ห น้ า | 98 หมายเลข ช่ืออุปกรณ์ หน้าทแ่ี ละการใชง้ าน 10. สวติ ช์ไฟพรางอนิ ฟราเรด เปดิ -ปิด ไฟพรางขับอนิ ฟราเรด อินฟราเรดดวงบน ดวงบน มี 3 ตำแหนง่ คือ - ลำแสงไฟตำ่ (NEAR) - ปิดไฟ - ลำแสงไฟสูง (FAR) 11. สวิตช์ควบคุมวงจรไฟพรางขับ ควบคุม และป้องกนั วงจรไฟพรางขับธรรมดา,ไฟพราง (ชนิดตดั วงจรอัตโนมตั ิ) ขับอนิ ฟราเรด และวงจรไฟกล้องตรวจการณอ์ ินฟราเรด ของพลขบั มี 2 ตำแหน่ง คือ \"เปดิ \" และ \"ปดิ \" โดยปกตจิ ะจดั ไว้ในตำแหนง่ \" ON \" 12. สวติ ช์ควบคุมวงจรเคร่อื ง ควบคุมและปอ้ งกันวงจรเครื่องดบั เพลิงประจำรถ,วงจร ดับเพลงิ ,ชดุ วทิ ยุ และเครอื่ งวัด ชดุ วทิ ยุ และวงจรเครอ่ื งวดั ต่างๆ มี 2 ตำแหน่ง คือ ต่างๆ (ชนดิ ตัดวงจรอตั โนมัติ) \"เปิด\" และ \"ปิด\" โดยปกติจะจดั ไวใ้ นตำแหนง่ \" ON \" 13. สวติ ชค์ วบคมุ วงจรหมนุ เคร่อื ง ควบคมุ และปอ้ งกันวงจรหมุนเครื่องยนตด์ ้วยไฟฟา้ ,วงจร ยนต์และวงจรมอเตอร์ขับป๊ัม หมุนเคร่ืองยนตด์ ว้ ยลมอัด และวงจรมอเตอรข์ ับป๊ัมน้ำมนั นำ้ มนั เคร่ืองยนต์ หลอ่ ล่นื เคร่ืองยนต์ มี 2 ตำแหน่ง คอื \"เปิด\" และ \"ปดิ \" โดยปกติจะจดั ไว้ในตำแหน่ง \" ON \" 14. สวติ ช์ควบคมุ วงจรไฮดรอลกิ ควบคุมและปอ้ งกนั วงจรไฮดรอลิกบงั คับเล้ยี ว,วงจรแตร บังคบั เล้ยี ว,วงจรแตร และ และวงจรสอ่ งสวา่ งภายในรถ มี 2 ตำแหนง่ คือ วงจรไฟส่องสว่างภายในรถ \"เปดิ \" และ \"ปดิ \" โดยปกตจิ ะจัดไว้ในตำแหนง่ เปิด\" ON \" (ชนดิ ตัดตอ่ วงจรอตั โนมตั )ิ 15. สวิตชไ์ ฟฉายของคานปน้ั จั่น เปดิ -ปิด และป้องกนั วงจรไฟฉายของคานปั้นจนั่ มี 2 (ชนดิ ตัดวงจรอัตโนมตั )ิ ตำแหน่ง คือ \"เปดิ \" และ \"ปดิ \" 16. สวิตชไ์ ฟหรหี่ น้ารถ เปดิ -ปดิ และปอ้ งกันวงจรไฟหรีห่ นา้ รถ มี 2 ตำแหน่ง (ชนดิ ตดั ตอ่ วงจรอัตโนมตั ิ) คือ \"เปดิ \" และ \"ปดิ \" 17. สวติ ช์ไฟหลังคารถ เปิด-ปดิ และป้องกนั วงจรไฟหลังคารถ มี 2 ตำแหนง่ (ชนิดตดั ตอ่ วงจรอตั โนมัติ) คือ \"เปิด\" และ \"ปดิ \" 18. สวติ ชไ์ ฟหรท่ี า้ ยรถ เปิด-ปดิ และป้องกันวงจรไฟหรีท่ ้ายรถ มี 2 ตำแหน่ง (ชนดิ ตัดตอ่ วงจรอตั โนมัติ) คือ \"เปิด\" และ \"ปิด\" ---------------------------------
ห น้ า | 99 21 กล - 21-
ห น้ า | 100 5. กล่องควบคมุ เครือ่ งดับเพลิง หมายเลข ชอื่ อปุ กรณ์ หน้าที่และการใชง้ าน 1. ไฟเตือนเพลิงไหมห้ ้องพล หลอดไฟจะตดิ สว่างขึ้น เมื่อเกดิ เพลงิ ไหม้ขึ้นภายในหอ้ ง ประจำรถ พลประจำรถ 2. ไฟแสดงการใชห้ ม้อนำ้ ยา หลอดไฟจะตดิ สวา่ งข้นึ เม่ือใชง้ านหม้อน้ำยาดับเพลิงลกู ที่ 3 ดบั เพลงิ 3. ไฟแสดงการใชห้ มอ้ น้ำยา หลอดไฟจะตดิ สว่างขึ้นเมอื่ ใชง้ านหม้อนำ้ ยาดบั เพลงิ ลกู ท่ี 2 ดับเพลิง 4. ไฟแสดงการใช้หมอ้ นำ้ ยา หลอดไฟจะติดสว่างขึ้นเมื่อใช้งานหม้อน้ำยาดับเพลงิ ลกู ท่ี 1 ดับเพลงิ 5. ไฟพรอ้ มใช้งาน หลอดไฟจะตดิ สว่างข้ึน เพอ่ื แสดงวา่ กล่องควบคุม เครื่องดับเพลงิ ได้รบั กระแสไฟฟา้ จากแบตเตอร่ี เม่อื สวิตช์แบตเตอร่ีและสวิตช์ควบคุมวงจรเคร่ืองดบั เพลงิ อย่ใู นตำแหนง่ เปิด \" ON \" 6. ไฟเตือนเพลิงไหมห้ ้อง หลอดไฟจะสว่างข้ึนเมื่อเกดิ เพลงิ ไหม้ขึ้นภายในหอ้ ง เครอ่ื งยนต์ เครือ่ งยนต์ 7. สวติ ชด์ ับเพลิงในห้องเครื่องยนต์ เปน็ สวติ ช์แบบปมุ่ กด สำหรบั ดับเพลิงท่เี กดิ ข้นึ ภายในห้อง เครื่องยนต์ เม่ือใชง้ านในระบบก่งึ อัตโนมัติ 8. สวติ ช์เลอื กระบบดบั เพลิง ใช้สำหรบั เลือกการทำงานของระบบดับเพลงิ มี 2 ตำแหน่ง คอื - ตำแหน่งอตั โนมตั ิ \" AUTO \" ใช้เมอื่ ตอ้ งการให้ การทำงานของระบบดับเพลิงดำเนินไปโดยอัตโนมัติ - ตำแหน่งกง่ึ อตั โนมัติ \" SEMI AUTO \" ใชเ้ มอ่ื พลประจำรถต้องการควบคมุ และใช้งานด้วยสวิตช์ ดบั เพลงิ แบบปุ่มกด 9. สวติ ช์ดบั เพลิงภายในห้อง เปน็ สวิตช์แบบกดปุม่ สำหรบั ดับเพลิงทเี่ กิดขึน้ ภายในห้อง พลประจำรถ พลประจำรถ เมือ่ ใชง้ านในระบบก่งึ อัตโนมัติ -------------------------
ห น้ า | 101 6. เครือ่ งควบคุม และคนั บงั คับ,เครอ่ื งวดั และสญั ญาณเตอื นของแผงบงั คบั ป้นั จนั่ หมายเลข ชือ่ อุปกรณ์ หน้าท่แี ละการใช้งาน 1. สวติ ชไ์ ฟสอ่ งหนา้ ปดั เคร่อื งวดั เปดิ -ปดิ ไฟส่องหนา้ ปัดเครือ่ งวัด 2. ไฟสอ่ งหน้าปดั เครอ่ื งวดั สอ่ งสว่างหน้าปัดเคร่อื งวัด 3. เครือ่ งวัดแรงดันนำ้ มนั ไฮดรอลกิ แสดงคา่ แรงดนั ของนำ้ มันไฮดรอลกิ ในวงจรน้ำมนั ของ อปุ กรณ์ท่กี ำลังทำงานในระบบปน้ั จัน่ 4. ไฟเตือนชดุ ขอยก หลอดไฟจะตดิ สว่างข้นึ เม่ือชุดขอยกเล่ือนสงู ขึ้นจนไม่ ปลอดภยั ตอ่ การใชง้ าน 5. สวติ ช์แตร ใช้กดเพื่อใหส้ ญั ญาณเตือนเม่อื จะใชง้ านป้นั จ่นั 6. คันบังคบั คานปั้นจ่ันตวั นอก ควบคมุ การยกคานปัน้ จั่น ขนึ้ -ลง 7. คันบงั คับคานป้นั จนั่ ตัวใน ควบคุมการยึด-หดคานปัน้ จน่ั ตัวใน 8. คันบงั คับคานป้นั จน่ั ตัวนอก ควบคุมการกว้านชุดขอยกขึ้น-ลง 9. คันบงั คับแท่นปน้ั จนั่ ควบคมุ การหมนุ แทน่ ป้นั จน่ั ----------------------------------------
ห น้ า | 102 - 24 - เครื่องควบคุม คนั บงั คบั เคร่ืองวดั และสญั ญานเตือนของแผงบงั คบั ป - 24 -
ห น้ า | 103 แผนกวชิ ายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรยี นทหารม้า ศูนยก์ ารทหารมา้ ค่ายอดิศร สระบุรี ---------- วชิ า การใชง้ าน รถสายพานกซู้ อ่ ม แบบ 653 การติดเครอ่ื งยนต์ 1. การปฏิบัติที่ควรทำก่อนติดเคร่ืองยนต์ 1) ตรวจเครอ่ื งดบั เพลิง 2) ตรวจวัดระดบั น้ำมันเคร่อื งยนต์ น้ำระบายความรอ้ น และน้ำมนั เชื้อเพลิงให้อยู่ในเกณฑ์ ปลอดภัยในการเดนิ เครื่องยนต์ 3) ตรวจการรั่วไหลของระบบตา่ ง ๆ และการติดเคร่ืองยนต์จะกระทำได้เมอื่ ไดแ้ กไ้ ขการรั่วไหล ของระบบตา่ ง ๆ เสร็จเรยี บรอ้ ยแล้วนั้น การตดิ เครอ่ื งยนต์ กระทำได้ 2 วิธี คือ - การตดิ เครอื่ งยนต์ด้วยมอเตอรห์ มนุ เครือ่ งยนต์ - การติดเครือ่ งยนต์ด้วยลมอดั 1. การติดเครอ่ื งยนตด์ ้วยมอเตอร์หมุนเครอ่ื งยนต์ 1.1 จดั คนั เรง่ มือไว้ในตำแหน่งเดนิ เครอ่ื ง 1.2 จัดลิ้นจา่ ยน้ำมนั เชื้อเพลิงใหต้ รงกับตำแหน่งถงั น้ำมนั เชอื้ เพลงิ ท่ตี ้องการใช้ โดยปกติ ควรเลือกใช้จากถังนำ้ มันเชอ้ื เพลิงภายนอกรถกอ่ น 1.3 ถ้าจอดรถทิง้ ไวห้ ลายๆ วนั ให้ไลฟ่ องอากาศออกจากระบบนำ้ มันเชือ้ เพลิงดว้ ยการหมุนลิ้น ไลฟ่ องอากาศทวนเขม็ นาฬิกาจนสดุ และยดึ ไว้ แล้วโยกปัม๊ สบู ลอ่ จนรสู้ ึกว่ามแี รงตา้ น ประมาณ 5 - 10 นาที 1.4 เปดิ สวิตช์แบตเตอร่ไี วใ้ นตำแหน่ง \"ON\" 1.5 จัดคันเกยี รไ์ วใ้ นตำแหน่ง วา่ ง \"NEUTRAL\" 1.6 กดสวติ ชแ์ ตรเพื่อเตือนใหผ้ ูเ้ กย่ี วขอ้ งทราบวา่ จะติดเคร่ืองยนต์ 1.7 กดสวติ ชม์ อเตอร์ขบั ป๊ัมนำ้ มนั เครือ่ ง ประมาณ 3-5 วินาที และปลอ่ ยสวติ ช์ เมอ่ื แรงดันนำ้ มนั เครือ่ งในระบบหลอ่ ล่นื มากกวา่ 2 กก./ตร.ซม. หมายเหตุ อย่ากดสวิตชม์ อเตอร์ขับปั๊มน้ำมนั เครอ่ื งนานเกนิ 1 นาที 1.8 เหยียบแปน้ คลตั ช์ลงไปจนสดุ 1.9 เหยยี บคันเร่งเครอื่ งยนตล์ งไปประมาณครึ่งหน่ึงของระยะเคลือ่ นทท่ี ้ังหมด 1.10 กดสวติ ชห์ มุนเครอ่ื งยนต์ ประมาณ 2-3 วินาที ถา้ เครื่องยนตไ์ ม่ติด ให้คอยอย่างน้อย 15 วินาที จงึ พยายามติดเคร่ืองยนตซ์ ้ำอกี 1.11 ในทันทที ่เี ครอื่ งยนต์ตดิ ให้ปลอ่ ยสวติ ชห์ มุนเครอื่ งยนต์ และค่อยๆ ผอ่ นแปน้ คลตั ช์กลบั ท่เี ดมิ 1.12 ปรบั คนั เรง่ มอื ใหเ้ ครอ่ื งยนต์เดนิ เบา 700-800 รอบ/นาที หมายเหตุ 1. อยา่ เรง่ เครอื่ งยนตเ์ กิน 800 รอบ/นาที ในทันทที ีเ่ คร่ืองยนต์ตดิ 2. อย่างปล่อยให้เครือ่ งยนต์เดนิ เบาต่ำกว่า 700 รอบ/นาที ตดิ ต่อกันเปน็ เวลานาน เพราะจะทำให้องคป์ ระกอบตา่ งๆ ของเครื่องยนตห์ ลวมคลอน เนอ่ื งจากเครอ่ื งยนต์ มคี วามส่นั สะเทอื นมากเม่อื เดินด้วยรอบต่ำ 2. การตดิ เคร่อื งยนตด์ ้วยลมอัด 2.1 ก่อนตดิ เครอื่ งยนต์ ให้กระทำตามลำดับการปฏิบัติกอ่ นตดิ เคร่ืองยนตใ์ หเ้ รยี บรอ้ ย
ห น้ า | 104 2.2 ปฏิบัตติ ามลำดับหวั ขอ้ การตดิ เครอ่ื งยนต์ด้วยมอเตอรห์ มนุ เครอื่ งยนต์ ตงั้ แต่ขอ้ 1.1 ถึง ขอ้ 1.9 2.3 เปิดล้นิ ของถงั ลมทัง้ สองถงั ให้สดุ 2.4 กดสวติ ช์หมุนเคร่อื งยนตด์ ว้ ยลมอดั 2.5 ในทันท่ีท่ีเครอ่ื งยนต์ตดิ ให้ปล่อยสวติ ช์หมุนเครอื่ งยนต์และคอ่ ย ๆ ผ่อนคลัตชก์ ลบั ทีเ่ ดิม 2.6 ปรบั คนั เรง่ มือ ให้เคร่ืองยนตเ์ ดิน 700-800 รอบ/นาที การดบั เครือ่ งยนต์ 1. หลังจากการใชง้ านควรปล่อยใหเ้ ครื่องยนตเ์ ดนิ เบา 700-800 รอบ/นาที เปน็ เวลา 2-3 นาที เพอ่ื ให้อุณหภูมิของน้ำระบายความร้อนลงถึง 60-75 องศา ซ. เสยี ก่อน จงึ ดบั เครือ่ งยนต์ 2. หา้ มดับเครอื่ งยนต์ เมื่ออุณหภมู ขิ องน้ำระบายความรอ้ นสูงกว่า 75 องศา ซ. ให้เปดิ บานเกลด็ ปิด หม้อนำ้ รงั ผง้ึ ใหส้ ุด และปล่อยใหเ้ ครื่องยนต์เดนิ เบา 700-800 รอบ/นาที จนกวา่ อณุ หภูมิของนำ้ ลดลงถงึ 75 องศา ซ. 3. ผ่อนคนั เรง่ เคร่อื งยนต์ใหส้ ดุ และจัดคันเรง่ มือไวใ้ นตำแหนง่ ดบั เครือ่ งยนต์ การปรนนิบัติบำรงุ เครอื่ งยนตใ์ นระหวา่ งใชง้ าน 1. เพอ่ื ปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ ครอื่ งยนต์ชำรุดเสยี หายและรักษาให้เครอื่ งยนตม์ สี ภาพพรอ้ มใชง้ านตลอดเวลา จงึ ควรหมัน่ ตรวจนำ้ มันเคร่ืองยนต,์ นำ้ และน้ำมันเชอ้ื เพลงิ และเติมให้อยใู่ นระดบั เพียงพอต่อการ ใชง้ าน 2. ก่อนออกรถ 2.1 ตรวจวา่ เครื่องยนตเ์ ดินเบาได้เรยี บรอ้ ยหรอื ไม่ 2.2 ตรวจวา่ เครอ่ื งยนตส์ ามารถเร่งเครอื่ ง และเดนิ ในรอบสงู ไดเ้ รยี บรอ้ ยหรือไม่ 3. ในขณะขับรถ จะต้องตรวจการแสดงค่าของเคร่ืองวัดอยู่เสมอ ดังนี้ 3.1 อณุ หภมู นิ ำ้ มนั เครื่องยนต์ทเ่ี หมาะสมท่สี ุดใช้ขณะใชง้ าน 70-80 องศา ซ., อุณหภมู นิ ำ้ มนั เคร่ืองยนตส์ ูงสดุ ท่ยี อมไดช้ ว่ั คราว 110 องศา ซ., อุณหภมู นิ ้ำมันเครื่องยนตต์ ่ำสดุ ในขณะใชง้ าน 55 องศา ซ. และถา้ ปรากฏว่าอุณหภูมินำ้ มนั เครือ่ งยนตส์ งู กว่า 110 องศา ซ. จะตอ้ งเปลี่ยนเกียร์ ลงต่ำ และลดรอบใช้งานของเคร่ืองยนต์ลง 3.2 อณุ หภมู นิ ้ำระบายความรอ้ นทเ่ี หมาะสมที่สดุ ในขณะใชง้ าน 70-90 องศา ซ. อณุ หภูมนิ ้ำระบาย ความร้อนสงู สดุ ท่ยี อมไดช้ ่ัวคราว 105 องศา ซ., อณุ หภมู นิ ้ำระบายความรอ้ นตำ่ สดุ ในขณะใช้งาน 55 องศา ซ. การถ่ายส่ิงสกปรกออกจากระบบอดั ลม เคร่อื งอดั ลมจะทำงานตลอดเวลาทเี่ คร่ืองยนตต์ ิด ละอองนำ้ และน้ำมันเคร่อื งยนตท์ ่ีปะปนอยใู่ น อากาศจะถกู บังคบั ให้ไหลผ่านเครอ่ื งแยกน้ำ และน้ำมัน ซ่ึงส่งิ สกปรกต่างๆ ทีถ่ กู แยก และกรองออกจากอากาศ แล้ว จะยังคงตกคา้ งอย่ภู ายในเครื่องแยกนำ้ และน้ำมัน และจะตอ้ งถ่ายทิง้ ไปอย่างสมำ่ เสมอ โดยปกติเมือ่ เลิกใช้งานประจำวัน พลขบั จะตอ้ งถา่ ยสิง่ สกปรกทง้ิ ไป ดว้ ยการเปดิ สวิตช์ลน้ิ ถ่าย เมอื่ สง่ิ สกปรกถกู ถา่ ยออกจากเครอื่ งแยกนำ้ และนำ้ มนั จนหมดแล้ว จึงปิดลิ้นถ่ายตามเดมิ คำแนะนำในการใช้งาน 1. ถา้ จอดรถไว้นานกว่า 2 ชม.จะต้องปิดล้ินของถังลมทัง้ 2 ถงั ให้แน่น 2. หมน่ั ถ่ายสิง่ สกปรกและน้ำ ออกจากเครอ่ื งแยกนำ้ และน้ำมัน อย่างนอ้ ยที่สุดวนั ละคร้ัง กอ่ นดับ เครือ่ งยนต์ หลงั จากเลิกใชง้ าน 3. หม่ันตรวจขอ้ ตอ่ และทอ่ ลมของระบบฯ ถา้ พบการร่วั ไหลใหแ้ ก้ไขดว้ ยการซ่อมแก้ หรือเปลย่ี นชิ้น สว่ นตามความจำเปน็ 4. แรงดันลมสำหรบั ติดเครือ่ งยนต์ จะตอ้ งไม่น้อยกวา่ 40 กม./ตร.ซม.
ห น้ า | 105 5. ถังลมทัง้ 2 ถัง จะตอ้ งไดร้ ับการตรวจสภาพ เพอ่ื เพิ่มความปลอดภัยในการใชง้ านทกุ ๆ 5 ปี การขับรถ,ระเบยี บปฏิบัตปิ ระจำ และขอ้ บงั คบั ตา่ ง ๆ หลกั การท่ัวไป 1. ในขณะขับรถ พลขับควรเอาใจใส่ต่อสภาพภมู ิประเทศเบือ้ งหน้า ใช้ความเร็วในการเคล่ือนทใี่ ห้ เหมาะสมกบั เส้นทางตำแหนง่ เกียร์และรอบความเร็วของเคร่อื งยนต์ หมั่นสังเกตเครือ่ งวัดต่าง ๆ และควบคมุ ความเร็วใช้งานของเครื่องยนต์ให้อยใู่ นเกณฑ์ 1,600 - 1,800 รอบ/นาที 2. การหยุดรถ และการจอดรถบนพ้นื ลาด ให้ใช้ห้ามล้อเทา้ 3. การเหยียบคลัตช์ ให้กระทำโดยเรว็ และอย่างวางเท้าไว้บนแปน้ คลตั ช์ในขณะเดนิ เครอื่ งยนต์ 4. การเข้าเกยี รถ์ อยหลงั จะต้องกระทำเม่อื รถหยดุ สนทิ และเคร่ืองยนตเ์ ดินเบา 500 - 600 รอบ/นาที 5. การปนี ขา้ มเคร่อื งกดี ขวาง ควรใช้ชุดเฟอื งบังคับเล้ยี ว แทนท่จี ะเปลย่ี นเกียรล์ งตำ่ ก่อนปีนขา้ ม เคร่อื งกีดขวาง ให้ดงึ คันบังคับเลย้ี วท้ังคู่มายังตำแหน่งท่ี 1 ข้อควรระวัง ไม่ควรขบั เคลอื่ นรถไปไกลกวา่ 150 เมตร เมอื่ ใช้คนั บังคบั เล้ยี วทงั้ คู่ในตำแหน่งท่ี 1 เพอ่ื ใหช้ ดุ เฟอื งบังคบั เลี้ยวเพ่ิมกำลังขับเคล่ือน เพราะจำทำใหช้ ดุ เฟืองบงั คับเลี้ยว ร้อนจดั เกินควร 6. ในขณะขับรถบนถนน ควรใช้ห้ามลอ้ ใหน้ อ้ ยท่สี ุดเทา่ ท่จี ะกระทำได้ 7. ในขณะขับรถด้วยความเร็วสงู อย่ากระชาก หรือดึงคนั บังคับเลย้ี วโดยแรง เพื่อใหร้ ถเล้ยี วเปน็ วงแคบ เพราะจะทำให้รถแฉลบ ลนื่ ไถล จนควบคมุ และบงั คับรถไม่ได้ ระเบยี บปฏิบตั ิและขอ้ บงั คบั ต่าง ๆ 1. การออกรถ การออกรถควรใชเ้ กียรต์ ่ำ หรือใช้คนั บังคบั เลี้ยวชว่ ยในการออกรถ หา้ มเลย้ี งคลัตช์ หรอื ทำให้คลัตช์จบั ไมส่ นิทเป็นเวลานานๆ ไมว่ ่าสภาพการณ์อยา่ งไร จะตอ้ งออกรถอยา่ งนิ่มนวล ไมม่ กี ารกระตกุ หรอื กระชาก 1.1 การออกรถบนพนื้ ราบ การออกรถบนพื้นราบเมอื่ พน้ื ดนิ แขง็ และแน่น ควรออกรถดว้ ยเกยี ร์ 2 การออกรถบนพื้นทท่ี ราย,พนื้ ดนิ อ่อนหรือเปน็ โคลนเลนควรใช้เกียร์ 1 การออกรถควรปฏบิ ัติ ตามขน้ั ตอนดังน้ี 1) เหยียบคลตั ชใ์ ห้สดุ 2) เขา้ เกยี รใ์ นตำแหนง่ ทีต่ ้องการออกรถ 3) กดสวติ ชแ์ ตร 4) ผอ่ นแปน้ คลตั ชโ์ ดยเรว็ 1/3 ของระยะเคล่อื นท่ีทง้ั หมดของแปน้ คลตั ช์ แลว้ คอ่ ยๆ ผ่อน คลัตชใ์ นระยะต่อมาอย่างนม่ิ นวล พร้อมกบั เร่งเคร่ืองยนตใ์ หส้ มั พันธก์ ับการผ่อนคลัตช์ ในกรณที ต่ี ้องออกรถบนพื้นทีย่ ากลำบาก เพ่ือปอ้ งกันไม่ให้แผน่ คลัตชร์ ้อนจดั จนบดิ เบ้ียว ผดิ รปู หรอื สึกหรอเรว็ เกนิ ควร อนญุ าตให้ใชช้ ุดเฟืองบงั คับเล้ียวช่วยในการออกรถ ดว้ ยการ ปฏบิ ตั ิดังนี้ 1) เหยยี บคลตั ชใ์ หส้ ุด 2) เข้าเกยี ร์ 1 3) ดึงคนั บงั คับเลีย้ วทง้ั คู่มาไว้ในตำแหนง่ ที่ 2 4) ผอ่ นคลตั ช์ 5) ดันคนั บังคับเล้ยี วทั้งค่ไู ปยังตำแหนง่ 1 พรอ้ มกบั เรง่ เครอ่ื งยนตใ์ หส้ ัมพันธก์ บั การ ผอ่ นคลัตช์
ห น้ า | 106 1.2 การออกรถบนลาดชนั การออกรถภายหลงั การหยุดรถในขณะขน้ึ ลาดชนั ต้องระวงั อย่างใหร้ ถ ไหลถอยหลัง เนอ่ื งจากการทีร่ ถไหลถอยหลงั เมอ่ื เขา้ เกยี ร์เดนิ หนา้ จะทำใหเ้ ครื่องเปล่ียนความเรว็ ชำรุด และทำให้เครือ่ งยนตห์ มนุ ย้อนกลับทาง การออกรถข้นึ ลาดชนั ใหป้ ฏิบัตดิ ังน้ี 1) ดงึ คันบงั คบั เล้ียวซา้ ยมาไวใ้ นตำแหน่งที่ 2 2) ปลดห้ามลอ้ เท้า 3) เหยยี บคลตั ช์ให้สุด 4) เข้าเกียร์ 1 5) ผอ่ นคลัตช์โดยเรว็ และสมำ่ เสมอ พรอ้ มกับเร่งเครอื่ งยนตใ์ ห้สัมพนั ธก์ ัน 6) เมือ่ รถเรมิ่ เคลอ่ื นท่ไี ปยงั ขา้ งหนา้ ให้ผลักคนั บังคบั เลยี้ วกลบั ไปหนา้ สุดโดยเรว็ หมายเหตุ ข้นั ตอนในการออกรถบนลาดชนั มาก ๆ (ประมาณ 20 องศา - 25 องศา) ให้ปฏิบัติ เช่นเดยี วกับทไ่ี ดก้ ลา่ วมาแล้ว เวน้ แตใ่ ห้เพม่ิ ด้วยการจดั คันบังคับเลย้ี วขวาไวใ้ นตำแหน่งท่ี 1 และเม่อื รถเริม่ เคลอ่ื นที่ไปขา้ งหน้า ให้ผลกั คนั บงั คบั เลีย้ วซ้ายจากตำแหนง่ ที่ 2 ไป ยงั ตำแหนง่ ท่ี 1 1.3 การออกรถลงลาดชัน การออกรถลงลาดชัน ควรปฏิบตั ิให้เหมาะสมกับความชนั ของลาด สภาพของผวิ พื้นเส้นทาง และสง่ิ กีดขวางท่รี ถจะตอ้ งเคลื่อนทผ่ี ่านไป การออกรถลงลาดท่มี ีความ ชนั มาก แต่เปน็ ลาดช่วงสั้น ๆ อาจใชเ้ กยี ร์สงู ได้ การออกรถลงลาดชัน ให้ปฏบิ ัตดิ งั นี้ 1) เหยยี บแปน้ หา้ มล้อลงไปจนกระทง้ั แผ่นยึดคนั ห้ามลอ้ ถูกปลดเปน็ อสิ ระ 2) เหยยี บคลตั ชใ์ หส้ ุด 3) เขา้ เกยี รต์ ามตำแหนง่ ที่ตอ้ งการ 4) ปลอ่ ยแปน้ หา้ มล้อ และผอ่ นคลัตชใ์ ห้สมั พนั ธก์ นั การลงลาดชันทเ่ี ปน็ ลาดชว่ งยาวมาก ใหใ้ ชห้ ้ามล้อเทา้ เป็นคราว เพ่อื ชะลอให้รถแล่นลงลาดชา้ ๆ 2. การเปลย่ี นเกียร์ หลักเบอื้ งต้นในการขับรถกค็ ือ การเลอื กใชต้ ำแหนง่ เกยี รใ์ หเ้ หมาะสมกบั สภาพ เสน้ ทาง เพื่อให้รถสามารถวิ่งไปไดด้ ว้ ยความเรว็ สงู สดุ ของเกียรท์ ี่ใช้ การที่จะบังเกิดผลดังกล่าว พลขับต้องมีความรู้ในการพจิ ารณาภมู ิประเทศเปน็ อย่างดี ใช้ความเรว็ ให้เหมาะสม และในขณะวิ่งรถควรใชห้ ้ามลอ้ ให้น้อยท่สี ดุ เทา่ ท่ีจะทำได้ 2.1 หลกั การเปลี่ยนเกยี ร์ 1) อยา่ ใชก้ ำลงั เครื่องยนต์มากเกนิ ควรถ้าจะตอ้ งขับรถผ่านถนนหรอื ภูมปิ ระเทศยากลำบาก เปน็ ระยะสั้นๆ และเมื่อรู้สึกวา่ เครื่องยนตม์ ีกำลงั ไม่พอใหใ้ ช้ชุดเฟอื งบังคับเลีย้ วช่วย เพิม่ กำลงั ขบั เคลอ่ื น ดว้ ยการดึงคนั บงั คับเลี้ยวทง้ั คูม่ ายงั ตำแหนง่ ท่ี 1 ทนั ที โดยไมต่ ้อง เปลีย่ นเกยี รล์ งตำ่ 2) ไมค่ วรเปล่ยี นเกียรใ์ นขณะข้นึ หรอื ลงลาดชนั ในโคลน หรือพืน้ ดนิ ออ่ น ขณะขา้ มเคร่อื ง กดี ขวาง ขณะลยุ ขา้ มนำ้ หรือหาดทราย ขณะข้ามสะพาน ขณะเลีย้ วรถ และในขณะยิง อาวธุ ประจำรถ 3) การเปล่ียนเกยี รค์ วรกระทำไปตามลำดบั เวน้ แตเ่ มอ่ื รถวง่ิ ลงลาด จงึ อนญุ าตใหเ้ ปลีย่ น เกยี รข์ า้ มลำดบั เชน่ จากเกยี ร์ 1 ไปเข้าเกียร์ 3, จากเกยี ร์ 2 ไปยงั เกียร์ 4,และ จากเกยี ร์ 3 ไปยงั เกียร์ 5 เป็นต้น 4) ในกรณที ร่ี ถไหลถอยหลัง ห้ามเขา้ เกียร์เดินหนา้ เดด็ ขาด 2.2 การเปล่ียนจากเกยี รต์ ่ำไปเกยี รส์ ูง เช่น จากเกียร์ 2 ไปยงั เกียร์ 3 เป็นตน้ ใหป้ ฏิบตั ิ ดงั นี้
ห น้ า | 107 1) เรง่ เคร่อื งยนตข์ ึ้นไปอยา่ งสมำ่ เสมอ เพ่อื เพมิ่ ความเรว็ ของรถในเกียร์ 2 ใหส้ งู ข้ึน จนถงึ ระดับท่เี หมาะสมกบั เกียร์ 3 2) เหยยี บคลัตชใ์ ห้สุดโดยเรว็ พร้อมกับผอ่ นคนั เรง่ เครื่องยนต์ 3) ปลดเกยี ร์ 2 โดยเร็ว และเขา้ เกียร์ 3 4) ผอ่ นคลตั ชโ์ ดยเร็ว พร้อมกับเรง่ เคร่อื งยนตต์ ่อไป 2.3 การเปลี่ยนจากเกยี รส์ งู ไปเกยี ร์ต่ำ เชน่ จากเกียร์ 3 ไปยังเกยี ร์ 2 เป็นต้น ใหป้ ฏบิ ตั ิดังนี้ 1) เหยยี บคลัตช์ใหส้ ดุ โดยเร็ว พร้อมกับผ่อนคนั เร่งเครอื่ งยนต์ 2) ปลดจากเกยี ร์ 3 โดยเรว็ และเร่งเครื่องยนตเ์ ล็กนอ้ ย 3) เข้าเกยี ร์ 2 ผ่อนคลตั ช์โดยเร็ว และเรง่ เครื่องยนตต์ ่อไป หมายเหตุ แมว้ า่ เคร่อื งเปล่ยี นความเร็วจะมีชดุ เฟอื งปรับความเรว็ (SYNCHROMESH) ประกอบอยู่ ดว้ ย กย็ งั คงตอ้ งใช้เทคนคิ ในการย้ำคลตั ช์ ในขณะเปลี่ยนจากเกียรต์ ำ่ ไปเกยี รส์ งู และ เร่งเคร่ืองยนตเ์ ลก็ น้อยในเกยี รว์ ่าง ก่อนที่จะเปล่ยี นเกยี รส์ งู ไปเกียร์ตำ่ 3. การบังคับเล้ยี ว ในขณะเลีย้ วรถ จะตอ้ งเร่งเคร่อื งยนตใ์ ห้เหมาะสมกับขนาดของวงเลย้ี วเพือ่ ไมใ่ หเ้ คร่อื งยนต์ดับการเลยี้ วของรถถงั กระทำไดโ้ ดยใชค้ ันบังคบั เลี้ยวไปบงั คบั ควบคุมการทำงาน ของชุดเฟืองบังคับเลี้ยว คันบังคบั เล้ยี วแต่ละข้างน้นั สามารถจดั ไว้ในตำแหน่งใดตำแหน่งหนงึ่ ในสาม ตำแหนง่ คือ ตำแหนง่ ปกต,ิ ตำแหน่งที่ 1 และตำแหนง่ ที่ 2 ในแต่ละตำแหนง่ จะมลี ักษณะการทำงาน ดังนี้ 1) ถา้ จดั คนั บงั คับเลี้ยวทัง้ คไู่ ว้ในตำแหนง่ (คนั บงั คับอยหู่ น้าสดุ ) รถจะวงิ่ เปน็ แนวตรง 2) ถ้าดึงคนั บังคับเลีย้ ว ท้งั คู่มายังตำแหน่งท่ี 1 (ตำแหนง่ กลาง) รถจะวิ่งเป็นแนวตรง ด้วย ความเรว็ ลดลง แต่กำลังฉดุ ลากและขับเคลอ่ื นสายพานจะเพิม่ ขึ้น ใชใ้ นระยะไมเ่ กนิ 150 เมตร 3) ถ้าดึงคันบงั คับเลย้ี วทง้ั คูม่ ายงั ตำแหนง่ ท่ี 2 (ตำแหนง่ หลงั สดุ ) รถจะหยุด 4) ถ้าดงึ คันบังคับเลี้ยวมายงั ตำแหน่งท่ี 1 เพยี งข้างเดียว และคันบังคับเลยี้ วอกี ขา้ งหนึ่งอยใู่ น ตำแหน่งปกติ รถจะเลีย้ วเปน็ วงกวา้ ง รศั มวี งเลี้ยว 9.5 เมตร 5) ถา้ ดงึ คนั บงั คบั เล้ยี วมายังตำแหน่งที่ 2 เพียงขา้ งเดยี ว และคันบังคับเลีย้ วอกี ข้างหนงึ่ อยู่ใน ตำแหนง่ ปกติ รถจะหมุนเล้ยี วอยา่ งรวดเร็วไปรอบๆ ศนู ย์กลางของสายพานข้างที่ถกู ยึดไว้ ดว้ ยห้ามลอ้ รศั มีวงเลีย้ ว 2.64 เมตร 6) ถ้าดึงคันบังคบั เลี้ยวมายงั ตำแหน่งที่ 2 เพยี งข้างเดยี ว และคนั บงั คบั เลี้ยวอกี ข้างหน่งึ ถกู ดงึ มายงั ตำแหนง่ ที่ 1 รถจะหมนุ เลี้ยวอย่างชา้ ๆ ไปรอบศูนย์กลางของสายพานขา้ งท่ถี ูกยึดไว้ ด้วยหา้ มลอ้ 4. ข้อบงั คับในการใชค้ นั บงั คับเล้ยี ว 1) ควรดึงคนั บงั คับเลี้ยวอย่างน่มิ นวล และอย่าดึงคนั บงั คบั เลยี้ วบอ่ ย ๆ เมอ่ื ไม่จำเปน็ 2) การเล้ียวรถโดยยึดสายพานให้หยุดหมนุ ขา้ งหนง่ึ (การดงึ คนั บงั คบั เลีย้ วข้างนน้ั มายงั ตำแหนง่ 2) หา้ มกระทำเมอื่ รถวิ่งอยู่ในเกยี ร์ 3,4 และ 5 3) เลอื กพื้นท่ีราบเรยี บ หรอื พื้นที่ ๆ มคี วามฝดื นอ้ ย เม่อื จะเลี้ยวรถ ถ้าสามารถกระทำได้ 4) ควรหลีกเลี่ยงการเลย้ี วรถอยา่ งรวดเร็วในขณะขับรถข้นึ หรอื ลงลาดชนั 5) ไม่ควรเลย้ี วรถในขณะเคล่อื นท่ใี นโคลนเลน และขณะปีนขา้ มเครื่องกดี ขวาง ถา้ สามารถ กระทำได้ การเลยี้ วรถในพ้ืนทราย หรอื ดินร่วน ควรเลีย้ วเปน็ วงกวา้ งดว้ ยการดึงคนั บังคบั เลีย้ ว แลว้ ปล่อยซ้ำกันหลายๆ ครัง้ 6) ในกรณที ร่ี ถเกิดการลนื่ ไถล ให้หยุดเล้ียวรถ และดันคนั บังคบั เลีย้ วทั้งคไู่ ปยงั ตำแหนง่ ปกติ (หน้าสุด) 5. การหา้ มล้อ และการหยุดรถ การลดความเรว็ และการหยุดรถ กระทำดว้ ยการใชห้ ้ามลอ้ การห้ามล้อ
ห น้ า | 108 รถอาจกระทำโดยใช้เครอ่ื งยนต์หรือห้ามลอ้ เทา้ วธิ ใี ดวิธหี น่งึ หรอื ใชร้ ่วมกันทง้ั สองวธิ ี การห้ามลอ้ รถ มขี ้อควรปฏบิ ตั ิ และข้อควรระมัดระวงั ดงั นี้ 1) การหา้ มล้อรถดว้ ยคนั บังคบั เลี้ยว หรือแป้นห้ามลอ้ เทา้ จะตอ้ งกระทำอย่างน่ิมนวล 2) ลดความเร็วของรถเมอื่ ขับรถลงลาด เลยี้ วโค้ง หรอื ผา่ นบริเวณพนื้ ทถี่ นนล่นื ถ้าห้ามล้ออยา่ ง กระทันหนั ขณะที่รถว่ิงอยู่บนถนนลนื่ จะทำให้รถแฉลบหรอื ล่ืนไถล การฝ่าฝืนขอ้ ควรระวังน้ี จะทำให้รถเสยี การทรงตวั จนบังคบั รถไม่ได้ และอาจเกดิ อันตรายร้ายแรงแก่ชีวิต และทรพั ยส์ ิน การหา้ มลอ้ ด้วยเครอ่ื งยนต์ กระทำด้วยการผ่อนคนั เรง่ เครอื่ งยนต์ ให้เครือ่ งยนต์หมุนช้าลงการหา้ มลอ้ ด้วยเครอื่ งยนต์ ควรใชใ้ นกรณีดงั ตอ่ ไปนี้ 1) เมือ่ ขับรถลงลาดเปน็ รูปขบวนแถวตอน และพบวา่ มสี งิ่ กดี ขวางอยู่ขา้ งหนา้ 2) เมอื่ ขับรถบนถนนลนื่ หรือในบริเวณพ้นื ที่ลน่ื 3) กอ่ นหยุดรถ หรอื เปล่ียนเกียรล์ งต่ำและเมื่อต้องการให้รถชา้ ลง การใชเ้ ครื่องยนต์หา้ มล้อรถ ทีก่ ำลังว่ิงลงลาด จะต้องใช้เกยี ร์ในตำแหนง่ เดยี วกับท่ีใชว้ ่งิ ขึ้นลาด 4) การหยดุ รถอยา่ งรวดเร็วและการหยดุ รถตามปกตอิ ย่างนม่ิ นวล หรือการชะลอความเรว็ ของรถ ใหใ้ ชห้ า้ มลอ้ เท้า 5) ในกรณฉี ุกเฉนิ เมอื่ ตอ้ งการหยุดรถอย่างกระทันหนั การห้ามล้อรถอาจใชท้ ้งั คนั บังคบั เลย้ี ว และห้ามลอ้ เทา้ รว่ มกัน 6. การตรวจ และการจัดปรบั สายพาน 6.1 คำแนะนำในการจัดปรบั ความตงึ ของสายพาน ในสภาพการใชง้ านตา่ ง ๆ 1) เมื่อจะขา้ มเคร่อื งกดี ขวางสำหรับดกั รถถงั หรอื เดนิ ทางบนถนนพืน้ กรวด หรอื หนิ ยอ่ ย หรอื บนถนนพน้ื แขง็ ให้ปรับสายพานจนสายพานด้านบนเร่ิมแตะกบั ล้อกดสายพาน 3 ล้อกลาง (ลอ้ กดที่ 2,3,4) 2) เม่ือใช้งานบนพ้นื ทดี่ นิ ออ่ น หรือเป็นโคลนเลน ควรปรบั สายพานใหต้ งึ จนกระท่ังสายพาน ด้านบนเริ่มแตะกับลอ้ กดสายพานท่ี 3 3) เมื่อใช้งานในพื้นที่เป็นทราย ซ่งึ มคี วามตา้ นทานในการเคลอ่ื นที่มาก ควรปรับสายพาน ใหห้ ย่อนจนกระทัง่ สายพานดา้ นบนแตะกบั ล้อกดสายพาน 4 ล้อหลัง(ลอ้ กดท่ี 2,3,4,5) หรอื แตะกับลอ้ กดสายพานท้งั 5 ลอ้ หมายเหตุ ในกรณที ่ีปรับสายพานจนหยอ่ น ห้ามบงั คับเล้ยี วรถโดยเรว็ เป็นวงแคบ,บังคบั เล้ยี วโดยเร็ว บนทราย,บนเนิน และลาดเอียง 6.2 การจดั ปรับสายพาน การปรับสายพานใหต้ งึ หรือหย่อน กระทำดว้ ยการจัดตำแหน่งของลอ้ ปรบั สายพาน โดยปฏิบัตดิ งั น้ี 1) ขบั เคลอ่ื นรถไปบนพื้นท่ีราบเรียบและไดร้ ะดับ ปล่อยให้รถหยดุ เองโดยไม่ใช้ห้ามล้อ 2) ดบั เครือ่ งยนต์ และพบั เหล็กครอบสายพานด้านหน้าขน้ึ แลว้ ทำความสะอาด บรเิ วณหลกั เกลียว ล้อปรบั สายพานให้เรียบร้อย 3) ตรวจว่าสลักเกลยี วยดึ เฟอื งตวั หนอน อยใู่ นลกั ษณะการยดึ แบบใด คอื - การยดึ บน สงั เกตไดจ้ ากลำตัวสว่ นทเี่ ป็นแกนกลมของสลกั เกลยี วยึดยืน่ พน้ จากด้านบน ของรูปสเี่ หล่ียมของเฟืองตวั หนอนปรบั สายพาน - การยดึ ลา่ ง สงั เกตได้จากลำตวั สว่ นท่เี ปน็ แกนกลมของสลกั เกลียวยึดยุบตัวลงไปในหวั รปู ส่ีเหลยี่ มของเฟืองตวั หนอนปรับสายพาน 4) ในกรณียดึ บน ใหค้ ลายสลักเกลียวเฟืองตัวหนอน โดยหมนุ กญุ แจกระบอกตามเขม็ นาฬกิ า 1 - 2 รอบ จนสามารถหมนุ ขยบั สลักเกลียวยึดดว้ ยมือได้
ห น้ า | 109 5) ในกรณยี ึดล่าง ให้คลายสลกั เกลยี วยึดเฟอื งตัวหนอน โดยหมนุ กุญแจกระบอกทวนเข็มนาฬิกา 1 - 2 รอบ จนสามารถหมุนขยบั สลกั ยดึ ด้วยมอื ได้ 6) ใชก้ ญุ แจกระบอกด้ามใหญ่ หมนุ เฟอื งตัวหนอนปรับสายพานดงั นี้ - หมนุ เฟอื งตวั หนอนปรบั สายพานทวนเข็มนาฬิกา เม่ือต้องการให้สายพานหยอ่ นลง - หมนุ เฟืองตัวหนอนปรบั สายพานตามเขม็ นาฬกิ า เม่ือต้องการให้สายพานตึงขน้ึ 7) ยดึ เฟอื งตัวหนอนปรับสายพานให้แนน่ ถา้ เหล็กหมายตำแหน่งบนขอ้ เหวย่ี งของล้อปรับอยู่ เหนอื รอ่ งบากของเรอื นลอ้ ปรับ แสดงวา่ ตอ้ งใช้การยดึ บน ให้หมุนสลักเกลยี วยดึ เฟือง ตัวหนอนทวนเขม็ นาฬกิ าจนแนน่ ดว้ ยแรงบดิ 80 - 100 กก./เมตร ถา้ เหลก็ หมายตำแหนง่ ขอ้ เหว่ียงของล้อปรับอยูใ่ ต้ร่องบากแสดงวา่ ตอ้ งใช้การยดึ บน ใหห้ มุน สลักเกลยี วยึดเฟอื งตัวหนอนตามเขม็ นาฬกิ าจนแนน่ ด้วยแรงบดิ 80 - 100 กก./เมตร ในกรณที ่สี ายพานหย่อนมากจนปรบั ตึงไมไ่ ด้ ใหต้ ดั สายพานออกขา้ งละหนง่ึ ขอ้ และหลังจาก ตัดสายพานออก 3 - 5 ข้อแลว้ ใหส้ ลับข้อสายพานจากซา้ ยไปขวา เมอ่ื ตดั สายพานออกถึงข้างละ 6 -7 ขอ้ แล้ว ยังปรับสายพานใหต้ งึ ไมไ่ ด้ ให้เปลย่ี นสายพานใหม่ การปรบั สายพานดว้ ยการตดั ข้อสายพานออก จะตอ้ งใหส้ ายพานแตล่ ะขา้ งมีจำนวนขอ้ สายพานแต่ละข้างเท่ากันเสมอ *****************
ห น้ า | 110 แผนกวิชายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรยี นทหารม้า ศูนย์การทหารมา้ ค่ายอดศิ ร สระบุรี ---------- วิชา การตรวจ,การปรนนบิ ตั บิ ำรงุ และการบรกิ าร รถสายพานกซู้ ่อม แบบ 653 กล่าวทั่วไป 1. ก่อนปฏบิ ตั งิ าน จงระลกึ ถึงคำเตอื นและข้อควรระวังต่าง ๆ และปฏิบตั กิ ารตรวจ การ ปรนนิบตั ิบำรงุ และการบรกิ ารก่อนใช้งาน 2. ในขณะปฏิบัติงาน จงระลึกถึงคำเตือนและขอ้ ควรระวังตา่ งๆ และปฏิบตั ิการตรวจ การ ปรนนิบตั บิ ำรุง และการบริการในขณะใช้งาน 3. หลังจากปฏิบตั งิ าน จะต้องปฏิบตั ิการตรวจ การปรนนบิ ัตบิ ำรุง และการบริการหลังใชง้ าน 4. ถา้ ยทุ โธปกรณ์ หรอื องคป์ ระกอบเกิดขดั ข้อง ใหแ้ กไ้ ขข้อขัดข้องดว้ ยเครื่องมือ และอุปกรณ์ ทเี่ หมาะสมกบั การใชง้ าน และรายงานขอ้ บกพรอ่ งทเ่ี กดิ ขึน้ โดยใช้แบบพมิ พท์ ถี่ กู ตอ้ ง วิธีปฏบิ ัติ 1. ตรวจดูว่าสงิ่ อุปกรณต์ ่าง ๆ อยู่ในสภาพดี ประกอบคมุ หรือเก็บอยา่ งถูกต้อง ติดตั้งมัน่ คง ไม่สกึ หรือมากเกินควร ไม่มกี ารรัว่ ไหล ได้รบั การหลอ่ ลื่นอยา่ งเหมาะสม และทำงานได้ ถกู ตอ้ ง 2. ใช้งานอปุ กรณต์ ่างๆ ด้วยการปฏบิ ตั ติ ามคำแนะนำในการใช้งานท่กี ล่าวไว้ในเอกสารเลม่ นี้ 3. ดำเนนิ การการตรวจ การปรนนบิ ตั บิ ำรุง และการบรกิ าร ตามคำแนะนำ ทก่ี ลา่ วไว้ในตาราง กำหนดการปรนนิบัตบิ ำรุง ************** ตารางกำหนดการปรนนิบตั ิบำรงุ 1. การปรนนิบัติบำรุงก่อนใชง้ าน เปน็ การปฏบิ ตั ิเพื่อประกนั ว่ายุทโธปกรณ์อยู่ในสภาพใช้งานไดต้ ่อไป ตามปกติ และมีการเปล่ยี นแปลงอย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึน้ กับยทุ โธปกรณห์ รอื ไมภ่ ายหลงั จากการ ปรนนบิ ตั ิบำรุงหลังใช้งาน
ห น้ า | 111 ลำดบั ส่ิงที่ต้องตรวจ ตารางท่ี 1 - 1 หมายเหตุ 1. ภายนอกรถ ควรใชน้ ำ้ น้ำอ่อน ไมม่ ี วิธีการปฏิบตั ิ แร่ธาตุเจือปน 1. ตรวจปรมิ าณและระดบั นำ้ มันเชอ้ื เพลิง, - ระดบั น้ำมนั เตม็ 55 นำ้ มันหล่อลนื่ , น้ำมนั ไฮดรอลิก และน้ำ ลิตรหา้ มใช้งานถ้า ระบายความร้อน ระดบั นำ้ มนั ตำ่ กวา่ 20 1) ตรวจระดับของน้ำระบายความร้อน ดงั น้ี ลติ ร - นำ้ ธรรมดาให้เติมจนระดบั นำ้ สูงถึงเกลยี ว ล่างของฝาปิดหม้อนำ้ - น้ำผสมนำ้ ยากันแขง็ ใหเ้ ตมิ จนระดบั นำ้ ตำ่ กว่าหลอดน้ำแถวที่ 2 ในหมอ้ น้ำ (น้อยกว่า ปกต6ิ - 7 ลติ ร เนอ่ื งจากนำ้ ยากนั แขง็ จะมี การขยายตวั มากกว่าน้ำธรรมดา 2) ตรวจระดบั น้ำมนั หล่อลน่ื เครอื่ งยนต์ ภายในถังเก็บด้วยเหล็กวดั และเติมตามความ ต้องการ - ตดิ เครอ่ื งยนต์ เดนิ เคร่ืองไว้ 800 - 900 รอบ/นาที ประมาณ 2 - 3 นาที ดบั เคร่อื งยนตแ์ ละตรวจวัดระดับน้ำมันอกี ครง้ั หนึ่งและเติมตามความตอ้ งการ 3) ตรวจระดบั น้ำมนั เชือ้ เพลงิ และเติมตาม ความตอ้ งการ 2. ตรวจจำนวน,สภาพพรอ้ มใช้งาน,การเก็บ รักษา และการติดต้งั ม่นั คง และความ ปลอดภัยของชิ้นสว่ นอะไหล่ เครอ่ื งมอื เครือ่ งใช้ประจำรถ,หบี เคร่ืองมือ,ถัง นำ้ มันหล่อลื่นอะไหล่ ปก.ขนาด 12.7 มม.,
ตารางท่ี 1 - 1 ( ต่อ ) ห น้ า | 112 ลำดบั สง่ิ ท่ตี อ้ งตรวจ วิธีการปฏิบัติ หมายเหตุ ข้อสายพานอะไหล่,เครื่องมือโยธาสนาม,ลวด ลากจงู และคานลากจูง ชุดรอกกู้ซอ่ ม, ผ้าใบคลมุ รถ ฯลฯ 3. ตรวจความมั่นคงในการตดิ ตง้ั ,สภาพความ เรียบรอ้ ยและการร่ัวไหลของถังนำ้ มนั เชอื้ เพลงิ นอกรถ 4. ตรวจความมั่นคงในการติดตั้ง สภาพความ เรียบรอ้ ยของโคมไฟอินฟราเรด,ไฟพราง,ไฟ ข้าง,ไฟทา้ ย, ไฟหลงั คา,เต้าเสยี บไฟส่องสวา่ ง และฝาครอบกนั ฝ่นุ ต่าง ๆ 5. ตรวจความมั่นคงในการติดต้งั และความ คล่องตวั ในเปิด-ปิด ของชอ่ งทางออกฉกุ เฉนิ และฝาปิดต่าง ๆ ใต้ตวั รถ 6. ตรวจการติดตงั้ และสภาพพร้อมใชง้ านของ ชดุ โทรศัพท์ภายนอกรถ 7. ตรวจความมั่นคง และสภาพความ เรียบรอ้ ยของแผน่ ยางครอบสายพาน 2. สายพานและเคร่ืองพยงุ ตัว 1. ตรวจความตงึ ของสายพาน และจดั ปรบั รถ ความตึงตามความต้องการ 2. ตรวจความมนั่ คงและสภาพความเรยี บรอ้ ย ของฝาครอบดุมลอ้ ขับสายพาน,ลอ้ ปรับ สายพาน,เฟอื งขบั ขน้ั สดุ ทา้ ยและเคร่ืองผ่อน แรงสะเทอื น ฯลฯ 3. หอ้ งเครื่องยนตแ์ ละเครอื่ ง 1. ตรวจความมั่นคง และการร่ัวไหลของข้อ เปลยี่ นความเรว็ ต่อทอ่ ทางเดนิ ต่าง ๆ ของน้ำมันหลอ่ ลนื่ และ นำ้ ระบายความรอ้ น 2. ตรวจการรั่วไหลของหบี เฟืองถ่ายทอด กำลงั ,เครอื่ งเปล่ียนความเร็ว,ชุดเฟืองบังคับ เล้ียว และห้ามลอ้
ลำดบั ส่งิ ทตี่ ้องตรวจ ตารางท่ี 1 - 1 ( ตอ่ ) ห น้ า | 113 4. อาวธุ และเคร่อื งติดตอ่ วิธีการปฏิบัติ หมายเหตุ ส่อื สารประจำรถ 3. ทำความสะอาดภายในห้องระบบหน่วย กำลงั ตามความจำเป็น 1. ปก.ขนาด 12.7 มม.และเคร่อื งเล็ง 1) ตรวจความเรยี บรอ้ ย และการทำงานของ เครื่องรบั แรงถอย 2) ตรวจความเรียบรอ้ ย และการทำงานของ เครอ่ื งรับแรงถอย 2) ตรวจความเรียบรอ้ ย และการทำงานของ เครอ่ื งลัน่ ไก 3) ตรวจจำนวน,แหล่งที่เก็บ และสภาพการ เก็บรกั ษากระสุน ปก.ขนาด 12.7 มม. 4) ตรวจสภาพความเรียบรอ้ ย และความ มัน่ คงของถงุ คลมุ ปก.ขนาด 12.7 มม.และ เครื่องเล็ง 2. เครื่องตดิ ตอ่ ส่อื สารประจำรถ 1) ตรวจสภาพความม่นั คง และความ เรียบรอ้ ยของชุดวทิ ย,ุ เครือ่ งพดู ภายในรถ,ชุด ฐานติดตง้ั เสาอากาศและองค์ประกอบตา่ ง ๆ 2) ตรวจสวิตช์ตดั -ต่อวงจรไฟฟา้ ของชดุ วทิ ยุ และเคร่ืองพูดภายในรถว่าอยใู่ นตำแหนง่ ปดิ \"OFF\" หรอื ไม่ จดั ตำแหน่งของสวติ ช์ตดั เสยี ง รบกวน และจดั ตำแหน่งของสวติ ช์ตัดเสยี ง รบกวน และสวติ ช์อื่น ๆ ให้ถกู ตอ้ ง 3) ตรวจความเรียบร้อยและความถกู ตอ้ งของ ตำแหน่งและการตอ่ วงจรของข้วั ตอ่ ไฟต่างๆ สลกั เกลยี วยดึ และสายดิน
ลำดบั ส่งิ ทีต่ อ้ งตรวจ ตารางที่ 1 - 1 ( ตอ่ ) ห น้ า | 114 5. เคร่อื งควบคมุ และคัน วิธีการปฏบิ ัติ หมายเหตุ บังคบั ภายในห้องพลขับ 4) ตรวจสภาพความมน่ั คง และความ เรยี บร้อยของลูกบิด,ปมุ่ บังคบั และสวิตช์ตา่ งๆ ,ไฟแสดงการทำงาน,ไฟสอ่ งหนา้ ปัด และ สวติ ชต์ ่าง ๆ 5) ตรวจการทำงานของชุดวทิ ยุ และเคร่อื งพูด ภายในรถ 3. ชุดปฐมพยาบาล ตรวจจำนวน,สภาพ และ ความเรยี บรอ้ ยของเครื่องเวชภัณฑ์ในชดุ ปฐม พยาบาล รวมทงั้ ส่ิงของเครอื่ งใชป้ ระจำตวั ของพลประจำรถ 1. ตรวจความคลอ่ งตวั และความเช่อื ถือได้ใน การบงั คับใชง้ านของเคร่อื งควบคุม และคนั บงั คับตา่ ง ๆ 2. ตรวจความมนั่ คง และสภาพของสายไฟ แรงตำ่ สายไฟแรงสูงของเครอ่ื งกำเนิดไฟฟ้า ของกลอ้ งตรวจการณอ์ นิ ฟราเรด 3. ตรวจการทำงานของคนั ปิด-เปิดบานเกล็ด ปิดหมอ้ น้ำรงั ผึ้ง และเครอ่ื งระบายความรอ้ น น้ำมันเครอ่ื งยนต์ 4. ตรวจสภาพความเรียบร้อยของฟวิ ส์ และ สวติ ช์ปอ้ งกนั วงจรไฟฟ้าตา่ ง ๆ 5. ติดเคร่ืองยนต์ และทำการตรวจ 1) การทำงานของเครอ่ื งยนต์ในรอบความเรว็ ตา่ ง ๆ 2) ตรวจการรว่ั ไหลของนำ้ มันหลอ่ ล่นื ,นำ้ มนั เชอ้ื เพลิงน้ำระบายความร้อน และไอดี-ไอเสยี
ห น้ า | 115 ตารางที่ 1 - 1 ( ต่อ ) ลำดบั สิ่งท่ตี ้องตรวจ วธิ ีการปฏบิ ัติ หมายเหตุ 3) ตรวจการทำงานของเคร่อื งวดั ,ไฟเตอื น,ไฟ สอ่ งหนา้ ปดั เครือ่ งวดั ,แตรเตอื น และการ ทำงานของเคร่ืองวดั กระแสไฟฟา้ ว่าอย่ใู น เกณฑ์ปกตหิ รือไมเ่ ม่ือเริม่ ติดเครอ่ื งยนตแ์ ละ เรง่ เคร่อื งยนต์ถึง 1,000 รอบ/นาที - แรงดนั ไฟฟา้ ในระบบประจุไฟควรอยู่ใน เกณฑ์ 28.5 โวลท์ - เครอื่ งวัดกระแส ควรจะแสดงค่าไม่นอ้ ย -การตรวจกระแสประจุ เครือ่ งวัดกระแส ควรจะแสดงคา่ ไม่น้อย50 - แบตเตอรคี่ วรกระทำ 130 แอมปใ์ นกรณีทีแ่ บตเตอรขี่ องรถมีไฟ ภายหลังจาก นอ้ ย เครื่องยนตต์ ิดแล้ว 10 6. ตรวจช้นิ สว่ นอะไหล่ และเครอื่ งมือ นาที เครื่องใช้ประจำรถวา่ มีจำนวนครบถ้วน และ เกบ็ รกั ษาไวถ้ ูกตอ้ งตามตำแหนง่ ที่กำหนดไว้ หรอื ไม่
ห น้ า | 116 2. การปรนนบิ ตั บิ ำรุงขณะหยุดพัก เปน็ การปฏบิ ัตเิ พอ่ื ประกันว่ายทุ โธปกรณ์ สามารถใชป้ ฏบิ ัติการ ต่อไปอยา่ งมีประสิทธิภาพและเช่ือถือได้ การปฏิบัตกิ ารกระทำเม่อื หยุดพักรถ ระหว่างการใชง้ าน ตารางท่ี 1 - 2 ลำดับ ส่งิ ท่ตี อ้ งตรวจ วิธีการปฏบิ ตั ิ หมายเหตุ 1. ภายนอกรถ 1. ตรวจระดับนำ้ มนั เครอ่ื งยนต์ และน้ำ ระบายความรอ้ นและเติมตามความตอ้ งการ 2. ตรวจความม่นั คงในการติดตงั้ และการเก็บ รกั ษาชิน้ สว่ นอะไหล่เคร่อื งมือเครอื่ งใชป้ ระจำ รถ,ถงั น้ำมนั อะไหล,่ ปก.ขนาด 12.7 มม.ข้อ สายพานอะไหล,่ เคร่ืองมอื โยธาสนาม,ลวด ลากจงู ,ชุดรอกก้ซู อ่ ม และผา้ ใบคลุมรถ ฯลฯ 3. ตรวจความมัน่ คง,การรั่วไหล และความ เรียบร้อยของถังน้ำมนั เชือ้ เพลงิ และท่อ ทางเดนิ น้ำมนั เชือ้ เพลิงภายนอกรถ 4. ตรวจความมั่นคง และความเรียบร้อยของ โคมไฟอนิ ฟราเรด,ไฟพรางขบั ,ไฟขา้ ง,ไฟทา้ ย ,ไฟหลังคา, แตร,ถุงคลมุ โคมไฟต่าง ๆ 5. ตรวจความมั่นคง และการทำงานของฝา ปิดช่องทางเขา้ -ออกตา่ ง ๆ 6. ตรวจความมน่ั คง และความเรยี บร้อยของ แผน่ ยางครอบสายพาน 1. ตรวจความตึงหยอ่ นของสายพาน และปรับ 2. สายพานและเครอ่ื งพยุง สายพานตามความจำเปน็ ตวั รถ 2. ตรวจหารอยแตกรา้ วของขอ้ สายพาน และ สลกั สายพานการสูญหายของแหวนบงั คับ สลักสายพาน 3. ตรวจอณุ หภูม,ิ การรว่ั ไหล และความหลวม คลอนของดุมลอ้ ขับสายพาน,ดมุ ลอ้ กด สายพาน,ดุมล้อปรับสายพานและเคร่อื งผอ่ น แรงสะเทือน
ตารางท่ี 1 - 2 ( ต่อ ) ห น้ า | 117 ลำดับ สิง่ ที่ต้องตรวจ วธิ กี ารปฏิบตั ิ หมายเหตุ 3. ห้องเครือ่ งยนต์และเครื่อง 1. ตรวจความเรียบรอ้ ยมน่ั คง และการ เปล่ยี นความเรว็ รั่วไหลของทอ่ ทางเดินต่าง ๆ ในห้อง เครอ่ื งยนต์ 2. ตรวจอุณหภูมิของระบบระบายความร้อน และระบบหลอ่ ลื่นเครอ่ื งยนต์ว่าอยใู่ นเกณฑ์ ปกตหิ รอื ไม่ 3. ตรวจการรัว่ ไหลของเครื่องเปลยี่ นความเร็ว ,ชุดเฟอื งบงั คับเลี้ยว และห้ามล้อ และหีบ เฟืองถา่ ยทอดกำลัง 4. ตรวจความมั่นคง และความเรยี บรอ้ ยของ สลักเกลียว, แป้นเกลยี ว,ปลอกเกลยี ว,ปลอก รัดขององคป์ ระกอบต่าง ๆ 4. ห้องพลประจำรถ 1. ตรวจความมัน่ คง และความเรยี บร้อยของ กล้องตรวจการณต์ ่าง ๆ 2. ตรวจความมน่ั คง และความเรียบร้อยใน การรักษากระสนุ ปืนและช้นิ ส่วนอะไหล่ ฯลฯ 3. ตรวจความมนั่ คง และความเรยี บร้อยของ ชุดวทิ ยุ และองค์ประกอบต่างๆ ของระบบ เคร่ืองตดิ ต่อสื่อสารประจำรถ 1. ตรวจความคล่องตัว และความเช่อื ถอื ได้ 5. เครื่องควบคุมและคัน ของเครือ่ งควบคุม และคนั บงั คับตา่ ง ๆ บงั คับภายในหอ้ งพลขับ 2. ตรวจความมัน่ คงของกลอ่ งเกบ็ กล้องตรวจ การณอ์ นิ ฟราเรด และหีบกระสุน ฯลฯ
ห น้ า | 118 การปรนนิบตั ิบำรุงขน้ั ที่ 1 การปรนนบิ ัตบิ ำรงุ ขนั้ ท่ี 1 จะตอ้ งปฏิบตั เิ มอื่ การใชง้ านประจำวันเสรจ็ ส้ินลง โดยไมค่ ำนึงถึงระยะ ทางและ ชม.ใชง้ าน เปน็ การปฏบิ ตั เิ พ่ือตรวจสภาพทางเทคนิคของยุทโธปกรณ์,เพอื่ แก้ไขขอ้ บกพร่อง ตา่ งๆ ที่เกิดขึ้น และตรวจพบในระหว่างการใชง้ าน และเปน็ การเตรยี มยทุ โธปกรณ์ให้มีสภาพพร้อมที่ จะใช้งานได้ตลอดเวลา โดยปกตกิ ารปรนนิบัตบิ ำรงุ หลังใชง้ านได้ตลอดเวลา โดยปกตกิ ารปรนนบิ ตั ิ บำรุงหลังใชง้ าน จะใชเ้ วลาประมาณ 2 - 4 ชม. ตารางที่ 1 - 3 ลำดับ สิง่ ทต่ี อ้ งตรวจ วิธกี ารปฏบิ ัติ หมายเหตุ 1. ภายนอกรถ 1. เช็ด หรอื ล้างฝนุ่ ,โคลนภายนอกรถ 2. ตรวจวัดระดบั นำ้ มนั หล่อลื่น,น้ำมัน ไฮดรอลิก,นำ้ ระบายความร้อน และนำ้ มนั เช้ือเพลงิ และเตมิ ตามความตอ้ งการ 3. ตรวจความเรยี บรอ้ ยของตวั รถ 4. ตรวจความมั่นคง,ความเรยี บรอ้ ย และการ เก็บรักษาช้ินส่วนอะไหล่,เครอ่ื งมือเครื่องใช้, หบี เครอื่ งมอื ,ถังน้ำมนั อะไหล,่ ปก.ขนาด 12.7 มม.,ขอ้ สายพานอะไหล,่ เครือ่ งมือโยธา สนาม,คานลากจูง,ชดุ รอกกซู้ ่อม,ลวดลากจงู และผ้าใบคลมุ อปุ กรณต์ ่าง ๆ ฯลฯ 5. ตรวจความม่ันคง ความเรยี บร้อยและการ รวั่ ไหลของถังนำ้ มัน และทอ่ ทางเดนิ ต่างๆ ของน้ำมันภายนอกรถ 6. ตรวจความม่นั คง ความเรยี บรอ้ ยและการ ทำงานของโคมไฟอินฟราเรด,ไฟพรางขับ,ไฟ หลงั คา,ไฟทา้ ย, เต้าเสียบไฟฉาย,แตร,ถุงโคม ไฟและแตร 7. ตรวจความมน่ั คงและความคล่องตวั ในการ ปิด-เปิดของฝาปดิ ช่องทางเขา้ -ออก ต่าง ๆ 8. ตรวจความมั่นคง และความเรยี บร้อยของ ชุดโทรศพั ทภ์ ายนอกตวั รถ
ห น้ า | 119 ตารางท่ี 1 - 3 ( ต่อ ) ลำดบั สง่ิ ท่ตี ้องตรวจ วิธกี ารปฏบิ ตั ิ หมายเหตุ 9. ตรวจความมั่นคง และความเรียบร้อยของ แผน่ ยางครอบสายพานท้ังสองขา้ ง 10.ใหก้ ารหลอ่ ล่ืนบานพบั และกลอน,สลัก -ให้การหล่อล่ืนดว้ ย กลอนตา่ ง ๆ ของฝาปดิ -เปิดช่องทางตา่ ง ๆ การหยอดน้ำมันเครอื่ ง การใหก้ ารหลอ่ ลืน่ จะตอ้ งทำความสะอาดจุด และไขขน้ ตามท่ี ท่จี ะใหก้ ารหลอ่ ลื่นใหเ้ รยี บรอ้ ยเสียก่อน กำหนดไว้ในตาราง กำหนดการหลอ่ ลน่ื 2. สายพานและเครื่องพยุงตัว 1. ลา้ งทำความสะอาดเครื่องพยุงตวั รถและ รถ สายพาน 2. ตรวจความตงึ หยอ่ นของสายพานและปรบั - การปรับสายพานตอ้ ง สายพานตามความตอ้ งการ กระทำให้เหมาะสม และสอดคล้องกบั ภูมิ ประเทศทใี่ ช้งาน 3. ตรวจหารอยแตกร้าวของขอ้ สายพาน สลกั สายพานและการสญู หายของแหวนยดึ สลกั สายพาน 4. การตรวจสภาพการแตกร้าวของล้อกด สายพานและลอ้ ปรบั สายพาน ตรวจการ แตกร้าวและหลุดลอ่ นของยางห้มุ กดสายพาน 5. ตรวจความหลวมคลอน และการร่ัวไหล ของฝาครอบดุมล้อตา่ ง ๆ 6. ตรวจการรว่ั ไหลของเคร่อื งผอ่ นแรง สะเทอื น และแขนลอ้ กดสายพาน 7. ตรวจการขนั แน่นของสลักเกลยี ว และแป้น เกลียวยดึ หบี เฟอื งขับขนั้ สดุ ท้าย 8. ตรวจการขนั แน่นของสลกั เกลียว และแปน้ เกลยี วยึดลอ้ ขับสายพาน และเฟืองขบั สายพาน
ตารางท่ี 1 - 3 ( ต่อ ) ห น้ า | 120 ลำดบั ส่งิ ที่ตอ้ งตรวจ วธิ กี ารปฏบิ ตั ิ หมายเหตุ 3. ห้องเครื่องยนต์และเครื่อง 1. ทำความสะอาดภายในห้องเครอ่ื งยนต์ เปล่ยี นความเร็ว และเครอ่ื งเปลยี่ นความเร็ว 2. ตรวจและทำความสะอาดรรู ะบายอากาศ ของฝาปิดชอ่ งเตมิ นำ้ มันเชอื้ เพลงิ ของถัง น้ำมนั เช้อื เพลงิ กล่มุ หนา้ 3. ทำความสะอาดและตรวจสภาพการทำงาน ของล้ินระบายแรงดนั และล้ินสญุ ญากาศของ ฝาหมอ้ นำ้ รังผงึ้ 4. ตรวจความมน่ั คง และการรวั่ ไหล,การขัน แน่น องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ของหม้อกรอง อากาศ 5. ตรวจความม่ันคง และการร่ัวไหลของท่อ ทางเดินต่าง ๆ ของนำ้ มันหลอ่ ลื่น,น้ำมัน เชื้อเพลิง และนำ้ ระบายความร้อน 6. ตรวจการร่วั ไหลของชุดเฟอื งบังคับเลี้ยว และหา้ มล้อ, หบี เฟืองถา่ ยทอดกำลัง,และ เครื่องเปลย่ี นความเร็ว 7. ตรวจความมัน่ คง และการรว่ั ไหลของ องค์ประกอบและท่อทางเดินต่างๆ ของ ระบบไฮดรอลิกบังคับเลีย้ วและระบบเครอ่ื ง ทำควัน 8. ตรวจความม่ันคง และการขันแนน่ ของ องคป์ ระกอบต่าง ๆ ในหอ้ งเครอื่ งยนต์และ เครื่องเปล่ียนความเรว็ 9. ตรวจการทำงานของชุดขอ้ ต่อกา้ นโยงคัน เกียร์เปล่ยี นความเรว็ และเขม็ ชตี้ ำแหนง่ เกียร์ 1 และเกียร์ถอยหลัง จะต้องไม่คลาดเคลอ่ื น ไปจากขีดและตัวเลขระบตุ ำแหน่งเกียร์บน เรือนเครอ่ื งเปล่ยี นความเรว็ เกนิ กวา่ 1.5 มม.
ตารางที่ 1 - 3 ( ตอ่ ) ห น้ า | 121 ลำดับ สิ่งที่ตอ้ งตรวจ วธิ ีการปฏบิ ตั ิ หมายเหตุ 10. ตรวจความมั่นคง,การประกอบคุม และ การทำงานของชดุ กา้ นโยง และเครอ่ื ง ประกอบต่างๆ ของชุดปลอกรัดหา้ มล้อบังคับ เลยี้ ว และหา้ มลอ้ หยดุ รถ เมอื่ ดึงคนั บังคบั เลยี้ วมายังตำแหนง่ ที่ 1 ขดี หลักบนเรอื นยดึ หา้ มลอ้ บงั คบั เลีย้ วควรจะตรงกัน และคลาดเคลอื่ นไปได้ไมเ่ กนิ 3 มม. 11. ตรวจความสกปรก และสง่ิ แปลกปลอม ระหวา่ งจานห้ามล้อ 4. อาวุธประจำรถและเครื่อง 1. อาวธุ และเครื่องเล็ง และกล้องตรวจการณ์ ติดต่อสอื่ สาร 1) ทำความสะอาดอาวุธ และเคร่ืองเลง็ 2) ใชแ้ ปรงขนออ่ นทำความสะอาดแก้วทัศนะ ของเคร่อื งเล็ง 3) ทำความสะอาดกระจกกล้องตรวจการณ์ 4) ตรวจการทำงานของเคร่ืองล่นั ไก ปก. ขนาด 12.7 มม. 5) ตรวจการทำงานของชุดควงสูงของปนื กล ทำความสะอาดและหล่อล่ืนชุดเฟืองต่าง ๆ ด้วยไขขน้ 6) ตรวจความม่นั คง และความเรียบร้อยของ กลอ้ งตรวจการณ์ แบบ 71 ของ ผบ.รถ 2. เคร่อื งติดตอ่ สอื่ สาร 1) ทำความสะอาดชดุ วทิ ยุ,เครื่องติดต่อ ภายในรถ,ชดุ 1) ทำความสะอาดชดุ วิทย,ุ เครอ่ื งติดต่อภายในรถ,ชดุ ฐานเสาอากาศ และองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ 2) ตรวจความมนั่ คง และความเรยี บรอ้ ยของ ชดุ วิทย,ุ เคร่ืองพดู ภายในรถ และชดุ ฐานเสา อากาศ
ห น้ า | 122 ตารางท่ี 1 - 3 ( ตอ่ ) ลำดับ ส่งิ ท่ตี ้องตรวจ วิธกี ารปฏบิ ตั ิ หมายเหตุ 3) ตรวจสภาพ และความหลวมคลอนของ สายไฟ และข้วั ต่อสายไฟต่าง ๆ 4) ตรวจการทำงานของชดุ วทิ ยุ,เครือ่ งพดู ภายในรถและชดุ หมวดกนั กระแทกของพล ประจำรถ ดังนี้ - เครื่องรับ จะต้องรบั ได้ทกุ ย่านความถ่ี ป่มุ บงั คบั เสยี งตอ้ งสามารถเร่ง และหรเ่ี สยี งได้ ปุ่มตดั เสยี งรบกวนต้องใช้การได้ และ ผบ.รถ จะตอ้ งสามารถตดิ ตอ่ กบั ชดุ โทรศัพท์ภายนอก รถได้ - เครื่องส่งจะตอ้ งสามารถส่งไดอ้ ย่างต่อเนอื่ ง ไม่ขาดเปน็ หว้ ง ๆ และจะตอ้ งได้ยนิ เสยี งพดู ของตวั เอง และในขณะท่ี ผบ.รถ ทำการรับส่ง วทิ ยุ พลประจำรถยังคงสามารถพดู ตดิ ต่อกนั ในรถได้ - พลประจำรถแต่ละนายต้องสามารถบงั คับ เรียก ผบ.รถ ให้กลบั เข้ารับฟังเคร่อื งพดู ภายในรถได้ในขณะที่ ผบ.รถกำลงั อย่ใู น ระหวา่ งการรบั -ส่งวทิ ยุ 5) สวติ ชบ์ งั คับการใชง้ านของเครอื่ งพูด ภายในรถ จะตอ้ งจัดและยดึ ไว้อย่ใู นตำแหน่ง ทต่ี ้องการได้ เมอ่ื เลกิ ใชง้ านจะตอ้ งจัดสวติ ช์ จา่ ยกำลงั งาน \"POWER SWITCH\" ไวใ้ น ตำแหน่งปดิ \"OFF\" เสมอ 3. เบ็ดเตล็ด 1) ตรวจเครื่องเวชภัณฑ์ประจำรถวา่ มีจำนวน ครบถว้ นสามารถใชก้ ารได้ และเกบ็ รักษาไว้ อย่างถกู ตอ้ งและมัน่ คง
ตารางที่ 1 - 3 ( ต่อ ) ห น้ า | 123 ลำดับ สิ่งท่ตี อ้ งตรวจ วิธกี ารปฏิบัติ หมายเหตุ 2) ตรวจการทำงาน และความม่นั คงของพดั ลมระบายอากาศภายในรถและโคมไฟสอ่ ง สวา่ งภายในรถ 5. ห้องเครื่องควบคุมและคัน 1. ทำความสะอาดภายในหอ้ งเครอ่ื งควบคมุ บงั คบั และคนั บังคับ 2. ทำความสะอาดเครื่องกำเนิดไฟแรงสูงของ กล้องตรวจการณ์อนิ ฟราเรด 3. ตรวจความมั่นคงและความเชอื่ ถือไดใ้ นการ ทำงานของเครื่องควบคมุ และคันบังคับตา่ ง ๆ 4. ตรวจการทำงาน และใหก้ ารหลอ่ ลื่นคัน บงั คบั ชุดก้านโยง เปดิ -ปดิ บานเกลด็ ปดิ หม้อ น้ำรังผ้งึ และโล่ปิดกระจกห้องพลขับ 5. ทำความสะอาด ตรวจความมน่ั คง และ ความเรยี บรอ้ ยของกลอ้ งตรวจการณร์ อบห้อง พลขับ ใช้ไขขน้ ทาบาง ๆ ภายในชอ่ งตดิ ตั้ง กลอ้ งตรวจการณ์ 6. ตรวจการณท์ ำงานของเคร่ืองกำเนดิ ไฟฟา้ แรงสงู ของกลอ้ งตรวจการณอ์ ินฟราเรด สภาพของสายไฟและการขันแนน่ ของข้ัวต่อ สายไฟตา่ ง ๆ 7. ตรวจหีบควบคมุ ระบบเครื่องดบั เพลิง ประจำรถ ความมนั่ คงและความเรยี บรอ้ ยของ สายไฟ และองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ของระบบ เคร่อื งดบั เพลิง 8. ตรวจความมนั่ คง ความสะอาด การขัน แน่นของขั้วตอ่ สายไฟแบตเตอร่ี และระดบั นำ้ ภายในแบตเตอรป่ี ระจำรถ ควรท่วมแผน่ ธาตุ 12-15 มม.
ห น้ า | 124 ตารางท่ี 1 - 3 ( ต่อ ) ลำดับ ส่งิ ท่ตี ้องตรวจ วธิ ีการปฏิบัติ หมายเหตุ 9. ติดเครอ่ื งยนต์ และตรวจ 1) การทำงานของเครื่องยนต์ในรอบความเร็ว ตา่ ง ๆ 2) ตรวจการรว่ั ไหลของน้ำมนั หลอ่ ล่ืน,นำ้ มนั เชือ้ เพลิงน้ำระบายความร้อนและไอดี-ไอเสยี 3) ตรวจการทำงานของเครื่องวัดต่างๆระบบ -กระแสประจอุ าจมีค่า สัญญาณเตือน,แตร,พัดลม และการทำงาน สงู 50 - 130 แอมป์ได้ ของระบบประจไุ ฟเม่ือเรง่ เคร่ืองยนต์ 900- ชว่ั ขณะหนึ่งเม่ือเรมิ่ ติด 1,000 รอบ/นาที คา่ แรงดันไฟฟา้ ควรอยใู่ น เครือ่ งยนตถ์ ้า ระดบั 27.5 - 28.5 โวลท์ คา่ กระแสไมน่ ้อย แบตเตอรีอ่ ย่ใู นสภาพ กวา่ 5 แอมป์ ทำความสะอาดแบตเตอรเี่ ช็ด มไี ฟน้อย แหง้ และทาขั้วแบตเตอร่ีบาง ๆ ดว้ ยไขข้น 10.ตรวจความคลอ่ งตัวในการเปดิ -ปดิ ฝาปดิ หอ้ งพลขบั การทำงานของกระเด่อื งกลอนยึด ฝาปิด ทำความสะอาดและใหก้ ารหล่อลน่ื ตามความตอ้ งการ 11.ทำความสะอาด และใหก้ ารหล่อลนื่ สลัก, จุดหมนุ และบานพบั ตา่ ง ๆ ของคนั บังคบั และขอ้ ต่อกา้ นโยงตา่ ง ๆ 12.ตรวจช้นิ ส่วนอะไหล่,เครื่องมอื เคร่ืองใช้ ประจำรถ, หบี เคร่ืองมอื จำนวนเครอ่ื งมือ ความสะอาดและความเรียบร้อย และการเกบ็ รกั ษาใหถ้ ูกตอ้ งตามตำแหนง่ บนั ทกึ เอกสาร การซอ่ มบำรุงประจำรถใหเ้ รียบร้อย
ห น้ า | 125 การปรนนิบตั ิบำรุงขนั้ ที่ 2 การปรนนบิ ัติบำรงุ ข้ันท่ี 2 กระทำทกุ ๆ 1,000 กม. หรือทกุ ๆ 50-60 ชม.ใชง้ าน แล้วแต่ระยะใด จะครบกำหนดกอ่ น เป็นการปฏิบัติเพือ่ ตรวจสภาพทางเทคนคิ และเป็นหลกั ประกันวา่ ยทุ โธปกรณ์อยูใ่ น สภาพพรอ้ มใชง้ านตลอดเวลา รถทจ่ี ะเขา้ รับการปรนนบิ ตั บิ ำรุงขั้นที่ 2 ควรจะไดร้ ับการปรนนิบัตบิ ำรงุ ขน้ั ที่ 1 มาแลว้ อย่างครบถว้ น การปรนนิบตั บิ ำรงุ ขนั้ ท่ี 2 ใชเ้ วลาประมาณ 10-12 ชวั่ โมง ตารางที่ 2-1 ลำดับ สิ่งทต่ี อ้ งตรวจ วิธีการปฏิบัติ หมายเหตุ 1. สายพานและเครื่องพยุง 1. ตรวจการขนั แนน่ ของสลกั เกลียว และแปน้ ตัวรถ เกลยี วยึดองค์ประกอบตา่ ง ๆ เช่นล้อปรับ สายพาน,ล้อกดสายพาน,เรือนแขนล้อกด สายพาน,เคร่อื งผอ่ นแรงสะเทอื น,ล้อขับ สายพานและหบี เฟอื งขบั ขัน้ สุดท้าย 2. ตรวจการขนั แน่นของสลักเกลียวยึดสลกั กัน คลายของลอ้ ขบั สายพาน และหบี เฟืองขับขั้น สุดท้าย 3. ตรวจสภาพยางหุ้มล้อกดสายพานจะตอ้ งไม่ หลุดล่อน,แหวง่ จนไมเ่ หมาะสมต่อการใชง้ าน 4. ตรวจสภาพการแตกร้าว,หกั ,หลดุ หายของขอ้ สายพาน,สลกั สายพาน เปลีย่ นองคป์ ระกอบที่ ชำรดุ หรือสูญหายตามความจำเป็น 2. ห้องเครื่องยนต์ และ 1. ลา้ งทำความสะอาดไส้กรองของหมอ้ กรอง -การทำความสะอาด เคร่ืองเปล่ยี นความเร็ว อากาศ การทำความสะอาดหม้อกรองอากาศ หม้อกรองอากาศให้ อาจกระทำบอ่ ยครั้งขึน้ ตามสภาพของฝุ่น ปฏบิ ัตติ ามวธิ กี ารที่ ละอองในพ้นื ท่ปี ฏิบตั กิ าร กำหนดไว้ในคู่มอื เทคนคิ ประจำรถเร่ือง การบริการหมอ้ กรอง 2. ล้างทำความสะอาดหม้อกรองน้ำมนั อากาศ เชือ้ เพลิง ขั้นแรก และไสก้ รองดว้ ยน้ำมนั -ห้ามใช้ผ้าทมี่ ีขนเชด็ เชื้อเพลิง ลา้ งไสก้ รอง ให้ใช้แปรง ขนสัตว์และใช้
ห น้ า | 126 ตารางท่ี 2-1 ( ตอ่ ) ลำดับ ส่งิ ท่ตี ้องตรวจ วธิ กี ารปฏบิ ตั ิ หมายเหตุ ลมเปา่ ใหแ้ ห้ง 3. ล้างทำความสะอาดหมอ้ กรองนำ้ มนั ไฮดรอลิกระบบบงั คับเล้ยี ว และไส้กรองด้วย นำ้ มันเชอื้ เพลงิ 4. ล้างทำความสะอาดตะแกรงกรองของช่อง เตมิ ถังนำ้ มนั เครื่องยนต์ และตะแกรงกรองของ ช่องเติมถงั น้ำมันไฮดรอลกิ บังคับเลยี้ ว 5. ตรวจความมนั่ คง,การขันแนน่ และการ รัว่ ไหลของท่อร่วมไอเสีย และ ท่อไอเสยี 6. ตรวจการขนั แนน่ และความเรียบรอ้ ยของ ท่อระบายฝนุ่ หมอ้ กรองอากาศขนั้ แรก 7. ตรวจความสะอาดของนำ้ ในหม้อน้ำรงั ผงึ้ 8. ตรวจความมน่ั คงและการรวั่ ไหลของท่อ ทางเดนิ ระบบนำ้ มันไฮดรอลิกบงั คับเล้ียว 9. ตรวจการทำงานของระบบเคร่อื งทำควัน ถ้า ไม่สมบรู ณใ์ หท้ ำความสะอาดหัวฉีดน้ำมัน เชื้อเพลิงของเครือ่ งทำควนั 10. ตรวจความม่ันคง และการทำงานของพดั -ใหก้ ารหล่อลน่ื ด้วยไข ลมระบายความร้อนของเครอ่ื งยนต์ และหล่อ ขน้ ประมาณ 100 ถึง ล่ืนตลับลูกปนื คลัตช์พัดลม 150 กรัม ตามที่ กำหนดไวใ้ นตารางการ หลอ่ ลน่ื ประจำรถ 11. ถ่ายน้ำมนั เครื่องยนต์ เพือ่ ใหแ้ นใ่ จว่า - การถ่ายน้ำมนั นำ้ มันเครอื่ งยนต์ถกู ถา่ ยออกจากระบบหล่อลนื่ เครือ่ งยนตจ์ ะต้อง อย่างหมดจด จะต้องปฏบิ ัติ ดังน้ี กระทำอยา่ งน้อยทกุ ๆ 1) ถ่ายน้ำมนั เมือ่ น้ำมันรอ้ น 24 2) ถ่ายน้ำมนั ออกจากถงั น้ำมันทางลน้ิ ถ่ายและ เดอื น ชอ่ งถา่ ยนำ้ มันใตอ้ ่างตกตะกอนของถังนำ้ มัน
ห น้ า | 127 ตารางท่ี 2-1 ( ตอ่ ) ลำดบั สงิ่ ท่ตี ้องตรวจ วธิ กี ารปฏบิ ตั ิ หมายเหตุ 12. ตรวจความมน่ั คง,ความเรยี บรอ้ ยและการ ร่ัวไหลของสวติ ชส์ ญั ญาณเครื่องวดั อณุ หภมู ิ นำ้ มันเคร่ืองยนต,์ สวิตช์สญั ญาณเครือ่ งวดั ความ ดันน้ำมนั เครื่องยนต์ และสวติ ช์สัญญาณ เครอ่ื งวัดอุณหภมู ิน้ำระบายความรอ้ น เครื่องยนต์ 13. ตรวจสภาพความม่ันคงของชดุ เฟอื งต่อ กำลงั ระหวา่ งเครื่องเปลย่ี นความเรว็ และชดุ เฟอื งขบั บังคับเล้ยี วและสายลวดขับเครื่องวัด ความเรว็ 14. ตรวจวัดระดับนำ้ มันหีบเฟอื งถา่ ยทอดกำลัง - เครือ่ งเปลี่ยนวามเร็ว ,เคร่อื งเปลย่ี นความเรว็ ,ชุดเฟืองบังคบั เลยี้ วและ มีความจุ 12.5-13.5 ถงั น้ำมนั ไฮดรอลิกบังคับเล้ียว เติม ลติ ร ใชน้ ้ำมนั นำ้ มันจนไดร้ ะดับมาตรฐานใชง้ าน เครอื่ งยนต์ เบอร์ 16 1) ใชเ้ หล็กวัดฯ วัดระดบั นำ้ มนั เครอ่ื งเปล่ยี น ความเร็วระดับนำ้ มันควรอยูใ่ นเกณฑ์ 59-62 มม.หรอื อยู่ท่ีขอบบนของช่องบากอกั ษร\"B\" ระดบั นำ้ มนั ใช้งานตำ่ สดุ 55 มม. หรอื ที่ขอบล่าง ของชอ่ งบากอักษร \"B\" การถา่ ยน้ำมันเครอื่ งเปล่ยี นความเรว็ โดยปกติ กระทำเมือ่ ตรวจพบว่าน้ำมนั เส่ือมสภาพ หรอื เมื่อเปล่ยี นหรือเมื่อซ่อมใหญเ่ ครื่องเปลีย่ น ความเร็ว 2) ใชเ้ หลก็ วดั ฯ วดั ระดับนำ้ มนั หีบเฟอื ง -หบี เฟืองถ่ายทอด ถ่ายทอดกำลังระดับนำ้ มนั ควรอยใู่ นเกณฑ์ กำลังมคี วามความจุ 6- 148-152 มม.หรอื อยทู่ ่ขี อบบนของช่องบาก 7 ลิตร ใช้น้ำมนั เครื่อง อกั ษร\"C\"ระดบั น้ำมนั ใชง้ านตำ่ สุด 142 มม. เบอร์ 16 หรอื อยู่ทขี่ องลา่ งของช่องบากอกั ษร\"C\"
ห น้ า | 128 ตารางที่ 2-1 ( ตอ่ ) ลำดบั สงิ่ ท่ตี ้องตรวจ วิธกี ารปฏิบตั ิ หมายเหตุ การถ่ายน้ำมันหีบเฟอื งถ่ายทอดกำลงั โดยปกติ กระทำเม่ือตรวจพบวา่ นำ้ มนั เส่อื มสภาพหรือ เมอ่ื ซ่อมใหญ่หบี เฟอื งถา่ ยทอดกำลัง 3) ตรวจระดับ และเติมนำ้ มนั ชุดเฟืองบงั คบั -รปู ภาพแสดงจดุ ตรวจ เลยี้ ว การถ่ายนำ้ มนั ชุดเฟืองบังคบั เลีย้ ว โดย ระดบั นำ้ มัน จะแสดง ปกติจะกระทำเมื่อตรวจพบว่าน้ำมนั เสอื่ มสภาพ ไวใ้ นผนวก 1 หรอื เม่อื ซอ่ มใหญ่ชดุ เฟืองบังคับเลีย้ ว ความจุ นำ้ มันหลอ่ ล่ืนประมาณ 2.5 ลติ ร 4) ใช้เหล็กวัดฯ วดั ระดบั นำ้ มันในถงั น้ำมนั ไฮ ดรอลกิ บงั คบั เลีย้ ว ระดบั น้ำมันควรอย่ใู น ระหว่างช่องบากอกั ษร \" A \" และ \" B \" ของ เหล็กวัด 15. ตรวจความมนั่ คงและความเรยี บรอ้ ยของ มอเตอรห์ มนุ เครื่องยนต์และชุดสายไฟ 16. ตรวจวดั ระยะห่างระหว่างจานหา้ มลอ้ อัน เล็กและอันใหญ่กบั ผ้าห้ามลอ้ ระยะหา่ งควรอยู่ ในเกณฑ์ 0.8-2.5 มม. 17. ตรวจวัดระยะทำงานของแผน่ คลตั ชช์ ุด -ให้การหล่อลื่นดว้ ย เฟืองบงั คับเลี้ยวระยะทำงานควรอย่ใู นเกณฑ์ ไขข้นประมาณ 75 3.35 - 5 มม.และให้การหล่อล่ืนลูกปืนของชดุ – 100 กรมั กลไกปลดคลัตช์ 18. ตรวจวดั ระยะทำงานของแผน่ กดคลตั ช์ -ให้การหลอ่ ลนื่ ดว้ ย ระยะทำงานควรอยใู่ นเกณฑ์ 6.5-7.5 มม.และ ไขขน้ ประมาณ 75 ใหก้ ารหล่อล่ืนลูกปืนของชุดกลไกปลดคลัตช์ – 100 กรมั 19. ตรวจความมั่นคง และความเรยี บร้อยของ แท่นยดึ หีบเฟอื งถา่ ยทอดกำลัง 20. ตรวจความม่ันคง และความเรยี บรอ้ ยของ -ใหก้ ารหลอ่ ลื่นดว้ ย แกนกระเดอ่ื งชุดกา้ นโยงคันเกียร์เครือ่ งเปล่ียน ไขขน้ ประมาณ 75 ความเรว็ และให้การหล่อล่ืนแกนขอ้ เหว่ียง – 100 กรมั
ห น้ า | 129 ตารางที่ 2-1 ( ตอ่ ) ลำดบั สง่ิ ที่ตอ้ งตรวจ วธิ กี ารปฏบิ ัติ หมายเหตุ 3. อ า ว ุ ธ แ ล ะ เ ค ร ื ่ อ ง 1. อาวุธ,เครอื่ งเลง็ และกลอ้ งตรวจการณ์ ติดต่อส่อื สาร 1) ตรวจฝาปิดป้อมตรวจการณข์ องพลปนื กล - ให้การหลอ่ ลื่นลกู ปนื และ ผบ.รถป้อมตรวจการณ์ควรหมุนได้คลอ่ ง รองป้อมตรวจการณ์ ทำความสะอาดและใหก้ ารหลอ่ ลืน่ ลูกปนื รอง ดว้ ยไขข้น ปอ้ มตรวจการณ์ และสลักบานพบั ฝาปดิ ปอ้ ม ตามความต้องการ 2) ตรวจความคล่องตัวของฐานปืนกลขนาด 12.7 มม. และควงมมุ สงู ของเครอ่ื งเล็ง ทำ ความสะอาด และให้การหลอ่ ล่ืนสว่ นประกอบ ตา่ งๆ ตามความต้องการ 3) ตรวจความมั่นคง และการทำงานของกล้อง ตรวจการณ์อินฟราเรด ป้อมตรวจการณ์ ผบ.รถ ทง้ั ระบบใชง้ านกลางวนั และระบบใช้งาน กลางคืน 2. เครื่องติดต่อสือ่ สาร 1) ตรวจความมนั่ คง และการขันแนน่ ของฐาน ยึด ชดุ วทิ ยแุ ละเคร่ืองพดู ภายในรถ 2) ตรวจการขนั แนน่ ของสลักเกลยี วยึดสวติ ช์ และข้ัวต่อสายไฟตา่ ง ๆ ของหนา้ ปดั ชดุ วทิ ยุ และเครอ่ื งพดู ภายในรถ 3. อุปกรณ์เบ็ดเตลด็ 1) ตรวจความมนั่ คง การขนั แน่น และการ รว่ั ไหลของเครอื่ งทำความรอ้ น,ข้อตอ่ ทอ่ ทางเดนิ และปลอกรดั ทอ่ นำ้ และน้ำมนั เชื้อเพลงิ ของเครื่องทำความรอ้ น 2) ตรวจสภาพการเกบ็ รกั ษากระสนุ ปืน ชิ้นสว่ น อะไหลเ่ คร่อื งมือเครื่องใชป้ ระจำรถ ฯลฯ 3) ตรวจความมนั่ คง และความเรียบร้อยของ องค์ประกอบตา่ ง ๆ ภายในรถ
ตารางท่ี 2-1 ( ตอ่ ) ห น้ า | 130 ลำดับ สงิ่ ทต่ี อ้ งตรวจ วธิ กี ารปฏิบตั ิ หมายเหตุ 4. เครื่องควบคุมและคัน 1. ตรวจระยะว่างของก้านโยงแป้นคลตั ชร์ ะยะ บังคบั ตา่ ง ๆ ในหอ้ ง ว่างก่อนทำงานควรอยใู่ นเกณฑ์ 7-8 มม. พลขบั 2. ตรวจระยะวา่ งกอ่ นทำงานของกา้ นโยงคัน บงั คับเลย้ี วระยะว่างก่อนทำงานควรอยูใ่ น เกณฑ์ 10-30 มม.ในระหวา่ งใช้งานอาจยอมให้ คลาดเคลอ่ื นได้ระหว่าง 5-30 มม. ถา้ คันบงั คบั เลี้ยวยงั สามารถใช้การได้ 3. ตรวจระยะทำงานของก้านโยงคนั บงั คับเลย้ี ว เมื่อดึงคนั บงั คับเลีย้ วมาข้างหลังจนสุด ระยะดึง ควรอยูใ่ นเกณฑ1์ 35-150 มม.และตอ้ งไมเ่ กิน 160 มม. 4. ตรวจการทำงานของกล้องตรวจการณ์ อินฟราเรดของพลขับตรวจระดับลำแสงของ โคมไฟอินฟราเรด และจัดปรบั ลำแสงตามความ ตอ้ งการ 5. ถอดชุดแบตเตอร่ปี ระจำรถออกตรวจสภาพ ทำความสะอาด ดงั น้ี 1) ลา้ งทำความสะอาดสนิมกรดบนเปลือก แบตเตอรี่ และข้ัวสะพานไฟด้วยนำ้ ผสม แอมโมเนยี หรอื แคลเซยี่ มคารบ์ อเนต 2) ทำความสะอาด และตรวจการอดุ ตนั ของรู ระบายฝาปิดช่องเติมนำ้ กรดแบตเตอรี่ ตรวจระดบั น้ำกรดแบตเตอร่ี ควรทว่ มแผ่นธาตุ 12-15 มม.และตรวจระดับนำ้ กรดทกุ สัปดาห์ เม่อื ใช้งานในภูมิอากาศร้อน หรอื ที่มีฝนุ่ ละออง มาก 3) ตรวจวดั คา่ ถพ.ของน้ำกรดแบตเตอร่ี และ ตรวจประสิทธิภาพในการจา่ ยกระแสไฟดว้ ย เครือ่ งตรวจวงจรไฟฟา้ แรงตำ่ \" LVCT \"
ตารางท่ี 2-1 ( ตอ่ ) ห น้ า | 131 ลำดบั สง่ิ ท่ตี ้องตรวจ วิธีการปฏิบัติ หมายเหตุ 6. ตรวจความมนั่ คง และความเรยี บร้อยของ ระบบเครื่องดบั เพลงิ ประจำรถ และการทำงาน ของระบบสัญญาณเตือนตา่ ง ๆ ทั้งไฟเตือน และแตรเตือน
ห น้ า | 132 การปรนนบิ ตั ิบำรุงขน้ั ท่ี 3 การปรนนิบัตบิ ำรุงขั้นที่ 3 กระทำทุก ๆ 2,000 กม.หรอื ทกุ ๆ 100-120 ชม.ใช้งาน หรือแลว้ แตร่ ะยะใด จะครบกำหนดก่อน เปน็ การปฏบิ ตั เิ พ่ือตรวจสภาพทางเทคนคิ และเปน็ หลกั ประกนั วา่ ยทุ โธปกรณ์อยูใ่ นสภาพ พร้อมใช้งานไดต้ ลอดเวลา รถท่ีจะเขา้ รบั การปรนนิบตั บิ ำรงุ ขน้ั ที่ 3 ควรไดร้ บั การปรนนิบตั บิ ำรงุ อย่างต่อเน่ือง สอดคลอ้ งกนั และเปน็ การขยายผลจากการปรนนิบัติบำรุงข้นั ที่ 2 การปรนนบิ ตั บิ ำรงุ ข้ันท่ี 3 ใชเ้ วลา ประมาณ 20-24 ชม. ตารางที่ 3-1 ลำดับ สงิ่ ท่ีตอ้ งตรวจ วธิ กี ารปฏบิ ตั ิ หมายเหตุ 1. สายพานและเครื่องพยุง 1. เปล่ียนลอ้ ขบั สายพานข้างซ้ายและขา้ งขวา ตวั รถ ดว้ ยการสลับข้างเม่ือใช้งานครบ 200-240 ชม. ใช้งานเครือ่ งยนต์ 2. ตรวจสภาพของยางหมุ้ ล้อกดสายพาน, - ดมุ ลอ้ กดสายพานแต่ กงล้อและยางกนั รัว่ หลอ่ ลน่ื ตลับลกู ปืนลอ้ กด ละล้อ จไุ ขข้นประมาณ สายพานดว้ ยไขข้นจนลน้ ออกทางช่องเกลียว 1,200 -1,500 กรมั ดา้ นตรงข้ามกับช่องอดั ไขข้น - ดมุ ล้อปรับสายพาน 3. ตรวจสภาพลอ้ ปรับสายพาน,กงลอ้ ,ยางกันรั่ว แต่ละลอ้ จุไขขน้ และเคร่อื งปรบั สายพาน หลอ่ ล่นื ตลับลกู ปนื ล้อ ประมาณ 1,200 - ปรบั ฯ ดว้ ยไขข้นทางช่องอัดไขขน้ กลางฝาดมุ 1,500 กรมั ลอ้ ปรับ - ดุมแขนล้อกด 4. ตรวจสภาพชดุ แขนลอ้ กดสายพาน และ สายพานแต่ละอนั จไุ ข เหลก็ หยุดแขนล้อกดฯ หลอ่ ลน่ื ดุมแขนลอ้ กดฯ ข้น ด้วยไขข้น ขันแน่นเหล็กหยดุ แขนล้อกดฯ ตาม ประมาณ 100-150 ความจำเป็น กรมั 5. ตรวจสภาพและหลอ่ ลน่ื ตลับลูกปืนหวั คาน - ตลับลกู ปนื หวั คานรับ รับแรงบดิ ดว้ ยไขขน้ แรงบิดแต่ละอัน 6. ตรวจความม่ันคง และการร่วั ไหลของเครื่อง ผ่อนแรงสะเทอื น ตรวจสภาพของก้านโยงแขน เครอ่ื งผอ่ นแรงสะเทือนท่ีรัว่ ไหลออกซอ่ มแก้ และเปลี่ยนองคป์ ระกอบต่าง ๆ ทช่ี ำรดุ ตาม ความตอ้ งการ
ห น้ า | 133 ตารางท่ี 3-1 ( ตอ่ ) ลำดับ ส่งิ ที่ตอ้ งตรวจ วธิ ีการปฏบิ ตั ิ หมายเหตุ 2. ห้องเครอ่ื งยนต์และ 7. ตรวจความมัน่ คงของหบี เฟอื งขบั ขัน้ สดุ ทา้ ย, เครอื่ งเปลย่ี นความเร็ว การขันแนน่ ของฝาครอบดมุ ล้อขับสายพาน และการรว่ั ไหลตา่ งๆ ของหบี เฟืองขับขน้ั สดุ ทา้ ย ตรวจการขนั แนน่ ของสลักเกลียวยดึ แผ่นกนั -ถ้าทำการถ่าย คลาย ตรวจการขันแน่นของสลักเกลยี วยึด น้ำมนั หลอ่ ลน่ื ของหีบ แผน่ กนั คลายของแปน้ เกลียวยึดแกนลอ้ ขบั เฟืองขบั ขน้ั สุดทา้ ยให้ สายพาน เตมิ ไขขน้ หลอ่ ลนื่ หบี เฟอื งขบั ขั้น เติมไขขน้ หลอ่ ลื่น 2.8 สดุ ทา้ ยตัวละ 500 กรัม ดว้ ยไขข้นซัลเฟอไรส์ กก.ท่จี ุกเตมิ บนเรือน หบี เฟอื งฯ และ2 กก.ท่ี จุกเติมบนฝาครอบ เพลาขบั ฯ 1. ทำความสะอาดหม้อกรองอากาศ และไส้ กรองฯ 2. ล้างหม้อกรองน้ำมันเชอื้ เพลิงข้นั ท่ี 2 และ เปลี่ยนไส้กรองกระดาษ (ทุกๆ 250-300 ชม.ใช้ งานเครอ่ื งยนต)์ 3. ถ่ายฝนุ่ ผง และสง่ิ ตกตะกอนภายในถงั น้ำมนั เช้อื เพลิงแต่ละถงั ดว้ ยการคลายจกุ ถา่ ย น้ำมนั ใตถ้ ัง ประมาณ 5-30 ลติ ร 4. ถอดหม้อกรองนำ้ มนั เคร่ืองยนต์ทำงานดว้ ย แรงเหวย่ี งฯ ออกล้างทำความสะอาด 5. ถอดไส้กรองน้ำมนั เคร่ืองยนต์ของหมอ้ กรอง -การทำความสะอาด หยาบออกลา้ งทำความสะอาด การถ่าย ระบบหลอ่ ล่ืนขึน้ อยู่ น้ำมนั เคร่ืองออกจากหม้อกรองฯ และการถอด กับสภาพการใชง้ านรถ ไส้กรองฯ จะปฏิบัตติ อ่ ไปดงั น.้ี และสภาพพื้นท่ี 1) ถอดกา้ นโยงคันเกียร์ 2/3 และกา้ นโยงคนั ปฏบิ ัติการ เกยี ร์ 4/5 ของเครอ่ื งเปลี่ยนความเร็ว
ห น้ า | 134 ตารางที่ 3-1 ( ต่อ ) ลำดับ ส่งิ ท่ตี ้องตรวจ วิธีการปฏบิ ตั ิ หมายเหตุ 2) ถอดเหล็กยดึ สายเครื่องวดั ความเร็ว และ - การทำความสะอาด เบ่ยี งสายเครอื่ งวดั ความเรว็ ไปไวท้ างดา้ นข้าง ระบบอาจเลอื่ นออกไป 3) เปิดแผ่นปดิ ช่องตรวจเครอื่ งยนต์ใตท้ ้องรถ เมอ่ื กระทำเมอ่ื รถว่ิงใช้ วางภาชนะท่ีเหมาะสมไวใ้ ตห้ ม้อกรอง งานครบ 3,000- น้ำมนั เครอ่ื ง และถ่ายน้ำมนั เคร่ืองออกจากหมอ้ 4,000 กม. กรองฯ จนหมด ถอดไสก้ รองฯ ออกลา้ งทำ ความสะอาด และใสก่ ลับเขา้ ทีเ่ ดิม ใสส่ าย เครือ่ งเปลีย่ นความเรว็ และเหล็กยดึ ใสก่ า้ นโยง คันเกียร์ 2/3 และ 4/5 กลับเข้าท่ีเดมิ 6. ล้างทำความสะอาดตะแกรงรถู า่ ย น้ำมันเคร่อื งของถังนำ้ มันเครอ่ื งยนต์ 7. ล้างทำความสะอาดหม้อกรองฯ และเปลย่ี น ไสก้ รองละเอยี ดของระบบไฮดรอลิกบงั คับเล้ียว 8. ลา้ งทำความสะอาดหมอ้ กรองหยาบ และไส้ กรองนำ้ มันเชื้อเพลิง,ถอดชุดฉีดของเครอ่ื งทำ ควันออกลา้ งทำความ เชื้อเพลงิ ,ถอดชดุ ฉดี ของ เครือ่ งทำควนั ออกล้างทำความ 9. ทำความสะอาดเครอ่ื งส่งสัญญาณเตือนเพลิง ไหม้ และหัวฉดี นำ้ ยาดับเพลิงในห้องเครอ่ื งยนต์ 10.ถา่ ยน้ำมันหล่อล่นื เคร่อื งควบคุมความเรว็ ของป๊ัมสูบฉดี น้ำมันเชือ้ เพลงิ และเตมิ น้ำมันหล่อลื่นจนเสมอขอบช่องตรวจระดบั - การถา่ ย นำ้ มัน นำ้ มันหล่อล่นื จะตอ้ ง 11.ตรวจการทำงานของเคร่ืองกลไก และชดุ กระทำอย่างน้อยปีละ ก้านโยงคันเร่งเคร่ืองยนตใ์ นตำแหนง่ เรง่ 1 ครั้ง เคร่อื งยนตเ์ ติมที่ และตำแหนง่ ดบั เครอ่ื งยนต์ ตรวจการทำงานของชุดเครอื่ งตั้งจังหวะสูบฉีด
ห น้ า | 135 ตารางที่ 3-1 ( ต่อ ) ลำดบั สิ่งท่ตี ้องตรวจ วิธกี ารปฏิบตั ิ หมายเหตุ ล่วงหน้าอัตโนมัตวิ ่าสอดคล้อง และถูกตอ้ ง ตามทกี่ ำหนดไวใ้ นสมดุ ประวตั ิเครอื่ งยนต์ หรอื ไม่ 12. ตรวจความม่ันคงของมอเตอรห์ มนุ เครอ่ื งยนตแ์ ละขั้วต่อสายไฟ ให้การหล่อลน่ื บู๊ ชรองแกนทุ่นมอเตอร์ 13.ตรวจระยะห่างระหว่างเฟอื งขับของมอเตอร์ - ถา้ ใชง้ านรถในบรเิ วณ หมุนเคร่อื งยนต์ และเฟอื งรับกำลงั ขับของ พื้นที่ๆ มีฝุ่นละออง คลตั ช์ ซ่ึงควรอยู่ในเกณฑ์ 4-5 มม.และมีระยะ มากให้ทำความ ขยับตัวระหว่างฟันเฟอื ง 0.8-1 มม. สะอาดแปรงและคอม 14. ถอดแผน่ ปดิ ช่องตรวจแปรง และคอมมิว มิวเตเตอร์ทุกคร้งั ท่ี เตเตอร์ ทำความสะอาดฝนุ่ ผงภายในด้วยการใช้ หมนุ เครื่องยนต์และ ลมเปา่ ถา้ คอมมิวเตเตอรส์ กปรกใหท้ ำความ อยา่ งน้อยท่สี ดุ ควร สะอาดดว้ ยน้ำมนั แก๊สโซลีน และเชด็ แหง้ ตรวจ ตรวจและทำความและ พน้ื ผิวสัมผัส และความแนน่ ระหว่างแปรง และ ทำความสะอาดแปรง คอมมวิ เตเตอร์ และคอมมวิ เตเตอร์ ทุกๆ 1,000 กม. 15.ในกรณที ่ีตรวจพบว่าผิวหน้าของคอมมวิ เต เตอร์มรี อยไหมห้ รอื ขรุขระมาก ใหข้ ัดเรยี บด้วย กระดาษทรายละเอียดเบอร์ 00 และทำความ สะอาดตามวธิ กี ารในขอ้ 14 16. ตรวจสภาพฝาปดิ หม้อนำ้ รงั ผ้งึ และการ ทำงานของล้นิ ในฝาปิดหม้อนำ้ รงั ผง้ึ คอื - แรงดันเปิดของลิ้นสญุ ญากาศ 0.08-0.13 กก./ตร.ซม. - แรงดันเปดิ ของลิ้นระบายแรงดนั 0.6-0.8 กก./ตร.ซม.
ห น้ า | 136 ตารางที่ 3-1 ( ตอ่ ) ลำดับ ส่ิงที่ต้องตรวจ วิธีการปฏบิ ตั ิ หมายเหตุ 17.ตรวจการทำงานของชดุ คลตั ช์พดั ลมระบาย ความร้อนเครื่องยนต์ ดว้ ยการใชก้ ระเดอ่ื งคาน งดั อย่างสม่ำเสมอ แรงบดิ ทท่ี ำใหค้ ลัตชล์ ื่นควร อย่ใู นเกณฑ์ 20-50/เมตร ถา้ แรงบิดมคี ่า มากกว่าน้ี ใหใ้ ช้วธิ ีการตรวจวัดตามทกี่ ำหนดไว้ ในคำอธิบาย เรอื่ งการทำงานขององค์ประกอบ ภายในหอ้ งระบบขบั เคลอ่ื น และเคร่อื งเปล่ียน ความเรว็ 18.ตรวจความมั่นคง และนำหนกั ของทอ่ น้ำยา ดบั เพลิง การช่ังน้ำหนกั ควรกระทำอย่างน้อย ทุกๆ 10-12 เดอื น และถ้านำ้ หนักขาดหายไป 3% (45 กรัม) ควรเปลย่ี นทอ่ น้ำยาดับเพลงิ 19.ให้การหล่อลนื่ เครอ่ื งวัดความเรว็ ด้วยการ - เติมน้ำมนั เครือ่ งยนต์ ถอดแยกสายวัดออกจากตวั เครอ่ื งวัดความเร็ว ประมาณ 20-30 กรมั และเติมน้ำมนั เคร่ืองยนตเ์ ข้าไปในสายวดั ฯ แลว้ ประกอบสายวัดฯ เข้าที่เดมิ อยา่ ง ระมดั ระวัง อยา่ งให้ปลอกสายวัดบดิ ตวั 20. ตรวจวัดระดับไขข้นหล่อล่นื หีบเฟอื งขบั -เติมด้วยไขข้น กวา้ นหลัก เตมิ ไขขน้ หลอ่ ลืน่ ให้เสมอกบั ขอบ ซัลเฟอร์ไรส์ ลา่ งของช่องตรวจระดับนำ้ มัน 3. อ า ว ุ ธ แ ล ะ เ ค ร ื ่ อ ง 1. อาวุธ,เครือ่ งเล็ง และกล้องตรวจการณ์ ตดิ ต่อส่อื สาร 1) ตรวจเข็มแทงชนวนของ ปก.ขนาด 12.7 มม.ระยะโผล่พน้ ช่องเข็มชนวนควรอย่ใู นเกณฑ์ 1.65-1.85 มม. 2) ตรวจสภาพการคดงอ,บวม,รอยขูดข่วน สนมิ และการสึกหรอของลำกลอ้ งปืน ตรวจหารอย บนิ่ ,เยิน,แตกรา้ วผิดรปู ของชิ้นส่วนเคล่อื นท่ี ของลำกลอ้ ง
ห น้ า | 137 ตารางที่ 3-1 ( ตอ่ ) ลำดับ สิ่งทตี่ ้องตรวจ วธิ กี ารปฏบิ ตั ิ หมายเหตุ 3) ตรวจสภาพความเรยี บรอ้ ย และการเกบ็ รกั ษาหีบกระสุน และสายกระสนุ 2. เคร่ืองตดิ ต่อสอื่ สาร -ให้กระทำตามความ ถอดฐานเสาอากาศออกทำความสะอาด สนิม จำเปน็ ในระหว่างการ และฝนุ่ ผงออกจากเสาอากาศ และฐานเสา ใช้งานตามสภาพพื้นที่ อากาศ และภมู ิอากาศ 3. อุปกรณ์เบ็ดเตลด็ 1) ตรวจความมน่ั คงของเคร่อื งทำความร้อน ถา้ ได้ใช้งานในฤดูหนาว ให้ทำความสะอาดเขม่าไฟ ทสี่ ะสมอยู่ภายในหอ้ งเผาไหมข้ องเครือ่ งทำ ความรอ้ น และหัวฉีดนำ้ ยาดบั เพลงิ ภายในหอ้ ง พลประจำรถ 3) ตรวจสภาพความเรียบรอ้ ยของทอ่ ทางเดิน ของน้ำมันหล่อล่นื ,น้ำมันเช้ือเพลงิ และน้ำ ให้ การหล่อลืน่ ชิน้ สว่ นเครื่องกลไกของเครอ่ื งทำ ความรอ้ น 4) ตรวจสภาพ และชัง่ นำ้ หนกั ของเครื่อง ดับเพลิงเคล่ือนย้ายได้ทุกๆ 3 เดือน นำ้ หนกั มาตรฐานของนำ้ ยาดับเพลิงเทา่ กบั 1 กก. และ ควรเปลีย่ นเครื่องดบั เพลิงฯ ถ้านำ้ หนักขาด หายไป 3% (30 กรมั ) 4. เครื่องควบคุมและคัน 1. ตรวจความดันลมภายในถงั ลม ซ่ึงควรมคี า่ ใน บังคบั ต่าง ๆ ในห้อง เกณฑ์ 135-150 กก./ตร.ซม. ติดเครือ่ งยนต์ พลขบั เพ่อื อดั ลมใหไ้ ด้ความดันตามเกณฑ์และเปลย่ี น ถังลมท่ีชำรุดจนไมป่ ลอดภยั ต่อการใช้งาน 2. ทำความสะอาดชดุ กระบอกสูบไฮดรอลกิ บงั คบั เล้ียว ตรวจระยะทำงานของชุดลิ้น ควบคุม,ควรมรี ะยะช่วงชักไม่นอ้ ยกวา่ 2.3 มม.
ตารางท่ี 3-1 ( ตอ่ ) ห น้ า | 138 ลำดบั สิ่งทีต่ ้องตรวจ วธิ กี ารปฏบิ ัติ หมายเหตุ 3. ตดิ เครือ่ งยนต์ และตรวจแรงดันในระบบไฮ ดรอลิกบงั คบั เลย้ี วว่ามคี ่าแรงดนั 25 กก./ตร. ซม.หรือไม่ ตรวจแรงทตี่ อ้ งใช้ในการดึงคนั บงั คับเล้ยี ว เมื่อมีแรงดันไฮดรอลกิ ช่วยทำงาน 4. ตรวจระบบเครื่องดบั เพลิงอัตโนมตั ิ ดว้ ยการ ปฏิบัตติ ามวิธีการทก่ี ำหนดไว้ในหวั ข้อเร่อื งการ ใชแ้ ละการปรนนิบตั บิ ำรงุ ระบบเคร่ืองดบั เพลงิ อัตโนมตั ิประจำรถ 5. ใหก้ ารหลอ่ ลื่นชดุ คนั เกียร์,กา้ นโยง และข้อ ต่อคนั เกยี ร,์ แกนแปน้ คลตั ช,์ ชุดกระเดื่องกลอน ยดึ ฝาปิดหอ้ งพลขบั 6. ใหก้ ารหลอ่ ลน่ื สลกั และจดุ หมุนต่างๆ ของที่ น่ังพลขบั 7. ตรวจการทำงานของกลอ้ งตรวจการณ์ อนิ ฟราเรดและจัดปรับระดับลำแสงของโคมไฟ อนิ ฟราเรดและแนวแกนลำแสงของกล้องตรวจ การณ์อินฟราเรดตามความจำเป็น
ห น้ า | 139 บทท่ี 3 การใช้ และการซอ่ มบำรงุ อปุ กรณก์ ซู้ ่อมประจำรถสายพานกู้ซอ่ ม T 653 ตอนท่ี 1 ระบบไฮดรอลิกของอุปกรณ์กซู้ ่อม 1. หน้าที่ ระบบไฮดรอลกิ ของอุปกรณ์กซู้ ่อม ทำหน้าที่ผลติ และจดั สรรกำลงั งานไฮดรอลิกให้แก่ อุปกรณก์ ซู้ อ่ ม ตา่ ง ๆ เชน่ ปนั้ จัน่ กว้านหลกั กวา้ นเล็ก และใบมีดคำ้ ยนั โดยใช้นำ้ มันไฮดรอลกิ เป็นสอ่ื ในการ ส่งกำลงั งานในรปู ของแรงดันน้ำมัน และยังใช้แรงดนั น้ำมนั น้ใี นการควบคุม และบงั คับการทำงานของอปุ กรณก์ ู้ ซ่อมอีกดว้ ย 2. องค์ประกอบของระบบไฮดรอลกิ ระบบไฮดรอลกิ ของอปุ กรณก์ ู้ซ่อมแบ่งเปน็ องค์ประกอบใหญ่ ได้ 5 สว่ น คอื 2.1 ส่วนกำเนิดแรงดนั ไฮดรอลิก ได้แกป่ ั๊มไฮดรอลิก 2.2 สว่ นควบคุม และบงั คับการทำงาน ได้แก่ 2.2.1 ชุดล้นิ ควบคุม 3 ทาง 2.2.2 ชดุ ลิ้นควบคมุ 4 ทาง 2.2.3 ลนิ้ นิรภัย และลน้ิ ควบคุมแรงดัน ตา่ ง ๆ 2.3 สว่ นทำงาน ไดแ้ ก่ 2.3.1 กระบอกสูบไฮดรอลิกยกคานป้ันจนั่ 2.3.2 กระบอกสูบไฮดรอลิกยืด-หด คานปน้ั จ่นั ตวั ใน 2.3.3 กระบอกสบู ไอดรอลิกบงั คับใบมดี คำ้ ยนั 2.3.4 มอเตอร์กว้านป้ันจ่นั 2.3.5 มอเตอร์หมุนแทน่ ปน้ั จ่นั 2.3.6 มอเตอรก์ วา้ นหลัก 2.3.7 มอเตอรก์ ว้านเล็ก 2.4 สว่ นประกอบยอ่ ย ได้แก่ 2.4.1 หม้อกรองน้ำมนั ไฮดรอลกิ 2.4.2 รงั ผ้งึ ระบายความร้อนนำ้ มนั ไฮดรอลกิ 2.4.3 ถงั นำ้ มันไฮดรอลิก 2.4.4 ชดุ ข้อตอ่ ทอ่ น้ำมนั ชนิดหมุนได้รอบตวั 2.4.5 เครอ่ื งวัดแรงดนั น้ำมันไฮดรอลกิ 2.4.6 เครอ่ื งวัดอณุ หภูมนิ ้ำมันไฮดรอลิก 2.4.7 ทอ่ ทางเดนิ นำ้ มัน และข้อตอ่ ต่าง ๆ 2.4.8 ระบบสญั ญานเตอื น 2.5 นำ้ มันไฮดรอลกิ ได้แก่ 2.5.1 นำ้ มันเซีย่ งไฮ้ เบอร์ 40-2 2.5.2 นำ้ มนั ลนั โจว เบอร์ 40-2 2.5.3 น้ำมันทดแทน โออี-30
ห น้ า | 140 3. หลกั การทำงาน เครื่องยนตจ์ ะหมุนขับป๊ัมนำ้ มันไฮดรอลิก ซง่ึ ทำหนา้ ที่เปล่ยี นพลังงานกล ใหเ้ ป็นพลังงาน ไฮดรอลกิ ในรปู ของแรงดันน้ำมัน ทิศทางในการไหล และแรงดนั น้ำมันจะถูกบงั คบั ควบคุมโดย ชดุ ล้นิ ควบคมุ 3 ทาง ชดุ ลน้ิ ควบคมุ 4 ทาง ลนิ้ ควบคมุ แรงดัน และลนิ้ นริ ภัย กอ่ นทไ่ี หลเขา้ ไปยงั กระบอกสบู ไฮดรอลกิ และ มอเตอร์ไฮดรอลิก เพอื่ ผลกั ดนั ให้เกิดการเคล่ือนทีข่ องลกู สูบในกระบอกสบู และทำใหม้ อเตอรห์ มนุ ซึ่งเป็น การพลังงาน ไฮดรอลกิ ให้กลบั ไปเป็นพลงั งานกล เพื่อใหอ้ ุปกรณ์ก้ซู อ่ มต่าง ทำงานไดน้ ั่นเอง การใช้งานระบบไฮดรอลิก 1. จัดคันบงั คบั ปม๊ั ไฮดรอลิกไวใ้ นตำแหน่งเข้า “ ENGAGE ” เพอ่ื สง่ กำลังขับให้แก่ปัม๊ ไฮดรอลกิ หมายเหตุ หากเขา้ คันบงั คับในตำแหนง่ เขา้ “ ENGAGE ” ไมไ่ ด้ ให้ใช้มอเตอรห์ มุนเคร่อื งยนต์ ช่วยขยับใหฟ้ นั เฟืองขับปม๊ั ตรงแนวกนั 2. ตดิ เครอื่ งยนต์ และใชค้ นั เรง่ มอื ในการตั้งรอบเครอื่ งยนต์ให้เหมาะสมกบั การใช้งาน ดังนี้ 2.1 รอบใชง้ านสูงสดุ ของเครื่องยนตจ์ ะต้องไมเ่ กิน 1,650 รอบ/นาที 2.2 รอบใชง้ านปกตขิ องเคร่อื งยนต์ 1,100 รอบ/นาที 2.3 รอบใชง้ านเมือ่ ใชก้ ว้านเล็ก 800 รอบ/นาที ข้อควรระมดั ระวังในการใชง้ านระบบไฮดรอลกิ 1. รอบใช้งานสูงสดุ ของเครอ่ื งยนต์จะต้องไม่เกินเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 2. ก่อนใชง้ าน ต้องตรวจระดบั น้ำมันไฮดรอลกิ ในถงั เก็บ ซึ่งจะตอ้ งมีระดับไมต่ ่ำกว่ากึง่ กลางของชอ่ งตรวจระดับ น้ำมนั อนั ล่าง การตรวจระดบั นำ้ มนั ให้กระทำเมื่ออุปกรณก์ ซู้ อ่ มทกุ ชนิดอยู่ในตำแหนง่ เก็บเดินทาง 3. ก่อนใช้งานระบบไฮดรอลิก จะต้องเดินเครื่องยนต์ด้วยรอบปานกลาง เพื่ออุ่นน้ำมันไฮดรอลิก และให้น้ำมัน ไหลเข้าสู่องค์ประกอบต่าง ๆ เต็มที่เสียก่อน และถ้ามีการติดตั้ง หรือเปลี่ยนองค์ประกอบใหม่ ให้จัด องค์ประกอบใหม่ให้เริ่มต้นทำงาน และไล่ฟองอากาศที่ตกค้างอยู่ในระบบไฮดรอลิก โดยการใช้คันบังคับทุกอัน ของชุดลิน้ ควบคุม 3 ทาง และชดุ ลน้ิ ควบคุม 4 ทาง อย่าง ช้า ๆ และซำ้ กัน หลาย ๆ ครั้ง 4. การใช้คันบังคับต่าง ๆ ของชุดลิ้นควบคุม 3 ทาง และชุดลิ้นควบคุม 4 ทาง จะต้องกระทำอย่างช้า ๆ สม่ำเสมอกัน และน่ิมนวล โดยเฉพาะอย่างยิ่งเม่ือมภี ารกรรมหนัก 5. ก่อนใชง้ านระบบปนั้ จนั่ จะต้องจัดคนั บังคบั “ กว้านเล็ก – ปัน้ จัน่ ” ของชดุ ล้นิ ควบคมุ 3 ทาง ไวใ้ นตำแหน่ง ปัน้ จ่นั “ CRANE ” เสียก่อน 6. ก่อนใช้งาน และในระหว่างใช้งาน ต้องสังเกตการแสดงค่าผิดปกติของเครื่องวัดแรงดันน้ำมันไฮดรอลิก เครื่องวัดอุณหภูมิน้ำมันไฮดรอลิก เสียงดังผิดปกติของปั๊ม และอุปกรณ์ต่าง ๆ ในระบบฯ การสั่นสะเทือน ผดิ ปกตขิ องอปุ กรณแ์ ละองคป์ ระกอบต่าง ๆ ในระบบฯ 7. ก่อนใช้งานให้ตรวจความมั่นคง และการรั่วไหลของอุปกรณ์ ต่าง ๆ ท่อทางเดินน้ำมันและข้อต่อ ต่าง ๆ ใน ระบบฯ 8. เมื่อใช้งานในสภาพอากาศร้อนจัด ให้เปิดแผ่นปิดรังผึ้งระบายความร้อนน้ำมันไฮดรอลิก “ OIL COOLER ” และเมื่อจะใช้งานระบบ ต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน ให้เปิดฝาปิดห้องพลประจำรถ และปิดแผ่นบานเกล็ดช่องรับ อากาศเข้าของหม้อนำ้ รงั ผึ้งเคร่ืองยนต์ เพอ่ื ใหอ้ ากาศไหลผา่ น “ OIL COOLER ” ถังนำ้ มนั ไฮดรอลิก และห้อง พลประจำรถไดเ้ ตม็ ที่ ในขณะใช้งานอณุ หภมู ขิ องนำ้ มนั ไฮดรอลกิ ไมค่ วรเกิน 80 องศา ซ. 9. ก่อนใช้งาน จะตอ้ งปลดกลอนยึดอปุ กรณก์ ซู้ อ่ ม ตา่ ง ๆ ทตี่ ้องการใช้ ใหเ้ รยี บรอ้ ย และครบถว้ น 10. หา้ มทำการจดั ปรับปัม๊ ไฮดรอลิก มอเตอร์ และชดุ ลน้ิ ควบคมุ ต่าง ๆ ของระบบไฮดรอลิก
ห น้ า | 141 11. เมื่อเลิกใช้งาน จะต้องจัดคันบังคับปั๊มไฮดรอลิกไว้ในตำแหน่งปลด และจัดคันบังคับ ต่าง ๆ ของชุดล้ิน ควบคมุ 3 ทาง ไว้ในตำแหน่ง วา่ ง 12. เมื่อเติมน้ำมันไฮดรอลิก จะต้องใช้น้ำมันที่สะอาด เติมผ่านตะแกรงกรอง และระวังอย่าให้สิ่งสกปรกเข้าไป ในถงั นำ้ มนั หลกั การใช้งานอปุ กรณก์ ้ซู ่อม 1. การควบคมุ และใชง้ านใบมีดค้ำยนั กวา้ นหลกั และกว้านเล็ก กระทำโดยการใชค้ ันบังคับท่ชี ดุ ลิน้ ควบคุม 3 ทาง 2. การควบคุม และใช้งานปั้นจั่น เช่นการยกคานปั้นจั่นขึ้น-ลง การยืด-หดคานปั้นจั่นตัวใน การบังคับชุดขอ ยกของกวา้ นปนั้ จ่ัน กระทำโดยการใชค้ นั บงั คับท่ีชดุ ลน้ิ ควบคมุ 4 ทาง เพื่อลดการสูญเสียแรงดันน้ำมันไฮดรอลิกจากการไหลเวียนเมื่อไม่มีการใช้งานปั้นจั่น และเพื่อป้องกัน ไม่ให้ปนั้ จั่นเกิดการเคล่ือนไหวโดยไม่ได้ตั้งใจ หรือโดยเหตุบังเอิญ จึงได้ออกแบบให้วงจรทางเดินน้ำมันไฮดรอลิ กของระบบปั้นจั่น ต้องไหลผ่านชุดลิ้นควบคุม 3 ทางก่อนที่จะไหลไปยังชุดลิ้นควบคุม 4 ทาง ดังนั้นในขณะท่ี ไม่ได้ใช้งานปั้นจั่น วงจรน้ำมันไฮดรอลิกของปั้นจ่ันจะถูกตัดออกที่ชุดลิ้นควบคุม 3 ทาง โดยการจัดคันบังคับ “กวา้ นเลก็ -ป้นั จนั่ ” ไว้ที่ตำแหน่งกลาง “NEUTRAL” และเมื่อต้องการใช้งานปั้นจั่น จึงต่อวงจรน้ำมันไฮดรอลิกใหก้ ับชุดล้ินควบคุม 4 ทาง โดยการจดั คันบังคับ “กวา้ นเลก็ -ปน้ั จัน่ ”ไวท้ ต่ี ำแหน่งปัน้ จน่ั “CRANE” การซ่อมบำรงุ ระบบไฮดรอลกิ การซอ่ มบำรงุ ระบบไฮดรอลกิ ในขัน้ หนว่ ยใช้ แบ่งออกเปน็ 3 ระดบั คือ 1. ระดับที่ 1 กระทำก่อนใชง้ าน และหลงั การใช้งาน แตล่ ะครง้ั 2. ระดบั ท่ี 2 กระทำเม่ือใช้งานระบบไฮดรอลิกครบ 100 ชว่ั โมง 3. ระดบั ที่ 3 กระทำเม่ือใชง้ านระบบไฮดรอลกิ ครบ 300 ชั่วโมง การซ่อมบำรงุ ระดบั ท่ี 1 มกี ารปฏิบัติ ดังน้ี 1. ตรวจระดับนำ้ มันไฮดรอลกิ ในถังเก็บ 2. ตรวจการรวั่ ไหลโดยท่ัวไปในระบบไฮดรอลิก 3. ตรวจความหลวมคลอนของสลัก บานพับ และจดุ หมุนขององค์ประกอบ ต่าง ๆ 4. ทำความสะอาด กำจดั ฝุ่นผง สิง่ สกปรก และนำ้ มนั ท่เี ปื้อนเปรอะองค์ประกอบ ตา่ ง ๆ การซอ่ มบำรงุ ระดบั ท่ี 2 มีการปฏบิ ตั ิ ดังน้ี 1. ทำการซอ่ มบำรงุ ระดับท่ี 1 ใหส้ มบูรณ์ทุกรายการ 2. ตรวจความมั่นคง และการขนั แน่นขององคป์ ระกอบตา่ ง ๆ และแกไ้ ขส่งิ บกพร่องท่ีตรวจพบใหเ้ รยี บรอ้ ย 3. ซ่อมแก้ หรือเปลยี่ นทอ่ ทางเดินน้ำมันท่ีมรี อยบาด หรอื ชำรดุ ผดิ รปู ร่าง 4. ล้างไส้กรองน้ำมันไฮดรอลิกด้วยน้ำมันก๊าด หรือน้ำมันแก๊สโซลีน แล้วใช้ลมเป่าให้แห้ง ก่อนประกอบเข้าที่ เดิม 5. ถ่ายตะกอน และสิ่งสกปรกที่สะสมตัวอยู่ก้นถังน้ำมัน และตรวจสภาพน้ำมัน ถ้าน้ำมันเสื่อมสภาพ หรือ สกปรกมาก ใหเ้ ปลยี่ นน้ำมันไฮดรอลกิ
ห น้ า | 142 การซอ่ มบำรุงระดับที่ 3 มีการปฏบิ ัติ ดงั น้ี 1. ทำการซอ่ มบำรงุ ระดับที่ 1 และระดบั ท่ี 2 ให้สมบูรณท์ กุ รายการ 2. เปล่ียนนำ้ มนั ไฮดรอลกิ ล้างตะแกรงกรองของถงั นำ้ มันไฮดรอลกิ และรังผง้ึ ระบายความรอ้ นน้ำมันไฮดรอลิก “OIL COOLER” 3. ตรวจ และจัดปรบั แรงดันใช้งานของลนิ้ ควบคมุ แรงดนั ต่าง ๆ ใหไ้ ดค้ ่า ตามแรงดนั มาตรฐาน 4. จัดปรับความแนน่ ของซีลกนั ร่วั ที่หวั กระบอกสูบไฮดรอลิก ตา่ ง ๆ 5. ลา้ งทำความสะอาดเรอื นมอเตอรไ์ ฮดรอลกิ ตรวจสภาพความเรียบร้อย และแกไ้ ขส่งิ บกพร่องทต่ี รวจพบ การแก้ไขขอ้ ขดั ขอ้ งของระบบไฮดรอลกิ ข้อขดั ข้อง สาเหตุทอี่ าจเปน็ ได้ การแกไ้ ข 1. อุปกรณ์กู้ซอ่ มไมท่ ำงาน หรือทำงานช้า เม่อื ใชค้ ัน 1. นำ้ มนั ไฮดรอลกิ ในถงั มีน้อย 1. เติมนำ้ มนั ให้เพยี งพอ บงั คบั 2. หมอ้ กรองน้ำมนั อุดตนั 2. ล้าง ทำความสะอาดหม้อกรองฯ 2. ท่อทางเดนิ น้ำมนั ไฮดรอ ลกิ สั่น หรือสะบัด 3. ปมั๊ ไฮดรอลกิ ชำรุด 3. ตรวจเปลยี่ นชิน้ สว่ นท่ีชำรดุ หรอื 3. มอเตอร์ไฮดรอลกิ สั่น เปล่ยี นปม๊ั หรือส่งเสยี งดัง 4. มกี ารรั่วไหลภายในของ 4. ตรวจ ซ่อมแก้ หรือเปลยี่ นชน้ิ ส่วน องคป์ ระกอบ หรืออปุ กรณม์ าก ที่ชำรุดสกึ หรอมาก 5. ลนิ้ ควบคมุ แรงดนั ตา่ ง ๆ ชำรุด 5. ตรวจ เปล่ียนลิ้นควบคุมแรงดนั หรือมีการเปลย่ี นแปลงคา่ แรงดนั หรอื จดั ปรบั ลนิ้ ควบคุมแรงดนั ใหไ้ ด้ ค่าแรงดันมาตรฐาน 6. ล้ินควบคมุ แรงดนั ตดิ ขัด หรือ 6. ถอดลน้ิ ตา่ ง ๆ ออกตรวจ และทำ ช่องทางเดนิ น้ำมันภายในลนิ้ เกิดอุด ความสะอาด ตัน 1. ไล่ฟองอากาศออกจากป๊ัมไฮดรอ 1. มีอากาศปะปนอยูใ่ นน้ำมันไฮ ลิก ดรอลกิ มาก 2. น้ำมันไฮดรอลิกในถงั มนี ้อย 2. เติมนำ้ มันไฮดรอลกิ ใหเ้ พยี งพอ 3. ลิ้นดดู และลน้ิ ส่งของป๊ัมไฮดรอ 3. ตรวจ ซอ่ มแก้ หรอื ขันให้แนน่ ลกิ หลวม 4. ตะแกรงกรองนำ้ มันเขา้ ปัม๊ ไฮ 4. ถอดตะแกรงกรองน้ำมันออกทำ ดรอลกิ เกดิ อุดตัน ความสะอาด 5. ท่อนำ้ มัน และข้อต่อทอ่ น้ำมนั 5. ตรวจ และขนั ใหแ้ น่น ของปมั๊ ไฮดรอลกิ เกดิ การหลวม คลอน 3. ตรวจเปลี่ยนชิน้ สว่ นทชี่ ำรดุ หรอื 6. ปัม๊ ไฮดรอลกิ ชำรุด เปลยี่ นป๊ัมไฮดรอลกิ 1. ตรวจ และขันให้แน่น 1. สลกั เกลียวยึดมอเตอร์ หลวม 2. จดั ปรบั ลูกเบ้ียวบังคบั ช่องนำ้ มัน คลอน ใหถ้ ูกต้อง และยึดให้แน่น 2. ลูกเบี้ยวบงั คับชอ่ งนำ้ มนั ไม่อยู่ 3. ตรวจ และเปลีย่ นชิน้ ส่วนทชี่ ำรดุ ในตำแหน่งทีถ่ กู ต้อง หรือเปลีย่ นมอเตอร์ 3. มอเตอรช์ ำรดุ
ห น้ า | 143 การแกไ้ ขขอ้ ขัดข้องของระบบไฮดรอลกิ ( ต่อ ) ขอ้ ขัดขอ้ ง สาเหตุที่อาจเปน็ ได้ การแกไ้ ข 4. นำ้ มันไฮดรอลิกรอ้ นจดั 1. นำ้ มันไฮดรอลกิ ในถังมีนอ้ ย 1. เติมน้ำมันให้พอเพียง อย่างรวดเรว็ 2. ลน้ิ ควบคมุ ความดนั ตา่ ง ๆ 2. ทำความสะอาด ซอ่ มแก้ และจดั ทำงานผดิ ปกติ ปรับความดันให้ไดต้ ามคา่ แรงดนั 5. น้ำมันไฮดรอลกิ เปน็ ฟอง 3. มกี ารรัว่ ไหลถายในของปั๊มไฮ มาตรฐาน และนำ้ มันเส่ือมสภาพ ดรอลกิ ชุดลน้ิ ควบคุม มอเตอร์ 3. ตรวจ และซอ่ มแก้ตามความ 6. นำ้ มนั ไฮดรอลกิ รั่วไหล และกระบอกสบู ไฮดรอลิกมาก จำเปน็ หรือเปล่ียนอุปกรณ์ และ ออกมาภายนอกอปุ กรณ์ - มนี ำ้ และสงิ่ สกปรก เจอื ปนอยู่ องคป์ ระกอบใหม่ ใน - ถา่ ย ลา้ งถงั น้ำมัน หม้อกรอง นำ้ มันไฮดรอลกิ และเตมิ น้ำมันใหม่ 1. ท่อนำ้ มนั หรอื ขอ้ ตอ่ ท่อนำ้ มัน 1. ตรวจ และขนั ใหแ้ นน่ เกิดการหลวมคลอน 2. ซีลกนั ร่วั ชำรดุ 2. ตรวจ และเปล่ียนซลี กันร่ัว 3. พื้นผวิ ของอปุ กรณช์ ำรดุ เปน็ 3. ตรวจ ซ่อมแก้ หรอื เปล่ยี น รอยขูดข่วน สว่ นประกอบท่ชี ำรดุ
ห น้ า | 144 ตอนท่ี 2 ป้ันจัน่ 1. หนา้ ที่ และความม่งุ หมาย ปั้นจั่นซึ่งควบคุม และบังคับการทำงานด้วยระบบไฮดรอลิก ใช้สำหรับยก ย้ายสิ่งของที่มีน้ำหนักมาก ไปเป็นระยะทางใกล้ ๆ ตามปกติมีความมุ่งหมายเพื่อใช้สนับสนุนงานซ่อมบำรุง เช่น การยกเครื่องยนต์ เคร่ืองเปลี่ยนความเรว็ ป้อมปนื ปืนใหญ่ และองค์ประกอบ ตา่ ง ๆ ของรถถัง หรือยทุ โธปกรณ์ อื่น ปน้ั จน่ั ของรถกูซ้ ่อม T 653 สามารถปฏบิ ัติงานได้ 4 แบบ คอื 1.1 การยกคานปัน้ จน่ั ขนึ้ - ลง 1.2 การยืด – หด คานปั้นจนั่ ตวั ใน 1.3 การหมุนแท่นปั้นจนั่ 1.4 การยก – ลด ชดุ ขอยกของกว้านปนั้ จ่นั 2. ขีดความสามารถของปน้ั จัน่ - ความสามารถในการยกน้ำหนกั ( สงู สดุ ) …………………………………………. 10 ตนั - ความเรว็ ในการยก ( สูงสดุ ) ……………………………………………………….. 8 เมตร/นาที - ความเร็วในการหมนุ แทน่ ปนั้ จั่น ( สงู สุด ) ………………………………………… 4.7 รอบ/นาที - มมุ ในการหมนุ ( เมอ่ื ยกคานปน้ั จ่ันขนึ้ เปน็ มุม 36.5 องศา ) ………………………… 360 องศา - คานปน้ั จั่นยกเป็นมมุ ได้สงู สดุ ……………………………………………………… 66 องศา - ระดบั ความสงู ในการยก ( วดั จากปลายขอยก ถงึ พน้ื ดิน ) …………………………… 6 เมตร - รศั มีคานป้นั จ่นั ต่ำสุด ( เมอื่ ยกขึ้น 66 องศา ) ………………………………………… 2.2 เมตร - รัศมคี านปั้นจ่ันสูงสดุ ( เม่อื คานป้ันจ่นั ทำมุมศนู ย์องศา ) ……………………………. 6.5 เมตร - คานปนั้ จัน่ ยาว ( คานตัวนอกยาว 5 เมตร และคานตัวในยาว 2 เมตร ) ………………. 7 เมตร - ลวดกวา้ นปั้นจัน่ ยาว 50 เมตร ขนาดเส้นผ่าศนู ยก์ ลาง 1.5 ซม. 3. องคป์ ระกอบสำคัญ ปัน้ จน่ั จะตดิ ตั้งอยู่บนแท่นปัน้ จ่นั ซ่ึงอยทู่ างด้านขวาของตัวรถกู้ และมีองคป์ ระกอบสำคัญ 8 ส่วน คอื 3.1 คานปนั้ จัน่ ตวั นอก 3.2 คานป้นั จัน่ ตัวใน 3.3 ชุดขอยก 3.4 ล้อกว้านปน้ั จน่ั และลวดกว้าน 3.5 ชุดเฟืองตอ่ กำลังขบั 3.6 ชดุ หา้ มลอ้ กวา้ น 3.7 แทน่ ปนั้ จ่นั 3.8 ฐานรองแท่นปั้นจ่นั 4. เครอื่ งควบคุม และคันบงั คับปัน้ จนั่ ป้ันจนั่ มเี คร่ืองควบคมุ และคนั บงั คับท่ีจะต้องใชง้ านรว่ มกนั คือ 4.1 เครือ่ งควบคมุ และคันบงั คับในห้องพลขับ ไดแ้ ก่ 4.1.1 คนั บงั คบั ป๊มั ไฮดรอลิก 4.1.2 คนั เรง่ มอื 4.1.3 คนั บงั คับ “กวา้ นเล็ก – ป้ันจ่ัน” ของชดุ ล้ินควบคมุ 3 ทาง 4.2 เครื่องควบคุม และคันบังคับ ของชุดลิ้นควบคุม 4 ทางที่แผงบังคับปั้นจั่นในห้องพลพลประจำรถ ไดแ้ ก่ 4.2.1 คันบงั คับคานป้นั จัน่ ตวั นอก ( DOWN - LIFTARM - UP)
ห น้ า | 145 4.2.2 คนั บงั คับคานปั้นจ่ันตวั ใน ( BACK- EXTENTION - UP ) 4.2.3 คันบงั คับกวา้ นปนั้ จั่น ( DOWN- WIND - UP ) 4.2.4 คันบงั คับแท่นปนั้ จ่ัน ( CW – TRAVERSE - CCW ) คันบังคับทั้ง 4 อันจะถูกควบคุมด้วยแรงแหนบ โดยคันบังคับจะกลับคืนสู่ตำแหน่งกลางเองเมื่อปล่อย คันบังคับ และความเร็วในการเคลื่อนที่ของปั้นจั่น จะขึ้นอยู่กับกับความเร็ว และระยะของคันบังคับ ที่ถูกดัน ออกไปจากตำแหน่งกลาง 4.2.1 คนั บงั คบั คานป้นั จั่นตัวนอก มี 3 ตำแหนง่ คือ ยกขน้ึ “UP”, วา่ ง และลดลง “DOWN” - เมอื่ ดนั คันบงั คบั ไปข้างหนา้ ในตำแหนง่ ยกข้ึน “UP” จะทำให้คานปัน้ จั่นยกสูงขน้ึ - เมื่อปล่อยคันบังคับ ๆ จะกลับคืนสู่ตำแหน่งว่างเองด้วยแรงแหนบ และคานปั้นจั่นจะยังคง ค้างอยใู่ นมุมยกเดิมกอ่ นปลอ่ ยคนั บังคบั - เม่อื ดึงคนั บังคับมาขา้ งหลังในตำแหน่งลดลง “DOWN” จะทำใหค้ านปั้นจนั่ ลดตำ่ ลง 4.2.2 คนั บังคับป้นั จน่ั ตวั ใน มี 3 ตำแหนง่ คอื ยดื ออก “EXT”, “วา่ ง” และ หดเข้า “BACK” - เมอ่ื ดนั คนั บังคบั ไปข้างหนา้ ในตำแหนง่ ยืดออก “EXT” จะทำให้คานปนั้ จั่นตวั ในยดื ตวั ออก - เมื่อปล่อยคันบังคับ ๆ จะกลับคืนสู่ตำแหน่ง “ว่าง” เองด้วยแรงแหนบ และคานปั้นจั่นจะ ยงั คงคา้ งอยู่ในความยาวเดมิ ก่อนปลอ่ ยคันบังคบั - เมือ่ ดงึ คันบงั คับมาขา้ งหลงั ในตำแหนง่ หดเขา้ “BACK” จะทำให้คานปัน้ จ่ันตวั ในหดส้ันเข้า 4.2.3 คันบังคับกว้านปน้ั จนั่ มี 3 ตำแหน่ง คือสงู ขนึ้ “UP”, “ว่าง” และลดลง “DOWN” - เมอ่ื ดันคันบงั คบั ไปข้างหนา้ ในตำแหนง่ สูงข้นึ “UP” จะทำใหช้ ุดขอยกเล่อื นสงู ข้นึ - เมื่อปล่อยคันบังคับ ๆ จะกลับสู่ตำแหน่ง “ว่าง” เองด้วยแรงแหนบ และชุดขอยกจะยังคง คา้ งอยู่ท่คี วามสูงเท่าเดิมก่อนปล่อยคันบังคับ - เมอ่ื ดึงคนั บงั คบั มาข้างหลังในตำแหน่งลดลง “DOWN” จะทำให้ชดุ ขอยกลดตำ่ ลง ขอ้ ควรระมดั ระวงั * ในขณะใชง้ านคนั บังคับกว้านปนั้ จนั่ ในตำแหน่งเล่อื นขน้ึ “UP” เม่ือไดย้ นิ เสยี งแตรเตือนดงั และไฟเตอื นทแี่ ผงบงั คบั ป้นั จน่ั ติดสว่างขนึ้ จะต้อง หยุดใชค้ นั บังคบั ทันที มฉิ ะนน้ั จะทำใหช้ ุดขอยกกระแทกกบั รอกปลาย ปลายคานปน้ั จนั่ จนชำรดุ เสียหาย 4.2.4 คันบงั คับแท่นปน้ั จน่ั มี 3 ตำแหนง่ คอื หมุนซา้ ย “CCW”, “ว่าง” และหมนุ ขวา “CW” - เม่อื ดันคันบงั คับไปข้างหน้าในตำแหนง่ หมนุ ซา้ ย “CCW” จะทำใหแ้ ทน่ ปนั้ จน่ั หมนุ ทวนเขม็ นาฬกิ า หรือหมนุ ไปทางซ้าย - เมือ่ ปลอ่ ยคนั บังคบั ๆ จะกลังคืนสตู่ ำแหนง่ “วา่ ง” เองดว้ ยแรงแหนบ และแท่นปนั้ จั่นจะ หยุดอยู่ที่ตำแหนง่ เดมิ ก่อนปล่อยคันบงั คับ - เมือ่ ดงึ คันบังคับมาข้างหลงั ในตำแหนง่ หมนุ ขวา “CW” จะทำใหแ้ ทน่ ป้ันจั่นหมนุ ตามเขม็ นาฬกิ า หรือหมนุ ไปทางขวา ขอ้ ควรระมดั ระวัง * เมอ่ื ตอ้ งการบงั คบั ให้แทน่ ป้นั จั่นหมุน 360 องศา จะตอ้ งยก คานปนั้ จนั่ ให้สูงขึน้ จนถงึ มุม 36.5 องศาเสียกอ่ น 5. การเตรยี มการก่อนใชง้ านปัน้ จน่ั
ห น้ า | 146 5.1 เตรียมพื้นทีจ่ อดรถปฏิบตั ิงานให้ราบเรียบ และแข็ง ไม่ควรเปล่ียนทใ่ี นขณะใช้งานปัน้ จ่นั ความ เอยี งของพน้ื ที่ปฏบิ ัติงานไม่ควรเกิน 3 องศา ใหใ้ ชใ้ บมดี ถากถางพน้ื ทีจ่ นเรยี บ และมคี วามเอยี งไมเ่ กิน 3 องศา 5.2 จัดตำแหนง่ ของรถกู้ให้เหมาะสมกับการยกย้ายภารกรรม ถา้ เป็นไปได้ใหจ้ อดรถใหภ้ ารกรรมอยู่ ใกล้กบั แทน่ ปนั้ จ่นั มากทสี่ ดุ เทา่ ทจี่ ะทำได้ 5.3 ลดใบมีดคำ้ ยันลง ใช้ใบมดี ยนั พืน้ ดินใหม้ ั่นคง และถ้ายกภารกรรมหนกั ควรใช้ใบมีดยันพน้ื จนล้อ กดที่ 1 ลอยตวั เปน็ อสิ ระ 5.4 ปลดเครื่องยึดโยง คานป้นั จ่ันใหเ้ รียบรอ้ ยทกุ อนั 5.5 ตรวจสภาพความเรียบรอ้ ยของลวดกว้านปัน้ จนั่ และปลอกรดั ลวดท้งั 3 อันทชี่ ุดขอยก 5.6 ตรวจสภาพความเรยี บร้อยเชือ่ ถอื ไดข้ องเชือก, โซ่ ทนี่ ำมาใชป้ ระกอบการยก 5.7 ไมใ่ ช้ปั้นจนั่ ในกรณที ีเ่ กดิ ลมพายุ หรือลมพดั ด้วยความเรว็ สูง จนทำให้ชุดขอยกแกว่งไปมาได้ 6. ขอ้ ควรระวงั ในการใช้ปั้นจ่ัน 6.1 ประมาณนำ้ หนกั ของภารกรรมทจี่ ะยกอยา่ งรอบคอบ อย่าใหเ้ กินขดี ความสามารถของปนั้ จั่น และ หามุมยกของคานปั้นจัน่ โดยดจู ากเครือ่ งวดั มมุ ที่คานปน้ั จนั่ มุมยกของคานปนั้ จัน่ จะต้องไม่นอ้ ยกวา่ มุมที่ กำหนดไว้ในเครื่องวดั มุม 6.2 เมอ่ื ยกป้อมปนื รถถัง 30 T69-2 จากทางด้านหน้าของรถกู้ มมุ ยกของคานปั้นจ่ันจะต้องไมน่ ้อย กวา่ 52 องศา 35 ลิปดา และอย่าหมนุ แท่นป้นั จั่นจนกว่าจะยกคานปั้นจน่ั ขนึ้ จนสูงถึงมุม 61 องศา 6.3 เม่อื ยกนำ้ หนกั มากกว่า 3 ตัน ใชใ้ ช้คันบงั คบั ปัน้ จนั่ ทลี ะอนั อยา่ ใชค้ นั บงั คับพร้อม ๆ กนั 6.4 ในระหวา่ งการใช้งานป้นั จัน่ การเพม่ิ และลดความเร็วในการยก, การหมุน, และ การยดื -หด ให้ กระทำอย่างช้า ๆ และสม่ำเสมอกัน ห้ามใชค้ ันบังคับอย่างหักโหม กระแทกกระทนั้ 6.5 การหมนุ แทน่ ปัน้ จนั่ รอบตัว 360 องศา จะกระทำไดเ้ มื่อยกคานปั้นจัน่ สูงกว่า 36 องศา 30 ลปิ ดา และความเร็วในการหมนุ ไม่ควรเกิน 2 รอบ/นาที 6.6 ในขณะทภ่ี ารกรรมลอยอยู่ในอากาศ ห้ามไมใ่ ห้พลป้นั จัน่ ออกไปจากทนี่ ั่งบงั คับป้ันจนั่ และห้ามดับ เครอ่ื งยนตเ์ ด็ดขาด 6.7 ในขณะยืดคานป้ันจ่นั ตวั ใน ถา้ ไฟเตอื นทแี่ ผงคันบังคบั ติดสว่างขนึ้ และแตรเตอื นดงั ข้ึน ใหห้ ยดุ ใช้ คนั บังคับทนั ที และผอ่ นลวดกว้านป้นั จ่นั เพื่อลดชุดขอยกใหต้ ่ำลง จนสญั ญาณเตือนหยดุ ทำงาน หมายเหตุ เมอ่ื นำ้ หนกั ของภารกรรมท่ยี กมากกวา่ 5 ตัน หา้ มยดื -หด คานป้นั จัน่ ตวั ใน 6.8 จดั ตำแหนง่ ของลวดกวา้ น และชุดขอยกให้ตง้ั ฉากกับพ้นื ดิน อย่ายกในมุมเอียงในขณะฉุดลาก, ดึง รั้ง ภารกรรม อย่าใช้ปนั้ จน่ั ยกสง่ิ ของทฝ่ี งั จมอยใู่ นดนิ 6.9 อยา่ ใช้ป้ันจ่ันยกภารกรรมเมอ่ื เหลือลวดกว้านพันอยู่บนล้อกวา้ นนอ้ ยกวา่ 3 รอบ 6.10 ในขณะใชง้ านปั้นจัน่ หา้ มไม่ให้บคุ คลใดบุคคลหนงึ่ เขา้ ไปอยู่ใตแ้ นวคานปัน้ จ่ัน และใต้ภารกรรม 6.11 ไม่ควรเคล่อื นย้ายรถกู้ เมอ่ื คานปัน้ จ่ัน และชุดขอยกไม่ถูกเก็บเขา้ ท่ีใหเ้ รยี บร้อย 7. การใช้งานปน้ั จนั่ การใช้งานปัน้ จนั่ แบง่ การปฏบิ ัตอิ อกเป็น 2 ข้นั ตอน ดังน้ี - การปฏิบตั ิภายในหอ้ งพลขบั - การปฏบิ ตั ทิ แี่ ผงควบคมุ ปนั้ จ่นั 7.1 การปฏบิ ตั ภิ ายในห้องพลขบั 7.1.1 ตรวจความเรยี บรอ้ ย กอ่ นใชง้ าน 7.1.2 จัดคันบงั คับป๊มั ไฮดรอลกิ ไวใ้ นตำแหน่งเขา้ “ENGAGE” โดยยกกา้ นคนั บังคบั ขึน้ และ ดันไปข้างหน้าให้สุด ถ้าเขา้ ไม่ได้ ให้ใชส้ วติ ชห์ มนุ เครื่องยนต์หมนุ ขยบั เฟืองส่งกำลงั ขับให้ตรงกัน
ห น้ า | 147 7.1.3 ติดเคร่ืองยนต์ ใช้คนั เร่งมือตง้ั รอบเคร่ืองยนตไ์ ว้ 1,100 รอบ/นาที 7.1.4 จัดคันบงั คบั กว้านเลก็ -ป้นั จ่นั ของชดุ ลนิ้ ควบคุม 3 ทาง ไวใ้ นตำแหน่งป้นั จั่น “CRANE” 7.2 การปฏบิ ตั ิทแ่ี ผงควบคมุ ป้ันจ่ัน ใช้งานคนั บงั คับปั้นจนั่ ท้งั 4 อนั ตามความต้องการ 8. การหล่อล่ืนระบบปน้ั จ่ัน การหลอ่ ลนื่ ระบบปน้ั จ่นั ให้ปฏบิ ตั ิ ตามตารางกำหนดการหล่อลื่นอุปกรณ์กู้ซอ่ ม ----------------------------------------------------- ตอนท่ี 3 ใบมีดคำ้ ยนั 1. หน้าท่ี และความมุง่ หมาย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187