Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore service profile ฉบับ COVID-19

service profile ฉบับ COVID-19

Published by banpu rcu, 2022-02-08 01:00:41

Description: service profile ฉบับ COVID-19

Search

Read the Text Version

ข้อมลู สำคญั สินทรพั ยข์ องหน่วยงำน (Service Profile, Our Assets) หน่วย/บริกำร/ระบบ งานการพยาบาลผปู้ ่ วยวิกฤตระบบการหายใจบา้ นปู โรงพยำบำล/องคก์ ร โรงพยำบำลธรรมศำสตรเ์ ฉลิมพระเกียรติ วตั ถปุ ระสงคข์ องเอกสำรชดุ นี้ Purpose Process Performance Improvement • เพอ่ื ส่อื สารทศิ ทางขององคก์ ร • เพอ่ื ทาความเขา้ ใจมาตรฐาน HA อยา่ งเชอ่ื มโยง • เพอ่ื สรปุ บทบาทและผลงานของทมี Leadership Strategy Measure Workforce Results Customer Knowledge Operation

หน้าทแ่ี ละเป้ าหมาย & ประเด็นคุณภาพสาคญั HA I-1.1ก(1), I-2.2ก(2)(5) I-1 การนา วสิ ัยทศั น์ขององค์กร \" TUH 4.0 ORGANIZATION OF THE FUTURE FOR ALL โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ 4.0 ม่งุ สู่องค์กรแห่งอนาคตเพอื่ ประชาชน\" พนั ธกจิ ขององค์กร 1. ใหบ้ ริการท่ีเป็นเลิศดา้ นการรักษาพยาบาล การฟ้ื นฟู การป้ องกนั โรค และการสร้างเสริมคุณภาพแก่ประชาชน 2. สนบั สนุนและมีส่วนร่วมกบั คณะต่างๆ ใหเ้ กิดการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ือผลิตบณั ฑิตที่มีคุณภาพ สู่สังคม 3. เป็นองคก์ รทางวชิ าการท่ีสนบั สนุน ช้ีนาสังคม และชุมชน 4. สร้างและสนบั สนุนงานวจิ ยั และนวตั กรรมที่ทรงคุณค่า นาสู่การปฏิบตั ิเพอื่ ประชาชน พนั ธกจิ ของฝ่ าย 1. พฒั นาระบบบริหารจดั การและบริการพยาบาลที่มีคุณภาพระดบั มาตรฐานสากล 2. ส่งเสริมและสร้างขวญั กาลงั ใจใหบ้ ุคลากรปฏิบตั ิงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิผลและผกู พนั ธ์กบั องคก์ ร 3. สนบั สนุนและมีส่วนร่วมกบั คณะต่างๆในศนู ยส์ ุขศาสตร์ดา้ นการเรียนการสอนรวมท้งั เป็นแหล่งฝึกท่ีมีคุณภาพ ความม่งุ หมายของหน่วย 1. ใหบ้ ริการดา้ นการรักษาพยาบาลกลุ่มผปู้ ่ วยระบบการหายใจที่อยใู่ นภาวะวกิ ฤต และผปู้ ่ วยโรคติดเช้ือท่ีตอ้ งรักษา (หนา้ ท่ี & เป้ าหมาย) ตวั ในหอ้ งความดนั ลบ มีความจาเป็นตอ้ งใชเ้ คร่ืองมือที่มีความเฉพาะ ภายใตก้ ารดูแลของบุคลากรที่มีสมรรถนะ ดา้ นการพยาบาลเฉพาะทางวกิ ฤตเพ่ือใหผ้ ปู้ ่ วยปลอดภยั 2. สนบั สนุนการเรียนการสอนและเป็นแหล่งฝึ กท่ีมีคุณภาพ 3. ส่งเสริมการทาวจิ ยั และนวตั กรรมเพื่อพฒั นาคุณภาพการรักษาพยาบาลที่เป็นเลิศ

แผนกลยุทธทเี่ กย่ี วข้อง (ปี 2563) ตวั ชี้วดั ของหน่วยงาน OKRs 1 : เปิ ดใหบ้ ริการผปู้ ่ วยท่ีมีภาวะวกิ ฤตโรคระบบการหายใจ - ร้อยละความพร้อมรับผปู้ ่ วยที่มีภาวะวกิ ฤตโรคระบบการหายใจ และ และเตรียมความพร้อมใหบ้ ริการผปู้ ่ วยติดเช้ือ COVID-19 เตรียมความพร้อมในการรับผปู้ ่ วยติดเช้ือ COVID-19 ภายใน 30 นาที หลงั การรับเวร - ร้อยละความเพียงพอและพร้อมใชข้ องเวชภณั ฑ์ / เครื่องมือแพทย์ สามารถตอบสนองต่อความตอ้ งการในการรักษาพยาบาล - ร้อยละของบุคลากรมีทกั ษะในการป้ องกนั การติดเช้ือจากผปู้ ่ วยที่มี ภาวะติดเช้ือ/โรคท่ีมีการแพร่กระจายของเช้ือและ COVID-19

แผนกลยุทธทเ่ี กย่ี วข้อง (ปี 2564) ตวั ชี้วดั ของหน่วยงาน แผนยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 สร้างระบบบริหารที่มีประสิทธิภาพ 1. ระดบั ความสาเร็จของการนาเทคโนโลยมี าใชใ้ นการบริหารจดั การ เป้ าประสงคท์ ่ี 2.1 บริหารจดั การ/โลจิสติกส์สมยั ใหม่ เวชภณั ฑ์ OKRs 1 : พฒั นาระบบบริหารจดั การเวชภณั ฑอ์ ยา่ งมี 2. ร้อยละของจานวนเวชภณั ฑค์ งคลงั ในระบบและในหน่วยงานจริง ประสิทธิภาพ ต่างกนั นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 10 3. ร้อยละของมลู ค่าเวชภณั ฑค์ งคลงั ในหน่วยงานจริงมากกวา่ ยอดมลู ค่า เวชภณั ฑท์ ่ีกาหนด ไม่เกิน ร้อยละ 5 แผนยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 สร้างระบบบริหารที่มีประสิทธิภาพ 1. ระดบั ความสาเร็จของการสร้าง Line official เพื่อใชใ้ นการส่ือสาร เป้ าประสงคท์ ่ี 2.2 พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีทนั สมยั และใหบ้ ริการแก่ผปู้ ่ วย COVID-19 OKRs 2 : พฒั นาระบบบริการผปู้ ่ วย COVID-19 โดยใช้ 2. ร้อยละของผปู้ ่ วย COVID-19/ญาติ ที่มี Smart phone ใช้ Line official เทคโนโลยี ในการรับบริการ 3. อตั ราความพงึ พอใจของผปู้ ่ วย COVID-19 ต่อการใช้ Line official ในการสื่อสารและรับบริการ 4. อตั ราความพึงพอใจของบุคลากรท่ีดูแลผปู้ ่ วย COVID-19 ต่อการใช้ Line official ในการใหบ้ ริการ

แผนกลยทุ ธทเี่ กย่ี วข้อง (ปี 2564) ตวั ชี้วดั ของหน่วยงาน แผนยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 สร้างระบบพฒั นาคุณภาพเพ่อื ความยง่ั ยนื 1. ระดบั ความสาเร็จของนวตั กรรมเวบ็ แอปพลิเคชนั่ เพือ่ การสื่อสาร เป้ าประสงคท์ ่ี 3.1 พฒั นาระบบรองรับสนบั สนุนการสร้างงานวจิ ยั อยา่ งเขา้ ใจสาหรับบุคลากรทางการแพทยใ์ นสถานการณ์โควดิ -19 และนวตั กรรม 2. ระดบั ความสาเร็จของกระบวนการยน่ื ขอจดลิขสิทธ์ิของนวตั กรรม OKRs 3 : มี Product innovation เรื่อง เวบ็ แอปพลิเคชนั่ เพ่ือการ เวบ็ แอปพลิเคชนั่ เพื่อการสื่อสารอยา่ งเขา้ ใจสาหรับบุคลากรทาง สื่อสารอยา่ งเขา้ ใจสาหรับบุคลากรทางการแพทยใ์ นสถานการณ์ การแพทยใ์ นสถานการณ์ โควดิ -19 โควดิ -19 3. อตั ราความพงึ พอใจต่อการใชน้ วตั กรรมเวบ็ แอปพลิเคชน่ั เพ่ือการ สื่อสารอยา่ งเขา้ ใจสาหรับบุคลากรทางการแพทยใ์ นสถานการณ์ โควดิ -19

มติ ิคุณภาพ/ประเดน็ คุณภาพสาคญั ในเป้ าหมาย ตวั ชี้วดั การบรรลเุ ป้ าหมาย Accessibility : การเขา้ ถึงบริการไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว  พร้อมรับผปู้ ่ วยท่ีมีภาวะวกิ ฤตโรคระบบการหายใจ และเตรียมความพร้อมในการ ภายในเวลาที่เหมาะสม รับผปู้ ่ วยติดเช้ือ COVID-19 ภายใน 30 นาที หลงั การรับเวร Acceptability : ผรู้ ับบริการพงึ พอใจ มีความเขา้ ใจ  อตั ราความพึงพอใจของผรู้ ับบริการ และใหก้ ารยอมรับในการรักษาพยาบาล  จานวนขอ้ ร้องเรียนของผรู้ ับบริการ  ความตอ้ งการของผรู้ ับบริการ Appropriateness : ผปู้ ่ วยไดร้ ับการรักษาพยาบาลดว้ ย  ผปู้ ่ วยไดร้ ับการเตรียมความพร้อมในการหยา่ เครื่องช่วยหายใจ ความถกู ตอ้ งตามขอ้ บ่งช้ี / ตามความจาเป็นของผปู้ ่ วย  ผปู้ ่ วยไดร้ ับการฟ้ื นฟูสมรรถภาพปอด และหลกั ฐานวชิ าการ  ผปู้ ่ วย/ญาติไดร้ ับการเตรียมความพร้อมก่อนจาหน่ายกลบั บา้ น  อตั ราการเกิดภาวะแทรกซอ้ นในผปู้ ่ วย COVID-19  อตั ราการเสียชีวติ ของผปู้ ่ วย COVID-19 โดยไม่ไดค้ าดหมาย (Preventable death) Competency : ผใู้ หบ้ ริการมีระดบั ความรู้และทกั ษะ  จานวนการเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจ และตอ้ งใส่ใหม่ภายใน 2 ชวั่ โมง ที่เหมาะสมกบั อาการ / ความเจบ็ ป่ วย รวมถึงการใช้  อตั ราการติดเช้ือใน รพ. ระบบต่างๆ ไดแ้ ก่ VAP, CLABSI, CAUTI และการ เทคโนโลยที ่ีเหมาะสมในการรักษาพยาบาล ติดเช้ือด้ือยา  อตั ราการจาหน่ายกลบั บา้ น  อตั ราการใส่ท่อช่วยหายใจซ้าภายใน 24 ชวั่ โมง หลงั การถอดท่อช่วยหายใจ  อตั ราการกลบั เขา้ โรงพยาบาลภายใน 28 วนั ในโรคเดิมหรือโรคที่เก่ียวเน่ืองกบั โรคเดิมโดยไม่นดั  อตั ราการยา้ ยกลบั เขา้ RCU ภายใน 48 ชวั่ โมง

มติ ิคุณภาพ/ประเดน็ คุณภาพสาคญั ในเป้ าหมาย ตัวชี้วดั การบรรลเุ ป้ าหมาย Continuity : ผปู้ ่ วยไดร้ ับการบริการที่มีความ  การใช้ SBAR ในการรายงานแพทยแ์ ละส่งต่อขอ้ มูลผปู้ ่ วยระหวา่ งเวรและ ต่อเน่ืองในการดูแล และมีการประสานงาน ส่งต่อ ระหวา่ งหน่วยงาน ขอ้ มูลผปู้ ่ วยอยา่ งครบถว้ น  อตั ราผปู้ ่ วยไดร้ ับการดูแลอยา่ งต่อเน่ือง  อตั ราผปู้ ่ วยโรคระบบการหายใจและผปู้ ่ วย COVID-19 ไดร้ ับความรู้เกี่ยวกบั การดูแลตนเองเม่ือกลบั ไปอยบู่ า้ น Effectiveness : การบริการบรรลุถึงผลลพั ธ์ของการ  อตั ราการกลบั เขา้ โรงพยาบาลภายใน 28 วนั ในโรคเดิมหรือโรคท่ีเก่ียวเนื่องกบั รักษาท่ีเป็นท่ีตอ้ งการของผปู้ ่ วยและครอบครัว โรคเดิมโดยไม่นดั  อตั ราผปู้ ่ วยไดร้ ับการวางแผนจาหน่าย  อตั ราความพงึ พอใจของผรู้ ับบริการ  อุบตั ิการณ์การเกิดภาวะแทรกซอ้ นท่ีไม่พงึ ประสงคข์ ณะเขา้ รับการรักษา Efficiency : การใชท้ รัพยากรอยา่ งคุม้ ค่าตามกลุ่ม  ร้อยละของการบนั ทึกหตั ถการและเวชภณั ฑใ์ นระบบครบถว้ นตามแผนการ โรคและทนั ต่อเวลา รักษา  อตั ราการครองเตียง  จานวนวนั นอนเฉล่ีย  อตั ราการรอดชีวติ ของผปู้ ่ วยที่เป็นโรค COVID-19  อตั ราการติดเช้ือใน รพ. ระบบต่างๆ ไดแ้ ก่ VAP, CLABSI, CAUTI และการติด เช้ือด้ือยา  อตั ราการติดเช้ือของบุคลากรจากการดูแลผปู้ ่ วย COVID-19

มติ ิคุณภาพ/ประเดน็ คุณภาพสาคญั ในเป้ าหมาย ตัวชี้วดั การบรรลเุ ป้ าหมาย Safety : ผปู้ ่ วยในความดูแลมีความเส่ียงต่อผลลพั ธ์  อตั ราการติดเช้ือใน รพ. ระบบต่างๆ ไดแ้ ก่ VAP, CLABSI, CAUTI และการติด ทางลบ ความผดิ พลาดและผลขา้ งเคียงที่ไม่ตอ้ งการ เช้ือด้ือยา นอ้ ยท่ีสุด  อตั ราการยา้ ยกลบั เขา้ RCU ภายใน 48 ชว่ั โมง  อตั ราการตาย  อุบตั ิการณ์การเกิดภาวะแทรกซอ้ นท่ีไม่พึงประสงคข์ ณะเขา้ รับการรักษา  อตั ราการเกิดภาวะแทรกซอ้ นจากการทา Tracheostomy bedside (Under bronchoscopy)  อตั ราการเกิดภาวะแทรกซอ้ นจากการทา Prone Position Patient right & dignity : การปฏิบตั ิหนา้ ท่ีโดย  จานวนขอ้ ร้องเรียนของผรู้ ับริการเก่ียวกบั การไม่พิทกั ษส์ ิทธ์ิผปู้ ่ วย คานึงถึงการพทิ กั ษส์ ิทธ์ิและศกั ด์ิศรีของ  อตั ราการลงนามใบ Inform consent ผรู้ ับบริการ

ขอบเขตบริการ ครอบคลุม ผปู้ ่ วยท่ีมีอายตุ ้งั แต่ 15 ปี ข้ึนไปและมีขอ้ ใดขอ้ หน่ึงดงั ต่อไปน้ี 1. ผปู้ ่ วยท่ีตอ้ งการ Respiratory support ไดแ้ ก่ 1.1 Refractory hypoxemia : SpO2  90% ขณะ On mask with bag 1.2 Severe respiratory acidosis : pH  7.2 และ PaCO2  45 mmHg 1.3 Impending respiratory failure 1.4 ผปู้ ่ วยไม่สามารถ Protect หรือ Maintain airway : ไม่รู้สึกตวั , ไอไม่ได้ 1.5 ผปู้ ่ วยขณะหยา่ เคร่ืองช่วยหายใจ (Weaning from ventilator) 2. ตอ้ งการใชห้ อ้ ง Negative pressure เพ่ือแยกโรคติดเช้ือทางการหายใจ เช่น Pulmonary tuberculosis, Airborne infection เป็นตน้ 3. ดุลยพินิจของอาจารย์ Attending RCU (1st) หรืออาจารยเ์ วร Chest (2nd) เห็นสมควรยา้ ยเขา้ ได้ **ในกรณีท่ีมีการระบาดของ COVID-19 จะรับผปู้ ่ วย COVID-19 Positive เท่าน้นั

ขอบเขตบริการ ไม่ครอบคลมุ 1. APACHE II score  30 หรือ Predicted mortality  73% 2. Multi-organ failure ต้งั แต่ 3 ระบบข้ึนไป เช่น ภาวะหายใจลม้ เหลว หวั ใจลม้ เหลว ไตวาย 3. ตอ้ งการการรักษาดว้ ยเครื่องมือชนิดพเิ ศษ เช่น CRRT, ECMO, MARS 4. Cardiac arrest 4.1 Cardiac arrest ท่ีไม่มีผเู้ ห็นเหตุการณ์ 4.2 Cardiac arrest ท่ีมีผเู้ ห็นเหตุการณ์ แต่ไม่ตอบสนองต่อ Defibrillation หรือ Pacing 4.3 Cardiac arrest ซ้าคร้ังที่ 2 ภายใน 72 ชว่ั โมง และแนวโนม้ ไม่สามารถแกไ้ ขได้ 5. Trauma หรือ Burns หรือ Postoperative state 6. Bed ridden ท่ีไม่สามารถทากิจวตั รประจาวนั ไดด้ ว้ ยตนเอง หรือสมองเสื่อมอยา่ งรุนแรง 7. ผปู้ ่ วยระยะสุดทา้ ยท่ีไม่สามารถรักษาได้ เช่น 7.1 Metastatic malignancy 7.2 Full-blown HIV/AIDS 7.3 Advanced neuromuscular disease 8. ผปู้ ่ วย Organ failure ระยะสุดทา้ ยท่ีไม่สามารถรักษาได้ เช่น Advanced heart, lung, liver disease 9. ผปู้ ่ วยผา่ ตดั เพือ่ ประคบั ประคองโรคระยะสุดทา้ ย เช่น Elective advanced cancer surgery 10. ผปู้ ่ วยท่ีอาการดีเกินไป (APACHE II score  10 หรือ Predicted mortality  15%)

ขอบเขตบริการ ลกั ษณะสาคญั ของ ผปู้ ่ วยที่มีอายุ 15 ปี ข้ึนไป ท้งั เพศชายและเพศหญิง ที่มีอาการอยใู่ นระยะวิกฤตโรคระบบการ ผู้รับบริการ หายใจ และผปู้ ่ วยที่ติดเช้ือ COVID-19 ท่ีเกิดในโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติและ รับส่งต่อจากโรงพยาบาลอ่ืน

ทรัพยากร (ผู้ปฏิบตั งิ าน เคร่ืองมอื เทคโนโลยี สถานท)่ี ทรัพยากร ศักยภาพ ข้อจากดั บุคลากร - อาจารยแ์ พทย์ 6 คน - ตอ้ งการพยาบาลระดบั ปฏิบตั ิการเพ่มิ จานวน 6 คน เคร่ืองมอื - พยาบาลวิชาชีพ 16 คน (จบการพยาบาลเฉพาะทางผปู้ ่ วยวิกฤต (ผใู้ หญ)่ 1 - ตอ้ งการพยาบาลระดบั หวั หนา้ เวรเพิ่มจานวน 5 คน เทคโนโลยี - บุคลากรจบการศึกษาเฉพาะทางมีจานวนนอ้ ย คนการพยาบาลเฉพาะทางโรคหวั ใจและทรวงอก 1 คน ปริญญาโทดา้ นการ พยาบาล (สาขาการพยาบาลผใู้ หญ่) 1 คน Nurse educator 1 คน พยาบาลพ่ี - บุคลากรส่วนใหญ่ อายงุ าน 1-2 ปี เล้ียง 3 คน) - ผชู้ ่วยพยาบาล 6 คน - เจา้ หนา้ ที่ธุรการ 1 คน - พนกั งานช่วยงานบริการ 2 คน - เครื่องช่วยหายใจ 4 เคร่ือง - Syringe pump 9 เครื่อง - อปุ กรณ์บางอยา่ งมีไม่เพยี งพอ ยงั ตอ้ งขอยมื จาก - เครื่องออกซิเจน HFNC 2 เครื่อง - Automated CPR 1 เคร่ือง - Infusion pump 20 เคร่ือง หน่วยงานอ่ืนหรืองานเคร่ืองมือแพทย์ เช่น BIS - Defibrillator 1 เคร่ือง - EKG 12 leads 1 เคร่ือง - ชุดส่องหลอดลมผใู้ หญ่ 1 ชุด monitor, EtCO2 - เคร่ืองวดั CCO (EV1000) 1 เครื่อง - Central monitor 1 เครื่อง - Video-laryngoscope 1 ชุด - Monitor Bedside 8 เครื่อง - Transfer monitor 1 เคร่ือง - เครื่องป่ัน Hct 1 เคร่ือง - อปุ กรณ์สาหรับวดั EtCO2 3 ชุด - เครื่อง DTX 2 เคร่ือง - อปุ กรณ์สาหรับวดั ระดบั การหลบั (BIS monitor) 2 ชุด - กลอ้ งวงจรปิ ด 1 ชุด - Ultrasound 1 เคร่ือง - ชุดตรวจ ABG 1 ชุด - ชุดใหอ้ อกซิเจนแบบติดผนงั 1 ทาง - PAPR 6 ชุด 8 ชุด - ชุดดูดเสมหะแบบติดผนงั 8 เครื่อง - เครื่องดดู ลมและของเหลวจาก โพรงทรวงอก 2 เครื่อง - เครื่องดูดน้ายอ่ ยและลมออกจาก กระเพาะอาหาร 2 เครื่อง

ทรัพยากร (ผู้ปฏบิ ตั ิงาน เครื่องมอื เทคโนโลยี สถานท)่ี ทรัพยากร ศักยภาพ ข้อจากดั สถานที่ - หอ้ งระบบความดนั ลบหอ้ งเด่ียว จานวนเตียง 1 เตียง - ระยะห่างของปลายเตียงผปู้ ่ วยชิดกนั เกินไป - ลกั ษณะหอ้ งผปู้ ่ วยเป็นเตียงรวม ไม่สะดวกต่อการทา (BANPU RCU - หอ้ งระบบความดนั ลบหอ้ งรวม 2 เตียง จานวนเตียง 1 หอ้ ง หตั ถการหรือการพดู คุยกบั ผรู้ ับบริการ - หอ้ งระบบความดนั ลบมีหอ้ ง Ante-room เดี่ยว มีจานวน ตงึ ธนาคารทหาร - หอ้ งระบบความดนั ลบหอ้ งรวม 4 เตียง จานวนเตียง 2 หอ้ ง 1 หอ้ ง นอกน้นั เป็น Ante-room รวม - ทางหนีไฟสาหรับขนยา้ ยผปู้ ่ วยออกมีเพยี งทางเดียว ไทย ช้ัน1) - หอ้ งความลบสามารถปรับเป็นระบบหอ้ งธรรมดาหรือความดนั บวก - ไม่มีกระสวยสาหรับส่งเบิกยา และ ส่ง Lab ทาใหต้ อ้ ง ใชเ้ วลานานกวา่ หน่วยงานท่ีมีกระสวย ได้ - หน่วยงานอยคู่ ่อนขา้ งห่างไกลจากจุดสาคญั เช่น หอ้ ง ผา่ ตดั หอ้ งส่องกลอ้ ง หอ้ งรังสี คลงั เลือด ทาใหใ้ ชเ้ วลาใน - มีระบบท่อน้าลา้ งไตติดต้งั บริเวณหวั เตียงผปู้ ่ วยทุกเตียง การเดินทางค่อนขา้ งนานหากตอ้ งส่งผปู้ ่ วยไปทาหตั ถการ - มีพ้ืนท่ีสาหรับเตรียมยาแยกเป็นสดั ส่วน ต่างๆ - ทางเดินหนา้ หน่วยงานในช่วงหนา้ ฝนจะมีฝนสาดทาให้ - มีหอ้ งพกั แพทยภ์ ายในหน่วยงาน ทาใหแ้ พทยส์ ามารถมาตรวจรักษา ไม่สะดวกเวลาที่ตอ้ งเคลื่อนยา้ ยผปู้ ่ วย/เสี่ยงต่อการเกิด อุบตั ิเหตุ/ล่ืนไดง้ ่าย ผปู้ ่ วยไดร้ วดเร็ว - ที่ต้งั หน่วยงานอยชู่ ้นั 1 ทาใหม้ ีแมลง ยงุ ค่อนขา้ งมาก - มีงานการเงินอยหู่ นา้ หน่วยงาน ทาใหส้ ะดวกต่อการติดต่อหรือชาระ เงินของผรู้ ับบริการ - หนา้ หน่วยงานมีสวนหยอ่ ม ทาใหผ้ รู้ ับบริการ/ญาติรู้สึกผอ่ นคลาย - หน่วยงานอยใู่ กลก้ บั จุดรับส่งผปู้ ่ วย COVID-19, PUI ทาใหส้ ะดวก และรับส่งผปู้ ่ วยไดร้ วดเร็ว เป็นสดั ส่วน ไม่ปะปนกบั ผปู้ ่ วยทว่ั ไป

ทรัพยากร (ผู้ปฏิบตั งิ าน เคร่ืองมอื เทคโนโลยี สถานท)ี่ ทรัพยากร ศักยภาพ ข้อจากดั สถานที่ - หอ้ งระบบความดนั ลบหอ้ งเดี่ยว จานวนเตียง 8 เตียง - ไม่มีหอ้ งเกบ็ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ต่างๆ (วกิ ฤตธัญลกั ษณ์ - หอ้ งความลบสามารถปรับเป็นระบบหอ้ งธรรมดาหรือความดนั บวก - ไม่มีสญั ญาณ Wifi อาคารกติ ติ ได้ - มีน้าแอร์หยด วฒั นา ช้ัน3) - มีระบบท่อน้าลา้ งไตติดต้งั บริเวณหวั เตียงผปู้ ่ วยทุกเตียง - พ้นื ท่ีในการถอดชุด PPE ค่อนขา้ งเลก็ - มีพ้ืนที่สาหรับเตรียมยาแยกเป็นสดั ส่วน - ไม่มีหอ้ งใส่ชุด PPE ตอ้ งปรับหอ้ งรับประทานอาหาร - มีหอ้ งพกั แพทยใ์ กลห้ น่วยงาน ทาใหแ้ พทยส์ ามารถมาตรวจรักษา เจา้ หนา้ ที่เป็นหอ้ งเปล่ียนชุดชว่ั คราว ผปู้ ่ วยไดร้ วดเร็ว - บริเวณเคานเ์ ตอร์พยาบาลค่อนขา้ งแคบ เนื่องจากมีเสา - มีเสน้ ทางการเคลื่อนยา้ ยผปู้ ่ วย COVID-19 โดย มีลิฟตข์ นส่งดา้ นหลงั ก้นั หน่วยงาน - บริเวณเคานเ์ ตอร์จดั ยา ไม่มีอ่างลา้ งมือ - ในหน่วยงานมีระบบกลอ้ งเพื่อใหม้ องเห็นผทู้ ่ีมาติดต่อจากภายนอก - หอ้ งหวั หนา้ งานอยเู่ สน้ ทางเขา้ -ออกของผปู้ ่ วย COVID- - มีระบบ Nurse call และวทิ ยสุ ื่อสารท่ีใชใ้ นการสื่อสารของ 19 ทาใหไ้ ม่สามารถใชง้ านได้ ผปู้ ฏิบตั ิงาน - หอ้ งน้ามีกล่ินเหมน็ ออกมาจากท่อ - มีระบบกลอ้ งวงจรปิ ดที่มีความคมชดั สาหรับการติดตามและเฝ้ าระวงั - หอ้ งเกบ็ ผา้ ผปู้ ่ วยไม่เพียงพอ อาการผปู้ ่ วยในหอ้ งความดนั ลบ - มีระบบ Scan นิ้วเขา้ หน่วยงาน เพอ่ื ความปลอดภยั

ปริมาณงานท่ีสาคญั งานสาคญั ปริมาณงาน (เร่ิมเปิ ดหน่วยงาน 19 พฤษภาคม 2563) ใหก้ ารดูแลผปู้ ่ วยกลุ่มโรคระบบการหายใจ ข้อมูลสถิติ 19 พฤษภาคม 2563-30 กนั ยายน 2563 หมายเหตุ - Pneumonia - COPD ราย 16 - Acute asthmatic attack ราย 4 - Respiratory failure ราย 2 - Infected bronchitis ราย 3 - Infected bronchiectasis ราย 4 ราย 1 ใหก้ ารรักษาพยาบาลผปู้ ่ วยที่ใชเ้ ครื่องช่วยหายใจ ราย 29 ใหก้ ารดูแลผปู้ ่ วย On Tracheostomy tube ใหก้ ารดูแลผปู้ ่ วย On Home ventilator Vent. day 354 ใหก้ ารดูแลผปู้ ่ วยระยะประคบั ประคอง (Palliative Care) ราย 12 ราย 2 ราย 4

ปริมาณงานที่สาคญั งานสาคญั ข้อมูลสถติ ิ ปริมาณงาน 2564 หมายเหตุ ตุลาคม 2563 – กนั ยายน 2564 ใหก้ ารดูแลผปู้ ่ วยที่มีการติดเช้ือ ราย BANPU RCU ไดใ้ หบ้ ริการ - PUI (Negative Pressure Room) ราย 104 ผปู้ ่ วย COVID-19 ที่ Cohort - COVID-19 ระดบั อาการเลก็ นอ้ ย (Cohort Ward) ราย 120 ward และ Negative pressure - COVID-19 ระดบั อาการก่ึงวกิ ฤต – วกิ ฤตมาก (RCU) 248 Room วนั ท่ี 1 มกราคม - 24 เมษายน 2564 106 ใหก้ ารดูแลผปู้ ่ วย COVID-19 ท่ีใชเ้ ครื่องช่วยหายใจ ราย 1052 Vent. day ใหก้ ารดูแลผปู้ ่ วย COVID-19 ท่ีใช้ NIV 18 ชนิด Helmet ราย ใหก้ ารดูแลผปู้ ่ วย COVID-19 ที่ใช้ NIV ชนิด Face 15 Mask/Nasal Mask ราย ใหก้ ารดูแลผปู้ ่ วย COVID-19 ท่ีใช้ HFNC 133 ใหก้ ารดูแลผปู้ ่ วยระยะประคบั ประคอง (Palliative Care) ราย 41 ราย

ปริมาณงานท่ีสาคญั ปริมาณงาน ปริมาณงาน (เริ่มเปิ ดหน่วยงาน 19 พฤษภาคม 2563) ปี งบประมาณ 2564 งานสาคญั 19 พฤษภาคม 2563-30 กนั ยายน 2563 ตุลาคม 2563-กนั ยายน2564 ขอ้ มูลสถิติ 1 คร้ัง 44 หตั ถการ : Intubation ET tube 6 คร้ัง 62 หตั ถการ : Central/Arterial line insertion 2 คร้ัง - หตั ถการ : Chest tube insertion หตั ถการ : Targeted Therapeutic 1 ราย - Management (TTM) หตั ถการ : Bronchoscopy (Bedside) 1 คร้ัง - หตั ถการ : Gastroscopy (Bedside) 1 คร้ัง - หตั ถการ : Tracheostomy (Bedside) 1 ราย - หตั ถการ : CPR 2 ราย 5 หตั ถการ : Double Lumen Catheter for HD 1 ราย 7

ปริมาณงานท่ีสาคญั ปริมาณงาน ปริมาณงาน งานสาคญั (เร่ิมเปิ ดหน่วยงาน 19 พฤษภาคม 2563) ปี งบประมาณ 2564 ขอ้ มลู สถิติ 19 พฤษภาคม 2563-30 กนั ยายน 2563 ตุลาคม 2563-กนั ยายน2564 หตั ถการ : ECMO - 1 หตั ถการ : CRRT - 5 หตั ถการ : Prone Position (Under intubation) - 25

การใช้ประโยชน์จากค่านิยมหลกั ขององค์กร HA I-1.1ก(1) ค่านิยมหลกั HA Core Values ตวั อย่างการตดั สินใจ/ พฤตกิ รรมการปฏบิ ัตเิ ป็ นปกตปิ ระจา Thammasat Spirit Visionary leadership, Patient &  มีบรรยากาศในการทางานท่ีเปิ ดโอกาสใหท้ ุกคนแสดงความคิดเห็น เราจะยดึ มนั่ ในจิตวิญญาณธรรมศาสตร์ “การ customer, Customer focus อยา่ งอิสระ สร้างสิทธิเสรีภาพและความเท่าเทียมในสงั คม”  ใหก้ ารดูแลรักษาผปู้ ่ วยทุกสิทธ์ิ ทุกเช้ือชาติ ศาสนาอยา่ งเท่าเทียมกนั Research and Innovation Creativity & innovation, Management  กาลงั รวบรวมขอ้ มลู /ปัญหาที่พบในการทางานเพ่ือสร้างนวตั กรรมที่ เราจะสนบั สนุนการสร้างงานวจิ ยั และนวตั กรรม by fact, Continuous process นามาใชใ้ นการแกป้ ัญหาในการทางานไดจ้ ริง เพื่อนาองคก์ รเปล่ียนแปลงสู่ความเป็นเลิศ improvement, Focus on results, Evidence-base approach  พฒั นาคุณภาพการบริการอยา่ งต่อเน่ือง ใช้ SPEC และ OKRs ในการ Accreditation Visionary leadership, System ปฏิบตั ิงานอยา่ งต้งั ใจ เราจะมงุ่ มนั่ การรับรองคุณภาพ perspective, Continuous process สู่มาตรฐานความเป็ นเลิศ improvement, Focus on results  มีระบบหอ้ งความดนั ลบที่สามารถกรองอากาศเสียก่อนออกสู่ Nature Community responsibility บรรยากาศภายนอก เราจะพิทกั ษร์ ักษาส่ิงแวดลอ้ ม เพ่ือส่งเสริมการ  ส่งเสริมการใชก้ ระดาษ 2 ดา้ น/รณรงคก์ ารแยกขยะใหถ้ กู ตอ้ ง รักษาและร่วมรับผดิ ชอบต่อสงั คม  ใช้ Google form ในการลงบนั ทึกขอ้ มลู ต่างๆ เพ่ือลดการใชก้ ระดาษ  รณรงคใ์ หบ้ ุคลากรใชถ้ งุ ผา้ และใชก้ ล่องอาหารแทนถงุ พลาสติก  รณรงคก์ ารประหยดั กระดาษและหมึกพิมพ์  รณรงคก์ ารประหยดั พลงั งานไฟฟ้ าและน้าประปา

การใช้ประโยชน์จากค่านิยมหลกั ขององค์กร HA I-1.1ก(1) ค่านิยมหลกั HA Core Values ตวั อย่างการตดั สินใจ/การปฏิบตั เิ ป็ นปกตปิ ระจา Skills Value on staff, Individual  ประชุม/อบรมความรู้ท่ีเก่ียวกบั การดแู ลผปู้ ่ วยโรคระบบการหายใจ โรค COVID-19 เราจะหมนั่ ใฝ่ หาความรู้และพฒั นา commitment, Teamwork  ประชุม/อบรมความรู้เกี่ยวกบั การใชเ้ ครื่องมือแพทย์ เทคโนโลยที ่ีทนั สมยั ในการดูแล ทกั ษะการทางาน เพื่อส่งมอบคุณค่าท่ี ผปู้ ่ วยวิกฤต ดีสู่ผปู้ ่ วย Visionary leadership, Focus on results  อบรมและสอบปฏิบตั ิเรื่องการลา้ งมือ การใส่-ถอดชุดอุปกรณ์ป้ องกนั ส่วนบุคคล (PPE) Financial Sustainability Visionary leadership, System  บนั ทึกและตรวจสอบ Negative Pressure Room ใหพ้ ร้อมใชง้ านไดต้ ลอดเวลา เราจะร่วมสร้างเสถียรภาพดา้ นการเงิน perspective, Agility, Creativity &  บนั ทึกและตรวจสอบยา stock/รถ Emergency/เครื่อง Defibrillation/Automated CPR/ เพ่ือความอยรู่ อดขององคก์ ร innovation, Continuous process เคร่ืองตรวจ ABG/EtCO2/BIS Monitor และเคร่ืองช่วยหายใจ ใหพ้ ร้อมใชง้ านเสมอ improvement, Learning organization of the Future Empowerment, Ethic & professional  กากบั ติดตามการ key เวชภณั ฑข์ องผปู้ ่ วยตามความเป็นจริง รวมถึงการลงขอ้ มลู การ เราจะเป็ นส่วนหน่ึงของความสาเร็จใน standard ทาหตั ถการต่างๆ ในเวชระเบียนใหค้ รบถว้ นเพื่อให้ Coder สามารถลงรหสั ในการ การกา้ วสู่องคก์ รแห่งอนาคต เบิกเงินค่ารักษาพยาบาลจากตน้ สงั กดั ของผปู้ ่ วยไดถ้ กู ตอ้ ง Moral Hospital  มีการสารองเวชภณั ฑใ์ หเ้ หมาะสมและเป็นไปตามเกณฑท์ ี่กาหนดของโรงพยาบาล เราจะประพฤติตนตามหลกั คุณธรรม  การใช้ Google form บนั ทึกการตรวจสอบเคร่ืองมือเพื่อลดการใชก้ ระดาษ/หมึกพิมพ์ เพื่อความสุขในองคก์ ร  ช่วยกนั ประหยดั ไฟฟ้ าและน้าประปา เพื่อลดค่าใชจ้ ่ายขององคก์ ร  วางแผนการทา Website ของหน่วยงานเพื่อเผยแพร่ขอ้ มลู ความรู้ดา้ นระบบการ หายใจและโรคอบุ ตั ิใหมส่ ู่บุคลากรและประชาชน  วางแผนการจดั การความรู้เก่ียวกบั การเตรียมรับผปู้ ่ วย COVID-19 ท่ีมีภาวะวิกฤต และจดั ทาเป็น SOP เพื่อใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏิบตั ิงาน  จดั ทานวตั กรรมที่ช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิงาน  ดแู ลผปู้ ่ วยดว้ ยหลกั จรรยาบรรณวชิ าชีพและคานึงถึงสิทธิผปู้ ่ วย  ดูแลผปู้ ่ วยอยา่ งมี Service mind และใชห้ ลกั TUH Caring model

ความรับผดิ ชอบต่อสังคม HA I-1.2ก(3), I-1.2ข, I-1.2ค กฎหมาย ประเด็นทเ่ี กยี่ วข้องกบั หน่วยงาน บทบาทของหน่วยงาน กฎหมายเก่ียวขอ้ งกบั วชิ าชีพพยาบาล  มีช่องทางสื่อสารใหบ้ ุคลากรและผรู้ ับบริการทราบถึงสิทธิ 1. มาตรฐานการพยาบาลและการผดุงครรภ์ และขอ้ พึงปฏิบตั ิของผปู้ ่ วย 2. จริยธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชีพ  นาตวั อยา่ งเหตุการณ์/ข่าวท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั จรรยาบรรณวชิ าชีพ 3. คาประกาศสิทธิและขอ้ พึงปฏิบตั ิของผปู้ ่ วย มาวเิ คราะห์ใหบ้ ุคลากรเกิดความตระหนกั ถึงสิทธิผปู้ ่ วย/ กฎระเบียบ 1. ระเบียบมหาวทิ ยาลยั พรบ.คอมพวิ เตอร์และผลกระทบ 2. ประกาศโรงพยาบาลธรรมศาสตร์ฯ  ใหก้ ารดูแลผปู้ ่ วยตามมาตรฐานการพยาบาลและการผดุง 3. ระเบียบฝ่ ายการพยาบาล ครรภ์  มีการสื่อสารภายในหน่วยงานใหท้ ราบและปฏิบตั ิงานตาม ระเบียบและขอ้ บงั คบั ของฝ่ ายการพยาบาล โรงพยาบาลและ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์  ส่ือสารใหบ้ ุคลากรทุกคนทราบถึงแนวทางท่ีครอบคลุมเร่ือง จริยธรรมวชิ าชีพของผปู้ ระกอบอาชีพดา้ นสุขภาพ การเคารพ ศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษย์ การคานึงถึงความปลอดภยั และความเป็น ส่วนตวั ของผปู้ ่ วย การหา้ มโฆษณาที่ผดิ จริยธรรม การไม่เผยแพร่ ความรู้ทางการแพทยท์ ่ีผดิ ๆ เป็นตน้

ความรับผดิ ชอบต่อสังคม HA I-1.2ก(3), I-1.2ข, I-1.2ค ประเดน็ ทเี่ กยี่ วข้อง บทบาทของหน่วยงาน กบั หน่วยงาน มาตรฐาน มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ทเ่ี กยี่ วข้อง ฉบับที่ 4 มาตรฐาน II-4.2 การปฏิบตั ิเพ่อื ป้ องกนั - การทากิจกรรมการพยาบาลใหป้ ฏิบตั ิตามมาตรฐาน IC อยา่ งเคร่งครัด การติดเช้ือ ข.การป้ องกนั การติดเช้ือใน - รณรงคใ์ หบ้ ุคลากรลา้ งมือ ใส่-ถอด PPE การป้ องกนั การแพร่กระจายของเช้ือตาม กลมุ่ เฉพาะ มาตรฐาน IC อยา่ งเคร่งครัด - ดูแลใหบ้ ุคลากรไดร้ ับวคั ซีน ตามคาแนะนาของ IC เช่น วคั ซีน COVID-19, ไขห้ วดั ใหญ่ และวคั ซีน MMR มาตรฐาน II-6.1 การกากบั ดแู ลและ - ปฏิบตั ิตามนโยบายหลกั การบริหารยาอยา่ งเคร่งครัด สิ่งแวดลอ้ มสนบั สนุน ก.การกากบั ดแู ล - มีการทา Medication reconciliation ในผปู้ ่ วยทุกราย การจดั การดา้ นยา (3) - มีการนาแนวทางท่ีไดจ้ ากการทา RCA เร่ืองการคลาดเคลื่อนดา้ นยามาปรับใชใ้ น หน่วยงาน มาตรฐาน II-7.4 ธนาคารเลือดและงาน - ปฏิบตั ิตามแนวทางการจองเลือดและใหเ้ ลือดอยา่ งเคร่งครัด รวมไปถึงปฏิบตั ิตาม บริการโลหิต แนวทางการดแู ลผปู้ ่ วยเม่ือมีการแพเ้ ลือด มาตรฐาน III กระบวนการดูแลผปู้ ่ วย - ใหก้ ารดูแลผปู้ ่ วยตามกระบวนการพยาบาลดว้ ยมาตรฐานวิชาชีพ

ความรับผดิ ชอบต่อสังคม HA I-1.2ก(3), I-1.2ข, I-1.2ค ผลกระทบเชิงลบต่อ ประเดน็ ทเ่ี กยี่ วข้องกบั หน่วยงาน บทบาทของหน่วยงาน สังคม ขยะติดเช้ือ การติดเช้ือด้ือยา - แยกขยะติดเช้ือตามแนวทางท่ีกาหนด ความห่วงกงั วลของ ขวดยา ATB/กระดาษ COPY - จดั หาอปุ กรณ์และส่งเสริมใหเ้ จา้ หนา้ ที่สวมชุดอุปกรณ์ป้ องกนั และจดั เกบ็ ขยะติดเช้ือ สาธารณะ ใหป้ ลอดภยั ไม่เกิดการปนเป้ื อน การแยกขยะติดเช้ือและขยะ - รณรงคก์ ารแยกขยะใหถ้ กู ตอ้ ง เพอื่ ลดค่าใชจ้ ่ายในการทาลายขยะ Openness ความ อนั ตราย - ปฏิบตั ิตามแนวทางการป้ องกนั การติดเช้ือด้ือยา เพอ่ื ควบคุมการแพร่กระจายการติด โปร่งใส เช้ือด้ือยา การใช้ทรัพยากร การตรวจสอบค่าใชจ้ ่ายที่โปร่งใส อย่างค้มุ ค่า ทุกสิทธ์ ิการรักษา - จดั เตรียมถงั ขยะรีไซเคิลและรณรงคใ์ หเ้ จา้ หนา้ ที่ทิ้งขยะใหถ้ กู ตอ้ ง 3R - แยกขยะใหถ้ กู ประเภทเพ่ือลดความเส่ียง/อนั ตรายที่อาจจะเกิดกบั เจา้ หนา้ ที่ท่ีเกบ็ ขยะ - แยกขยะติดเช้ือใหถ้ กู ตอ้ งเพ่ือลดค่าใชจ้ ่ายในการทาลายขยะติดเช้ือ - แจง้ ค่ารักษาพยาบาล อุปกรณ์และเวชภณั ฑท์ ่ีนอกเหนือสิทธิการรักษาให้ผปู้ ่ วยและ ญาติทราบและสามารถตรวจสอบยอดค่ารักษาพยาบาลไดต้ ลอดเวลา - นาขยะ Recycle มาขายเพอื่ ใหเ้ กิดรายได้ โดยไม่ทิ้งใหส้ ูญเปล่า เช่น การขายขวดน้า กระดาษลงั หนงั สือ ขวดแกว้ เป็นตน้ - ใชก้ ระเป๋ าผา้ /กลอ่ งอาหารส่วนตวั เพื่อลดการใชถ้ ุงพลาสติก - วสั ดุ/อปุ กรณ์ท่ีใชซ้ ้าไดใ้ หน้ ากลบั มาใชใ้ หม่ เช่น ถุงกระดาษ กระดาษหนา้ เดียว - จดั เตรียมถงั ขยะรีไซเคิลและรณรงคใ์ หเ้ จา้ หนา้ ท่ีทิ้งขยะใหถ้ กู ตอ้ ง - แยกขยะติดเช้ือใหถ้ กู ประเภทเพ่ือลดค่าใชจ้ ่ายในการทาลายขยะติดเช้ือ

ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม HA I-1.2ก(3), I-1.2ข, I-1.2ค ประเดน็ ทเี่ กยี่ วข้องกบั หน่วยงาน บทบาทของหน่วยงาน การรักษา ประหยดั พลงั งาน  รณรงคใ์ หเ้ จา้ หนา้ ท่ีทุกคนร่วมกนั ประหยดั พลงั งานไฟ ฟ้ า โดยการชว่ ยกนั ปิ ด สิ่งแวดลอ้ ม การกาจดั ของเสียที่เกิดจาก ไฟ ปิ ดแอร์ ในจุดท่ีไม่ไดใ้ ชง้ าน เช่น หอ้ งเกบ็ เคร่ืองมือแพทย์ หอ้ งรับประทาน หน่วยงาน อาหาร หอ้ งน้า หอ้ งเปลี่ยนเส้ือผา้  ปิ ดคอมพิวเตอร์หรือปริ๊นส์เตอร์ในช่วงท่ีไม่ไดใ้ ชง้ าน เช่น เวรดึก หรือช่วงที่มี ผปู้ ่ วยจานวนนอ้ ย  ปิ ดไฟในช่วงผปู้ ่ วยพกั หลบั หรือในช่วงเวรดึก (กรณีไม่มีการทาหตั ถการ)  เปิ ดแอร์ในอุณหภูมิที่เหมาะสม  ปิ ดประตูตเู้ ยน็ ใหส้ นิท ดูแลไม่ใหม้ ีน้าแขง็ เกาะในตูเ้ ยน็ มากเกินไป  ดูแลปิ ดก๊อกน้าใหส้ นิทหลงั การใชง้ านทุกคร้ัง  แยกขยะติดเช้ือใหถ้ กู ประเภท เพ่อื ป้ องกนั อนั ตรายท่ีจะเกิดกบั ผอู้ ื่น ประเดน็ จริยธรรม การใหข้ อ้ มูลเพื่อการตดั สินใจ  ประสานงานแพทยเ์ จา้ ของไขใ้ นการใหข้ อ้ มูลและใหผ้ ปู้ ่ วย/ญาติรับทราบและ การเคารพสิทธิผรู้ ับบริการ เคารพการตดั สินใจของผรู้ ับบริการ  เซ็นใบยนิ ยอมก่อนการทาผา่ ตดั หรือหตั ถการต่าง ๆ

ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม HA I-1.2ก(3), I-1.2ข, I-1.2ค ประเดน็ ทเี่ กย่ี วข้องกบั หน่วยงาน บทบาทของหน่วยงาน การเก้ือหนุน ใหค้ วามรู้แก่ผรู้ ับบริการ/  ใหส้ ุขศกึ ษาผปู้ ่ วยและญาติก่อนจาหน่ายโดยทาเป็นระบบ Discharge planning สังคม ประชาชน  วางแผนจดั ทา Website หน่วยงาน เพอื่ เป็นช่องทางสื่อสาร/ประชาสมั พนั ธ์ ขอ้ มลู /ข่าวสารความรู้ต่างๆเกี่ยวกบั โรคระบบการหายใจและโรคอุบตั ิใหม่แก่ การเก้ือหนุน เศรษฐกิจ ผรู้ ับบริการและบุคคลทวั่ ไป  การจดั ประชุมวชิ าการประจาปี เพื่อใหบ้ ุคลากรทางการแพทยท์ ้งั ภายในและ ภานนอกโรงพยาบาลไดร้ ับความรู้ท่ีทนั สมยั ช่วยลดค่าใชจ้ ่ายผปู้ ่ วย / ลดตน้ ทุน  กากบั ติดตามการ key เวชภณั ฑข์ องผปู้ ่ วยตามความเป็นจริง รวมถึงการลงขอ้ มูล ในหน่วยงาน / เพ่ิมมลู ค่าให้ การทาหตั ถการต่างๆ ในเวชระเบียนใหค้ รบถว้ นเพื่อให้ Coder สามารถลงรหสั ในการ หน่วยงานหรือโรงพยาบาล เบิกเงินค่ารักษาพยาบาลจากตน้ สงั กดั ของผปู้ ่ วยไดถ้ กู ตอ้ ง  ดูแลผปู้ ่ วยไม่ใหเ้ กิดภาวะแทรกซอ้ นขณะรักษาในโรงพยาบาล เช่น การตดิ เช้ือ VAP, CAUTI, CLABSI และเช้ือด้ือยา รวมท้งั ป้ องกนั การเกิดอุบตั ิการณ์ไม่พึง ประสงคต์ ่างๆ เพื่อลดค่าใชจ้ ่ายของผปู้ ่ วยและลดตน้ ทุนของโรงพยาบาล

การสนับสนุนกลยุทธ์ ขององค์กร HA I-2.1 I-2 กลยทุ ธ์ ข้อมูลขององค์กร บทบาทของหน่วยงาน วสิ ัยทศั น์ TUH 4.0 ORGANIZATION OF THE FUTURE  สร้าง OKRs หน่วยงานตามแผนยทุ ธศาสตร์ของ รพ. และนามาเป็น ขององค์กร เป้ าหมายในการพฒั นาหน่วยงาน FOR ALL  สร้าง OKRs รายบุคคลเพอื่ ใหเ้ ป้ าหมายการพฒั นาหน่วยงานสาเร็จ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ 4.0 มุ่งสู่องคก์ รแห่งอนาคต เพ่ือประชาชน พนั ธกจิ ของ 1. ใหค้ วามเป็นเลิศดา้ นการพยาบาล การฟ้ื นฟู การ  สนบั สนุนและมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนของคณะต่าง ๆ และเป็น องค์กร ป้ องกนั โรคและการสร้างเสริมสุขภาพแก่ประชาชน แหล่ง ฝึ กที่มีคุณภาพใหก้ บั นกั ศึกษาแพทย/์ พยาบาล/เภสชั /สหเวช 2. สนบั สนุนและมีส่วนร่วมกบั คณะต่าง ๆ ใหเ้ กิด  ส่งบุคลากรในหน่วยงานเป็นวิทยากรเพ่ือใหค้ วามรู้เฉพาะทาง การเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ เพื่อผลิตบณั ฑิตท่ี  วางแผนจดั ทา Website ของหน่วยงานเพ่อื เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกบั โรค มีคุณภาพสู่สงั คม ระบบการหายใจ โรค COVID-19 และโรคอุบตั ิใหม่สู่บุคลากรและประชาชน 3. เป็นองคก์ รทางวิชาการท่ีสนบั สนุนช้ีนาสงั คมและ  จดั อบรมวชิ าการภายในหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การดแู ลรักษาพยาบาล ชุมชน ผปู้ ่ วยระบบการหายใจ โรค COVID-19 และโรคอบุ ตั ิใหม่ ท้งั พยาบาล ผชู้ ่วย 4. สร้างและสนบั สนุนงานวิจยั และนวตั กรรมที่ พยาบาล พนกั งานช่วยการบริการ ทรงคุณค่านาสู่การปฏิบตั ิเพ่อื ประชาชน  จดั วิชาการประจาปี ของหน่วยงานเพ่อื ใหค้ วามรู้เก่ียวกบั การดแู ลผปู้ ่ วยโรค ระบบการหายใจ และการรักษาพยาบาลที่ทนั สมยั ใหแ้ ก่แพทย์ พยาบาล ผชู้ ่วย พยาบาล และบุคลากรทางการแพทยท์ ี่เกี่ยวขอ้ ง  จดั ทานวตั กรรมเพ่อื ใชแ้ กป้ ัญหาในการทางาน รวมท้งั เผยแพรผ่ ลงาน

การสนับสนุนกลยุทธ์ ขององค์กร HA I-2.1 I-2 กลยทุ ธ์ ข้อมูลขององค์กร บทบาทของหน่วยงาน ความ 1) เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลยั และเป็นสถาบนั ฝึ กอบรม มีจานวน  สนบั สนุนการเรียนการสอนและเป็นแหลง่ ฝึ กใหค้ ณะ ได้เปรียบ สาขาหลกั และอนุสาขาท่ีฝึ กอบรมแพทยเ์ ฉพาะทางเท่ากบั 37 และ แพทยศาสตร์/พยาบาลศาสตร์/เภสชั ศาสตร์/สหเวชศาสตร์ เชิงกลยุทธ์ จานวนสาขาหลกั ท่ีฝึ กอบรมนกั ศึกษาแพทยเ์ ท่ากบั 17 สาขา และ  ใหค้ วามร่วมมือในการรับประสานงานกบั โรงพยาบาลอ่ืนๆ เพื่อรับผปู้ ่ วยมารักษาดูแลต่อ ใหบ้ ริการการรักษาโรคซบั ซอ้ นสูง  บุคลากรทุกคนพร้อมรับมือกบั ความเปล่ียนแปลงเพอื่ การ 2) มีความร่วมมือในการประสานงานระหวา่ งโรงพยาบาล กบั คณะ พฒั นาสู่ความเป็นเลิศในการดูแลรักษาผปู้ ่ วยโรคระบบการ สาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ ไดแ้ ก่ คณะแพทยศาสตร์ คณะ หายใจ โรค COVID-19 และโรคอบุ ตั ิใหม่ท่ีมีการแพร่กระจาย พยาบาลศาสตร์ คณะทนั ตแพทยศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะ ของเช้ือ สาธารณสุขศาสตร์ คณะเภสชั ศาสตร์ และวิทยาลยั แพทยศาสตร์  หน่วยงานมีหอ้ งระบบความดนั ลบที่มีศกั ยภาพในการรับ นานาชาติจุฬาภรณ์ ผปู้ ่ วยที่มีการแพร่กระจายของเช้ือ 3) บุคลากรส่วนใหญ่เป็นคนรุ่นใหม่พร้อมรับการพฒั นาและการ เปลี่ยนแปลง  หน่วยงานมีการพฒั นาสมรรถนะของพยาบาลใหท้ นั ต่อ 4) โครงสร้างและสิ่งแวดลอ้ มของโรงพยาบาลเหมาะสมในการ ความรู้ ทกั ษะและเทคโนโลยที ่ีทนั สมยั และบริบทของหน่วยงาน ใหบ้ ริการ ที่มีการรับผปู้ ่ วยโรคระบบการหายใจ โรค COVID-19 และโรค อุบตั ิใหม่ ความท้าทาย 1) ความคาดหวงั ของผรู้ ับบริการท่ีมากข้ึน  หน่วยงานมีเครื่องมือทางการแพทยท์ ่ีทนั สมยั เพียงพอ เชิงกลยุทธ์ 2) สมรรถนะของบุคลากร (มีบุคลากรท่ีจบใหม่จานวนมาก) สาหรับการรับผปู้ ่ วยโรคระบบการหายใจ โรค COVID-19 และ โรคอบุ ตั ิใหม่ 3) ความกา้ วหนา้ ทางดา้ นวชิ าการ เทคโนโลยี และเครื่องมือต่าง ๆ แนวทางการรักษาแบบใหม่

การสนับสนุนกลยุทธ์ ขององค์กร HA I-2.1 I-2 กลยทุ ธ์ โอกาสเชิงกลยทุ ธ์ ข้อมูลขององค์กร บทบาทของหน่วยงาน - Digital service - จดั ทาแบบสอบถามดว้ ย QR CODE สมรรถนะหลกั ของ - การใชน้ วตั กรรม - จดั ทาช่องทางส่ือสารผา่ นระบบ Line official องค์กร - การพฒั นากระบวนการทางาน - จดั ทา Website หน่วยงานเพือ่ เป็นช่องทางประชาสมั พนั ธ์และใหค้ วามรู้ - ลงบนั ทึกขอ้ มูลต่าง ๆ ของหน่วยงานโดยใชร้ ะบบ Google form - เป็นโรงพยาบาลระดบั มหาวทิ ยาลยั - จดั ทานวตั กรรมที่ช่วยในการส่ือสารสาหรับผปู้ ฏิบตั ิงานในห้องความดนั ลบ Supra Tertiary care Hospital - พฒั นากระบวนการทางานใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานและมีการติดตามผลลพั ธ์ อยา่ งต่อเนื่อง - Academic collaboration - Digital service - เป็นหน่วยงานที่ใหก้ ารดแู ลเฉพาะทางดา้ นระบบการหายใจและโรค COVID- 19 ซ่ึงมีอาจารยแ์ พทยเ์ ฉพาะทางที่เช่ียวชาญดา้ นระบบการหายใจ และทีม ความร่วมมอื กบั ภายนอก - Network บุคลากรท่ีใหก้ ารดูแลผปู้ ่ วยอยา่ งมีประสิทธิภาพ พร้อมท้งั มีเคร่ืองมือ/อุปกรณ์ - Benchmark ทางการแพทยท์ ี่ทนั สมยั - ส่งเสริมการเรียนการสอนและใชเ้ ทคโนโลยใี นการให้การดูแลรักษาพยาบาล ร่วมกบั ทีมสหสาขาวชิ าชีพ - จดั ทาแบบสอบถามดว้ ย QR CODE - จดั ทาช่องทางสื่อสารผา่ นระบบ Line official - จดั ทา Website หน่วยงานเพื่อเป็นช่องทางประชาสมั พนั ธแ์ ละใหค้ วามรู้ - ลงบนั ทึกขอ้ มลู ต่าง ๆ ของหน่วยงานโดยใชร้ ะบบ Google form - -

การถ่ายทอดจุดเน้นทก่ี ารปฏิบตั ิ และกลยุทธ์ HA I-1.1ค(3), I-2.2ก(2) เข็มม่งุ /จดุ เน้นทก่ี าร Purpose การตอบสนองและผล Performance ปฏิบตั เิ พอ่ื บรรลุ 1. อตั ราการลา้ งมือ 100% 1. ร้อยละ Hand hygiene ของบุคลากรในภาพรวม 71.08% 2. อตั ราการเกิดการติดเช้ือใน Process 2. อตั ราการเกิด VAP เท่ากบั 0 พนั ธกจิ โรงพยาบาลลดลง 3. อตั ราการเกิด CAUTI เท่ากบั 7.33 / 1000 Cath day (ปี 2563) - จดั อบรมบุคลากรโดย IC เร่ือง การลา้ งมือ 7 Steps, 5 4. อตั ราการเกิด CLABSI เท่ากบั 0 S (Safety) 1. มีการทบทวนบญั ชีรายการยา moments 5. อตั ราการติดเช้ือของบุคลากรจากการปฏิบตั ิงาน เท่ากบั 0 Hand Hygiene ที่ผปู้ ่ วยไดร้ ับทุกราย - จดั เตรียม Hand rub ที่ทางเขา้ หน่วยงาน บริเวณเตรียมยา 2. ไมเ่ กิด ME : ไดร้ ับยาไม่ หอ้ งเก็บของปลอดเช้ือ เพ่อื สะดวกในการลา้ งมือ 1. มีการทา Medication reconcile เท่ากบั 100% Medication ครบถว้ น/ไมต่ อ่ เน่ือง/ แพย้ าซ้า - ประเมินการลา้ งมือของทีมผดู้ ูแลทกุ เดือน 2. อบุ ตั ิการณ์การเกิด ME ที่เกี่ยวกบั การทา MR เท่ากบั 0 Reconciliation - กาหนดขอ้ หา้ ม ในการสวมใส่แหวน นาฬิกา ขณะ 3. อุบตั ิการณ์การแพย้ าซ้า เท่ากบั 0 (MR) การระบุตวั ผปู้ ่ วยถูกตอ้ ง ปฏิบตั ิงาน - ปฏิบตั ิตามแนวทางการควบคุมและป้ องกนั การติดเช้ือตาม 1.อตั ราความผดิ พลาดจากการระบุผดิ (คียใ์ บ X ray ผดิ คน / Patient มาตรฐาน IC ผิดชนิด) เท่ากบั 0 Identification 2. อุบตั ิการณ์การระบุตวั ในการส่งหตั ถการ/ผา่ ตดั ผดิ เท่ากบั - มีการทา Medication reconcile ทุกคร้ังเม่ือมีการรับผปู้ ่ วย 0 ใหม่ 3. อุบตั ิการณ์การระบุตวั ในการส่งส่ิงส่งตรวจผดิ เท่ากบั - มีการตรวจสอบยาท่ีผปู้ ่ วยไดร้ ับร่วมกบั ยาท่ีทา MR 1.98/1000 วนั นอน - มีการตรวจสอบขอ้ มูลการแพย้ า/แจง้ เภสชั กรกรณีผปู้ ่ วยมี 4. อบุ ตั ิการณ์การระบุตวั ในการเบิกยา/คืนยาผดิ เท่ากบั ประวตั ิแพย้ า 1.98/1000 วนั นอน - มีการ Double check ท่ีมี ชื่อ-สกลุ และ HN มาใชใ้ นการ ระบุตวั ผปู้ ่ วยในทุกข้นั ตอนการดูแล เช่น การเก็บสิ่งส่งตรวจ/ การส่งตรวจทางหอ้ งปฏิบตั กิ าร, การส่งผปู้ ่ วยไปหน่วยตรวจ ตา่ ง ๆ หรือการผา่ ตดั การระบุตวั ในข้นั ตอนการ X-ray การ ติดสติ๊กเกอร์ช่ือในใบเบิกยา/คืนยา

การถ่ายทอดจุดเน้นทก่ี ารปฏิบตั ิ และกลยุทธ์ HA I-1.1ค(3), I-2.2ก(2) เข็มมุ่ง/จดุ เน้นที่ การตอบสนองและผล การปฏิบัตเิ พอื่ บรรลพุ นั ธกจิ Purpose Process Performance - - (ปี 2563) ลดข้นั ตอนท่ีสูญเปล่าใน P (Process) กระบวนการใหบ้ ริการ วางแผนจดั ทา SOP เรื่อง แนวทางการรับผปู้ ่ วยภาวะ จดั ทา SOP เร่ือง แนวทางการรับผปู้ ่ วยภาวะวิกฤต Lean มีการสร้าง SOP/EBP ที่เกี่ยวขอ้ ง วิกฤต COVID-19 COVID-19 สาเร็จ 1 เรื่อง SOP/ EBP กบั การดูแลผปู้ ่ วย ปฏิบตั ิตาม OKRs ของหน่วยงาน เรื่อง ความพร้อม OKRs ประสบความสาเร็จตามเป้ าหมาย OKRs มี OKRs ของหน่วยงานเพ่ือสร้าง ในการรับผปู้ ่ วยวกิ ฤตโรคระบบการหายใจและผปู้ ่ วย เป้ าหมายการทางานใหเ้ ป็นไป COVID-19 ภายใน 30 นาที หลงั รับเวร Digital Service ตามแผนยทุ ธศาสตร์ของ รพ. - สร้างแบบสอบถามดว้ ย QR CODE - มีการนาแบบสอบถามไปใชใ้ นการในการปฏิบตั ิงาน ใช้ Digital Service เพื่อพฒั นา - วางแผนสร้างนวตั กรรมเพื่อใชแ้ กป้ ัญหาในการ - มีนวตั กรรมท่ีสามารถใชแ้ กป้ ัญหาในการทางานได้ และแกไ้ ขปัญหาในกระบวนการ ทางาน จริง ทางาน

การถ่ายทอดจุดเน้นทกี่ ารปฏิบตั ิ และกลยุทธ์ HA I-1.1ค(3), I-2.2ก(2) เข็มมุ่ง/จุดเน้นที่การปฏบิ ัติ การตอบสนองและผล เพอ่ื บรรลพุ นั ธกจิ (ปี 2563) Process E (Effective & Purpose - กาหนดมาตรฐานการสารองยา /คลงั เวชภณั ฑ์ Performance Efficient) และผา้ ของหน่วยงาน มีแนวทางการบริการจดั การ สารองยา /คลงั เวชภณั ฑแ์ ละผา้ ในหน่วยงาน - ไดร้ ับยา/เวชภณั ฑ/์ ผา้ ตามเวลาที่ Logistics ลดการสารองยา /คลงั กาหนด เวชภณั ฑแ์ ละผา้ ไดร้ ับ - การสารองเวชภณั ฑ์ 4 วนั = 90 % บริการที่รวดเร็ว พร้อมใช้ - การสารองยาพร้อมใช้ = 100 % - มีวสั ดุสารองและหมุนเวียนใชอ้ ยา่ ง Utilization 1. ลดการสารองวสั ดุของ - กาหนดมาตรฐานการสารองวสั ดุของหน่วยงาน เพียงพอ ไม่มากเกินความจาเป็น Management (UM) หน่วยงานมากเกินความ ใหเ้ หมาะสมกบั ปริมาณการใชง้ าน - มีการปรับลดอตั รากาลงั ให้ เหมาะสมกบั ภาระงานตามเกณฑข์ อง จาเป็นหรือการจดั การที่ไม่มี หน่วยงาน - ลดค่าใชจ้ ่ายที่เกิดจากการกลบั มา ประสิทธิภาพ นอนโรงพยาบาลซ้า - ยงั มีการใชเ้ ตียงไม่เหมาะสมใน 2. ทบทวนการจดั บริการท่ีใช้ - ลดอตั รากาลงั บุคลากรใหเ้ หมาะสมกบั ภาระงาน ผปู้ ่ วยบางราย บุคลากรมาก - ใหค้ วามรู้ผปู้ ่ วย/ญาติ ก่อนจาหน่าย 3. ลดการ Re-admit - ประสานงานกบั หน่วยเยย่ี มบา้ นในการติดตาม ผปู้ ่ วย 4. การใชเ้ ตียง ICU อยา่ ง - มีการทา Nursing round ร่วมกบั แพทยเ์ ก่ียวกบั เหมาะสม การใชเ้ ตียงอยา่ งเหมาะสม

การถ่ายทอดจุดเน้นทก่ี ารปฏิบตั ิ และกลยุทธ์ HA I-1.1ค(3), I-2.2ก(2) เข็มมุ่ง/จุดเน้นท่ีการปฏิบตั ิ การตอบสนองและผล เพอ่ื บรรลพุ นั ธกจิ (ปี 2563) Purpose Process Performance E (Effective & - แพทยแ์ ละพยาบาลลงบนั ทึก - พยาบาล Complete chart ทุกเวร และเกบ็ เอกสาร - ร้อยละของความสมบรู ณ์ของ Efficient) เวชระเบียน - ร้อยละของเวชระเบียนที่ส่งคืน Smart Record ภายในเวลา 72 ชว่ั โมง - อุบตั ิการณ์การสูญหายของ เวช สรุปแฟ้ มผปู้ ่ วยครบถว้ น ผปู้ ่ วยทุก 7 วนั โดยเกบ็ ในตเู้ กบ็ เอกสารเวช ระเบียน - อบุ ตั ิการณ์ที่เอกสารเวชระเบียน - หน่วยงานส่งคืนเวชระเบียน ระเบียนที่แยกเฉพาะผปู้ ่ วยแต่ละราย ผปู้ ่ วยไม่สามารถ Scan เขา้ ระบบ EMR ได้ ภายในเวลา 72 ชว่ั โมง - เจา้ หนา้ ที่ธุรการจดั เรียงเอกสารเวชระเบียนที่มี Barcode เพ่ือ Scan ผา่ นระบบ EMR โดยจดั เรียง ทุก 1 สปั ดาห์ - ติดตาม Operation note ภายใน 48 ชว่ั โมง - หน่วยงานส่งคืนเวชระเบียนภายในเวลา 72 ชว่ั โมง

การถ่ายทอดจุดเน้นทกี่ ารปฏิบตั ิ และกลยุทธ์ HA I-1.1ค(3), I-2.2ก(2) เขม็ มุ่ง/จดุ เน้นท่ีการปฏิบัติ การตอบสนองและผล เพอื่ บรรลุพนั ธกจิ (ปี 2563) C (Clinical Quality) Purpose Process Performance Preventable Death ทบทวนกระบวนการดแู ลรักษาตาม มีการทบทวนกรณีผปู้ ่ วยท่ีอยใู่ นเกณฑ์ ไดแ้ นวทางในการป้ องกนั การเสียชีวิตใน มาตรฐาน Preventable death ผปู้ ่ วยที่อยใู่ นกล่มุ Preventable death Disease Specific - - - Certification (DSC) Innovation เพอ่ื แกไ้ ขปัญหาในการทางาน และ วางแผนสร้างนวตั กรรมเพอ่ื แกป้ ัญหา อยใู่ นระยะยนื่ เสนอขออนุมตั ิโครงการ สามารถเป็นตน้ แบบใหก้ บั หน่วยงาน หนา้ งาน โดยบุคลากรมีความพึงพอใจ อ่ืนได้ ต่อการใชน้ วตั กรรม

การถ่ายทอดจุดเน้นทก่ี ารปฏิบตั ิ และกลยุทธ์ HA I-1.1ค(3), I-2.2ก(2) เขม็ มุ่ง/จดุ เน้นทกี่ าร การตอบสนองและผล ปฏบิ ตั เิ พอื่ บรรลุ พนั ธกจิ (ปี 2564) S (Safety) Purpose Process Performance Drug Resistance การติดเช้ือด้ือยา - มีการใหค้ วามรู้แก่บุคลากรใหม่ และทบทวนความรู้ใน - บุคลากรปฏิบตั ิตามแนวทางการป้ องกนั การแพร่กระจายเช้ือ Infection บุคลากรเดิม เก่ียวกบั เร่ืองการลา้ งมือ การป้ องกนั การ ด้ือยา แพร่กระจายเช้ือด้ือยา - ยงั มีผปู้ ่ วยติดเช้ือด้ือยาอยู่ - กระตุน้ ใหบ้ ุคลากรปฏิบตั ิตามแนวทางการป้ องกนั การ แพร่กระจายเช้ือด้ือยาอยา่ งเคร่งครัด - มีการใชก้ ระบวนการ PDCA ในการป้ องกนั การติดเช้ือด้ือยา ระหวา่ งผปู้ ่ วย - ติดตามอตั ราการเกิดการติดเช้ือด้ือยาของผปู้ ่ วยในหน่วยงาน Patient การระบุตวั ผปู้ ่ วย - มีการ Double check ที่มี ชื่อ-สกลุ และ HN มาใชใ้ นการ 1.อตั ราความผิดพลาดจากการระบุผิด (คียใ์ บ X ray ผดิ คน / Identification ระบุตวั ผปู้ ่ วยในทุกข้นั ตอนการดูแล เช่น การเก็บสิ่งส่งตรวจ/ ผดิ ชนิด) เท่ากบั 0 การส่งตรวจทางหอ้ งปฏิบตั กิ าร, การส่งผปู้ ่ วยไปหน่วยตรวจ 2. อุบตั ิการณ์การระบุตวั ในการส่งหตั ถการ/ผา่ ตดั ผดิ เท่ากบั ตา่ ง ๆ หรือการผา่ ตดั การระบุตวั ในข้นั ตอนการ X-ray การ ติดสต๊ิกเกอร์ชื่อในใบเบิกยา/คืนยา 0 3. อบุ ตั ิการณ์การระบุตวั ในการส่งส่ิงส่งตรวจผดิ เท่ากบั 0.74/1000 วนั นอน 4. อุบตั ิการณ์การระบุตวั ในการเบิกยา/คืนยาผดิ เท่ากบั 0.37/1000 วนั นอน Administration กระบวนการบริหารความ -ทบทวนความรู้เก่ียวกบั การบริหารยา และกระตนุ้ ให้ - อตั ราการเกิดความคลาดเคลื่อนดา้ นการบริหารยาทวั่ ไป Error คลาดเคลื่อนดา้ นยา บุคลากรปฏิบตั ิตามแนวทางการบริหารยาอยา่ งเคร่งครัด เท่ากบั 4.83 -นาแนวทางท่ีไดจ้ ากการทา RCA เกี่ยวกบั เรื่องความ - อตั ราการเกิดความคลาดเคล่ือนดา้ นการบริหารยา HAD เท่ากบั 1.86 คลาดเคล่ือนดา้ นยามาปรับใช้ - ติดตามอตั ราการเกิดความคลาดเคล่ือนดา้ นยา - การเขา้ ร่วม KM การบริหารยาในสาขาการพยาบาลหอ ผปู้ ่ วยวกิ ฤต เพ่ือป้ องกนั การเกิดความคลาดเคลื่อนดา้ นยา

การถ่ายทอดจุดเน้นทก่ี ารปฏบิ ตั ิ และกลยุทธ์ HA I-1.1ค(3), I-2.2ก(2) เขม็ มุ่ง/จดุ เน้นท่ี การตอบสนองและผล การปฏบิ ตั เิ พอ่ื บรรลุพนั ธกจิ Purpose Process Performance แนวคิดการลดข้นั ตอนที่สูญเปลา่ (ปี 2564) - จดั ทาช่องทางส่ือสารโดยใชร้ ะบบ Line official (มี - ผรู้ ับบริการที่สามารถส่ือสารผา่ นช่องทาง Line เมนูต่างๆใหผ้ ปู้ ่ วยเลือกใช้ เช่น การออกกาลงั กาย official มีการใชช้ ่องทางน้ีในการสื่อสาร 100% P (Process) เพ่ือฟ้ื นฟสู มรรถภาพปอดผปู้ ่ วย COVID-19 เป็นตน้ ) - บุคลากรใชช้ ่องทาง Line official ในการสื่อสาร Lean ขอ้ มลู ผปู้ ่ วยท่ีรับใหม่/รับ Refer 100% - เป็นช่องทางในการสื่อสารระหวา่ งบุคลากรกบั ผปู้ ่ วย เช่น การซกั ประวตั ิ การอบถามขอ้ มลู ต่างๆเกี่ยวกบั ผปู้ ่ วย ช่วยลดข้นั ตอนการใส่ชุด PPE และลด ระยะเวลาในการสื่อสาร รวมท้งั การป้ องกนั การเกิด ความคลาดเคล่ือนในการส่ือสาร - มีเมนูท่ีช่วยลดระยะเวลาในการใหค้ วามรู้และ คาแนะนา Digital Service ระบบริการดิจิตอล - จดั ทาแบบสอบถามดว้ ย QR CODE - มีการนาแบบสอบถามไปใชใ้ นการในการปฏิบตั ิงาน 100% - จดั ทานวตั กรรมที่ช่วยในการสื่อสารสาหรับ - มีนวตั กรรมท่ีสามารถใชแ้ กป้ ัญหาในการทางานได้ ผปู้ ฏิบตั ิงานในหอ้ งความดนั ลบ จริง นวตั กรรมอยใู่ นระยะทดลองใช้ Best Practice แนวปฏิบตั ิท่ีดี --

การถ่ายทอดจุดเน้นทกี่ ารปฏบิ ตั ิ และกลยุทธ์ HA I-1.1ค(3), I-2.2ก(2) เข็มมุ่ง/จดุ เน้นทกี่ ารปฏบิ ัติ การตอบสนองและผล เพอื่ บรรลพุ นั ธกจิ (ปี 2564) Process E (Effective & Purpose - กาหนดมาตรฐานการสารองยา /คลงั เวชภณั ฑ์ Performance Efficient) และผา้ ของหน่วยงาน มีแนวทางการบริการจดั การ สารองยา /คลงั เวชภณั ฑแ์ ละผา้ ในหน่วยงาน - ไดร้ ับยา/เวชภณั ฑ/์ ผา้ ตามเวลาท่ี Logistics ระบบการจดั การการขนส่ง กาหนด ในระบบบริการสุขภาพท่ีมี - กาหนดมาตรฐานการสารองวสั ดุของหน่วยงาน - การสารองเวชภณั ฑพ์ ร้อมใช้ ประสิทธิภาพ ใหเ้ หมาะสมกบั ปริมาณการใชง้ าน - การสารองยาพร้อมใช้ - ลดอตั รากาลงั บุคลากรใหเ้ หมาะสมกบั ภาระงาน Utilization การบริหารทรัพยากร - ใหค้ วามรู้ผปู้ ่ วย/ญาติ ก่อนจาหน่าย - มีวสั ดุสารองและหมุนเวยี นใชอ้ ยา่ ง - ประสานงานกบั หน่วยเยย่ี มบา้ นในการติดตาม เพียงพอ ไม่มากเกินความจาเป็น Management (UM) สุขภาพ ผปู้ ่ วย - มีการปรับลดอตั รากาลงั ให้ - มีการทา Nursing round ร่วมกบั แพทยเ์ ก่ียวกบั เหมาะสมกบั ภาระงานตามเกณฑข์ อง การใชเ้ ตียงอยา่ งเหมาะสม หน่วยงาน - ลดค่าใชจ้ ่ายที่เกิดจากการกลบั มา นอนโรงพยาบาลซ้า - มีการใชเ้ ตียง ICU อยา่ งเหมาะกบั อาการของผปู้ ่ วย

การถ่ายทอดจุดเน้นทก่ี ารปฏิบตั ิ และกลยุทธ์ HA I-1.1ค(3), I-2.2ก(2) เขม็ มุ่ง/จุดเน้นทก่ี ารปฏบิ ัติ การตอบสนองและผล เพอื่ บรรลพุ นั ธกจิ (ปี 2564) Purpose Process Performance E (Effective & การนาระบบเทคโนโลยี - มีการบนั ทึกทางการพยาบาลในเอกสารบางส่วน - มีการใช้ Nursing E-record ผา่ น Efficient) ระบบ e-Phis ในการทาแบบ สารสนเทศมาช่วยในการบนั ทึก โดยใช้ Electronic record บนั ทึก 3 แบบ ไดแ้ ก่ 1) Barden Smart Record Risk 2) 11 แบบแผนสุขภาพ และ3) แบบประเมินความเส่ียงต่อการ พลดั ตกหกลม้ - วางแผนการบนั ทึกทางการพยาบาล (Nurse’s Note) ในระบบ Electronic record ตามโครงการ ของคณะกรรมการพฒั นาระบบบนั ทึกทางการ พยาบาล ฝ่ ายการพยาบาล (ในปี งบประมาณ 2565)

การถ่ายทอดจุดเน้นทกี่ ารปฏบิ ตั ิ และกลยุทธ์ HA I-1.1ค(3), I-2.2ก(2) เข็มมุ่ง/จดุ เน้นท่ีการปฏบิ ัติ การตอบสนองและผล เพอ่ื บรรลุพนั ธกจิ (ปี 2564) C (Clinical Quality) Purpose Process Performance Preventable Death การเสียชีวติ แบบป้ องกนั ได้ มีการทบทวนกรณีผปู้ ่ วยที่อยใู่ นเกณฑ์ ยงั ไม่มีผปู้ ่ วยที่อยใู่ นเกณฑ์ Preventable Preventable death death Disease Specific DSC การป้ องกนั เฉพาะโรค -- Certification (DSC) นวตั กรรมทางคลินิก สร้างนวตั กรรมเพอ่ื แกป้ ัญหาหนา้ งาน อยใู่ นระยะรวบรวมปัญหาเพื่อจดั สร้าง Clinical Innovation โดยบุคลากรมีความพงึ พอใจต่อการใช้ นวตั กรรมมาช่วยในการแกป้ ัญหาในการ นวตั กรรม ทางานจริง

การถ่ายทอดจุดเน้นทกี่ ารปฏบิ ตั ิ และกลยุทธ์ HA I-1.1ค(3), I-2.2ก(2) แผนกลยทุ ธ์เกยี่ วกบั การดูแลผู้ป่ วย การตอบสนองและผล ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 : สร้างระบบบริการและการ รักษาพยาบาลทล่ี า้ สมยั เป้ าประสงคท์ ี่ 1: พฒั นาศนู ยค์ วามเป็นเลิศดา้ นการ รักษา เป้ าประสงคท์ ี่ 2 : พฒั นาระบบบริการที่ล้าสมยั - มีความพร้อมในการรับผปู้ ่ วยวิกฤตโรคระบบการหายใจและผปู้ ่ วย COVID-19 หรือผปู้ ่ วย วกิ ฤตท่ีตอ้ งไดร้ ับการรักษาตวั ในหอ้ งความดนั ลบ เป้ าประสงคท์ ่ี 3 : ปรับประสบการณ์การใชบ้ ริการโดย ใชเ้ ทคโนโลยแี ละล้าสมยั ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 2 : สร้างระบบบริหารทม่ี ี - การพฒั นาบุคลากรโดยการส่งบุคลากรเขา้ ร่วมอบรม/ประชุมวิชาการที่เก่ียวขอ้ งในการ ประสิทธภิ าพ ดแู ลผปู้ ่ วยวกิ ฤต โรคระบบการหายใจ โรค COVID-19 และความรู้อื่นๆท่ีเก่ียวขอ้ ง และการ จดั กิจกรรมวิชาการภายในหน่วยงานทุกเดือน เป้ าประสงคท์ ี่ 1: พฒั นาบุคลากรสู่ความเป็นเลิศ - หน่วยงานลงขอ้ มูลโรค การทาหตั ถการ/การผา่ ตดั ใหถ้ ูกตอ้ งครบถว้ น และส่งคืนแฟ้ มเวช ระเบียนภายในเวลาท่ีกาหนด เพื่อให้ Coder สามารถลงรหัสโรคในระบบได้ครบถว้ น เป้ าประสงคท์ ี่ 2 : สร้างระบบการเงินการคลงั ที่มนั่ คง สมบูรณ์ ทาใหเ้ รียกเกบ็ เงินกบั หน่วยงานตน้ สงั กดั ท่ีผปู้ ่ วยใชส้ ิทธ์ิไดม้ ากข้ึน และมีประสิทธิภาพ - ปรับเวชภณั ฑส์ ารองคลงั ใหเ้ หมาะสม และตรวจสอบไม่ใหม้ ีเวชภณั ฑท์ ่ีหมดอายุ - เบิกเวชภณั ฑก์ บั ผปู้ ่ วยอยา่ งถกู ตอ้ งและครบถว้ น เป้ าประสงคท์ ี่ 3 : บริหารจดั การคลงั และโลจิสติกส์ - สารองเวชภณั ฑใ์ นหน่วยงานใหเ้ หมาะสมตามเกณฑก์ าหนดของโรงพยาบาล สมยั ใหม่

การถ่ายทอดจุดเน้นทกี่ ารปฏิบตั ิ และกลยุทธ์ HA I-1.1ค(3), I-2.2ก(2) แผนกลยุทธ์เกย่ี วกบั การดูแลผู้ป่ วย การตอบสนองและผล ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 : สร้างระบบพฒั นาคุณภาพเพอื่ ความ - มี Product innovation เร่ือง เวบ็ แอปพลิเคชนั่ เพอื่ การสื่อสารอยา่ งเขา้ ใจสาหรับ ยง่ั ยนื บุคลากรทางการแพทยใ์ นสถานการณ์โควดิ -19 อยใู่ นระยะทดลองใช้ - มีโครงการ RCU น่าอยู่ ดูแลใหม้ ีส่ิงแวดลอ้ มที่น่าอยแู่ ละปลอดภยั เป้ าประสงคท์ ่ี 1: พฒั นาระบบรองรับสนบั สนุนการสร้าง - มีแผนรองรับอคั คีภยั ของหน่วยงาน และวางแผนซอ้ มอคั คีภยั อยา่ งนอ้ ยปี ละ 1 งานวจิ ยั และนวตั กรรม คร้ัง - รณรงคใ์ หบ้ ุคลากรช่วยกนั ประหยดั น้า ไฟฟ้ า กระดาษ และหมึกพมิ พ์ เป้ าประสงคท์ ี่ 2 : สร้างระบบส่ิงแวดลอ้ มเพ่ือความยง่ั ยนื - รณรงคก์ ารแยกขยะ การใชถ้ งุ ผา้ มีการเกบ็ ตวั ช้ีวดั ทุกเดือนเร่ืองปริมาณขยะรี ไซเคิล เป้ าประสงคท์ ่ี 3 : พฒั นาคุณภาพสู่ความเป็นเลิศ - พร้อมรับผปู้ ่ วยวกิ ฤตโรคระบบการหายใจและผปู้ ่ วย COVID-19 หรือผปู้ ่ วยวกิ ฤต ท่ีตอ้ งไดร้ ับการรักษาตวั ในหอ้ งความดนั ลบ ภายใน 30 นาทีหลงั การรับเวร ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 4 : มุ่งสู่องค์กรแห่งอนาคต - มีการติดตามและพฒั นาใหต้ วั ช้ีวดั ทางคลินิกเป็นไปตามเป้ าหมายที่กาหนด เป้ าประสงคท์ ี่ 1: พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีทนั สมยั - จดั ทาช่องทางส่ือสารสาหรับบุคลากรและผปู้ ่ วย เพอ่ื ใหก้ ารส่ือสารสะดวก เป้ าประสงคท์ ี่ 2 : เป็นองคก์ รแห่งวิชาการ สร้างองคค์ วามรู้เพือ่ รวดเร็ว ถกู ตอ้ ง โดยใชร้ ะบบ Line official ช้ีนาสงั คม - มีการจดั ประชุมวชิ าการประจาปี 1st Annual Meeting of Respiratory Care Unit, Thammasat University Hospital เป้ าประสงคท์ ่ี 3: สนบั สนุนการสร้างเครือข่าย

ความต้องการของผู้รับบริการ HA I-3.1, I-3.2ก(1), I-6.1ก(1) I-3 ผ้ปู ่ วย / ผู้รับผลงาน ลกั ษณะของผู้รับบริการ ความต้องการ กลุ่มผปู้ ่ วยโรคระบบการหายใจ ผปู้ ่ วยโรค COVID-19 อยากหาย กลวั ตาย อยากกลบั บา้ น คิดถึงหลาน ญาติผปู้ ่ วย กลวั สิ้นเปลืองค่าใชจ้ ่าย กลวั ลูกหลานลาบาก เป็ นห่วงคนในครอบครัวท่ีติดเช้ือพร้อมกนั ญาติผปู้ ่ วย COVID-19 ยงุ เยอะ ยงุ กดั อยากเขา้ เยย่ี มไดท้ ีละหลายคน ไม่อยากใหผ้ ปู้ ่ วยยา้ ยออกจากไอซียู ไม่อยากพาผปู้ ่ วยกลบั บา้ น อยากใหร้ ักษาจนเดินไดค้ ่อยพากลบั บา้ น อยากคุยกบั หมอ อยากเขา้ เยย่ี มผปู้ ่ วยไดต้ ลอดเวลา อยากนอนเฝ้ าผปู้ ่ วย อยากถ่ายรูปผปู้ ่ วย หรือ VDO Call ไปใหญ้ าติคนอ่ืนดู อยากใหเ้ ดก็ เขา้ เยย่ี มได้ อยากนาอาหารเขา้ มารับประทานร่วมกบั ผปู้ ่ วย อยากซ้ืออาหาร/เคร่ืองดื่มที่ผปู้ ่ วยชอบมาใหผ้ ปู้ ่ วยกิน กลวั ผปู้ ่ วยอาการหนกั ข้ึน กลวั ผปู้ ่ วยเสียชีวติ อยากเห็นผปู้ ่ วยผา่ นกลอ้ งหรือรูปถ่าย อยากไดร้ ับยาที่ดีที่สุด ไม่อยากใหเ้ ช้ือลงปอด อยากใส่ชุด PPE เขา้ ไปเยย่ี มผปู้ ่ วยสกั คร้ัง

ความต้องการของผู้รับบริการ HA I-3.1, I-3.2ก(1), I-6.1ก(1) I-3 ผู้ป่ วย / ผู้รับผลงาน ความต้องการของผ้รู ับบริการ คุณลกั ษณะของบริการ/ผลติ ภณั ฑ์ ข้อกาหนดของบริการ/ผลติ ภณั ฑ์ (Customer Requirement) I-3.1 (Service/Product Offering) I-3.2ก(1) (Service/Product Requirement) I-6.1ก(1) ผปู้ ่ วย : - ดแู ลรักษาตามมาตรฐานวชิ าชีพ ออกแบบบริการ - อยากหาย / กลวั ตาย - ดูแลรักษาตามแนวทาง (Guideline) ของแต่ละ - ใหข้ อ้ มลู ผปู้ ่ วยทุกวนั ทุกเวร หรือเม่ือผปู้ ่ วยอยากทราบ - อยากกลบั บา้ น โรค ขอ้ มูล - คิดถึงหลาน - การหาแหล่งช่วยเหลือเก่ียวกบั ปัญหาดา้ น - ประสานงานกบั แพทยเ์ ก่ียวกบั การใหข้ อ้ มลู เรื่องการ - กลวั สิ้นเปลืองค่าใชจ้ ่าย เศรษฐานะ ดาเนินของโรค แผนการรักษา - กลวั ลกู หลานลาบาก - การวางแผนจาหน่าย/ส่งต่อ - ยดื หยนุ่ เวลาในการเขา้ เยยี่ มและอนุญาตให้ใช้ Video call - ยงุ เยอะ ยงุ กดั - การจดั การดา้ นส่ิงแวดลอ้ มเพ่ือความปลอดภยั ในการสื่อสาร(ในระยะเวลาที่ไม่นานเกินไป) เพ่ือใหเ้ ห็น - เป็นห่วงคนในครอบครัวที่ติด หนา้ หลานหรือญาติที่ผปู้ ่ วยคิดถึง เช้ือพร้อมกนั - ประเมินดา้ นเศรษฐานะของผปู้ ่ วยและครอบครัว - ส่งปรึกษาสงั คมสงเคราะห์ - ประสานงานศนู ยเ์ ยย่ี มบา้ น - ประสานคณะกรรมส่ิงแวดลอ้ ม เพื่อประเมินและหาแนว ทางแกไ้ ขเก่ียวกบั ปัญหาส่ิงแวดลอ้ มในหน่วยงาน - กรณีผปู้ ่ วย COVID-19 ใหข้ อ้ มลู และกาลงั ใจ อนุญาตให้ ผปู้ ่ วยใชโ้ ทรศพั ท/์ VDO Call คุยกบั ญาติได้

ความต้องการของผู้รับบริการ HA I-3.1, I-3.2ก(1), I-6.1ก(1) I-3 ผู้ป่ วย / ผู้รับผลงาน ความต้องการของผ้รู ับบริการ คุณลกั ษณะของบริการ/ผลติ ภณั ฑ์ ข้อกาหนดของบริการ/ผลติ ภณั ฑ์ (Customer Requirement) I-3.1 (Service/Product Offering) I-3.2ก(1) (Service/Product Requirement) I-6.1ก(1) ญาติผปู้ ่ วย : -ระเบียบการเยยี่ มของโรงพยาบาล ออกแบบบริการ - อยากเขา้ เยยี่ มไดท้ ีละหลายคน -การใหข้ อ้ มูลแก่ญาติ - อธิบายใหญ้ าติเขา้ ใจเหตุผลถึงระเบียบการเยยี่ ม - ประสานงานใหแ้ พทยอ์ ธิบายเหตุผลที่ตอ้ งใหผ้ ปู้ ่ วยยา้ ยออกจากไอซียู (เช่น - ไมอ่ ยากใหผ้ ปู้ ่ วยยา้ ยออกจากไอซียู -การใชส้ ื่อ Social สาหรับผรู้ ับบริการภายใตพ้ รบ. อาการดีข้ึน Palliative case) และเหตผุ ลท่ีตอ้ งใหญ้ าติดูแลผปู้ ่ วยต่อท่ีบา้ น (ตาม แผนการจาหน่าย) - ไมอ่ ยากพาผปู้ ่ วยกลบั บา้ น อยากใหร้ ักษาจนเดิน คอมพวิ เตอร์ - อธิบายใหญ้ าติเขา้ ใจเหตผุ ลถึงการจากดั อาหารของผปู้ ่ วย ตอ้ งควบคุมชนิด และปริมาณของอาหาร และผปู้ ่ วยบางรายไมส่ ามารถรับประทานอาหารทาง ไดค้ ่อยพากลบั บา้ น - การวางแผนจาหน่าย/ส่งต่อ ปากได้ - อยากคุยกบั หมอ - ใหก้ ารรักษาผปู้ ่ วยตามมาตรฐาน/แนวทางการดูแล - ยดื หยนุ่ เวลาในการเขา้ เยย่ี มและอนุญาตใหใ้ ช้ Video call ในการสื่อสาร(ใน ระยะเวลาที่ไมน่ านเกินไป) เพื่อใหเ้ ห็นหนา้ หลานหรือญาติท่ีผูป้ ่ วยคิดถึง - อยากเขา้ เยยี่ มผปู้ ่ วยไดต้ ลอดเวลา ผปู้ ่ วย COVID-19 - ยดื หยนุ่ ใหเ้ ดก็ อายมุ ากกวา่ 10 ปี ที่มีสุขภาพแขง็ แรง เขา้ เยี่ยมไดใ้ นระยะเวลา ไม่เกิน 5 นาที (จะอนุญาตใหเ้ ขา้ เยยี่ มเฉพาะกรณีที่ไม่มีผปู้ ่ วยติดเช้ืออยใู่ น - อยากนอนเฝ้ าผปู้ ่ วย หน่วยงานเท่าน้นั ) - ในกรณีท่ีแพทยอ์ นุญาต ไม่ขดั ต่อแผนการรักษา ญาติสามารถนาอาหาร/ - อยากถา่ ยรูปผปู้ ่ วย หรือ VDO Call ไปใหญ้ าติ เครื่องดื่ม มาใหผ้ ปู้ ่ วยรับประทานได้ คนอื่นดู - อธิบายใหญ้ าติเขา้ ใจเกี่ยวกบั วา่ ไมส่ ามารถใส่ชุด PPE เขา้ เยยี่ มได้ เนื่องจากมี ความเส่ียงตอ่ การติดเช้ือ - อยากใหเ้ ด็กเขา้ เยยี่ มได้ - อธิบายใหญ้ าติผปู้ ่ วย COVID-19 รับทราบวา่ ทีมบุคลากรใหก้ ารดูแลตาม มาตรฐาน/แนวทางการรักษาโรค เพอ่ื ไม่ใหอ้ าการรุนแรง - อยากนาอาหารเขา้ มารับประทานร่วมกบั ผปู้ ่ วย - ยดื หยนุ่ ใหญ้ าติผปู้ ่ วย COVID-19 ท่ีอาการไมค่ งที่/มีภาวะวกิ ฤตมาก สามารถ เขา้ มาดูอาการผปู้ ่ วยผา่ นกลอ้ งวงจรปิ ดไดใ้ นระยะเวลาส้นั ๆ - อยากซ้ืออาหาร/เครื่องดื่มท่ีผปู้ ่ วยชอบมาให้ ผปู้ ่ วยกิน ญาติผปู้ ่ วย COVID-19 : กลวั ผปู้ ่ วยอาการหนกั ข้ึน กลวั ผปู้ ่ วยเสียชีวติ อยากเห็นผปู้ ่ วยผา่ นกลอ้ งหรือรูปถ่าย อยากไดร้ ับยาที่ดีท่ีสุด ไม่อยากใหเ้ ช้ือลงปอด อยากใส่ชุด PPE เขา้ ไปเยย่ี มผปู้ ่ วยสกั คร้ัง

การใช้เสียงของผู้รับบริการเพอื่ สร้างคุณค่า HA I-3.2ก(1), I-4.1ก(3) คาร้องเรียน การออกแบบ/ปรับปรุงกระบวนการทางาน ข้อเสนอแนะ ยงั ไม่มีคาร้องเรียน ประสบการณ์ของ - ผปู้ ่ วยเสนอแนะวา่ ควรกาจดั ยงุ ใหห้ มด อยา่ ใหม้ ียงุ ในหอผปู้ ่ วย เพราะทาใหน้ อนไม่หลบั และอาจเป็นโรค ผู้รับบริการ ไขเ้ ลือดออก ทางหน่วยงานแกป้ ัญหาโดยการปรึกษาคณะกรรมการสิ่งแวดลอ้ มของ รพ. มีการมาประเมินและให้ บริษทั ที่รับเหมาะก่อสร้างอุดรูรั่วเลก็ ๆ บริเวณขอบหนา้ ต่างหลงั จากน้นั ไม่มีปัญหาเรื่องยงุ (ในช่วงท่ีอยู่ BANPU RCU อาคารธนาคารทหารไทย) - ผปุ้ ่ วยอยใู่ นหอ้ งความดนั ลบ ไม่ทราบวา่ ใครมาดูแลเนื่องจากใส่ชุด PPE แต่จาไดจ้ ากเสียง พยาบาลพดู จาดี ไม่ แสดงอาการรังเกียจ ใส่ใจผปู้ ่ วย ไม่รีบร้อนจะออกจากหอ้ ง ทางหน่วยงานจึงปรับใหท้ ุกคนเขียนชื่อและตาแหน่ง ที่ชุด PPE รวมท้งั แจง้ ช่ือและตาแหน่งใหผ้ ปู้ ่ วยรับทราบทุกคร้ังก่อนใหก้ ารพยาบาล ประเดน็ อนื่ ๆ ตามมาตรฐาน HA I-3.3, III-5 สิทธผิ ู้ป่ วย การออกแบบ/ปรับปรุงกระบวนการทางาน ผู้ป่ วยทมี่ คี วามต้องการ - ใหข้ อ้ มลู ผปู้ ่ วย/ญาติ เก่ียวกบั สิทธิผปู้ ่ วย กรณีผปู้ ่ วย COVID-19 ใหข้ อ้ มูลผา่ นช่องทาง Line official เฉพาะ - หา้ มบุคลากรกล่าวถึง/โพสตล์ งขอ้ ความ รูปภาพเก่ียวกบั ผปู้ ่ วยและญาติลงในสื่อโซเชียลต่าง ๆ การสร้างเสริมสุขภาพ - กลุ่มผปู้ ่ วยติดเช้ือท่ีตอ้ งเฝ้ าระวงั การแพร่กระจายของเช้ือ ดูแลผปู้ ่ วยตามมาตรฐาน IC - กลุ่มผปู้ ่ วยระยะสุดทา้ ยและครอบครัว มีการดูแลร่วมกบั ทีม Palliative care - มีการส่งขอ้ มูลผปู้ ่ วยใหก้ บั ศนู ยด์ ูแลต่อเน่ือง (งานเยย่ี มบา้ น) ในการช่วยดูแลและประสานเจา้ หนา้ ที่ในพ้นื ท่ี เพ่ือ ดูแลและฟ้ื นฟสู ภาพผปู้ ่ วยต่อที่บา้ น

ความต้องการของลูกค้าภายใน HA II-1.1ก(4) ลกู ค้าภายใน ความต้องการ การออกแบบหรือปรับปรุง/ อาจารย์แพทย์ ผลของตัววดั ทเี่ ฝ้ าติดตาม (ถ้าม)ี ตอ้ งการใหม้ ีระบบความปลอดภยั ในการเขา้ ออก แพทย์ประจาบ้าน หอ้ งพกั แพทย์ ติดต้งั เคร่ืองสแกนนิ้วเพอ่ื ความปลอดภยั ในการเขา้ ออกหอ้ งพกั เจ้าหน้าทรี่ ังสี ตอ้ งการสญั ญาณ Wifi แพทย์ ตอ้ งการคอมพิวเตอร์ไวใ้ นหอ้ งพกั แพทย์ ติดต่องาน IT เพ่ือขอติดต้งั สัญญาณ Wifi ศูนย์ดูแลต่อเน่ือง ตอ้ งการทราบเส้นทางมาที่หน่วยงาน งานบริการเปล ติดต้งั คอมพวิ เตอร์ในหอ้ งพกั แพทย์ ไม่อยากรอทา X-ray ในหอ้ งความดนั ลบนาน เจ้าหน้าทเี่ คร่ืองมอื แจง้ เส้นทางทุกคร้ังท่ีมีการแจง้ ขอเอกซเรย์(จนกวา่ เจา้ หนา้ ที่จะ แพทย์ ตอ้ งการใหค้ ียช์ ื่อผปู้ ่ วยเพอ่ื ส่งปรึกษาต้งั แต่ Admit จาเสน้ ทางได)้ ทุกราย แจง้ บุคลากรในหน่วยงานใหท้ ราบวา่ ใหโ้ ทรตาม X-ray เมื่อ ตอ้ งการใหล้ งขอ้ มูลกรณีตอ้ งใชเ้ คร่ืองมือเพ่ิมเติม พร้อม เช่น Flow meter สาหรับต่อ Mobile ventilator, เปล ชนิดCapsule, ชนิดของถงั ออกซิเจน แจง้ บุคลากรใหท้ ราบถึงแนวปฏิบตั ิในการส่งช่ือผปู้ ่ วยเพื่อส่ง ตอ้ งการใหโ้ ทรศพั ทแ์ จง้ กรณีเปิ ดใช/้ เลิกใช้ ปรึกษาต้งั แต่ admit ทุกราย เคร่ืองช่วยหายใจ ตอ้ งการใหช้ ่วยดูแลความถูกตอ้ งในการใส่ถอดชุด แจง้ บุคลากรใหท้ ราบถึงแนวปฏิบตั ิในการลงขอ้ มลู ในระบบ PPE และถา้ เป็นอุปกรณ์พิเศษใหโ้ ทรศพั ทแ์ จง้ เพือ่ Confirm อีกคร้ัง แจง้ บุคลากรใหท้ ราบถึงแนวปฏิบตั ิในการโทรศพั ทแ์ จง้ กรณี เปิ ดใช/้ เลิกใชเ้ คร่ืองช่วยหายใจ ช่วยดูแลขณะใส่ถอดชุด PPE และมีโปสเตอร์การใส่ถอดชุด PPE ใหด้ ู

ความต้องการของลูกค้าภายใน HA II-1.1ก(4) ลูกค้าภายใน ความต้องการ การออกแบบหรือปรับปรุง/ ผลของตวั วดั ทเ่ี ฝ้ าติดตาม (ถ้าม)ี เจ้าหน้าทเี่ ภสัชกร กรณีตอ้ งการยาด่วนมาก ใหส้ ่งใบยาด่วนพร้อมกบั โทรศพั ทแ์ จง้ หอ้ งยาดว้ ย แจง้ บุคลากรใหป้ ฏิบตั ิตามคาแนะนา ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของชื่อผปู้ ่ วยและ Specimen แจง้ บุคลากรใหป้ ฏิบตั ิตามแนวทางการส่ง Lab เพื่อไม่ให้ เจ้าหน้าทหี่ ้องปฎบิ ตั ิการ ก่อนส่งไป เกิดความคลาดเคลื่อน จดั หากล่องสาหรับส่ง Lab เฉพาะผปู้ ่ วย COVID-19 และ ทางการแพทย์ จดั หากล่องสาหรับส่ง Lab ผปู้ ่ วย COVID-19 ให้ ตรวจสอบใหเ้ พยี งพอต่อการหมุนเวยี นใช้ เพียงพอต่อการหมุนเวยี นใชง้ าน แจง้ บุคลากรและนิเทศผชู้ ่วยพยาบาลใหม่ใหป้ ฏิบตั ิให้ เจ้าหน้าทง่ี านจ่ายกลาง ตอ้ งการใหค้ ียร์ ายการส่งเครื่องมือต่างๆใหถ้ กู ตอ้ ง ถกู ตอ้ ง เจ้าหน้าทข่ี นส่ง ตอ้ งการใหม้ ีผเู้ ซ็นรับของทุกคร้ังท่ีมาส่งของต่างๆ บุคลากรรับทราบ และแจง้ ใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีขนส่งทราบวา่ (Logistic) อาจจะรอสักครู่ในบางกรณีท่ีตอ้ งดูแลผปู้ ่ วยหนกั หรือ กาลงั ทาหตั ถการต่างๆ แม่บ้าน อยากใหพ้ ยาบาลรวมงานหรือสอบถามกนั ก่อน เพ่ือ แจง้ บุคลากรทราบและใหป้ ฏิบตั ิโดยการรวบรวมเอกสาร จะไดส้ ะดวกในการเดินงาน ตรวจสอบความถูกตอ้ ง เพื่อใหเ้ ดินเอกสารตามรอบการ อยากใหต้ รวจสอบความถกู ตอ้ งของเอกสารก่อน ส่งงานและไม่ตอ้ งกลบั มาแกไ้ ข นาส่งออกนอกหน่วยงาน

I-4 การวดั วเิ คราะห์ และจดั การความรู้ การวดั ตามกลยทุ ธ/์ เข็มมงุ่ ขององคก์ ร HA I-2.2ก(5), I-4.1 ตวั วดั (ปี 2563) การวเิ คราะห์/แปลผล การนาผลการวเิ คราะห์ไปใช้ S (Safety) - Hand Hygiene - มีการรณรงคใ์ หบ้ ุคลากรในหน่วยงานเห็นความสาคญั และ ผลลพั ธ์: อตั ราการลา้ งมือของบุคลากรในภาพรวม = ตระหนกั ในการลา้ งมือมากข้ึน 71.08% - จากการรายงานขอ้ มูลของ IC พบวา่ บุคลากรอ่ืน เช่น แพทย์ นกั กายภาพบาบดั ยงั ไม่มีการลา้ งมือก่อนสมั ผสั ผปู้ ่ วยจึงมีการ กระตุน้ ใหบ้ ุคลากรอ่ืนมีการลา้ งมือมากข้ึน - Medication Reconciliation - สนบั สนุน ชื่นชม และใหก้ าลงั ใจในการทา Medication ผลลพั ธ์: อตั ราการทา Medication Reconciliation Reconciliation ใหไ้ ด้ 100% อยา่ งต่อเนื่อง = 100% - Patient Identification - มีการประชุมวางแผนร่วมกนั ในการหาแนวทางแกป้ ัญหา ผลลพั ธ์: อตั ราการเกิดความคลาดเคลื่อนในการระบุ การเกิดความคลาดเคลื่อนในการระบุตวั ผปู้ ่ วย และใหม้ ีการ ตวั ผปู้ ่ วย = 3.95/1,000 วนั นอน ปฏิบตั ิตามแนวทางอยา่ งเคร่งครัด และเนน้ การ Double check ในการ Identification

I-4 การวดั วเิ คราะห์ และจดั การความรู้ การวดั ตามกลยทุ ธ/์ เข็มมงุ่ ขององคก์ ร HA I-2.2ก(5), I-4.1 ตัววดั (ปี 2563) การวเิ คราะห์/แปลผล การนาผลการวเิ คราะห์ไปใช้ P (Process) - Lean: ต้งั แต่เปิ ดหน่วยงานยงั ไม่มีการนา Lean มาใชใ้ นการ - ทางาน - SOP: อยใู่ นระยะวางแผนการทา SOP ของหน่วยงาน - - OKRs : - ยงั มีการเตรียมความพร้อมในการรับผปู้ ่ วยที่ ผลลพั ธ์: ร้อยละความพร้อมรับผปู้ ่ วยที่มีภาวะวกิ ฤตโรคระบบ มีภาวะวกิ ฤตโรคระบบการหายใจ และผปู้ ่ วย การหายใจ และเตรียมความพร้อมในการรับผปู้ ่ วยติดเช้ือ COVID-19 ท้งั การเตรียมความพร้อมของ COVID-19 ภายใน 30 นาที หลงั การรับเวร = 100% อตั รากาลงั ความรู้/ทกั ษะของบุคลากร และ ผลลพั ธ์: ร้อยละความเพียงพอและพร้อมใชข้ องเวชภณั ฑ/์ เครื่องมือ/เวชภณั ฑต์ ่างๆใหเ้ พยี งพอและพร้อม เครื่องมือแพทย์ สามารถตอบสนองต่อความตอ้ งการในการ ใชง้ านตลอดเวลา รักษาพยาบาล = 100% ผลลพั ธ์: ร้อยละของบุคลากรมีทกั ษะในการป้ องกนั การติดเช้ือ จากผปู้ ่ วยที่มีภาวะติดเช้ือ/โรคท่ีมีการแพร่กระจายของเช้ือและ COVID-19 = 100% - Digital service : อยใู่ นระยะวางแผนการนาระบบ Digital มาใช้ - ในการใหบ้ ริการผปู้ ่ วย

I-4 การวดั วเิ คราะห์ และจดั การความรู้ การวดั ตามกลยทุ ธ/์ เข็มมงุ่ ขององคก์ ร HA I-2.2ก(5), I-4.1 ตวั วดั (ปี 2563) การวเิ คราะห์/แปลผล การนาผลการวเิ คราะห์ไปใช้ E (Effective & Efficient) - Logistics : ผลลพั ธ์ - การสารองเวชภณั ฑ์ 4 วนั = 100 % - มีการกาหนดยอดการสารองเวชภณั ฑข์ องหน่วยงานใหม้ ี - การสารองยาพร้อมใช้ = 100 % ความเหมาะสม เพียงพอต่อการใชง้ านในระยะเวลา 4 วนั ตามนโยบายของ รพ. - Utilization Management : ผลลพั ธ์ - กรณีเวชภณั ฑท์ ี่มีการใชป้ ริมาณมากตามความจาเป็ นของ - มีวสั ดุสารองและหมุนเวียนใชอ้ ยา่ งเพยี งพอไม่มาก ผปู้ ่ วยสามารถเบิกแบบด่วนทาใหม้ ีเวชภณั ฑเ์ พียงพอต่อการ เกินความจาเป็ น ใชง้ านทุกวนั ยกเวน้ กรณีเวชภณั ฑข์ าดคลงั ซ่ึงแกป้ ัญหาโดย - มีการปรับลดอตั รากาลงั ใหเ้ หมาะสมกบั ภาระงาน การขอยมื จากหน่วยงานอ่ืน ตามเกณฑข์ องหน่วยงาน - มีการตรวจสอบยาสารองของหน่วยงานทุกวนั ทุกเวร ทาให้ มียาสารองพร้อมใชง้ าน และไม่พบยาหมดอายุ - มีการกาหนดประเภทของเวชภณั ฑท์ ี่จาเป็นและเหมาะสม กบั การสารอง โดยประเมินจากยอดผปู้ ่ วย โรค และหตั ถการ ของผปู้ ่ วย จะไม่สารองเกินความจาเป็น - มีแนวทางการปรับลดอตั รากาลงั ของหน่วยงานใหบ้ ุคลากร ทุกคนรับทราบและปฏิบตั ิ อตั รากาลงั จึงมีการปรับให้ เหมาะสมกบั ภาระงาน

I-4 การวดั วเิ คราะห์ และจดั การความรู้ การวดั ตามกลยทุ ธ/์ เข็มมงุ่ ขององคก์ ร HA I-2.2ก(5), I-4.1 ตวั วดั (ปี 2563) การวเิ คราะห์/แปลผล การนาผลการวเิ คราะห์ไปใช้ E (Effective & Efficient) - Utilization Management : ผลลพั ธ์ (ต่อ) - เตรียมความพร้อมผปู้ ่ วยและญาติก่อนการจาหน่าย ช่วยลด - ลดค่าใชจ้ ่ายท่ีเกิดจากการกลบั มานอนโรงพยาบาล การกลบั มานอน รพ.ซ้า ซ้า - มีการ Round ร่วมกบั แพทยใ์ นการประเมินความเหมาะสม - ยงั มีการใชเ้ ตียงไม่เหมาะสมในผปู้ ่ วยบางราย ในการใชเ้ ตียง ICU อยา่ งเหมาะสม - สนบั สนุนและกระตุน้ ใหบ้ ุคลากรลงบนั ทึกและตรวจสอบ - Smart Record : ผลลพั ธ์ ความสมบรู ณ์ของเวชระเบียนผปู้ ่ วยทุกรายอยา่ งต่อเนอื่ ง - ร้อยละของความสมบรู ณ์ของเวชระเบียน = 100% - ตรวจสอบความครบถว้ น และส่งคืนเวชระเบียนภายใน 72 - ร้อยละของเวชระเบียนท่ีส่งคืนภายในเวลา 72 ชว่ั โมงภายหลงั จาหน่ายผปู้ ่ วยออกจากหน่วยงาน ชว่ั โมง = 100% - การส่งคืนเวชระเบียนผปู้ ่ วยทุกรายตอ้ งลงสมุดส่งคืนและ - อุบตั ิการณ์การสูญหายของเวชระเบียน = 0 ตอ้ งมีการลงลายมือชื่อผสู้ ่งและผรู้ ับคืนเวชระเบยี นทุกคร้ัง - อุบตั ิการณ์ท่ีเอกสารเวชระเบียนผปู้ ่ วยไม่สามารถ - เอกสารในเวชระเบียนทุกแผน่ ตอ้ งมีรหสั ของเอกสารท่ี Scan เขา้ ระบบ EMR ได้ = 0 สามารถ Scan เขา้ ระบบ EMR ได้ โดยจะมีการตรวจสอบ ต้งั แต่การนาเอกสารมาใชง้ าน มีการตรวจสอบเมื่อจดั เรียง แฟ้ ม และมีการตรวจสอบซ้าโดยหวั หนา้ งานก่อนส่งคนื เวช ระเบียน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook