ยวกับ กฎหมายอาญาไมได บทนยิ ามท่ีบญั ญัตไิ วใ นประมวลกฎหมายอาญามอี ยู 15 คําดวยกนั ซ่งึ จะไดอธิบาย ความหมายของแตละคาํ ดงั ตอไปนี้ (1) “โดยทุจริต” หมายความวา เพื่อแสวงหาประโยชนท่ีมิควรไดโดยชอบดวย กฎหมายสําหรบั ตนเองหรือผอู ่ืน ฉะนั้น จะถือวาเปนการกระทําโดยทุจริต จะตองประกอบดวยหลักเกณฑ ดงั ตอไปน้ี 1. เพ่อื แสวงหาประโยชน 2. เปนประโยชนท ี่มิควรไดโ ดยชอบดวยกฎหมาย 3. ประโยชนนน้ั สําหรับตนเองหรอื ผูอ ่นื LW 206 9

1. เพื่อแสวงหาประโยชน คําวา “แสวงหา” หมายถึง การกระทําใด ๆ อัน เพ่ือใหไดมาแหงตนหรือผูอ่ืน และจะกอใหเกิดความเสียหายแกผูอ่ืนนั้นหรือไมไมตอง คํานึงถึง คําวา “ประโยชน” หมายถึงสิ่งที่บุคคลตองการ ประโยชนในท่ีน้ีแยกได 2 ประการ คอื 1) “ประโยชน” ที่ไมเ ก่ียวกับประโยชนในลกั ษณะที่เปนทรัพยส ิน 2) “ประโยชน” ท่ีเก่ียวกับประโยชนในลกั ษณะทเ่ี ปนทรพั ยส นิ 1) “ประโยชน” ที่ไมเกี่ยวกับทรัพยสิน หมายความวา การกระทําใด ๆ อัน เพื่อใหไดมาในสิ่งท่ีบุคคลตองการน้ันไมเกี่ยวกับประโยชนในลักษณะที่เปนทรัพยสินหรือ เกย่ี วกับทรัพยส ิน เชน (1) จําเลยแยงหนังสือหมายนัดพยานของอําเภอจากผูรับมอบหมายจาก อําเภอเพ่ือไปสงแกผูมีชื่อในหมายนั้นไป โดยจําเลยประสงคจะดูวันนัดในหมายน้ันแลวจะ คืนให แตทําลายเสียกอนสงคืน วินิจฉัยวาเปนการแสวงหาประโยชนอยางหนึ่ง การที่ ตั้งใจคืนภายหลังไมสาํ คัญ เพราะเปน ความผิดสาํ เร็จแลว (คําพิพากษาฎีกาท่ี 353/2478) (2) ขอเท็จจริงมีอยูวาจําเลยทั้งสองไดรวมกันหลอกลวงโจทก โดยจําเลย ที่ 2 หลอกโจทกวาจําเลยท่ี 2 คือ นายเชวง แซภู ความจริงไมใชเจาของท่ีดินตาม น.ส.3 ที่มาแสดงตอโจทกจนโจทกหลงเช่ือ โจทกจึงไดทําหนังสือรับรองหลักทรัพยย่ืนขอประกัน นายกุหลาบตอศาลนั้นจนศาลสั่งอนุญาตใหนายกุหลาบมีประกันตัวไป มีปญหาวาการ กระทําของจําเลยจะถือไดวาเปนการแสวงหาประโยชนอันมิชอบดวยกฎหมายจากโจทก หรือไม คําพิพากษาฎีกาท่ี 863/2513 วินิจฉัยคําวา “โดยทุจริต” หมายความวาเพ่ือ แสวงหาประโยชนท ี่มคิ วรไดโดยชอบดวยกฎหมายสําหรับตนเองหรือผูอื่น การที่จําเลยท้ัง สองสมคบกันหลอกลวงโจทก โดยจําเลยท่ีสองแสดงตนตอโจทกวาเปนนายเชวง แซภู เจาของท่ีดินตาม น.ส.3 จนโจทกหลงเช่ือทําหนังสือรับรองหลักทรัพยขอประกันตัวนาย กุหลาบตอศาลน้ัน แมจะปรากฏวาจําเลยไมไดรับประโยชนเปนทรัพยสินแตประการใดก็ ตาม ก็ทําใหนายกุหลาบไดรับประโยชนจากการใชหนังสือรับรองทรัพยสินน้ันอางตอศาล จนไดประกันตัวไป ซึ่งยอมถือวาเปนการแสวงหาผลประโยชนสําหรับผูอ่ืนอันเปนการ กระทาํ โดยทจุ ริตแลว 2) “ประโยชน” ท่ีเก่ียวกับทรัพยสิน หมายความวา การกระทําใด ๆ อัน เพ่ือใหไดมาในส่ิงท่ีบุคคลตองการนั้นเปนทรัพยสิน หรือเก่ียวกับทรัพยสิน เชน แดงหยิบ 10 LW 206

จึงสรปุ ไดว า “ประโยชน” ในมาตรา 1(1) น้มี ี 2 อยาง คอื ประโยชนในลักษณะ ท่ีเปนทรัพยสิน หรือเกี่ยวกับทรัพยสิน กับประโยชนท่ีไมมีลักษณะเปนทรัพยสิน หรือ เกี่ยวกับทรัพยสิน ในการพิจารณาน้ันใหดูวาที่ใดท่ีกฎหมายประสงคใหหมายความถึง ประโยชนในลักษณะท่ีเปนทรัพยสินก็จะบัญญัติไวใหชัดเชนน้ัน ที่ใดท่ีไมบัญญัติเฉพาะ ประโยชนใ นลักษณะทเ่ี ปนทรัพยสนิ ยอ มหมายความถึงประโยชนโดยท่ัวไป 2. เปนประโยชนที่มิควรไดโดยชอบดวยกฎหมาย หมายความวา ประโยชนท่ีแสวงหามาน้ันจะตองเปนประโยชนท่ีมิควรไดโดยชอบดวยกฎหมาย คือไมมี สิทธิหรืออํานาจตามกฎหมายที่จะเอาประโยชนนั้นได แตการท่ีไดประโยชนมาโดยถือ วิสาสะไมถือเปนการไดป ระโยชนท มี่ ิควรไดโดยชอบดว ยกฎหมาย เชน คาํ พิพากษาฎีกาท่ี 107/2474 จําเลยเอาทรัพยไปโดยถือวิสาสะน้ัน ตัดสินวาไมมีเจตนาลักทรัพย (เพราะมิได ทําโดยทุจรติ ) คําพิพากษาฎีกาที่ 288/2485 เจาทรัพยกับจําเลยคุนเคยชอบพอกัน เจาทรัพยเปนหน้ีจําเลยอยู จําเลยมาที่บานเจาทรัพยและหยิบเอาปนไปโดยบอกกลาวแก คนในบานเจาทรัพยวาจะเอาปนไปปากน้ํา ตอมาเจาทรัพยไปทวงถาม จําเลยก็รับวาเอา ปน มาจริง แตต อ งใชหน้ีกอนจงึ จะคนื ปนให ดังน้ี ถึงแมจําเลยจะปฏิเสธช้ันศาลวาไมไดเอา ปนไป รูปคดีก็ไมผิดฐานลักทรัพย เพราะไมมีเจตนาลักปน จําเลยประสงคเพียงจะยึดปน ประกันหนเ้ี ทา นน้ั ตามคําพิพากษาฎีกาน้ีเปนการเอาไปโดยไมมีอํานาจและเจาทรัพยมิได อนุญาตแตโ ดยเหตุท่ชี อบพอคุนเคยกนั จําเลยอาจทาํ โดยถือวสิ าสะ 3. ประโยชนน้ันสําหรับตนเองหรือผูอื่น หมายความวา ประโยชนท่ีไดมา โดยมิชอบนน้ั สําหรบั ตนเองหรอื ผูอ ืน่ เชน 3.1 จําเลยเปนผูใหญบาน รูแลววานายหวันราษฎรลูกบานซ้ือโคมาแลว โคถูกยึดไว นายหวันขอใหจําเลยจดบัญชีโคลูกคอกเพื่อนําไปอางตอตํารวจผูยึดโคไว จําเลยก็ทําใหโดยยอมจดทะเบียนลงวัน เดือน ป ที่ขึ้นทะเบียนยอนหลังใหอันเปนความ เทจ็ ดังน้ีถอื ไดว าจาํ เลยปฏิบัติหนาที่โดยทุจริต และไมปรากฏวาจําเลยไดรับจางรางวัลแต อยา งใด กเ็ ปนการทําใหนายหวนั ไดร บั ประโยชนโดยการเอาเอกสารไปอางในการท่ี LW 206 11

3.2 ฉุดหญิงไปขมขืนแลวถอดสายสรอยคอพาหนีไปเปนลักทรัพย (คําพิพากษาฎีกาท่ี 612, 613/2477) ถือวาสรอยน้ันเปนประโยชนสําหรับตนเองแลว เมื่อ การกระทําครบหลักเกณฑทั้งสามประการดังกลาวขางตนแลวจึงเปน “โดยทุจริต” คําวา “ทุจริต\"”ในทางอาญาแตกตางกับคําวา “ไมสุจริต” ในทางแพง เพราะ “ทุจริต” ในทาง อาญานั้นหมายความวาเพ่ือแสวงหาประโยชนอันมิควรไดโดยชอบดวยกฎหมายสําหรับ ตนเองหรือผูอ่ืนแต “สุจริตหรือไมสุจริต” ในทางแพงหมายความวารูหรือไมรูถึงการท่ีไมมี สทิ ธหิ รอื ความบกพรอ งแหง สทิ ธิเทานน้ั คําวา “โดยทุจริต” นี้มีบัญญัติอยูในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 143, 147, 151, 154 ถึงมาตรา 157, มาตรา 242, 269, 318, 319 และความผิดเก่ียวกับ ทรัพยตามหมวด 1 ถึงหมวด 6 เปนองคประกอบของความผิดน้ัน ๆ และจําตองแปล ความหมายของคําวา “โดยทุจริต” ตามท่ีบัญญัติไวในมาตรา 1(1) เหมือนกันทุก ความผดิ ที่ไดบัญญตั คิ ําวา “โดยทุจรติ ” ไว ตัวอยางเรอ่ื งทจุ ริต เชน 1) โจทกจําเลยเปนพ่ีนองตกลงแบงทรัพยมรดกกัน แลวจําเลยขน เอาทรัพยสวนของจําเลยไปตอหนาโจทก โจทกน่ิง ภายหลังปรากฏวาจําเลยขนเกินไป บางกไ็ มมี เจตนาทุจริต (คําพพิ ากษาฎกี าที่ 269/2468) 2) ชางจําเลยไปกินขาวโพดจึงจับสงอําเภอ อําเภอมอบใหนายแดง รักษาไว จําเลยไปขอรับคืนจากนายแดง นายแดงนัดใหไปเอาท่ีอําเภอ จําเลยไมไปแลว กลับเอาชางไปเสีย ดังนี้ตัดสินวาไมเปนลักทรัพย เพราะไมมีเถยยะจิตเปนโจร (ไมมี เจตนาทจุ ริต) (คาํ พพิ ากษาฎีกาที่ 704/2474) 3) จําเลยรับฝากโคเขาไว เม่ือเขาไปขอคืนครั้งแรกวาบุตรเอาไป ครั้นไปขออีกคร้ังกลับวาไมไดรับฝาก การปฏิเสธของจําเลยวาไมไดรับฝากยังชี้ไมไดวา จําเลยมีเจตนาทุจริตยักยอกโค เวนแตโจทกจะมีพยานแสดงวาจําเลยรูเห็นเปนใจให บุตรจาํ เลยเอาโคไปเปนประโยชนสว นตัวเสยี (คาํ พพิ ากษาฎีกาท่ี 994/2498) 4) จําเลยบังคับใหเขาขับรถยนต และขับรถยนตของคนอื่นไปเพื่อ มิใหถูกทํารายและถูกจับนั้นไปแลวจอดรถท้ิงไวขางถนน ไมมีเจตนาเอารถคันน้ัน ไม เปนความผดิ ฐานลกั ทรัพย (คําพพิ ากษาฎีกาที่ 1683/2500) 12 LW 206

5) จําเลยถูกสลากกินรวบ แลวไปเอาเงินรางวัลจากผูท่ีเขาใจวาเปน เจา มือ แมจ ะใชอ าวุธขเู ขญ็ เอา ถาจําเลยเขา ใจวาเปนเงินที่จําเลยควรไดไมมีเจตนาทุจริต จะลักทรัพย ก็ไมผ ิดฐานชงิ ทรัพยหรอื ปลนทรัพย (คําพิพากษาฎกี าท่ี 1977/2497) 6) จาํ เลยหยิบกลวยของเจาทรัพยไปเตะทิ้งเสีย ตัดสินวาจําเลยไมมี เจตนาทุจริตเพราะเปนกิรยิ าแกลง (คาํ พพิ ากษาฎีกาที่ 301/2472) 7) จําเลยยอมใหผูเสียหายรวมประเวณีโดยมีสิ่งตอบแทน แต ผูเสียหายผิดขอตกลง จําเลยไมพอใจจึงไดทํารายผูเสียหาย แลวเอาปนไปทิ้งที่ปรักน้ํา กลางทุงนาเพราะกลัวผูเสียหายจะยิงเอา การนําเอาปนไปทิ้งนํ้าโดยไมเอาไปเปน ประโยชนสวนตนหรือผูอื่น แสดงวาไมมีเจตนาประสงคจะเอาทรัพย จึงไมใชการทุจริต การเอาปนของผูเสียหายไปทิ้ง จึงไมมีความผิดฐานชิงทรัพย (คําพิพากษาฎีกาที่ 216/2509) จําเลยท่ี 2 เอาปนของ ค. ไปเพ่ือตอสูขัดขวางมิให ค. จับจําเลย มิไดมีเจตนาลัก จําเลยที่ 2 สงปนใหจําเลยที่ 1 ค. เขาแยงปน จําเลยท่ี 1 ไมยอมใหเพ่ือ มิใหเกิดเหตุราย ตอมาจําเลยที่ 1 ปฏิเสธวาไมไดเอาปนไวและไมคืนให ยังไมพอท่ีจะถือ วาจาํ เลยท่ี 1 เจตนาทจุ รติ ลกั ปน ไมเ ปนลกั ทรพั ย (คาํ พพิ ากษาฎกี าท่ี 1657/2520) (2) “ทางสาธารณะ” หมายความวา ทางบกหรือทางน้ําสําหรับประชาชนใชใน การจราจร และใหหมายความรวมถึงทางรถไฟและรถรางท่ีมีรถเดินสําหรับประชาชน โดยสารดว ย ทางสาธารณะตามความหมายนมี้ ี 2 ประเภท คอื ก. ทางสาธารณะประเภททห่ี นงึ่ มหี ลกั เกณฑดังนี้ 1. ทางบก หรอื ทางน้ํา 2. สาํ หรับประชาชนใชในการจราจร ข. ทางสาธารณะประเภทที่สอง มหี ลกั เกณฑดงั นี้ 1. ทางรถไฟ ทางรถราง 2. มรี ถเดินสาํ หรับประชาชนโดยสารดว ย LW 206 13

ก. ทางสาธารณะประเภททีห่ นง่ึ 1. ทางบกหรือทางนํ้า “ทางบก” หมายถึง ทางท่ีเดินดวยเทาหรือเดิน ดวยพาหนะบนบก เชน ถนน ตรอก ซอย “ทางน้ํา” หมายถึง แมนํ้าลําคลอง ทะเลสาบ ทะเล เปนตน 2. สําหรับประชาชนใชในการจราจร ตองเปนทางที่ประชาชนใชใน การจราจรโดยทัว่ ไป ไมใ ชทางสงวนสทิ ธิห์ รือสวนบคุ คล คําวา “ประชาชน” หมายถงึ ประชาชนทว่ั ๆ ไป ไมเฉพาะเจาะจงถึงคน ใดคนหนึ่ง และมิไดหมายความวาไดใชอยางสิทธิหรือเปนเจาของกรรมสิทธิ์ กรรมสิทธิ์ หรอื สิทธจิ ะเปน ของใครไมสําคญั แมจ ะไดใชโดยฐานอนญุ าตก็เปนทางสาธารณะได คําวา “ประชาชนใชในการจราจร” หมายถึงการท่ีประชาชนคนใดคน หนง่ึ ท่วั ไปมีอํานาจหรือความชอบธรรมใชเ ปน ทางสญั จรได ไมใ ชทางสําหรับบุคคลบางหมู บางคณะ เชน ทางในสถานท่ีราชการ สถานท่ีของเอกชน แมจะกวางใหญ บุคคลเขาไป ตดิ ตอได กเ็ ปน ทางของสถานทเี่ หลา น้ันโดยเฉพาะ หาใชท างสาธารณะไม ข. ทางสาธารณะประเภทท่สี อง 1. ทางรถไฟ ทางรถราง สําหรับทางรถรางปจจุบันไดเลิกใชรถรางแลว แตบริเวณทางรถรางน้ันอาจทําเปนถนน สวนทางรถไฟท่ีจะถือวาเปนทางสาธารณะ จะตอ งมีรถเดิน 2. ท่ีมีรถเดินสําหรับประชาชนโดยสารดวย หมายความวา นอกจากทาง รถไฟท่ีมีรถเดินดวยแลว จะตองสําหรับประชาชนโดยสารดวยจึงจะเปนทางสาธารณะ เพราะบางทที างรถไฟที่ใชสําหรับสับเปล่ียนหัวจักรรถไฟเปล่ียนตูรถไฟอยางน้ีมิใชสําหรับ ประชาชนโดยสาร ทางสาธารณะนั้นแมประชาชนท่ัวไปจะเขาไปไดเปนสาธารณสถานก็ ไมเปนทางสาธารณะเสมอไป เชน ในทางสวนสาธารณะสําหรับประชาชนเขาไปเที่ยวทาง ในบริเวณศูนยการคาเอกชน ทางเดินในตลาดเอกชน เหลานี้ไมเปนทางสาธารณะเพราะ มิไดใชในการจราจร แตเปนทางสําหรับเขาไปใชสถานท่ีเทาน้ัน สวนทางในท่ีเอกชนถา เปนทางที่อนุญาตใหประชาชนใชเปนทางจราจร แมจะสงวนกรรมสิทธิ์ปดเสียเม่ือใดก็ได ก็เปนทางสาธารณะได ทางเดินระหวางสวนซ่ึงมหาชนใชสัญจรท่ัวไปเปนทางหลวง (ทาง สาธารณะ) 14 LW 206

ทต่ี องใหคาํ นิยามคาํ วา “ทางสาธารณะ” เพราะจําเปนตองรูวาทางชนิด ใดเปนทางสาธารณะ เนื่องจาก “ทางสาธารณะ” ท่ีบัญญัติอยูในประมวลกฎหมายอาญา เปนความผิดเกี่ยวกับทางสาธารณะหลายมาตราดวยกัน เชน ในมาตรา 229, 371, 372, 378, 385, 386, 387 และมาตรา 396 เปน ตน ตวั อยา งคาํ พิพากษาฎีกาเก่ียวกับทางสาธารณะ คาํ พิพากษาฎกี าที่ 27/2466 ทชี่ ายตล่ิงซ่ึงติดตอกบั ถนนหลวง หาใชถนนหลวงไม คําพิพากษาฎีกาที่ 41/2458 ทางเดินระหวางสวนสําหรับมหาชนใชเปนทางสัญจร ไปมาไดท ว่ั ไป ถอื เปน ทางสาธารณะ คําพิพากษาฎีกาที่ 585/2469 ทางใดที่เปนทางหลวงอยูคร้ังหน่ึงแลวยอมเปนทาง หลวงเสมอไป นอกจากจะมีกฎหมายบงั คบั ใหเ ปน อยางอื่น คําพิพากษาฎีกาท่ี 706/2470 ที่ชายเลนริมทะเลซ่ึงน้ําทะเลข้ึนทวมถึงแตมีตนไม งอกขึ้นจนเปน ปา ราษฎรใชเดินเรือไมได ไมเปน ทางหลวง คําพิพากษาฎีกาที่ 956/2471 ทางเกวียนซึ่งอยูในระหวางท่ีนาของราษฎรและ ราษฎรใชท างน้เี ปน ทางสาํ หรบั ขนขาว และปนไปลงทา นํ้าประมาณ 20 ปแลว เปนทางหลวง คาํ พพิ ากษาฎีกาท่ี 926/2474 ทางอยูในที่ของจําเลย แตไดปลอยใหทางน้ีเปนทาง สาธารณะประชาชนท่ัวไปสัญจรไปมาไดหลายสิบปแลว จาํ เลยไมเ คยหาม เปน ทางหลวง คําพิพากษาฎีกาท่ี 332/2475 จําเลยไดยอมยกท่ีดินใหเปนทางแตไมไดรับโอน โฉนด ไดสรางทางเปดใหประชาชนใชเดินไปมาแลว ตัดสินวาการอุทิศท่ีเพื่อประโยชน สาธารณะและรัฐไดสรางเปนทางจนประชาชนใชเปนทางไปมาแลว เชนน้ีนับเปนทาง หลวงแลว หาจําตองโอนไม คําพิพากษาฎีกาท่ี 200/2476 ท่ีซึ่งเจาของปลอยใหสาธารณะชนใชเดินไปมาเปน เวลา 20 ปแ ลว นบั เปน ทางหลวง แมท นี่ ัน้ จะอยูใ นเขตโฉนดเจาของท่ดี นิ คําพิพากษาฎีกาที่ 506/2490 ยกท่ีดินใหแกเทศบาลเพ่ือเปนทางสาธารณะน้ันไม ตอ งจดทะเบยี น เพยี งทําหนังสอื มอบทางสาธารณะใหแ กเ ทศบาลก็พอ คําพิพากษาฎีกาที่ 1776/2493 เดิมมีทางคนเดินและทางเกวียนเดิน จําเลยทํา สวนยางทับทางรายน้ีแลวทําทางข้ึนใหมและแทนทางเกา ประชาชนไดสัญจรไปมาในทาง ใหมกวา 10 ปแ ลว ดังนถี้ อื วาจาํ เลยไดอุทิศท่ดี ินโดยปรยิ ายใหเปน ทางสาธารณะแลว LW 206 15

คําพิพากษาฎีกาที่ 276-277/2495 แมนํ้าลําคลองนั้นโดยสภาพยอมถือวาเปนทาง ซ่ึงสาธารณชนใชสัญจรไปมาอันถือไดวาเปนทางสาธารณะหรือทางหลวง เวนแตจะตื้นเขิน จนสาธารณชนไมอ าจใชเ ปนทางสญั จรไปมาตอไปได คําพิพากษาฎีกาที่ 765/2498 การอุทิศที่ดินใหเปนทางสาธารณะนั้นแมจะยังมิได แกโ ฉนดทีด่ ินและใชม ายังไมถึง 10 ป ก็ไมส าํ คญั ตอ งถอื วา เปน ทางสาธารณะ คําพิพากษาฎีกาที่ 240/2499 ที่ชายตลิ่งนํ้าทะเลขึ้นถึงอยางเดียวน้ัน หาใชทาง สาธารณะเสมอไปไม การที่ไดความจากพยานโจทกวาเคยใชเรือผานท่ีจําเลยเขาออกมา ประมาณ 20 ป จะฟงไดวามีการอุทิศที่ดินตอนน้ันเปนทางสาธารณะโดยปริยายไมได (เพราะไมใ ชป ระชาชนใชใ นการจราจร) คําพิพากษาฎีกาที่ 533/2500 ใชเกวียนขนขาวและใชกระบือผานนาชาวบานเม่ือ สิ้นฤดูทํานาแลวมาสูทางในหมูบานเปนเวลาหลายสิบปน้ัน เปนภารจํายอม แตทางเชนนี้ หาใชท างสาธารณะไม คําพิพากษาฎีกาที่ 1186/2500 คลองหรือทางนํ้ารายพิพาทไดขุดข้ึนในที่ดินของ จําเลยเพื่อใชลําเลียงฟนเขาออกโดยไมมีการอุทิศโดยตรงหรือโดยปริยายใหทางนํ้าที่ขุด ข้ึนเปนทางสาธารณะ ดังน้ีการที่มีคนเขาออกใชเรือในทางน้ํานี้มานานทําใหทางน้ําหรือ คลองรายน้ีกลายเปนทางหลวงหรอื ทางสาธารณะไม คําพิพากษาฎีกาท่ี 1138-1139/2501 ทางพิพาทอยูในโฉนดจําเลย ไมปรากฏวามี ทางสาธารณะ แตเปนทางเช่ือมโยงระหวางคลองกับสะพานไปสูถนนคอนกรีต ประชาชน ไดใชทางนี้รว มกันมาหลายสิบปแลว ดังน้ีแมจะไมไดความวาผูใดอุทิศที่ของตนใหเปนทาง สาธารณะโดยตรง ก็ถือวาเจาของท่ีดินเสนทางนี้ผานได ยอมอุทิศใหเปนทางสาธารณะ โดยปรยิ ายแลว คําพิพากษาฎีกาที่ 1020/2503 ที่ดินของจําเลยเปนที่ดินมือเปลา มีทางพิพาทมา ไมนอยกวา 40 ป สาธารณชนไดใชเดินและชักลากไมมาประมาณ 20 ป ตั้งแตเจาของท่ี เดิมกอนจําเลยไมมีการหวงหามแสดงสิทธิใด ๆ เลย ดังน้ีถือวาเปนการอุทิศโดยปริยาย เปน ทางสาธารณะแลว จําเลยไปปด กั้นยอมเปน ผิดตามมาตรา 368 คําพิพากษาฎีกาที่ 217/2509 ที่พิพาทเปนทางเดิน คนใชมา 40-50 ป กอนตกมา เปนของจําเลยและอยูในเขตที่ดินของจําเลย เมื่อจําเลยมิไดสละสิทธิครอบครองใหเปน 16 LW 206

(3) “สาธารณสถาน” หมายความวา สถานที่ใด ๆ ซ่ึงประชาชนมีความชอบ ธรรมท่ีจะเขาไปได การท่จี ะเปนสาธารณสถานจะตอ งประกอบดว ยหลักเกณฑด ังตอไปนี้ 1. ตองเปน สถานที่ 2. สถานทนี่ ้นั ประชาชนมคี วามชอบธรรมทจ่ี ะเขา ไปได 1. ตองเปนสถานที่ คําวา “สถานท่ี” หมายถึงสถานที่ทั่ว ๆ ไป จะเปนอสังหาริมทรัพยหรือ สังหาริมทรัพยก็ได อาจเปนสถานท่ีท่ีมีสิ่งปลูกสรางหรือวางเปลาท่ีมีขอบเขตจํากัดไวก็ได และอยูบนบกหรือในน้ําก็ไดเชนเดียวกับเคหสถาน รถประจําทาง สถานที่บนขบวนรถไฟ โดยสารซึ่งประชาชนมีความชอบธรรมท่ีจะเขาไปได เปนสาธารณสถานเรือโดยสารหรือ เครอ่ื งบินนา จะอยใู นความหมายน้ดี วย 2. สถานทนี่ น้ั ประชาชนมคี วามชอบธรรมทจี่ ะเขา ไปได คําวา “ประชาชน” หมายถึงบุคคลโดยท่ัว ๆ ไป แตอาจมีขอจํากัด เชน เดก็ หามเขา หรือเขาไดเฉพาะบคุ คลบางจาํ พวก เชน เขาไดเฉพาะบุรุษ สตรี หรือพระ ก็ยัง ถอื วาประชาชนเขา ไดอ ยู แตที่ที่เขาไดเฉพาะบุคคลบางจําพวกโดยจํากัด เชน สมาชิกของสมาคม แมใครจะสมัครเปนสมาชิกได แตถาไมไดสมัครก็ไมใชสมาชิกจึงเขาไปไมได สมาชิกที่เขา ไปไดแมจํานวนมากมายก็ไมใชประชาชน แตถาบางเวลาเปดโอกาสใหสมาชิกพาใคร ๆ เขาไปไดไมจํากัดคุณสมบัติหรือจํานวน แมจะตองรับอนุญาตกอนในโอกาสเชนน้ันก็ถือ เปนประชาชนเขาได1 คําวา “ความชอบธรรม” ท่ีจะเขาไป หมายความวา ประชาชนโดยท่ัวไป ยอมใชสถานท่ีน้ันโดยไมจําตองรับอนุญาตจากเอกชนคนใดคนหนึ่ง และไมจําตองถึงกับ 1จิตติ ติงศภัทยิ , ศาสตราจารย, คําอธิบายประมวลกฎหมายอาญาภาค 2 ตอน 2 และตอน 3 โรงพิมพแสงทองการพิมพ, 2513), หนา 2068. LW 206 17

ความชอบธรรมที่ประชาชนจะเขาไดอาจมีขอบเขตจํากัดเฉพาะบางสวน บางเวลา หรือบางตอน เชน ศาลาวัด โบสถ ในขณะท่ีเปดใหมีการทําบุญบนศาลา หรือมี เทศนในอุโบสถ หรือบวชนาคในอุโบสถ ถือเปนเวลาที่ประชาชนมีความชอบธรรมเขาไป ได แตศาลาหรือโบสถไดปดไมเปดใหประชาชนเขาไปบางเวลา ไมถือวาประชาชนมี ความชอบธรรมท่ีจะเขาไปได สถานเริงรมยตาง ๆ บริเวณท่ีจัดใหแขกเขาไปน่ังพัก เชน สถานอาบ อบ นวด หรือโรงแรม บริเวณที่จัดใหแขกน่ังพักเพ่ือเลือกหญิงบริการ หรือ บรเิ วณท่ีจัดใหแขกน่ังพักผอนในโรงแรม ถือเปนสถานท่ีประชาชนท่ีมีความชอบธรรมท่ีจะ เขาไปได แตหองที่หญิงบริการใชสําหรับอาบ อบ นวด ใหแขก หรือหองที่จัดสําหรับแขก เขา อยอู าศยั ในโรงแรม ไมถ ือวาเปน สถานทีป่ ระชาชนมคี วามชอบธรรมเขา ไปได สําหรับหองเรียน หองประชุม ซ่ึงอนุญาตใหเขาไปไดเฉพาะบุคคลที่เปน นักเรียน นิสิต นักศึกษาของสถานที่น้ัน หรือสมาชิกของที่ประชุมไมเปดใหประชาชน ท่ัวไปเขาชมได ไมเปน สาธารณสถาน เหตุผลท่ีตองใหนิยามคําวา “สาธารณสถาน” เพราะประมวลกฎหมาย อาญาไดบัญญัติคําวาสาธารณสถานไวหลายมาตราดวยกัน เชน ในมาตรา 335(9), 372 และ 378 เพ่ือใหความหมายเปนอันเดียวกันจงึ ตอ งใหนิยามไว ตวั อยางคําพพิ ากษาฎีกาที่เกย่ี วกบั “สาธารณสถาน” คาํ พิพากษาฎีกาท่ี 1908/2518 ถนนซอยในที่ดินเอกชนซึ่งแบงใหเชาปลูก บา นประชาชนชอบที่จะเขา ออกตดิ ตอกันได เปนสาธารณสถาน คําพิพากษาฎีกาท่ี 2075-2079/2519 หญิงมีปายหมายเลขติดที่อกเส้ือนั่ง คอยในหองกระจกบาง นั่งในหองโถงบาง ในโรงแรม เพื่อชายเลือกไปรวมประเวณี เปน 18 LW 206

คําพิพากษาฎีกาที่ 883/2520 หองโถงในสถานการคาประเวณีผิด กฎหมายเวลารับแขกมาเทยี่ วเปนสาธารณสถานซึ่งประชาชนมีความชอบธรรมที่จะเขาไป ไดพลตํารวจมีอํานาจคนโดยไมตองมีหมายตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 93 จําเลยขัดขวาง เปน ความผิดตามมาตรา 140 ตํารวจจบั ไดตามมาตรา 78(3) (4) “เคหสถาน” หมายความวา ที่ซึ่งใชเปนท่ีอยูอาศัย เชน เรือน โรงเรือ หรือ แพซ่ึงคนอยูอาศัย และใหหมายความรวมถึงบริเวณที่ซึ่งใชเปนท่ีอยูอาศัยนั้นดวย จะมีรั้ว ลอมหรอื ไมกต็ าม จากความหมายนีแ้ ยก “เคหสถาน” ออกเปน 2 ประเภท คือ ก. เคหสถานประเภททีห่ น่ึง ประกอบดวยหลักเกณฑดงั น้ี 1. ตอ งเปนทีซ่ ง่ึ ใชเปนทอ่ี ยอู าศยั 2. ซึง่ คนอยอู าศัย 1. ตอ งเปน ทีซ่ ่ึงใชเปน ทอ่ี ยูอาศัย ท่ซี งึ่ ใชเปน ท่อี ยูอ าศยั นน้ั ไดแก เรอื น โรงเรอื น หรือ แพ นอกจากที่ระบุแลว อาจมีสิ่งอื่น ๆ อีก ขอสําคัญอยูที่วาที่ซ่ึงใชอยูอาศัย นั้นตองเปนท่ีคนอยูอาศัยจริง ๆ ฉะนั้นคําวา “ที่” จึงหมายความถึง เรือนแพ ดวย จึงมิใช เพียงที่ดินหรือส่ิงซึ่งติดอยูกับท่ี แมจะเปนส่ิงท่ีเคล่ือนท่ีได ถาใชเปนที่อยูอาศัยก็เปน เคหสถานได 2. ซึ่งคนอยูอาศัย หมายถึง ใชเปนที่หลับนอน ไมจําตองกินในที่นั้น การนอนคือนอนหลับเปนปกติ ไมใชพักนอนกลางวันช่ัวงีบระหวางเวรยาม แตก็มิได หมายความวาตองอยูประจําตลอดวัน ถาใชอยูเปนปกติแลวก็ถือวาเปนเคหสถาน เชน บานพักช่ัวคราวเวลาตากอากาศเปนเคหสถานแมจะปดกุญแจตลอดเวลาทั้งที่ไมมีคนพัก หลบั นอนดว ย สําหรับหองเชาในโรงแรม บังกะโล แฟลต ท่ีใหคนเชาเปนปกติ คงถือ เปนเคหสถานได แมผูอาศัยจะเปลี่ยนแปลงหนากันอยูตลอดไป สวนหองนอนในขบวน LW 206 19

กางเต็นทปลูกเพิงขัดหางนอนระหวางเดินทางเปนระยะ ๆ ไมเปนท่ี หลับนอนตามปกติ ถึงแมจะเปนเต็นทชนิดพิเศษมีเคร่ืองปรับอากาศก็ไมเปนเคหสถาน ท้ังนี้ไมรวมถึงเต็นทท่ีใชหลับนอนระหวางทําการสํารวจ ณ ที่ใดเปนคราว ๆ แมเสร็จแลว จะยายไปท่ีอื่นก็ถือเปนเคหสถานได เชนเดียวกับท่ีพักคนงานกินอยูหลับนอนชั่วคราว ระหวางกอ สรางอาคารกเ็ ปนเคหสถาน ตัวอยา งที่ถอื เปนเคหสถานมดี ังนี้ 1. ปลูกเพิงอยูเผาตากอวนของผูอพยพมาจับปลาที่สุโขทัยเมื่อถึง ฤดูกาล แมพนฤดูจบั ปลาแลวจะทงิ้ ไปก็เปนเคหสถาน 2. หา งรานที่มคี นเฝา มที ่หี ลับนอนเปน ปกตเิ ปน เคหสถาน 3. โรงรถยนตท ่ีมีคนอยปู ระจําเพ่อื เฝา รักษาเปนเคหสถาน 4. แพซุงท่ีลองมาจากตนนํ้ามีเพิงคนงานพักนอนเปนประจําตลอดทาง เปนเคหสถาน 5. เกวียนท่ีใชเปนที่อยูประจําท้ังกลางวันและกลางคืนตลอดเวลา เดินทางไปสถานที่ตาง ๆ เปนเคหสถาน (เจาทรัพยจะตองเปนผูใชเกวียนเดินทางอยูเปน ปกติ มใิ ชจา งเกวียนไปกจิ ธุระเปน ช่ัวคราว) 6. รถหรือเรือซ่ึงใชเปนท่ีพักระหวางเดินทางและทํางานหรือทองเท่ียว เปนท่หี ลับนอนเปนประจําระหวางทางเปน เคหสถาน ตวั อยา งทีไ่ มถอื เปนเคหสถานมดี งั นี้ 1. ปลกู เพิงนอนเฝาขาวหรือจบั ปลาเปน ครงั้ คราวไมเปนเคหสถาน 2. บางวันเจาของรานกลับบานไมทันก็นอนท่ีรานขายของ วันไหน สงสัยวาจะมขี โมยกม็ านอนเฝาไมเปน เคหสถาน 3. ศาลาวัด ศาลาริมทาง ใตถุนสะพานท่ีมีผูไปอาศัยนอนหรือแอบ อาศัยนอนเปนครั้งคราวระหวางที่เจาของยังไมขับไล หรือหองขังที่ผูถูกคุมขังถูกบังคับให อยูจ นกวา จะปลอ ยตวั แมอาจจะเปน เวลาหลายปก็มิไดใชเปน ทอี่ ยูอาศัย ไมเ ปนเคหสถาน 1จิตติ ตงิ ศภัทิย, ศาสตราจารย, คําอธบิ าย ปอ. ภาค 2 และ 3 อา งแลว , หนา 2056. LW 206 20

4. หองนอนในรถไฟหรือเรือโดยสารซึ่งใชพักหลับนอนระหวางเดินทาง โดยเฉพาะ ไมเ ปน เคหสถาน 5. สิ่งปลูกสรางท่ียังไมมีคนเขาอยูเปนปกติ หรือเลิกใชโดยออกไปไม คิดจะกลบั เชน บา นเชาระหวา งไมมีคนเชา ไมเ ปนเคหสถาน ข. เคหสถานประเภทท่ีสอง คือบริเวณของที่ซ่ึงใชเปนท่ีอยูอาศัย จะมีรั้วลอม หรือไมก็ตาม คําวา “บริเวณ” จะอยูติดกับสถานท่ีอันเปนเคหสถานโดยตรงหรือหาง ออกไปก็ได เชน ระเบียงบาน นอกชาน ในครัว หองรับแขก อยางไรก็ตามการที่จะ พิจารณาวาบริเวณของท่ีอยูอาศัยมีขอบเขตเพียงใดยอมแลวแตสภาพของที่อยูอาศัยและ ท่ีท่ีตอเนื่องวาเปนสวนประกอบของกันและกันหรือแยกออกไดเปนคนละสวนคนละตอน ทัง้ นไ้ี มถ อื การติดตอ หรอื หลังคาเดียวกันเปน เกณฑ เหตุที่ตองใหนิยามคําวา “เคหสถาน” เพราะมีบางมาตราในประมวลกฎหมาย อาญาทีบ่ ัญญัติคําวาเคหสถานไว เชน มาตรา 218, 335 และมาตรา 364 เพื่อความหมาย อันเดยี วกนั จงึ ไดใ หนิยามไว ตัวอยา งทีถ่ อื วา เปน บริเวณของท่ซี ึง่ ใชเ ปน ทอี่ ยูอาศยั มีดงั ตอ ไปน้ี 1. นอกชานเรือนซ่งึ ตอเนอ่ื งกับเรอื นไมวา จะมีลูกกรงหรอื ไม เปนเคหสถาน 2. ครัวเรือนที่ไมมีคนอยูอาศัยแตติดกับตัวเรือนท่ีมีคนอยูอาศัย เปน เคหสถาน 3. ใตถุนเรือนมีฝาขัดแตะก้ันหอง พ้ืนเปนดิน กลางวันใชเปนท่ีขายของ กลางคืนขนของข้ึนเก็บบนเรือน ไมมีคนนอนใตถุนนี้ ลักษณะเชนน้ีตองถือวาเปนบริเวณ ตอเนอื่ งกับตัวเรอื น นับวาเปนเคหสถาน 4. เลาไกแมจะไมใชที่คนอยูอาศัย แตอยูหางจากตัวเรือนประมาณ 1 เมตร แมจะแยกออกตางหากจากตัวเรือน ก็ยังอยูในท่ีดินอันเปนบริเวณของโรงเรียนซึ่งมีร้ัวอยู ดวย ไมใชอยูบริเวณตางหากจากตัวเรือนซึ่งใชเปนท่ีอยูอาศัยของคน ก็ถือวาเปน เคหสถาน จําเลยลักไกในเลาซึ่งอยูในบริเวณท่ีคนอยูอาศัย จึงเปนการลักทรัพยใน เคหสถาน (คําพิพากษาฎีกาท่ี 393/2509 ประชมุ ใหญ) 5. สนาม ลานบา น กเ็ ปนบริเวณตอเนื่องรวมถงึ ท่ที เี่ ปน สวนครัว LW 206 21

ตวั อยางท่ไี มถ ือเปน บริเวณของท่ซี งึ่ ใชเปน ทอ่ี ยอู าศัย มดี งั ตอไปน้ี 1. กระทอมนาต้ังอยูในท่ีดินแปลงเดียวกับนา 100 ไรบริเวณท่ีอยูอาศัย ยอมจาํ กัดเฉพาะพ้ืนที่ทีเ่ ปนสว นของกระทอมนา ไมใ ชพื้นนาท้ัง 100 ไร 2. โรงกลึงแมอยูในร้ัวบานแตหางตัวเรือน 1 เสน ไมใชอยูอาศัย ไมเปน เคหสถาน (คาํ พิพากษาฎกี าท่ี 515/2486) 3. รว้ั บานเปนขอบเขตเคหสถาน ไมใชเปนเคหสถาน (คําพิพากษาฎีกาที่ 52/2475) 4. ท่ีดินมีรั้วสังกะสีลอมรอบ มีคอกสุกร 80 ตัวอยูดานตะวันตก มีหองพัก คนงานอยูดานเหนือ มีหองแถวอยูดานใตสําหรับคนงานอยูอาศัย เปนท่ีเก็บรักษาสุกร โดยเฉพาะเปนที่พักอาศัยชั่วคราวเพ่ือดูแลสุกรเปนอันดับรอง คอกสุกรจึงไมใชบริเวณ ของทอี่ ยูอาศัยไมเปน เคหสถาน (คําพิพากษาฎกี าที่ 1250/2520) 5. “อาวุธ” หมายความรวมถึงสิ่งซ่ึงไมเปนอาวุธโดยสภาพ แตซึ่งไดใช หรือเจตนาจะใชประทุษรายรา งกายถงึ อันตรายสาหัสอยา งอาวธุ บทนิยามน้ีมิไดกลาว “อาวุธ” หมายความวาอะไรเหมือนบทนิยามคํา อื่น ๆ ก็เพราะส่ิงซ่ึงเปนอาวุธโดยสภาพมีอยูแลว ฉะน้ันความหมายของคําวา “อาวุธ” ตามบทนยิ ามนี้จงึ มี 2 ชนิด คอื ก. ส่งิ ซ่ึงเปน อาวุธโดยสภาพ ข. สิง่ ซ่ึงไมเปนอาวุธโดยสภาพ ก. สิ่งซ่ึงเปนอาวุธโดยสภาพ หมายถึง สิ่งซ่ึงโดยสภาพแลวใชทํา ใหเปนอันตรายแกรางกายบาดเจ็บสาหัสหรือถึงตายไดโดยตรงในกฎหมายลักษณะอาญา เดิม มาตรา 6(5) เรยี กวา “ศาสตราวธุ ” และใหต ัวอยางวา ปน ดาบ หอก แหลน หลาว มีด และกระบอง เปนตน กรณีอาวุธก็มีความหมายเชนเดียวกับศาสตราวุธ ฉะนั้นอาวุธโดย สภาพมีหลกั เกณฑใหพจิ ารณาไดด ังน้ี1 1. รูปรา ง ขนาด รูปรางท่เี ห็นเปน อาวุธไดโดยสภาพตามความรูสึก ของสามัญชนทั่วไป เชน ปน ระเบิดมือ ดาบ มีดขนาดใหญ ไมซางกับลูกดอกอาบยาพิษ 1พระวรภกั ดิ์พิบูลย, ศาสตราจารย, คําอธิบายประมวลกฎหมายอาญา 1. LW 206 22

2. ความรายแรง หมายถึง ส่ิงท่ีเรียกวาอาวุธโดยสภาพนี้เม่ือใช ทาํ อันตรายแกกายถงึ สาหัสไดโ ดยไมจาํ ตองเลือกวาเปนสวนไหนของรางกาย ข. ส่ิงซ่ึงไมเปนอาวุธโดยสภาพ กรณีส่ิงซ่ึงไมเปนอาวุธโดยสภาพ จะถือวา เปนอาวุธไดจะตองประกอบดว ยหลักเกณฑข อ ใดหรอื ขอหนงึ่ ดงั ตอไปน้ี 1. ส่ิงซ่ึงไมเปนอาวุธโดยสภาพแตไดใชประทุษรายรางกายถึง อันตรายสาหสั อยา งอาวุธ หรอื 2. ส่ิงซ่ึงไมเปนอาวุธโดยสภาพแตเจตนาจะใชประทุษรายรางกาย ถงึ อนั ตรายสาหสั อยา งอาวธุ กรณีตามขอ ข. นี้ ตามสภาพแลวไมเปนอาวุธถึงแมจะใชทํา อันตรายสาหัสแกกายได แตถาไดใชหรือเจตนาจะใชทําอันตรายสาหัสก็ถือเปนอาวุธ โดย จะตองใชอยางอาวุธ และการใชท่ีจะเปนอาวุธตองเปนการใชประทุษรายแกรางกาย ถาใช ทําอันตรายแกทรัพยหรือใชขวางปาบานเรือนมิไดตั้งใจใหถูกคนหรือใหเขาใจวาจะทํา อนั ตรายแกร างกายบุคคล ไมเปนใชหรือเจตนาจะใชเ ปน อาวุธ อยางไรเรียกวา “อันตรายสาหัส” ตองถือตามประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา 297 มี 8 ประการ คือ 1. ตาบอด หหู นวก ลนิ้ ขาด หรือเสียมานประสาท 2. เสยี อวยั วะสบื พันธุ หรอื ความสามารถสืบพนั ธุ 3. เสยี แขน ขา มือ เทา น้วิ หรืออวัยวะอนื่ ๆ 4. หนา เสียโฉมอยางตดิ ตวั 5. แทง ลกู 6. จิตพกิ ารอยา งติดตัว 7. ทุพพลภาพ หรือปวยเจ็บดวยอาการทุกขเวทนาเกินกวาย่ีสิบ วัน หรือจนประกอบกรณียกจิ ตามปกตไิ มไดเกินกวาย่ีสิบวนั สวนที่วาใชอยางอาวุธนั้น หมายความวา แมวัตถุบางอยางจะ ใชทําอันตรายบุคคลถึงสาหัส หากลักษณะวิธีการที่ใชเทียบไมไดกับอาวุธโดยสภาพอยาง LW 206 23

ท่ีตองทราบวาเปนอาวุธหรือไมนี้ มีความสําคัญแกการกระทํา ความผิดฐานลักทรัพย กรรโชก ชิงทรัพย ปลนทรัพย บุกรุก และความผิดลหุโทษดวย (ป.อ.มาตรา 335, 337, 339, 340,365, 371 และ 379) โดยเฉพาะความผิดตอรางกาย อาวธุ ท่ใี ชทํารายเปน เหตุหนึ่งท่จี ะชเ้ี จตนาของผูก ระทาํ ผดิ ตัวอยา งทีเ่ ปนอาวธุ โดยสภาพ หรือถอื เปน อาวุธ 1. ถอตามสภาพเปนเคร่ืองใชชนิดหนึ่งสําหรับเรือ เม่ือเอามา ใชเปนเครอ่ื งประการในการชงิ ทรัพยจงึ เปน อาวธุ 2. ใชไมไผโตกลวงเทาขอมือขาว 1 แขนเง้ือจะตี ไมน้ีเปน อาวุธไดเ พราะใชเ ปนเครอื่ งประหารแลว และโตพอท่ีจะทํารา ยไดถ งึ สาหสั 3. พายตามสภาพเปนเคร่ืองมือใชพายเรือ แตเมื่อผูใดใชพาย ทาํ รายเขาจนบาดเจบ็ สาหสั กถ็ ือไดวา เปน อาวธุ 4. ไมยาว 5 ฟุต โคนโต 10 นิ้ว ตอนกลางและปลายโต 8 น้ิว คร่ึงนัน้ เปน อาวธุ อาจใชทํารา ยถงึ ตายได 5. ปนที่ไมอาจใชยิงทําอันตรายแกชีวิตและวัตถุไดก็เปนอาวุธ ปน ตาม พ.ร.บ. อาวธุ ปนฯ และเปน อาวุธโดยสภาพ พาไปในเมืองเปนความผิดตามมาตรา 371 (คําพพิ ากษาฎกี าท่ี 1903/2520) 6. จําเลยชักส่ิวออกมาขูจะทํารายในการปลน เปนการปลน โดยมีอาวธุ ตดิ ตวั ไปตาม ป.อ.มาตรา 340 วรรค 2 (คําพิพากษาฎกี าที่ 2009/2522) ตัวอยา งที่ไมถอื วาเปน อาวุธ 1. หนังสะต๊ิกน้ันตามธรรมดาเปนของสําหรับเด็กยิงอะไรเลน เมอื่ ไมปรากฏวาอาจใชทาํ รายรางกายไดถึงสาหัสผิดแปลกไปจากธรรมดาแลว ไมใชอาวุธ (คําพพิ ากษาฎกี าท่ี 886/2492) 24 LW 206

2. จอบเสียมท่ีจําเลยใชเปนเครื่องมือขุดนาของคนอ่ืน เรียก ไมไดวา มีอาวุธเขา ไปบกุ รุก (คําพพิ ากษาฎีกาที่ 335/2493) 3. ไฟฉายที่ใชในการปลนทรัพย เมื่อไมปรากฏวาใหญและ ยาวเทาใด จะอนุมานเอาวาเปนเคร่ืองประหารอันสามารถจะใชกระทําแกรางกายใหถึง สาหสั เปนอาวธุ ไมได (คําพพิ ากษาฎีกาที่ 1311/2493) 4. ยารมทําใหมนึ เมาหรือยาอยา งอนื่ ไมใชอ าวุธ ขอสังเกต คําวา “ไดใช” หมายความวา ใชทํารายรางกาย แลว สวนคําวา “เจตนาจะใช” หมายความวายังไมไดใชเลย แตต้ังใจจะใชเทานั้น ก็ถือวา ทาํ ความผิดโดยใชอ าวธุ (6) “ใชกําลังประทุษราย” หมายความวาทําการประทุษรายแกกายหรือจิตใจ ของบคุ คล ไมวา จะทําดวยใชแรงกายภาพหรือดวยวิธีอื่นใด และใหหมายความรวมถึงการ กระทําใด ๆ ซึ่งเปนเหตุใหบุคคลหน่ึงบุคคลใดอยูในภาวะท่ีไมสามารถขัดขืนไดไมวาจะ โดยใชยาทาํ ใหมึนเมา สะกดจิต หรือใชวธิ ีอ่นื ใดอันคลายคลงึ กัน ตามนิยามที่ 6 นี้ พึงแยกการใชก าํ ลังประทษุ รายออกไดเปน 2 ประการคอื 1. การประทุษรายโดยตรง ไดแก การประทุษรายแกรางกายหรือจิตใจของ บุคคลดวย ก. แรงกายภาพ หรือ ข. ดวยวธิ ีอ่นื ใด คําวา “ประทุษราย” หมายถึง การทํารายแกกายหรือจิตใจของบุคคล เชน ชก ตอย ตบตี ใชอาวุธปนยิง ใชมีดแทง เปนตน แตการกระทําตอชื่อเสียง ทรัพยสิน หรือเสรีภาพมไิ ดถือวา เปน ประทุษรา ยตามบทนยิ ามน้ี คําวา “ใชแรงกายภาพ” หมายความถึงการประทุษรายดวยการใช อํานาจทางกายหรือกําลังกายของบุคคลผูกระทําตอบุคคลอีกคนหนึ่งซ่ึงถูกกระทํา เชน การชก ตอย ตบตี ถีบ เตะ หรือผลักใหลม เปนตน โดยไมหมายรวมถึงพลังธรรมชาติ หรือพลังทางจิตใจ คําวา “วิธีอ่ืนใด” จะตองมีความหมายทํานองเดียวกับใชแรงกายภาพ เชน ก. ผลัก ข. ใหต กบันได เปนการใชแ รงกายภาพ แตถา ก.หลอกให ข. เดินตรงไปโดย LW 206 25

การเอาผงซักฟอกโรยใหถนนล่ืน รถว่ิงมาคว่ํา คนในรถเปนอันตราย ใชไ ฟฟาจ้ีใชเ หล็กเผาไฟจ้ี เหลา น้ถี ือเปนใชว ิธอี ่นื ใดทาํ นองเดยี วกับใชแ รงกายภาพ การประทุษรายแก “รางกาย” หมายถึง ทําใหรางกายเจ็บปวย เปรอะ เปอน เปยก รอ น เยน็ กวา ปกตจิ นเปน ภัยตอ กาย เชน เทอุจจาระรด ถา ยปสสาวะรดตัวคน 1 การประทษุ รายแก “จติ ใจ” หมายถึง กระทําตอจิตใจ ไดแก ทําใหตกใจ ทําใหหมดสติ ทั้งน้ีไมรวมถึงการทําใหเกิดความรูสึกกลัว โกรธ หรือเสียใจ นอยใจ เจ็บใจ แคนใจ เพราะเปน แตเพยี งอารมณเ ทานนั้ ไมถ ึงกับทาํ รายจิตใจ2 2. การกระทําใด ๆ ซงึ่ ทาํ ใหบ ุคคลใดอยูใ นภาวะท่ีไมสามารถขดั ขนื ได โดย ก. ใชย าทําใหมนึ เมา สะกดจิต หรอื ข. ใชวิธีอ่ืนใดอันคลา ยคลงึ กนั คาํ วา “ใชย าทําใหมนึ เมา” หมายถึง ใหกินยาประเภทตาง ๆ ทําใหเกิด อาการมึนเมาจนไมส ามารถจะขดั ขนื ได คําวา “สะกดจิต” หมายถึง ใชอํานาจทางกระแสจิตท่ีเหนือกวาบังคับ ใหบุคคลหนึ่งบคุ คลใดกระทาํ อยางใดอยางหนึ่ง คําวา “ใชวิธีอื่นใดอันคลายคลึงกัน” หมายความวา ใชวิธีการอ่ืนใดก็ ตาม ใหทํานองเดียวกับการทําใหมึนเมาหรือสะกดจิต เชน ใชยาเบ่ือเมาใหกินจนหมดสติ หรือมอมเหลาจนหมดสติ หรือใชค วนั รม เปนตน สําหรับการกระทําใดๆ ซึ่งเปนเหตุใหบุคคลหน่ึงบุคคลใดอยูในภาวะท่ี ไมสามารถขัดขืนไดน้ัน มีขอสําคัญอยูที่วาการกระทํานั้น ๆ เปนเหตุใหบุคคลผูถูกกระทํา อยูในภาวะไมสามารถขัดขืนได ถาปราศจากขอน้ีเสียก็ไมเรียกวาถูกประทุษราย การ กระทําในเร่ืองนี้ไดแก การใชยารม ยาเบ่ือเมา สะกดจิต ฉีดยาใหสลบ หรือวิธีอื่นใดอัน คลายคลึงกัน เชน จําเลยใชยาทําใหผูเสียหายมึนเมาเปนเหตุใหตกอยูในภาวะที่ไม 1 จติ ติ ติงศภัทยิ , ศาสตราจารย, คําอธบิ ายประมวลกฎหมายอาญาภาค 2 ตอน 2 และ 3, อาง แลว , หนา 2098. 2 จิตติ ติงศภัทยิ , ศาสตราจารย, อา งแลว, หนา 2098. 26 LW 206

ตัวอยางการใชก ําลังประทษุ ราย 1. การที่จําเลยท้ังสองมีไมตะพดเปนอาวุธรวมกันลักทรัพย โดยใชไม ตะพดตีหรอื มอื ตบตี เปนการใชกาํ ลงั ประทษุ รา ยแลว (คําพิพากษาฎีกาที่ 428/2512) 2. จําเลยปดไฟฉายที่ผูเสียหายถืออยูจนหลุดจากมือ ผูเสียหายกมลง เก็บไฟฉาย จําเลยกระชากเอาสรอยคอพาหนีไป การปดไฟฉายเปนการกระทําแกเน้ือตัว หรอื กาย เปนการใชก ําลังประทษุ รา ย (คาํ พพิ ากษาฎีกาท่ี 361/2520) 3. จําเลยรวบคอผูเสียหายเพื่อใหรูวาสวมสรอยคออยู แลวกระตุก สรอยคอทองคําหนัก 2 สลึง สรอยบาดคอเปนแผลไมถึงแกอันตรายแกกาย ไมเปนชิง ทรัพย เปนการฉกฉวยเอาซึ่งหนา มีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย (คําพิพากษาฎีกาที่ 2103/2521) 4. ลักนกเขาพรอมกรง โดยแยงกรงกับผูเสียหาย ผูเสียหายสูกําลัง จําเลยไมได จําเลยแยงเอาไปได ไมถือเปนการประทุษรายแกกายหรือจิตใจ และไมใชทํา ใหอยูในภาวะไมสามารถขัดขืนได ไมถือเปนการประทุษรายแกกายหรือจิตใจ และไมใช ทําใหอ ยใู นภาวะไมส ามารถขดั ขืนได ไมเ ปนชงิ ทรพั ย (คาํ พิพากษาฎกี าท่ี 2103/2521) 5. การท่ีจําเลยท่ี 1 กอดเอว และจําเลยท่ี 2 ดึงเสื้อเจาพนักงาน ตํารวจไว เพ่ือมิใหจับกุมญาติของตนท่ีกําลังถูกติดตามจับกุม เปนการตอสูขัดขวางเจา พนกั งานโดยใชกาํ ลังประทุษรา ย (คําพิพากษาฎีกาท่ี 52/2523) 6. แกะเชือกที่ผูกกระบือจากมือเด็กเลี้ยงกระบือ แลวพากระบือว่ิงหนี ไป เปน การใชกาํ ลังประทษุ รา ย (คําพิพากษาฎกี าท่ี 867/2502) 7. จบั มือและกอดเด็กหญิง เปนการใชก ําลงั ประทุษรา ย 8. คนรายจับขอมือพวกเจาทรัพยใหเขาไปในบานไมใหสงเสียงดัง เปน การใชกําลังประทษุ ราย (คาํ พิพากษาฎกี าที่ 1609/2506) 9. ขี่จกั รยานยนตเคยี งคูร ถท่ผี ูเ สยี หายกําลงั ข่ีอยูบนถนน แลวจับแขน ดึงคอเสื้อจนรถผูเสียหายเซ และกระชากสรอยคอไป ถือไดวาเปนการใชกําลังประทุษราย (คาํ พพิ ากษาฎีกาท่ี 1176/2519) LW 206 27

(7) “เอกสาร” หมายความวา กระดาษหรือวัตถุอ่ืนใดซึ่งไดทําใหปรากฏความหมาย ดวยตัวอักษร ตัวเลข ผัง หรือแผนแบบอยางอื่น จะเปนโดยวิธีพิมพ ถายภาพ หรือวิธีอื่น อันเปน หลักฐานแหงความหมายน้นั ความหมายตามบทนิยามนป้ี ระกอบดวยหลักเกณฑดังตอ ไปน้ี 1. ตอ งเปน กระดาษหรือวตั ถุอืน่ ใด 2. ทาํ ใหปรากฏความหมายดวยตัวอักษร ผัง หรือแผนแบบอยา งอ่นื 3. ดว ยวธิ ีพมิ พ หรือถา ยภาพ หรือวธิ อี ื่น 4. เปนหลกั ฐานแหงความหมายนัน้ 1. ตองเปนกระดาษหรือวัตถุอื่นใด หมายความถึงสิ่งท่ีใชสําหรับทําให ความหมายของถอยคําปรากฏข้ึน เอกสารน้ันมิใชตัวถอยคําที่แสดงความหมาย แตเปน วัตถุท่ีทําใหปรากฏความหมายขึ้น ซ่ึงอาจทําขึ้นบนกระดาษหรือวัตถุอื่น เชน บนแผน ทองแดง แผน ศิลา แผนไม บนกาํ แพง บนพื้นทราย เปนตน 2. ทําใหปรากฏความหมายดวยตัวอักษร ผัง หรือแผนแบบอยางอื่น หมายความวาตองมีการกระทําของบุคคลใหปรากฏความหมายข้ึนบนกระดาษหรือวัตถุ อ่ืนโดยจะปรากฏอยูช่ัวคราวหรือถาวรก็ได ขอสําคัญบุคคลจะตองเปนผูทําใหปรากฏ มิใช ปรากฏขึ้นเอง เชน เคร่ืองคอมพิวเตอร ปรอทแสดงอุณหภูมิ เคร่ืองช่ังตวงวัดนาฬิกาบอก เวลา เคร่ืองคํานวณ เปนตน แตถาเคร่ืองทําใหปรากฏความหมายแลวบุคคลไปดัดแปลง ขอ ความนัน้ ขอความท่ีดัดแปลงเปน การกระทําของบุคคล “ความหมาย” หมายความวาสิ่ง ท่ีทําใหปรากฏข้ึนนั้นตองแสดงความคิดของผูทําเอกสาร จะเปนท่ีเขาใจไดหรือไมก็ตาม กลาวคือ ส่ิงที่ทําใหปรากฏจะตองเปนสื่อแสดงขอความของบุคคล ตองแสดงเหตุการณ และแสดงความคิดของบุคคลผูน้ันทําข้ึนน้ัน1 การทําใหปรากฏความหมายจะแสดง ออกเปนตวั อักษร ตวั เลข ผัง หรือแผนแบบอยา งอนื่ กไ็ ด ขอใหอ า นหรอื เห็นความหมายได โดยการสัมผัสทางตา เชน อักษรและเลขบนทอนซุง อักษรและเลขที่พานทายปน แผนที่ แบบแปลน รูปภาพ ขวัญกระบือท่ีขีดเสนโยงไวกับภาพสัตวในตั๋วพิมพรูปพรรณสัตว พาหนะ แผนท่ีหลงั โฉนดท่ดี นิ เหลาน้ีแสดงความหมายไดจ ึงเปน เอกสาร 1จิตติ ติงศภัทิย, ศาสตราจารย, คําอธิบายประมวลกฎหมายอาญา ตอน 2 และ 3, อางแลว, หนา 1418, 1419. 28 LW 206

3. วิธีพิมพ หรือถายภาพ หรือวิธีอื่น หมายความวา การทําใหปรากฏ ความหมายบนกระดาษหรือวัตถุอื่นใดน้ีจะใชวิธีพิมพ หรือถายภาพ หรือวิธีอื่นก็ได เชน เขยี น ตตี ราขอความ แกะสลัก พน สี พน ควนั ทาํ ใหเ ครื่องจับเวลาหยดุ เปน ตน 4. เปนหลักฐานแหงความหมายน้ัน หมายความวาการทําใหปรากฏ ความหมายบนกระดาษหรือวัตถุอื่นใดนั้นจะเปนโดยพิมพ ถายภาพ หรือวิธีอ่ืนนี้จะตอง ปรากฏคงทนอยูชั่วขณะหน่ึงเพ่ือไดทราบความหมายนั้น เชน กองทัพอากาศสงเครื่องบิน ไปปลอ ยควนั เปน ตวั อักษรหรือเขยี นขอความบนพ้นื ทรายชายทะเล หรือเขียนขอความบน หมิ ะ เปนตน ตัวอยางเกย่ี วกับเอกสาร 1. เจาทรัพยแ สดงกลออกต๋ัวใหคนดู แลวนําตั๋วนั้นไปข้ึนเอาของได ในตั๋วนั้น มีแตตัวเลข จําเลยนําต๋ัวไปสงแกเจาทรัพยเพื่อรับของ ปรากฏเปนตั๋วปลอม และจําเลย นําไปใชโดยรูวาเปนต๋ัวปลอม ดังนี้ตัดสินวาตั๋วน้ันเปนจดหมาย จํานวนตัวเลขที่ปรากฏใน ตวั๋ เปน ถอยคําทอี่ างเปน พยานได (คําพพิ ากษาฎกี าที่ 1007/2468) 2. เคร่ืองหมายอักษรโรมัน และตัวเลขซ่ึงเขียนไวบนซุง ไมขอนสัก เพื่อ แสดงวาเปนไมของบริษัทใด และมีความใหญยาวเทาใดนั้นเปนหนังสือตามกฎหมาย (คําพพิ ากษาฎกี าที่ 701/2470) 3. หนังสือมอบอํานาจใหจัดการอยางใดอยางหน่ึงแทนเจาของที่ดินนั้นเปน เอกสารทีบ่ ุคคลธรรมดาทาํ ข้นึ จึงมิใชเ อกสารราชการหรือเอกสารสิทธิ (คําพิพากษาฎีกาที่ 668/2502, 1764/2506) 4. อักษรและเลขหมายท่ีพานทายปนอันเปนเครื่องหมายทะเบียนอาวุธปน ของเจาพนักงานน้ัน ไมใชรอยตราของเจาพนักงาน แตเปนเอกสารตามมาตรา 1(7) (คาํ พพิ ากษาฎีกาที่ 1269/2503) 5. ภาพถายหอง เคร่ืองใช ตูเสื้อผา และของอ่ืน ๆ ในบานไมไดแสดง ความหมายอยางใด ไมเ ปนเอกสารตามมาตรา 1(7) (คาํ พิพากษาฎีกาท่ี 1209/2522) 6. ภาพถายสําเนารายการประวัติอาชญากรท่ีเจาหนาท่ีรับรอง แตเจาหนาท่ี มิไดร บั รองถายภาพ ภาพถายนี้ไมใชเอกสารราชการ เปนแตเอกสารตามมาตรา 1(7) (คํา พิพากษาฎกี าที่ 1375/2522) LW 206 29

7. จําเลยเอาภาพถายผูอ่ืนรับปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตและสวมครุย วิทยฐานะมาปดภาพถายเฉพาะใบหนาของจําเลยลงไปแทน แกเลข พ.ศ. 2508 เปน 2504 แลวถายเปนภาพใหมดูแลวเปนภาพจําเลยรับปริญญามีตัวอักษรวามหาวิทยาลัย แพทยศาสตร พ.ศ. 2504 เปนภาพถายท่ีไมทําใหปรากฏความหมายดวยตัวอักษรฯ ตาม มาตรา 1(7) เลข พ.ศ. ก็ไมปรากฏความหมายในตัวเอง ไมเปนปลอมเอกสาร (คําพิพากษาฎกี าที่ 1530/2522) (8) “เอกสารราชการ” หมายความวา เอกสารซึ่งเจาพนักงานไดทําขึ้นหรือรับรอง ในหนาท่ี และใหหมายความรวมถึงสําเนาเอกสารน้ัน ๆ ท่ีเจาพนักงานไดรับรองในหนาท่ี ดวย ตามความหมายในบทนิยามนี้ แบงเอกสารราชการออกเปน 4 ประเภทดวยกัน คอื 1. เอกสารซึ่งเจาพนักงานไดทําข้ึนในหนาที่ เชน สํานวนการสอบสวน ใบ ตรวจโรคท่ีเจาพนักงานแพทยออกให ใบอนุญาตอาวุธปน ใบอนุญาตรอนหาแร ใบอนุญาตประกอบโรคศิลป ใบอนุญาตขับขี่รถยนต ใบบอกธนาณัติท่ีเจาหนาที่ไปรษณีย ทําใหไปรับเงินธนาณัติ แบบ ส.ด.9 ที่จดทะเบียนทหารกองเกิน ประกาศนียบัตรของ กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารที่ผูกํากับการตํารวจอนุมัติใหนายสิบและพลตํารวจไป ราชการ ใบสุทธิทีเ่ รอื นจาํ ออกใหผพู น โทษ เปนตน 2. เอกสารซึ่งเจาพนักงานไมไดทําข้ึน แตไดรับรองในหนาท่ี หมายความวา เอกสารน้ันโดยหนาที่ตามกฎหมายแลวเจาพนักงานไมมีหนาท่ีตองทํา แตเปนเอกสารซ่ึง บุคคลอ่ืนทําขึ้นและเจาพนักงานไดรับรองตามอํานาจหนาที่ของตนที่มีอยู การรับรอง หมายความวารับรองวาไดมีการทําเอกสารข้ึนโดยแทจริง แตมิใชรับรองขอเท็จจริงแหง เอกสารนั้น1 เชน จาศาลรับรองคําพิพากษาซึ่งคูความขอใหรับรอง ใบมอบอํานาจซ่ึงทํา ขึ้นแลวนําไปใหนายอําเภอรับรอง เจาพนักงานหอทะเบียนหุนสวนบริษัทรับรองสําเนาคํา ขอจดทะเบยี นการคา เปน ตน 1พระวรศักดิ์พิบูลย, ศาสตราจารย, คาํ อธิบายกฎหมายอาญา 1, อา งแลว, หนา 38. 30 LW 206

3. สําเนาเอกสารซึ่งเจาพนักงานไดทําข้ึนในหนาที่ หมายความถึงสําเนา เอกสารท่ีเจาพนักงานไดทําข้ึนในหนาที่และเจาพนักงานไดรับรองในหนาที่ เชน สําเนา ทะเบียนบาน สําเนาหนังสือราชการ รวมตลอดถึงสําเนาเอกสารตาง ๆ ท่ีเจาพนักงานได ทําขนึ้ ในขอ 1. 4. สําเนาของเอกสารซึ่งเจาพนักงานไดรับรองในหนาท่ี หมายถึงสําเนาของ เอกสารซ่ึงเจาพนกั งานไดร ับรองในหนาที่ ขอสังเกต 1. การท่ีจะถือเปน “เอกสารราชการ” ไดน้ัน จะตองเปน “เอกสาร” ตามบทนิยาม ที่ 7 เสียกอน 2. ผูกระทําหรือรับรองเอกสารตองเปนเจาพนักงาน คําวา “เจาพนักงาน” หมายความรวมถึง ก. บุคคลท่ีกฎหมายระบไุ วชัดวาเปนเจา พนกั งาน ข. บุคคลซ่ึงไดรบั แตง ตงั้ ใหปฏิบตั ิราชการไมว า จะเปน ประจําหรือช่ัวคราวและ ไมวาจะไดร ับประโยชนตอบแทนเพ่ือการนัน้ หรือไม ตัวอยางเก่ียวกับเอกสารราชการ 1. ใบสําคัญประจําตัวคนตางดาวเปนเอกสารราชการ (คําพิพากษาฎีกาท่ี 925/2503) 2. ใบทะเบียนรถยนตเ ปน เอกสารราชการ (คาํ พิพากษาฎีกาท่ี 1702/2506) 3. ใบอนญุ าตมีปน เปน เอกสารราชการ (คาํ พพิ ากษาฎีกาที่ 356/2465) 4. หมายแจงโทษของศาลถึงเรือนจําเปนเอกสารราชการ (คําพิพากษาฎีกาท่ี 266/2474) 5. หนังสือขอยืมเงินทดรองราชการมีลายเซ็นผูบังคับบัญชาอนุมัติใหจายได (คําพพิ ากษาฎีกาที่ 731/2509) 6. ใบทะเบยี นสมรสเปน เอกสารราชการ (คําพิพากษาฎกี าท่ี 1112/2499) 7. บัตรประจําตัวขาราชการเปนเอกสารซึ่งเจาพนักงานไดทําข้ึนในหนาท่ีเปน เอกสารราชการ (คําพิพากษาฎกี าท่ี 2979/2522) LW 206 31

(9) “เอกสารสิทธิ” หมายความวา เอกสารท่ีเปนหลักฐานแหงการกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงบั ซ่ึงสทิ ธิ ตามความหมายในบทนิยามน้ี แยกเอกสารสิทธิออกได 5 ประเภทดวยกัน ดังนคี้ อื 1. เอกสารท่ีเปนหลักฐานแหงการกอใหเกิดสิทธิ คําวา “สิทธิ” ไดแก ประโยชนอันบุคคลมีอยู แตประโยชนเปนสิทธิหรือไมก็ตองแลวแตวาบุคคลอื่นมีหนาที่ ตองเคารพหรือไม ถาบุคคลอื่นมีหนาท่ีตองเคารพ ประโยชนก็เปนสิทธิ กลาวคือ ไดรับ การรบั รองและคุมครองของกฎหมาย (คําพิพากษาฎีกาที่ 124/2487) ฉะน้ันการกอใหเกิด สิทธิจึงหมายถึงเอกสารน้ันจะเกิดผลบังคับไดตามกฎหมาย เชน สัญญากูยืมเงินซึ่ง กอ ใหเ กิดสทิ ธิแกผ ใู หกยู มื ท่ีจะเรียกรองเอาเงนิ คนื จากผูกไู ด 2. เอกสารที่เปนหลักฐานแหงการเปล่ียนแปลงสิทธิ หมายถึง การ เปล่ียนแปลงวัตถุในการชําระหน้ี หรือเปลี่ยนตัวลูกหนี้ใหม เชน ก.กูเงินจาก ข. ไป 1,000 บาท ตอมา ก. และ ข. ไดมาตกลงทําหนังสือกันวาเมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระ ก.ไมตองนํา เงนิ 1,000 บาทมาชําระ ใหเ ปลย่ี นเอานํา้ ตาลมาชําระแทนเงิน 1,000 บาท 3. เอกสารที่เปนหลักฐานแหงการโอนสิทธิ หมายความวา การโอนสิทธิ เรยี กรองกยู ืมน้ันใหแกบคุ คลอ่นื ไป และแจงการโอนสิทธิใหผูกูยืมทราบแลว สิทธิเรียกรอง ของผกู ูยมื เดมิ จงึ โอนไปอยูกบั บคุ คลอนื่ ท่ีรบั โอนน้นั ทําใหผ รู ับโอนมสี ทิ ธิเรียกรองเงินกูยืม จากผกู ูไดโ ดยตรง 4. เอกสารทเ่ี ปน หลกั ฐานแหง การสงวนสิทธิ หมายความวา สิทธิน้ันบุคคลได มีอยูแลว แตที่ทํานิติกรรมก็เพื่อสงวนไวซ่ึงสิทธิอันจะเสียไป เชน การกูยืมเงินที่จะ หมดอายุความ 10 ป ผูใหกูจึงใหผูกูทําหนังสือรับสภาพหน้ีไว ทําใหอายุความสะดุดหยุด ลง เปนการสงวนสิทธิเรียกรอง หรือในกรณีที่ใหผูค้ําประกันทําสัญญาประกันเพื่อการ ชําระหน้ี หรือนําทรัพยส ินมาจาํ นองเปน ประกนั เปน ตน 5. เอกสารท่เี ปนหลกั ฐานแหงการระงับสิทธิ เชน การชําระหนี้ เจาหนี้ออกใบ รับเงินแกลูกหน้ี หนังสือปลดหนี้จงึ เปนหลกั ฐานแหงการระงบั สิทธิ 32 LW 206

ตัวอยางเก่ียวกับเอกสารสิทธิ 1. หนังสือมอบอํานาจ “ใหจัดการแทนเจาของที่ดินอยางใดอยางหน่ึงแทน เจาของที่ดิน” นั้น เปนเอกสารท่ีบุคคลธรรมดาทําขึ้น จึงมิใชหนังสือราชการและมิใช เอกสารสิทธิเพราะมิใชเปนหนังสือสําคัญแกการต้ังกรรมสิทธิ์ หรือเปนหลักฐานแหงการ เปลี่ยนแปลงหรอื เลกิ ลางโอนกรรมสิทธแ์ิ ตอ ยา งใด (คาํ พพิ ากษาฎีกาท่ี 668/2502) 2. คํารองทุกขของผูเสียหายตามประมวลกฎหมายอาญา ไมใชเอกสารสิทธิ ตามมาตรา 1(9) ฉะน้ันแมจะไดความวาจําเลยเจตนาทุจริตหลอกลวงใหผูเสียหายถอนคํา รองทุกขก็ดี ก็ลงโทษจําเลยฐานฉอโกงตามมาตรา 341 ไมได (คําพิพากษาฎีกาท่ี 928/2506) 3. แบบแจงการครอบครองท่ีดิน (ส.ด.1) เปนเอกสารสิทธิ (คําพิพากษาฎีกา ท่ี 456/2506) 4. ในการซื้อเช่ือสินคาตาง ๆ เมื่อผูขายนําสงส่ิงของที่ผูซื้อส่ังซื้อน้ัน ผูนําสง ไดเขียนกรอกรายการส่ิงของท่ีนําสงและราคาลงในบิลดวย เม่ือฝายผูซ้ือตรวจสอบสิ่งของ และราคาถูกตองกับจํานวนที่ฝายผูขายนําสงแลว ก็ลงลายมือชื่อผูรับในบิลน้ันมอบใหแก ผูนําสงส่ิงของไป บิลซ้ือเชื่อส้ินคาตาง ๆ รายนี้จึงเปนหลักฐานแหงการกอหนี้สินและสิทธิ เรียกรอง ซ่ึงเปนเอกสารสิทธติ ามกฎหมาย (คําพิพากษาฎีกาที่ 584/2508) 5. สลากกินแบงเปนเอกสารสิทธิเทานั้น ไมใชเอกสารสิทธิอันเปนเอกสาร ราชการ (คาํ พิพากษาฎกี าท่ี 557/2509) 6. ขาราชการทํารายงานการเดินทางพรอมกับใบสําคัญเพื่อหักใชเงินยืม ทดรองโดยมีลายเซ็นปลอมของผูบังคับบัญชาวาตรวจแลว เปนการปลอมเอกสารสิทธิอัน เปนเอกสารราชการ (คาํ พิพากษาฎกี าท่ี 731/2509) 7. คําวา “เอกสารสิทธิ” ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 1(9) นั้น มุงหมายถึงเอกสารท่ีเปนหลักฐานแหงการกอ เปล่ียนแปลง โอน สงวน หรือระงับซ่ึงสิทธิ หรือหน้ีสินทุกอยาง หนังสือรับรองทรัพยที่ยื่นขอประกันตัวจําเลยตอศาลซึ่งผูย่ืนดังกลาว รับรองตอศาลวาหลักทรัพยตามบัญชีคํารองขอประกันเปนของผูเอาประกันหากบังคับแก ทรัพยตามสัญญาประกันไมได หรือไดไมครบ ผูทําหนังสือรับรองทรัพยยอมรับผิดใชเงิน จนครบ ซึ่งเทากับเปนหนังสือสัญญาค้ําประกันผูขอประกันตอศาลอีกช้ันหน่ึง เปนเอกสาร สิทธิตามความหมายของบทบัญญตั ดิ งั กลาว (คําพพิ ากษาฎีกาท่ี 263/2513) LW 206 33

8. แบบสํารวจท่ีบริษัทการคามอบใหแกลูกจางของบริษัทเพื่อไปสํารวจและ กรอกรายการสินคาจําหนายตามรานซึ่งเปนลูกคาของบริษัท กับกรอกรายการสินคาที่ได จายชดเชยใหรานคาเหลาน้ันตามกฎเกณฑของบริษัท เปนหลักฐานแสดงการจายสินคา ชดเชยใหแกรานคาเหลานั้น หาใชหลักฐานแหงการกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือ ระงบั ซง่ึ สทิ ธิแตประการใดไม ไมใชเอกสารสทิ ธิ (คาํ พพิ ากษาฎีกาที่ 554/2514) 9. สําเนาบันทึกขอตกลงเร่ืองกรรมสิทธ์ิรวมท่ีพิมพลงในแบบพิมพ ท.ด.70 ของสํานักงานที่ดินซึ่งใหเจาพนักงานรับรองสําเนาวาถูกตอง และมิไดมีอะไรแสดงใหเห็น วา เปน เอกสารที่เจาพนักงานไดทําขึ้นหรือรับรองในหนาท่ี ยอมไมเปนเอกสารราชการ แต เปน เอกสารทแี่ สดงถึงการมีกรรมสิทธิ์รวมในที่ดิน จึงเปนเอกสารสิทธิ (คําพิพากษาฎีกาท่ี 1731/2514) 10. เอกสารที่มีขอความวาจําเลยที่ 1 ซ้ือที่ดินโดยลงชื่อโจทกเปนผูซื้อแทน จําเลยท่ี 1 ตองการท่ีดินเมื่อใด โจทกจะโอนโฉนดคืนใหน้ัน เปนหลักฐานแหงการ เปลีย่ นแปลงสิทธิของโจทกในทีด่ ิน จงึ เปน เอกสารสทิ ธิ (คําพิพากษาฎกี าที่ 709/2516) 11. ใบเสร็จรับเงินคาภาษีรถยนตท่ีทางราชการออกให ยอมเปนหลักฐาน แสดงวาทางราชการไดรับชําระคาภาษีรถยนตไวแลว มีผลทําใหการเก็บภาษีรถยนตของ รัฐเปนอันเสร็จส้ินไป จึงเปนเอกสารสิทธิอันเปนเอกสารราชการ (คําพิพากษาฎีกาท่ี 2266-2278/2519) 12. จําเลยเปนพนักงานประจําเขียนใบเสร็จรับเงินทอนแรกใหผูชําระเงิน 35 บาท แตเขียนสําเนาทอนสองสงคลังและทอนสามติดอยูในเลมรายละ 25 บาทบาง 10 บาทบาง ลงวันคนละวันสงเงินตามสําเนา ยักยอกเงินท่ีเหลือ ดังน้ีเปนการปลอมเอกสาร สาํ เนาใบเสร็จรับเงินอันเปนเอกสารสทิ ธิ (คําพพิ ากษาฎีกาที่ 1653/2520) 13. ใบมอบอํานาจใหจดทะเบียนแกโฉนดที่ดินมอบใหทํานิติกรรมแทน ไมเ ปนหลักฐานแหงการกอ ตงั้ สิทธิ ไมใชเ อกสารสิทธิ (คําพพิ ากษาฎกี าที่ 2417/2520) 14. ใบมอบอํานาจใหไถถอนจํานองและจํานองใหม เปนแตมอบอํานาจให จัดการอยา งใดอยางหน่งึ แทน ไมใ ชเอกสารสิทธิ (คาํ พิพากษาฎกี าที่ 534/2522) 15. ใบรับรองของผขู อรับเงนิ ชวยเหลอื คารกั ษาพยาบาลเปนคําชแ้ี จงของผูขอ เบิกเงิน บันทึกของเจาหนาท่ีวาตรวจถูกตองอนุมัติใหจายเปนคําชี้แจงของเจาหนาที่บัญชี 34 LW 206

(10) “ลายมือช่ือ” หมายความรวมถึงลายพิมพนิ้วมือ และเคร่ืองหมายท่ีบุคคล ลงไวแทนลายมือช่อื ของตน ตามความหมายของบทนิยามน้ี แยกออกได 3 ประเภท คือ 1. ลายมือชื่อ (ลายเซ็นช่ือ) เปนตัวอักษรของเจาของช่ือ เชน นาย ก. ซอื่ สตั ย 2. ลายพิมพนิ้วมือ ไดแก ลายพิมพนิ้วมือของบุคคลผูลงลายมือชื่อตัวเอง เปนตัวอักษรไมได จึงเปน พมิ พลายน้วิ มอื แทน 3. เคร่ืองหมายอ่ืนซ่ึงบุคคลลงไวแทนลายมือชื่อ เชน การใชตราย่ีหอ ประทับแทนการลงลายมือชื่อเปนปกติ ถือวาเสมอกับลงลายมือชื่อ หรืออาจจะใชแกงได หรือเครอ่ื งหมายอ่ืนทาํ นองเดียวกันก็ได (11) “กลางคืน” หมายความวา เวลาระหวางพระอาทิตยตกและพระอาทิตยข้ึน ตามความหมายของบทนิยามนี้ กลางคืนถือเอาการขึ้นและตกของพระอาทิตยเปนเกณฑ ซึ่งจะเปลี่ยนไปตามฤดูกาล อันทําใหมืดหรือสวางนี้กําหนดเปนเวลาไมได มิไดถือเวลา ตามนาฬิกาซ่ึงคงที่อยูตลอดป ท่ีวาพระอาทิตยขึ้นหรือตกน้ันหมายความถึงดวงอาทิตย ขึ้นหรือตกจากขอบฟา มิไดดูเอาจากแสงของพระอาทิตย ซึ่งแสงน้ีตามปกติจะมีมากอน ดวงอาทิตยข้ึนหรือยังมีแสงอยูหลังจากพระอาทิตยตกแลว ดังนั้นกรณีท่ีจะถือวาเปนเวลา กลางคืนจึงหมายถึงเวลาท่ีดวงอาทิตยตกพนขอบฟาไปแลว แตในระหวางที่ดวงอาทิตย กําลังตกยังถือวาเปนเวลากลางวัน ถาตกพนทั้งดวงแลวจึงจะเปนเวลากลางคืน สวนเวลา กลางวันคือเม่ือพระอาทิตยไดโผลขึ้นมาพนดวงจากขอบฟาแลวถากําลังจะขึ้นก็ถือวาเปน เวลากลางคืน “เสนขอบฟา” หมายถึงเสนท่ีฟาจดกับพื้นโลกซ่ึงพ้ืนโลกมีท้ังน้ํา ภูเขา ตลอดจนปา และส่ิงปลกู สรา งตา ง ๆ (12) “คมุ ขัง” หมายความวา คุมตัว ควบคุม ขับ กกั ขัง หรือจาํ คกุ 35 ตามบทนยิ ามนีไ้ ดใ หความหมายของคาํ วา “คุมขงั ” ไว 5 ประเภท คอื LW 206

1. คมุ ตวั คือคุมตวั ไวในสถานพยาบาลตามมาตรา 39, 48, 49 2. ควบคุม หมายถึงการคุมหรือกักขังผูถูกจับโดยพนักงานฝายปกครอง หรือตํารวจในระหวางสืบสวนและสอบสวนตามมาตรา 2(21) แหงประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญา 3. ขัง หมายถึงการกักขังจําเลยหรือผูตองหาโดยศาล ตามมาตรา 2(22) แหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 4. กักขัง คือโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 18(3) 5. จําคุก คือโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 18(2) (13) “คาไถ” หมายความวา ทรัพยสินหรือประโยชนท่ีเรียกเอาหรือให เพื่อ แลกเปล่ียนเสรีภาพของผูถกู เอาตัวไป ผถู กู หนว งเหนย่ี ว หรอื ผถู กู กกั ขัง ตามความหมายของบทนิยามน้ี กรณีจะถือวาเปน “คาไถ” จะตอง ประกอบดวยหลักเกณฑ 3 ประการคอื 1. ตองเปนทรัพยสินหรือประโยชน คําวา “ทรัพยสิน” ประมวลกฎหมาย แพงและพาณิชย มาตรา 138 บัญญัติวา “ทรัพยสินน้ันหมายความรวมทั้งทรัพยและวัตถุ ไมมีรูปราง ซึ่งอาจมีราคาไดและถือเอาได” เชน ที่ดิน บานเรือน ตึก ทองคํา เพชรนิล จินดา รถยนต หรือวัตถุอ่ืนใดที่มีราคาและถือเอาได คําวา “ประโยชน” น้ันรวมทั้ง ประโยชนท ไี่ มเ ก่ียวกับทรัพยส นิ ดวย เชน ยกลกู สาวให ใหถอนฟอ งคดที ีถ่ ูกฟองอยใู นศาล 2. ทรัพยสินหรือประโยชนนั้น ตองเปนสิ่งที่ผูกระทําเรียกเอาหรือฝายผูถูก เอาตัวไป ผูถูกหนวงเหนี่ยวหรือกักขังใหเองก็ได ประโยชนท่ีเรียกเอาน้ีไมมีขอจํากัดวา ควรไดโดยชอบดวยกฎหมายหรือไม ซ่ึงตางกับทุจริตในมาตรา 1(1) ฉะนั้นถึงแมจะเปน ประโยชนที่ควรได แตถาเรียกเอาโดยวิธีการเพื่อแลกเปล่ียนเสรีภาพของผูถูกเอาตัวไป ก็ ถอื วาเปนคาไถแ ลว 3. ในการเรียกทรัพยสินหรือประโยชนนั้น ตองเปนการเรียกเอาหรือใหเพ่ือ แลกเปลยี่ นเสรภี าพของผูถูกเอาตวั ไป ผถู กู หนวงเหนีย่ วหรือกักขัง เมื่อประกอบดว ยหลกั เกณฑทงั้ 3 ประการแลว จึงเปน “คา ไถ” 36 LW 206

(14) “บตั รอเิ ลก็ ทรอนกิ ส” หมายความวา (ก) เอกสารหรือวัตถุอ่ืนใดไมวาจะมีรูปลักษณะใดท่ีผูออกไดออกใหแกผูมี สิทธิใชซ่ึงจะระบุชื่อหรือไมก็ตาม โดยบันทึกขอมูลหรือรหัสไวดวยการประยุกตใชวิธีการ ทางอิเล็กตรอน ไฟฟา คลื่นแมเหล็กไฟฟา หรือวิธีอื่นใดในลักษณะคลายกัน ซ่ึงรวมถึง การประยุกตใชวิธีทางแสงหรือวิธีการทางแมเหล็กใหปรากฏความหมายดวยตัวอักษร ตัวเลข รหัสหมายเลขบัตร หรือสัญลักษณอื่นใด ทั้งที่สามารถมองเห็นและมองไมเห็นดวย ตาเปลา (ข) ขอมูล รหัส หมายเลขบัญชี หมายเลขชุดทางอิเล็กทรอนิกสหรือ เครื่องมือทางตัวเลขใดๆ ท่ีผูออกไดออกใหแกผูมีสิทธิใช โดยมิไดมีการออกเอกสารหรือ วัตถอุ ืน่ ใดให แตม ีวธิ กี ารใชท ํานองเดยี วกบั (ก) หรอื (ค) ส่ิงอ่ืนใดที่ใชประกอบกับขอมูลอิเล็กทรอนิกสเพ่ือแสดงความสัมพันธ ระหวางบุคคลกับขอมูลอิเล็กทรอนิกสเพื่อแสดงความสัมพันธระหวางบุคคลกับขอมูล อเิ ลก็ ทรอนกิ ส โดยมวี ตั ถุประสงคเ พือ่ ระบุตัวบุคคลผเู ปนเจา ของ (15) “หนังสือเดินทาง” หมายความวา เอกสารสําคัญประจําตัวไมวาจะมีรูปราง ลักษณะใดท่ีรัฐบาลไทย รัฐบาลตางประเทศหรือองคการระหวางประเทศออกใหแกบุคคล ใดเพื่อใชแสดงตนในการเดินทางระหวางประเทศ และใหหมายความรวมถึงเอกสารใช แทนหนังสอื เดินทางและแนบหนงั สอื เดินทางทีย่ งั ไมไดก รอกขอความเก่ียวกับผูถือหนังสือ เดนิ ทางดวย LW 206 37


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook