Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา ผู้เชี่ยวชาญการใช้อาวุธรถถัง เล่ม ๕

วิชา ผู้เชี่ยวชาญการใช้อาวุธรถถัง เล่ม ๕

Published by qacavalry, 2021-10-18 11:27:07

Description: วิชา ผู้เชี่ยวชาญการใช้อาวุธรถถัง เล่ม ๕
รหัสวิชา ๐๑๐๒๒๙๐๒๐๓
หลักสูตร ผู้เชี่ยวชาญการใช้อาวุธรถถัง
แผนกวิชาหลักยิงและตรวจการณ์ กศ.รร.ม.ศม.

Search

Read the Text Version

โรงเรียนทหารม้า วิชา ผเู้ ชยี่ วชาญการใชอ้ าวุธรถถงั เลม่ ๕ รหสั วิชา ๐๑๐๒๒๙๐๒๐๓ หลกั สตู ร ผูเ้ ชีย่ วชาญการใชอ้ าวุธรถถัง แผนกวิชาหลกั ยงิ และตรวจการณ์ กศ.รร.ม.ศม. ปรชั ญา รร.ม.ศม. “ฝึกอบรมวิชาการทหาร วิทยาการทนั สมยั ธารงไวซ้ ง่ึ คุณธรรม”

ปรัชญา วสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ วตั ถปุ ระสงค์การดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา เอกลกั ษณ์ อัตลักษณ์ ๑. ปรชั ญา ทหารมา้ เปน็ ทหารเหลา่ หน่งึ ในกองทัพบกที่ใช้มา้ หรือสง่ิ กาเนดิ ความเรว็ อ่ืนๆ เป็นพาหนะเปน็ เหลา่ ทม่ี คี วามสาคญั และจาเป็นเหล่าหน่ึง สาหรับกองทหารขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับเหล่าทหารอื่น ๆ โดยมีคุณลักษณะ ที่มีความคล่องแคล่ว รวดเร็วในการเคล่ือนที่ อานาจการยิงรุนแรง และอานาจในการทาลายและข่มขวัญ อนั เปน็ คุณลักษณะท่ีสาคัญและจาเปน็ ของเหล่า โรงเรียนทหารมา้ ศูนยก์ ารทหารม้า มีปรชั ญาดงั น้ี “ฝึกอบรมวชิ าการทหาร วทิ ยาการทันสมัย ธารงไวซ้ ึ่งคณุ ธรรม” ๒. วิสยั ทศั น์ “โรงเรียนทหารมา้ ศนู ยก์ ารทหารม้า เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้วิชาการเหล่าทหารม้าที่ทันสมัย ผลิตกาลงั พลของเหล่าทหารม้า ใหม้ ีลักษณะทางทหารทดี่ ี มีคุณธรรม เพอื่ เปน็ กาลงั หลกั ของกองทพั บก” ๓. พนั ธกิจ ๓.๑วจิ ยั และพัฒนาระบบการศึกษา ๓.๒ พัฒนาคณุ ภาพครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ๓.๓ จดั การฝกึ อบรมทางวชิ าการเหลา่ ทหารมา้ และเหล่าอื่นๆ ตามนโยบายของกองทัพบก ๓.๔ผลิตกาลังพลของเหล่าทหารมา้ ใหเ้ ป็นไปตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ๓.๕ พัฒนาสอื่ การเรียนการสอน เอกสาร ตาราของโรงเรียนทหารม้า ๓.๖ปกครองบังคับบัญชากาลงั พลของหน่วย และผู้เข้ารับการศึกษาหลักสูตรต่างๆ ให้อยู่บนพื้นฐาน คุณธรรม จรยิ ธรรม ๔. วตั ถุประสงคข์ องสถานศกึ ษา ๔.๑เพือ่ พฒั นาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา ให้มีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ใหก้ บั ผเู้ ขา้ รบั การศึกษาได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ๔.๒ เพ่ือพฒั นาระบบการศึกษา และจดั การเรยี นการสอนผ่านสอื่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ใหม้ ีคุณภาพอย่างตอ่ เนื่อง ๔.๓ เพื่อดาเนินการฝึกศกึ ษา ใหก้ ับนายทหารช้นั ประทวน ทโี่ รงเรยี นทหารมา้ ผลิต และกาลังพลท่ีเข้ารับ การศึกษา ให้มคี วามร้คู วามสามารถตามทห่ี นว่ ย และกองทัพบกตอ้ งการ ๔.๔ เพอื่ พฒั นาระบบการบรหิ าร และการจัดการทรัพยากรสนบั สนนุ การเรียนรู้ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สุด ๔.๕ เพ่ือพฒั นาปรบั ปรงุ สือ่ การเรียนการสอน เอกสาร ตารา ใหม้ คี วามทันสมยั ในการฝกึ ศึกษาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ๔.๖เพือ่ พฒั นา วิจยั และให้บริการทางวชิ าการ ประสานความรว่ มมือ สร้างเครือข่ายทางวิชาการกับ สถาบันการศกึ ษา หน่วยงานอน่ื ๆ รวมทงั้ การทานุบารุงศิลปวฒั ธรรม ๕. เอกลักษณ์ “เป็นศนู ยก์ ลางแห่งการเรียนรู้ทางวิชาการ และผลิตกาลังพลเหล่าทหารม้าอย่างมีคุณภาพเป็นการ เพ่ิมอานาจกาลงั รบของกองทพั บก” ๖. อตั ลักษณ์ “เดน่ สง่าบนหลงั มา้ เก่งกลา้ บนยานรบ”

คานา สนามรบในอนาคตจะเปน็ การรบทใี่ ช้การเคลอ่ื นทแี่ ละมีความรนุ แรง โดยเน้นการใช้ประสทิ ธภิ าพ จากอานาจการยิงและกาลังชนจากยานเกราะ รถถัง เอ็ม ๖๐ เอ ๓ได้ถูกออกแบบมาให้พบกับความท้าทาย ต่างๆ เหลา่ น้ี พลประจารถถังทุกนายจะต้องเตรียมการในการที่จะนาเอาประโยชน์สูงสุดจากขีดความสามารถ ของรถถัง เอ็ม ๖๐ เอ ๓ ไปใช้ในสงครามของความขัดแย้งที่กาลังจะเกิดข้ึนเพ่ือให้อยู่รอดจากสนามรบใน อนาคต โดยพลประจารถถงั เอ็ม ๖๐ เอ ๓ จะตอ้ งได้รับการฝกึ มาเปน็ อย่างดี เพื่อเอาชนะกองกาลังของข้าศึกและเพื่อความอยู่รอด พลประจารถถัง เอ็ม ๖๐ เอ ๓ จะต้องมี ความรเู้ ก่ียวกับขดี ความสามารถในการปฏิบัติงานของรถถัง เทคนิคในการค้นหาและได้มาซ่ึงเป้าหมาย และ ประสทิ ธิภาพในการใชง้ านของอาวุธต่างๆ ท่ีติดตั้งอยู่บนรถถัง นอกจากนี้ พลประจารถถังจะต้องพัฒนาและ ดารงรักษาความชานาญด้านยุทธวิธี ท่จี ะช่วยให้พวกเขาดาเนินกลยุทธ์อย่างได้ผลและมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ อยรู่ อดจากสนามรบ การผสานกนั ระหว่างความชานาญในวิชาหลักยงิ และยุทธวิธีเป็นสิ่งสาคัญยิ่งเช่นเดียวกับ ความชานาญในระบบอาวธุ ของรถถงั

สารบญั หน้า เรอ่ื ง ๑ สนามยงิ ปนื ๕๐ ๑๐๙ อปุ กรณ์และการยงิ เลง็ จาลอง ๑๒๓ การปรับทางปืน คณุ ลกั ษณะและขดี ความสามารถของยานรบ คู่มอื การใชง้ าน เครื่องช่วยฝึกยงิ ปนื ใหญ่รถถงั ทางานดว้ ยแสงเลเซอร์ SAAB BT 46

1 ตอนท่ี 1 ระบบสนามยิงปืน 1. กลา่ วนา สนามยิงปืนชนดิ ต่าง ๆ ถอื วา่ เป็นสว่ นสาคัญย่ิงของการดาเนนิ การฝกึ เพราะเป็นส่งิ ท่ีสามารถทาให้ ทหารมคี วามชานาญในการใช้อาวุธของตนได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ถ้าทหารไม่มีความชานาญดงั กล่าวน้ี ย่อม หมายความว่าหน่วยทหารตา่ ง ๆ เหล่าน้ันยงั ไมพ่ ร้อมท่ีจะปฏิบตั ิภารกจิ การรบในเวลาเกิดสงคราม สาหรับสนามยิง ปืนมีระบบที่ไม่แน่นอนตายตวั จึงตอ้ งออกแบบให้เหมาะสมกับระบบอาวธุ ที่จะใช้ฝึกยิงในลักษณะที่มิใหเ้ ป็น ผลกระทบกระเทือนตอ่ สิ่งแวดล้อมท่ีอยภู่ ายนอกพื้นทเี่ ป้าหมาย การฝึกยิงปืนจะบรรลุผลดีได้น้นั จาเปน็ จะต้องมีทรัพยากร 8 ประการดังนี้ 1. ผืนแผ่นดิน 2. กาลงั คน 3. เงนิ 4. นา้ มันเชอ้ื เพลิง 5. กระสุน 6. ส่ิงอานวยความสะดวกตา่ งๆ 7. เครอื่ งมือเคร่ืองใช้ 8. หลักการ ถา้ จะมองผิวเผนิ แล้ว จะร้สู กึ ว่าในการสรา้ งสนามยิงปนื น้ัน มีความจาเปน็ ต้องใช้เพียงทรัพยากรแผ่นดนิ เครือ่ งมือเคร่ืองใช้ และส่ิงอานวยความสะดวกต่าง ๆ เท่าน้นั แตอ่ ันทจี่ ริงแล้วทรพั ยากรทงั้ สามประการ เป็นเพยี ง สว่ นหนึง่ ของความต้องการเทา่ นั้น เพราะทรพั ยากรอีกหา้ ประการท่เี หลอื น้ัน จะสง่ ผลกระทบกระเทอื นต่อจานวนผนื แผน่ ดิน เครอื่ งมอื เครอ่ื งใช้ และส่ิงอานวยความสะดวกต่าง ๆ ที่จาเป็น ต้องนามาใช้ในการสรา้ งและจดั การใหเ้ ปน็ สนามยิงปืนท่ีมปี ระสิทธิภาพเป็นอย่างมาก การวางแผนสร้างสนามยิงปืน โดยไม่พิจารณาถึงทรพั ยากรต่าง ๆ ให้ครบถว้ น ยอ่ มเป็นหนทางทาให้ สนามยงิ ปืนที่จะสร้างน้ันเป็นสนามยิงปนื ท่มี ีขดี จากดั ตา่ ง ๆ เกดิ ข้นึ ได้ การพิจารณาถึงทรัพยากรต่าง ๆ ครบถว้ น ย่อมจะสง่ เสริมใหส้ นามยิงปืนนนั้ ปราศจากข้อบกพร่อง และสามารถใช้ประโยชนไ์ ดเ้ ป็นระยะเวลายาวนาน การสรา้ งสนามยงิ ปนื ใหม่มที างเลอื กบางประการดังตอ่ ไปน้ี 1) การดดั แปลงสนามยิงปืนเฉพาะอาวุธปืนเปน็ สนามยิงปนื หลายอาวุธ 2) การสร้างที่พกั แรมไว้ท่สี นามยงิ ปืนที่อยหู่ ่างไกล เพอื่ ใหส้ นามยิงปนื ใช้ประโยชน์ได้ มากข้ึน 3) การใช้เครอื่ งมือจาลอง เครอื่ งมือทดแทน หรือเครื่องมือย่อขนาดเล็ก 2. ความรับผิดชอบ ในสนามยิงปืนหน่ึง ๆ นน้ั จะต้องมีเจ้าหน้าที่รับผดิ ชอบโดยตรง 3 คน คือ 1) นายทหารสนามยงิ ปนื 2) นายทหารควบคุมสนามยิงปืน 3) ผจู้ ัดการสนามยิงปนื ก. นายทหารสนามยงิ ปนื เป็นหัวหน้าสนามยงิ ปืนแต่ละสนาม (อานวยการวางแผน และอานวยการ ฝกึ ) มีหนา้ ทรี่ บั ผิดชอบท้ังมวล ในเรอื่ งการพัฒนาการจดั การสนาม มีผใู้ ตบ้ ังคบั บัญชาสองคน คอื นายทหาร ควบคมุ สนามยิงปืน และผู้จดั การสนามยงิ ปนื โดยมกั จะมอบหมายอานาจหน้าที่ให้นายทหารควบคมุ สนามยิงปืน

2 ในเร่อื ง การปฏบิ ตั งิ าน และมอบหมายอานาจหน้าที่ใหผ้ ้จู ัดการสนามยิงปืนในเรื่อง การปรนนบิ ตั บิ ารงุ การ วางแผนก่อสรา้ ง และการปฏิบัติงานเกีย่ วกับเปา้ ข. นายทหารควบคุมสนามยงิ ปืน เป็นผู้ชว่ ยหลักของนายทหารสนามยิงปนื ด้วยเหตนุ ี้เอง จึงมหี น้าที่ ปฏิบัตงิ านเสมือนหน่ึงเป็นนายทหารสนามยงิ ปืนในระหว่างการปฏบิ ัติงานท้ังปวง นอกจากน้นั ยงั มหี นา้ ทเ่ี ป็นผู้ กากบั ดูแล พนักงานวิทยุ และพนักงานสลบั สายด้วย นายทหารควบคุมสนามยิงปนื มีความรับผดิ ชอบโดยเฉพาะดงั น้ี (1) รกั ษา และปฏบิ ัติตามระเบยี บของสนาม (2) ดูแลการปฏบิ ัตงิ านทั้งปวงในสนามยิงปืน (3) ใหข้ อ้ มูลของสนามยิงปืนกับหน่วยทหารต่าง ๆ ท่เี ขา้ มาทาการฝึก รวมถงึ ท่ตี ้งั ของพื้นที่การยิง และขอ้ จากัดในการยงิ (เขตทางซ้าย ,เขตทางขวา ,ระยะยิงต่าสดุ - สูงสดุ และขอ้ กาหนดพิเศษ ต่าง ๆ) (4) จดั ทาตารางกาหนดการปฏบิ ัตงิ านประจาวันในสนามยิงปืน (5) กาหนด ให้มขี ้อระมัดระวัง สาหรับการป้องกันชีวิต และทรัพย์สนิ ในระหว่างปฏิบัติการฝึกใน สนามยิงปืน ค. ผ้จู ัดการสนามยงิ ปืน เป็นผู้รับผดิ ชอบโดยตรงในเร่อื ง การปรนนิบตั ิบารุง และการกอ่ สร้างสนาม ยิงปนื ผจู้ ัดการสนามยิงปนื มคี วามรับผิดชอบ โดยเฉพาะดังนี้ (1) เปน็ ผู้กากับดูแลเจ้าหน้าที่ปรนนิบัตบิ ารุงสนามยงิ ปนื (2) จัดทาตารางกาหนดการปรนนบิ ตั ิบารุง (3) กาหนดระยะยิง และตาบลกระสุนตกเทา่ ที่จะหาได้ (4) พจิ ารณาทิศทาง และขดี จากัดเกีย่ วกบั การยิงในแต่ละระยะยิง (5) จดั ทาเครื่องหมายแสดงถงึ ขีดจากดั ต่าง ๆ และเป็นผูใ้ หร้ ายละเอยี ดเกี่ยวกับ การรักษาความ ปลอดภยั ในสนามยิงปืน (6) ออกคาสั่งในเร่ืองเกยี่ วกับการเข้าไปในสนามยงิ ปนื และตาบลกระสนุ ตก (7) กาหนดพ้ืนทอี่ ันตรายของสนามยิงปืน (8) ทาขอ้ กาหนดเก่ยี วกบั การจัดสรา้ งสนามยิงปืน โดยประสานกับทหารช่างในพื้นท่ี ง. เจา้ หน้าทเี่ พิ่มเตมิ เพอ่ื ส่งเสริมใหเ้ จ้าหน้าทข่ี องสนามยงิ ปืนท้ังสามตาแหน่ง ตามที่กลา่ วมาขา้ ง ตน้ นน้ั ให้สามารถปฏิบตั งิ านไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพมากย่ิงขน้ึ อาจจะจดั ให้มีสานักงานรกั ษาความปลอดภยั สนามยิงปืน ทมี่ เี จา้ หน้าที่รกั ษาความปลอดภยั สนามยงิ ปืนเป็นผู้ปฏิบัตงิ านอีกตาแหน่งหนง่ึ ก็ได้ และให้มีหน้าที่ เฉพาะดังต่อไปน้ี คือ (1) ตรวจเอกสารการวางแผนของสนามยิงปนื ในเร่อื ง ขอ้ กาหนดเกยี่ วกบั ความปลอดภัยท้งั ปวง (2) ทาการตรวจส่ิงอานวยความสะดวก และการปฏบิ ตั ิงานในสนามยงิ ปืนทงั้ ทเ่ี ปน็ การปฏิบัติงาน ตามตารางกาหนดการ และไมเ่ ป็นไปตามตารางกาหนดการ (3) ให้คาแนะนาปรกึ ษาแก่ผู้บังคบั บัญชา และเจ้าหน้าที่ของสนามยงิ ปืนในเรื่อง เก่ียวกับคาสัง่ และระเบียบการรกั ษาความปลอดภัยทั้งปวง ในระหวา่ งทมี่ ีการพัฒนาสนามยิงปืน เปน็ ผู้ แจกจ่ายระเบียบและเอกสารของสนามยงิ ปืน ให้กบั หนว่ ยทหารทีเ่ ข้ามาฝึกยงิ ในสนามยิงปืน

3 ตอนท่ี 2 ท่ตี ้ังสนามยงิ ปืน 1. กล่าวนา ในการสร้างสนามยิงปืนน้ัน ในขั้นตน้ จะต้องเลอื กทีต่ งั้ ให้ไดต้ ามอดุ มคติเสยี ก่อน ในการเลือกท่ีต้ังตาม อดุ มคติ จาเป็นตอ้ งพิจารณาถึงเรือ่ งราวความปลอดภยั เป็นประการสาคัญ ที่ตงั้ สนามยงิ ปนื จะต้องไม่มผี ลกระทบ กระเทอื นต่อชมุ นุมชน ,วดั ,สสุ าน ,ป่าชา้ ,ทางหลวง หรือทางรถไฟ ที่มอี ยแู่ ตเ่ ดมิ แลว้ ยงิ่ ไปกว่าน้ันที่ตั้งสนามยงิ ปืนจะตอ้ งไมเ่ ปน็ ที่กดี ขวางทางวง่ิ และกิจการของสนามบินด้วย ถา้ สนามยิงปืนใดมคี วามตอ้ งการใช้ห้วงอากาศ ผู้ วางแผนสนามยงิ ปืนจะตอ้ งม่นั ใจได้ว่าจะสามารถใช้หว้ งอากาศน้ันได้ก่อนท่ีจะสรา้ งสนามยงิ ปนื นอกจากการพจิ ารณาถึงเรอ่ื งความปลอดภยั แล้ว ผ้วู างแผนสร้างสนามยิงปืน จะตอ้ งมีการพิจารณาถงึ เร่อื ง ผลกระทบกระเทือนที่ต้งั สนามยิงปืนจะมีต่อภาวะสภาพแวดล้อม และภาวะภาพทางเศรษฐกิจของประชาชน พลเมืองด้วย สนามยงิ ปืนจะตอ้ งไม่เปน็ ท่ีรบกวนพ้ืนท่ีการประมง หรือป่าทม่ี ตี ้นไม้ใหญ่ และทุ่งหญา้ จะต้องไม่เปน็ ผลกระทบตอ่ ผืนแผน่ ดินทมี่ แี รห่ รอื วัตถดุ ิบอ่นื ๆ ทัง้ ยงั จะต้องกาหนดใหส้ นามยิงปืนมที ี่ต้ังให้อยู่ห่างออกไปจาก พืน้ ทหี่ ่วงห้ามต่าง ๆ ตวั อยา่ งเช่น พ้ืนทห่ี ้ามจบั สตั ว์นา้ และสตั ว์ปา่ เป็นต้น นอกจากน้ี ผวู้ างแผนสรา้ งสนามยงิ ปืนจะต้องพิจารณาถงึ เร่ือง การปฏิบตั ิงาน การปรนนบิ ตั บิ ารงุ และ การทะนบุ ารุงสนามยงิ ปืนใหส้ ัมพันธ์กับการกอ่ ต้ัง ท่ีตง้ั สนามยิงปืนไมค่ วรเปน็ สถานท่ีซึ่งแบ่งแยกพ้ืนที่ท่มี กี ารฝึก ทางยทุ ธวิธีออกเปน็ ส่วน ๆ ไม่ควรสร้างคร่อมเส้นทางท่ใี ชเ้ คลอ่ื นที่เข้าไปยงั พ้นื ที่การฝึกอ่ืน ๆ ย่ิงไปกว่านน้ั ท่ตี ้งั ยิง ในสนามยงิ ปืน ก็ควรจะต้องมหี มูต่ น้ ไม้เล็ก ๆ ท่ขี นึ้ อยูห่ นาทบึ และสามารถจะทาการปรับปรุงแกไ้ ข ให้เหมาะสม กบั ระบบอาวุธใหม่ ๆ หรือเปลีย่ นแปลงไปตามเทคโนโลยีสมยั ใหมไ่ ด้ แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามสนามยงิ ปืนทสี่ รา้ งนัน้ จะเปน็ สนามยงิ ปนื ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพไดก้ ต็ ่อเม่ือ ไดม้ กี ารเลือกทีต่ ้ัง ให้มเี สน้ ทางเคลอ่ื นทไี่ ปยงั หน่วยทหารต่าง ๆ ทจ่ี ะตอ้ งใช้สนามยงิ ปืนน้นั ถา้ สนามยิงปืนตา่ ง ๆ ดงั กล่าว มที ตี่ ัง้ อยหู่ า่ งไกลออกไปจากพื้นที่ทตี่ ั้งหน่วยทหาร ในลักษณะ ทต่ี ้องเดินทางดว้ ยรถยนตเ์ กินกว่าหน่งึ ช่ัวโมง สนามยิงปืน ต่าง ๆ เหล่าน้ัน กค็ วรจะต้องมีทจี่ อดรถสาหรับให้จอดค้างคืนได้ และมีสง่ิ อานวยความสะดวกในการพักแรม 2. ลักษณะของอาวธุ กบั ที่ตั้งสนามยงิ ปนื ในการเลอื กที่ตัง้ สนามยงิ ปืนนั้น มีความจาเป็นอย่างยง่ิ ทจ่ี ะต้องมีการพจิ ารณาถึง ระบบอาวุธที่จะ นามาใช้กบั สนามยงิ ปืนนน้ั ด้วย ระบบอาวุธแตล่ ะชนดิ ย่อมจะมลี ักษณะพิเศษของตัวเอง เช่น อานาจการยงิ ระยะยิง และความคลอ่ งตัว เปน็ ต้น ผู้วางแผนสร้างสนามยงิ ปนื สามารถจะทราบคุณลักษณะตา่ ง ๆ เหลา่ น้นั ไดจ้ ากคู่มอื ราชการสนาม ของระบบอาวุธต่าง ๆ เหล่าน้ัน ระบบอาวุธแตล่ ะชนดิ ทม่ี อี ยูใ่ นกองทพั บกยอ่ มจะมี ลักษณะการใช้งานดังต่อไปน้ี ต้งั แต่หนง่ึ อย่างขน้ึ ไปเสมอ คือ 1) อาวุธเบาหรอื อาวุธหนัก 2) อาวธุ ประจากายหรอื อาวุธประจาหน่วย 3) อาวธุ ยิงเล็งตรงหรอื เลง็ จาลอง 4) อาวุธกระสนุ วถิ รี าบหรืออาวุธท่ีมีมมุ ยงิ สงู 5) อาวุธสาหรบั ใชย้ งิ ตอ่ เป้าหมายเปน็ จดุ หรือเปา้ หมายเปน็ พ้ืนท่ี 6) อาวุธตดิ ต้ังยานพาหนะหรอื อาวุธทีล่ าเลยี งไปโดยบุคคล 7) อาวุธทางพ้ืนดินหรืออาวธุ ทางอากาศ 8) อาวธุ ลากจงู หรือเคลื่อนทด่ี ้วยตนเอง 9) อาวุธสาหรับใช้กับกระสนุ ฝกึ หรือกระสนุ จริง

4 คณุ ลกั ษณะของระบบอาวุธต่างๆ ดังท่กี ล่าว ยอ่ มจะทาให้ผวู้ างแผนสร้างสนามยิงปืนพิจารณา ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของอาวุธกับคณุ ลักษณะสนามยงิ ปืน คุณลักษณะของอาวุธ คณุ ลกั ษณะของสนามยิงปนื ที่มีสว่ นสัมพนั ธก์ ัน 1. อาวุธเบา - ตอ้ งการใช้เปา้ เปน็ จุดและเป้าบคุ คลในระยะใกล้ (600 เมตร หรือน้อยกว่า) จาเป็นจะต้องมที ี่ต้ังยิงท่ีจัดทาไว้แล้ว และให้ สามารถก่อสร้างตอ่ เติมเพื่อการขยายสนามได้ 2. อาวธุ หนกั - จะตอ้ งเป็นสนามยงิ ปืน ท่มี ที ศิ ทางยิงตรงไปข้างหนา้ และ จาเป็นต้องมีการระวงั เกย่ี วกับความปลอดภัยสงู มพี ้ืนที่เปา้ หมาย อย่หู ่างไกลกวา่ สนามยงิ อาวุธเบา และยงั มีความจาเปน็ จะตอ้ งใช้ เป้าหมายแบบผสมผสานกันไป 3. อาวุธยงิ เลง็ ตรง - จะตอ้ งเป็นสนามยงิ ปืนท่ีมีพ้ืนผิวราบเรียบ ลักษณะภูมปิ ระเทศ จะมลี ักษณะ ลุ่มๆ ดอนๆ และมีวัชพืชบางๆ ได้เพยี งเลก็ น้อย เทา่ นัน้ และ ณ ท่ตี ัง้ จุดยิงมีความจาเป็นจะต้องมองเหน็ เป้าหมายไดเ้ สมอ 4. อาวุธยงิ เลง็ จาลอง - สนามยิงปืนมคี วามจาเปน็ ตอ้ งเตรียมการในเรื่อง จุดยิงน้อยมาก ตามปกติแลว้ สนามยงิ ปนื จะต้องไม่มีลักษณะภูมิประเทศเป็น เคร่ืองปกปิดกาบัง แต่จาเป็นจะต้องมีจุดที่ตั้งที่มีการสารวจ ทางการแผนทแี่ ล้ว และต้องมีจุดที่ตั้งสาหรับการตรวจการณ์หน้า หลายๆแห่ง ในการเลอื กที่ต้งั สนามยิงปืนจะต้องเพ่งเล็งเป็นพิเศษ ในเรอื่ งเขตอันตรายท้ังในภาคผวิ พนื้ และห้วงอากาศ 5. อาวธุ ทีม่ ีมุมยิงสงู - ลักษณะของสนามยิงปืน สาหรับอาวุธที่มีมุมยิงสูงนั้น สามารถจะนาเอาคุณลักษณะของสนามยิงปืนสาหรับอาวุธยิงเล็ง จาลองมาประยุกต์ใช้ได้ทั้งหมด มุมสูงกระสุนวิถีเกิน 45 เมตร เหนอื ระดับพื้นดิน สนามยิงปืนมีความจาเป็นจะต้องมีห้วงอากาศ ท่ีปลอดภัยเสมอ 6. อาวธุ กระสุนวถิ รี าบ - สนามยงิ ปืน สาหรับรถถัง และอาวุธต่อสู้รถถังขนาด หนักจะต้องมีความลึกอย่างน้อย 3,000 เมตร และตามปกติแล้ว จะต้องสามารถมองเห็นเปา้ หมายได้จากท่ตี ัง้ จดุ ยงิ เสมอ 7. อาวธุ ใช้ยิงต่อเปา้ หมายเป็นพื้นที่ - เปน็ สนามยิงปืนทจี่ ะตอ้ งใช้อาวุธชนิดตา่ งๆ ทาการยงิ เปา้ หมายเป็นบคุ คล และเปา้ หมายเป็นวตั ถุ ตามปกติจะต้อง กาหนดใหม้ ีพ้ืนท่เี ปา้ หมายที่เหมาะสมกบั เป้าหมาย 8. อาวุธใชย้ ิงต่อเป้าหมายเป็นจุด - สนามยิงปืนทต่ี ้องการใช้เป้าหมายหลายชนิดจงึ มีความ ตอ้ งการใชเ้ สน้ ทางทีม่ สี ภาพดไี ปยงั พ้นื ทเ่ี ป้าหมาย 9. อาวุธทีล่ าเลยี งไปโดยบคุ คล - ลักษณะของสนามยงิ ปืน สาหรับอาวุธทีล่ าเลยี งไปโดย บุคคลนัน้ สามารถจะนาเอาคณุ ลกั ษณะของสนามยิงปนื สาหรับ อาวุธเบามาประยุกต์ใชไ้ ดท้ ง้ั หมด โดยปกติแลว้ มคี วามต้องการใช้ เปา้ ต่างๆเพียงเลก็ นอ้ ยเท่าน้ัน สนามยิงปนื จงึ ต้องการส่ิงอานวย

10. อาวุธตดิ ตั้งยานพาหนะ 5 11. อาวุธทางพื้นดิน 12. อาวุธทางอากาศ ความสะดวกตา่ งๆ ทเี่ หมาะสมสาหรับการใชข้ องคนเป็นจานวน มากได้(พื้นที่พักคอย,สนามฝึกหมุนเวียนและพื้นท่กี ารปรนนบิ ตั ิ 13. อาวุธลากจงู บารุง) 14. อาวุธทีเ่ คลื่อนทไี่ ดด้ ้วยตวั เอง 15. อาวุธใช้สาหรบั กบั กระสุนฝกึ - สนามยิงปืน จาเป็นจะต้องสร้างใหม้ คี วามปลอดภัย 16. อาวุธสาหรับใช้กบั กระสุนจริง และทาการฝึกยงิ ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เพราะฉะน้ันจงึ ต้องสรา้ ง สนามยงิ ปืนให้เหมาะสมกับยานพาหนะที่ตดิ อาวุธในลักษณะท่ใี ห้ สามารถรบั น้าหนักของยานพาหนะโดยเฉพาะไดอ้ ย่างมี ประสิทธภิ าพ นอกจากนยี้ งั มคี วามต้องการใชเ้ ส้นทางหรอื ถนน หรือวถิ ที างยิงทีม่ ีขนาดกว้างด้วย - สนามยงิ ปืน มคี วามจาเปน็ จะต้องมีลักษณะภมู ิ ประเทศทางยทุ ธวิธีสาหรับใชเ้ ปน็ จุดยิง,ช่องทางยิง,ทตี่ ัง้ ยงิ ซึง่ โดย ปกติแล้วสนามยิงปืนจาเป็นตอ้ งมีทัง้ เป้าหมายเป็นพ้ืนท่ี และ เปา้ หมายที่เป็นลักษณะภมู ิประเทศทม่ี นั่ คงแข็งแรงหลายๆ แห่ง - สนามยิงปนื จาเป็นจะต้องมีเคร่อื งกลไกของเปา้ ที่ มีการป้องกัน หรือสามารถเคล่อื นไหวได้ และมเี ปา้ หมายท่ีเป็น ลักษณะภมู ิประเทศที่มั่นคงแขง็ แรงหลายๆ แห่ง นอกจากน้ี จะตอ้ งมีสถานทตี่ ้ังของหน่วยทหารสรรพาวธุ และสนามบิน ฉุกเฉนิ ใหส้ ามารถเปลีย่ นอาวุธ และเตมิ นา้ มันเชื้อเพลิงให้กับ อากาศยานได้ และตอ้ งมีสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ อย่าง สอดคลอ้ งกัน รวมทั้งจะตอ้ งมีห้วงอากาศทีป่ ลอดภยั เหนือ เปา้ หมายดว้ ย - สนามยงิ ปืน ชนดิ นี้มักจะใช้กับ ปนื ใหญส่ นาม และ อาวุธป้องกันภยั ทางอากาศเปน็ หลัก เพราะฉะนัน้ สนามยิงปืนจึง จาเปน็ ต้องมีพ้ืนทพ่ี นื้ ดนิ อยา่ งกว้างขวาง ทม่ี จี ุดที่ตงั้ ที่มีการสารวจ ทางแผนทแี่ ลว้ และจุดยงิ ตา่ งๆ จะตอ้ งมีการเตรียมการทีน่ ้อย ทส่ี ุด - สนามยิงปนื จาเป็นต้องมีพื้นที่ราบเรียบ และพื้นท่ี ปรนนบิ ัติบารงุ ที่มรี ่มเงาทางพื้นดนิ จะตอ้ งมีการกาหนดให้ ยานพาหนะเคล่ือนทอ่ี ย่ใู นวงจากัด และจะต้องมีการป้องกนั และ ทาเครอื่ งหมายส่ิงอานวยความสะดวกเกีย่ วกับไฟฟ้า การระบาย น้า และนา้ ดว้ ย - สนามยิงปืน จะมีปญั หาเฉพาะเรื่อง เก่ยี วกบั อันตรายจาก การยงิ และอนั ตรายทีต่ าบลกระสุนตกเพียงเล็กน้อยเทา่ นัน้ ใน บางกรณีพ้ืนทีเ่ ป้าหมายอาจจะมขี นาดลดลง - สนามยงิ ปนื จะมปี ัญหาเฉพาะเร่ืองทเี่ กยี่ วกับอานาจการ ทาลายของกระสุนจรงิ ทีใ่ ชย้ งิ เท่านั้น (แรงระเบดิ ความรอ้ น และ อาการสาดกระจายของสะเกด็ ระเบดิ ) เปา้ หมายท่อี ย่ใู นทิศทางสูง

6 จาเปน็ ต้องมกี ารป้องกันพื้นที่ตาบลกระสุนตก ซึ่งมักจะมอี ันตราย ทีเ่ กิดขึ้นจากกระสนุ ดา้ น 3. ภมู ปิ ระเทศ ภูมปิ ระเทศมผี ลกระทบตอ่ การยิงของอาวธุ ยงิ เล็งตรง 2 ประการ คือ 1. ภมู ิประเทศมักจะเป็นเคร่ืองจากดั ทีต่ ้งั เป้าหมายทตี่ ้องการ 2. ภูมปิ ระเทศมกั เปน็ เครื่องจากัดเวลาการยงิ ของผยู้ ิงตอ่ เปา้ หมายเคลื่อนท่ตี า่ งๆ ผลกระทบของภูมิประเทศดงั กล่าวนี้ ย่อมจะทาให้ขีดความสามารถในการปฏิบัตกิ ารยงิ ของผยู้ ิงต้องอยู่ ในขอบเขตจากดั ทัง้ ในการฝกึ และในสนามรบ ขีดจากัดดงั กล่าวได้แก่ ลักษณะของดนิ ,ลักษณะของผิวพ้ืน,น้า,วัชพืช และส่งิ กีดขวางท่ีมนุษยส์ ร้างข้นึ ต่างๆ เพอ่ื ใหข้ ้อกาหนดเกี่ยวกับการฝึกทางยุทธวธิ บี รรลผุ ลดี ควรจะเลอื กทต่ี ัง้ สนามยงิ ปืนให้อยู่บนภูมิประเทศที่ มีลักษณะ ลุม่ ๆ ดอนๆ เพียงเล็กน้อย หรือมีวัชพืชปกคุมพอประมาณ และมพี ้นื ทตี่ รวจการณด์ พี อสมควร จะต้องมี การกาบงั และซ่อนพรางท้งั ทเ่ี ป็นตามธรรมชาติและสรา้ งขึ้นดว้ ย การออกแบบสนามยงิ ปืน ผู้วางแผนจะต้องจดั ให้มีช่องทางสาหรบั การไหลของน้าฝนด้วยเสมอ และ จะตอ้ งวางแผนใหส้ ามารถปฏิบัติงานท้ังในห้วงเวลาท่ีทศั นวสิ ยั ดีและไม่ดี และหว้ งเวลาทีม่ ีสภาพอากาศแตกต่างกนั ออกไปในพ้นื ท่ีการก่อสร้าง 4. ทิศทางยิง ทิศทางยงิ คือ ทิศทางทลี่ ากจากอาวุธไปยงั จุดเลง็ ทศิ ทางทีด่ ที ่ีสดุ คอื จะต้องหันหน้าทศิ ทางยงิ ใหช้ ต้ี รงไป ทางทิศตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ซ่ึงจะทาให้มีผลทาใหแ้ สงสว่างปรากฏบนดา้ นหนา้ ของเปา้ เป็นห่วงเวลานานทส่ี ุดใน เวลากลางวนั แตต่ ามกฎทวั่ ไปของสนามยงิ ปนื ยอ่ มถอื ว่า ทศิ ทางยงิ ไมม่ คี วามสาคัญเท่าขดี ความสามารถในการ เขา้ ถึงสนามยิงปนื การรกั ษาความปลอดภัย และความปลอดภัยแต่อยา่ งไรกต็ ามสนามยงิ ปืนไมค่ วรจดั ใหท้ ศิ ทางยงิ ไปทางทศิ พระอาทิตยข์ นึ้ หรือตก ถ้าทต่ี ั้งสนามยิงปืนตงั้ อยบู่ นภมู ิประเทศทไี่ มร่ าบเรียบ ทิศทางยิงก็ควรจะต้องต้ังไดฉ้ ากกับผวิ พ้ืนทม่ี คี วาม สงู ถ้าท่ีตั้งอยู่บนภมู ิประเทศท่ีราบเรยี บกไ็ มค่ วรกาหนดให้ทิศทางยงิ ตดั ผา่ นเนินหรือโคก สนั เนิน และพ้ืนท่ที ่ีมตี ้นไม้ ใหญ่ เพราะจะทาให้มขี ีดความสามารถในการมองเห็นเปา้ หมายลดลงไป ควรหลีกเลยี่ งทตี่ ั้งทม่ี ที ิศทางยิงขา้ มผ่าน ถนนสาธารณะ หรือเสน้ ทางน้าทมี่ ีการใช้สัญจรไปมา ถา้ จาเป็นจะต้องมกี ารยงิ ขา้ มศีรษะนัน้ พ้ืนท่กี ารยิงจะตอ้ ง ตั้งอยู่บนทรพั ยส์ ินของทางราชการ แต่จะตอ้ งมีการทาเคร่ืองหมายแสดงไว้ใหส้ ามารถทราบไดโ้ ดยแน่ชัด และมกี าร ใชร้ ะบบการแจง้ เตอื นภัยลว่ งหนา้ และขณะทาการยิงดว้ ย 5. เขตอันตรายบนผวิ พน้ื แบบแผนที่ประหยดั ทสี่ ุดสาหรบั ความซับซ้อนของสนามยงิ ปืนหนึ่งๆ ก็คือการกาหนดให้มเี ขตอนั ตรายบน พน้ื ผิวไปยงั พ้นื ท่ีการยิง และพืน้ ทด่ี าเนินกลยุทธไวใ้ นระยะสัน้ พอสมควร ในลักษณะท่ใี หพ้ ืน้ ทตี่ ่างๆเหลา่ นนั้ มีเขตท่ี ทับกนั (รูปท่ี 1) การกาหนดเขตอันตรายบนพ้ืนผิวไว้ในลักษณะดงั กล่าวนี้ ยอ่ มจะชว่ ยทาให้ลดจานวนพ้ืนทที่ ี่ จาเปน็ ต้องใช้สาหรับระบบสนามยงิ ปืน และประหยดั ผืนแผน่ ดินลงไปไดม้ าก เมอ่ื ได้เลือกที่ต้ังสนามยิงปนื แล้ว ผู้ วางแผนจะต้องกาหนดรายละเอียดของปริมณฑล และวาดไวเ้ ป็นแผนที่ ย่อมจะแสดงใหเ้ ห็นถงึ พ้ืนท่ีของสนามยงิ ปืน ทต่ี ั้งใจจะสรา้ ง และอานวยความสะดวกต่างๆทงั้ มวลทม่ี ีอยู่หรือวางแผนจะสรา้ ง คาอธิบายเกี่ยวกบั ทต่ี ้งั สนามยิงปืน ที่ถกู ต้องน้นั อาจจะมคี วามจาเปน็ ตอ้ งมีคาแถลงหรือข้อกาหนดเกีย่ วกบั ตาบลกระสุนตกทุกแหง่ กไ็ ด้

กระสุนจรงิ ของ 7 1. สนามฝึกทาการรบสาหรบั หมู่ หมวด ทหารราบ 2. การป้องกันต่อสู้อากาศยานของหมวด 3. สนามยิงเครื่องยงิ ลูกระเบิด 4. สนามยงิ ปืนเล็ก และปนื พก 5. สนามยิงลากล้องรองรถถัง 6. สนามยงิ ลกู ระเบิดยงิ 7. สนามขว้างลูกระเบิด 8. สนามยิงปนื ป้องกันภัยทางอากาศ 9. สนามยงิ ปนื ไร้แสงสะท้อน 10. สนามยงิ ปืนเป้าหมายในอากาศ 11. สนามยงิ ปืนดว้ ย กองรอ้ ยรถถัง 12. สนามยิงเคร่ืองยิงลูกระเบดิ พืน้ ที่ ตาบลกระสุนตก 13. สนามยิงปนื ใหญร่ ถถัง พน้ื ท่ีตาบล กระสนุ ตก รปู ท่ี 1 ตัวอย่างเขตอันตรายบนพื้นที่คาบทบั กัน

8 ตอนท่ี 3 การวางแผนพื้นทีเ่ ป้าหมาย 1. กล่าวนา เมอ่ื แผนงานสรา้ งสนามยิงปนื ได้รบั อนุมัติแล้ว ผ้วู างแผนจะตอ้ งออกแบบและวางโครงสร้างของพนื้ ที่ เปา้ หมาย พนื้ ทีเ่ ปา้ หมายเปน็ สิง่ ที่มคี วามสาคัญมากทีส่ ดุ ของการออกแบบสนามยิงปืน เพราะพื้นทเ่ี ป้าหมายจะทาให้ การฝึกสมจรงิ และใชอ้ าวุธอย่างถกู ต้อง การฝึกยิงปนื จะไมบ่ งั เกิดผลดเี ม่อื พนื้ ทีเ่ ป้าหมายวางแผนไวไ้ มถ่ ูกตอ้ งใน ลกั ษณะทก่ี าหนดให้มเี ป้าหมายตา่ งๆ มากหรือน้อยเกนิ ไปในระยะทีไ่ ม่ถกู ต้อง การกาหนดเป้าหมายไว้ในลักษณะ เช่นนี้ย่อมจะเปน็ ผลให้สูญเสยี กระสุน เวลาและความชานาญ 2. เปา้ เป้าแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คอื เปา้ เคลื่อนท่ี และ เปา้ อยู่กลับที่ ซง่ึ เป้าทั้งสองประเภทนีส้ ามารถแบ่งยอ่ ย ออกเป็นเปา้ ยานพาหนะ,เปา้ บคุ คล,เป้าวตั ถสุ ่งิ ของ และเปา้ ทางอากาศ ในการวางแผนพืน้ ที่เปา้ หมายจะตอ้ ง แบ่งแยกประเภทของอาวุธท่จี ะนามาใช้ยงิ ว่าเปน็ อาวุธยงิ เล็งตรง อาวธุ ยงิ เล็งจาลอง หรือเปน็ อาวธุ ที่ใชย้ ิงดว้ ยลา กล้องรอง เพราะฉะนนั้ ระบบอาวุธ ผูฝ้ ึกยิง และการเคลอื่ นไหวของเป้า จงึ เป็นเคร่ืองบ่งชชี้ นิดของเป้าต่างๆที่จะ นามาใชใ้ นสนามยิงปืน ตามรายละเอียดทแ่ี สดงไว้ในตารางตอ่ ไปน้ี การฝึกยิง การปฏิบตั ิ เป้า ผฝู้ กึ ยิง เปา้ อยูก่ ับที่ เปา้ เคลื่อนท่ี 1. บคุ คล - ทหารราบ - เครอ่ื งตดิ ตงั้ เปา้ -ใชเ้ ครือ่ งกลไกควบคุม - กรอบเป้าชนดิ ติดต้ังอยกู่ ับที่ - ใช้มือลาก 2. ยานพาหนะ - ยานเกราะ - รถถังอยกู่ ับที่ - ยานพาหนะติดต้ังเป้าท่ี - ระบบเป้าอตั โนมตั ิ การควบคุมระยะไกล - กรอบเป้าชนิดตดิ ต้งั อยู่กับท่ี -ใชว้ ิธีเลื่อนไปบนราง 3. วตั ถสุ ิง่ ของ - ปนื ใหญส่ นาม - วตั ถุสง่ิ ของท่เี ปล่ยี นทีต่ งั้ ได้ -ไม่จาเปน็ ต้องเคลอื่ นท่ี - ปอ้ มสนาม -ไม่จาเปน็ ต้องเคลอ่ื นที่ 4. ทางอากาศ -การปอ้ งกนั ภยั ทาง - เป้าฉับพลนั ทางพ้นื ดิน -ระบบเปา้ ทางอากาศ อากาศและ ยานพาหนะทเ่ี ปล่ยี นที่ตงั้ ได้ ขบั เคลือ่ นได้เอง กองทพั อากาศ -เปา้ ลากจูง ในกรณที ไี่ ม่มปี ัญหาเร่อื งอาการแฉลบของหัวกระสนุ หรือสะเกด็ ระเบดิ ในการฝึกยิงของปืนใหญ่สนาม ก็ น่าจะใชเ้ ป้าทมี่ คี วามแขง็ คงทนทดี่ ี กค็ ือการใช้สง่ิ ท่ีเปน็ เหล็กท้งั แท่ง เชน่ ลาตัว และป้อมปืนของรถถังเก่าๆ เป็นต้น และถา้ ได้มกี ารบรรจดุ ินหรือทรายไวภ้ ายในลาตัวและป้อมปืนดงั กล่าวนั้นดว้ ยแล้ว ยง่ิ จะทาใหเ้ ปา้ นน้ั คงทนต่อการ ถูกยงิ ตรงๆได้มาก เปา้ ทมี่ ีความคงทนแข็งแรงดังกลา่ วน้ี จะมคี วามสาคัญมากขึ้น ถา้ นามาใชเ้ ป็นจดุ ศูนย์กลางตาบล กระสุนตกของการยิงดว้ ยอาวุธมากมายหลายชนดิ เพราะสามารถใช้เปา้ น้ันไดเ้ ปน็ เวลายาวนาน สาหรับเป้าที่ไมม่ ี ความคงทนแขง็ แรงนั้น ตามปกติแล้วมักจะเปน็ เปา้ ทที่ าด้วยไม้อดั หรือวสั ดุบอบบางอนื่ ๆ และติดตั้งไวต้ ามขอบของ พ้นื ท่ีตาบลกระสนุ ตกที่มีการยงิ บอ่ ยๆ เพราะจะทาใหล้ ดการชารดุ ฉีกขาดนอ้ ยลง ผ้วู างแผนสนามยิงปนื จะต้องพยายามใช้การผสมผสานท้งั เปา้ หมายยานพาหนะและเปา้ หมายบคุ คลไว้ อยา่ งเหน็ เดน่ ชัด ตวั อย่างเช่น การตดิ ตั้งเป้าไว้เป็นแถวเพ่ือใชแ้ ทนหนว่ ยกาลังรบของฝ่ายขา้ ศึกด้วยรูปขบวนการ โจมตีของกองร้อยรถถังข้าศึก ประกอบดว้ ยรถถงั 10 คัน และยานพาหนะรบของทหารราบ 4 คนั ข้อมูลเอกสาร

9 เกยี่ วกับหน่วยกาลังรบของฝ่ายตรงขา้ มจะสามารถนามาใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงที่ดเี ย่ียม สาหรับการกาหนดรูปแบบ ของเปา้ เพ่อื ให้ผ้รู ับการฝึกได้เข้าถึงสถานการณ์ตา่ งๆในสนามยงิ ปนื ในการกาหนดทตี่ งั้ ของเปา้ นั้นย่อมข้ึนอยู่กับ ปจั จัย 4 ประการ คือ ทัศนวสิ ยั ,ความคลอ่ งตัว,ระยะยิง และการป้องกัน ก. ทศั นวิสัย ในการกาหนดจุดยิงและเป้าหมายต่างๆ จาเป็นจะต้องคานึงถึงเรอ่ื ง ทัศนวิสยั ด้วย เพอ่ื ใหเ้ ปน็ หลกั ประกันได้ว่าผยู้ ิงสามารถมองเห็นเป้าหมายต่างๆได้อย่างชดั เจน ผ้วู างแผนสนามยงิ ปืนต้องมีความมัน่ ใจ ว่า เปา้ หมายต่างๆเหลา่ นั้นไดต้ ัง้ อยูใ่ นข้อกาหนดเร่อื งความปลอดภัยและสามารถมองเหน็ ไดจ้ ากจุดยงิ ทตี่ ้ัง หรอื ชอ่ งทางยิงตา่ งๆ หมายความว่าในสนามยิงปนื ทีถ่ ูกต้องนัน้ จดุ ยิงแตล่ ะจดุ จะตอ้ งสามารถมองเหน็ เป้าตา่ งๆได้อยา่ ง เพียงพอ รายละเอียดตามที่กล่าวมาในขั้นตน้ นนั้ ย่อมจะเป็นประโยชน์ต่อการจะวาดภาพสถานการณ์รบ เราเคย คาดหมายไว้ว่าฝา่ ยเขา้ ตีมักจะเคล่ือนทีใ่ นรปู ขบวนที่ตายตัว ด้วยเหตนุ ีเ้ ป้าหมายต่างๆจะปรากฎตัวให้อาวุธยิงของ ฝ่ายตง้ั รับเปน็ จานวนมากเห็นได้ในเวลาเดยี วกัน แต่มักเปน็ เป้าทเี่ ปิดเผยตัวให้เหน็ ในช่วงระยะเวลาเพยี งสั้นๆเท่าน้ัน ในห่วงเวลาดังกลา่ วนี้ยานพาหนะที่เข้าตีมากนัน้ กย็ อ่ มจะเปิดเผยตวั เองให้เห็นได้ในช่วงระยะเวลาเพยี งสนั้ ๆ เช่นเดียวกัน เพราะฉะนัน้ จึงควรมีการจดั ใหม้ ีเปา้ ต่างๆไว้ในสนามยิงปืนให้สอดคล้องกบั สถานการณต์ ่างๆดงั ท่กี ล่าวน้ี ให้มากท่ีสุดเทา่ ทีส่ ามารถจะทาได้ อยา่ งไรกต็ ามยงั ถอื ว่าห้วงเวลาท่จี ะเปดิ เผยเป้าใหเ้ หน็ ตามความเหมาะสมยังมี ความจาเปน็ ต้องนามาใช้ในสนามยิงปืนอยู่ เพราะทหารเรียนรู้มาอย่างมากเก่ยี วกบั การแกเ้ ทคนคิ การยิงในขณะท่ี เปา้ หมายตา่ งๆ กาลงั เคลื่อนที่ผา่ นพน้ ไปอยา่ งรวดเรว็ หรอื เป็นเปา้ หมายท่ีมองเหน็ ได้ยากอย่างยิง่ ข. ความคล่องตัว ในการกาหนดแถวของเปา้ นน้ั มขี ้อพิจารณาเกย่ี วกับเร่อื งความคล่องตัวอยู่ สอง ประการ คอื 1) ผู้วางแผนสนามยงิ ปืน จะต้องพิจารณาถงึ น้าหนักของเครอื่ งมือเครอ่ื งใชใ้ นการ สนบั สนุน สนามยิงปืน ถ้าได้มกี ารนาเอาเครือ่ งบังคบั เป้าล้มรุกชนิดท่ีสามารถใชป้ ระโยชนไ์ ดห้ ลายทางมา ติดต้ังไวต้ รงยา่ นกลางพ้ืนที่ปรนนบิ ตั บารุงจะเป็นวิธีการทีป่ ระหยัดท่ีสดุ เพราะฉะนนั้ เครอ่ื งบังคบั เป้าล้มรุกที่ถูกต้องทันสมยั จึงตอ้ งเป็นเครื่องกลไกท่ีสามารถหิ้วไปมาได้ 2) ผวู้ างแผนสนามยิงปนื ควรจะไดพ้ ิจารณาถงึ ขีดความสามารถของเป้า เพ่ือให้เกดิ ความสมจริง ด้วยโดยกาหนดใหเ้ ป้าตา่ งๆท่เี คลื่อนที่ผ่านพ้นไปอย่างรวดเร็วมีสภาพเหมือนกนั กบั ภาวะแวดล้อม ในสนามรบ และตามความปกตแิ ล้วเป้าดงั กล่าวนี้ก็มักจะเป็นเปา้ ที่ปรากฏให้เหน็ เฉพาะท่โี ลง่ แจง้ เท่านน้ั ทหารทกุ คนจาเปน็ จะต้องมปี ระสบการณใ์ นการยงิ ต่อเปา้ ต่างๆ เมอ่ื ใชเ้ ปา้ เคล่ือนท่จี ะ พจิ ารณาถงึ ปัจจยั ทัง้ 4 ประการ คือ ความเร็วของเป้า,หว้ งเวลาที่สามารถเห็นเปา้ ,มุมยิง และ ระยะยงิ ค. ระยะยิง ผ้วู างแผนสนามยงิ ปืน ควรจะวางเป้าตา่ งๆ ไว้ในระยะยงิ ทสี่ มจรงิ ด้วยการแสวงประโยชนจ์ าก ทศั นวสิ ยั การกาบังและการซอ่ นพราง ทหารจะมีขีดความสามารถในการกะระยะไดด้ ีขึ้น ถา้ กาหนดให้มีร่องรอยที่ มองเหน็ ได้ไว้ ณ ท่ตี ั้งเปา้ หมาย เชน่ วัชพืช,ตอไม้ หรือหลมุ ระเบิด เปน็ ต้น สนามยิงปืนสาหรับอาวุธเบาควรจะวาง เป้าไว้ให้ห่างจากจดุ ยิงต่างๆ 15 ถึง 500 เมตร ส่วนสนามยิงปืนสาหรบั อาวุธเล็งตรงขนาดใหญ่ เช่น สนามยงิ ปนื ต่อสู้ รถถังหรอื ยานเกราะ จานวนเป้า 80% ควรจะวางใหห้ ่างจากจุดยิงตา่ งๆ 75 ถึง 2,000 เมตร เป้าทีเ่ หลืออีก 20% ควรจะวางเป้าชนิดไม่มั่นคงไว้ในระยะยิงเกนิ 2,000 เมตร แต่เพียงเล็กน้อยเทา่ น้ัน โดยธรรมดาแลว้ การพสิ จู น์ทราบเปา้ ย่อมจะข้ึนอยู่กบั ขดี ความสามารถของแตล่ ะบุคคลแต่จากผลของการ ทดสอบไดแ้ สดงให้เห็นวา่ มักจะมีการพิสูจน์ทราบเป้าหมายไดใ้ นระยะ 2,200 เมตร บอ่ ยท่ีสุด และมกั จะมีเป้า

10 ในที่โล่งแจง้ เกิดขน้ึ ในระยะยงิ น้อยกวา่ 3,000 ถึง 78% เพราะฉะนัน้ ควรวางเปา้ ชนดิ คงทนไว้ในระยะยงิ เกินกว่า 3,000 เมตร แต่เพียงเล็กน้อยเท่านั้น สาหรบั ในการฝึกยงิ อาวุธต่อสู้รถถงั น้ัน ก็ควรจะใชว้ ิธลี ดจานวนครั้งในการฝึก ยิงซ้าของพลประจาปืนลงไป โดยไม่มุ่งท่ีจะทาการฝกึ ให้สามารถยิงไดอ้ ยา่ งแม่นยาในระยะเกนิ กวา่ 3,000 เมตร สว่ น สนามยิงปืนใหญ่ก็ไม่ควรมีจดุ ประสงคท์ ี่จะวางเป้าต่างๆ ไวใ้ นระยะเกนิ 5,000 เมตร (ระยะทต่ี รวจการณ์ถงึ เป้าหมาย) จ. การปอ้ งกนั การป้องกันเปา้ คือ การปฏิบัติที่กระทาเพื่อป้องกันมใิ หเ้ ครื่องบงั คับเป้าลม้ ลุกที่ต้งั ไว้ ประจาท่ีและเคร่อื งชักนาเป้าเค่อื นทไี่ ด้รับความเสยี หาย ซึง่ ถือว่าเป็นสงิ่ ท่ีจาเป็นอยา่ งหน่ึงของการพฒั นาสนามยงิ ปืน เพราะวา่ เครือ่ งกลไกบังคับเปา้ ที่ทันสมัยตา่ งๆ เหลา่ นั้นเป็นเคร่ืองกลไกที่มีราคาแพงและมสี ่วนประกอบท่ชี ารดุ เสียหายได้ง่าย มวี ิธปี ้องกันเปา้ ที่ง่ายทส่ี ดุ อยู่สามประการคอื การใช้ฐานเป้า ,การจัดใหม้ ีกาแพงดิน และการจดั ให้มี หีบเคร่อื งบงั คับเปา้ 1) ฐานเปา้ คอื ทีต่ ้ังเป้าหมายแบบง่ายๆท่ีสร้างโดยมกี ารระบายนา้ และมีการป้องกันทางข้างหน้า อยา่ งมั่นคง ตามปกตแิ ลว้ มักจะต้ังฐานเป้าไวบ้ นพนื้ ดิน ในลักษณะที่ใหอ้ ยหู่ ่างไกลออกไปจากร่อง ระบายน้าในระยะพอสมควร โดยจะตอ้ งฝังฐานเป้าดังกล่าวนีไ้ วใ้ นดินหรือทับถมไวด้ ้วยกระสอบ ทราย เพือ่ ป้องกันมิให้เกิดการชารดุ เสยี หายได้ง่าย 2) กาแพงดนิ จะนามาใช้ในพ้ืนที่ซง่ึ มีความแตกต่างของผิวพื้นในทางระดับอยา่ งเห็นได้ชัด เพอ่ื ป้องกันไม่ใหเ้ กิดการแฉลบของลูกกระสุนปืน เมอื่ มีการสรา้ งกาแพงดนิ ก็สามารถจะติดตั้งขอ้ ต่อ สาหรบั พลังงานการบังคบั เป้ากบั แนวควบคมุ ไวต้ รงขา้ งหน้ากาแพงดินได้ ดงั นั้นถ้าหน่วยทหาร ต้องการจะเปลย่ี นแถวของเปา้ และสายเคเบิล้ ทีค่ ดโค้งซ่ึงติดตอ่ กับขอ้ ต่อของเป้ากส็ ามารถจะใช้ วิธีการเคลอื่ นย้ายเปา้ ตา่ งๆไปยังท่ีตงั้ ชั่วคราวได้ 3) หบี เครอ่ื งบงั คบั เป้า มคี วามมงุ่ หมายนามาใช้เพ่ือป้องกันเคร่อื งบังคับ ซงึ่ ตง้ั อยู่ในพ้นื ทเ่ี ปียกช้นื เท่าน้ัน ควรจะนาหีบเครอื่ งบังคับเปา้ มาใช้เมื่อมคี วามจาเป็นอย่างแทจ้ รงิ เท่านั้น เพราะหีบ เครอื่ งบงั คบั เป้ามรี าคาแพงและบารงุ รกั ษายาก 3. เขตอันตรายบนผิวพ้ืน เขตอนั ตรายบนผิวพ้ืนมีอยู่มากมายหลายแบบ ถา้ ทต่ี ง้ั สนามยงิ ปืนไมส่ ามารถสรรหาเขตอนั ตรายบนผิวพื้น ได้อย่างเหมาะสมโดยธรรมชาติกอ็ าจจะกาหนดใหม้ มี าตราการต่างๆ ดังต่อไปน้ี 1. กาหนดให้มีขอ้ จากดั เร่อื งมมุ ยงิ 2. การใช้ลากล้องรอง 3. การยิงด้วยมุมสูงต่า หรอื ยงิ ไปยังสิ่งท่ีอยูบ่ นเนนิ สูง 4. กาหนดให้มีขอ้ จากัดในเร่อื งทิศทาง และเขตการยงิ 5. การใช้อปุ กรณ์ การฝึกพเิ ศษ ถ้าไม่สามารถจะกาหนดใหใ้ ช้มาตราการต่างๆดงั กล่าวนีไ้ ด้ ผวู้ างแผนสนามยิงปนื ก็อาจจะระงับโครง การสนามยิงปืนน้ันไว้ชว่ั คราวก่อน จนกว่าจะสามารถจดั ใหม้ ีหลกั ประกนั ในการปฏบิ ัติการยิงได้อย่างปลอดภยั มาก พอสมควร 4. พนื้ ท่ีตาบลกระสุนตก และการควบคมุ อาการแฉลบ ปญั หาเรื่องอาการแฉลบของลูกกระสนุ หรือสะเกด็ ระเบดิ น้นั ยอ่ มไม่สามารถขจัดใหห้ มดไปไดโ้ ดยสมบรู ณ์ แตก่ ส็ ามารถจะกระทาใหม้ นี ้อยลงไดโ้ ดยใชก้ ารฝึกยิงที่ถูกต้อง จากการทดสอบที่ผา่ นมา ได้แสดงให้เหน็ ชัดวา่ ลักษณะภมู ิประเทศทไี่ ดร้ ะดับราบเรยี บและมีลกั ษณะดินอ่อนย่อมจะกอ่ ใหเ้ กิดอาการแฉลบของลูกกระสนุ หรือ

11 สะเกด็ ระเบิดไดน้ อ้ ยมาก อาการแฉลบของลกู กระสุนหรอื สะเกด็ ระเบดิ ที่เกดิ ขึน้ ในลกั ษณะภมู ิประเทศดงั กล่าวน้ี โดยปกติแล้วมกั จะมีสาเหตุมาจากการกระทบของลูกกระสุนปืนต่อสิ่งแปลกปลอมต่างๆ ดังนั้นผู้วางแผนสนามยิงปืน จึงควรกวาดล้างพื้นที่ตาบลกระสุนตกมิให้มสี ่งิ แปลกปลอมใดๆหลงเหลืออยู่ ตวั อย่างเชน่ ซากสงิ่ ปรักหักพงั ของเป้า และหวั ประสุนของลูกกระสุนปืนเกา่ ๆ เปน็ ต้น สาหรบั สนามยิงของอาวุธต่างๆน้ันกค็ วรจะกวาดล้างพืน้ ท่ีตาบล กระสุนตกมิให้มกี ้อนหินขนาดใหญต่ ้งั อยูเ่ ด่นๆ พน้ื ดินที่อยูท่ ้ังสองขา้ งของพ้ืนท่ีตาบลกระสนุ ตกก็ควรจะมีลักษณะ เป็นทลี่ าดสงู ขึ้นไปทลี่ ะน้อยๆ นอกจากนี้กค็ วรจะจดั ทาเป็นมูลดนิ ไวต้ รงขา้ งหลังของพ้ืนทเี่ ป้าหมายโดยใชห้ นิ อ่อน และดินทราย ทง้ั นเ้ี พ่ือเป็นการลดอาการแฉลบของลกู กระสนุ หรือสะเกด็ ระเบิดให้นอ้ ยลง และสามารถฝงั ตัวกระสุน หรือสะเก็ดระเบิดไวไ้ ด้ท้งั หมด สนามยงิ ปืนอาวุธขนาดใหญ่ เชน่ ปนื ใหญส่ นามและปนื ใหญ่รถถัง สามารถจะลดพ้ืนท่ตี าบลกระสุนตกใหม้ ี บริเวณแคบลงไดด้ ้วยการใช้ลักษณะภูมิประเทศเปน็ ส่ิงปิดกน้ั ไว้ ทั้งทางด้านหลังและทางด้านข้าง ในการใช้ลกั ษณะ ภมู ปิ ระเทศดังกลา่ วน้ี ถา้ ใช้เนนิ เขาหรือทตี่ ่าตามธรรมชาตจิ ะเปน็ วิธที ดี่ ีทสี่ ุด นอกจากน้ียังสามารถใช้ลกั ษณะภูมิ ประเทศปิดก้นั เป็นเคร่อื งป้องกันอาการแฉลบของสะเก็ดระเบดิ ได้เป็นอย่างดดี ว้ ย 5. การตรวจความปลอดภัย กอ่ นท่จี ะยอมใหห้ น่วยทหารต่างๆเข้าไปปฏบิ ตั ิงานในพ้ืนทเ่ี ปา้ เจ้าหนา้ ทร่ี กั ษาความปลอดภยั สนามยงิ ปืน จะตอ้ งปฏิบตั กิ ารตรวจสอบความปลอดภยั ก่อนเสมอ เพ่อื ให้เป็นไปตามข้อกาหนดเก่ียวกบั มาตราการตรวจสอบ พน้ื ทเี่ ป้าหมายอย่างเข้มงวด มมี าตราการตรวจพนื้ ท่เี ป้าหมายท่ีสาคัญอยู่ สอง ประการ คอื ระยะทางจากจดุ ยิง ต่างๆ ถึงพื้นทีเ่ ปา้ หมาย และระยะหา่ งระหว่างเปา้ ต่อเป้า และจุดยงิ ตอ่ จุดยงิ ต่างๆ ท่พี ักกาบงั ตา่ งๆจะต้องมแี สง สวา่ ง การระบายอากาศและเครอ่ื งปอ้ งกันอยา่ งเพยี งพอ นอกจากนี้จะต้องจัดให้มแี นวปดิ กั้นอย่างน้อยทีส่ ุด หน่ึง แนว ขวางกั้นเส้นสายตาระหว่างแนวยงิ กับหลุมเป้าไว้ดว้ ย ทั้งนีเ้ พ่ือเป็นการป้องกันไมใ่ ห้ลกู กระสุนปนื ท่หี ลงทิศทาง ตกลงไปในหลุมเปา้ ได้ แนวปิดกั้นดงั กลา่ วน้ีอาจจะทาด้วย กอ้ นหิน ไม้ หรือเศษอิฐเศษหินที่หล่อไวด้ ว้ ยปนู ซเี มนต์ และปกคลมุ ผิวพนื้ ด้านหน้าไว้ดว้ ยดนิ เพื่อให้เกดิ อาการแฉลบของลกู กระสุนปนื ได้นอ้ ยลง ในการปฏบิ ตั ซิ ักซ้อม จะตอ้ งทาการทดสอบความม่ันคงแขง็ แรงของแนวปิดกน้ั ดังกล่าวนด้ี ว้ ยเสมอ การปฏิบตั กิ ารซักซ้อม นายทหารสนามยิงปืน และเจ้าหน้าท่ีรกั ษาความปลอดภัยสนามยิงปนื จะต้อง เปน็ ผู้ดาเนินการปฏิบัตกิ ารซกั ซอ้ มด้วยตนเองเสมอ ในการปฏิบัติการซักซ้อมนั้น ควรจะได้ทาการทดสอบพื้นท่ี เป้าหมายในทุกแงท่ ุกมุม รวมทง้ั เครื่องกลไกบังคบั เป้าในทางสงู และเครอ่ื งชกั นาเปา้ เคล่ือนทดี่ ้วย

12 ตอนท่ี 4 การปฏบิ ัตงิ าน 1. กล่าวนา การปฏิบัตงิ านของสนามยงิ ปืนท่ีปลอดภัย และมีประสิทธภิ าพน้ัน ยอ่ มขึ้นอยกู่ บั ระเบียบแบบแผนใน การปฏิบตั งิ านที่มีการพฒั นา และวางแผนไว้เป็นอย่างดี ซงึ่ ถือว่าเปน็ การรับผดิ ชอบของผู้จัดการสนามยิงปนื ที่ จะต้องจัดทากฎและระเบียบการต่างๆ ท่ีจะต้องปฏิบัตใิ นสนามยิงปนื แจกจา่ ยให้กับหนว่ ยที่จะมาทาการฝกึ และไว้ ที่ต้งั สนามยิงปืน รวมทง้ั ขอ้ มูลของขีดความสามารถของสนามยิงปืน ผจู้ ัดการสนามยงิ ปนื จะต้องจัดทาขอ้ กาหนด ต่างๆ ได้แก่ 1. เครื่องหมายและสัญญาณเตือนภยั 2. การป้องกนั ตาและหู 3. การควบคมุ การจราจร ทั้งทางถนน และทางน้า 4. ยาม และเคร่อื งปดิ กน้ั สนามยิงปนื 5. ธง และเครื่องหมายที่แสดงถึงการจากดั การยงิ 6. ระเบยี บการ เร่อื งการรายงานกระสุนดา้ น 7. การอบรมพลยงิ , เจา้ หนา้ ที่สนามยงิ ปนื , และคณะบคุ คลพลเรอื น 2. การควบคุมทรัพยากรธรรมชาติ สนามยงิ ปืนต่างๆ ย่อมประกอบดว้ ย พน้ื แผ่นดนิ และนา้ ที่กว้างใหญไ่ พศาล ซึ่งมักจะมี ทรัพยากรธรรมชาตอิ ยู่จานวนมาก การควบคุมทรพั ยากรตา่ งๆ เหล่านี้เป็นหน้าที่ของหน่วยทหารทุกระดบั และ จาเปน็ จะต้องมีการเน้นหนักใหม้ องเห็นถงึ ความสาคัญของทรัพยากรตา่ งๆ เหลา่ น้ันด้วย ผ้จู ดั การสนามยิงปืน จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบในเร่ืองการควบคุมทรัพยากรที่มีอยูบ่ นผืนแผ่นดนิ ทจ่ี ะเป็นสนามยิงปนื เสมือนหนึ่งเปน็ ผู้ อารกั ขาทรัพยส์ นิ ของสาธารณะในลกั ษณะทีม่ ิใหข้ ัดแย้งกบั ภารกิจทางการทหาร การควบคมุ ทรัพยากรทางธรรมชาติ ยอ่ มหมายความรวมไปถึงเรื่องราวต่างๆ ที่เก่ยี วข้องกบั คุณภาพของส่ิงแวดลอ้ มด้วย ซ่งึ ได้แก่ ปัจจัยสง่ิ แวดล้อมต่างๆ ดงั ต่อไปน้ี คือ 1. การป้องกนั ความเสยี หาย (ความเสียหายเกี่ยวกับอากาศ,น้า,เสียงรบกวน,และความม่ันคง) 2. การพิทักษด์ ิน และการควบคมุ การสึกกรอ่ น 3. การพทิ ักษ์สัตว์น้า และสตั ว์ปา่ 4. การควบคมุ ป่า และการพิทักษ์ทุง่ หญ้า 5. ความสวยงามของผืนแผน่ ดิน 3. การทาให้สนามยิงปืนปลอดภยั การทาใหส้ นามยงิ ปืนปลอดภัยนนั้ เป็นเรอ่ื งราวที่มีความเกยี่ วข้องอยกู่ ับการโยกย้ายและการจัดวาง ส่วนประกอบท่ีบรรจหุ บี ห่อ,เส้นลวดทีใ่ ช้ชักนาเปา้ ,เปา้ และกระสนุ ด้าน ผูจ้ ัดการสนามยิงปนื ต้องจัดทากาหนดการ ทาใหส้ นามยิงปนื ปลอดภัยไว้อยา่ งละเอียด การดาเนินการดงั กลา่ วยอ่ มจะก่อให้เกิดความปลอดภยั สว่ นบุคคล, ประสิทธภิ าพของสนามยงิ ปนื และแนวทางพัฒนาสนามยิงปืนในอนาคต ในการทาใหส้ นามยิงปืนให้ปลอดภัยนั้นควร จะดาเนนิ การตามรายละเอยี ดดังตอ่ ไปน้ี

13 หว้ งเวลา บรเิ วณทต่ี ้องการกวาดล้างกระสุน 1. ประจาวันหรือก่อนที่หนว่ ยใช้ - บรเิ วณรอบจดุ ยงิ ทกุ จดุ ,แนวทางยิง หรือสถานทตี่ ั้ง ต่างๆ จะออกไปจากสนามยิงปืน - บริเวณโดยรอบเปา้ หมายรศั มี 152 เมตร 2. ประจาเดอื น - บรเิ วณโดยรอบเป้าหมายรศั มี 610 เมตร ,บนเส้นทาง 3. ประจาปี ต่างๆทงั้ หมดในสนามยงิ ปนื และโดยรอบพ้นื ท่เี ปา้ หมาย ทางยทุ ธวิธใี นระยะ 30 เมตร ขอ้ กาหนดน้ผี ู้บังคบั หนว่ ยทหารสามารถจะระงับเสียก็ได้เป็นกรณีไป เม่ือมีการเปลีย่ นทตี่ ง้ั เป้าต่างๆใหม่ อาจมีความจาเปน็ ตอ้ งดาเนินการกวาดล้างเส้นทางและบริเวณพื้นที่ เปา้ หมายใหม่ดว้ ยข้อกาหนดดงั กลา่ วน้ีกไ็ ด้ นอกเหนือจากข้อกาหนดตา่ งๆ ในรอบ 5 ปี ผู้จัดการสนามยิงปืนควรจะทาการกวาดล้างพ้นื ทีโ่ ดยรอบแต่ ละเปา้ รัศมี 1,000 เมตร เพอ่ื ให้มนั่ ใจว่าพ้ืนท่ีนั้นมีความปลอดภัย 4. ผูใ้ ช้สนามยิงปืน ผู้ใชส้ นามยงิ ปนื เป็นหน่วยงานที่มีหน้าทีร่ ับผดิ ชอบการใชร้ ะบบอาวุธกับสนามยิงปืนให้เกดิ ประโยชนม์ าก ทีส่ ุด 5. การรวมกลมุ่ สนามยิงปืน ถา้ สามารถกระทาได้ควรรวมสนามยงิ ปนื ที่มีความสัมพันธ์กนั ไว้ในพ้ืนทีเ่ ดียวกัน เช่น การรวมสนามยิงของ พลแมน่ ปืน,สนามขว้างลูกระเบดิ ,สนามยงิ อาวุธตอ่ สูร้ ถถงั และสนามยิงปนื ใหญร่ ถถงั ไว้ในกลุ่มเดยี วกัน เปน็ ตน้ 6. สิ่งอานวยความสะดวกในสนามยิงปืน ทกุ สนามยงิ ปืนจาเป็นจะต้องมสี ่ิงอานวยความสะดวกอยจู่ านวนหนง่ึ ส่งิ อานวยความสะดวกจะต้องมี ลกั ษณะดังนี้ สิง่ อานวยความสะดวก ลักษณะ 1. ที่จอดรถ - จะต้องอยใู่ นพื้นท่ี ท่ยี านพาหนะสามารถ เข้าถงึ ได้ เทผวิ พื้นด้วยดินปนกรวด หิน ยางมะ ตอย หรอื คอนกรีต มรี ะบบการ ระบายนา้ ทพี่ อเพยี งและมีลานจอดรถ 2. ที่พกั คอย - ต้องตงั้ ให้อยู่ห่างไกลออกไปจากพน้ื ท่ี ทมี่ เี สยี งดัง สร้างใหม้ ีท่ีน่ังอย่างพอเพยี ง อยใู่ นพื้นที่ร่มเงา และ มที ท่ี ง้ิ ขยะ 3. ทีร่ บั ประทานอาหาร - ตัง้ อยูห่ ่างจากพ้ืนท่ี ที่มีการจราจรคบั คั่ง 250 เมตร หา่ งถนน 150 เมตร ห่างจากท่ีฝึก 300 เมตร มรี ะบบ การระบายน้า,นา้ ดมื่ ,ที่ท้ิงขยะ และที่น่งั พกั ผ่อน 4. สถานกี ารฝึกหมุนเวียน - อยู่ในพื้นทที่ ่ียานพาหนะเข้าถึงได้ อย่หู ่างจากแนว ยิง 100 เมตร แยกกนั อยกู่ ันคนละส่วนกบั แนวยงิ โดย ปดิ กั้นไวด้ ้วยมลู ดิน มที ี่นง่ั อย่างพอเพียง

5. หอควบคมุ 14 6. ระบบการสื่อสาร - จะตอ้ งสร้างไว้ ในลกั ษณะทม่ี องเห็นแนวยิง และ พื้นท่ีเป้าหมายได้ชัดเจน ตอ้ งมรี ะบบไฟฟ้า ใหแ้ สง 7. อาคารเอนกประสงค์ สว่าง การตดิ ต่อสอื่ สาร 8. ระบบไฟฟ้า - ต้องกาหนดใหม้ ีการใช้ท้ัง ระบบโทรศพั ทแ์ ละวทิ ยุ สาหรบั ใชต้ ิดตอ่ ระหว่างสถานีกลางกับหอควบคมุ และ 9. ระบบน้า สถานีการฝึกต่างๆ 10. หอ้ งน้าและห้องส้วม - ต้ังอยูใ่ นพนื้ ที่ท่ยี านพาหนะเขา้ ถึงได้ ใชเ้ ก็บและแจก 11. ทพี่ ยาบาล จา่ ยเป้า เครือ่ งอุปกรณท์ าความสะอาดอาวุธ และเกบ็ 12. ถนน อุปกรณ์ตา่ งๆ - ใชก้ ับเครอื่ งให้แสงสว่าง โดยกาหนดให้มที ้ังระบบ ระบบกระแสสลับ 220 โวลท์ และ ระบบกระแสตรง 12 – 24 โวลท์ - สร้างข้นึ เพื่อใช้กบั ระบบดับเพลงิ , ห้องนา้ , ห้องสว้ ม , พ้นื ท่ีรับประทานอาหาร และท่พี กั แรม - ตั้งอย่หู า่ งจากพนื้ ท่ีพักคอยไม่เกิน 150 เมตร มีระ บบแสงสว่าง และต้องมเี พศหญิงและชาย - ต้องประกอบไปด้วยชุดเครอื่ งมือพยาบาล และรถ พยาบาล 1 คนั และพืน้ ทีส่ าหรบั ส่งทางอากาศ - จะต้องวางแผนสรา้ ง ใหม้ ีการจราจรเป็นเส้นทาง รอบ ให้เหมาะสมกบั ยานพาหนะ ตอนท่ี 5 สนามฝึกยิงอาวธุ รถถัง 1. กล่าวนา สนามฝกึ ยิงอาวุธรถถงั เปน็ สนามที่สามารถพัฒนาสร้างได้หลายแบบ ให้ใช้ทาการฝึกยงิ เปา้ หมายดว้ ย ลากล้องรอง ดว้ ยปืนกลประจารถถงั และปืนใหญ่รถถงั ทง้ั ยิงด้วยกระสุนซ้อมยงิ และกระสุนจริง โดยใช้ทาการฝึกพล ยงิ และพลประจารถถังตามตารางการฝึกยงิ ต้งั แตเ่ บ้ืองตน้ จนถึงขั้นสงู ฝึกเป็นคัน เปน็ ตอน และหมวดรถถัง ให้ สามารถทาการยงิ ทาลายเป้าหมายได้อยา่ งถูกตอ้ งตามมาตรฐาน รวมทัง้ ใช้ทาการฝึกทานองรบ ฝกึ การหาระยะ ฝกึ ยงิ ด้วยเคร่อื งช่วยฝึกยิงอาวุธรถถงั ดว้ ยระบบเลเซอร์ เนอื่ งจากพ้นื ที่จัดทาสนามฝึกยิงอาวุธรถถังในประเทศมขี ้อจากดั มาก หนว่ ยรถถงั ตา่ งๆ ไมส่ ามารถหาพ้ืนทที่ ่ีทาการฝึกยงิ ใหก้ ับกาลังพลของหนว่ ยในระยะทางทใี่ กล้กับทตี่ ้ังหน่วยได้ ผูว้ างแผนการฝึกจึงต้องมคี วามรเู้ ก่ยี วกับตารางการฝึก และลกั ษณะของสนามยิงอาวธุ รถถงั ท่เี พยี งพอ เพ่ือนาไปทา การประยกุ ตส์ ร้างสนามฝึกให้สามารถฝึกกาลังพลของหน่วยตนให้มีความชานาญสามารถไปปฏบิ ตั กิ ารรบไดอ้ ย่างมี ประสิทธิภาพ

15 1. สนามฝกึ ยิงอาวธุ รถถงั ย่อสว่ น 1 : 30 และ 1 : 60 ก. การใช้ สนามฝกึ ยิงนจ้ี ะใช้เป็นครัง้ คราว เพือ่ ปรบั เสน้ เล็งอาวธุ รถถงั และปรบั การยิงต่อเปา้ หมายอยู่กบั ที่ และเคลือ่ นที่ (ตารางฝกึ ยงิ ท่ี 1,2 และ 3) ทง้ั ยงั เปน็ สนามฝกึ ยงิ ทเี่ หมาะสมกับเคร่ืองช่วยฝึกยงิ ปืนใหญ่รถถงั ด้วย เลเซอรด์ ว้ ย และสามารถใชส้ นามน้ีทาการฝึกยิงด้วยลากลอ้ งรองขนาด .22 ม.ม.,ขนาด 5.56 ม.ม.,ขนาด 7.62 ม.ม. และ .50 น้วิ ในวิธยี อ่ สว่ น ถา้ มีการปรบั ปรงุ เลก็ น้อยก็อาจจะใช้เปน็ สนามฝึกยิงตามตารางฝึกยิงที่ 4 และยิงตอ่ เปา้ หมายทีไ่ ม่มน่ั คงได้ ข. ลักษณะ จานวนท่ีต้งั ยงิ 5 ทตี่ ั้งยงิ แนวยิงกว้าง 30 เมตร พ้ืนท่ีเป้าหมายกว้าง 30 เมตร ความลึกของสนามเกณฑ์ตา่ สุด 58 เมตร ลักษณะที่ตั้งยิง จุดยงิ มีลกั ษณะตา่ กว่าพ้ืนระดบั เลก็ น้อย ตาม ความ สัมพันธ์ของพ้ืนท่ีเปา้ หมาย (สูง ประมาณพ้นื ทีเ่ ป้าหมาย) ลกั ษณะเป้า ใช้เป้ายานพาหนะ จานวน 10 เปา้ ตอ่ หนง่ึ ชอ่ งทางยงิ ติดตั้งไวท้ ่พี นื้ ท่ีเป้าหมายทยี่ กสูงกว่าพื้น ระดบั เล็กนอ้ ย ค. รายละเอียดเพิม่ เตมิ สนามฝึกยิงนี้ จะต้องใช้เป้า 2 ชดุ คือ ใชท้ าการยิงระยะปานกลาง ต่อเปา้ หมายมาตรา สว่ น 1 : 30 และทาการยงิ ระยะไกลต่อเปา้ หมายมาตราส่วน 1 : 60 ขอ้ กาหนดท่ีเหมาะสมสาหรับการยิงตาม ตารางยงิ ท่ี 1 และ 2 ก็คอื ในแตล่ ะช่องยงิ ตดิ ต้งั เป้าปรบั ปนื สาหรบั การยงิ ตามตารางยงิ ที่ 1 และตดิ ตง้ั เปา้ ปรับการยิงสาหรบั การยงิ ตามตารางยงิ ท่ี 2 ไวท้ ่ีระยะ 18.3 เมตร ข้อกาหนดทเ่ี หมาะสมสาหรบั การยงิ ต่อเป้าหมายเคล่ือนท่ีตาม ตารางยิงที่ 3 และ 4 และ เป้าหมายทีไ่ ม่มน่ั คง กค็ อื การใช้เคร่ืองกลไกบังคับเป้าหมายเคลื่อนทส่ี องเคร่อื งโดยจะตอ้ งวางเครอื่ งกลไกบังคับ เปา้ หมายเคลื่อนท่ใี หอ้ ยหู่ ่างจากแนวยงิ ในระหวา่ ง 12.2 เมตร และ 27.6 เมตร เพอ่ื ประกอบการยงิ ท้ังสองลักษณะ ถา้ ทาการฝึกยิง ด้วยลากล้องรองในสนามฝกึ ยงิ ปืนน้ยี ่อมจะไดร้ ับประโยชน์ ทสี่ าคญั หลายประการ ดังตอ่ ไปน้ี คือ 1) สามารถควบคุมป้อมปนื และปนื ไดอ้ ยา่ งใกลช้ ดิ 2) สามารถทาการยิงปืนใหญ่ไดใ้ นขณะท่เี ลง็ ตามเป้าหมายเคลื่อนที่ 3) ทาให้มีการแข่งขนั กันในระหว่างพลประจารถถงั คันอ่ืนๆ 4) แสดงให้เห็นถึงผลของการบังคับการยิง 5) สามารถประเมินคา่ การพสิ จู นท์ ราบเปา้ หมายได้ 6) ให้พลยิงสามารถวางจดุ เล็งไวบ้ นเป้าหมาย สาหรบั ยิงปนื ใหญ่ได้อยา่ งรวดเร็ว และ แม่นยา

16 รปู ที่ 2 สนามยิงอาวุธรถถัง ยอ่ ส่วน 1 : 30 และ 1 : 60 2. สนามยิงอาวธุ รถถังย่อส่วน 1 : 5 และ 1 : 10 ก. การใช้ เป็นสนามยิงปนื ถาวรสาหรบั ทาการฝึกการใชร้ ะบบเครื่องควบคมุ การยงิ ของรถถัง รวมท้ังใชเ้ ครื่อง หาระยะยงิ ด้วยเลเซอร์ของรถถงั นอกจากนยี้ ังใช้สาหรบั ทาการฝกึ ยิงดว้ ยลากลอ้ งรอง โดยใชก้ ระสุนขนาด 5.56 ม. ม. (ตารางยิงของรถถงั ตารางยงิ ท่ี 1 ถึงตารางยิงต่อเปา้ ไม่มั่นคงด้วย) ข. ลกั ษณะ จานวนทต่ี ั้งยงิ 5 ที่ตงั้ ยงิ แนวยงิ กว้าง 100 เมตร พ้นื ทเี่ ป้าหมายกว้าง 100 เมตร ความลึกของสนามเกณฑ์ตา่ สดุ 400 เมตร ลกั ษณะจดุ ยิง จุดยิง ท่ีมีลักษณะต่ากวา่ พ้ืนระดบั เลก็ นอ้ ยตามความ สัมพันธข์ องพื้นทเ่ี ป้าหมาย (สงู ประมาณพื้นท่ีเป้าหมาย ) จดุ ยิงต่างๆ ตอ้ งมลี ักษณะปกปดิ กาบงั

17 ลกั ษณะเปา้ ใช้เป้ายานพาหนะ จานวน 10 เปา้ ต่อหน่งึ ชอ่ งทางยิง ตดิ ต้งั ไวบ้ นพ้ืนท่ีเปา้ หมาย ทยี่ กสูง กว่าพืน้ ระดับเลก็ น้อย สงิ่ อานวยความสะดวกท่ีจา เป็น หอควบคมุ และสถานีการฝกึ หมุนเวยี นและที่ พยาบาล ค. รายละเอยี ดเพิม่ เติม สนามฝึกยิงปืนน้ี จะตอ้ งใชเ้ ป้าเปน็ สองชุด คอื สาหรับทาการยิงระยะปานกลางใช้เปา้ มาตราส่วน 1 : 5 และสาหรับการยิงระยะไกลใช้เป้ามาตราส่วน 1 : 10 ในการยงิ ต่อเป้าล้มลุกอยู่กบั ที่ จาเปน็ จะต้องใช้เครอ่ื งกลไกบังคบั เปา้ ( เครื่องกลไกบังคับเปา้ หุน จ. ลม้ ลุกของทหารราบ) จานวนหน่งึ เครื่อง จะต้องออกแบบระบบการเคลอ่ื นท่ขี องรถถงั ให้ได้มาตราส่วน 1 : 5 และ 1 : 10 ไว้อย่างถาวร เพอื่ ใชก้ ับสนามยงิ ปืนโดยเฉพาะเทา่ นั้น สนามฝึกยงิ ปืน นจ้ี าเป็นจะต้องมพี ้ืนที่ ที่ตาบลกระสุนตกอยู่ห่างจากแนวยิง 2,250 เมตร เมอ่ื ยงิ ดว้ ยกระสนุ ขนาด 5.56 ม.ม. และอยู่หา่ งจากแนวยิง 3,100 เมตร เมือ่ ยิงดว้ ยกระสุนขนาด 7.62 ม.ม. รูปท่ี 3 สนามยิงอาวธุ รถถัง ยอ่ สว่ น 1 : 5 และ 1 : 10

18 4. สนามฝึกยงิ ปนื ใหญร่ ถถัง (รถถังอยกู่ ับที่) ก. การใช้ ใชส้ าหรบั ทาการฝึกใหพ้ ลประจารถถังสามารถทาการยิง และทาลายตอ่ เป้าต่างๆ ไดอ้ ย่าง รวดเรว็ ท้ังในเวลากลางวัน และกลางคืน นอกจากน้ยี งั สามารถนาไปใชท้ าการฝกึ ยงิ ลากล้องรองต่อเป้าหมายตา่ งๆ ใน สถานการณ์ทางยทุ ธวิธไี ดด้ ว้ ย การฝกึ ท้งั หมดในสนามยงิ ปืนน้ีจะต้องทาในขณะที่รถถังจอดอยู่กบั ทเี่ ท่าน้ัน ข. ลักษณะ จานวนท่ีตั้งยิง 15 จุดยิง แนวยงิ กว้าง 150 เมตร พนื้ ทเี่ ป้าหมายกว้าง 1,000 เมตร ความลึกของสนาม เกณฑ์ต่าสุด 2,000 เมตร ลกั ษณะทตี่ ั้งยงิ แนวยิงที่มีผวิ พืน้ แข็ง สามารถรับ น้าหนักการแล่นของรถถังได้ มคี วามกว้าง พอทจ่ี ะใหร้ ถได้ และยกใหส้ ูงกว่าพน้ื ระดบั เล็กน้อย ลกั ษณะเปา้ เป้ารปู ยานพาหนะเคลอ่ื นท่จี านวน 5 เป้า ตดิ ตั้ง ไวบ้ นรางเลือ่ น แบบเส้นทะแยงมมุ ที่ระยะ ๑,๐๐๐ และ ๑,๘๐๐ เมตร เปา้ รปู ยานพาหนะ ล้มลุก ตดิ ต้งั อยู่กับทจ่ี านวน ๓๖ เป้า , เป็น บคุ คลอย่กู บั ท่ี สาหรบั ฝึกยงิ ตามสถานการณท์ าง ยุทธวิธี จานวน ๖ กลุ่ม , เปา้ ปรบั ปรับเส้น เลง็ และเปา้ ปรบั ปนื จานวน ๓ เป้า สิ่งอานวยความสะดวกท่ีจาเป็น หอควบคมุ , สถานีการฝึกหมนุ เวยี น และพ้ืนท่ี ราบเรียบ สามารถจอดยานพาหนะไ ด้ ๒๐ คัน , ท่ีรับประทานอาหารทมี่ ีหลังคา และอาคาร อเนกประสงค์ ค. รายละเอยี ดเพิ่มเตมิ สนามยงิ ปืนนี้ใช้เปน็ สนามปืนใหญ่ด้วยวิธเี ลง็ ตรง เจ้าหนา้ ทป่ี ระจาหอควบคมุ สามารถควบ คุมสนามฝกึ จากข้างหลงั แนวยิงได้ เนอื่ งจากสามารถมองเห็นภาพการฝกึ ทางยทุ ธวิธตี ่างๆ บนหอควบคุม เปา้ เคล่ือนทตี่ ่างๆ ต้องปรากฏให้เหน็ เพียง 20 ถงึ 22 วนิ าที และเคล่ือนท่ดี ้วยความเร็วไม่เกนิ 25 ไมล์/ชม.

19 ถา้ ทาได้ควรวางเป้าในลักษณะท่ีมองเห็นไดจ้ ากทตี่ ้ังสองแหง่ หรือมากกวา่ ถ้าไม่มีเปา้ ลม้ ลุกให้ ใชเ้ ปา้ ทีแ่ ขง็ แรงอยู่กบั ทีแ่ ทนเป้าชนิดน้ี และยงั สามารถนาไปใชใ้ นการฝกึ ที่มีระยะยิงเกิน 2,500 เมตร ตรงบรเิ วณท่ี การพสิ ูจนเ์ ป้าหมายกระทาไดล้ าบาก และบรเิ วณทจ่ี ะตอ้ งมีการปกปดิ เปา้ หมายไว้จนกว่ารถถงั จะเคลอ่ื นทไ่ี ปยงั ทต่ี ง้ั ยิง ใชเ้ ป้าอยู่ท่แี บบอัตโนมัติ รปู รถถงั ช่วั คราวในสนามฝกึ แบบนก้ี ไ็ ด้ เคร่ืองหมายเขต เคร่ืองหมายเขต เคร่ืองหมายเขต นิรภยั อันนอก นิรภยั อันใน นิรภยั อันนอก เคร่ืองหมายเขต 1,800 ม. 3,500 ม. เคร่ืองหมายเขต นิรภยั ระยะใกล้ 3,000 ม. นิรภยั ระยะใกล้ 2,500 ม. 1,500 ม. 1,000 ม. 1,000 ม. รูปท่ี 4 สนามฝกึ ยิงอาวุธรถถงั (รถถังอยู่กบั ท่ี) 5. สนามฝึกยิงอาวุธรถถังทานองรบของพลประจารถถัง (รถถงั เคลือ่ นที่) ก. การใช้ ใช้ฝึกพลประจารถถังให้สามารถทาลายเปา้ หมายอยู่กบั ที่ และเปา้ หมายเคลอื่ นทีใ่ นลักษณะทาง ยทุ ธวิธี และใชเ้ พื่อทดสอบคุณวฒุ ขิ องพลประจารถถัง การฝึกยงิ โดยไมใ่ ชก้ ระสุน และการฝกึ ยงิ ดว้ ยลากลอ้ งรอง โดยใช้ปืนกลขนาด .50 นวิ้ การฝกึ ทุกชนิดในสนามยงิ ปืนนต้ี ้องกระทาในลักษณะรถถังเคลอ่ื นที่ ตามตารางการฝึก รถถังที่ 7 และ 8 ข. ลักษณะ จานวนทตี่ ้ังยงิ เส้นทางว่ิงของรถถงั ๑ เสน้ ทาง แนวยงิ กว้าง 50 เมตร (ต่าสดุ ) พ้นื ทีเ่ ปา้ หมายกว้าง ไม่มกี ารใช้ ความลึกของสนามเกณฑ์ต่าสดุ 2,000 เมตร ลักษณะทีต่ ั้งยิง ตดิ ตง้ั เคร่อื งหมายแสดงหมายเลข ไวบ้ น เสน้ ทางวิ่งของรถถัง

20 ลักษณะเป้า ใหต้ ดิ ตั้งเปา้ รปู ยานพาหนะ และเป้า บคุ คลไวต้ ามสถานการณ์ ทางยุทธวิธี ใน เส้นทางวิ่งของรถถงั สิ่งอานวยความสะดวกท่ีจาเป็น หอควบคมุ ,สถานฝึกหมุนเวียน, ที่พยาบาล , อาคารอเนกประสงค์ (ใช้สาหรับเกบ็ และ แจกจ่ายกระสุน),ที่พักคอย,และทป่ี รนนบิ ตั ิ บารงุ รถถงั ค. รายละเอียดเพมิ่ เตมิ แบบของสนามยงิ ปืนน้ี ใชฝ้ กึ พลประจารถถังใหท้ าการฝึกปฏิบตั ิการยิงทางยทุ ธวิธีต่อเป้าหมาย ตา่ งๆ ท่ปี รากฏขึ้นเหมือนในสนามรบ เครอ่ื งหมายแสดงต่างๆ ทก่ี าหนดข้นึ เพ่อื ใหผ้ ูค้ วบคุมสามารถทราบตาแหน่งของเปา้ หมายและ จุดทเ่ี ป้าหมายปรากฏขนึ้ ในการจัดเปา้ และอปุ กรณจ์ ะต้องระมดั ระวงั อย่าใหพ้ ลประจารถถงั สามารถตรวจการณ์ เหน็ ได้ รูปท่ี 5 สนามยิงอาวธุ รถถงั ทานองรบของพลประจารถถัง (รถถังเคล่อื นท่ี)

21 6. สนามฝกึ ยิงทานองรบของหมวดรถถัง ก. การใช้ สนามฝึกน้ีเปน็ สนามฝึกยิงอาวธุ รถถัง และการฝึกดาเนินกลยุทธป์ ระกอบกนั ทัง้ หมวดรถถัง และ หมวดทหารม้าบรรทุกยานเกราะโดยเฉพาะอย่างยิ่งเกีย่ วกบั การฝึกสอน และการประเมินผลในเรื่องตา่ งๆ ดงั นี้ 1. การควบคมุ การยิงของหมวด 2. ระเบียบปฏิบตั ิในการรายงาน 3. เทคนิคการเคลื่อนท่ี 4. การประหยัดกระสนุ 5. การควบคุมการยิงเลง็ จาลอง และการยงิ สนับสนนุ อี่นๆ สนามยงิ นีย้ งั สามารถใช้ในการฝกึ โดยไมใ่ ช้กระสนุ จริง และการฝึกยิงดว้ ยลากล้องรองโดยลา กลอ้ งรองโดยใชก้ ระสุน .50 นวิ้ (ตารางฝกึ ยิงรถถังท่ี 9) ข. ลักษณะ จานวนที่ต้ังยงิ ไมม่ ีการใช้ แนวยิงกว้าง 1,500 เมตร (แนวออกตี) พ้นื ท่ีเป้าหมายกว้าง 2,500 เมตร เมือ่ ระยะยงิ ไกลสดุ 4,000 เมตร ลักษณะของพ้นื ท่ี เปน็ ลักษณะภูมิประเทศทีม่ คี วามกว้าง เพยี งพอตอ่ การดาเนินกลยุทธ์ ของหมวด รถถงั 5 คัน ลกั ษณะเป้า ใชร้ ปู เป้ายานพาหนะ จานวน 20 ถงึ 25 เปา้ และเป้าบคุ คลท่มี กี ารจดั รูปขบวน เหมอื น ฝา่ ยตรงขา้ มจานวน 10 เป้า (สาหรับการยิง ของปนื กล) ในเสน้ หลักการรุก ส่ิงอานวยความสะดวกที่จาเป็น การสนบั สนุนสนามยิงปืน (อาคาร อเนกประสงค์ และทวี่ างตัวสาหรบั ผคู้ วบคุม) , ทีร่ วมพล (อยูข่ ้างหลังแนวออกตี 1 – 5 ก.ม.) และอาคารอเนกประสงค์ท่พี ักคอย และท่ปี รนนิบัติบารงุ ค. รายละเอียดเพ่ิมเตมิ จะตอ้ งมกี ารปรบั ปรุงสถานที่ต้งั แต่ละแห่งให้มคี วามเหมาะสมกับสนามฝกึ นี้ และพ้ืนทดี่ าเนนิ กล ยุทธข์ องหมวดจะต้องมขี นาดกว้างตามท่ตี อ้ งการ ลกั ษณะภูมิประเทศในสนามฝึกนตี้ ้องอานวยใหป้ ฏบิ ัติทางยุทธวิธีได้โดยเสรี โดยมกี ารทาลายท่ี น้อยที่สุด และใหม้ กี ารกาบงั ซ่อนพรางตอ่ รถถงั ได้เปน็ อยา่ งดี เครื่องกลไกบังคบั เป้าล้มลุกจะตอ้ งใช้วธิ คี วบคมุ โดยเสน้ ลวดหรอื วิทยุ ในเวลากลางวันให้ แสดงเป้าใหผ้ ู้ยิงเห็น 40 วินาที และในเวลากลางคืนแสดงใหเ้ ห็น 60 วนิ าที จะต้องนาเอาเคร่ืองทาเสยี งปืนกลเทียม , การระเบิด , ลกู ระเบดิ ขวา้ ง และกระสนุ ปนื ใหญ่เทยี ม มาใช้ในพนื้ ทเี่ ป้าหมาย เพ่ือสมมตวิ ่าเป็นสนามรบ และเหตุการณ์ที่ตอ้ งคน้ หาด้วยสายตา และฟงั เสียง

22 ผ้คู วบคมุ ตามจุดตา่ งๆ จะเป็นผสู้ รา้ งสถานการณแ์ ละแสดงเป้าตามเหตุการณ์ ใหก้ บั หมวดทเี่ ข้า รบั การฝกึ โดยเฝา้ ดกู ารปฏบิ ตั ิ แล้วแสดงเหตกุ ารณ์ให้ปรากฏเปน็ ระยะไป หมายเหตุ เป้าท่จี ดั วางไวต้ ามรปู ภาพในรปู นั้น เปน็ การแสดงตัวอยา่ งให้เห็นเท่านน้ั ในการแสดง เปา้ จรงิ ๆ น้ัน ย่อมข้นึ อยูก่ ับลักษณะภมู ิประเทศ และสถานการณ์ ซึ่งอยา่ งนอ้ ยทส่ี ุดจะต้องแสดงเปา้ ให้ผู้รับการฝึก 6 - 8 กลุ่ม จงึ จะถือว่าเพียงพอตอ่ การฝึก รูปที่ 6 สนามฝกึ ยิงทานองรบสาหรับหมวดรถถงั

23 7. การจดั สรา้ งสนามยงิ อาวุธรถถงั พน้ื ที่ที่ต้องการใชส้ ร้างสนามฝึกยิงอาวธุ รถถัง ขนึ้ อยู่กับขนาดความกว้างปากลากล้องของอาวุธ ชนิด กระสุนทจี่ ะฝึกยิง และแบบในการฝึกยิง ก. สนามฝกึ ยิงอาวธุ รถถังแบบถาวร การสรา้ งสนามฝึกยงิ อาวุธรถถังแบบถาวร เป็นการจดั ใหม้ ีส่งิ อานวยความสะดวกอย่างหนึ่งของหน่วย ทหาร ตอ้ งกาหนดผงั แสดงพ้ืนท่อี ันตราย,แนวยงิ พร้อมด้วยเขตนริ ภยั ไวใ้ นแผนท่ีและในภูมปิ ระเทศ สนามฝึกยงิ อาวุธ รถถังแบบถาวรน้ี อาจมีความสมบรู ณ์ในข้ันตา่ งๆ กัน โดยปกตแิ นวยงิ และเขตนิรภัยตอ้ งแสดงเคร่ืองหมายของแนว ยิงและเขตนิรภัยเฉพาะที่ใชก้ ับอาวุธและกระสุนชนิดหน่ึงตามแบบการฝึกยงิ ที่กาหนดสาหรับอาวุธและกระสนุ ชนดิ นัน้ เทา่ น้นั ดังนน้ั จงึ ใชฝ้ ึกยงิ อาวุธและกระสนุ ชนดิ อื่นไม่ได้ นอกจากจะไดร้ ับอนุมัติจากผู้มอี านาจในการอนุมตั ิก่อน การขอใชส้ นามยิงปืนตอ้ งระบรุ ายการตา่ งๆ ไวต้ ามท่ไี ดก้ าหนดในระเบยี บสนามยิงปืนของหน่วย ผู้บังคบั หน่วยหรอื ครูผฝู้ กึ สอน ท่ีรบั ผดิ ชอบในการยงิ ตอ้ งทาความเข้าใจกบั ผังแสดงพนื้ ท่อี นั ตรายของสนามฝึกยงิ ปืนโดยตลอด ข. สนามฝึกยงิ อาวุธรถถังแบบชว่ั คราว เมอื่ ได้รับการอนุมัติแลว้ หนว่ ยใชต้ ้องรบั ผดิ ชอบในการจดั ต้งั แนวยิงและพืน้ ทีท่ ่ีใช้ทาสนามยิงปืน รวมทั้งเขตนริ ภยั ระเบยี บปฏิบัตใิ นการใชส้ นามยิงปนื แบบน้คี งเป็นไปเชน่ เดยี วกบั สนามยิงปืนแบบถาวร การกาหนด สนามฝกึ ยิงอาวธุ รถถงั แบบชั่วคราว เปน็ สนามฝกึ ยิงปืนประเภททอ่ี นุมตั ิใหท้ าการฝกึ ยิงตามแบบฝึกการยิงอาวุธ รถถงั แบบหนง่ึ แบบใดโดยเฉพาะ ท้ังน้เี นื่องจากใช้ไดจ้ ากดั หรอื อาจกระทบกระเทอื นต่อการใชส้ นามยงิ ปืนสนามอื่น จึงสรา้ งเป็นสนามยิงปืนแบบถาวรไม่ได้ สนามยงิ ปนื อาวุธรถถงั แบบชวั่ คราวน้ี สร้างข้ึนเพื่อความมุง่ หมายเฉพาะหรือ สาหรบั ใช้ยิงอาวุธรถถังและชนดิ กระสนุ ชนดิ ใดชนิดหนง่ึ โดยเฉพาะเทา่ นนั้ ปกติแลว้ สนามยิงปนื แบบช่ัวคราวจะสรา้ ง ขนึ้ เพ่อื ใช้แสดงอานาจการยงิ ใช้ฝกึ ยงิ ดว้ ยกระสนุ จรงิ และการฝึกยงิ ทานองรบ การขออนุมตั สิ รา้ งและใชส้ นามยงิ ปืนแบบช่ัวคราว (ไมเ่ หมือนกับสนามยงิ ปืนแบบถาวร) ปกตติ อ้ งมีผังแสดงพ้ืนทอ่ี ันตราย เพือ่ ใหเ้ จา้ หน้าที่สนามยิงปืน ทราบความต้องการท่ีแน่นอน และบริเวณพืน้ ทจี่ ะใชส้ ร้างสนามยิงปืนดว้ ย ระเบยี บที่นอกเหนือจากนีเ้ ปน็ สทิ ธิของผมู้ ี อานาจในการอนุมัติใช้สนามยงิ ปืน ค. ผังแสดงพื้นที่อนั ตราย การขออนุมตั ิทาการฝึกยงิ อาวุธรถถังในพ้ืนทใี่ ดพื้นทห่ี นงึ่ หรอื ในพน้ื ที่ท่ไี ม่มีสนามยงิ ปืน ต้องมีผงั แสดง พนื้ ที่อันตรายประกอบด้วย โดยจัดทาขนึ้ เปน็ แผ่นบริวาร พร้อมท้งั แสดงพื้นทีห่ รือแนวยิงและเขตนริ ภยั สาหรบั การ ฝกึ ยงิ อาวุธและกระสุนตามตารางการฝึกท่ีกาหนดไว้ว่าจะทาการยงิ ตอ้ งมขี ้อความดังน้ี 1) วันเวลาท่ีจะการยิง 2) ชนิดอาวุธและกระสุน 3) ทาการยิงอยู่กบั ทหี่ รือเคล่ือนท่ี 4) เป้าหมายอยู่กบั ท่หี รือเคลือ่ นท่ี 5) พกิ ัดท่ตี ั้งยงิ หรือเส้นทางการเคลอื่ นที่ในการฝึกยงิ 6) มุมภาคของเขตนิรภยั ซ้าย-ขวา (เขตจากัดการยงิ ) 7) ที่ตง้ั ของเครอื่ งหมายแสดงเขตนริ ภัย (เปน็ พิกดั ) 8) ระยะใกลส้ ดุ ท่ีจะใชอ้ าวุธทาการยิง 9) ระยะไกลสดุ ทจ่ี ะใชอ้ าวุธทาการยิง 10) ระยะยงิ ไกลสุดของอาวุธ โดยใชม้ ุมยงิ ทีก่ าหนดไว้ (พจิ ารณาการใชก้ ระสนุ ทยี่ งิ ได้ไกลสดุ ) หมายเหตุ ปกติมมุ ยิงท่ใี ช้ยงิ ระยะไกลสุด คือ มมุ ยิง 15 องศา เมอื่ ยิงเล็งตรง

24 11) วันท่ที ท่ี าผังแสดงพน้ื ทอ่ี ันตราย 12) แผนที่ทใี่ ชป้ ระกอบแผ่นบริวาร 13) ขา่ วสารอ่ืนๆ ท่ตี อ้ งการตามระเบียบสนามยิงปืนในพน้ื ที่นนั้ ง. การสร้างสนามยิงอาวธุ รถถังแบบชั่วคราว 1) นายสนามยิงปืน ตอ้ งอนุมตั ใิ หใ้ ช้สนามยงิ ปนื ตามผังแสดงพื้นท่อี ันตรายทน่ี ายทหารควบคุมการยงิ เสนอ เพ่ือขออนมุ ัติเสียก่อนจงึ จะฝึกยงิ ปนื ในสนามยิงปืนช่ัวคราวได้ ในการจดั สร้างสนามยิงปืนช่วั คราวนายทหาร ควบคุมการยิงต้องพิจารณาส่งิ ตา่ งๆ ดงั ตอ่ ไปนี้ (ก) แนวยิงหรือทตี่ ้ังยิง ถ้าทาการยิงขณะรถถงั เคลือ่ นทตี่ ้องสารวจทางแผนทีเ่ พ่ือกาหนดทตี่ ัง้ ยิง ใหใ้ กลเ้ คียง 1/1000 (ข) เคร่อื งหมายแสดงเขตนริ ภยั (เขตจากัดการยงิ ) โดยกาหนดเขตนริ ภยั ของสนามยงิ ปืน หรือ ของทีต่ ้งั ยิงแต่ละทตี่ งั้ ยิง ปักไว้ในมุมภาค (แนว) จากดั ของมมุ เปา้ หมาย (ค) ถ้าไมม่ ีเคร่อื งมือสารวจทางแผนท่ี ใหใ้ ช้แผนทมี่ าตราส่วนใหญ่ท่สี ดุ เทา่ ท่มี อี ยู่ และใช้ กล้องกองรอ้ ยเป็นเครอื่ งมอื เพื่อกาหนดทีต่ ั้งยิงหรอื แนวยิงและทตี่ ัง้ ของเครือ่ งหมายแสดงเขตนิรภัยใหถ้ กู ต้องที่สดุ เท่าที่จะทาได้ (ง) ในสนามยงิ ปนื ที่มแี นวยิงกว้างมาก ให้ใชเ้ ครอ่ื งหมายแสดงเขตนิรภัยอันในไว้ด้วย ถา้ ใช้ เครอ่ื งหมายแสดงเขตนริ ภยั อันในทัง้ สองอัน รถถังคนั ท่ีอยูท่ างดา้ นขวาของก่งึ กลางแนวยิงใหใ้ ชเ้ ครื่องหมายอนั ใน ซา้ ย และรถถังท่อี ยทู่ างด้านซ้ายของจุดก่ึงกลางแนวยิงใหใ้ ชเ้ คร่ืองหมายอันในขวา เปน็ เขตนิรภยั การยิง (1) เพ่ือหลีกเลี่ยงความสบั สน เครอื่ งหมายแสดงเขตนิรภัยอันนอกกบั อันในตอ้ งต่างสี กนั ปกติเครื่องแสดงเขตนิรภยั อนั นอกจะทาด้วยสีขาวสลบั แดง ส่วนอันในทาด้วยสี เหลืองสลับดา ตอ้ งมีขนาดทใ่ี หญ่พอมองเห็นด้วยตาเปล่าจากแนวยงิ ควรปักเคร่ือง หมายแสดงเขตนิรภัยไว้ในระยะทใี่ ชป้ รับเส้นเลง็ และปรบั ทางปืนปืนใหญ่ (2) เพ่อื จากัดเขตการยิงในสนามฝึกยงิ ทานองรบที่มีภูมปิ ระเทศเปน็ ลูกคล่ืน ใหป้ ักหลกั จากดั เขตให้สงู จากพน้ื ดินประมาณ 1.5 เมตร ปักไวท้ ้ังเขตจากัดการยิงทางดา้ นซา้ ย และดา้ นขวา หา่ งกันประมาณทกุ ๆ ระยะ 2300 เมตร ตามแนวเขตจากดั การยิงจาก จดุ เรมิ่ ต้นไปจนถึงสุดเขตของพื้นที่ดาเนินกลยทุ ธ์ (จ) เมื่อจัดสร้างสนามยงิ ปืนข้ึนครัง้ แรก ต้องรายงานขอบเขตจากัดทางอากาศเพ่ือป้องกันมใิ ห้ อากาศยานบินผ่านเหนอื บรเิ วณสนามยงิ ปืน โดยปกตเิ จา้ หน้าทสี่ นามยิงปืนของหน่วยเป็นผรู้ ายงาน (ฉ) การจดั วางเป้า ต้องใหอ้ ยใู่ นพ้นื ท่ีทีก่ าหนดใหก้ ระสุนตก และเม่ือทาการยิงต่อเปา้ หมายตาม แบบฝึกยงิ ต้องประกันได้ว่ารถถังจะไมใ่ ชม้ ุมยิงเกินกว่ามุมยงิ สูงสดุ ท่ีกาหนดใหท้ าการยิงได้ (ช) การฝึกยิงอาวุธรถถังดว้ ยกระสุนจรงิ ในสนามยิงปนื ชั่วคราว นายทหารควบคมุ การยิง, นายทหารป้องกันอันตราย และครผู ฝู้ ึกประจารถถัง ตอ้ งระมดั ระวังเปน็ พเิ ศษให้อาวุธช้ีไปยังบรเิ วณท่ีกาหนดให้ กระสนุ ตกอยู่ตลอดเวลา และกระสนุ ทุกนดั ที่ยงิ ออกไปตอ้ งตกในบริเวณท่ีกาหนดไว้ อาจใช้เครอื่ งมือจากัดการส่าย ปนื กลขนาด .50 นว้ิ ทั้งทางทิศและทางสูง หรอื ใชช้ อล์คทาเคร่อื งหมายไว้ทปี่ ้อมปืน เพอื่ ช่วยใหค้ รผู ้คู วบคุมรถถงั ใช้ เปน็ เคร่อื งหมายจากัดการหมุนป้อมปืน 2) การฝึกยงิ อาวุธรถถงั ในสนามฝึก หรือการฝึกยงิ อาวุธรถถงั ดว้ ยกระสนุ จริง ต้องอยู่ภายใต้การ ควบคุมของนายทหารควบคมุ การยงิ อย่างเขม้ งวด ต้องประกันได้ว่าผูเ้ ก่ยี วข้องกับการฝกึ ไดร้ บั การช้แี จงปัญหาที่ใช้ ในการฝึกยงิ ดว้ ยกระสนุ จรงิ ให้เขา้ ใจโดยตลอดแล้ว

25 ตอนที่ 5 การดาเนินการเก่ยี วกับสนามยิงอาวธุ รถถงั 1. การเตรยี มการ ตอ้ งกาหนดให้มีนายทหารควบคุมการยิง (นคย.) รบั ผดิ ชอบแตล่ ะสนาม นคย.ต้องวิเคราะห์ภารกจิ ที่ได้รับ มอบแล้วเรมิ่ วางแผนการฝึกตามภารกิจ และหาคาตอบให้กับคาถามเหล่านีใ้ ห้ได้ คือ ใคร,อะไร,เม่ือใด,ที่ไหน และ อย่างไร ก. ใครจะเป็นผทู้ าการยิง ? อาจจะเปน็ กาลังพลภายในกองร้อยของ นคย. หรอื ต้องอานวยการฝึกยิงให้กับ กาลังพลจากกองร้อยอน่ื ในกองพันเดียวกัน ข. จะดาเนินการฝกึ ยงิ ตามหลกั สูตรอะไร ? ทาการฝึกเพ่ือกาหนดคณุ วฒุ ิ เพื่อทาความคุ้นเคย หรือเพือ่ การฝึกยิงทบทวน ต้องกาหนดแบบการฝึกยิง และชนดิ อาวุธทจ่ี ะทาการยิง ค. จะทาการยิงเม่อื ใด ? หนว่ ยที่จะทาการฝึกยงิ จะตอ้ งรายงานขออนุมตั ิใช้สนามยิงปืนลว่ งหน้า และตอ้ ง ระบุวันเวลาไว้ในตารางการฝึกของหน่วย ง. จะทาการฝกึ ณ ทไ่ี หน ? กาหนดสนามฝึกโดยแน่นอน ปกตแิ ล้วมักจะใช้สนามฝึกยงิ ปนื ถาวร ถ้ามกี าร จดั สรา้ งสนามยงิ ปืนชว่ั คราวขึ้น ตอ้ งปฏบิ ัติตามระเบียบปฏบิ ัติทก่ี าหนดไว้ จ. จะดาเนินการฝึกอย่างไร ? การฝึกตอ้ งเป็นไปตามแผนที่ได้กาหนดข้นึ นายทหารควบคมุ การยงิ จะใช้ หลกั ฐานจากคูม่ ือท่ีมีอยู่ช่วยในการวางแผนในการฝกึ ยิง รว่ มทัง้ ค่มู ือเทคนคิ และคมู่ ือราชการสนามท่เี กี่ยวข้องกับ อาวุธและกระสนุ และไดห้ ลักฐานเพ่มิ เติมจากระเบียบของสนามยิงปืน ประจาคา่ ย 2. แผนความต้องการ เมอื่ นายทหารควบคุมการยงิ หาคาตอบตามทต่ี อ้ งการไดแ้ ล้วก็เรมิ่ ทาแผนสาหรบั ดาเนินการฝึกขั้นตน้ โดย พจิ ารณาและกาหนดความต้องการ คอื ก. กระสุน ความตอ้ งการกระสุนทีจ่ ะใชฝ้ ึกยงิ ในหลกั สตู รท่ีจะทาการฝึกยิง โดยประสานกบั นายทหาร ยทุ ธการและการฝึกของหนว่ ย เพือ่ ทราบจานวนกระสุนท่ีจะสามารถใช้ในการฝึกได้ ข. รถถัง จานวนรถถงั ท่ีต้องการในการฝกึ ยงิ ซ่ึงข้นึ อยู่กบั ขนาดของแนวยิงและจานวนผ้เู ข้ารบั การฝึกยิง ถา้ เป็นไปไดพ้ ลประจารถแตล่ ะนายควรทาการฝึกยิงโดยใชร้ ถถงั ของตน ค. เปา้ หมาย เป้าหมายแต่ละแบบทีจ่ ะใช้ฝกึ ยงิ จานวนเปา้ ข้ึนอยกู่ ับงบประมาณและการแจกจา่ ยจาก หนว่ ยเหนือ ถ้าไม่มีเป้าจา่ ยให้หนว่ ยฝึกยงิ ตอ้ งใชก้ าลงั พลจดั ทาขึ้น ต้องมอบหมายใหน้ ายสบิ ผูห้ นึ่งรบั ผดิ ชอบในการ จดั วางเป้า และกากบั ดแู ลการจดั วางเป้าใหอ้ ย่ใู นพน้ื ที่ท่ีกาหนด ถา้ มกี ารฝกึ ยงิ เป้าเคลื่อนทีจ่ ะตอ้ งกาหนด ผู้รับผดิ ชอบการใช้เป้าเคล่อื นที่ไวด้ ว้ ย ง. การส่งกาลัง ตอ้ งขอเบิกอุปกรณแ์ ละเครื่องมอื เครอ่ื งใชท้ เ่ี กยี่ วข้องกับการฝึกไว้ลว่ งหนา้ ให้พร้อม ก่อน ถึงวันที่จะทาการฝึกยิง โดยใช้นายสบิ ส่งกาลังของหน่วย จ. การขนส่ง โดยประสานกบั นายทหารสง่ กาลังของหน่วย การเดนิ ทางของกาลังพลที่จะเขา้ ไปฝึกยิง การ เคล่อื นรถถังเข้าสนาม การลาเลียงกระสุนเข้าพื้นทกี่ ารฝกึ ในสนาม ฉ. การสนบั สนุนด้านเสนารกั ษ์ ตอ้ งมีเจ้าหนา้ ทีเ่ สนารกั ษพ์ ร้อมรถพยาบาลประจาอยู่กับสนามฝึกยิงปนื ดว้ ยกระสุนจริงตลอดเวลา ถ้าเจ้าหนา้ ท่ีเสนารกั ษ์และรถพยาบาลไม่อย่ใู นสนามจะหยดุ การฝึกทันทีจ่ นกวา่ จะ กลับมาประจาสนามยงิ ปืน ช. ผชู้ ่วย นายทหารควบคุมการยงิ ต้องมีผู้ชว่ ยเพื่อชว่ ยเหลือในการจัดและการดาเนินการฝกึ ยิงในสนาม ยิงปนื ผู้ชว่ ยเหลา่ นจี้ ะทราบภารกิจและเข้าใจงานทรี่ บั มอบหมายให้ปฏบิ ัติอย่างถกู ตอ้ ง หน้าที่ของผู้ช่วยมีดังนี้

26 1) นายทหารป้องกันอันตราย ปกตกิ าหนดจากผู้บังคบั หมวดในกองรอ้ ย มีหน้าที่ชว่ ยเหลือรับผิดชอบ ในการระวังป้องกันอนั ตรายมิใหเ้ กดิ ขน้ึ ในสนามยงิ ปืน 2) นายสิบผู้ช่วย นคย. มีหน้าท่ีในการกากบั ดูแลงานต่างๆ เก่ียวกับสนามยิงปนื อาจจัดจาก จา่ กองร้อยหรอื รองผบู้ ังคบั หมวด หนา้ ที่ไดแ้ ก่ การกากบั ดแู ลอปุ กรณ์ เป้าหมาย และกระสนุ ไดร้ ับมา ตามทต่ี อ้ งการหรอื ท่ีอนุมัติ จัดวางไวใ้ นสนามยงิ ปืนอยา่ งถูกต้อง การดูแลกาลังพลที่เข้ารบั การฝึกใน สนามยิงปืน ดแู ลเจา้ หนา้ ท่ีซ่อมบารงุ ตลอดจนการนารถถงั สารองเขา้ แนวยิง และนารถถงั ออกจาก แนวยิง 3) นายสิบกระสุน ต้องประสานกบั เจ้าหน้าท่ที เี่ กีย่ วข้องกบั การจ่ายกระสุนอย่างใกลช้ ิด เพ่อื ประกนั ว่า ไดร้ บั กระสุนถูกต้องตามชนิดและจานวนที่ต้องการ และมีการจัดวางกระสุนไว้ในสนามยิงปนื อย่าง ถูกตอ้ ง 4) นายสบิ เป้า เป็นผู้รับผดิ ชอบและกากบั ดูแล การจัดวางเปา้ ให้อย่ใู นพน้ื ทขี่ องย่านกระสุนตก เปา้ ที่ ใชม้ ีขนาดถูกต้องตามที่กาหนดใหย้ งิ วางไว้ตามระยะหา่ งจากแนวยงิ ตามผงั การวางเปา้ ท่ีนายทหาร ควบคมุ การยงิ กาหนด เป้าเคล่ือนทจี่ ะตอ้ งได้รบั ตรวจว่าใชง้ านไดม้ เี จา้ หน้าที่ควบคุมประจาอยู่ ก่อน เข้าไปในพ้ืนทยี่ ่านกระสุนตก ตรวจแจ้งและตรวจสอบกบั นายสนามยงิ ปืนก่อน และเมือ่ อกมาจาก บริเวณยา่ นกระสนุ ตกต้องรายงานให้นายทหารสนามยิงปืนทราบ 5) ครปู ระจารถถงั กาหนดขนึ้ เพ่ือให้ทาหน้าท่ีควบคุมการยงิ การฝึกยงิ ของพลประจารถถังแต่ละคัน ต้องมีความร้แู ละได้รับการฝึกเกีย่ วกบั ระเบยี บปฏิบัติในการฝกึ ยงิ แต่ละแบบฝึกยงิ ระเบยี บปฏบิ ัตใิ น การระมัดระวังเพื่อความปลอดภยั 6) เจ้าหน้าที่อ่นื ๆ เชน่ เจ้าหน้าทบ่ี ันทึกผลการยิง และเจา้ หนา้ ทส่ี ูทกรรม เปน็ ตน้ 3. การตรวจภูมปิ ระเทศพน้ื ทส่ี นามยิงปนื ก. ผลจากการวเิ คราะหภ์ ารกิจท่ีได้รบั มอบ นายทหารควบคุมการยงิ เมือ่ เตรียมทาแผนขัน้ ตน้ แลว้ จะตอ้ ง ตรวจสนามยงิ ปืนว่าสนามยงิ ปนื มีส่ิงอานวยความสะดวกพร้อมสนบั สนนุ การฝึกได้ในระหว่างตรวจภมู ิประเทศพ้นื ท่ี สนามยงิ ปืนต้องตรวจสอบสงิ่ ต่อไปนี้ 1) เสน้ ทาง สภาพถนน และสะพาน 2) ใช้ผงั แสดงพ้นื ท่ีอนั ตราย เพื่อตรวจสอบการกาหนดแนวยงิ และการวางเครือ่ งหมายเขตนริ ภยั หรอื จดุ จากัดเขตการยิงใหถ้ ูกต้อง ปลายทัง้ สองข้างของแนวยงิ ต้องปักเคร่อื งหมายไว้ให้ทราบ สนามฝึก ยงิ รถถังเคลือ่ นที่ จดุ ยิงจะใช้หลกั ทาสปี ักไวเ้ ปน็ เครอ่ื งหมายตามแนวข้างเสน้ ทางเคล่อื นท่ี แนวเขตย่าน กระสนุ ตกต้องแสดงดว้ ยเครอื่ งหมายแสดงเขตนริ ภัย แนวยิงต้องเหมาะสมกบั จานวนของรถถงั ทจ่ี ะ จอดทาการยงิ ตอ้ งมรี ะยะหา่ งกันท่ีสามารถวางกระสนุ ระหว่างชอ่ งว่างได้ และเพ่ือปอ้ งกนั การยิงของ รถถงั คา้ งเคียงมารบกวนอกี คันหน่ึงได้ สนามมหี อควบคุมการยิงหรือไม่ถ้าไม่มคี วรจัดยานพาหนะเช่น รสพ. มาเป็นหอควบคุม 3) ตรวจเครอ่ื งมือสื่อสารประจาสนามยิงปืน ต้องติดต่อได้ทั้งโทรศัพท์หรือวิทยตุ ามที่กาหนด 4) ตรวจสอบบริเวณพ้ืนที่การวางเปา้ จัดทาผังการวางเปา้ ในยา่ นกระสุนตก เพื่อมอบมายให้นายสบิ เปา้ นาไปจดั วางเปา้ ตามท่ีกาหนด 5) ตรวจระบบส่งิ อานวยความสะดวกอ่ืนๆ เช่น แหล่งรวมรถ,ท่พี กั แรม,ท่รี ับประทานอาหาร,หอ้ งน้า ห้องสว้ ม,ระบบไฟฟา้ ให้แสงสวา่ ง เป็นตน้

27 4. การทาแผนการฝึกยิงอาวธุ รถถัง หลงั จากตรวจภูมิประเทศตรวจสภาพสนามยงิ ปืนเสร็จเรียบรอ้ ยแล้วกเ็ ริ่มทาแผนขั้นสุดท้ายของการ ดาเนนิ การฝึกยิงโดยเตรียมทาแผนโดยละเอยี ดมีสง่ิ ต่างๆ ดังน้ี คือ ก. ความม่งุ หมาย และมาตรฐานท่ีต้องการฝึก ข. แบบทีจ่ ะทาการฝึกยิงและรายละเอียดของระเบยี บการปฏิบัติ ค. แผนการเคล่อื นย้ายไปยังสนามยิงปืน และแผนการเคล่ือนย้ายกลับหนว่ ย ง. ตารางกาหนดการฝกึ ยิงและการคอย จ. หลักฐานอ้างตา่ งๆ ฉ. บัญชีเครื่องมือเครอื่ งใชแ้ ละกาลงั พลทจ่ี ะจาเป็นต้องใช้ ช. ผนวกท่ีตอ้ งจัดเตรยี มไวส้ าหรับเจ้าหนา้ ที่ตอ่ ไปนี้ 1) แนวทางในการปฏิบัตขิ องครูประจารถถงั 2) ระเบียบปฏบิ ัตเิ พือ่ ความปลอดภัย หรือระเบียบปฏิบัตปิ ระจา 3) ผงั ในการวางเปา้ บริเวณย่านกระสนุ ตก 4) แผนการจดั แนวยงิ แสดงถึงทวี่ างกระสุน ท่ีต้ังยิงของรถถัง และอื่นๆ นายทหารควบคุมการยิงจะต้องสาเนาแผนการฝึกยิงให้กับนายทหารป้องกันอันตราย และนายสบิ ผู้ชว่ ย นคย. ผู้ช่วยอ่นื ๆ จะได้รบั สาเนาผนวกที่เก่ยี วข้องโดยตรงเฉพาะหนา้ ที่ 5. การจัดเตรียมสนามยิงปืน ก. หลังทาแผนการฝึกยงิ ท่ีสมบูรณเ์ รียบร้อยแล้ว นายทหารควบคมุ การยิงตอ้ งตรวจสอบว่าขอ้ บกพรอ่ ง ต่างๆ เก่ยี วกบั สนามยิงปืนได้แก้ไขเรยี บร้อย ตรวจสอบวา่ สนามยงิ ปนื ไดร้ บั การอนมุ ัตใิ หใ้ ช้ทาการฝึกได้ตามชนิด อาวธุ และกระสุนท่จี ะทาการฝกึ ข. ดาเนินการซักซ้อม และฝึกการปฏบิ ตั ิของผู้ชว่ ยตามความจาเปน็ ประสานกบั นายทหารฝ่ายตา่ งๆ ที่ เกยี่ วขอ้ งเพอื่ ใหไ้ ดร้ บั การสนับสนุนตามทตี่ อ้ งการอยา่ งแนน่ อน ค. ก่อนวันฝึกยงิ หน่งึ วันต้องซักซ้อมแผนข้นั สดุ ท้ายร่วมกับเจ้าหน้าท่ีส่งกาลงั ,เจา้ หน้าทซี่ ่อมบารงุ และ เจา้ หน้าท่ีสูทกรรม ง. ตรวจการวางเป้าตา่ งๆ บรเิ วณย่านกระสนุ ตกให้เรยี บร้อย ปกตคิ วรจัดวางเป้าในเวลากลางวัน

28 ตอนที่ 6 ขอ้ ระมดั ระวังความปลอดภยั และวธิ ีการควบคมุ การฝกึ ยงิ อาวุธรถถงั ในสนามยงิ ปืน 1. กล่าวทัว่ ไป ในตอนนี้จะกล่าวถงึ ข้อระมัดระวงั ความปลอดภยั ทต่ี ้องปฏบิ ัตใิ นระหวา่ งการฝึกยงิ อาวุธรถถังในสนาม ยิงปืน ขอ้ ระมัดระวังเพอื่ ความปลอดภยั ทกี่ ล่าวไว้ในตอนน้ีใช้ไดก้ ับสนามยงิ ปืนอาวุธรถถังทกุ ชนดิ 2. ขอ้ ระมัดระวังเพอ่ื ความปลอดภัยในสนามยิงปนื - ผู้บงั คบั หน่วยที่ทาการฝกึ ยงิ ตอ้ งเป็นนายทหารผูค้ วบคมุ การยิง (นคย.) และเป็นผูร้ บั ผดิ ชอบในการ พัฒนาการปฏิบตั ทิ างยุทธวิธแี ละข้นั ตอนการยิง เพื่อใหใ้ ห้เปน็ ไปตามระเบียบของสนามยงิ ปืน ในการ ตรวจสอบการฝึกของหน่วย หวั หนา้ กรรมการต้องเป็นนายทหารควบคมุ การยงิ - นายทหารป้องกันอันตราย เป็นผ้แู ทนโดยตรงของนายทหารควบคุมการยงิ ในการฝึกยงิ ตอ้ งไม่ มอบหมายใหน้ ายทหารป้องกันอันตรายปฏิบตั หิ น้าท่ีอื่น ตอ้ งเปน็ ผูท้ ีม่ คี วามสามารถและให้การแนะนา การปฏิบัตไิ ด้อย่างถูกตอ้ ง ต้องรบั ผิดชอบว่าก่อนทาการยิง ทีต่ งั้ ยิง และกระสุน จะต้องถกู ตอ้ งตาม หลกั ฐานของการวางแผนการฝึกยงิ และข้อกาหนด - ตารางการใช้สนามยงิ ปืน ตอ้ งกาหนดชนิดของอาวุธและกระสุนทจี่ ะใชท้ าการยิงไว้ ตารางการใช้ สนามยิงปืนจัดทาขึน้ โดยยดึ ถอื ระเบยี บการปฏบิ ัตขิ องสนามยงิ ปืนประจาคา่ ย - เจา้ หนา้ ทสี่ นามยงิ ปืน ตอ้ งจัดเคร่ืองปิดก้ันจดั ว่างไวต้ ามท่ีกาหนด - ไฟสัญญาณต้องมตี ิดแสดงไวใ้ หท้ ราบในระหวา่ งการฝกึ ยงิ ในเวลากลางคนื - ตอ้ งไมท่ าการยิงอาวุธรถถงั ที่ไม่มเี ครอ่ื งรักษาการทรงตวั ของปืนในขณะเคลอื่ นท่ี - หา้ มยงิ ข้ามศีรษะหน่วยทหาร - ตอ้ งไมบ่ รรจุกระสุนจนกว่าจะไดร้ บั คาสง่ั - กอ่ นทาการยิงปืนกลต้องตรวจปืนกลใหเ้ รียบร้อยก่อน - ต้องไมม่ ีสง่ิ กีดขวางอยู่ในแนวยงิ ระหว่างปืนไปยงั เปา้ - เม่ือทาการยงิ ปืนกลบนปอ้ มปืนตอ้ งระวังอย่าใหย้ ิงไปถกู ลากลอ้ งหรือไฟฉาย (ถา้ ม)ี ควรลดปนื ใหญ่ของ รถถงั ลงตา่ สุดก่อน (กรณีไม่ได้ฝึกยงิ ปืนใหญพ่ รอ้ มกันกบั ปืนกล) - ในกรณีผู้หนึ่งผใู้ ดเหน็ ว่าไมป่ ลอดภัยหรอื มีกรณฉี ุกเฉนิ ให้ร้องเตือน “หยุดยิง” และจะต้องหยุดทาการยงิ ทนั ที โดยไม่ถอื ว่าผใู้ ดเป็นคนสั่ง - เม่ือมีคาส่ังใหห้ ยุดยงิ ตั้งเปดิ เครือ่ งปิดทา้ ยปนื ใหญ่ และลูกเล่ือนปืนกลไวข้ า้ งหลงั ขอ้ ควรระวงั ถา้ มีกระสนุ บรรจอุ ยใู่ นรังเพลิงของอาวุธท่ีกาลังร้อนจดั และมีคาสั่งใหห้ ยดุ ยิง ครูประจารถตอ้ ง ไม่เลกิ บรรจุกระสนุ นัดน้นั ต้องรายงานให้นายทหารควบคุมการยิงทราบ และขออนญุ าตทาการยงิ กระสุนนดั น้ัน ออกไป ถา้ ไม่สามารถทจ่ี ะทาการยงิ กระสุนนัดนน้ั ออกไปได้ ตอ้ งตัง้ ปนื ให้ชี้ไปยังบรเิ วณเป้าหมาย ถ้าเปน็ ปืนใหญ่ ต้องใหพ้ ลประจารถทุกนายลงจากรถ จนกว่าปืนจะเยน็ - หลงั จากทาการฝึกยงิ ปนื กลเสรจ็ ก่อนถอดปืนกลออกจากฐานตดิ ตั้งหรือนาลงจากรถถัง ตอ้ งตรวจดูปืน กอ่ นถอดว่าได้เลิกบรรจกุ ระสุนและไมม่ ีกระสุนอยใู่ นรงั เพลิง

29 - หลังจากจบการยิง ตรวจสอบความปลอดภัยเรียบร้อยแลว้ ต้องยกปืนใหญร่ ถถงั ขน้ึ สูงสุดเสมอ ท้งั น้ีเพอ่ื ปอ้ งกันการเกดิ อบุ ตั เิ หตเุ กดิ ขึน้ อันเนื่องมาจากการสะเพร่าไม่ได้เลิกบรรจุกระสุน หรือถา้ มีกระสุนล่ัน ออกไปลูกกระสนุ จะได้พ้นเหนือศรี ษะบคุ คลท่ีอยู่บริเวณหนา้ รถ 3. ติดการต่อสอ่ื สาร และการควบคุมในสนามฝกึ อาวธุ รถถัง - ปกตินายทหารสนามยงิ ปืนประจาคา่ ย ใชก้ ารควบคุมสนามยิงปืนทุกสนามดว้ ยโทรศัพท์หรือวทิ ยุ ระบบ การควบคุมน้ี มคี วามมงุ่ หมายเพื่อให้มกี ารอนมุ ัตใิ ห้ทาการยิงได้ และใช้ตดิ ต่อรายงานประสานการปฏบิ ัติ ระหวา่ งสนาม และเพ่ือสง่ั ให้หยดุ ยงิ เมอ่ื จาเปน็ ระบบติดต่อส่ือสารในสนามยงิ ปืนอานวยให้สามารถสัง่ ปิด สนามยงิ ปืนไดท้ ันที เมื่อมีกรณีจาเปน็ - นายทหารควบคุมการยิง ควบคุมการยงิ โดยใชธ้ งสญั ญาณ , วทิ ยุ , โทรศพั ท์ , พลุ หรือควนั สญั ญาณ , เคร่ืองขยายเสียง , ไฟฉาย , มือ และแขนสญั ญาณ ตอ้ งแสดงธงสญั ญาณไวท้ ี่จดุ ควบคุมต่างๆ และบน รถถังแตล่ ะคันในระหวา่ งการฝึกยงิ ในเวลากลางคืน นายทหารควบคุมการยิง หรอื นายทหารป้องกนั อนั ตรายอาจใชส้ ัญญาณไฟฉายตามที่กาหนดไว้ลว่ งหน้า ระหว่างหอควบคมุ การยงิ กับครปู ระจารถถังท่ีทา การฝกึ ยงิ - ควรใชก้ ารติดตอ่ สื่อสารทางโทรศพั ทก์ บั เจา้ หน้าท่ีควบคุมเป้า,เจา้ หน้าที่จดุ ระเบิดท่อี ยบู่ ริเวณย่านกระสุน ตก โทรศัพท์ยงั อาจใช้ควบคมุ รถถงั ทีท่ าหนา้ ท่ีฉายไฟอยู่กับที่ได้ดว้ ย นายทหารควบคุมการยิง ตอ้ ง วางแผนตดิ ตอ่ ส่อสารกับเจ้าหน้าทีท่ ี่อยบู่ ริเวณย่านกระสุนตกไว้อยา่ งนอ้ ยสองวิธี เพอ่ื หลีกเลยี่ งความ จาเป็นต้องหยดุ ยิงเมื่อตดิ ต่อสื่อสารกันไม่ได้ - ภายในรถถงั ใหใ้ ช้การควบคุมโดยระบบวิทยภุ ายในรถ - ธงสัญญาณแสดงไว้ตามจุดควบคมุ ตา่ งๆ แสดงถงึ การปฏิบตั ใิ นการฝึกยงิ ธงสแี ดงหมายถึงใหท้ าการยิงได้ ธงสีเขยี วหมายถึงให้หยดุ ยงิ ทาการยิงไม่ได้ 4. ธงสญั ญาณในการฝึกยงิ อาวธุ รถถงั ธงสญั ญาณท่แี สดงไวบ้ นรถถังทีท่ าการฝึกยงิ มีความหมายดังตอ่ ไปนี้ - ธงสีแดง รถถังกาลงั ทาการยิง , ลากลอ้ งปืนตอ้ งชีไ้ ปยงั เป้าหมาย - ธงสีเขียว อาวุธทกุ ชนิดเลิกบรรจุ และปลอดภัย ตอ้ งยกปากลากล้องปนื ข้ึนสงู สดุ กระสุนไดเ้ ก็บบรรทกุ ไว้ บนรถถังถกู ต้องเรยี บรอ้ ย หมายเหตุ โดยปกติในขณะบรรทุกกระสนุ ขน้ึ บนรถถงั ใชธ้ งสญั ญาณสเี ขียว อย่างไรก็ตามการใชธ้ งสัญญาณอยู่ท่ี การพิจารณาของนายทหารควบคมุ การยิงของหนว่ ย - ธงสีส้มหรือสเี หลอื ง มเี หตตุ ิดขดั ธงสีนรี้ ว่ มกับธงสีแดง หรอื สีเขยี วเทา่ น้ัน - ธงสีแดง และธงสเี ขยี ว รถถงั กาลงั เตรยี มการยงิ อาวุธทกุ ชนดิ ยงั ไมบ่ รรจุ และปลอดภยั แต่ไมไ่ ด้ยกปาก ลากล้องปืนขึ้น พลประจารถกาลังฝึกยิงโดยไม่มีกระสนุ - ธงสแี ดง และธงสีส้มหรอื สเี หลือง มเี หตุติดขัด หรอื ปนื ไมล่ ่ันอาวุธมีกระสนุ บรรจุอยไู่ ม่ปลอดภัยลากลอ้ ง ต้องช้ีไปยังเปา้ หมาย - ธงสเี ขียว และธงสีสม้ หรอื สีเหลือง มีเหตตุ ิดขัด อาวธุ ทดุ ชนดิ ไมไ่ ด้บรรจุและปลอดภยั

30 ตอนท่ี 7 เปา้ ฝกึ ยงิ อาวุธรถถงั 1. กล่าวนา เป้าฝึกยงิ อาวุธรถถงั ท่ีกล่าวในตอนนี้ เปน็ เป้าฝึกยิงอาวุธรถถงั สาย สพ. ตามคุณลักษณะเฉพาะของ ทบ. ไทย สามารถเบิกมาใช้ทาการฝึกการปฏิบตั กิ ารยิงอาวุธรถถงั ได้ตามแผนแจกจา่ ยประจาปีทห่ี น่วยไดร้ ับอนมุ ัติจาก กองทพั บก 2. ชุดเป้าฝกึ ยิงอาวุธรถถงั ลากล้องรองขนาด .22 นิว้ หมายเลขสิง่ อุปกรณ์ 6920-116-0078 หนว่ ยนับชดุ ก. ลกั ษณะท่วั ไป เปน็ ชดุ เป้าสาหรับฝึกยิงอาวุธรถถงั ด้วยลากล้องรองขนาด .22 น้วิ ประกอบด้วย 1. เปา้ ปรับทางปนื (เปา้ หมายเลข 1) จานวน 10 เปา้ 2. เปา้ จาลองทีพ่ ักกาบัง (เป้าหมายเลข 2 ) จานวน 20 เปา้ 3. เปา้ จาลองป้อมปนื ขนาดเลก็ (เปา้ หมายเลข 3) จานวน 10 เป้า 4. เป้าจาลองป้อมขนาดใหญ่ (เปา้ มายเลข 4) จานวน 10 เป้า 5. เป้าจาลองรปู รถถงั (ป้าหมายเลข 5) จานวน 10 เปา้ 6. ฐานตดิ ต้ังเปา้ หมายเลข 2,3 และ 4 จานวน 20 เป้า 7. ฐานตดิ ตั้งเปา้ หมายเลข 1 จานวน 1 อัน ข. ลกั ษณะเฉพาะ 1) เปา้ ปรับทางปืน (เปา้ หมายเลข 1 ) ใช้ยิงปรบั ทาง ปืน แผน่ เปา้ ทาด้วยกระดาษแขง็ ชนดิ บางสขี าวขนาดกว้าง 6 น้ิว ยาว 20 น้ิว มรี ูปกากบาทประกอบวงกลม 9 รปู เสน้ ผา่ ศูนยก์ ลาง 2.5 น้ิว 2) เปา้ จาลองทพี่ ักกาบัง (เป้าหมายเลข 2) เป็นเปา้ หล่อด้วยยางตันสดี า หลอ่ เป็นรูปตวั T ขนาด 1/2 นิ้ว สูง 3 นิ้ว หัวตวั T กวา้ ง 3นว้ิ 3) เป้าจาลองปอ้ มปนื ขนาดเลก็ (เปา้ หมายเลข 3) เป็นเปา้ หล่อด้วยยางตนั สีดาเป็นรปู ป้อมปนื รถถังขนาดเลก็ มกี ้านยาวสาหรับยืดตดิ กับฐานเปา้ 4) เปา้ จาลองปอ้ มปนื ขนาดใหญ่ (เปา้ หมายเลข 4) เปน็ เปา้ หลอ่ ด้วยยางตันสดี า เป็นรปู ปอ้ มปนื รถถังขนาดใหญ่กว่า เปา้ หมายเลข 3 5) เปา้ จาลองรูปรถถัง (เป้าหมายเลข 5) เป็นเป้าหลอ่ ด้วยยางตนั สีดา เปน็ รูปรถถังมีรูห่วง และ ลวดสลงิ ขนาดเส้นผา่ ศูนย์กลาง 1/16 น้ิว ยาว 18 น้ิว พรอ้ มยกขอเกาะตดิ อย่ทู างดา้ นหน้า และดา้ นหลัง ดา้ นละ 1 เสน้ เพอื่ ใชเ้ กาะยดึ กับสลิงลากจงู เป้า ใช้เป็นเป้าฝึกยงิ แบบเป้าเคลื่อนที่ 6) ฐานตดิ ต้ังเปา้ หมายเลข 2,3 และ 4 ทาดว้ ยแผ่นเหล็กหนา 1/16 7) ฐานตดิ ตง้ั เปา้ หมาย 1 ทาดว้ ยไมเ้ นื้ออ่อนขนาดหนา 2 นิ้ว กวา้ ง 3 นิ้ว ยาว 20 นว้ิ ชดุ เปา้ ฝึกยิงด้วยอาวุธรถถงั ด้วยลากล้องรอง ขนาด .22 นิ้ว 1 ชดุ ใชฝ้ ึกได้ 6 นาย 3. เปา้ รถถัง แบบ จ. หมายเลขส่งิ อปุ กรณ์ 6920-166-0025 หน่วยนบั หุ่น ก. ลกั ษณะทัว่ ไป เปน็ เปา้ หุ่นใชฝ้ ึกยิงด้วยอาวุธรถถัง

31 ข. ลักษณะเฉพาะ 1) แผ่นเป้ารปู หุ่นนั่ง เท่ากับความสูงของทหารในท่านัง่ ยิง 2) แผ่นเป้าทาดว้ ยสงั กะสแี ผ่นเรยี บ ทาสกี ากแี กมเขยี ว (สีน้ามนั ) 3) โครงเป้าใช้ไมย้ างหรือไม้ชนิดอ่ืนท่มี ีคุณภาพเท่าเทยี มกัน ขนาด 1.5 นิ้ว X 3 นวิ้ 4. เป้ารถถงั แบบ จ.1 หมายเลขสง่ิ อปุ กรณ์ 6920-166-0026 หน่วยนับ หนุ่ ก. ลักษณะทัว่ ไป เปน็ เปา้ หุ่นใช้ฝึกยงิ ด้วยอาวุธรถถัง ข. ลักษณะเฉพาะ 1) แผ่นเปา้ เป็นรปู คนนั่งเท่ากบั ความสูงของทหารในท่านั่งยงิ กว้าง 19.5 นิ้ว สูง 40 น้วิ มี ขาสาหรับปกั ลงดิน ยาว 12 นิ้ว 2) แผน่ เป้าทาดว้ นสังกะสีแผ่นเรียบ ทาสีขาว (สนี า้ มัน) 3) โครงเป้าใชไ้ มย้ าง หรือไม้ชนดิ อนื่ ทม่ี ีคุณภาพเทา่ เทียมกนั ขนาด 1.5 X 3 น้วิ รูปท่ี 7 เป้ารถถัง แบบ จ. รปู ท่ี 8 เป้ารถถงั แบบ จ.1 5. เป้ารถถังแบบ จ. 3 หมายเลขส่ิงอปุ กรณ์ 6920-166-0027 หน่วยนับ ห่นุ ก. ลกั ษณะท่วั ไป เป็นเป้าหนุ่ ใช้ฝกึ ยงิ ด้วยอาวุธรถถงั ข. ลักษณะเฉพาะ

32 1) แผงเปา้ เหมือนกับเป้ารถถัง แบบ จ. ทกุ ประการ 2) เปา้ เปน็ กระดาษสขี าวขนาดเทา่ กบั แผงเป้า มวี งกลมขนาดเส้นผ่าศนู ยก์ ลาง ๔ นิ้ว จานวน ๕ วง ภายในวงกลมแต่ละวงมีกากบาท 3) เปา้ กระดาษใชก้ ระดาษสีขาว ความหนา 80 แกรม ชนดิ ด้าน 6. เปา้ รถถงั แบบ จ. 4 หมายเลขสง่ิ อุปกรณ์ 6920-166-0028 หน่วยนับ หุ่น ก. ลักษณะทั่วไป เป็นเป้าใชฝ้ ึกด้วยอาวุธรถถัง ข. ลกั ษณะเฉพาะ 1) แผงเป้าเหมือนกับเป้ารถถงั แบบ จ. 2) เปน็ เป้ากระดาษสีขาวขนาดเท่าแผงเปา้ มวี งกลมเส้นสีดา ขนาดเสน้ ผ่าศูนยก์ ลาง 4 นิ้ว และ 8 นวิ้ ซอ้ นกันและรว่ มจุดศนู ย์กลางเดยี วกัน 5 คู่ มหี มายเลขกากับประจาวงกลมแตล่ ะคู่ 3) เปา้ กระดาษสขี าว ความหนา 80 แกรม ชนดิ ดา้ น รปู ที่ 9 เปา้ รถถัง แบบ จ.3 รูปที่ 10 เปา้ รถถงั แบบ จ.4 7. เป้ารถถงั แบบ จ. 4 ก. หมายเลขส่งิ อปุ กรณ์ 6920-166-0070 หน่วยนบั หุน่ ก. ลักษณะทัว่ ไป เปน็ เป้าหนุ่ ใชฝ้ ึกยงิ อาวธุ รถถังสนามยอ่ ส่วนดว้ ยลากล้องรอง

33 ข. ลักษณะเฉพาะ ขนาดกว้าง 4 น้วิ 1) แผงเปา้ เหมือนเป้ารถถงั แบบ จ. ทุกประการ 2) เป้าเปน็ กระดาษสีขาวขนาดเท่ากบั แผงเป้า มีรปู จาลองป้อมปนื รถถงั สงู 3 นิ้ว จานวน 13 รปู วาดด้วยเส้นสดี ามีตัวเลขกากบั สลับกัน 3) เป้ากระดาษใชก้ ระดาษสีขาว ความหนา 80 แกรม ชนดิ ด้าน 8. เป้ารถถงั แบบ จ. 4 ข. หมายเลข 6920-166-0070 หนว่ ยนบั ห่นุ ก. ลักษณะทั่วไป เปน็ เปา้ หนุ่ ใช้ฝึกยิงอาวุธรถถงั ดวยลากล้องรอง ข. ลักษณะเฉพาะ 1) แผงเปา้ เหมือนกับเปา้ รถถังแบบ จ. ทกุ ประการ 2) เปา้ เปน็ กระดาษสีกากแี กมเขียว ขนาดเทา่ กับแผงเปา้ มภี าพเป้าหมายตา่ งๆ จานวน 6 ภาพ 3) เปา้ กระดาษใชก้ ระดาษพืน้ สีกากแี กมเขยี วขนาดความหนา 80 แกรม ตวั ภาพเปา้ หมายสีขอบ ลายสดี า รูปท่ี 11 เปา้ รถถัง แบบ จ.4 ก รูปท่ี 12 เปา้ รถถงั แบบ จ.4 ข 9. เปา้ รถถังแบบ ฉ. หมายเลขสงิ่ อุปกรณ์ 6920-166-0029 หนว่ ยนบั ห่นุ ก. ลกั ษณะท่ัวไป เปน็ เป้าหนุ่ ใช้ฝึกยิงอาวุธรถถัง

34 ข. ลักษณะเฉพาะ 1) แผน่ เปา้ เป็นรูปหนุ่ คนนอนขนาดเทา่ ความสงู ของทหารในท่านอน กวา้ ง 26 น้วิ สงู 19 นิ้ว มี ขาสาหรบั ปักลงดนิ ยาว 12 นว้ิ 2) แผ่นเป้าทาด้วยสงั กะสแี ผน่ เรียบ ทาสกี ากีแกมเขียว 3) โครงเปา้ ใช้ไมย้ างหรือไม้ชนดิ อ่นื ท่ีมีคุณภาพเทา่ เทยี มกันขนาด 1.5 นว้ิ X 3 น้ิว รปู ท่ี 13 เปา้ รถถงั แบบ ฉ. 10. เปา้ รถถัง แบบ ด. หมายเลขส่งิ อุปกรณ์ 6920-166-0069 หนว่ ยนบั แผน่ ก. ลกั ษณะทว่ั ไป เป็นเปา้ กระดาษส่เี หลี่ยมจตั ุรัส สาหรบั ปดิ กบั แผงเป้ารถถัง แบบ ด. ข. ลกั ษณะเฉพาะ 1) แผ่นเปา้ เป็นเปา้ กระดาษสเ่ี หลีย่ มจตั ุรสั ขนาด 6 X 6 ฟุต ภายในแผ่นเปา้ มีรูปรถถงั ขนาด 12 นิ้ว สูง 8 นวิ้ จานวน 18 รูป และรูปวงกลมเส้นผ่าศนู ย์กลาง 4 น้วิ จานวน 3 รูป ภายในวงกลมแต่ละรูปมี เส้นกากบาท 2) แผ่นเปา้ ใช้กระดาษสีขาว ความหนา 80 แกรม ชนดิ ดา้ น 3) หมึกทใ่ี ช้พมิ พ์ใชห้ มึกสดี าชนิดด้าน 4) ตัวเลขกากับเปา้ ใช้เลขอารบิค ขนาด 1.5 น้ิว

35 รปู ท่ี 14 เปา้ รถถงั แบบ ด. 11. เป้ารถถัง แบบ ฐ. หมายเลขสง่ิ อปุ กรณ์ 6920-166-0030 หน่วยนับ หุ่น ก. ลกั ษณะท่วั ไป เป็นเปา้ หุ่นใชฝ้ ึกยงิ อาวุธรถถัง ข. ลกั ษณะเฉพาะ 1) แผ่นเปา้ เป็นรปู หุ่นคนยืนขนาดเท่าความสูงของทหารในท่ายืน กว้าง 19.5 นวิ้ สงู 17.5 นวิ้ ประกอบด้วยขาไม้สาหรับปกั ลงดิน 19.5 นวิ้ 2) แผน่ เปา้ ทาด้วยสงั กะสีแผ่นเรยี บ ทาสีกากแี กมเขียว (สนี ้ามัน) 3) โครงเปา้ ใชไ้ มย้ างหรือไมช้ นิดอนื่ ท่ีมคี ภุ าพเท่าเทยี มกนั ขนาด 1.5 นิว้ X 3 นว้ิ 12. เป้ารถถังแบบ ถ.1 หมายเลขสิ่งอุปกรณ์ 6920-166-0073 หน่วยนบั แผน่ ก. ลักษณะท่วั ไป เปน็ เป้ากระดาษสีดาใชป้ ดิ บนแผงเป้ารถถัง แบบ ถ. สาหรบั ยงิ อาวุธรถถงั ข. ลักษณะเฉพาะ 1) เป็นแผ่นกระดาษสดี าทาเป็นภาพป้อมปืนรถถงั ขนาด กวา้ ง 6 ฟตุ สงู 3 ฟุต 2) กระดาษทีใ่ ช้ทาเป้าใชก้ ระดาษสดี าชนิดดา้ นมคี วามหนา 80 แกรม

36 รูปที่ 15 เป้ารถถังแบบ ฐ. รูปที่ 16 เปา้ รถถงั แบบ ถ.1 13. เปา้ รถถัง แบบ ถ. หมายเลขสง่ิ อุปกรณ์ 6920-166-0072 หนว่ ยนบั แผน่ ก. ลักษณะทั่วไป เป็นเปา้ กระดาษสีดาภาพรถถังด้านหน้าใช้ปดิ บนแผงเปา้ รถถงั แบบ ถ. ข. ลักษณะเฉพาะ 1) เปน็ แผน่ กระดาษสีดาภาพด้านหน้าของรถถงั กว้าง 6 ฟุต สูง 6 ฟตุ 2) กระดาษท่ใี ชท้ าแผ่นเปา้ ใช้กระดาษสดี าชนดิ ด้านมีความหน้า 80 แกรม ตรงกึง่ กลางปอ้ ม ปืนเป็นกระดาษพื้นขาววงกลมขนาดเสน้ ผา่ ศูนย์กลาง 6 นวิ้ 14. เป้ารถถัง แบบ ถ.2 หมายเลขสิง่ อุปกรณ์ 6920-166-0074 หนว่ ยนับ แผน่ ก. ลักษณะทวั่ ไป เปน็ เปา้ กระดาษใช้ปดิ บนแผงเปา้ รถถงั แบบ ถ. สาหรบั ฝกึ ยิงอาวุธรถถัง ข. ลักษณะเฉพาะ 1) เปน็ เป้ากระดาษสีกากแี กมเขยี วเขียนเป็นลายเสน้ สดี ารปู ปนื ต่อสรู้ ถถังขนาด 4 ฟุต X 4 ฟตุ ความหนาของเส้นลาย 1 นิ้ว 2) กระดาษทใี่ ชท้ าแผ่นเป้าใช้กระดาษสีกากแี กมเขยี ว ความหนา 80 แกรม

37 รปู ท่ี 17 เปา้ รถถงั แบบ ถ. รปู ท่ี 18 เปา้ รถถังแบบ ถ.2 15. เป้ารถถัง แบบ ป. หมายเลขส่งิ อปุ กรณ์ 6920-166-0033 หนว่ ยนับ แผ่น ก. ลกั ษณะท่วั ไป เป็นเปา้ กระดาษใช้ปดิ บนแผงเป้ารถถัง แบบ ป. สาหรับฝกึ ยงิ อาวุธรถถัง ข. ลกั ษณะเฉพาะ 1) เปน็ เป้ากระดาษรูปสีเ่ หลยี่ มจตั รุ สั ขนาด 6 X 6 ฟตุ ภายในแผ่นเป้ามวี งกลมสดี า เสน้ ผา่ ศูนย์กลาง 8 น้วิ อยตู่ รงกลาง ลอ้ มรอบด้วยวงกลม เสน้ สดี า ขนาดเส้นผา่ ศนู ย์กลาง 32 นวิ้ และ 48 นิ้ว ขดี 2 วง วางซ้อนรว่ มจุดศูนย์กลางเดียวกัน 2) กระดาษท่ใี ชท้ าแผ่นเป้า ใช้กระดาษสีขาว ความหนา 80 แกรม ชนดิ ดา้ น 3) หมึกท่ีใช้ระบาย ใชห้ มึกสีดาชนดิ ดา้ น 16. แผงเป้ารถถงั แบบ ด. หมายเลขส่งิ อุปกรณ์ 6920-166-0097 หน่วยนับ แผง ก. ลกั ษณะทว่ั ไป เปน็ แผงส่ีเหลยี่ มจัตุรัส ใชป้ ดิ เป้ารถถัง แบบ ด. สาหรบั ยิงอาวุธรถถัง ข. ลกั ษณะเฉพาะ 1) แผงเป้าเปน็ กรอบไมส้ ่เี หล่ยี มจัตรุ สั ขนาด 6 X 6 ฟุต กรดุ ้วยผา้ ดิบสขี าว 2) กรอบไมแ้ ผงเป้าใช้ไมย้ าง หรอื ไม้ชนดิ อน่ื ท่ีมคี ุณภาพเท่าเทียมกัน ขนาด 1.5 นิ้ว X 3 นิว้

38 รปู ที่ 19 เปา้ รถถังแบบ ป. รูปท่ี 20 แผงเปา้ รถถงั แบบ ด. 17. แผงเป้ารถถงั แบบ ถ. หมายเลขสิ่งอุปกรณ์ 6920-166-0048 หน่วยนับ แผง ก. ลกั ษณะทวั่ ไป เปน็ แผงเป้าส่เี หล่ียมจตั ุรัสประกอบขาไม้ ใช้ปดิ เป้ารถถงั แบบ ถ. สาหรับฝกึ ยงิ ด้วย อาวธุ รถถงั ข. ลักษณะเฉพาะ 1) แผงเป้าเปน็ กรอบไม้ส่เี หล่ียมจตั ุรัส ขนาด 6 X 6 ฟตุ กรดุ ว้ ยผ้าดบิ สขี าวประกอบด้วยขา ไม้ ยาว 3 ฟตุ สาหรบั ปักลงดินลกึ 2 ฟุต 2) กรอบไมแ้ ผงเป้าใช้ไมย้ าง หรอื ไม้ชนิดอ่ืนท่มี ีคณุ ภาพเท่าเทยี มกัน ขนาด 1.5 น้วิ X 3 น้ิว 18. แผงเป้ารถถงั แบบ บ. หมายเลขสงิ่ อุปกรณ์ 6920-166-0075 หน่วยนบั แผง ก. ลกั ษณะทั่วไป เป็นแผงเป้าส่เี หลีย่ มผืนผ้าประกอบขาไมส้ าหรับปักลงดิน ใชฝ้ ึกยิงด้วยอาวุธรถถงั ข. ลกั ษณะเฉพาะ 1) แผงเป้าเปน็ กรอบไม้สเี่ หลี่ยมจัตรุ ัส ขนาด 3 X 5 ฟุต กรดุ ้วยผา้ ดบิ สีขาวประกอบด้วย ขาไม้ ยาว 3 ฟุต สาหรบั ปกั ลงดินลึก 2 ฟุต

39 2) กรอบไมแ้ ผงเปา้ ใช้ไม้ยาง หรอื ไม้ชนดิ อ่ืนท่มี ีคุณภาพเท่าเทยี มกนั ขนาด 1.5 น้ิว X 3 นว้ิ รูปท่ี 21 แผงเป้ารถถงั แบบ ถ. รูปท่ี 22 แผงเป้ารถถังแบบ บ. 19. แผงเป้ารถถัง แบบ ป. หมายเลขสงิ่ อุปกรณ์ 6920-166-0094 หน่วยนับ แผง ก. ลกั ษณะทั่วไป เป็นแผงเป้าส่เี หล่ยี มจตั รุ สั ใชป้ ิดเป้ารถถัง แบบ ป. สาหรับฝกึ ยงิ ด้วยอาวุธรถถัง ข. ลักษณะเฉพาะ 1) แผงเปา้ เป็นกรอบไมส้ ีเ่ หลย่ี มจตั รุ สั ขนาด 6 X 6 ฟตุ กรดุ ว้ ยผ้าดิบสีขาว 2) กรอบไมแ้ ผงเปา้ ใชไ้ ม้ยาง หรือไมช้ นิดอ่นื ท่ีมคี ณุ ภาพเทา่ เทยี มกัน ขนาด 1.5 น้วิ X 3 น้วิ ประกอบขาไมย้ าว 3 ฟุต สาหรับปักลงดินลึก 2 ฟุต

40 รูปท่ี 23 แผงเปา้ รถถังแบบ ป. 20. แผน่ ซอ่ มเป้ารถถัง แบบ จ.3 หมายเลขสง่ิ อปุ กรณ์ 6920-166-0035 หน่วยนบั ชุด (5 แผ่น) ก. ลกั ษณะทว่ั ไป เปน็ แผน่ กระดาษวงกลม ใช้ซอ่ มเปา้ รถถัง แบบ จ.3 ข. ลักษณะเฉพาะ 1) เปน็ กระดาษวงกลมสีขาว มีเสน้ วงกลมสีดา ขนาดเสน้ ผ่าศนู ย์กลาง 4 นิ้ว อยู่รอบ ขอบกระดาษ และมีกากบาทสีดาภายในวงกลม 2) กระดาษทใ่ี ช้ทาแผน่ ซ่อมเป้าใชก้ ระดาษสขี าวความหนา 80 แกรม ชนดิ ด้าน 3) หมึกท่ใี ช้พมิ พ์ใชห้ มกึ สีดาชนดิ ด้าน รปู ที่ 24 แผ่นซ่อมเปา้ รถถงั แบบ จ.3 21. แผน่ ซอ่ มเป้ารถถัง แบบ จ.4 หมายเลขส่ิงอุปกรณ์ 6920-166-0036 หน่วยนับ ชดุ (5 แผน่ ) ก. ลักษณะทวั่ ไป เปน็ กระดาษวงกลมใช้ซ่อมเปา้ รถถงั แบบ จ.4 ข. ลกั ษณะเฉพาะ 1) เป็นแผน่ กระดาษวงกลมสขี าว มเี สน้ วงกลมสดี า ขนาดเสน้ ผ่าศูนย์กลาง 4 น้วิ และ 8 น้วิ 2 วง รวมจดุ ศูนย์กลางเดยี วกัน 2) กระดาษทีใ่ ช้ทาแผ่นซ่อมเป้า ใช้กระดาษสีขาวความหนา 80 แกรม ชนิดด้าน

41 3) หมึกที่ใชพ้ ิมพ์ใช้หมึกสดี าชนิดดา้ น รปู ที่ 25 แผ่นซ่อมเป้ารถถงั แบบ จ.4 22. แผ่นซ่อมเป้ารถถัง แบบ จ.4 ก. หมายเลขสงิ่ อุปกรณ์ 6920-166-0076 หนว่ ยนับ ชดุ (13 แผน่ ) ก. ลกั ษณะทว่ั ไป เปน็ กระดาษรูปปอ้ มปืนรถถงั ใช้ซ่อมเป้ารถถงั แบบ จ.4 ก. ข. ลักษณะเฉพาะ 1) เป็นแผน่ กระดาษรูปป้อมปืนรถถังสีขาว มีเส้นวงกลมสดี าขนาดเสน้ ผา่ ศนู ย์กลาง 4 นว้ิ สงู 3 น้วิ มีเลขกากับต้ังแต่แผ่นที่ 1 ถงึ แผ่นท่ี 13 สขี อบรูปเป้ามคี วามหนา 1/8 น้วิ 2) กระดาษทใี่ ช้ทาแผ่นซ่อมเป้า ใช้กระดาษสขี าวความหนา 80 แกรม ชนิดดา้ น 3) หมึกท่ีใชพ้ ิมพใ์ ชห้ มึกสีดาชนิดด้าน รปู ท่ี 26 แผน่ ซอ่ มเปา้ รถถังแบบ จ.4 ก. 23. แผ่นซอ่ มเป้ารถถงั แบบ จ.4 ข. หมายเลขสงิ่ อุปกรณ์ 6920-166-0077 หน่วยนบั ชดุ (1 ชดุ 5 ภาพ ๆ ละ 1 แผน่ ) ก. ลกั ษณะทั่วไป เป็นแผ่นกระดาษรปู รถถัง , ป้อมปนื รถถัง , ปืนต่อสูร้ ถถัง และเคร่ืองบินเฮลิคอปเตอร์ ใชซ้ ่อมเป้ารถถัง แบบ จ.4 ข. ข. ลกั ษณะเฉพาะ 1) เป็นแผน่ กระดาษรูปภาพรถถัง ด้านข้าง และดา้ นตรงหนา้ , ป้อมปนื รถถังชนิดโคง้ และ เหลีย่ ม,ปนื ต่อส้รู ถถัง และ เฮลคิ อปเตอร์ พ้ืนสีขาวเสน้ ขอบภาพสดี าขนาดเส้นหนา ¼ นิ้ว 2) กระดาษทใ่ี ชท้ าแผ่นซ่อมเป้า ใช้กระดาษสีขาวความหนา 80 แกรม ชนิดด้าน

42 3) หมึกที่ใช้พิมพใ์ ชห้ มึกสดี าชนิดด้าน รูปท่ี 27 แผน่ ซอ่ มเป้ารถถังแบบ จ.4 ข. 24. แผน่ ซ่อมเป้ารถถัง แบบ ด. หมายเลขสิ่งอปุ กรณ์ 6920-166-00958 หน่วยนบั ชดุ (1 ชดุ 20 ภาพๆ ละ 1 แผ่น) ก. ลกั ษณะท่ัวไป เป็นแผน่ กระดาษภาพรถถงั ด้านข้าง,ดา้ นตรงหนา้ และวงกลม ใช้ซอ่ มเป้ารถถงั แบบ ด. ข. ลกั ษณะเฉพาะ 1) เป็นแผน่ กระดาษพื้นขาว มเี สน้ ขอบวาดเปน็ รปู รถถัง เสน้ หนาขนาด 1/8 นิ้ว และ วงกลม สาหรบั ยงิ ปรับทางปืน วงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 4 น้ิว ภายในมีกากบาท 1 ชดุ ประกอบด้วยภาพ รถถังด้านข้างหันหนา้ ไปทางซ้าย 6 แผน่ หนั หน้าไปทางขวา 6 แผน่ ด้านตรงหน้า 6 แผน่ แต่ละภาพมตี วั เลขอารบคิ กากับเรยี งจาก 1-6 ทุกภาพ แตล่ ะเป้ามรี ปู วงกลมมีกากบาท 3 แผ่น 2) กระดาษทใ่ี ช้ทาแผน่ ซ่อมเป้า ใชก้ ระดาษสขี าวความหนา 80 แกรม ชนิดด้าน 3) หมึกที่ใชพ้ มิ พใ์ ชห้ มึกสีดาชนิดด้าน

43 รปู ที่ 28 แผน่ ซ่อมเป้ารถถังแบบ ด. TANKER---------------------------------------TANKER

44

45

46


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook