Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานวิจัยเรื่องการสำรวจปัจจัยส่วนบุคคลด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทำงานติดตั้งหลังคาสำเร็จรูปในประเทศไทย

รายงานวิจัยเรื่องการสำรวจปัจจัยส่วนบุคคลด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทำงานติดตั้งหลังคาสำเร็จรูปในประเทศไทย

Published by e-Book สสปท., 2020-10-18 10:11:21

Description: เกี่ยวข้องกับด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สภาพแวดล้อมในการทำงาน Occupational Safety Health

Keywords: ความปลอดภัย,Safety,Occupational,Health

Search

Read the Text Version

การสารวจปจั จยั ส่วนบุคคลดา้ นความปลอดภยั และอาชีวอนามัยในการทางานติดต้งั หลังคาสาเรจ็ รปู ในประเทศไทย จัดทาโดย สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

การสารวจปัจจัยส่วนบคุ คลด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางานตดิ ตั้งหลังคาสาเรจ็ รปู ในประเทศไทย _________________________________________________________________________________ ท่ีปรกึ ษา นายวรานนท์ ปีติวรรณ ผูอ้ านวยการสถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน) นางจฑุ าพนิต บญุ ดกี ลุ รองผู้อานวยการสถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) (วิชาการ) คณะอนุกรรมการวชิ าการ สถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) ผู้จัดทา ผูอ้ านวยการสานักวจิ ัยและพัฒนา ดร.ธนูศิลป์ สลีอ่อน นักวจิ ัยชานาญการ ดร.ธนวรรณ ฤทธชิ ัย นักวิจัยปฏิบัติการ นางสาวสภุ ารัตน์ คะตา นักวิจัยปฏิบตั กิ าร นายพฤทธิพงศ์ สามสังข์ นักวจิ ยั ปฏบิ ตั กิ าร นางสาวกฤตติกา เหลา่ วฒั นโรจน์ ผูป้ ระสานงานโครงการ นางสาวปญั ชลิกา ชันขุนทด เจ้าหน้าท่ปี ระสานงานโครงการ นางสาวเปรมยดุ า นวลศรี เจา้ หน้าท่ีประสานงานโครงการ เผยแพร่โดย สานักวิจัยและพฒั นา สถาบันสง่ เสริมความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) โทรศัพท์ 0 2448 9111 ต่อ 603 โทรสาร 0 2448 9098 ปที ่จี ัดทา พ.ศ. 2563

กติ ติกรรมประกาศ การศึกษาเรื่อง การสารวจปัจจัยส่วนบุคคลด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางานติดตั้ง หลังคาสาเร็จรูปในประเทศไทยได้รับสนบั สนุนงบประมาณจากสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน) คณะผู้จัดทาขอขอบคุณสถานประกอบกิจการท่ีให้ความร่วมมืออนุเคราะห์ข้อมูลท่ีมีประโยชน์ต่อการ สารวจและเก็บข้อมูลสาหรับการสารวจปัจจัยส่วนบุคคลด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางานติดต้ัง หลังคาสาเรจ็ รูปในประเทศไทย คณะผู้วิจยั สานักวิจัยและพัฒนา สถาบันสง่ เสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

การสำรวจปจ จยั สว นบคุ คลดานความปลอดภยั และอาชีวอนามัยในการทำงานตดิ ต้งั หลงั คา หนา้ ก สำเรจ็ รปู ในประเทศไทย หนา สารบญั ค สารบญั ตาราง 1 สารบัญรปู ภาพ 1 บทที่ 1 บทนำ 2 2 1.1 ความเปนมาและความสำคญั ของปญ หา 3 1.2 วัตถุประสงค 3 1.3 กรอบแนวคิดในการศึกษา 3 1.4 ประโยชนที่จะไดรบั จากการศกึ ษา 5 1.5 ขอบเขตการศึกษา 5 1.6 นิยามศพั ท 8 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ ก่ยี วของ 18 2.1 กฎหมายและมาตรฐานที่เก่ียวขอ งกับการทำงานบนทส่ี ูง 29 2.2 ทฤษฎีความปลอดภัยในการทำงาน 33 2.3 การจดั การความปลอดภัยในการทำงานบนท่สี งู 33 2.4 งานวิจยั ท่เี กี่ยวขอ ง 33 บทท่ี 3 วิธีการศกึ ษา 34 3.1 ประชากร 35 3.2 เคร่ืองมอื ที่ใชใ นการศึกษา 36 3.3 เกณฑการใหคะแนนและการแปลผล 36 3.4 วิธีการเก็บรวบรวมขอ มูล 37 3.5 วธิ ีการวิเคราะหขอ มลู 37 3.6 การพิทักษสิทธิของกลมุ ตัวอยา ง 43 บทที่ 4 ผลการศึกษา 57 4.1 ขอ มูลทว่ั ไป 62 4.2 ความรเู กย่ี วกับกฎหมายและมาตรฐานที่เก่ยี วของกับการทำงานบนทส่ี ูง 84 4.3 ทศั นคตติ อสาเหตุการเกดิ อุบัติเหตแุ ละอันตรายในการทำงานบนทส่ี ูง 4.4 พฤติกรรมการจดั การความปลอดภัยและวธิ ีการทำงานบนทส่ี งู 4.5 สำรวจความตอ งการและขอ เสนอแนะแนวทางการสรางความปลอดภัยในการทำงานบนทส่ี ูง สถาบนั สง เสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ มในการทำงาน (องคการมหาชน)

การสำรวจปจ จยั สวนบคุ คลดา นความปลอดภยั และอาชีวอนามัยในการทำงานติดตง้ั หลงั คา หนา้ ข สำเรจ็ รูปในประเทศไทย สารบัญ (ตอ) หนา บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผล และขอ เสนอแนะ 86 5.1 สรปุ ผลการสำรวจ 86 5.2 อภิปรายผลการวิจัย 90 5.3 ขอเสนอแนะ 93 5.4 ขอเสนอแนะในการศกึ ษาครัง้ ตอไป 93 บรรณานุกรม 94 ภาคผนวก 101 ภาคผนวก 1 : หนงั สือขอความอนุเคราะหเกบ็ ขอมลู เพื่อการวิจัยดานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย 102 ภาคผนวก 2 : แบบสอบถามเพ่อื การวิจัย 103 สถาบนั สงเสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ มในการทำงาน (องคการมหาชน)

การสำรวจปจจัยสว นบุคคลดา นความปลอดภัยและอาชวี อนามยั ในการทำงานตดิ ต้งั หลงั คา หนา้ ค สำเรจ็ รูปในประเทศไทย สารบัญตาราง หนา 38 ตารางที่ 4.1 จำนวนและรอ ยละขอมูลทว่ั ไปของผปู ระกอบการหรือผแู ทนสถานประกอบกจิ การ (N=392) 44 ตารางที่ 4.2 จำนวนและรอยละของคะแนนเกี่ยวกับกฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวกับการทำงานบนทีส่ ูงใน 46 กลมุ ประชากรทีศ่ กึ ษา (N=392) 46 ตารางที่ 4.3 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางตำแหนงงานที่รบั ผิดชอบกับระดับความรูขอที่ 4 โดยการ 47 ทดสอบไควส แควร (Chi-Square Test) (N=392) 47 ตารางที่ 4.4 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางตำแหนงงานทีร่ ับผิดชอบกับระดับความรูขอที่ 7 โดยการ 48 ทดสอบไควส แควร (Chi-Square Test) (N=392) 48 ตารางที่ 4.5 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางตำแหนงงานที่รับผิดชอบกับระดบั ความรูขอที่ 10 โดยการ 49 ทดสอบไควส แควร (Chi-Square Test) (N=392) 49 ตารางที่ 4.6 ตารางแสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางประสบการณใ นการปฏบิ ัตงิ านกับระดับความรู ขอ ที่ 4 50 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) 50 ตารางที่ 4.7 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางประสบการณในการปฏิบัติงานกับระดับความรูขอที่ 7 51 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) 51 ตารางที่ 4.8 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางประสบการณในการปฏิบัติงานกับระดับความรูขอที่ 10 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.9 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางการฝกอบรมการทำงานบนที่สูงกับระดับความรูขอที่ 4 โดยการทดสอบไควส แควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.10 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางการฝกอบรมการทำงานบนที่สงู กับระดับความรูขอที่ 7 โดยการทดสอบไควส แควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.11 แสดงขอมลู การเปรียบเทียบระหวางการฝกอบรมการทำงานบนที่สูงกับระดับความรูขอที่ 10 โดยการทดสอบไควส แควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางท่ี 4.12 แสดงขอมูลการเปรียบเทยี บระหวางการนำมาตรฐานเกี่ยวกบั การทำงานบนที่สูงมาใชกับระดับ ความรขู อที่ 4 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.13 แสดงขอ มลู การเปรียบเทยี บระหวางการนำมาตรฐานเก่ียวกบั การทำงานบนที่สูงมาใชกับระดับ ความรขู อที่ 7 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.14 แสดงขอ มูลการเปรียบเทยี บระหวางการนำมาตรฐานเกีย่ วกับการทำงานบนท่สี ูงมาใชกับระดับ ความรขู อที่ 10 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) สถาบนั สง เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจ จัยสวนบคุ คลดานความปลอดภัยและอาชวี อนามยั ในการทำงานติดต้ังหลงั คา หนา้ ง สำเรจ็ รูปในประเทศไทย สารบญั ตาราง (ตอ) หนา 52 ตารางที่ 4.15 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางการใชมาตรฐาน ISO 9001 กับระดับความรูขอที่ 4 52 โดยการทดสอบไควส แควร (Chi-Square Test) (N=392) 53 ตารางที่ 4.16 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางการใชมาตรฐาน ISO 9001 กับระดับความรูขอที่ 7 53 โดยการทดสอบไควส แควร (Chi-Square Test) (N=392) 54 ตารางที่ 4.17 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางการใชมาตรฐาน ISO 9001 กับระดับความรขู อที่ 10 โดย 54 การทดสอบไควส แควร (Chi-Square Test) (N=392) 55 ตารางที่ 4.18 แสดงขอมลู การเปรยี บเทยี บระหวา งการใชคมู ือความปลอดภยั ในการทำงานของสถานประกอบ กิจการกับระดับความรขู อ ที่ 4 โดยการทดสอบไควส แควร (Chi-Square Test) (N=392) 55 ตารางที่ 4.19 แสดงขอ มลู การเปรียบเทยี บระหวางการใชค มู ือความปลอดภัยในการทำงานของสถานประกอบ กจิ การกบั ระดับความรูข อที่ 7 โดยการทดสอบไควส แควร (Chi-Square Test) (N=392) 56 ตารางท่ี 4.20 แสดงขอมลู การเปรียบเทียบระหวางการใชคมู ือความปลอดภัยในการทำงานของสถานประกอบ กิจการกบั ระดับความรูขอ ที่ 10 โดยการทดสอบไควส แควร (Chi-Square Test) (N=392) 56 ตารางท่ี 4.21 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางการใชคูมือความปลอดภัยของกองความปลอดภัยแรงงาน 57 กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานกบั ระดับความรูขอที่ 4 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) 57 (N=392) ตารางที่ 4.22 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางการใชคูม ือความปลอดภัยของกองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานกับระดับความรูขอที่ 7 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.23 แสดงขอมูลการเปรียบเทยี บระหวางการใชคูมือความปลอดภัยของกองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานกับระดับความรูขอที่ 10 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางท่ี 4.24 แสดงขอ มลู การเปรยี บเทียบระหวางการใชมาตรฐานการทำงานในที่สงู ของ EN, ANSI กับระดบั ความรูขอ ท่ี 4 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.25 แสดงขอ มลู การเปรียบเทยี บระหวางการใชม าตรฐานการทำงานในท่สี งู ของ EN, ANSI กบั ระดบั ความรขู อท่ี 7 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.26 แสดงขอ มูลการเปรียบเทียบระหวางการใชมาตรฐานการทำงานในที่สงู ของ EN, ANSI กับระดับ ความรูขอ ท่ี 10 โดยการทดสอบไควส แควร (Chi-Square Test) (N=392) สถาบันสงเสริมความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจ จยั สว นบคุ คลดานความปลอดภัยและอาชวี อนามัยในการทำงานติดตัง้ หลงั คา หนา้ จ สำเรจ็ รูปในประเทศไทย สารบญั ตาราง (ตอ) หนา 58 ตารางที่ 4.27 จำนวนและรอยละของทศั นคตติ อสาเหตกุ ารเกดิ อุบตั ิเหตแุ ละอนั ตรายในการทำงานบนท่ีสงู (N=392) 60 ตารางที่ 4.28 แสดงความสัมพันธร ะหวางเพศกับระดับทัศนคตใิ นการจดั การความปลอดภยั ในการทำงานบน 60 ทส่ี ูงของผปู ระกอบกจิ การตดิ ตัง้ โครงหลงั คามุงหลงั คาสำเร็จรูป (N=392 ) 60 ตารางที่ 4.29 แสดงความสัมพันธระหวางระดับอายุกับระดับทัศนคติในการจัดการความปลอดภัยในการ 61 ทำงานบนท่สี ูงของผูป ระกอบกิจการตดิ ตั้งโครงหลังคามุงหลังคาสำเร็จรูป (N=392) 61 ตารางที่ 4.30 แสดงความสมั พันธระหวางระดับการศึกษากับระดับทัศนคติในการจัดการความปลอดภัยใน 62 การทำงานบนทส่ี ูงของผูประกอบกจิ การตดิ ตัง้ โครงหลังคามงุ หลังคาสำเร็จรูป (N=392 ) ตารางที่ 4.31 แสดงความสัมพันธระหวางระดับประสบการณในการทำงานกับระดับทัศนคติในการจัดการ 62 ความปลอดภยั ในการทำงานบนที่สงู ของผูป ระกอบกจิ การติดตงั้ โครงหลังคามุงหลงั คาสำเรจ็ รปู (N=392 ) ตารางท่ี 4.32 แสดงความสมั พนั ธร ะหวางตำแหนง ในการทำงานกับระดับทศั นคตใิ นการจดั การความปลอดภัย 63 ในการทำงานบนทส่ี งู ของผูประกอบกิจการตดิ ตง้ั โครงหลังคามงุ หลงั คาสำเร็จรปู (N=392 ) 65 ตารางที่ 4.33 แสดงความสัมพันธระหวางการฝกอบรมความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูงกับระดับทัศนคติ 65 ในการจัดการความปลอดภยั ในการทำงานบนที่สงู ของผูประกอบกิจการติดต้งั โครงหลงั คามุงหลังคาสำเร็จรปู 66 (N=392 ) 66 ตารางที่ 4.34 แสดงความสัมพันธระหวางสถิติการเกิดอบุ ัติเหตุใน 1 เดือนที่ผานมากับระดับทัศนคตใิ นการ จัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูงของผูประกอบกิจการติดตั้งโครงหลังคามุงหลังคาสำเร็จรูป (N=392 ) ตารางที่ 4.35 จำนวนและรอยละของพฤตกิ รรมการจดั การความปลอดภยั ในการทำงานบนท่ีสงู (N=392) ตารางที่ 4.36 แสดงขอมูลการเปรยี บเทียบระหวางตำแหนงงานที่รับผิดชอบกับระดับพฤติกรรมการจัดการ ความปลอดภยั ในการทำงานบนที่สูง ขอ ท่ี 3 โดยการทดสอบไควส แควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.37 แสดงขอมูลการเปรียบเทยี บระหวางตำแหนงงานที่รับผิดชอบกับระดับพฤติกรรมการจัดการ ความปลอดภยั ในการทำงานบนทสี่ ูง ขอ ท่ี 4 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.38 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางตำแหนงงานที่รับผิดชอบกับระดับพฤติกรรมการจัดการ ความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง ขอ ที่ 5 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.39 แสดงขอมูลการเปรยี บเทียบระหวางตำแหนงงานที่รับผดิ ชอบกับระดับพฤติกรรมการจัดการ ความปลอดภัยในการทำงานบนทส่ี ูง ขอที่ 7 โดยการทดสอบไควส แควร (Chi-Square Test) (N=392) สถาบนั สงเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจ จยั สว นบุคคลดา นความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทำงานติดต้ังหลังคา หนา้ ฉ สำเรจ็ รูปในประเทศไทย สารบญั ตาราง (ตอ) หนา 67 ตารางที่ 4.40 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางตำแหนงงานที่รับผิดชอบกับระดับพฤติกรรมการจัดการ 67 ความปลอดภยั ในการทำงานบนทีส่ ูง ขอ ที่ 9 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) 68 ตารางที่ 4.41 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางระดับประสบการณใ นการปฏิบัติงานกับระดับพฤติกรรม การจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง ขอที่ 3 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) 68 (N=392) 69 ตารางที่ 4.42 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางระดับประสบการณใ นการปฏิบัติงานกับระดับพฤติกรรม 69 การจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง ขอที่ 4 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) 70 (N=392) 70 ตารางที่ 4.43 แสดงขอมลู การเปรียบเทียบระหวางระดับประสบการณในการปฏิบัติงานกับระดับพฤติกรรม 71 การจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง ขอที่ 5 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.44 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางระดับประสบการณในการปฏิบัติงานกับระดับพฤติกรรม การจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง ขอที่ 7 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.45 แสดงขอ มูลการเปรียบเทียบระหวางระดับประสบการณในการปฏิบัตงิ านกับระดับพฤติกรรมการ จัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง ขอท่ี 9 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.46 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางการผานอบรมหลักสูตรเกี่ยวกับการทำงานบนที่สูงกับระดับ พฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง ขอที่ 3 โดยการทดสอบไควส แควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.47 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางการผานอบรมหลักสูตรเกี่ยวกับการทำงานบนที่สูงกับระดับ พฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง ขอที่ 4 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.48 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางการผานอบรมหลักสูตรเกี่ยวกับการทำงานบนที่สงู กับระดับ พฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง ขอที่ 5 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) สถาบันสง เสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ มในการทำงาน (องคการมหาชน)

การสำรวจปจจยั สวนบุคคลดานความปลอดภัยและอาชีวอนามยั ในการทำงานติดตั้งหลงั คา หนา้ ช สำเรจ็ รูปในประเทศไทย สารบญั ตาราง (ตอ) หนา 71 ตารางที่ 4.49 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางการผานอบรมหลักสูตรเกี่ยวกับการทำงานบนที่สูงกับระดับ 72 พฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง ขอที่ 7 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) 72 (N=392) 73 ตารางที่ 4.50 แสดงขอมูลการเปรียบเทยี บระหวา งการผานอบรมหลักสูตรเก่ียวกับการทำงานบนทสี่ ูงกับระดบั 73 พฤติกรรมการจดั การความปลอดภัยในการทำงานบนท่สี งู ขอท่ี 9 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) 74 (N=392) 74 ตารางที่ 4.51 แสดงขอมลู การเปรียบเทยี บระหวางสถานประกอบกิจการฯ มีการนำมาตรฐานเก่ียวกบั การทำงานบน 75 ทส่ี ูงมาใชกับระดับพฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สงู ขอ ท่ี 3 โดยการทดสอบไควสแควร 75 (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.52 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางสถานประกอบกิจการฯ มีการนำมาตรฐานเกีย่ วกับการ ทำงานบนที่สูงมาใชกับระดับพฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง ขอที่ 4 โดยการ ทดสอบไควส แควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.53 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางสถานประกอบกิจการฯ มีการนำมาตรฐานเกี่ยวกับการ ทำงานบนที่สูงมาใชกับระดับพฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง ขอที่ 5 โดยการ ทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางท่ี 4.54 ตารางแสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางสถานประกอบกิจการฯ มกี ารนำมาตรฐานเกี่ยวกับการ ทำงานบนทีส่ ูงมาใชกับระดับพฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนทีส่ ูง ขอที่ 7 โดยการทดสอบ ไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางท่ี 4.55 ตารางแสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางสถานประกอบกิจการฯ มกี ารนำมาตรฐานเก่ียวกับการ ทำงานบนทีส่ ูงมาใชกบั ระดับพฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง ขอที่ 9 โดยการทดสอบ ไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.56 แสดงขอมูลการเปรียบเทยี บระหวางสถานประกอบกิจการฯ มีการใชมาตรฐาน ISO 9001 กับระดับ พฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนทีส่ ูง ขอที่ 3 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.57 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางสถานประกอบกิจการฯ มกี ารใชมาตรฐาน ISO 9001กับระดับ พฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนทีส่ ูง ขอที่ 4 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) สถาบันสงเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ มในการทำงาน (องคการมหาชน)

การสำรวจปจจยั สวนบุคคลดา นความปลอดภยั และอาชวี อนามัยในการทำงานตดิ ต้งั หลังคา หนา้ ซ สำเรจ็ รูปในประเทศไทย สารบญั ตาราง (ตอ) หนา 76 ตารางที่ 4.58 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวา งสถานประกอบกิจการฯ มีการใชมาตรฐาน ISO 9001กับระดับ 76 พฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง ขอที่ 5 โดยการทดสอบไควส แควร (Chi-Square Test) 77 (N=392) 77 ตารางที่ 4.59 แสดงขอมลู การเปรียบเทียบระหวา งสถานประกอบกิจการฯ มกี ารใชมาตรฐาน ISO 9001กับระดับ 78 พฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนทีส่ ูง ขอที่ 7 โดยการทดสอบไควส แควร (Chi-Square Test) 78 (N=392) 79 ตารางที่ 4.60 แสดงขอมลู การเปรียบเทียบระหวางสถานประกอบกิจการฯ มีการใชมาตรฐาน ISO 9001กับระดับ 79 พฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง ขอที่ 9 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) 80 (N=392) ตารางที่ 4.61 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางการใชคูม ือความปลอดภัยของกองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุมครองแรงงานกับระดับพฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง ขอที่ 3 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.62 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางสถานประกอบกิจการฯ มีการใชคูมือความปลอดภัยของกอง ความปลอดภัยแรงงานกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน กับระดับพฤตกิ รรมการจัดการความปลอดภัยในการ ทำงานบนทส่ี งู ขอ ท่ี 4 โดยการทดสอบไควส แควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.63 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางสถานประกอบกิจการฯ มกี ารใชคูมือความปลอดภัยของกอง ความปลอดภัยแรงงานกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน กับระดับพฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการ ทำงานบนที่สูง ขอ ท่ี 5 โดยการทดสอบไควส แควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.64 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางสถานประกอบกิจการฯ มกี ารใชคูมือความปลอดภัยของกอง ความปลอดภัยแรงงานกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน กับระดับพฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการ ทำงานบนทสี่ งู ขอ ที่ 7 โดยการทดสอบไควส แควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.65 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางสถานประกอบกิจการฯ มีการใชคูมือความปลอดภัยของกอง ความปลอดภัยแรงงานกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน กับระดับพฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการ ทำงานบนท่สี งู ขอ ที่ 9 โดยการทดสอบไควส แควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.66 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางการใชคูม ือความปลอดภัยในการทำงานของสถานประกอบ กิจการฯ กับระดับพฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนทีส่ ูง ขอที่ 3 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) สถาบันสง เสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ มในการทำงาน (องคการมหาชน)

การสำรวจปจ จัยสว นบคุ คลดานความปลอดภัยและอาชีวอนามยั ในการทำงานตดิ ตัง้ หลังคา หนา้ ฌ สำเรจ็ รูปในประเทศไทย สารบัญตาราง (ตอ) หนา 81 ตารางที่ 4.68 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางการใชคูมือความปลอดภัยในการทำงานของสถานประกอบ 81 กิจการฯ กับระดับพฤตกิ รรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง ขอที่ 5 โดยการทดสอบไควสแควร 82 (Chi-Square Test) (N=392) 82 ตารางที่ 4.69 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางการใชคูมือความปลอดภัยในการทำงานของสถานประกอบ 83 กิจการฯ กับระดับพฤตกิ รรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สงู ขอที่ 7 โดยการทดสอบไควสแควร 83 (Chi-Square Test) (N=392) 84 ตารางที่ 4.70 แสดงขอ มูลการเปรียบเทียบระหวางการใชคูมือความปลอดภัยในการทำงานของสถานประกอบ 84 กิจการฯ กับระดับพฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สงู ขอที่ 9 โดยการทดสอบไควสแควร 85 (Chi-Square Test) (N=392) 85 ตารางที่ 4.71 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางการใชมาตรฐานการทำงานในที่สูงของ EN, ANSI กับระดับ พฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง ขอที่ 3 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.72 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางการใชมาตรฐานการทำงานในที่สูงของ EN, ANSI กับระดับ พฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง ขอที่ 4 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.73 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางการใชมาตรฐานการทำงานในที่สูงของ EN, ANSI กับระดับ พฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง ขอที่ 5 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.74 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางการใชมาตรฐานการทำงานในที่สูงของ EN, ANSI กับระดับ พฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนทีส่ ูง ขอที่ 7 โดยการทดสอบไควสแควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.75 แสดงขอมูลการเปรียบเทียบระหวางการใชมาตรฐานการทำงานในที่สูงของ EN, ANSI กับระดับ พฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง ขอที่ 9 โดยการทดสอบไควส แควร (Chi-Square Test) (N=392) ตารางที่ 4.76 จำนวนและรอยละของความตอ งการและขอเสนอแนะแนวทางการสรา งความปลอดภัยในการ ทำงานบนที่สูง (N=392) ตารางที่ 4.77 แสดงรอยละของระดับความรู ทัศนคติ และพฤตกิ รรมการจัดการความปลอดภัย ในการทำงาน บนท่สี ูงของผปู ระกอบการติดตงั้ หลังคาสำเร็จรูป (N=392) สถาบันสงเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ มในการทำงาน (องคการมหาชน)

การสำรวจปจจยั สว นบุคคลดานความปลอดภยั และอาชวี อนามัยในการทำงานตดิ ต้งั หลังคา หนา้ ญ สำเรจ็ รปู ในประเทศไทย สารบญั รปู ภาพ ภาพที่ 2-1 ลูกโซของอุบตั ิเหตุ หนา 9 ภาพที่ 2-2 แบบจำลองสาเหตุของอุบัตเิ หตุและความสญู เสยี (Loss Causation Model) 10 ภาพท่ี 2-3 อัตราสวนการเกดิ อุบตั ิเหตุ (Accident Ratio) 11 13 ภาพท่ี 2-4 แสดงความสญู เสยี จากการเกดิ อุบตั เิ หตเุ ปรยี บเทียบกบั ภูเขาน้ำแขง็ 19 23 ภาพท่ี 2-5 องคป ระกอบหลกั ของการจัดการความปลอดภัยของ HSE 23 ภาพที่ 2-6 ลกั ษณะที่ 1 ความสมั พันธระหวา งความรมู กี ับทศั นคตสิ งผลใหเ กิดการปฏิบัติ 23 ภาพท่ี 2-7 ลักษณะที่ 2 ความสมั พันธร ะหวางความรแู ละทศั นคติ ทำใหเกิดการปฏบิ ตั ติ ามมา 24 ภาพที่ 2-8 ลกั ษณะท่ี 3 ความสมั พนั ธระหวา งความรแู ละทศั นคติตางก็ทำใหเกิดการปฏบิ ตั ิไดโ ดยท่มี ีความรู 25 และทศั นคตไิ มจำเปน ตองสัมพนั ธกนั 26 28 ภาพที่ 2-9 ลักษณะที่ 4 ความสัมพนั ธระหวางความรมู ผี ลตอ การปฏิบัตทิ ั้งทางตรงและทางออม สำหรับ ทางออมมีทศั นคตเิ ปน ตวั กลางทำใหเกิดการปฏิบตั ิตามมา ภาพท่ี 2-10 วงจรการทำงาน PDCA ภาพที่ 2-11 การเสริมสรา งความปลอดภัยเพื่อปองกันตามหลกั การ 3E ภาพท่ี 2-12 ลำดบั ของมาตรการควบคุมปองกนั การตกจากทสี่ งู ตามมาตรฐาน มปอ. 402 : 2561 สถาบนั สง เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ มในการทำงาน (องคการมหาชน)

การสำรวจปจจัยสว นบคุ คลดานความปลอดภัยและอาชีวอนามยั ในการทำงานติดต้ังหลงั คา หนา้ 1 สำเรจ็ รปู ในประเทศไทย บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ความเปน มาและความสำคญั ของปญหา ปจจุบันรัฐบาล ไดกำหนดวิสัยทัศนเชิงนโยบายที่จะพัฒนาประเทศไปสูประเทศไทย 4.0 เพื่อที่จะ เปล่ียนเศรษฐกิจแบบเดมิ ไปสูเ ศรษฐกิจที่ขับเคลือ่ นดวยนวัตกรรม ในสว นของภาคแรงงานก็จะปรบั เปล่ียนจาก แรงงานท่มี ที ักษะต่ำไปสูแรงงานที่มีความรูและทักษะสงู ยทุ ธศาสตรก ารพัฒนาสูความมั่นคง ม่งั ค่ัง และย่ังยืน โดยการสรางความเขมแขง็ จากภายใน ตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ผา นกลไกประชารัฐ ปรับเปลีย่ น โครงสรางเศรษฐกจิ ไปสู Value-Base Economy หรือเศรษฐกิจที่ขับเคลอ่ื นดว ยนวัตกรรม ซึง่ การเปล่ียนผาน ดังกลาวอาจไมสงผลกระทบตออุตสาหกรรมที่มีความเขมแข็ง สามารถใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย ในการสราง มูลคา เพิม่ ของสินคาได ในขณะทกี่ ลุม วิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) รวมถงึ กลุม ผใู ชแรงงานทไ่ี มมี ทกั ษะในการปฏิบัตงิ าน อาจไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีขัน้ สูงในการผลติ จนตองผัน ตัวเองออกจากระบบ ทำใหขาดความมั่นคงในอาชีพ (ฐานเศรษฐกิจ, 2560) สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บปวยเนื่องจากการปฏบิ ตั ิงานของลกู จางป 2557-2561 ของสำนักงาน กองทุนเงินทดแทน สำนักงานประกนั สังคม กระทรวงแรงงาน พบวาประเภทกิจการทีม่ ีจำนวนประสบอันตราย หรือเจ็บปวยเนื่องจากการปฏิบัติงานสูงสุด 5 ลำดับแรกคือ ประเภทกิจการกอสราง เปนประเภทกิจการที่มี จำนวนการประสบอันตรายสูงสุด โดยเฉลี่ย 3 ป รอยละ 8.34 ตอป ของจำนวนการประสบอันตรายทั้งหมด รองลงมาคือ ประเภทกิจการการผลิตเครื่องดื่ม อาหาร ฯลฯ รอยละ 6.41 ตอป และประเภทกิจการการคา เครื่องไฟฟา ยานพาหนะฯ รอยละ 5.50 ตอป ตามลำดับ จากขอมูลป 2562 สถิติการประสบอันตรายหรือ เจ็บปวยเน่อื งจากการปฏิบัติงานจำแนกตามความรุนแรงและสาเหตุท่ีประสบอนั ตรายประจำป 2561 สาเหตุท่ี ประสบอนั ตรายโดยการตกจากที่สงู มีความรนุ แรงเสียชีวิต จำนวน 90 ราย ทพุ พลภาพ จำนวน 2 ราย สญู เสีย อวัยวะบางสวน 19 ราย หยุดงานเกนิ 3 วัน จำนวน 2,697 ราย หยุดงานไมเกิน 3 วัน จำนวน 3,046 ราย รวมท้ังสนิ้ 5,854 ราย (สำนักงานประกนั สงั คม, 2561) ในวันท่ี 7 พฤษภาคม 2563 หนังสือพิมพไทยรัฐออนไลนไดรายงานขาว “เหตุการณคนงานติดต้ัง หลงั คาโกดงั พลาดทา ตกลงมาจากหลังคาโกดงั ท่ีมีความสูงประมาณ 15 เมตร กระแทกพน้ื เสยี ชีวิตคาท่ี 3 ราย เหตุเกิดบริเวณพื้นที่กอสรางโกดังหลังใหมไมมีเลขที่ หมู 10 ตำบลหนองขาม อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เบื้องตนเจาหนาที่ตำรวจไดเขาตรวจสอบในที่เกิดเหตุ พรอมสอบปากคำพยานที่อยูในเหตุการณ ทั้งน้ี สันนิษฐานวาผูเสยี ชีวิตนาจะพลาดทาตกลงมาเอง สงผลใหเสียชีวิตท้ัง 3 ราย เนื่องจากผูรับเหมารายนี้ไมมี อปุ กรณเ ซฟต้ีในเรอ่ื งของความปลอดภยั ” (ไทยรฐั ออนไลน, 2563) สถาบนั สงเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจ จัยสว นบคุ คลดานความปลอดภยั และอาชวี อนามัยในการทำงานตดิ ตัง้ หลงั คา หนา้ 2 สำเรจ็ รูปในประเทศไทย สถานการณปจจุบันกจิ การติดตั้งหลังคาสำเร็จรปู เปนกิจการทม่ี ขี นาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดเลก็ และมีแนวโนมขยายตัว จากการเพิ่มสัดสวนการใชโครงถัก ทดแทนโครงหลังคาเหล็กรูปพรรณ ทำใหตลาด โครงหลังคาแบบโครงถักขยายตัวอยางตอเน่ืองในปท ีผ่ านมาและตอเนื่องในป 2562 โดยคาดวาจะขยายตวั อยู ท่ี รอยละ 10-15 และยังมีแนวโนมที่ดีมากขึ้น เพราะแนวโนมการเปลี่ยนมาใชโครงถักของผูประกอบการ อสงั หารมิ ทรัพยขนาดกลางและเลก็ มีแนวโนม ทสี่ อดรบั กับความตองการ (ผูจ ดั การรายวัน 360 องศา, 2562) สถาบันสงเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคการมหาชน) มบี ทบาทหนาท่ีใหมกี ารศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการสงเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอมในการ ทำงาน ทงั้ ในดานการพฒั นาบุคลากรและดา นวชิ าการ สถาบนั สง เสรมิ ความปลอดภัยฯ ไดจ ัดทำมาตรฐานการ จัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง (Safety Management on Working at Height Standard) และคูมือการดำเนินงานตามขอกำหนดการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง (Safety Management Specification of Working at Height Manual) ทั้งนี้เพื่อสนับสนุนใหสถานประกอบกิจการ ขนาดกลางและขนาดเล็กไดนำมาตรฐาน ขอแนะ แนวปฏิบัติ และขอกำหนดไปดำเนินการเพื่อปกปองสวัสดิภาพ ลดการเกิดอบุ ัติเหตุใหเปนศนู ยใ นผูปฏบิ ตั ิงานและชว ยเพิม่ ผลผลิตของสถานประกอบกจิ การ 1.2 วัตถุประสงค เพื่อสำรวจปจจัยสวนบุคคลดานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทำงานของสถานประกอบ กิจการติดตงั้ หลงั คาสำเรจ็ รูปในประเทศไทย 1.3 กรอบแนวคิดในการศกึ ษา ขอมลู ท่วั ไป - ความรูเกย่ี วกับกฎหมายและ - เพศ ขอกำหนดมาตรฐานการทำงาน - อายุ บนท่สี งู - ระดับการศกึ ษา - ประสบการณในการทำงาน (ป) - ทัศนคติตอ สาเหตุการเกดิ อุบตั ิเหตุ - ตำแหนง งานในปจ จุบนั และอันตรายตอการทำงานบนท่ีสงู - การฝก อบรมดานความปลอดภยั ในการทำงานบนท่สี ูง - การนำมาตรฐานการทำงานบนท่สี งู มาใช - พฤตกิ รรมการจดั การความ - ชนดิ มาตรฐานเกี่ยวกับการทำงานบนท่ีสงู ปลอดภัยในการทำงานบนทีส่ งู - สถติ กิ ารเกดิ อุบตั ิเหตใุ น 1 เดอื นทผ่ี านมา สถาบันสงเสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจ จยั สวนบุคคลดานความปลอดภัยและอาชีวอนามยั ในการทำงานตดิ ตง้ั หลังคา หนา้ 3 สำเรจ็ รูปในประเทศไทย 1.4 ประโยชนท ่จี ะไดร ับจากการศกึ ษา ผูประกอบการมีความรู ทัศนคติ และพฤติกรรมการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง สำหรบั การติดตั้งหลังคาสำเร็จรูป ตามขอกฎหมายและ/หรือ ขอกำหนดตามมาตรฐานความปลอดภยั ในการ ทำงานบนทสี่ ูงไดอ ยา งถูกตอ ง สง ผลใหผปู ฏิบัตงิ านมีความปลอดภยั ในการทำงาน ลดอบุ ัตเิ หตุในการทำงานบน ที่สูงสำหรบั กจิ กรรมตดิ ตัง้ หลงั คาสำเร็จรูป 1.5 ขอบเขตการศกึ ษา ขอบเขตดานประชากรและกลุมตัวอยาง การศึกษานี้เปนระเบียบวิธีการศึกษาแบบภาคตัดขวาง (Cross-Sectional Study) คือ การศึกษาเชิงปริมาณของสถานประกอบกิจการที่มีกิจกรรมติดตั้งหลังคา สำเร็จรปู ในประเทศไทย จำนวน 392 แหง ขอบเขตดานพื้นที่ ไดแก สถานประกอบกิจการติดตง้ั หลังคาสำเร็จรปู ในประเทศไทย ขอบเขตดานเวลา คือ ระยะเวลาดำเนินการเก็บรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูล ตั้งแตเดือน มนี าคม 2563 ถึง เดอื นกันยายน 2563 1.6 นิยามศพั ท รูปแบบการจัดการความปลอดภยั และอาชวี อนามัยในการติดตั้งหลังคาสำเร็จรูป หมายถึง การจัดการ ความปลอดภัย (Managing Safety) ตามหลกั การจัดการ Successful Health and Safety Management: HSG65 ป ค.ศ. 2000 และ 2013 ของ The Health and Safety Executive (HSE) สหราชอาณาจักร (United Kingdom) ใน 5 องคประกอบ ไดแก นโยบาย (Policy) การจัดองคกร (Organising) การวางแผนและดำเนินการ (Planning and Implementing) การวัดผลการดำเนินการ (Measuring Performance) การตรวจติดตามและการทบทวน (Auditing and Reviewing) และวงจรการบรหิ ารงานคุณภาพ Plan-Do-Check-Act (PDCA) การติดต้ังหลังคาสำเร็จรูป หมายถึง กิจกรรมการกอสรางทีเ่ กี่ยวของกับกระบวนการติดตั้งหลังคา สำเรจ็ รปู ประกอบดว ยกระบวนการตดิ ตั้งโครงหลังคาและ/หรอื มุงหลงั คาสำเรจ็ รูป กฎหมายที่เกี่ยวของ หมายถึง กฎหมายที่มีเนื้อหาเกี่ยวของกับการทำงานบนที่สูง เชน พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน พ.ศ. 2554 กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการ ทำงานเก่ียวกบั งานกอสราง พ.ศ. 2551 และประกาศกรมสวสั ดิการและคุมครองแรงงาน เร่ือง หลกั เกณฑแ ละ วิธีการ การใชเชือก ลวดสลิง และรอก พ.ศ. 2553 เปนตน สถาบนั สง เสริมความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจจยั สว นบคุ คลดา นความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทำงานตดิ ต้ังหลงั คา หนา้ 4 สำเรจ็ รปู ในประเทศไทย มาตรฐานการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง หมายถึง มาตรฐานการจัดการความ ปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง (มปอ. 101: 2561) และคูมือการดำเนินงานตามขอกำหนดการจัดการความ ปลอดภัยในการทำงานบนท่ีสูง จัดทำโดย สถาบันสง เสริมความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอมใน การทำงาน (องคการมหาชน) มาตรฐานระบบการจัดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน หมายถึง มาตรฐานระบบการจัดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน (สสปท. 1-4-01-00-2562) จดั ทำโดย สถาบันสงเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ มในการทำงาน (องคก ารมหาชน) สถาบันสง เสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคการมหาชน)

การสำรวจปจ จยั สวนบคุ คลดา นความปลอดภยั และอาชวี อนามัยในการทำงานติดต้งั หลงั คา หนา้ 5 สำเรจ็ รปู ในประเทศไทย บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กี่ยวขอ ง การสำรวจปจ จัยสวนบุคคลดานความปลอดภัยและอาชวี อนามยั ในการทำงานของสถานประกอบกิจการ ติดต้งั หลังคาสำเร็จรปู ในประเทศไทย ไดรวบรวมแนวคดิ ทฤษฎีจากเอกสาร งานวิจยั และกฎหมายที่เกี่ยวของ จดั ทำเปนขอมูลพืน้ ฐานโดยมีหัวขอ ดงั ตอ ไปน้ี 2.1 กฎหมายและมาตรฐานที่เกย่ี วขอ งกับการทำงานบนทส่ี งู 2.2 ทฤษฎีเก่ียวกับความปลอดภัยในการทำงาน 2.3 การจัดการความปลอดภยั ในการทำงานบนที่สูง 2.4 งานวิจยั ทเ่ี กย่ี วของ 2.1 กฎหมายและมาตรฐานทเี่ ก่ยี วขอ งกบั การทำงานบนที่สงู 2.1.1 กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ มในการทำงาน พ.ศ. 2549 “ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน” หมายความวา การกระทำ หรอื สภาพการทำงานซึ่งปลอดจากเหตุอันจะทำใหเกิดการประสบอันตราย การเจ็บปวย หรือความเดือดรอน รำคาญอนั เนอ่ื งจากการทำงานหรือเกย่ี วกับการทำงาน “เจา หนา ทีค่ วามปลอดภัยในการทำงาน” หมายความวา ลกู จางซึง่ นายจางแตงต้งั ใหปฏิบัติหนาที่เปน เจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหนางาน ระดับบริหาร ระดับเทคนคิ ระดับเทคนิคขั้นสงู และ ระดบั วิชาชพี “ลูกจา งระดับปฏบิ ัตกิ าร” หมายความวา ลกู จางซ่งึ ทำหนาทเ่ี ปนผปู ฏิบตั งิ าน “ลูกจางระดับหัวหนางาน” หมายความวา ลูกจางซึ่งทำหนาที่ควบคุม ดูแล บังคับบัญชาสั่งงานให ลกู จางทำงานตามหนา ที่ของหนว ยงานนน้ั ๆ “ลกู จางระดับบริหาร” หมายความวา ลกู จางซ่งึ เปน หัวหนา หนว ยงานที่มีระดับสูงกวาหวั หนางานขึ้น ไปไมวา จะเรียกชอื่ อยางไรกต็ าม “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอมใน การทำงานของสถานประกอบกิจการ “กรรมการ” หมายความวา กรรมการความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ มในการทำงาน ของสถานประกอบกิจการ สถาบนั สงเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคการมหาชน)

การสำรวจปจจัยสว นบุคคลดานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทำงานตดิ ตัง้ หลังคา หนา้ 6 สำเรจ็ รูปในประเทศไทย “ผูแทนนายจางระดับบริหาร” หมายความวา ลูกจางระดับบริหารซึ่งมีอำนาจหนาที่ทำการแทน นายจางสำหรับกรณีการจาง การลดคา จาง การเลกิ จาง การใหบำเหน็จ การลงโทษ หรือการวนิ ิจฉัยขอรอง ทุกข และไดรบั มอบหมายเปนหนงั สอื ใหกระทำการแทนนายจา ง เพอ่ื ปฏิบัตใิ หเปน ไปตามกฎกระทรวงน้ี “ผูแทนลูกจาง” หมายความวา ผูแทนลูกจางซึ่งเปน ลูกจางระดับปฏิบัตกิ ารที่ไดร ับการเลือกตั้งจาก ฝายลกู จา งใหเปน กรรมการ เพื่อปฏิบัติใหเปน ไปตามกฎกระทรวงน้ี “หนวยงานความปลอดภัย” หมายความวา หนวยงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอมในการทำงานซึ่งนายจางใหดูแลและปฏิบัติงานดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ สภาพแวดลอ มในการทำงานของสถานประกอบกิจการ “สถานประกอบกิจการ” หมายความวา ที่ทำงานของนายจางแตละแหง ที่ประกอบกิจการแยกออก ตามลำพังเปน หนวย ๆ และมีลูกจา งทำงานอยู 2.1.2 กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการดานความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงานเก่ียวกับงานกอสราง พ.ศ. 2551 “งานกอ สราง” หมายความวา การประกอบการเกี่ยวกับการกอสรางทุกชนิด เชน อาคาร สนามบิน ทางรถไฟ ทางรถราง ถนน อโุ มงค ทาเรอื สะพานเทียบเรือ สะพาน ทางน้ำ ทอระบายน้ำ ประปา รั้ว กำแพง ประตู ปายหรือสิง่ ที่สรางขึ้นสำหรับติดหรือตัง้ ปาย พืน้ ที่หรือสิ่งกอสรา งเพือ่ จอดรถ กลับรถ และทางเขาออก ของรถ และหมายรวมถงึ การตอ เตมิ ซอมแซม ซอมบำรุง ดัดแปลง เคล่ือนยา ย หรือรื้อถอนทำลายสิ่งกอสรา ง นั้นดวย “เขตกอสราง” หมายความวา พื้นที่ที่ดำเนินการกอสราง รวมทั้งพื้นที่โดยรอบบริเวณซึ่งนายจางได กำหนดขน้ึ ตามกฎกระทรวงนี้ 2.1.3 พระราชบญั ญัติความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ มในการทำงาน พ.ศ.2554 “ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ มในการทำงาน” หมายความวา การกระทำหรือ สภาพการทำงานซึ่งปลอดจากเหตุอันจะทำใหเกิดการประสบอันตรายตอชีวิต รางกาย จิตใจ หรือสุขภาพ อนามยั อันเน่ืองจากการทำงานหรือเกยี่ วกบั การทำงาน “นายจาง” หมายความวา นายจา งตามกฎหมายวา ดวยการคุมครองแรงงานและใหห มายความรวมถึง ผูประกอบกิจการซึ่งยอมใหบุคคลหนึ่งบุคคลใดมาทำงานหรือทำผลประโยชนใหแกหรือในสถานประกอบ กิจการ ไมวาการทำงานหรือการทำผลประโยชนนั้นจะเปน สว นหนึ่งสวนใดหรอื ทั้งหมดในกระบวนการผลิต หรอื ธรุ กจิ ในความรบั ผดิ ชอบของผูประกอบกิจการน้ันหรือไมกต็ าม “ลูกจาง” หมายความวา ลูกจางตามกฎหมายวาดว ยการคุมครองแรงงานและใหหมายความรวมถึงผู ซึ่งไดรับความยินยอมใหทำงานหรือทำผลประโยชนใหแกหรือในสถานประกอบกิจการของนายจางไมวาจะ เรยี กช่ืออยางไรกต็ าม สถาบนั สงเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ มในการทำงาน (องคการมหาชน)

การสำรวจปจจัยสว นบคุ คลดานความปลอดภยั และอาชวี อนามัยในการทำงานตดิ ตั้งหลงั คา หนา้ 7 สำเรจ็ รูปในประเทศไทย “ผูบ รหิ าร” หมายความวา ลูกจา งต้งั แตระดบั ผจู ดั การในหนว ยงานข้นึ ไป “หวั หนางาน” หมายความวา ลูกจางซึ่งทำหนา ที่ควบคุม ดูแล บงั คบั บัญชาหรือสั่งใหลูกจางทำงาน ตามหนาทีข่ องหนว ยงาน “เจา หนาท่ีความปลอดภัยในการทำงาน” หมายความวา ลกู จางซ่งึ นายจางแตง ต้ังใหปฏิบัติหนาที่ดาน ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ มในการทำงานตามพระราชบัญญัตนิ ี้ “สถานประกอบกิจการ” หมายความวา หนวยงานแตละแหงของนายจางที่มีลูกจางทำงานอยูใน หนวยงาน “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอมใน การทำงาน 2.1.4 มาตรฐานความปลอดภัยสำหรับงานกอสรางอาคาร วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย พ.ศ. 2518 ไดแบง มาตรฐานความปลอดภัยออกเปน 13 หมวด ซงึ่ รายละเอียด มีดังนี้ 1. งานน่งั รา น 2. งานตอกเข็ม 3. บนั ไดไต 4. งานขุดดินลึก 5. การร้ือถอนทำลาย 6. ปน จนั่ 7. กวา นและลฟิ ต 8. การเช่อื มและการตดั 9. การปฏบิ ัติงานภายใตความกดอากาศสงู 10. การระเบดิ 11. การขนยายและการเก็บวัสดุ 12. พนื้ ช่วั คราว บันไดถาวร ราวกัน้ และขอบกันตก 13. ความสะอาดและความมีระเบียบ การเดนิ สายไฟและการใหแสงสวา งชั่วคราว หองสุขาชั่วคราว 2.1.5 มาตรฐานสากลท่ีเก่ียวของกับการปอ งกันและยับย้ังการตกจากทีส่ ูง 1. มาตรฐานองคก ารมาตรฐานสากล (International Standardization and Organization: ISO) 2. มาตรฐานสหภาพยุโรป (European Standards: EN) 3. มาตรฐานออสเตรเลียและนิวซแี ลนด (AS/NZS) 4. มาตรฐานสถาบันมาตรฐานแหงชาติสหรฐั อเมริกา (American National Standards Institute: ANSI) 5. มาตรฐานอตุ สาหกรรมญ่ีปุน (Japanese Industrial Standards: JIS) สถาบนั สงเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจจัยสวนบคุ คลดา นความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ในการทำงานตดิ ต้ังหลงั คา หนา้ 8 สำเรจ็ รูปในประเทศไทย 6. มาตรฐานของสถาบันความปลอดภัยและอนามยั ในการทำงานแหงชาตสิ หรฐั อเมริกา (The National Institute for Occupational Safety and Health: NIOSH) 7. มาตรฐานของสำนักงานบริหารความปลอดภัยและอาชีวอนามัยแหง ชาติ สหรัฐอเมริกา (Occupational Safety and Health Administration: OSHA) 8. มาตรฐาน Workplace Safety and Health (WSH Council) ประเทศสิงคโปร 9. มาตรฐานอน่ื ๆ ทเ่ี ปนที่ยอมรบั 2.2 ทฤษฎคี วามปลอดภยั ในการทำงาน ทฤษฎีเก่ียวกบั การเกดิ อุบตั ิเหตุ 2.2.1 ทฤษฎีโดมโิ น (Domino Theory) H.W. Heinrich (1950) สาเหตขุ องการเกิดอบุ ัตเิ หตุ สามารถอธิบายไดดว ยทฤษฎีโดมิโน (Domino Theory) วาการบาดเจบ็ และความเสียหายตา ง ๆ เปนผลท่สี ืบเนือ่ งโดยตรงมาจากอุบัติเหตุ และอุบัติเหตุเปนผลมาจาก การกระทำทีไ่ มป ลอดภัยหรือสภาพการณท่ีไมปลอดภัย ซึง่ เปรียบไดเหมือนตัวโดมโิ นทเี่ รยี งตวั กัน 5 ตวั เมอ่ื ตัว ท่ีหนึง่ ลมยอมมีผลทำใหตวั โดมโิ นถัดไปลมตามกนั ไปดว ยเปนลกู โซ ทฤษฎีโดมโิ นนีม้ ผี ูเรยี กชอ่ื ใหมเปน “ลูกโซของ อบุ ัตเิ หตุ (Accident Chain)” ไดแก โดมิโนตัวท่ี 1 สภาพแวดลอมหรือภมู ิหลังของบุคคล (Social Environment or Background) หมายถงึ ความใจรอ น ดอ้ื รั้น ความโลภ และลักษณะทางสันดานท่ีไมตองการซ่งึ อาจถายทอดมาจากบรรพบุรุษ ของแตละคน ในขณะเดยี วกนั สภาพแวดลอ ม อาจทำใหเ กิดการพฒั นาจากสง่ิ ตาง ๆ ขนึ้ มา ซึ่งอาจปะปนมาใน รปู ของการรับรู การศกึ ษา ดงั นนั้ พนั ธุกรรมและสภาพแวดลอ มจึงอาจเปน สาเหตุที่ทำใหเกิดความผิดปกติหรือ ความบกพรองสว นบคุ คล โดมโิ นตัวท่ี 2 ความบกพรอ งของบคุ คล (Defects of Person) หมายถึง การท่บี คุ คลมคี ุณลกั ษณะ ทางสันดานและความประพฤติที่ไมดีจนอาจทำใหกลายเปนบุคคลทล่ี ะเลย หรอื ไมส นใจตอหลักการปฏิบัติเพ่ือ ความปลอดภยั ฯ ทำใหเกิดการกระทำหรือมสี วนรวมในการสรา งสภาพการณทไี่ มปลอดภัยฯ ขึ้นมา โดมิโนตัวที่ 3 การกระทำและ/หรอื สภาพการณทไี่ มปลอดภัย (Unsafe Acts / Unsafe Conditions) หมายถึง การกระทำที่ไมปลอดภัย เชน การยืนทำงานภายใตวัตถุที่มีน้ำหนักมากที่แขวนอยูการติดต้ัง เครื่องยนตโ ดยไมมกี ารแจงเตือน การหยอกลอในขณะทำงาน เปน ตน สวนสภาพแวดลอมทไ่ี มปลอดภัย ไดแก การขาดเคร่ืองปองกันจุดอันตราย การไมมรี ั้วกนั จุดท่มี ีการเคล่อื นที่ของเครื่องจกั ร ภาวะเสยี งดังเกนิ แสงสวาง ไมเพยี งพอหรือการระบายอากาศไมด ี เปนตน โดมิโนตวั ท่ี 4 อุบตั เิ หตุ (Accident) เปนเหตุการณท ่ีเกิดจากปจจัยทั้ง 3 ระดบั ขางตนแลวสง ผลกระทบ ใหเ กดิ อบุ ตั ิการณ/อุบัติเหตุ เชน การตกจากทีส่ งู ลืน่ หกลม เดินสะดุด สิ่งของตกมาจากท่สี ูง วัตถกุ ระเด็นใส ซึ่งอาจ เปนสาเหตขุ องการบาดเจ็บ สถาบันสงเสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ มในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจจัยสว นบคุ คลดา นความปลอดภยั และอาชวี อนามัยในการทำงานติดตงั้ หลงั คา หนา้ 9 สำเรจ็ รูปในประเทศไทย โดมโิ นตัวที่ 5 การบาดเจ็บหรือความเสียหาย (Injury / Damages) คือการบาดเจ็บที่อาจเกิดกับ รา งกาย เชน การฉีกขาดของเนื้อเย่อื กลามเนื้อหรอื กระดูกหักทเ่ี ปน ผลมาจากอุบัติเหตุและอาจสงผลจนถึงขัน้ พิการได การปองกันอุบัติเหตุตามทฤษฎีโดมิโน เม่อื โดมิโนตัวที่ 1 ลม ตัวถัดไปก็จะลมตาม ดังนั้นหากไมให โดมิโนตัวที่ 4 ลม (ไมใหเกดิ อุบัติเหต)ุ ก็ตอ งเอาโดมิโนตวั ท่ี 3 ออก การบาดเจ็บหรือความเสยี หายกจ็ ะไมเ กิดข้ึน ภาพท่ี 2-1 ลกู โซของอุบตั ิเหตุ (Heinrich, 1950) ทฤษฎโี ดมโิ นคือ เมอื่ โดมิโนตวั ท่ี 1 ลม ตวั ถัดไปกล็ ม ตาม ดังนนั้ การปองกนั อบุ ตั ิเหตุตามทฤษฎีโดมิโน หรือลกู โซข องอบุ ัติเหตุ คอื การไมใ หโ ดมิโนตัวท่ี 4 (อบุ ตั ิเหต)ุ ลมแลวไปกระทบโดมโิ นตวั ถดั ไป ทำใหโดมิโนตัว ที่ 5 (การบาดเจ็บหรือความเสยี หาย) ลมตามไปดว ย การทำใหโดมิโนตัวที่ 4 (อุบัติเหตุ) ไมลมนั้น วิธีการท่ีดี ท่ีสดุ สามารถทำไดด ว ยการเอาโดมิโนตวั ที่ 3 ออกโดยการกำจัดการกระทำและ/หรือสภาพการณที่ไมปลอดภัย ดวยวิธีตาง ๆ ดังนั้น อุบัติเหตุ และการบาดเจ็บหรือความเสียหายก็ไมเกิดขึ้น ทั้งน้ี ในการแกไขหรือกำจัด โดมิโนตัวท่ี 3 ออก จำเปนทจ่ี ะตองมีการแกไขปรับปรุงทีโ่ ดมิโนตัวท่ี 1 (สภาพแวดลอมหรือภูมหิ ลังของบุคคล) และตัวที่ 2 (ความบกพรองของบุคคล) ดวย แตการที่จะแกไขหรือกำจัดโดมิโนตวั ที่ 1 หรือตัวท่ี 2 เปน เรื่องท่ี ตองใชเวลายาวนานมาก เพราะเปนสิ่งทีเ่ กิดข้ึนและปลูกฝง เปน นสิ ัยสวนบคุ คลแลว สรุปไดดังภาพที่ 2-1 2.2.2 แบบจำลองสาเหตุของอุบัตเิ หตุและความสญู เสีย (Loss Causation Model) Frank E. Bird (1969) ไดคิดแบบจำลองสาเหตุของอุบัติเหตุและความสูญเสีย (Loss Causation Model) ซึ่งเปนแบบที่งายและใชกันในการควบคุมอุบัติเหตุอยางกวางขวาง โดยการนำทฤษฎีโดมิโนของ H.W. Heinrich มาอธบิ ายใหม แบบจำลองสาเหตุของอุบัตเิ หตุและความสูญเสีย อธิบายถึงผลหรือความสูญเสยี (Loss) เปน ผล มาจากเหตุการณผิดปกติ (Incident) ที่เกิดขึ้น ซึง่ เกิดมาจากสาเหตุในขณะนั้น (Immediate Causes) แตท่ี สถาบันสงเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ มในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจ จัยสวนบคุ คลดา นความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทำงานตดิ ต้ังหลงั คา หนา้ 10 สำเรจ็ รปู ในประเทศไทย จรงิ แลว เกดิ มาจากสาเหตพุ ้นื ฐาน (Basic Causes) ท่ีเกดิ ขนึ้ มาจากการขาดการควบคุมท่ดี ี (Lack of Control) ดงั ภาพท่ี 2-2 ขาดการควบคุม สาเหตพุ ้ืนฐาน สาเหตุในขณะนน้ั เหตกุ ารณผ ดิ ปกติ ขีดจำ ักด ความสูญเสีย 1. โครงการ     ไมเ พียงพอ 2. มาตรฐานของ ปจจยั จากบุคคล การกระทำและ/ สัมผัสกับวัตถุ คน หรือพลงั งาน  ทรพั ยส ิน โครงการ   หรอื สภาพการณ  ไมเพียงพอ ท่ีต่ำกวา มาตรฐาน กระบวนการผลิต ปจจัยจากงาน 3. การปฏิบัตติ าม  มาตรฐาน ไมเ พียงพอ    ภาพที่ 2-2 แบบจำลองสาเหตุของอุบัติเหตุและความสูญเสยี (Loss Causation Model) (1) การขาดการควบคมุ (Lack of Control) การขาดการควบคุมการจัดการอยา งเพยี งพอ ยอ มนำไปสคู วาม สญู เสยี การขาดการควบคมุ ไดแ ก - โครงการไมเพียงพอ - มาตรฐานของโครงการไมเพียงพอหรือไมชดั เจน - การปฏิบตั ิตามมาตรฐานไมเ พยี งพอ (2) สาเหตุพืน้ ฐาน (Basic Causes) คือสาเหตุที่แทจริงที่อยูเบ้ืองหลงั ที่แสดงออกมาเปนเหตุผลวา ทำไมการกระทำหรือสภาพการณท ่ีต่ำกวา มาตรฐานจึงเกดิ ขึน้ สาเหตพุ ื้นฐานแบง ออกเปน 2 กลุม ไดแก - ปจ จัยจากบคุ คล เชน ขาดความรู ขาดความสามารถทั้งทางกายและทางจิตใจ มีความเครียด ฯลฯ - ปจจัยจากงาน หรือสภาพแวดลอมในการทำงาน เชน การออกแบบทางวิศวกรรมไมดี การควบคุม การจดั ซอ้ื ไมเพียงพอ เครอ่ื งมอื อปุ กรณ วัสดุไมเ พียงพอ ฯลฯ (3) สาเหตุในขณะน้ัน (Immediate Causes) คือสภาวะท่ีเกิดขึ้นอยางเฉียบพลันทันทีกอนที่ จะมีการสัมผัส เปนสภาวะท่ีมองเหน็ หรอื รับรูได ซึ่งเก่ียวของกบั - การกระทำท่ตี ำ่ กวามาตรฐาน (Sub-Standards Act) - สภาพการณท ีต่ ำ่ กวามาตรฐาน (Sub-Standards Condition) (4) เหตุการณผิดปกติหรืออุบัติการณ (Incident) คือเหตกุ ารณท่ีเกิดขึ้นเนื่องจากการสัมผัสกับแหลง ของพลังงาน หากพลังงานนัน้ สูงกวาคาขีดจำกัดของรางกายหรือโครงสราง จะกอใหเกดิ การบาดเจ็บหรือทรัพยสิน เสยี หาย หากพลังงานไมส ูงกวาเกินกวาขีดจำกัดของรางกายหรอื โครงสรา งจะรับได จะไมก อใหเ กิดการบาดเจ็บหรือ ทรพั ยส ินเสยี หาย แตมผี ลใหก ระบวนการผลิตหยุดชะงกั สถาบนั สงเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจ จยั สว นบุคคลดา นความปลอดภยั และอาชวี อนามัยในการทำงานตดิ ตงั้ หลังคา หนา้ 11 สำเรจ็ รปู ในประเทศไทย (5) ความสญู เสยี (Loss) เปน ผลทเ่ี กิดขนึ้ เม่อื มเี หตุการณผดิ ปกติ ผลที่เกิดข้นึ อาจเปน เร่อื งเล็กนอยไป จนถงึ ขนั้ เสยี ชีวติ หรือเสียหายท้งั สถานประกอบกิจการกไ็ ด จากการศึกษาเกี่ยวกับอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในวงการอุตสาหกรรมในป พ.ศ. 2512 โดยผูอำนวยการฝาย บริการวศิ วกรรมของบริษัทประกนั ภยั North America ดว ยการวเิ คราะหอ บุ ตั เิ หตุ 1,753,498 ราย ทรี่ ายงาน ไวโดยบริษัท 297 แหง บริษัทเหลานั้นเปนตวั แทนของกลุมอุตสาหกรรม 21 ประเภท มีคนงาน 1,750,000 คน ทำงานมามากกวา 3 พันลานชั่วโมงทำงาน นับถึงชวงเวลาทีท่ ำการวิเคราะห ผลการศกึ ษาแสดงอัตราสวนจาก รายงานดังตอ ไปน้ี ทกุ ๆ 1 ครง้ั ทมี่ ีการบาดเจบ็ ครั้งสำคญั ๆ (ขน้ั เสียชีวติ ทพุ พลภาพ หยดุ งาน) จะมีรายงานการบาดเจบ็ เล็กนอย (ขั้นรับการปฐมพยาบาล) 9.8 ครั้ง สำหรับบริษัท 95 แหงที่ดำเนินการวิเคราะหการบาดเจ็บสำคัญๆ ได รายงานวา อัตราสว นการบาดเจบ็ ท่ีทำใหมกี ารหยดุ งานกบั การบาดเจบ็ ท่ีตอ งมกี ารรักษาพยาบาล คือ 1 : 15 47 % ของบริษัทเหลานั้นแสดงใหเห็นวามีการตรวจสอบเหตุที่สรางความเสียหายใหกับทรัพยสิน ทุกครั้งที่เกิดเหตุการณและ 84 % ระบุวาตรวจสอบเฉพาะอุบัติเหตุที่ทำใหเกิดความเสียหายรายแรง การ วเิ คราะห ครงั้ สดุ ทายชีด้ วยวา 30.2 % ของอุบัตเิ หตทุ ่ีทำใหท รัพยสินเสียหายจะถูกบนั ทึกไวในทุกคร้ังที่เกิดการ บาดเจ็บครั้งสำคัญๆ ผลการศึกษาอัตราสวนการเกิดอุบัติเหตุพบวา การบาดเจ็บรายแรงเปนเหตุการณที่เกิดขึ้นนอยครั้ง ในขณะทเ่ี หตกุ ารณท ไี่ มร นุ แรงนกั จะมโี อกาสเกิดขน้ึ ไดบ อยคร้งั กวา 1 1 = การบาดเจ็บสาหสั หรืออาการรนุ แรงถงึ ขน้ั พกิ าร 10 10 = การบาดเจ็บไมร นุ แรง 30 30 = อบุ ัตเิ หตุท่ที ำใหท รัพยส นิ เสยี หายทกุ ประเภท 600 = เหตกุ ารณท่ีไมเ กิดการบาดเจบ็ หรอื ทรัพยส ินเสยี หาย 600 (เหตุการณเ กือบเกดิ อุบัตเิ หตุ) ภาพที่ 2-3 อตั ราสว นการเกิดอบุ ัตเิ หตุ (Accident Ratio) (Frank E. Bird, 1969) ความสัมพันธของอัตราสวน 1 : 10 : 30 : 600 แสดงใหเห็นอยางชัดเจนวา มีเหตุการณเกิดการบาดเจ็บ ถงึ ขั้นรนุ แรง 1 ครง้ั จะมีเหตกุ ารณเ กอื บเกิดอุบตั ิเหตเุ กิดขึ้นถึง 600 ครัง้ โดยท่สี ถานประกอบกิจการสวนใหญ มักจะมุงความสนใจและพยายามไปแกไขทีเ่ หตกุ ารณที่มกี ารบาดเจ็บถึงขั้นรนุ แรง ซึ่งเกิดขึ้นเพียงไมกี่ครั้งแตกลับ ละเลยในการแกปญหาเหตุการณเกอื บเกิดอุบัติเหตุทัง้ ๆ ท่ีเกิดข้ึนเปน จำนวนมาก หากสถานประกอบกิจการ ใหค วามสำคัญกบั เหตกุ ารณเกอื บเกิดอบุ ตั ิเหตุจะสามารถปองกันการเกดิ อบุ ัตเิ หตุไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ สถาบันสง เสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจ จัยสว นบุคคลดา นความปลอดภยั และอาชวี อนามัยในการทำงานตดิ ต้งั หลงั คา หนา้ 12 สำเรจ็ รูปในประเทศไทย 2.2.3 ความสญู เสียจากการเกดิ อุบัติเหตุ การเกิดอบุ ัตเิ หตแุ ตละครั้ง กอใหเกิดความสญู เสียมากมาย นอกจากจะเกิดการบาดเจบ็ การเจ็บปวย หรือเสียชีวิต หรือแมแตทรัพยส ินเสียหาย อปุ กรณ เครื่องมือ เครื่องจักรที่เกิดความเสียหาย คา ใชจายในการ ซอมบำรุงแลว ยังรวมถึงการสญู เสียเวลาในการผลิตทีต่ องหยดุ และคาใชจายอื่น ๆ หรอื ภาพพจนขององคกร ความสญู เสยี หรอื คา ใชจ า ยอันเนอื่ งมาจากการทำงาน อาจแบงออกไดเปน 2 ประเภทใหญ ๆ ดงั นี้ 1) ความสูญเสียทางตรง (Direct Loss) หมายถึง จำนวนเงนิ ท่ีตอ งจา ยไปอันเก่ียวเนอื่ งกับ ผูไดรบั บาดเจ็บโดยตรงจากการเกิดอบุ ัติเหตุนั้น ไดแ ก - คารกั ษาพยาบาล - คาทดแทน - คาทำขวญั คาทำศพ - คา ประกนั ชวี ิต 2) ความสูญเสียทางออม (Indirect Loss) หมายถึง คาใชจายอื่น ๆ (ซึ่งสวนใหญจะคำนวณเปน ตัวเงินได) นอกเหนอื จากคา ใชจายทางตรงสำหรบั การเกดิ อุบัตเิ หตุแตละคร้งั ไดแ ก (1) การสูญเสียเวลาทำงานของ ก. ผูปฏิบตั ิงานทีไ่ ดร บั บาดเจ็บ เพือ่ รกั ษาพยาบาล ข. ผูปฏิบัตงิ านคนอน่ื หรือเพอ่ื นรว มงานที่ตองหยุดชะงกั ชัว่ คราว เน่ืองจาก - ชวยเหลอื ผบู าดเจบ็ โดยการปฐมพยาบาล หรือนำสงโรงพยาบาล - ความอยากรูอ ยากเหน็ - การวพิ ากษวิจารณ - ความตน่ื ตกใจ (ตน่ื ตระหนกและเสียขวญั ) ค. หัวหนางานหรอื ผูบงั คับบัญชา เน่อื งจาก - ชวยเหลือผูบ าดเจ็บ - สอบสวนหาสาเหตุของการเกดิ อุบัติเหตุ - บันทกึ และจดั ทำรายงานการเกดิ อบุ ตั เิ หตเุ พือ่ เสนอตามลำดับข้ัน และสงแจงไป ยังหนวยราชการที่เกีย่ วของ - จดั หาผปู ฏบิ ตั ิงานอนื่ และฝกสอนใหเ ขา ทำงานแทนผูบาดเจ็บ - หาวธิ กี ารแกไขและปอ งกนั อบุ ัตเิ หตไุ มใหเกดิ ขึ้นซ้ำอีก (2) คา ใชจายในการซอมแซมเคร่อื งจกั ร เครอ่ื งมือ อุปกรณท ีไ่ ดรบั ความเสียหาย (3) วัตถดุ ิบหรอื สินคา ท่ไี ดร บั ความเสยี หายตอ งทิ้ง ทำลาย หรอื ขายทง้ิ สถาบนั สง เสริมความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจ จยั สว นบุคคลดา นความปลอดภยั และอาชวี อนามัยในการทำงานติดต้งั หลังคา หนา้ 13 สำเรจ็ รูปในประเทศไทย (4) ผลผลิตลดลง เนอื่ งจากกระบวนการผลติ ขดั ขอ ง ตอ งหยุดชะงกั (5) คา สวัสดิการตา ง ๆ ของผบู าดเจ็บ (6) คาจางแรงงานของผูบาดเจ็บ ซึ่งสถานประกอบกิจการตองจายตามปกติ แมวา ผบู าดเจ็บจะทำงานยงั ไมไ ดเ ตม็ ท่ี หรือตอ งหยุดทำงาน (7) การสญู เสยี โอกาสในการทำกำไร เพราะผลผลิตลดลงจากการหยุดชะงักของกระบวนการ ผลติ และความเปล่ยี นแปลงความตองการของทองตลาด (8) การเสียชอ่ื เสียง และภาพลกั ษณข องสถานประกอบกิจการ (9) คา ใชจา ยเบด็ เตลด็ ตา ง ๆ เชน คา เชา คาไฟฟา คาน้ำประปา และคา ใชจายอื่น ๆ ที่สถาน ประกอบกจิ การยังคงตองจายตามปกติ แมวาจะตองหยุด หรอื ปดกิจการหลายวนั ในกรณเี กิดอบุ ัตเิ หตุรายแรง นอกจากน้ี ผบู าดเจบ็ จนถึงข้นั พิการหรือทุพพลภาพจะกลายเปนภาระของสงั คม ซง่ึ ทุกคนมีสวนรว ม รบั ผดิ ชอบดว ย ความสญู เสยี ทางออ มจงึ มีคามหาศาลกวาความสูญเสียทางตรงมาก ซ่งึ ปกติเรามักจะคิดกนั ไมถึง จึง มผี เู ปรียบเทียบวาความสูญเสยี หรอื คาใชจ า ยของการเกิดอบุ ตั เิ หตเุ ปรียบเสมอื น “ภเู ขานำ้ แขง็ ” สวนท่โี ผลพนน้ำให มองเห็นไดมเี พียงเล็กนอยเมื่อเทียบกับสว นที่จมอยูใ ตน ้ำ ในทำนองเดียวกัน คาใชจายทางตรงเมื่อเกิดอุบัติเหตุจะ เปน เพียงสวนนอยของคาใชจายที่เกิดขึ้นทั้งหมด ซึ่งผูบริหารจะมองขามมิได Heinrich ไดคำนวณอัตราสวน ของคา ความสูญเสียทางตรงและความสูญเสียทางออมนั้น ประมาณ 1 : 4 ตอมาในป พ.ศ. 2533 De Reame อางถึงการศกึ ษาของนักวชิ าการทัง้ หลายวา อัตราสว นนั้นจะอยูระหวาง 1 : 2.3 - 101 ซ่ึงอาจเปรียบเทยี บเสมือน ภเู ขานำ้ แข็งในมหาสมทุ ร ดงั ภาพท่ี 2-4 ความสญู เสยี ทางตรง - คา รักษาพยาบาล - คาทดแทน - คา ทำขวัญ คาทำศพ - คา ประกนั ชีวิต ความสญู เสยี ทางออ ม - การสญู เสยี เวลาทำงานของผูบาดเจบ็ เพือ่ นรว มงาน หวั หนางาน - คาใชจา ยในการซอ มแซมเคร่อื งจกั ร เคร่ืองมอื อปุ กรณ - วัตถุดบิ หรือสินคาทไ่ี ดรบั ความเสียหาย - ผลผลิตลดลง - คาสวสั ดิการตา ง ๆ ของผบู าดเจ็บ - คา จางแรงงานของผบู าดเจ็บ - การสูญเสียโอกาสในการทำกำไร - การเสยี ช่อื เสียง และภาพลกั ษณข องสถานประกอบกิจการ - คาใชจ ายเบ็ดเตลด็ ตา ง ๆ ภาพที่ 2-4 แสดงความสูญเสียจากการเกิดอบุ ัตเิ หตุเปรยี บเทยี บกับภเู ขานำ้ แข็ง สถาบนั สงเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจ จัยสว นบุคคลดา นความปลอดภัยและอาชวี อนามยั ในการทำงานติดต้งั หลังคา หนา้ 14 สำเรจ็ รปู ในประเทศไทย 2.2.4 ทฤษฎคี วามลา ทฤษฎีความลาเปนทฤษฎีกลาวถึงคุณลักษณะมนุษย ขีดจำกัดและความสามารถ ในการทำงานท้ัง ทางดานรา งกายและจิตใจโดยปจ จัยทีม่ ีผลกระทบตอมนุษยใ นการทำงาน ไดแ ก ระยะเวลาการทำงาน ลักษณะ ของงาน สภาพแวดลอมในการทำงาน สภาพความพรอ มของรา งกาย รวมทัง้ สภาพแวดลอมในการดำรงชีวิต ตา ง ๆ ทำใหเ กดิ ความลา เม่ือมีความลา สะสมขนึ้ ในรา งกาย ก็จำเปนจะตอ งมกี ารระบายใหร ะดับความลา ลดลง เพ่ือใหรางกายไดมีการฟนตัว มิฉะนั้น ถาปลอยใหระดับความลามีแตสูงขนึ้ เรื่อย ๆ จนเกินขีดจำกัดที่รางกาย จะรับได ก็ยอมเปนอันตรายตอ รางกายและเอือ้ อำนวยใหมีความผิดพลาดขึ้นไดงาย และจะทำใหเกดิ อบุ ัติเหตุ ((Grand jean, 1981) อางองิ ใน (กติ ติ, 2554)) 2.2.5 สาเหตขุ องอบุ ตั เิ หตุ (Causes of Accidents) Heinrich (1931) อางอิงใน (วิฑูรย และ วีระพงษ, 2540) สรุปสาเหตุสำคัญของการเกิดอุบัติเหตุ เปน 2 ประการ ไดแ ก 1. สาเหตุจากการกระทำที่ไมปลอดภัย (Unsafe Acts) เปนการกระทำที่ไมปลอดภัยของ ผูปฏิบัตงิ านในขณะทำงาน ซึ่งอาจจะกอใหเ กิดอบุ ัตเิ หตไุ ด ดงั ตัวอยา งตอ ไปน้ี - การใชเคร่ืองจักร เคร่ืองกล เครอ่ื งมอื หรอื อปุ กรณตา ง ๆ โดยพลการหรอื โดยไมไ ดรับมอบหมาย - การทำงานเร็วเกินสมควรและใชเครอื่ งจักรในอตั ราทีเ่ รว็ เกินกำหนด - ซอ มแซมหรือบำรุงรักษาเครือ่ งในขณะท่เี ครื่องยนตก ำลงั หมุน - ถอดอุปกรณความปลอดภัยจากเครือ่ งจกั รโดยไมม เี หตุอนั สมควร - ไมใ สใ จตอการหามเตอื นตา ง ๆ - เลนตลกคะนองในขณะทำงาน - ยืนทำงานในท่ที ี่ไมป ลอดภัย - ใชเครอ่ื งมอื ทช่ี ำรดุ และการใชเคร่ืองมือไมถูกวิธี - ทำการยกหรอื เคล่อื นยายวสั ดุดวยอิรยิ าบถทาทางหรือวิธกี ารท่ีไมปลอดภยั - ไมส วมใสอ ุปกรณค มุ ครองความปลอดภัยสวนบคุ คลท่จี ดั ให 2. สภาพการณที่ไมปลอดภัย (Unsafe Condition) เปนสภาพแวดลอมที่อยูรอบ ๆ ตัวผูปฏิบัติงาน ในขณะทำงาน ซงึ่ อาจเปนสาเหตุกอใหเกิดอุบตั ิเหตไุ ด ดังตัวอยา งตอไปนี้ - ไมมีตะแกรง หรือทีค่ รอบหรือการดปดคลุมสวนท่ีหมุนไดและสวนสงถายกำลังของเครื่องจกั รที่เปน อนั ตราย - เคร่อื งจกั รอาจมที ี่ครอบหรือการดทไี่ มเหมาะสม เชน ไมแขง็ แรง หรือรตู ะแกรงของเซฟการดมีขนาดโต เกินไป - เครอื่ งจักร เครื่องมอื ท่ใี ช มกี ารออกแบบไมเหมาะสม สถาบันสงเสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจ จัยสว นบุคคลดา นความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทำงานติดต้งั หลงั คา หนา้ 15 สำเรจ็ รูปในประเทศไทย - บริเวณพน้ื ทีท่ ำงานลื่น ขรขุ ระ - สถานที่ทำงานสกปรก รกรุงรงั การวางของไมเปน ระเบยี บ เกะกะ มกี ารวางส่งิ ของกีดขวางทางเดิน - การกองวัสดสุ ูงเกนิ ไป และการซอ นวัสดุไมถ ูกวธิ ี - การจัดเก็บสารเคมี สารไวไฟตาง ๆ ไมเ หมาะสม - ความเขมของแสงสวา งไมเ หมาะสม เชน แสงอาจสวา งไมเพยี งพอ หรือแสงจาเกินไป - ไมมีระบบการระบายและถา ยเทอากาศทเ่ี หมาะสม - ไมมีระบบเตอื นภยั ทเ่ี หมาะสม สาเหตุท่เี กิดอบุ ัติเหตุในงานกอ สรา ง จากการศึกษาประกอบ (ประกอบ, 2530) สรุปสาเหตทุ ่เี กดิ อุบัติเหตใุ นงานกอ สรางไว 3 สาเหตุ ไดแ ก 1. เกิดอุบัติเหตุ เพราะความไมรูเทคนิคการกอสราง เชน จัดวางเหล็กเสริมคอนกรีตผิดตำแหนง การถอดแบบคอนกรีตกอนเวลา เปนตน ซ่งึ อาจเปนสาเหตใุ หอ าคารพงั ทลายลงมาได 2. เกิดอุบตั ิเหตุ เพราะความประมาท ขาดวินยั เชน การทำงานในทีส่ ูงโดยไมมีเครื่องปองกันการตก เชน เข็มขัดนิรภัย การไมจัดทำสิ่งปองกันการตกตามชองเปดตาง ๆ เชน ชอ งลิฟต เปนตน ไมเคารพกฎระเบยี บ เก่ยี วกับความปลอดภยั 3. เกดิ อุบัติเหตุ เพราะความไมสมบูรณของรางกาย โดยอาจมีโรคประจำตัว เชน โรคหวั ใจ ลมบาหมู หรอื บางครง้ั อดนอนมากเกินไป หรือเมาคางทำใหรา งกายออนเพลยี ซึ่งจะเกดิ อบุ ตั เิ หตไุ ดงา ย สถาบนั ความปลอดภยั ในการทำงาน (สถาบันความปลอดภยั ในการทำงาน, 2542) สรปุ สาเหตขุ อง การเกิดอบุ ัติเหตุในงานกอสราง แบง เปน 2 กรณี ดงั นี้ กรณีท่ี 1 สาเหตนุ ำของการเกิดอบุ ตั เิ หตุ แบง ไดเ ปน 3 ลกั ษณะ คือ ก) ความผดิ พลาดของการจดั การ เชน การวางแผนงานดำเนินการดา นความปลอดภยั ไมด ีพอ ไมม กี าร บงั คับใหปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย ไมติดตามผลการปฏิบัตงิ านดา นความปลอดภัยของคนงานอยา ง สม่ำเสมอ จุดอันตรายตาง ๆ ไมไดทำการแกไข อุปกรณคมุ ครองความปลอดภัยสว นบคุ คลไมเ พียงพอ ข) สภาวะทางดา นจติ ใจของคนงานไมเ หมาะสม เชน ขาดความระมดั ระวัง มีทัศนคติไมถูกตอ ง จติ ใจ เลื่อนลอยขณะทำงาน ตกใจงายเกิดความรสู ึกหวาดกลัว ค) สภาพรา งกายไมเหมาะสมกบั งาน เชน เปน โรคหัวใจ สายตาไมดี ออ นเพลยี หูหนวก สภาพรางกาย เม่ือยลา เปนตน กรณีที่ 2 สาเหตุโดยตรงของการเกิดอบุ ัติเหตุ แบงไดเ ปน 2 ลักษณะ คอื ก) การปฏิบัติงานท่ีไมปลอดภัย จะมีสาเหตสุ บื เน่ืองมาจากคนงานที่ปฏิบัตงิ านโดยตรง เชน ไมส วมใส อุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล ไมสนใจตอคำเตือนตาง ๆ ใชเครื่องมือไมถูกวิธี เลนกับเพื่อน รวมงานขณะทำงาน เปนตน ข) สภาพของงานท่ไี มป ลอดภยั สามารถแบงไดเ ปน 2 ลักษณะ คือ สถาบันสงเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจ จยั สวนบคุ คลดา นความปลอดภัยและอาชีวอนามยั ในการทำงานติดต้ังหลงั คา หนา้ 16 สำเรจ็ รปู ในประเทศไทย 1) อุบัติเหตุที่เกิดจากลักษณะงาน ลักษณะของอุบัตเิ หตุจะมีความแตกตางกันออกไปตาม ลักษณะของงานกอสรา ง เชน งานกอ สรางอาคารสูงลักษณะของอุบตั เิ หตุท่ีเกิด คือ การพลัดตกจากที่สูง วัตถุหลนใส เปนตน แตถาเปนงานกอ สรางถนนลักษณะของอุบัติเหตุจะเกี่ยวกับการใชเครื่องจักรกล หรอื จากการใชเ ครอื่ งทนุ แรงเปนสวนมาก 2) อุบัติเหตทุ ่ีเกิดจากสงิ่ แวดลอมในการทำงาน ผูที่ทำงานกอ สรางตองพบกับสภาพแวดลอ ม ที่ไมพงึ ประสงคด ว ยกนั ทงั้ นั้น เชน เสียงดัง แสงทจ่ี า หรอื มวั จนเกนิ ไป ฝุน ความรอ น ควัน เปน ตน อนั ตรายท่เี กิดข้ึนในงานกอสราง อันตรายที่เกิดขึ้นในงานกอสราง งานกอสรางมีกิจกรรมที่หลากหลายและมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ดงั นัน้ อันตรายของงานกอ สรางจะแตกตา งไปตามขนั้ ตอนของงาน ดังนี้ 1. อันตรายการพลัดตกจากท่ีสูง เชน งานนั่งรา น งานติดต้ังไฟฟา งานติดตั้งหลังคา งานโครงสราง เสา งานทาสี งานตดิ ต้ังฝาเพดาน และงานฉาบปนู (สนุ ันท และ ธวัชชยั , 2554) ดงั น้นั ตอ งมกี ารทำราวก้ันตก ริมอาคาร ทำฝาปดชองตาง ๆ ทำตาขายรองรับ ใชเ ข็มขดั นริ ภยั เม่อื ทำงานในท่สี ูงและทำนั่งรา นใหแ ขง็ แรง 2. อันตรายจากการกระแทก คนงานมีโอกาสไดรับบาดเจ็บจากการถูกอุปกรณเครื่องมือตาง ๆ กระแทกขณะทำงาน เชน อุปกรณที่มีแรงอัดอากาศสูง มีผลทำใหคนงานเกิดแผลฉีกขาด ฟกซ้ำ กระดูกหัก อวัยวะตาง ๆ ไดร บั การกระทบกระเทอื นและเสยี ชีวิต (เบญจเดช, 2547) 3. อนั ตรายจากการพังทลาย และวสั ดุตกหลน เชน สายสลงิ ลำเลยี งปูนขาด (สนุ ันทและธวัชชยั , 2554) งานในทอ ชองโพรง อุโมงค การพังทลายของ ดิน หิน เปนตน ตองมกี ารเก็บกวาดเศษวัสดุบนพื้นฐานทางให สะอาดอยูเสมอ ปด กน้ั ขอบพน้ื ดนิ อาคาร ก้ันผาใบรองรับ เพ่อื ปองกันเศษวัสดุตกหลนลงไปเบอ้ื งลาง และตอ ง มีระบบปอ งกันดินพัง ควรเคลื่อนยา ยดนิ ปากหลุมออกไปอยางตอเนอื่ งไมกองไวจ นสูงมาก 2.2.6 ทฤษฎพี ฤติกรรมความปลอดภยั ในการทำงาน พฤตกิ รรม (Behavior) หมายถึง ทุก ๆ สง่ิ ท่บี คุ คลซ่งึ สามารถสงั เกตไดโ ดยตรงหรอื อาจอยูในรูปแบบ ของกระบวนการทางจิตใจ เชน ความคิดความรูสึกและแรงขบั ท่ีเปน ประสบการณข องแตละบุคคลท่ีไมสามารถ จะสงั เกตไดโดยตรง (Allen and Santrock, 1993) แชปแมน (Chapman, 1975) ใหความหมายวา พฤตกิ รรมคอื ส่ิงใดก็ตามท่สี ง่ิ มีชวี ติ กระทำ โกชแมน (Gochman, 1988) ใหความหมายวา พฤติกรรมเปนสิ่งบอกใหรูวามนุษยพยายามกระทำ หรอื หลกี เลีย่ งการกระทำ ซง่ึ บางครั้งกอ็ าจเปนไปโดยไมรตู ัวก็ได ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร (2545) ใหความหมายของพฤติกรรมคือการทำงานของมนุษยหรือสัตว การกระทำที่วานี้รวมทั้งการกระทำท่ีเกิดขึ้นทั้งผูกระทำรูสึกตัวและไมรูสึกตัวในขณะกระทำ รวมทั้งการ กระทำท่ีสงั เกตไดหรอื ไมไ ด สถาบันสงเสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคการมหาชน)

การสำรวจปจจยั สว นบคุ คลดานความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ในการทำงานติดตัง้ หลังคา หนา้ 17 สำเรจ็ รปู ในประเทศไทย สมยศ นาวีการ (2545) ไดส รปุ วา พฤตกิ รรม คือ กจิ กรรมตา ง ๆ ของมนษุ ยเปนส่งิ ท่ีเกิดอยางมีเปาหมาย โดยท่ัวไปแลวพฤตกิ รรมถูกจูงใจดวยความตองการเพ่ือบรรลุถงึ เปา หมายบางอยา ง แตอยา งไรก็ตามบุคคลอาจ ไมท ราบถึงเปาหมายเสมอไปและอาจกอ ใหเ กดิ ความประหลาดใจวา “ทำไมผมทำสงิ่ นี้” เหตุผลของการกระทำ อาจไมไ ดอยูใ นจิตสำนกึ เสมอไป ณรัฐ วัฒนพานิช (2548) ไดสรุปความหมายของพฤติกรรมไววา เปนสิ่งที่เกิดขึ้นอยางมีเปาหมาย โดยทั่วไปแลวพฤติกรรมทีเ่ กดิ ขึ้นถูกจูงใจดวยความตองการเพื่อใหบรรลุเปาหมายบางอยาง ซึ่งก็คือ กิจกรรม ตาง ๆ ของมนุษย นอกจากนี้ ภานุวัฒน ศิวะสกลุ ราช (2545) ไดอธิบายการเกิดขึ้นของพฤติกรรมจากองคประกอบตาง ๆ ไดแก การรับรู (Perception) การเรยี นรู (Learning) การคิด (Thinking) สติปญญา (Intelligence) ทัศนคติ (Attitude) อารมณ (Emotion) และความเชื่อ (Beliefs) ซึ่งองคประกอบเหลานี้มีศักยภาพที่กอใหเกิด พฤตกิ รรมของมนุษย ซึ่งองคประกอบที่มีผลตอพฤติกรรมคือ ทศั นคติ (Attitude) โดยความรู (Knowledge) ซึ่งเกิดจากการรับรูเบื้องตน โดยสวนใหญจะไดผานประสบการณการเรียนรูจากการตอบสนองตอสิ่งเรา (Stimulus-Response) แลวเกิดการจัดระบบโครงสรางของความรูที่ผสมผสานระหวางขอมูลความจำกับ สภาพจติ วิทยา ดว ยเหตุนค้ี วามรจู ึงเปน ความจำเปนท่เี ลือกสรร ซ่งึ สอดคลองกับสภาพจติ ใจของบุคคล ความรู จึงเปนกระบวนการภายใน อยางไรก็ตามความรูจึงเปนความจำเปน ท่ีเลอื กสรร ซ่ึงสอดคลองกับสภาพจติ ใจของ บุคคลความรูจ ึงเปนกระบวนการภายใน อยางไรก็ตามความรูก็อาจสงผลตอ พฤติกรรมที่แสดงออกของมนุษย ได ดังนั้นสรุปไดวา ความหมายของพฤติกรรม หมายถึง การกระทำหรือการแสดงออกของบุคคล เพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคบางอยา ง อาจกระทำโดยทั้งรูสกึ ตัวสามารถสังเกตไดโดยตรงหรือไมก็ได ซึง่ เกิดจาก การรับรู การเรียนรูจากประสบการณ การศึกษา อบรม การสื่อสาร การเขารวมกลุม ซึ่งสงผลใหเกิดเปน ทศั นคติและการแสดงออกเปนพฤตกิ รรม ความปลอดภัย หมายถึง การปราศจากซึ่งอุบัติเหตุหรือสภาพที่ปลอดจากความเจ็บปวด บาดเจ็บ หรือสูญเสีย แตหากนิยามตามหนาที่แลว ความปลอดภัย คือการควบคุมความสูญเสียจากการเกิดอุบัติเหตุ ซึ่งเปนนิยามที่มีความสัมพันธกับการบาดเจ็บ เจ็บปวย ความเสียหายตอทรัพยสิน ความเสียหายตอ กระบวนการผลิต ซึ่งยังหมายรวมถงึ การควบคุมและการปองกันอุบัติเหตุ เพื่อลดความสูญเสียจากการเกิด อุบัติเหตุใหนอยที่สุดดวย (Bird and German, 1985) ซึ่งความปลอดภัยเปนผลกระทบที่เกิดขึ้นนอยที่สุด ระหวางบุคคลจากความเปนอันตราย โดยใชหลักพื้นฐานในการปองกันอันตรายที่เกิดขึ้นกับตนเอง เชน การบาดเจ็บ หรือโรคจากการประกอบอาชพี (Anderson, 1989) วิฑูรย สิมะโชคดี วีรพงษ เฉลิมจิระรัตน (2547) กลา ววา ความปลอดภัย หมายถึงการปราศจากภัย รวมถึงการปราศจากอนั ตรายทม่ี โี อกาสเกดิ ขน้ึ ดว ย สถาบนั สงเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจจัยสว นบคุ คลดา นความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ในการทำงานตดิ ตัง้ หลังคา หนา้ 18 สำเรจ็ รูปในประเทศไทย ไตรภพ อินทุใส นฤมล เที่ยงวิริยะ และ วรวรรณ ถวิลกิจ (2547) ไดใหความหมายความปลอดภัยวา หมายถึง การที่รางกายปราศจากอุบัติภัย หรือทรัพยส นิ ปราศจากความเสียหายใด ๆ เปนสิง่ ที่มนุษยหรอื สตั ว ยอมตองการความปลอดภัยท้ังสิ้น ความปลอดภัยจะเปนประโยชนมากหรือนอยเพียงใดขึ้นอยูกับการปฏิบัติ หรอื การกระทำของตนเอง เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท (2548) ใหความหมายความปลอดภัย หรือสวัสดิภาพ วาหมายถึงการไมมี อุบตั ิเหตเุ กิดข้ึน โดยมีการดำรงชีวิตอยูอยางสุขกาย สบายใจ ไมเ ส่ียงภัย มคี วามมนั่ ใจในการประกอบกจิ การตาง ๆ และมกี ารเตรียมปอ งกันภัยไวล ว งหนา อยางถูกตอง เหมาะสมและสมำ่ เสมอ วิทยา อยูสุข (2549) ไดสรุปวา ความปลอดภัย (Safety) หมายถึง สภาพแวดลอมของการทำงานท่ี ปราศจากภัยคกุ คาม และไมม อี ันตราย (Danger) ตลอดจนไมม คี วามเสย่ี งใด ๆ หากพิจารณาคำนิยามของความปลอดภัยของวิฑูรย สิมะโชคดี และวีรพงษ เฉลิมจิระรัตน (2547) ไตรภพ อินทุใส นฤมล เที่ยงวิริยะ และ วรวรรณ ถวิลกิจ (2547) และ วิทยา อยูส ุข (2549) จะพบวา มีความ สอดคลอ งกนั คือ การปราศจากซึง่ ภยั คกุ คาม อบุ ัติภยั หรือโอกาสท่จี ะกอ ใหเ กิดภยั คกุ คาม อบุ ัตเิ หตุ หรือความ เสยี หายตอมนษุ ยห รอื ทรัพยส นิ เอมอัชฌา วัฒนบรุ านนท (2548) ใหน ิยามทมี่ คี วามสอดคลอ งกันแตมกี ารระบุ ถงึ การเตรยี มการเพ่ือปอ งกนั ภัยไวลว งหนา อยา งถกู ตอง สรุปคำนิยามของพฤติกรรมความปลอดภัย หมายถึง การกระทำหรือการแสดงออกของบุคคลซง่ึ เกิดจากการเรียนรู ประสบการณ ฯลฯ เพือ่ ใหบรรลุวัตถุประสงคของสภาวะที่ปราศจากภัยคุกคาม อันตราย การบาดเจ็บ เจบ็ ปวย พกิ าร หรอื เสียชีวิต หรือโรคจากการทำงาน รวมถึงการเสยี หายและสิ่งแวดลอ ม 2.3 การจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามยั ในการทำงานบนท่สี ูง การทำงานบนท่ีสงู หมายถึง การปฏบิ ัติงานใด ๆ ก็ตามในบรเิ วณท่ีมคี วามตางระดับของพ้ืนท่ีทำงาน ท่ีมีความสูง และมีโอกาสตกจากที่สูงของบุคคลหรือวัสดุจากระดับหนึ่งสูระดับที่ต่ำกวา เชน บริเวณทีม่ ีทาง ขึ้น - ลง หรือบันได และบริเวณที่ลืน่ ลาดชนั หรอื มพี ้ืนผวิ ทไี่ มแขง็ แรงมน่ั คง เปน ตน การตกจากท่สี งู หมายถึง การตกของบุคคล หรอื การตกของวัสดจุ ากระดบั หน่งึ สูระดับที่ต่ำกวา 2.3.1 มาตรฐานระบบการจัดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน (สสปท. 1-4-01-00-2562) มาตรฐานระบบการจดั การดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงานได จัดทำขนึ้ โดยมขี อบขายประกอบดว ย 1) นโยบายดา นความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอมในการทำงาน 2) โครงสรา งการบรหิ ารดานความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ มในการทำงาน 3) แผนงานดา นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน และการนำไปปฏบิ ตั ิ สถาบันสงเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ มในการทำงาน (องคการมหาชน)

การสำรวจปจจยั สว นบุคคลดา นความปลอดภยั และอาชวี อนามยั ในการทำงานติดต้งั หลังคา หนา้ 19 สำเรจ็ รปู ในประเทศไทย 4) การประเมนิ ผลและทบทวนการจัดการดานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอมใน การทำงาน 5) การดำเนนิ การปรับปรงุ ดานความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน 2.3.2 การจัดการความปลอดภัยความปลอดภยั และอาชีวอนามัย องคป ระกอบหลักของการจดั การความปลอดภยั ตามรปู แบบของหนว ยงาน The Health and Safety Executive (HSE) สหราชอาณาจกั ร (United Kingdom) ตพี มิ พในเอกสาร Successful Health and Safety Management (HSG65, 2000) ประกอบดวยองคประกอบทีส่ ำคัญ 5 องคประกอบและมีการเชื่อมโยงกันดงั แสดงในภาพท่ี 2-5 Policy Auditing Organising Planning and Implementing Measuring Performance Reviewing Performance แสดง Control Link แสดง Information Link ภาพที่ 2-5 องคป ระกอบหลักของการจดั การความปลอดภยั และอาชวี อนามัยของ HSE (HSG65, 2000) องคประกอบหลักของการจัดการความปลอดภยั ฯ มี 5 องคประกอบไดแก นโยบาย (Policy) การ จัดองคกร (Organizing) การวางแผนและดำเนินการ (Planning and Implementing) การวัดผลการ ดำเนินการ (Measuring Performance) การตรวจติดตามและการทบทวน (Auditing and Review) จากภาพจะเห็นวาการดำเนินการในแตละองคประกอบมีความเชื่อมโยงและมีความสัมพันธกันทั้งในเรื่องการ ควบคมุ และขอ มลู ขา วสารอยางเปน ระบบ และเปนลำดบั ขัน้ ตอน รายละเอียดแตละองคประกอบมีดังน้ี สถาบนั สง เสริมความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ มในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจ จยั สว นบุคคลดา นความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ในการทำงานตดิ ต้งั หลังคา หนา้ 20 สำเรจ็ รปู ในประเทศไทย 1. นโยบาย (Policy) การกำหนดและจัดทำนโยบายเกี่ยวกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัยเปนขั้นตอนแรกของการ จัดการความปลอดภัยฯ เนื่องจากเปนตัวกำหนดทิศทาง จดุ มุงหมาย และเจตนารมณขององคกร การกำหนด นโยบายควรกำหนดทิศทางทีช่ ัดเจนขององคกรดังน้ี - ตองนำทุกดานของการดำเนินการทางธุรกิจใหเปนสวนหนึ่งของการแสดงความมุงมั่นที่จะมี การพัฒนาอยางตอเน่อื ง - ตอ งมีความรับผดิ ชอบตอ ประชาชนและสิ่งแวดลอมทงั้ ในดานกฎหมายและจรยิ ธรรม - ตอ งสรา งความพึงพอใจตอ ความคาดหวังในกิจกรรมทีเ่ ก่ียวขอ งของผมู ีสวนไดเสีย - ตอ งนำแนวทาง ตน ทุน-ประสทิ ธภิ าพ (Cost-Effective) มาพจิ ารณาเพ่ือรักษาและพัฒนาทาง กายภาพ และทรพั ยากรมนุษยจะนำไปสูการลดการสูญเสยี ทางการเงิน ทั้งนี้นโยบายเกี่ยวกับความปลอดภัยและอาชีวอนามยั ควรเขยี นเปนลายลักษณอักษรและมีการ ประกาศแจงใหผมู สี วนไดเ สียรบั ทราบดว ย 2. การจัดองคกร (Organising) การจัดองคก รเปนขัน้ ตอนท่ี 2 ของการจัดการความปลอดภัยฯ ภายหลงั จากมีการกำหนดนโยบายแลว การที่จะทำใหนโยบายเกี่ยวกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัย สามารถดำเนินการและบรรลุเปาหมายได จำเปนตองมีการจัดองคก รและเตรยี มบุคคลากรใหพรอมในการขับเคล่อื นนโยบายดังกลาว ดังนั้นการจัดการ องคก รจึงเปน ส่ิงที่จำเปน การจดั โครงสรางบรหิ ารจัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพและการเตรยี มการท่ีดจี ะสามารถนำนโยบายไปสูการ ปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ โดยผลแหงความสำเร็จนั้นคือ “การสรางวัฒนธรรมความปลอดภัยอาชีวอนามัยเชิงบวก” (Positive Health and Safety Culture) ขององคกรซึ่งเกิดจากการมีสวนรวมของบุคลากรหรือลกู จางทุกคน ในองคกร ทั้งนี้บุคลากรมีแรงจูงใจ และมีความสามารถในการทำงานดวยความปลอดภัยฯ รวมทั้งปองกัน สขุ ภาพของตนเองไดใ นระยะยาว ไมเ พียงแตการหลีกเล่ยี งมใิ หเกิดอบุ ัตเิ หตุ หลกั ในการจัดองคการเพ่ือใหเ กิดวัฒนธรรมความปลอดภัยและอาชวี อนามยั เชิงบวกหรือเชิงปองกัน ขององคกร อาศัยหลักการ 4C คือ การควบคุม (Control) ความรวมมือ (Co-Operation) การติดตอสื่อสาร (Communication) และสมรรถนะ (Competence) 3. การวางแผนและดำเนนิ การ (Planning and Implementing) การวางแผนและดำเนินการเปนขั้นตอนที่ 3 ของการจัดการความปลอดภัย โดยวางแผนแบบเปน ระบบ (Systemic Approach) เพ่ือดำเนนิ การตามนโยบายอาชีวอนามัย และความปลอดภยั ผา นระบบการจัดการ ความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ทม่ี ปี ระสิทธิภาพ โดยมจี ุดมงุ หมายคือ การลดความเสีย่ งดานความปลอดภัย จาก กิจกรรมการทำงานสินคาและการบริการ โดยอาศัยหลักการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ในการ สถาบันสง เสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ มในการทำงาน (องคการมหาชน)

การสำรวจปจ จัยสว นบคุ คลดา นความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ในการทำงานติดต้ังหลังคา หนา้ 21 สำเรจ็ รปู ในประเทศไทย พิจารณา จัดลำดับความสำคญั และเปาหมายของการขจัดอันตรายและลดความเสี่ยง ทั้งนี้ความเส่ียงควรขจัด โดยวธิ กี ารเลอื กและการออกแบบ เครอ่ื งมอื อปุ กรณแ ละกระบวนการกอน กรณที ่ีไมสามารถขจดั ใหหมดไปได ควรลดความเสี่ยงลงโดยใชการควบคุมทางกายภาพ หรือใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล นอกจากนี้ตองมีการสรางมาตรฐานการปฏบิ ัติงาน (Performance Standard) เพื่อใชในการชี้วัดความสำเรจ็ รวมท้งั มีการระบวุ ิธีทเี่ ฉพาะเจาะจงในการสง เสรมิ วัฒนธรรมความปลอดภยั อาชีวอนามัยเชิงบวก 4. การวัดผลการดำเนนิ การ (Measuring Performance) การวัดผลการดำเนินการเปนขั้นตอนตอมาของการจัดการความปลอดภยั ฯ โดยทำการตรวจวัดผล การดำเนนิ การเทยี บกับมาตรฐานการปฏิบัติงานที่ไดกำหนดไว ซ่งึ ผลดงั กลาวจะทำใหรวู า ทใ่ี ดและเวลาใด ที่การ ปฏบิ ตั งิ านมคี วามจำเปน ตองไดร บั การปรับปรุง การวัดผลการดำเนินการโดยทั่วไปสามารถทำได 2 รูปแบบคือ การติดตามตรวจสอบเชิงรุก (Active Monitoring) และการติดตามตรวจสอบเชงิ รับ (Reactive Monitoring) การติดตามตรวจสอบเชิงรุก เปนการติดตามตรวจสอบกอนเกิดเหตุการณไมพึงประสงค มีวัตถุประสงคเพื่อตรวจสอบระบบการจัดการ ความปลอดภยั ฯ ทด่ี ำเนนิ การอยู รวมถงึ มาตรฐานท่กี ำหนดไวนนั้ วา ยงั มีประสทิ ธิภาพหรือไม การตดิ ตามตรวจสอบเชิงรับเปนการตรวจสอบหลังเกิดเหตุการณไ มพึงประสงค หรือกลาวไดวา เปน การตรวจสอบหลงั จากทีก่ ารควบคุมเกิดความลม เหลวขึน้ จึงเปน การสอบสวนอุบัติเหตุ ซึง่ สงผลใหเ กิดการ บาดเจ็บขนึ้ หรอื การสอบสวนเหตกุ ารณท่สี งผลใหเกิดการเจบ็ ปวย หรืออุบัติการณทีอ่ าจสงผลใหเ กิดอันตราย และความเสียหายได วัตถุประสงคข องการติดตามตรวจสอบเชิงรุก และการตดิ ตามตรวจสอบเชงิ รบั คอื เพื่อพิจารณาหา สาเหตุขณะนั้น (Immediately Causes) ของการปฏิบัติงานทีต่ ่ำกวามาตรฐาน และระบุสาเหตุสำคัญที่ซอน อยู (Undersealing Causes) และสงิ่ ที่เก่ียวของ เพ่ือออกแบบและดำเนินการระบบการจัดการความปลอดภัย และอาชวี อนามยั 5. การตรวจติดตาม และการทบทวน (Auditing and Reviewing) การตรวจติดตาม และการทบทวน เปนข้ันตอนสุดทายของการจดั การความปลอดภัย ฯ ขั้นตอนน้ี เปนการเรียนรูจากประสบการณที่ไดแสดงหรือเปดเผยออกมาทั้งหมด เพื่อประยุกตใชเปนบทเรียนในการ พฒั นาระบบ ทง้ั นี้การทบทวนการดำเนนิ การตองทำอยางเปนระบบ โดยอาศัยขอมลู จากการติดตามตรวจสอบ และการตรวจติดตามการจัดการทั้งระบบ การทบทวนการดำเนินการตองมุงมั่นทีจ่ ะพัฒนาอยางตอเนื่องใน สวนท่เี ก่ยี วขอ งทง้ั นโยบาย ระบบ และเทคนคิ การควบคมุ ความเสย่ี ง สถาบนั สง เสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคการมหาชน)

การสำรวจปจ จยั สวนบุคคลดานความปลอดภยั และอาชวี อนามยั ในการทำงานตดิ ตั้งหลงั คา หนา้ 22 สำเรจ็ รูปในประเทศไทย 2.3.3 แนวคดิ และทฤษฎีเกี่ยวกับความรู ทัศนคติ และพฤติกรรม (KAP) ทฤษฎนี ้ีเปน ทฤษฎีท่ใี หความสำคัญกบั ตัวแปร 3 ตวั คอื ความรู (Knowledge) ทัศนคติ (Attitude) และ การยอมรบั ปฏบิ ัติ (Practice) ของผรู บั สารอันอาจมผี ลกระทบตอ สังคมตอไป จากการรบั สารน้นั ๆ การ เปล่ยี นแปลงท้ัง 3 ประเภทนจ้ี ะเกิดข้ึนในลกั ษณะตอเนื่อง กลาวคือ เม่อื ผรู บั สารไดร ับสารก็จะทำใหเกิดความรู เม่ือเกิดความรูข นึ้ ก็จะไปมีผลทำใหเ กดิ ทัศนคติ และขน้ั สดุ ทาย คอื การกอใหเ กดิ การกระทำทฤษฎนี ี้อธบิ ายได วา เปนตัวแปรตนที่สามารถนำการพัฒนาเขาไปสูชุมชนได ดวยการอาศัย KAP เปนตัว แปรตามใน การวัด ความสำเรจ็ ของการส่ือสารเพือ่ การพฒั นา (สุรพงษ, 2533) ความรู หมายถึง สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเลาเรียน การคนควา หรือประสบการณ รวมทั้ง ความสามารถเชงิ ปฏิบัติและทักษะ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2556) เปนพฤติกรรมขั้นตนที่ผูเรียนเพียงแตจำได โดยการนึกได หรือโดยการมองเห็น หรือไดยิน จำได ความรูขั้นนี้ ไดแก ความรูเกี่ยวกับคำจำกัดความ ความหมาย ขอเท็จจริง ทฤษฎี รูปแบบ กฎโครงสราง และวิธีการแกปญหาเหลานี้ (ประภาเพ็ญ, 2526) เปนการรูในขอเท็จจริง ทฤษฎี เหตุการณ หรือสิ่งตาง ๆ ที่ไดจากการศึกษา คนควา สังเกต ประสบการณ ตองอาศยั ระยะเวลาสามารถที่จะวัดระดับความรูได (ภัทภิกา, 2551) และเปนความคิดของแตละบุคคลที่ผาน กระบวนการคิด วิเคราะห และสังเคราะหจ นเกิดความเขาใจ และนำไปใชใหเกิดประโยชนสูงสุดในการสรุป และตดั สินใจตามสถานการณตาง ๆ (กรณดนัย, 2551) ทศั นคติ หมายถงึ แนวความคิดเห็น (ราชบัณฑติ ยสถาน, 2525) เปน สภาวะความพรอมทางจิตซ่ึงเกิด จากประสบการณและมีอิทธิพลโดยตรงตอการตอบสนองของบุคคลที่มีตอวัตถุและสถานการณ (Allport, 1967) เปนการตอบสนองที่มีความหมายทางสังคมของบุคคลหนึ่ง ซึ่งเปนการตอบสนองที่เกิดจากแรงขับ ภายในของแตล ะบุคคลทีม่ ตี อ สิ่งเรา รูปแบบตา ง ๆ อนั เปน ผลทำใหบุคคลนน้ั แสดงพฤตกิ รรมออกมาในภายหลัง (Doob, 1967) พฤติกรรม หมายถึง การกระทำหรืออาการที่แสดงออกทางกลามเนื้อความคิดและความรูสึก (ราชบัณฑิตยสถาน, 2556) เปนการประพฤติปฏิบัติของบุคคลที่สามารถสังเกตได (Lahey, 2001) โดยมี พื้นฐานมาจากความรูและทัศนคติของบุคคล การที่บคุ คลมีพฤติกรรมที่แตกตางกัน เนื่องมาจากการมคี วามรู และทัศนคติที่แตกตางกัน ความแตกตา งกันในการแปลความสารที่ตนเองไดรับ จึงกอใหเกดิ ประสบการณส่ัง สมที่แตกตา งกนั อันมผี ลกระทบตอ พฤตกิ รรมของบคุ คล (สรุ พงษ, 2533) ความสัมพนั ธระหวางความรู ทศั นคติ และพฤตกิ รรม Schwartz (1975) ไดศึกษารูปแบบความสัมพันธที่เกิดจากการเรียนรู 3 ดานคือ ความสัมพันธ ระหวางความรู (K; Knowledge), ทัศนคติ (A; Attitude) และ พฤตกิ รรมหรอื การปฏิบัติ (P; Practice) โดยมี ความสัมพนั ธ 4 ลักษณะดงั ภาพ สถาบันสง เสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ มในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจจัยสวนบุคคลดา นความปลอดภยั และอาชวี อนามัยในการทำงานตดิ ตัง้ หลังคา หนา้ 23 สำเรจ็ รปู ในประเทศไทย ลกั ษณะท่ี 1 แสดงถงึ ความรูซง่ึ สัมพนั ธก บั ทศั นคติ จึงสงผลใหเกดิ การปฏบิ ตั ิ KAP ภาพที่ 2-6 ลกั ษณะที่ 1 ความสมั พนั ธร ะหวางความรมู ีกบั ทัศนคตสิ ง ผลใหเกดิ การปฏิบตั ิ ลกั ษณะท่ี 2 แสดงความรแู ละทัศนคตทิ ่ีมีความสัมพันธก นั ทำใหเ กิดการปฏิบัติตามมา K P A ภาพที่ 2-7 ลักษณะท่ี 2 ความสัมพันธระหวางความรูและทศั นคติ ทำใหเ กิดการปฏิบตั ติ ามมา ลักษณะที่ 3 แสดงความรูและทัศนคติตางก็ทำใหเกิดการปฏิบัติไดโดยที่มีความรูและทัศนคติไม จำเปน ตองสัมพันธก ัน K P A ภาพที่ 2-8 ลกั ษณะท่ี 3 ความสมั พันธร ะหวางความรแู ละทศั นคติตา งกท็ ำใหเกิดการปฏิบัติไดโดยท่ีมี ความรูและทัศนคติไมจำเปน ตอ งสมั พันธก นั ลักษณะที่ 4 แสดงความรูมีผลตอ การปฏบิ ัติทั้งทางตรงและทางออม สำหรับทางออ มมีทัศนคติเปน ตวั กลางทำใหเ กิดการปฏิบัตติ ามมา สถาบันสง เสริมความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจ จยั สวนบคุ คลดา นความปลอดภยั และอาชวี อนามัยในการทำงานตดิ ต้งั หลังคา หนา้ 24 สำเรจ็ รปู ในประเทศไทย K AP ภาพที่ 2-9 ลักษณะที่ 4 ความสัมพันธระหวางความรูมีผลตอการปฏิบัติทั้งทางตรงและทางออม สำหรบั ทางออมมที ศั นคตเิ ปนตัวกลางทำใหเ กิดการปฏบิ ัติตามมา จากรูปแบบความสัมพันธจะเห็นวา ความรู ทัศนคติ พฤติกรรมที่มีความสัมพันธตามลักษณะที่วา ความรู และทศั นคติมปี ฏิสัมพนั ธต อ กันแลว จะมีผลตอ พฤตกิ รรมการปฏิบตั ิตามมา 2.3.4 การประเมินอันตรายเปนกิจกรรม ซึ่งจัดทำขึ้นตามแนวทาง Completely Check Completely Find- out Activity: CCCF ( Proceedings of The 10th Symposium on TQM Best Practices in Thailand) (บุญรอด, 2552) โดยการเปลี่ยนกรอบความคดิ เรื่องความปลอดภัย คือ ผูทีม่ ีหนาที่ ดูแลและทำกิจกรรมความปลอดภัยฯ จะไมใชหนวยงานความปลอดภัยฯ เทานั้น แตความปลอดภัยฯ เปนหนา ที่ ความรับผิดชอบของทุกคนในบริษัท ทุกหนวยงานตองเขารวมกันทำกจิ กรรม เพื่อคนหาอันตราย และทำการแกไ ขเร็วทีส่ ดุ โดยจดุ ประสงคห ลกั ของกจิ กรรมน้ีคอื 1. ตรวจสอบสถานที่และงานทั้งหมดซ่ึงอาจจะเกดิ อนั ตราย และแกไ ขอันตรายใหห มดไป 2. สรางจิตสำนกึ ดา นความปลอดภยั โดยยดึ หลกั “Genchi-Genbutsu” ( คอื การไปดูและวเิ คราะห ปญหาจากหนา สถานท่ที ำงานจริง) 3. ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมดา นความปลอดภัยฯ จากการปองกันเชงิ รับ (Passive) เปน การปองกันที่ สาเหตุกอ นเกิดอบุ ตั เิ หตุ (Pro action) แผนการดำเนินกิจกรรมคนหาและประเมินอันตราย โดยหลักการวางแผน (Plan) ปฏิบัติ (Do) ตรวจสอบ (Check) และการดำเนินการ (Act) ดงั ภาพท่ี 2-10 สถาบนั สงเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ มในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจ จยั สวนบคุ คลดานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทำงานติดต้งั หลงั คา หนา้ 25 สำเรจ็ รูปในประเทศไทย ภาพที่ 2-10 วงจรการทำงาน PDCA 2.3.5 การวิเคราะหง านเพื่อความปลอดภัย การวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย (Job Safety Analysis ; JSA) (เฉลิมชยั , 2537) เปนเทคนคิ ท่ี เนนวิเคราะหหาอันตรายที่ยังไมถูกควบคุม โดยเนนอันตรายที่เกี่ยวของกับผูปฏิบัติงาน วิธีการปฏิบัติงาน เคร่อื งจักรหรืออปุ กรณที่ใช และสภาพแวดลอมของการปฏิบตั ิงาน เพ่ือนำไปสูขั้นตอนการขจัดหรือลดความ เส่ียง ทำใหผปู ฏิบัตงิ านทำงานไดอยางปลอดภัยท่ีสุด ข้นั ตอนการทำ JSA มี 5 ข้ันตอน ดงั น้ี ขั้นตอนที่ 1 การคดั เลือกงาน เพอื่ นำมาทำการวเิ คราะหหาอนั ตราย ขั้นตอนท่ี 2 การแตกงานทเ่ี ลอื กมาวิเคราะหอันตราย โดยแตกงานเปน ขั้นตอนยอย ๆ ประมาณ 5-10 ข้ันตอน และเรยี งตามลำดบั วธิ ีการปฏิบัติงาน ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะหอันตรายที่มีอยูและแอบแฝงในแตละขั้นตอนงาน ซึ่งเปนขั้นตอนที่มี ความสำคญั มาก ตอ งใชค วามละเอยี ดรอบคอบ ขั้นตอนที่ 4 การพิจารณาหาวิธีการขจัดและลดอันตรายที่แฝงอยูในการทำงาน เปนการนำผลการ วเิ คราะหอ ันตรายในแตละข้ันตอนยอยมาพจิ ารณากำหนดมาตรการตาง ๆ เพื่อปอ งกันท่สี าเหตุและบรรเทาผล เม่ือเกิดอุบัติเหตุข้นึ ขั้นตอนที่ 5 การจัดทำมาตรฐานวิธีปฏิบัติงานอยางปลอดภัย โดยการนำมาตรการขจัดหรือลด อนั ตรายตาง ๆ ทกี่ ำหนดขึ้นมาเรียบเรยี งและสอดแทรกไปกับวิธกี ารปฏบิ ตั งิ านในแตล ะขน้ั ตอนยอ ย สถาบนั สงเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ มในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจ จัยสวนบคุ คลดา นความปลอดภยั และอาชวี อนามยั ในการทำงานติดต้ังหลงั คา หนา้ 26 สำเรจ็ รปู ในประเทศไทย 2.3.6 การเสริมสรา งความปลอดภัยและอาชวี อนามัย การเสริมสรางความปลอดภัยและอาชีวอนามัยเพื่อปองกันอุบัติเหตุในโครงการกอสรางตาง ๆ น้ัน สามารถที่จะปรับใชจากหลักการปองกันอุบัติภัยจากหนังสือวิศวกรรมและการบริหารความปลอดภัยฯ ใน โรงงาน (วิฑูรย และ วีรพงษ, 2548) โดยทั่วไปไดในการปอ งกนั อุบัติภัยฯ ที่มปี ระสิทธิภาพและการเสริมสราง ความปลอดภัยไดผ ลอยา งชดั เจน โดยอาศัยการนำหลักการ 3E ซง่ึ มีความหมายดงั นี้ 1. ความรูทางดานวิศวกรรมศาสตร (Engineering) เปนการใชความรูและวิทยาการทางดาน วิศวกรรมมาทาการปรับปรุงแกไขสภาพแวดลอมในการทำงาน การใชเครื่องจักรกลและเครื่องมือตาง ๆ สำหรบั การทำงานใหเกดิ ประสิทธิภาพและเกดิ ความปลอดภัยตอผปู ฏบิ ตั งิ าน 2. การศึกษา (Education) เปน การใหก ารศึกษา การแนะนำหรือการฝกอบรมใหแกผูปฏิบัติงานได ทราบและเขาใจเกี่ยวกับอุบัติภัย หลักการทำงานและแนวทางการดำเนินงานที่มีความปลอดภัยรวมทั้งการ เสริมสรา งทัศนคตทิ ด่ี ตี อ ระบบการทำงานทป่ี ลอดภัย 3. การออกฎขอ บังคับ (Enforcement) เปนการออกกฎและระเบยี บขอบังคับตาง ๆ การกำหนด แนวทางมาตรการควบคุมบังคับขอหามและวิธีปฏิบัติสำหรับพนักงานเพื่อปองกันการเกิดอุบัติภัย และ เสรมิ สรา งความปลอดภยั ใหเ กดิ ข้นึ ในการทำงานของหนว ยงาน การเสริมสรา งความปลอดภยั เพ่ือปองกนั อุบัติภัยตามหลักการ 3E นจ้ี ำเปน ตองกระทำควบคูกันไปท้ัง 3 ดา น ดงั ภาพท่ี 2-11 จึงจะทำใหก ารปอ งกนั อบุ ตั ภิ ัยและเสรมิ สรา งความปลอดภยั ใหกับหนวยงาน ไดอยางมี ประสิทธิภาพสูงสุด การใหการศึกษาและฝกอบรมควรกระทำอยางตอเนื่องเพื่อใหผูปฏิบัติงานฝายตาง ๆ เกิดความสำนึกและมคี วามรับผดิ ชอบตอ มาตรการความปลอดภยั รวมกัน การศึกษา ความรทู างดาน การออกฎขอบงั คับ วิศวกรรมศาสตร ภาพท่ี 2-11 การเสริมสรา งความปลอดภยั เพ่ือปอ งกันตามหลกั การ 3E (วฑิ รู ย และ วีรพงษ, 2547) สถาบนั สงเสริมความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ มในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจจัยสว นบุคคลดา นความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ในการทำงานติดตัง้ หลงั คา หนา้ 27 สำเรจ็ รปู ในประเทศไทย การศกึ ษาทางดา นความปลอดภัย (Safety Education) จะเปนการพฒั นาความรแู ละจิตสำนึกในสวน ที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยฯ สามารถทำการศึกษาภาวะแวดลอมการทำงานที่อันตราย และคนหาวิธีการ ปรับปรุงแกไขการทำงานใหมีความปลอดภัยฯ สวนการฝกอบรมทางดานความปลอดภัย (Safety Training) จะเปนการฝกฝน พัฒนาทักษะ มีขีดความสามารถความชำนาญของฝายตาง ๆ เพื่อใหสามารถทำงานไดอยาง ถกู วิธีและมคี วามปลอดภัยฯ 2.3.7 ลำดับของมาตรการควบคุมปองกันการตกจากทีส่ ูง (The Hierarchy of Control Measures) มาตรฐานการควบคุมปองกันการตกจากที่สูง โดยมุงเนนการขจัดความเสี่ยง ลดความเสี่ยง และ กำหนดมาตรการควบคุมปองกันอันตรายจากการทำงานบนที่สูง ซึ่งนายจางตองจัดใหมีระบบปองกนั การตก จากทีส่ งู และระบบการยับยั้งากรตกจากที่สูง โดยพิจารณาลำดับของมาตรการควบคุมปองกันการตกจากที่สงู (มาตรฐานการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนทีส่ งู : สสปท, 2561) ดงั นี้ มาตรการลำดบั ที่ 1 การขจัดอันตราย การขจัดความอันตรายของการตกจากที่สูง โดยการดำเนินการเพื่อใหมั่นใจวาการตกจากที่สงู ไมสามารถเกิดขึ้น รวมถึงการออกแบบใหปราศจากความเสี่ยง หรือการทำงานบนพื้นดินหรือโครงสรางที่ แข็งแรง มาตรการลำดับท่ี 2 การทดแทน การลดความเสย่ี งของการตกจากที่สูง โดยการใชอุปกรณปองกันการตกหรือพืน้ ทำงานที่มั่นคง และปลอดภยั เชน แผน พืน้ ถาวร รถกระเชา นง่ั รา น เปนตน มาตรการลำดับท่ี 3 การควบคุมทางวศิ วกรรม การปองกันการตกจากที่สูงเชิงวิศวกรรม โดยใชระบบกำหนดตำแหนงการทำงานบนที่สูง (Work Positioning System) ประกอบดวย ก. ระบบจำกัดระยะเคลื่อนที่ (Travel Restraint System) ข. ระบบการทำงานดว ยเชือก (Rope Access System) ค. ระบบการลดความรนุ แรงจากการตกจากทีส่ งู ประกอบดวย - แพลตฟอรม รองรบั คนตกจากที่สงู (Catch Platform) - ระบบยบั ย้งั การตก (Fall Arrest System) มาตรการลำดบั ที่ 4 การควบคมุ เชิงบรหิ ารจัดการ การควบคุมการตกจากที่สูงเชิงการบริหารจัดการ โดยการควบคุมระยะเวลาทำงาน การควบคุม จำนวนผูปฏิบัติงาน และวิธีการปฏบิ ัติงาน ตลอดจนสถานที่ปฏิบัติงาน เชน การกำหนดโครงสรางเชิงบรหิ าร จดั การ กฎระเบยี บ การฝก อบรม ระบบใบอนุญาตทำงาน เปน ตน สถาบันสงเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจจยั สว นบุคคลดานความปลอดภัยและอาชีวอนามยั ในการทำงานติดตง้ั หลงั คา หนา้ 28 สำเรจ็ รปู ในประเทศไทย มาตรการลำดับที่ 5 การใชอ ุปกรณค ุมครองความปลอดภัยจากการตกจากทสี่ งู โดยปกตินอกจากตองจัดอปุ กรณค ุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลตามลักษณะของงานแลว ตองจัด อุปกรณที่ออกแบบมาเพื่อใชสำหรับการปองกันและยับย้ังการตกจากที่สูงโดยเฉพาะ เชน สายรัดนิรภัยชนิด เต็มตวั เชือกนิรภัย สายชว ยชวี ติ เปน ตน ภาพที่ 2-12 ลำดบั ของมาตรการควบคมุ ปองกนั การตกจากทส่ี ูง ตามมาตรฐาน มปอ. 402 : 2561 (สสปท, 2562) 2.3.8 ทรพั ยากรในการบริหาร (4M) ทรัพยากรในการบริการ (Resources) ไดแก วัตถุและเครื่องใชเพื่อประกอบการดำเนินงานรวมไปถึง ความสามารถในการจัดการทรัพยากรในการบรหิ ารสามารถแบง แยกไดเ ปน 4 ประเภท ไดแ ก บุคลากร (Man) งบประมาณ (Money) วัสดุอุปกรณ (Material) และการจดั การ (Management) สามารถเรียกยอ ๆ วา 4M (ดอกจันทร บญุ ทันและ อมิ รอน, 2552) 1. บุคลากร (Man) มีการกำหนดนโยบายการบริหารงานใหพนักงานแตละคนตองผานกระบวนการฝกฝน ทักษะ ความสามารถกอนเขาทำงาน จึงจะมอบหมายงานทีม่ ลี ักษณะเหมาะสมกับทกั ษะทีม่ ีให ตามแนวคิดของ Max Weber (1864-1920) ทฤษฎีการจดั การตามระบบราชการ (Bureaucratic Management) ที่องคก ารควรจะ ถูกบริหารบนพื้นฐานของเหตุผล และไมเปนสวนตัว โดยการแบงงานกันทำ มีการสงเสริมพัฒนาความรู ความสามารถของพนักงานใหเกิดความเชีย่ วชาญอยูตลอดเวลา สรา งคนใหมีประสิทธิภาพมีความพรอมตอการ ทำงานและการเรียนรูงานใหม (วิรัช, 2548) ทีก่ ลาววา การบริหารคนเปนปจจัยที่มีความสำคญั ตอการบริหาร เรยี กไดว า เปน องคประกอบของการบรหิ าร เพื่อใหบรรลุตามวตั ถปุ ระสงคท่ีต้งั ไว สถาบันสงเสริมความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ มในการทำงาน (องคการมหาชน)

การสำรวจปจจยั สวนบคุ คลดา นความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทำงานติดตั้งหลังคา หนา้ 29 สำเรจ็ รปู ในประเทศไทย 2. งบประมาณ (Money) มีการกำหนดแนวทางการบริหารการใชจายเงนิ หรือตนทุนการผลิตอยางประหยัดและคุณคา ใหได ผลลัพธมากกวา ตน ทุน ซง่ึ การบรหิ ารการเงนิ องคประกอบทส่ี ำคัญของบริหารจดั การ (วิรัช, 2548) 3. วสั ดุอุปกรณ (Material) การกำหนดแนวทางการใชงานเครือ่ งมือเครื่องใชท ีเ่ ปน สวนสำคัญของการผลิตใหมีคณุ ภาพ และผลติ ในระยะเวลาที่กำหนด ดงั นั้นจงึ กำหนดใหพนักงานทุกคน ตองมีความรู ความสามารถในการใชงานเครือ่ งมือ ตา ง ๆ ไดเ ปนอยา งดี โดยมีการฝกฝนและทำความเขาใจรวมถงึ เทคนคิ ตาง ๆ ทีเ่ ปน การดูแลรกั ษาและปองกัน อนั ตรายหรอื ความเสียหายทีอ่ าจเกดิ ขน้ึ ระหวางปฏิบัตงิ าน (ดอกจันทร บุญทนั และ อิมรอน, 2552) 4. การจัดการ (Management) การกำหนดกลยุทธการบริหารงานที่คำนึงถึงสภาพแวดลอมภายในและภายนอกองคกร โดยทำการ วิเคราะหจุดออน จดุ แข็ง โอกาสและอุปสรรคที่มผี ลกระทบตอการบรหิ ารงานตลอดเวลา เพื่อหากลยุทธใน การหลีกเลี่ยงและปรับเปลี่ยนแนวทางการบริหารใหสอดคลองกับสภาพแวดลอมภายในและภายนอกที่ เปลีย่ นแปลงไป เปน กลยทุ ธการบรหิ ารที่มีความครอบคลมุ (ดอกจนั ทร บุญทัน และ อมิ รอน, 2552) การจัดการ 4M โดยใชหลกั การควบคุมเปนหลกั สำคญั ของการบริหารซ่ึงทำใหเกิดประสิทธิภาพในการ บริหารจัดการ โดยที่ตองควบคุมปริมาณงาน ควบคุมคุณภาพของงาน ควบคุมเวลาการทำงานของพนกั งาน และควบคมุ คาใชจ ายในการปฏิบตั ิงานตาง ๆ เหลา นจี้ ะสง ผลตอ ความสำเรจ็ ขององคกร และตองสรา งจติ สํานกึ ที่ดีใหเกิดขึ้นกับพนักงานทุกคนรวมถึงผูบรหิ าร ซึง่ สงผลตอการมีสวนรวมในกระบวนการตาง ๆ (ดอกจันทร บญุ ทัน และ อิมรอน, 2552) 2.4 งานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วขอ ง ฟารัตน (2536) ศึกษาผลกระทบตอพฤติกรรมเกี่ยวกับความปลอดภัยโดยปจจัยที่มีผล ตอกลมุ คนงานกอ สรางในกรุงเทพมหานคร 270 คน พบวาคนงานมีความรคู วามเขาใจ (Knowledge) ทัศนคติ (Attitude) และการปฏิบัติ (Practice) เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานอยูระดับสูงถึง รอยละ 51.9 โดยคนงานมีความรคู วามเขาใจในเรื่องอุบัตเิ หตุ ความเสียหายจากการเกิดอุบตั ิเหตุรวมทง้ั มคี วามรูความเขาใจ เรื่องการปองกันอุบัติเหตุ เชน การหยุดงานกรณีเจ็บปวย ไมดื่มสุราหรือของมึนเมาขณะทำงาน เปนตน นอกจากนี้คนงานกอ สรางยังขาดความรู ความเขาใจเกีย่ วกับการใชเ คร่อื งมืออปุ กรณตาง ๆ และพฤติกรรมของ คนงานกอ สรา งยังอยูในระดบั ต่ำอีกดว ย กรรณิกา (2547) ทำการศึกษาพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานของคนงานกอสรางใน กรุงเทพมหานคร โดยศึกษาจากกลุม ตัวอยาง จำนวน 60 คน พบวา คนงานกอสรางเพศชาย ระดับแรงงานไร ฝม อื ของบรษิ ทั อุณากรรณ จำกัด มีการรับรคู วามเส่ียงอยูในระดับดมี าก โดยคนงานมีความรคู วามเขาใจสาเหตุ สถาบนั สง เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคการมหาชน)

การสำรวจปจจยั สวนบคุ คลดานความปลอดภยั และอาชีวอนามัยในการทำงานตดิ ต้ังหลงั คา หนา้ 30 สำเรจ็ รูปในประเทศไทย ของอุบัติเหตุจากการทำงานและผลเสียท่ีเกิดขึ้น รวมทั้งมีความรูความเขาใจในวิธีปองกนั ไมใหเกิดอุบัติเหตุ สวนพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงาน พบวา คนงานมีพฤติกรรมดานความปลอดภัยอยูระดับดีซึ่งไม เปน ไปในทศิ ทางเดยี วกับระดับความรู สามารถอธบิ ายไดว า คนงานมีความรูดีมากแตไมไดมีการปฏบิ ัตติ าม นราพร (2543) ศึกษาการรับรูความเสี่ยง และพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานของคนงาน กอสรางในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา (1) คนงานมีการรับรูความเสี่ยงอยูในระดับนอย แตมีพฤติกรรมความ ปลอดภัยในการทำงานอยูในระดับดี (2) ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบลักษณะสวนบุคคล พบวา คนงานที่มีอายุมากมีการรับรูความเสี่ยงดกี วาอายุนอย อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คนงานที่มี ประสบการณการทำงานมากมีพฤติกรรมความปลอดภยั ในการทำงานดีกวาคนงานท่มี ปี ระสบการณการทำงาน นอยอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ลักษณะงานที่แตกตางกันคนงานมีการรับรูความเสี่ยงทางดาน สุขภาพรางกาย ดานสภาพการทำงานและดานการใชเครือ่ งจักรแตกตางกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 0.02 และ 0.001 ตามลำดบั ธวชั (2557) ศึกษาความรู ทศั นคตแิ ละการปฏิบัติงานอยางปลอดภัยของพนักงานท่ีปฏิบัติงานในฝาย ผลิต ฝายวิศวกรรมและซอมบำรุง และฝายคลังสินคาและขนสงรวม 145 คนของบริษัท คอทโก เมททอล เวอรค จำกัด จงั หวดั ระยองซ่งึ ใชแบบสอบถามเปน เครอ่ื งมือวิจัย พบวากลมุ ตวั อยา งมีความรูด านอาชีวอนามัย ในการทำงานในระดับดี มีทัศนคติดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงานอยูในระดับดี และมีการ ปฏิบตั งิ านอยางปลอดภัยอยูในระดบั ดมี าก บุญชัย (2555) ศึกษาทัศนคติของคนงานกอ สรางที่มีตอสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุโดยสาเหตุคือความ ประมาทของคนงานกอสรางเกิดจาก เปนอันดับหน่ึง รองลงมาไดแ ก ปจจัยดานสิ่งแวดลอม และลักษณะงาน และพบวาตำแหนงงานที่แตกตางกันจะมีความเห็นเกี่ยวกับการเกิดอุบัติเหตุแตกตางกันผลศึกษาสามารถ นำไปใชเปนแนวทางในการวางแผนปองกนั อุบัตเิ หตใุ นงานกอสรา งเพื่อลดความสูญเสียในการเกิดอุบัติเหตุใน งานกอสราง อัครชาติ (2546) ศึกษาระดับความรู ทัศนคติ และพฤติกรรมดานความปลอดภัยของพนักงาน เปรียบเทียบความรูและทัศนคติของพนักงานที่มีลักษณะสวนบุคคลแตกตางกัน และความสัมพันธระหวาง ความรู ทัศนคติ และพฤติกรรมดานความปลอดภยั กลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษาคือพนักงานที่ปฏิบัติงานใน สายงานธุรกิจวิศวกรรมธุรกิจกอสรางและบำรุงรักษาของการไฟฟา สวนภมู ิภาค พบวา พนักงานมีระดบั ความรู ดานความปลอดภัยอยูในระดับสูง ทัศนคติดานความปลอดภัยอยูในระดับที่ดี และพฤติกรรมดานความ ปลอดภัยอยูในระดับปานกลาง พนักงานที่มีอายุ ตำแหนงงาน และอายุงาน ที่แตกตางกันมีความรูด านความ ปลอดภัยแตกตางกันอยางมีนยั สำคัญทางสถติ ิที่ระดับ 0.01 0.05 และ 0.01 ตามลำดับ สวนพนักงานที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหนงงาน อายุงาน การฝกอบรมและการประสบอุบัติเหตุจากการทำงานที่แตกตาง กันมีทัศนคติดานความปลอดภัยไมแตกตางกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ และพนักงานที่มีเพศ อายุ ระดับ สถาบันสงเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจจัยสวนบุคคลดานความปลอดภัยและอาชวี อนามัยในการทำงานติดตงั้ หลังคา หนา้ 31 สำเรจ็ รปู ในประเทศไทย การศกึ ษา ตำแหนงงาน อายุงาน การฝกอบรมและการประสบอุบัติเหตุจากการทำงานทแี่ ตกตางกันมีทศั นคติ ดานความปลอดภัยไมแตกตางกันอยา งมนี ัยสำคัญทางสถิติ และพบวาความรแู ละทศั นคตดิ านความปลอดภัยมี ความสัมพันธกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ความรูและพฤติกรรมดานความปลอดภัยไมมี ความสัมพันธกันอยางมีนัยสำคัญ และทัศนคติและพฤติกรรมดานความปลอดภัยมีความสัมพันธกันอยางมี นัยสำคัญทางสถติ ิท่ีระดบั 0.01 นคร (2551) ศกึ ษาพฤติกรรมการปฏบิ ตั งิ านอยางปลอดภยั ในการปอ งกันตนเองจากการทำงาน ปจจัย ทีม่ ผี ลตอพฤติกรรมการทำงานที่ไมปลอดภัย ศกึ ษาทศั นคติเรือ่ งการปองกนั อันตรายจากการทำงาน และศึกษา ความรูเรอ่ื งการปองกันอนั ตรายจากการทำงานของพนักงานฝา ยผลติ โรงงานบรษิ ัท แมททอล กรงุ เทพ จำกัด กลุม ตวั อยาง คอื พนกั งานฝายผลิตจำนวน 322 ราย พบวากลุมตวั อยางสวนใหญมพี ฤติกรรมการปฏิบัติงาน อยางปลอดภัยในการปองกันตนเองจากการทำงานในระดับสูงมีทัศนคติและความรูเ รื่องการปองกันอันตราย จากการทำงานในระดบั สูง กลุมตวั อยา งที่มีประสบการณการทำงานในฝายผลติ แตกตางกนั มผี ลตอพฤติกรรม การปฏิบัติงานอยางปลอดภัยในการปองกันตนเองจากการทำงานแตกตา งกันอยางมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 สวนเพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา แผนกที่สังกัดและตำแหนงงาน ไมกอใหเกิดพฤติกรรมการ ปฏิบัติงานอยางปลอดภัยในการปองกันตนเองจากการทำงานแตกตางกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ กลมุ ตัวอยา งที่มีเพศ ระดับการศกึ ษา แผนกท่สี ังกัดและตำแหนง งาน แตกตางกันมีผลตอความรูเก่ียวกับความ ปลอดภัยในการทำงาน แตกตางกันอยางมีนยั สำคญั ที่ระดับ 0.05 สวนอายุสถานภาพ และประสบการณการ ทำงานในฝายผลิตไมกอใหเกิดความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานแตกตา งกันอยางมีนัยสำคัญทาง สถิติ กลุมตัวอยา งที่มรี ะดบั การศึกษา และแผนกที่สังกัด แตกตางกันมผี ลตอ ทัศนคติเร่ืองการปองกันอันตราย จากการทำงาน แตกตางกนั อยางมีนยั สำคัญทางสถติ ิทร่ี ะดบั 0.05 สวนเพศ อายุ สถานภาพ ประสบการณการ ทำงานในฝายผลิตและตำแหนงงาน ไมก อใหเกิดทัศนคติเรื่องการปองกันอันตรายจากการทำงานแตกตางกัน อยางมีนัยสำคัญทางสถิติ ความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานกับพฤติกรรมการปฏิบัติงานอยาง ปลอดภยั ในการปองกนั ตนเองจากการทำงานมคี วามสมั พนั ธก นั อยา งมีนัยสำคัญทางสถติ ิท่รี ะดับ 0.05 ทศั นคติ เรื่องการปองกันอันตรายจากการทำงานกบั พฤติกรรมการปฏิบัติงานอยางปลอดภัยในการปองกันตนเองจาก การทำงานมีความสัมพันธกันอยา งมนี ัยสำคัญทางสถิติทีร่ ะดบั 0.05 และพบวาความรูเก่ียวกับความปลอดภยั ในการทำงานกับทัศนคตเิ ร่ืองการปองกนั อันตรายจากการทำงานมีความสมั พันธกันอยางมีนัยสำคญั ทางสถิติท่ี ระดับ 0.05 ภัทรทิยา (2551) ศึกษาระดับพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุจากการทำงาน ความรูเกี่ยวกับความ ปลอดภัยในการทำงาน สภาพแวดลอมทางจิตวิทยาในการทำงาน ความเชื่ออำนาจภายในตน และการไดรับ อุปกรณหรือขอมูลในการปองกันอุบัติเหตขุ องพนักงานฝายผลิต เปรียบเทยี บพฤตกิ รรมการปองกันอุบัติเหตุ สถาบันสง เสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคการมหาชน)

การสำรวจปจจยั สว นบุคคลดา นความปลอดภัยและอาชวี อนามัยในการทำงานติดตง้ั หลังคา หนา้ 32 สำเรจ็ รูปในประเทศไทย จากการทำงานของพนักงานฝา ยผลิต จำแนกตามขอมูลสวนบุคคล ไดแกเ พศ อายุ ระดบั การศึกษา ประสบการณ ในการทำงานและประสบการณการฝก อบรมดานความปลอดภยั และความรูเกยี่ วกับความปลอดภัยในการทำงาน สภาพแวดลอมทางจิตวิทยาในการทำงาน ความเชื่ออำนาจภายในตน และการไดรับอุปกรณหรือขอมูลในการ ปอ งกันอุบัติเหตุ เปนปจจัยทำนายพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุ กลุมตัวอยางจำนวน 377 คน ผลการวิจัย พบวา ความรูเกี่ยวกบั ความปลอดภัยในการทำงานอยูในระดับปานกลาง สวนพฤติกรรมการปองกันอุบตั ิเหตุ จากการทำงาน สภาพแวดลอมทางจิตวิทยาในการทำงาน ความเชือ่ อำนาจภายในตน และการไดรบั อุปกรณ หรอื ขอมูลในการปองกนั อุบัตเิ หตุ ระดบั ดีมาก พฤติกรรมการปองกันอบุ ตั ิเหตุจากการทำงาน จำแนกตาม อายุ และประสบการณในการฝก อบรมดานความปลอดภัยแตกตางกันอยางมีนยั สำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวน เพศ ระดบั การศกึ ษา และประสบการณในการทำงาน ไมแตกตางกัน และความเชอื่ อำนาจภายในตน ความรู เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน สภาพแวดลอมทางจิตวิทยาในการทำงาน และการไดรับอุปกรณหรอื ขอมูลในการปองกันอุบัติเหตุ สามารถรวมกันทำนายพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุจากการทำงานรอยละ 34.7 อยางมีนัยสำคัญทางสถิติทร่ี ะดับ 0.001 วันเฉลิม (2549) ศึกษา (1) ระดับการสนับสนุนเรื่องความปลอดภัยและอนามัยในการทำงานของ องคการ พฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงาน คุณภาพชีวิตในการทำงาน (2) เปรียบเทียบปจ จัยสวนบุคคล ที่มีผลตอการสนับสนุนเร่ืองความปลอดภัยและอนามัยในการทำงานพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงาน และคุณภาพชีวิตในการทำงาน (3) ความสัมพันธระหวางการสนับสนุนเรื่องความปลอดภัยและอนามัยในการ ทำงาน พฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานและคุณภาพชีวิตในการทำงาน โดยศึกษากับกลุมตัวอยาง จำนวน 197 คน ซึง่ เปนพนักงานบรษิ ัท ปนู ซิเมนตไทย ทุงสง จำกัด พบวา (1) พนกั งานไดร ับการสนับสนุน เรื่องความปลอดภัยและอนามัยในการทำงานอยูในระดับปานกลาง มีพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงาน อยูในระดบั สูง และมีระดับคุณภาพชวี ิตในการทำงานอยูในระดับปานกลาง (2) พนักงานท่ีมรี ะดับการศึกษา สถานภาพการสมรส และสังกดั หนวยงานตางกัน จะไดรบั การสนบั สนุนเรื่องความปลอดภัยและอนามัยในการ ทำงานตา งกนั (3) พนักงานทีม่ รี ะดับการศึกษา มีประสบการณ การไดร ับอุบัติเหตุ และสังกัดหนว ยงานตา งกัน มีพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานตางกัน (4) พนักงานที่มีระดับการศึกษา ระดับรายไดและสังกัด หนว ยงานตางกนั มีคุณภาพชีวิตในการทำงานตางกัน (5) การสนับสนุนในเรื่องความปลอดภัยและอนามัยใน การทำงานขององคกรโดยรวมมคี วามสัมพันธทางบวกกับพฤตกิ รรมความปลอดภัยในการทำงานของพนักงาน อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.000 (6) การสนับสนุนเรื่องความปลอดภัยและอนามัยในการทำงานของ องคการโดยรวมความสัมพันธทางบวกกับคุณภาพชวี ิตในการทำงานของพนกั งาน อยางมนี ัยสำคัญที่ระดับ 0.000 (7) พฤตกิ รรมความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานโดยรวมมีความสัมพันธทางบวกกับคุณภาพชีวิตในการ ทำงานของพนักงานอยา งมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดบั 0.003 สถาบันสง เสริมความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคการมหาชน)

การสำรวจปจจัยสวนบคุ คลดา นความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ในการทำงานติดตัง้ หลงั คา หนา้ 33 สำเรจ็ รูปในประเทศไทย บทท่ี 3 วิธกี ารศกึ ษา การศึกษานี้เปนการศึกษาแบบภาคตัดขวาง (Cross-Sectional Study) มีวัตถุประสงคเพื่อสำรวจ ปจจัยสวนบุคคลดานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทำงานติดตัง้ หลังคาสำเร็จรูปของสถานประกอบ กิจการในประเทศไทย 3.1 ประชากร การศึกษานี้เปนระเบียบวิธีการศึกษาแบบภาคตัดขวาง (Cross-Sectional Study) คือ การสำรวจ สถานประกอบกิจการที่มีกิจกรรมการติดตั้งหลังคาสำเร็จรูปในประเทศไทย ประชากรที่ศึกษา ไดแก ผูประกอบการหรอื ผูแทนสถานประกอบกิจการติดตั้งหลังคาสำเรจ็ รูป ในประเทศไทย จากการตอบรับเขารวม แบบสมคั รใจ จำนวน 392 แหง เกณฑก ารคัดเลอื กประชากรเขาทำการศกึ ษา 1. เปน สถานประกอบกิจการฯ ที่มคี วามสมคั รใจและเต็มใจเขา รวมการศึกษา 2. เปนผูประกอบการหรือผูแทนของสถานประกอบกิจการฯ แหงละ 1 คน ที่สมัครใจตอบ แบบสอบถาม ในชวงเวลาทเ่ี ก็บรวบรวมขอ มลู 3.2 เครอื่ งมือท่ใี ชในการศกึ ษา 3.2.1 ใชแ บบสอบถามทีผ่ ูสำรวจสรา งขน้ึ แบง เปน 5 สว น ดังนี้ สวนที่ 1 ขอ มูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามและขอมูลทั่วไปของสถานประกอบกิจการ จำนวน 15 ขอ สวนที่ 2 ความรูเก่ียวกบั กฎหมายและมาตรฐานทีเ่ กี่ยวกับการทำงานบนที่สูงจำนวน 10 ขอ ตอบถูกได 1 คะแนน ตอบผิดได 0 คะแนน สวนที่ 3 ทัศนคติตอ สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุและอันตรายในการทำงานเกี่ยวกับการทำงาน บนทสี่ ูง จำนวน 10 ขอ โดยแบบสอบถาม มลี ักษณะเปน มาตรสวนประมาณคา (Rating Scale) ตาม แบบของ Likert โดยกำหนดคาน้ำหนักของคะแนน 5 ระดับ เห็นดวยอยางยิ่ง เห็นดวย เห็นดวย ปานกลาง ไมเ หน็ ดว ย และไมเห็นดว ยอยางย่ิง สถาบนั สง เสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ มในการทำงาน (องคการมหาชน)

การสำรวจปจจยั สวนบคุ คลดา นความปลอดภยั และอาชีวอนามัยในการทำงานตดิ ต้งั หลงั คา หนา้ 34 สำเรจ็ รูปในประเทศไทย สวนที่ 4 พฤติกรรมการจดั การความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูงของผูประกอบกิจการ ติดตั้งหลังคาสำเร็จรูป จำนวน 10 ขอ โดยแบบสอบถาม มีลักษณะเปนมาตรสวนประมาณคา (Rating Scale) ตามแบบของ Likert โดยกำหนดคา น้ำหนักของคะแนน 5 ระดับ ปฏิบัติเปนประจำ ปฏิบตั บิ อยคร้งั ปฏบิ ัตนิ าน ๆ คร้งั ปฏิบัติบางครั้ง และไมเ คยปฏิบตั ิ สวนที่ 5 สำรวจความตองการและขอเสนอแนะแนวทางการสรางความปลอดภัยในการ ทำงานบนที่สูง จำนวน 5 ขอ เกี่ยวกับความตองการฝกอบรมการทำงานบนที่สูง และการรับรูส่ือ มาตรฐานการทำงานบนทสี่ ูง 3.2.2 นำแบบสอบถามที่สรางเสร็จเรียบรอยแลว ใหคณะทำงานพิจารณาตรวจสอบโครงสราง คำถาม การใชภาษาและความครอบคลุมในเนอื้ หาสาระแลว นำมาปรบั ปรงุ แกไข 3.2.3 นำแบบสอบถามที่ปรับปรงุ แกไขแลวไปใหผูเชี่ยวชาญจำนวน 3 ทาน เพื่อพิจารณาตรวจสอบ ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) ความถูกตองเหมาะสม ความครอบคลุมและให คำแนะนำโดยใชด ชั นคี วามสอดคลอ งระหวางขอคำถามนัน้ กับประเดน็ หลกั ของเน้ือหา 3.2.4 นำแบบสอบถามไปทดลองใช (Try out) กับผูประกอบการหรือตัวแทนสถานประกอบกิจการที่ ไมใชกลุมประชากรในการศึกษาครั้งนี้จำนวน 10 แหง แลวนำมาหาคาความเชื่อมั่น (Reliability) ของเครื่องมือโดยใชการทดสอบวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาช (Cronbach’s Alpha Coefficient) ไดค า ความเช่อื ม่ัน 0.89 หากมีคามากกวา 0.70 ถอื ไดวาเปน แบบวัดท่ีมีคุณภาพ 3.2.5 นอกจากนี้ไดทดสอบคุณภาพของแบบสอบถามโดยใชดชั นีความสอดคลองระหวางขอคำถาม กับวัตถุประสงคหรือเนื้อหา (Index of Item-Objective Congruence; IOC) ซึ่งพิจารณาจาก ผูเชี่ยวชาญมีคาเฉลี่ยแยกเปนแตละสวนของแบบสอบถาม การประเมินความรูเกี่ยวกับกฎหมาย แบบสอบถามระดับทศั นคติ และแบบสอบถามพฤติกรรมการจดั การความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ในการทำงาน ไดค า IOC เทา กบั 0.90 0.92 และ 0.93 ตามลำดบั หากคา IOC มากกวา 0.50 แสดง วามคี วามสอดคลองที่สมบรู ณ 3.3 เกณฑก ารใหคะแนนและการแปลผล 3.1 ขอมูลลักษณะทั่วไปของผูประกอบการหรือผูแทนสถานประกอบกิจการติดตั้งหลังคา นำมา วเิ คราะหค าความถี่ คา รอยละ คา เฉล่ยี (Mean) และสว นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (SD) สถาบนั สงเสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ มในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจ จัยสวนบุคคลดานความปลอดภัยและอาชีวอนามยั ในการทำงานตดิ ต้งั หลังคา หนา้ 35 สำเรจ็ รปู ในประเทศไทย 3.2 การวัดระดับความรูเกี่ยวกับกฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวกับการทำงานบนทีส่ งู เปนขอคำถาม ใหเลือกตอบขอทีถ่ ูกตอ งที่สุดเพยี งหนึ่งขอ จากตัวเลือก ถูก และ ผิด ถาตอบถูกตองได 1 คะแนน โดยแปลผล ระดับคะแนนความรทู ไ่ี ดแบบอิงเกณฑข องบลมู (Bloom) 3.3 การวัดระดับทัศนคติและความคิดเห็นตอสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุและอันตรายในการทำงาน เกี่ยวกับการทำงานบนที่สูง จำนวน 10 ขอ โดยแบบสอบถาม มีลักษณะเปนมาตรสวนประมาณคา (Rating Scale) ตามแบบของ Likert โดยกำหนดคาน้ำหนักของคะแนน 5 ระดับ สำหรับคำถามเชิงบวก ถาตอบเห็น ดวยอยางย่ิง มีคาเทากับ 4 คะแนน เห็นดวยมีคาเทากับ 3 คะแนน เห็นดวยปานกลางมีคา เทากับ 2 คะแนน ไมเห็นดวยมีคาเทากับ 1 คะแนน และไมเห็นดว ยอยางยิ่ง มีคาเทากับ 0 คะแนน และมีคาคะแนนในทาง กลับกันสำหรับคำถามเชิงลบ การใหคาคะแนนพิจารณาภาพรวมมรี ะดับการวัดเปนระดับ (Ordinal Scale) โดยไดแบง ระดับชั้นคะแนนแบบองิ เกณฑของบลูม (Bloom) 3.4 การวัดระดับพฤตกิ รรมการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามยั ในการทำงานบนที่สูง จำนวน 10 ขอ โดยแบบสอบถาม มีลักษณะเปนมาตรสวนประมาณคา (Rating Scale) ตามแบบของ Likert โดย กำหนดคาน้ำหนกั ของคะแนน 5 ระดบั สำหรับคำถามเชิงบวก ถาตอบปฏิบัติเปนประจำ หมายถึง ปฏิบัติ 7 ครั้งข้นึ ไป/สปั ดาห มีคา เทากับ 4 คะแนน ปฏิบัติบอยครั้ง หมายถงึ ปฏิบัติ 5-6 ครั้งข้ึนไป/สัปดาห มีคา 3 คะแนน ปฏิบตั ินาน ๆ ครั้ง หมายถึง ปฏิบัติ 3-4 ครั้งขั้นไป/สัปดาห มีคา 2 คะแนน ปฏิบัติบางครั้ง หมายถงึ ปฏิบัติ 1-2 ครั้งข้ึนไป/สัปดาห มีคา 1 คะแนน และไมเคยปฏิบัติ หมายถึง ไมเคยปฏิบัติเลยในหนึ่งสัปดาห มีคา 0 คะแนน และมคี า คะแนนในทางกลับกันสำหรับคำถามเชิงลบ การใหคา คะแนนพิจารณาภาพรวมมีระดับการ วัดเปนระดบั (Ordinal Scale) โดยไดแ บงระดบั ชั้นคะแนนแบบองิ เกณฑของบลูม (Bloom) 3.5 แบบสอบถามความตองการฝกอบรม และการรับรูมาตรฐานการทำงานบนที่สูงของ สถาบัน สงเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคการมหาชน) นำมาวิเคราะห คา ความถี่ และคารอ ยละ 3.4 วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอมูล การสำรวจครั้งนี้ใชแบบสอบถามที่สรางขึ้น เปนเครื่องมือในการสำรวจโดยเก็บรวบรวมขอมูลตาม ขน้ั ตอน ดังน้ี 3.4.1 ทำหนังสือประสานขอความรวมมือกับสมาคมการคาผูผลิตหลังคาเหล็กไทย เพื่อขอรายชื่อ สมาชกิ สมาคมพรอมทอี่ ยู สถาบันสง เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ มในการทำงาน (องคก ารมหาชน)

การสำรวจปจจยั สว นบุคคลดานความปลอดภัยและอาชวี อนามยั ในการทำงานตดิ ตั้งหลงั คา หนา้ 36 สำเรจ็ รูปในประเทศไทย 3.4.2 คณะผูศึกษาไดทำหนังสือแจงขอความรวมมือผูประกอบการพรอมกับสงแบบสอบถามทาง ไปรษณยี  จำนวน 500 ชดุ ไดร บั การตอบรบั จำนวน 392 ชดุ คดิ เปน รอยละ 78.40 3.4.3 นำแบบสอบถามตอบกลับมาวิเคราะหผ ล 3.5 วิธีการวเิ คราะหข อ มูล การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ ผูทำการศึกษาดำเนินการวิเคราะหดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร สำเร็จรูป โดยใชสถิติเชิงพรรณนา ไดแก การแจกแจงความถี่ รอยละ คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปนตน และวเิ คราะหเปรยี บเทียบระหวางปจ จัยสว นบคุ คลกบั ระดับความรรู ายขอ ทศั นคติ และพฤตกิ รรมการ ปฏบิ ัติ โดยใชสถติ ิ Chi-Square Test กำหนดระดบั ความเช่อื ม่นั ท่รี อยละ 95 3.6 การพิทักษสิทธขิ องกลุมตวั อยาง ผทู ำการศึกษาไดท ำการพทิ ักษสทิ ธิกลมุ ตวั อยางดำเนนิ การดังนี้ 1. ชี้แจงวัตถุประสงคของการศึกษาใหผูเ ขารวมโครงการทุกคนรับทราบ ทุกคนไดรับคำอธิบายและ เขาใจวธิ ีการการศกึ ษาพรอมท้งั ขอความรว มมือจากผูตอบแบบสอบถามและลงนามในใบยินยอม 2. ชี้แจงสิทธิ์ใหผูท่ีเขารวมโครงการศึกษา สามารถเขารวมและสามารถปฏิเสธ ยกเลิก ยุตกิ ารตอบ แบบสมั ภาษณไดทกุ เวลาและไมม ผี ลกระทบใด ๆ ทั้งส้ิน 3. ผูเขารว มโครงการมสี ิทธทิ จ่ี ะตอ งไดรบั การปกปด ขอมลู ท่ีไมต องการเปดเผยใหเกิดความเสียหายแก กลมุ ตวั อยางและสถานประกอบกจิ การฯ ตอ สาธารณะได สถาบนั สง เสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคการมหาชน)