ตารางที่ 23 การบรกิ ารประจำ 6 เดอื น / 50 ชว่ั โมง ห น้ า | 48 ลำดับ การปฏบิ ัติ สารหล่อล่นื 1. ทำการบรกิ ารประจำสัปดาห์ 2. คลายลวดกว้านออกทำความสะอาด และตรวจสภาพการชำรุดเสียหาย 3. ตรวจสภาพนำ้ มนั ไฮดรอลกิ ( สพ.สน.โดยตรง ) 4. ตรวจ และปรับเครื่องจำกัดแรงบดิ ของลอ้ เกบ็ ลวดกว้าน ( สพ.สน.โดยตรง ) ตารางที่ 24 การบริการประจำ 12 เดือน / 100 ช่ัวโมง สารหลอ่ ลื่น ลำดับ การปฏิบัติ 1. ทำการบริการประจำ 6 เดือน / 50 ช่วั โมง 2. เปลี่ยนน้ำมันหบี เฟอื งขับกว้าน 3. เปลยี่ นนำ้ มนั หบี เฟืองขับป๊มั ไฮดรอลิก 4. เปลีย่ นน้ำมันในถังน้ำมนั ไฮดรอลิก 5. เปลย่ี นไสก้ รองน้ำมนั แรงดันสูง และไสก้ รองน้ำมนั แรงดันต่ำ ---------------------------------------
ห น้ า | 49 วชิ า การใช้และซ่อมบารุง รถสายพานก้ซู ่อม เอม็ 88 เอ 1 แผนกวชิ ายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า ค่ายอดศิ ร สระบุรี
ห น้ า | 50 แผนกวิชายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรียนทหารมา้ ศนู ยก์ ารทหารม้า สระบุรี -------------------------------- วชิ าการใช้ และการปรนนิบัตบิ ำรงุ รถสายพานกู้ซอ่ ม M88A1 ตอนท่ี 1 คณุ ลักษณะ ขดี ความสามารถ และรายละเอียด 1. กล่าวทว่ั ไป รถสายพานกซู้ อ่ ม M88A1 เป็นรถกู้ซ่อมขนาดกลาง มีเกราะหนา ทรวดทรงตำ่ ใช้ใน ภารกิจกู้ภัย และกู้ซ่อม รถถังกลาง รถถังเบา และยานพาหนะอื่น ๆ ด้วยการยก การกว้าน และการลากจูง นอกจากนยี้ ังใชส้ นับสนุนหนว่ ยรถถังขนาดกลาง หรอื หน่วยรถถังเบาเพอ่ื เพิ่มขดี ความสามารถในการ กู้ซ่อมในสนาม และประกอบด้วยเครื่องอุปกรณ์ต่าง ๆ สำหรับสนับสนุนการซ่อมแก้ยานพาหนะในสนาม รถ สายพานกู้ซอ่ ม M88A1 ใชป้ ฏิบตั ิการด้วยพลประจำรถ 4 นาย คือ - ผบู้ งั คบั รถ - พลขบั - ชา่ ง - นายสิบกู้ซ่อม 2. ขบวนสง่ กำลัง ใช้เครื่องยนต์ดีเซลคอนติเนนตัลแบบ AVDS 1790-2DR 12 กระบอกสูบ รูปตัว วี “V”จุดระเบิดด้วยกำลังอดั ระบายความร้อนด้วยอากาศ มีเครือ่ งเพ่มิ ไอดี กำลังจากเครื่องยนต์จะถูกส่งไปยังชุดเฟืองขับขั้นสุดท้าย และเฟืองขับสายพานผ่านทางเครื่องเปลี่ยน ความเร็วแบบขับขวาง อัลลิสัน XT1410-4 ซึ่งประกอบด้วยเครื่องเปลี่ยนความเร็ว เครื่องทดเลี้ยว เครื่อง บังคับเลี้ยว และเครื่องห้ามล้อ การเลือกตำแหน่งเกียร์ การบังคับเลี้ยว และการห้ามล้อจะกระทำโดยใช้คัน บงั คบั และชุดก้านโยงซ่งึ ต่อเชือ่ มโยงจากห้องพลขบั ไปยงั เครือ่ งเปลยี่ นความเรว็ 3. เครือ่ งพยุงตวั รถ ระบบเคร่อื งพยุงตัวรถแต่ละข้างจะประกอบดว้ ยล้อกดสายพาน 6 ล้อ ล้อรับสายพาน 3 ลอ้ ลอ้ ปรบั สายพาน 1 ล้อ กา้ นโยง และเครื่องปรบั สายพาน 1 ชดุ ลอ้ ขบั สายพาน 1 ล้อ และสายพาน 1 เส้น การเคลื่อนที่ขึ้นลงของล้อกดสายพาน ขั้นแรกจะควบคุมด้วยคานรับแรงบิดของล้อกดสายพานแต่ละล้อ และ ขนั้ ที่ 2 จะควบคุมดว้ ยแหนบหยุดแขนล้อกดสายพาน แบบแหนบแผ่นขดจำนวน 2 ตัวที่ลอ้ กดท่ี 1 และลอ้ กดท่ี 6 และมีเหล็กหยุดแขนล้อกดสายพานติดตั้งไว้เหนือแขนล้อกดสายพาน ล้อที่ 2 และล้อที่ 5 โดยเชื่อมติดไว้กับ ตัวรถ เพื่อจำกัดการเคลื่อนที่ของคานรับแรงบิด เครื่องผ่อนแรงสะเทือนจะติดตั้งอยู่ระหว่างแขนล้อกด สายพานกับตัวรถ ที่ล้อกดที่ 1 ล้อกดที่ 2 และล้อกดที่ 6 สายพานแต่ละเส้นจะประกอบด้วยข้อสายพาน 84 ข้อ สายพานแต่ละข้อจะยึดติดกันด้วยข้อต่อสายพาน และลิ่มสลักสายพาน สายพานแต่ละข้อจะมีเดือยนำ สายพานซึ่งเคล่อื นทผี่ ่านระหว่างกลางของล้อตา่ ง ๆ เพ่ือรักษาแนวของสายพาน 4. ตัวรถ ตัวรถสร้างขึ้นโดยการหล่อด้วยเหล็กเกราะ และแผ่นเกราะเหล็กกล้า เชื่อมประสานให้เป็นหน่วย เดียวกัน แผ่นเกราะที่จัดตั้งไว้ในตำแหน่งต่าง ๆ นั้นสามารถป้องกันพลประจำรถ และเครื่องอุปกรณ์จากการ ยิงของอาวธุ นาดเล็ก สะเก็ดกระสนุ ปนื ใหญ่ขนาดกลาง และท่นุ ระเบิดดกั รถถังขนาด 20 ปอนด์ รถสายพานกู้ซ่อม M88A1 แบง่ เปน็ 3 ตอน คือ - ห้องพลประจำรถ - ห้องกว้าน และเคร่อื งอปุ กรณไ์ ฮดรอลกิ - ห้องเคร่ืองยนต์
ห น้ า | 51 หอ้ งพลประจำรถ เป็นทีอ่ ย่ขู องพลประจำรถ และเป็นท่ีติดต้งั เคร่ืองควบคมุ และคนั บงั คับท้ังหมดของ เครอ่ื งอุปกรณก์ ูซ้ ่อมประจำรถ ป้อมตรวจการณ์ของ ผบ.รถ หม้อกรองอากาศของเครื่องยนต์ เคร่ืองทำความ อบอุ่นฯ พัดลมระบายอากาศ ฝาปดิ ช่องหลบหนี 3 ชอ่ ง ประตูขา้ งละ 2 บาน แผงยดึ ชน้ั เก็บของ ชอ่ งเก็บ กระสุนปืนเล็ก และยุทโธปกรณ์ขั้นมูลฐานประจำรถ นอกจากนี้ห้องพลประจำรถยังเป็นที่ติดตั้งหม้อน้ำยา ดบั เพลงิ และเคร่อื งอุปกรณ์ทัศนะตา่ ง ๆ ทีต่ ดิ ต้งั อยทู่ ่ตี วั รถ คือ กล้องตรวจการณ์ M17 จำนวน 7 กล้อง กล้อง ตรวจการณ์อินฟราเรด M24 จำนวน 2 กล้อง แท่งแก้วตรวจการณ์ 10อัน (รวมทั้งแท่งแก้วตรวจการณ์รอบ ป้อมตรวจการณ์ ผบ.รถ 6 อนั ) ห้องกว้าน และเครื่องอุปกรณ์ไฮดรอลิก จะแบ่งแยกจากห้องพลประจำรถด้วยแผ่นเหล็กปิดพื้นรถ ภายในห้องกว้าน และเครื่องอุปกรณ์ไฮดรอลิกจะเป็นที่ติดตั้งองค์ประกอบสำคัญทั้งหมดของระบบไฮดรอลิกห ลัก กระบอกบังคับเครือ่ งค้ำยัน กว้านปั้นจั่น กว้านหลัก หัวต่อ ข้อต่อท่อน้ำมันไฮดรอลิกของอุปกรณ์ต่าง ๆ ลน้ิ ถา่ ย และถงั น้ำมนั เช้ือเพลิงด้านหนา้ ห้องเครื่องยนต์ จะถูกแยกจากห้องกว้าน และเครื่องอุปกรณ์ไฮดรอลิกโดยผนังกั้นทำด้วยแผ่นเหล็ก ภายในห้องเครื่องยนต์เป็นที่ติดตั้งเครื่องยนต์หลัก และเครื่องเปลี่ยนความเร็ว เครื่องกำเนิดกำลังสำรอง ระบบไฮดรอลิกสำรอง กระบอกบังคับคานปั้นจั่น แบตเตอรี่ประจำรถจำนวน 6 หม้อ ถังน้ำมันเชื้อเพลิง ดา้ นซ้ายและดา้ นขวา และท่อน้ำมนั เชอ้ื เพลิง ทอ่ น้ำมันไฮดรอลิก ตลอดจนชุดสายไฟต่าง ๆ 5. ระบบไฮดรอลกิ ของอุปกรณก์ ูซ้ ่อม กลา่ วทัว่ ไป รถสายพานก้ซู อ่ ม M88A1 ประกอบด้วยระบบไฮดรอลิก ยกจากกนั 2 ระบบ คอื ระบบไฮดรอลิกหลกั “ MAIN HIDRAULIC SYSTEM ” และระบบไฮดรอลิกสำรอง “ AUXILIARY HYDRAULIC SYSTEM ” 5.1 ระบบไฮดรอลิกหลัก ระบบน้จี ะไดร้ บั กำลังขับจากเครือ่ งส่งกำลงั ออก “ POWER TAKE OFF” ทางห้องเครือ่ งประกอบของเคร่อื งยนต์ เคร่ืองอุปกรณ์ท่ีทำงานด้วยระบบไฮดรอลิกหลกั ได้แก่ เครือ่ งค้ำยนั “ SPADE” คานปน้ั จั่น “BOOM” กวา้ นหลกั “ MAIN WINCH” และกวา้ นปัน้ จ่นั “ HOIST WINCH ” 5.2 ระบบไฮดรอลกิ สำรอง ระบบนี้จะไดร้ ับกำลังขับจากเครื่องยนต์ช่วย ผา่ นทางเครอ่ื งส่งกำลังออก ชุดโซ่และเฟืองขับ เครื่องอุปกรณ์ที่ทำงานด้วยระบบไฮดรอลิกสำรอง ได้แก่ ปั๊มสูบถ่ายน้ำมันเชื้อเพลิง “REFUEL DEFUEL PUMP ” และกุญแจไฮดรอลิก “ HYDRAULIC IMPACT WRNCH ” นอกจากนี้ เครื่องค้ำยัน ปั้นจั่น และกว้าน ยังสามารถทำงานด้วยระบบไฮดรอลิกสำรองได้ในกรณีฉุกเฉินเมื่อ เคร่ืองยนตห์ ลักเกดิ ขัดขอ้ ง 6. อปุ กรณก์ ูซ้ อ่ มประจำรถ รถสายพานกูซ้ ่อม M88A1 จะมีอุปกรณ์กซู้ ่อมต่าง ๆ คอื เครอ่ื งค้ำยัน กว้าน หลัก คานป้นั จนั่ และกวา้ นปนั้ จน่ั ซ่ึงอุปกรณ์ท้งั หมดทก่ี ลา่ วมานจี้ ะทำงาน และควบคุมการทำงานดว้ ย กำลังไฮดรอลิกทง้ั ส้ิน 6.1 เครื่องค้ำยัน “ SPADE” อุปกรณ์นี้ติดตั้งอยู่ในส่วนที่เป็นกระพุ้งของหน้ารถ โดยยึดติดกับแขน เครื่องค้ำยันซึ่งเป็นจุดหมุน 2 ข้าง แขนเครื่องค้ำยันนี้จะทำงานด้วยกระบอกไฮดรอลิกของเครื่องค้ำยัน ซึ่ง ติดตั้งอยู่ที่กว้านหลัก ในห้องอุปกรณ์ไฮดรอลิก เครื่องค้ำยันจะควบคุมการทำงานโดยพลขับ เพื่อใช้เป็นสมอ บกของรถเพื่อต้านแรงดึงของกว้านหลัก และใช้ค้ำยันรถให้ได้สมดุล ในขณะยกสิ่งของด้วยคานปั้นจั่น และ กว้านปั้นจั่น นอกจากนี้ใบมีดของเครื่องค้ำยันอาจใช้ทำการถากถาง หรือปรับระดับพื้นดิน ที่เป็นงานเบา ใน ยามฉกุ เฉนิ ได้ด้วย เมือ่ ไม่ใชง้ านเคร่ืองค้ำยันจะถูกยกข้ึนไวใ้ นตำแหน่งเกบ็ และยึดไวด้ ้วยกลอนแบบบังคับด้วย แรงแหนบ ทางด้านนอกของรถ กลอนยดึ นป้ี ลดกลอนได้ดว้ ยสายลวดดึงซ่งึ มคี ันบงั คบั อยู่ในห้องพลขับ 6.2 กว้านหลัก “ MAIN WINCH ” อุปกรณ์น้ีติดตั้งอยู่ในห้องกว้าน และเครื่องอุปกรณ์ไฮดรอลิกใต้ ห้องพลประจำรถ กว้านหลักสามารถฉุดลากน้ำหนักได้ 90,000 ปอนด์ เมื่อใช้การดึงโดยตรง ลวดกว้านหลักมี
ห น้ า | 52 ความยาว 200 ฟุต เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง 1 ¼ นิ้ว สามารถทนแรงดงึ ไดถ้ ึง 132,000 ปอนด์ ลวดกว้านหลักจะไดร้ ับ การจัดเรียงให้พันรอบล้อกว้านอย่างสม่ำเสมอกันด้วยเครื่องเรียงลวดกว้าน ซึ่งมีการทำงานร่วมกันกับกว้าน หลัก ทางออกของลวดกว้านหลัก จะอยู่ที่ช่องเปิดทางด้านหน้ารถ และที่ปลายลวดกว้านจะมีหูห่วงสำหรับยึด ติดกับสิ่งของหรือภารกรรมทีต่ อ้ งการกว้าน 6.3 คานปั้นจ่นั “ BOOM ” คานปนั้ จน่ั ทำด้วยท่อเหล็กกล้าเป็นรูปตวั เอ “ A ” และยดึ ตดิ กบั ตัวรถ ทั้ง 2 ด้านด้วยกระเดื่องหมุน และแขนกระเดื่องจะต่อยื่นลงไปทางด้านล่าง เพื่อต่อเข้ากับก้านสูบของ กระบอกไฮดรอลิกบังคับปน้ั จนั่ โดยกระบอกบังคบั ป้นั จนั่ ดา้ นล่างจะยึดติดอยู่กับตัวรถในห้องพลประจำ รถ คานป้ันจั่นจะยกขึ้น และลดต่ำลงด้วยแรงดันไฮดรอลิกจากการยืด และการหดตัวของก้านสูบกระบอก บังคับปั้นจั่น 2 ตัว ปลายด้านบนสุดของคานปั้นจั่น จะมีลวดรั้งคานปั้นจั่นยึดติดอยู่ และปลายอีกด้านหนึ่งจะ ยึดติดเข้ากับแขนกระเดื่องของกระบอกไฮดรอลิกบังคับลวดรั้งคานปั้นจั่น เพื่อทำให้คานปั้นจั่นสามารถยก นำ้ หนักได้ถงึ 50,000 ปอนด์ เมือ่ จกั รอกกว้านปน้ั จนั่ ใหม้ ีเส้นดึง 4 เส้น การทำงานของคานปน้ั จนั่ จะควบคุมได้ ด้วยคันบังคับภายในหอ้ งพลประจำรถ 6.4 กว้านปั้นจั่น “ HOIST WINCH ” อุปกรณ์นี้ติดตั้งอยู่ภายในห้องกว้าน และอุปกรณ์ไฮดรอลิ กของรถ กว้านปั้นจั่นสามารถยกน้ำหนักได้ 12,500 ปอนด์ เมื่อใช้เส้นดึงเดี่ยว และลวดกว้านขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 5/8 นิ้ว และจะยกน้ำหนักได้ 50,000 ปอนด์ เมื่อจัดรอกกว้านปั้นจั่นให้มีเส้นดึง 4 เส้น ล้อ กว้านจะติดต้งั อยรู่ ะหวา่ งใตพ้ นื้ รถ และชอ่ งเปิดของตวั รถในห้องพลประจำรถ ดา้ นบนของลอ้ กว้านจะมีลูกกล้ิง 2 อันเพื่อป้องกันไม่ให้ลวดกว้านเสยี ดสีกับหลังคารถ ลวดกว้านปั้นจั่น ยาว 200 ฟุต และสามารถทนแรงดงึ ได้ 34,000 ปอนด์ 7. อาวธุ รถสายพานกู้ซ่อม M88A1 จะติดตั้งปนื กล แบบ M2 ขนาด .50 นว้ิ ทางด้านบนของป้อมตรวจ การณข์ อง ผบ.รถ การบรรจกุ ระสนุ และการยงิ จะต้องกระทำโดยเปดิ ฝาปิดป้อมตรวจการณอ์ อก 8. ยทุ โธปกรณ์ช่วย 8.1 เครื่องกำเนิดกำลังสำรอง รถสายพานกู้ซ่อม M88A1 จะติดตั้งเครื่องกำเนิดกำลังสำรอง ประกอบด้วยเครื่องกำเนิดไฟฟ้า และปั๊มไฮดรอลิกสำรอง ซึ่งขับหมุนด้วยเครื่องยนต์ดีเซล 2 กระบอกสูบ ระบายความร้อนด้วยอากาศ โดยเครื่องกำเนิดไฟฟ้าจะเป็นแหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้า และใช้สำหรับประจุ แบตเตอรี่ประจำรถ จ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับชุดวิทยุ และอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ เมื่อเครื่องยนต์หลัก ขัดข้อง และปั๊มไฮดรอลิกจะเป็นแหลง่ กำเนิดกำลังไฮดรอลิกของระบบไฮดรอลิกสำรอง เคร่ืองยนต์ของเครื่อง กำเนิดกำลังสำรองจะไดร้ บั นำ้ มันเชื้อเพลงิ จากถังนำ้ มนั เช้ือเพลงิ ประจำรถ 8.2 ปั๊มสบู ถา่ ยน้ำมนั เชื้อเพลิง ปม๊ั น้ำมนั เชือ้ เพลงิ น้ี เป็นปั๊มแบบกลีบเฟืองหมนุ ตดิ ตง้ั อยู่ในห้อง ดา้ นขวาของรถ ปม๊ั จะทำงานด้วยแรงดนั ไฮดรอลกิ จากเครื่องกำเนิดกำลงั สำรอง และใชส้ ำหรับสูบนำ้ มัน เชอ้ื เพลงิ ใหแ้ ก่รถทมี่ ารบั การสนบั สนนุ หรือใช้สูบน้ำมนั ออกจากรถไดต้ ามความต้องการ 8.3 พดั ลมระบายอากาศ พัดลมระบายอากาศทำงานด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า จะติดตงั้ อยูบ่ นผนังตอน หนา้ ขวาของห้องพลประจำรถ เพอื่ ใช้ในการระบายอากาศ ออกจากหอ้ งพลประจำรถ 8.4 เคร่ืองทำความอบอนุ่ เคร่ืองทำความอบอนุ่ เป็นแบบติดตัง้ ทางดงิ่ ใชน้ ้ำมนั ดเี ซล จะตดิ ตงั้ อยู่ ด้านหลงั ทางขวาของหอ้ งพลประจำรถ และไดร้ ับนำ้ มันเชื้อเพลิงจากถังน้ำมนั เชอ้ื เพลิงประจำรถ 8.5 เคร่ืองดบั เพลงิ ระบบเครือ่ งดับเพลงิ มี 2 ชนดิ คอื - เคร่อื งดบั เพลิงประจำท่ี เปน็ ระบบบังคับใชง้ านได้ 2 ครั้ง ซงึ่ สามารถบังคบั ใชง้ านไดท้ ้งั จาก ภายในหอ้ งพลประจำรถ และจากภายนอกรถ เมอ่ื ทำงานระบบจะฉีดแก๊สคารบ์ อนไดออ๊ กไซด์ผ่านหัวฉดี 2 หวั เข้าไปในห้องกวา้ น และอปุ กรณ์ไฮดรอลกิ ใต้ห้องพลประจำรถ และฉีดผา่ นหวั ฉีดอกี 5 หัว เข้าไปในห้อง เคร่ืองยนต์
ห น้ า | 53 - เครอื่ งดบั เพลงิ เคลื่อนยา้ ยได้ จะมอี ยู่ 2 อัน ตดิ ตงั้ ไว้กบั แผงยดึ ในหอ้ งพลประจำรถ ใกล้ กับประตแู ต่ละขา้ งของรถ 8.6 เคร่อื งติดต่อส่อื สาร รถสายพานกซู้ อ่ ม M88A1 จะตดิ ต้ังเคร่อื งติดตอ่ ส่ือสารซงึ่ สามารถใชท้ ำ การติดตอ่ ภายในรถ และภายนอกรถได้ โดยมชี ุดวทิ ยบุ นแคร่วทิ ยอุ ยทู่ างตอนกลางด้านขวาของหอ้ งพลประจำ รถ 8.7 แผ่นป้ายชื่อ คำเตือน และคำแนะนำการใช้งานต่าง ๆ ในตัวรถ ที่เครื่องอุปกรณ์ และแผง ควบคมุ ตา่ ง ๆ จะมแี ผน่ ป้ายช่อื คำเตอื น และคำแนะนำการใชง้ านประจำอปุ กรณ์นัน้ ๆ ตดิ อยดู่ ว้ ย 9. มาตรทานรถ และรายละเอียด อาวุธ……………………. ปนื กล M2 ขนาด .50 นว้ิ จำนวน 1 กระบอก พลประจำรถ……………. 4 นาย เคร่อื งยนต…์ …………… ดีเซล วี 12 สจี่ ังหวะรอบ ระบายความร้อนด้วยอากาศ มเี คร่อื งเพม่ิ ไอดี แบบ AVDS 1790-2DR แรงมา้ …………………. 750 แรงม้า เม่อื หมุน 2,600 รอบ/นาที เคร่ืองเปลย่ี นความเร็ว…. ขับขวาง แบบ XT-1410-4 มีเกียรเ์ ดินหนา้ 3 ตำแหน่ง ถอยหลงั 1 ตำแหน่ง ชุดเฟืองเปล่ียนความเร็ว เครื่องทดเลย้ี ว เครือ่ ง บงั คบั เล้ยี วและเครอื่ งห้ามลอ้ รวมอยเู่ ปน็ หนว่ ยเดยี วกัน น้ำหนกั นำ้ หนักพร้อมรบ ( รถบรรทกุ ปอนด์ เตม็ ทพี่ ร้อมด้วยพลประจำรถ และส่งิ บรรทุก) …………………….. 112,000 นำ้ หนกั รถ ( รถพรอ้ มด้วยอาวธุ กระสนุ น้ำมนั เชอื้ เพลิง และหล่อล่ืน ปอนด์ ไมม่ ีพลประจำรถ และสิ่งบรรทุก) …… 105,000 นำ้ หนกั บรรทกุ ( นำ้ หนกั 7,000 ปอนด์ สิ่งบรรทุก และพลประจำรถ)………… ขนาด ความยาว……………………. 315 ½ นิ้ว (27 ฟุต 1 ½ นว้ิ ) ความกว้าง………………….. 135 นิว้ (11 ฟตุ 3 นว้ิ ) ความสงู ……………………. 123 น้ิว (10 ฟุต 3 นว้ิ ) ระยะห่างใตท้ ้องรถ………… 17 นว้ิ นำ้ หนกั กดพ้ืน……………… 10.9 ปอนด/์ ตร.นว้ิ ระบบไฟฟ้า………………… 24 โวลท์ เครื่องกำเนดิ ไฟฟ้า…………. 28 .7 โวลท์ ไฟตรง แบตเตอรี่ 12 โวลท…์ ……… จำนวน 6 หมอ้ ความจุ (โดยประมาณ เม่อื เตมิ ใหม)่ ถงั นำ้ มันเชือ้ เพลงิ (รวมทงั้ หมด).. 400 แกลลอน (US.) ถังดา้ นหน้า……………………. 252 แกลลอน
ห น้ า | 54 ถังดา้ นหลงั ขวา………………… 74 แกลลอน ถังด้านหลงั ซา้ ย..………………. 74 แกลลอน อา่ งนำ้ มันเครอ่ื งยนต์หลกั ……… 16.5 แกลลอน เครอ่ื งเปลีย่ นความเร็ว…………. 17 แกลลอน กวา้ นหลัก…………………….. 11 แกลลอน กว้านปน้ั จนั่ …………………… 3 แกลลอน อ่างนำ้ มันเครื่องยนต์ช่วย …….. 3 ½ ควอต ถงั น้ำมนั ไฮดรอลกิ …………… 95 แกลลอน หีบเฟืองขับปม๊ั ไฮดรอลิก ……. 1 แกลลอน สายพาน และเคร่อื งพยงุ ตัวรถ 84 ข้อ 12 ล้อ จำนวนขอ้ สายพานแตล่ ะเสน้ …. 6 ล้อ ล้อกดสายพาน (ล้อค)ู่ ………… คานรับแรงบิด ล้อรับสายพาน(ล้อคู่)………… การพยุงตวั รถ……………….. สมรรถนะ ความเรว็ สูงสุด……………………….. 26 ไมล์/ชม. ระยะปฏิบตั ิการ………………………. 300 ไมล์ ลยุ นำ้ ลกึ (ไม่ตดิ ต้งั อุปกรณล์ ยุ นำ้ ) …… 56 นว้ิ (ติดต้ังอปุ กรณ์ลุยน้ำลกึ ) …… 102 นว้ิ การปีนลาด…(ลาดตรง)……………… 60 เปอรเ์ ซ็นต์ ขา้ มเครือ่ งกดี ขวางทางดิ่ง (ดา้ นหน้า)… 42 นว้ิ ข้ามคูกวา้ ง……………………………. 103 นว้ิ ( 8 ฟตุ 7 นว้ิ ) รศั มีวงเลย้ี ว…………………………... หมนุ เลย้ี วอยูก่ บั ที่ ความส้นิ เปลืองนำ้ มนั เชื้อเพลิง………. 0.7 ไมล์/แกลลอน ความส้นิ เปลืองนำ้ มันหลอ่ ลน่ื ของ เคร่อื งยนตห์ ลกั ทีอ่ นมุ ัติให้)…………. 0.2 แกลลอน/ชม. นำ้ หนกั ฉุดลากของรถ ………………. 90,000 ปอนด์ คานปัน้ จั่น ตัน ตนั 6 ตนั คานป้นั จ่ันรับน้ำหนกั ได…้ ……………25 20 ความสามารถในการยกของกว้านปั้นจน่ั ตัน ไมใ่ ชเ้ ครื่องค้ำยัน เสน้ ดงึ เดี่ยว………… ไม่ใช้เครอ่ื งคำ้ ยนั ประกอบชดุ รอก ใหม้ เี สน้ ดงึ 4 เส้น……………………… ใช้เครอื่ งคำ้ ยนั ประกอบชุดรอก ให้มีเส้นดึง 4 เส้น……………………… 25 ความสงู ของคานปน้ั จ่ัน
ห น้ า | 55 ทร่ี ะยะ 8 ฟตุ ………………………….. 22.54 ฟตุ ทร่ี ะยะ 4 ฟุต …………………………. 25.125 ฟตุ กว้านปน้ั จั่น ขนาดเสน้ ผ่าศนู ย์กลางของลวดกว้าน… 5/8 นว้ิ ความยาว …………………………….. 200 ฟุต นำ้ หนกั ฉดุ ลาก และความเร็วในการดงึ เม่อื ใชเ้ สน้ ดงึ 4 เสน้ ทล่ี วดกวา้ นชั้นแรก……………………….. 50,000 ปอนด์ 9 ฟตุ /นาที ท่ลี วดกว้านชน้ั บนสุด…………………….. 30,000 ปอนด์ 13 ฟุต/นาที กวา้ นหลกั ขนาดเส้นผ่าศูนยก์ ลางของลวดกว้าน…….. 1 1/4 นว้ิ ความยาว …………………………………. 200 ฟตุ น้ำหนักฉุดลาก และความเร็วในการดงึ ที่ลวดกวา้ นชน้ั แรก……………………….. 90,000 ปอนด์ 20 ฟุต/นาที ที่ลวดกว้านชน้ั บนสุด…………………….. 54,100 ปอนด์ 42 ฟุต/นาที กุญแจไฮดรอลกิ …………………………. แบบ BML15436 เครื่องทศั นะ กลอ้ ง กลอ้ ง กล้องตรวจการณ์ M17 จำนวน…………… 7 กล้องตรวจการณอ์ ินฟราเรด M24 ……….. 2 ยุทโธปกรณช์ ว่ ย เคร่อื งดบั เพลงิ ประจำที่ (2 ฝง่ั , ฝง่ั ละ 4 หม้อ ).. 8 หมอ้ แบบ…………………………………………. คาร์บอนไดอ๊อกไซด์ นำ้ หนกั …………. ….……………………….. 10 ปอนด์ (หม้อละ) น้ำหนักรวม (หมอ้ บรรจุ และนำ้ ยาดับเพลิง)…. 45 ปอนด์ (หม้อละ) เครื่องดบั เพลิงเคลอ่ื นยา้ ยได้ ………………… 2 หม้อ แบบ…………………………………………. คาร์บอนไดออ๊ กไซด์ น้ำหนัก…………. ….……………………….. 5 ปอนด์ (หมอ้ ละ) น้ำหนกั รวม (หมอ้ บรรจุ และน้ำยาดับเพลิง)…. 15.5 ปอนด์ (หม้อละ) เครื่องติดตอ่ สอ่ื สาร ชุดวิทยุ AN/VRC-44, 46 หรอื 64 พรอ้ มเครอื่ งป้องกันวงจร MX-7778A และ เครอื่ งติดต่อภายในรถ AN/VIC-1
ห น้ า | 56 เคร่ืองควบคุมในห้องพลขบั ( CREW COMPARTMENT CONTROLS ) 1. หีบควบคมุ เครอ่ื งติดต่อภายในรถของพลขบั 13. สวิตชก์ ดลำแสงไฟใหญ่ 1.1 สวิตช์ควบคมุ วงจรลัน่ ไกเคร่ืองยงิ ลย.ควัน M239 14. คันห้ามล้อ 2. คันบงั คบั ฝาปดิ หอ้ งชา่ ง 15. คันป๊มั สบู ล่อ 3. แทง่ แก้วตรวจการณข์ องพลขับและช่าง 16. คนั ดบั เครื่องยนต์ด้วยมอื 4. กล้องตรวจการณ์ M17 17. คันเรง่ มือ 5. หีบควบคมุ เครื่องติดตอ่ ภายในรถของช่าง 18. คันกลอนยึดเคร่ืองคำ้ ยัน 6. คันบังคับกว้านฉุกเฉนิ ของเครื่องกำเนิดกำลงั สำรอง 19. แผงสวติ ช์ 7. แผงคันบังคบั อปุ กรณไ์ ฮดรอลกิ 20. แผงเคร่ืองวัด 8. คันบังคบั ลน้ิ ถ่ายน้ำ 21. สวิตชค์ วบคมุ เคร่อื งกำเนดิ ไฟแรงสูงของ 9. คันตัด-ต่อกำลงั กวา้ นหลกั กล้องตรวจการณอ์ ินฟราเรด และไฟเตอื น 10. แผงควบคุมเครื่องกำเนิดกำลงั สำรอง 21.1 สวติ ช์เครอื่ งสร้างฉากควันและไฟเตือน 11. คันเกยี รเ์ คร่ืองเปลีย่ นความเร็ว 22. คันบังคับเล้ยี ว
ห น้ า | 57 เครือ่ งควบคมุ ในห้องพลประจำรถ (CREW COMPARTMENT CONTROLS) แผงเครือ่ งวัด แผงสวิตช์ และแผงบงั คบั อุปกรณ์ไฮดรอลิก แผงเครอื่ งวดั “ GAGE PANEL ”
ห น้ า | 58 ลำดบั ชอ่ื อุปกรณ์ หนา้ ท่แี ละการใชง้ าน 1. ไฟเตือนความดนั น้ำมันตำ่ ของหบี เฟอื งขับ ติดสวา่ งข้ึนเมื่อความดนั เคร่ืองของหีบเฟืองขบั ปม๊ั ไฮ ดรอลกิ มีความดนั 4 ปอนด/์ ตร.นิ้ว หรือต่ำกวา่ ป๊มั ไฮดรอลิก - เมอ่ื แสดงสภาพแบตเตอรี่ เข็มเครื่องวัด ควรช้อี ยู่ 2. เครื่องวดั ไฟฟ้า แสดงสภาพของแบตเตอรี่ ในแถบสีเหลือง - เมือ่ แสดงสภาพเครื่องกำเนดิ ไฟฟา้ เข็มเครื่องวดั เมอ่ื เครือ่ งยนตด์ ับ และแสดงสภาพของ ควรชี้อย่ใู นแถบสีเขียว เครอ่ื งกำเนดิ ไฟฟ้าเม่ือเคร่ืองยนต์ตดิ - อุณหภมู ใิ ช้งานปกติ 140 – 240 ฟ. 3. เคร่อื งวดั อณุ หภมู ินำ้ มันเครื่องยนต์ - ยา่ นอนั ตราย 245 5 ฟ. แผงเครื่องวดั “ GAGE PANEL ” (ตอ่ ) หน้าที่และการใชง้ าน ลำดับ ชอ่ื อปุ กรณ์ ความดนั ใช้งานปกติ 40 – 70 ปอนด/์ ตร.นิว้ ณ 4. เครอื่ งวัดความดันนำ้ มันเครือ่ งยนต์ 4,000 รอบ/นาที และ 15 ปอนด/์ ตร.นว้ิ ณ รอบ เดินเบา 675-725 รอบ/นาที 5. เครื่องวดั อุณหภมู ินำ้ มนั เคร่ืองเปล่ียน - อณุ หภมู ใิ ช้งานปกติ 160 - 280 ฟ. ความเรว็ - ยา่ นอนั ตราย 285 5 ฟ. 6. เคร่อื งวัดความดนั นำ้ มนั เคร่อื งเปลยี่ น ความเร็ว ความดันใช้งานปกติ 17 2 ปอนด/์ ตร.นวิ้ ณ 4,000 รอบ/นาที และ 5 ปอนด/์ ตร.น้ิว ณ รอบเดนิ 7. เครอ่ื งวัดความเรว็ และเครอ่ื งบันทึก เบา 675-725 รอบ/นาที ระยะทาง วัดความเร็วของรถเปน็ ไมล์/ชม. - ความเรว็ ในเกยี ร์ 1 0 – 5 ไมล์/ชม.
ห น้ า | 59 - ความเร็วในเกียร์ 2 5 – 12 ไมล์/ชม. 8. ไฟสอ่ งหน้าปัดเครื่องวัด ( 3 ดวง ) - ความเรว็ ในเกยี ร์ 3 12 – 26 ไมล์/ชม. ส่องสว่างหน้าปัดเครือ่ งวัดต่าง ๆ ควบคุม และปรบั 9. เครื่องวัดรอบเครื่องยนต์ และบันทึกชั่วโมง ความสวา่ งไดจ้ ากสวิตช์ควบคุมระบบแสงสวา่ ง ใชง้ าน แสดงรอบความเรว็ ของเครอ่ื งยนต์ ขดี มาตราบน หน้าปดั แสดงคา่ ขีดละ 100 รอบ/นาที ขอ้ ควรระวัง อยา่ เรง่ เครื่องยนต์เกิน 1,640 - รอบเดนิ เบาปกติ 675 - 725 รอบ/นาที รอบ/นาที นานกวา่ 2 – 3 วนิ าที - รอบเดินเบาสูง 1,000 – 1,200 รอบ/นาที - รอบความเรว็ สูง 2,400 – 2,640 รอบ/นาที รอบใช้งานเครื่องอุปกรณ์ไฮดรอลกิ - เตรียมใชง้ าน 675 – 725 รอบ/นาที 10. ไฟเตือนหลัก และเเตรเตอื น - ใช้งาน 1500 – 1800 รอบนาที ไฟเตอื นหลกั จะตดิ สวา่ ง และเสยี งแตรจะดงั ขึ้นเมือ่ - อุณหภมู นิ ำ้ มันเครื่องยนต์สูงถึง 245 5 ฟ. - ความดนั น้ำมนั เคร่ืองยนต์ตำ่ กว่า 13 ปอนด/์ ตร.น้ิว เมื่อเริ่มติดเครื่องยนต์ หรือต่ำกว่า 9 ปอนด์/ตร.น้ิว ในขณะใช้งาน แผงเครื่องวดั “ GAGE PANEL ” (ตอ่ ) ลำดับ ชื่ออุปกรณ์ หน้าทแ่ี ละการใช้งาน 10. ไฟเตอื นหลกั และเเตรเตือน (ตอ่ ) - อุณหภมู นิ ำ้ มันเครอื่ งเปลยี่ นความเร็วสงู ถงึ 285 5 ฟ. - เมื่อเปดิ สวติ ชแ์ บตเตอรีท่ ง้ิ ไว้ในตำแหนง่ เปิด 11. เคร่อื งวดั นำ้ มันเช้อื เพลงิ “ON” ในขณะเคร่อื งยนตด์ ับ แสดงปริมาณน้ำมันเช้ือเพลิงในถงั ดา้ นหนา้ หรือถัง 12. สวิตชเ์ ลือกวดั น้ำมันเช้ือเพลิง ดา้ นหลัง ตามตำแหนง่ ของสวิตชเ์ ลือกวัด - เมือ่ ก้านสวติ ชอ์ ยู่ทีต่ ำแหนง่ “FRONT” จะวดั น้ำมนั เชือ้ เพลงิ ในถงั ดา้ นหน้า - เมอ่ื กา้ นสวติ ช์อย่ทู ี่ตำแหนง่ “REAR” จะวดั นำ้ มันเช้ือเพลงิ ในถังด้านหลงั
ห น้ า | 60 แผงสวติ ช์ “SWITCH PANEL” ลำดบั ชื่ออุปกรณ์ หน้าทีแ่ ละการใช้งาน 1. สวติ ช์แบตเตอร่ี (MASTER SWITCH) เปิด-ปิดกระแสไฟฟ้าในระบบจ่ายกระแสไฟฟ้าของ รถ 2. ไฟเตอื นสวิตชแ์ บตเตอร่ี ติดสว่างขึ้นเมื่อเปิดสวิตช์แบตเตอรี่ไว้ในตำแหน่ง “ON” 3. สวิตช์ควบคุมระบบแสงสวา่ ง ควบคุมระบบแสงสว่างภายนอกรถ และไฟส่อง หน้าปัดเคร่อื งวดั 4. สวิตชห์ มุนเครอ่ื งยนต์ หมนุ ติดเครอื่ งยนต์ 5. สวติ ช์ปมั๊ น้ำมนั เช้อื เพลิง ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง ตามปกติ จะจดั ไวใ้ นตำแหนง่ เปดิ “ON” 6. สวิตช์ดบั เครือ่ งยนต์ ดับเครือ่ งยนตด์ ้วยการตดั น้ำมนั เชอ้ื เพลงิ 7. สวติ ช์เลือกตำแหนง่ ไฟพรางขบั เลอื กตำแหน่งไฟพรางขับธรรมดา “BO.DRIVE” หรือตำแหน่งไฟพรางขบั อินฟราเรด “IR.” การใชง้ านโคมไฟเพดาน “DOME LIGHT” - การเปิดไฟสีแดง ให้หมุนก้านสวติ ช์ตง้ั ขน้ึ - การเปิดไฟสีขาว ใหก้ ดกลอนนริ ภยั ท่ีปลายก้านสวติ ช์ แล้วหมุนก้านสวิตชล์ ง - การปิดไฟสขี าว ให้กดกลอนนิรภยั ทีป่ ลายก้านสวิตช์ แลว้ หมนุ ก้านสวติ ชต์ ้ังข้ึน
ห น้ า | 61 แผงคันบงั คบั อุปกรณไ์ ฮดรอลิก “HYDRAULIC CONTROL PANEL” ข้อควรระวัง ลนิ้ ระบายแรงดนั ไดจ้ ดั ปรบั ไวถ้ กู ต้องแล้ว อย่าพยายามจัดปรบั อีก ข้อควรระวัง อย่าเร่งเครื่องยนต์เกิน 1,800 รอบ/นาที เมื่อใช้งานอุปกรณ์ไฮดรอลิก และรอบความเร็วต่ำสุด เมอ่ื ใช้งานกวา้ นหลัก 1,500 รอบ/นาที ลำดบั ชอ่ื อปุ กรณ์ หน้าทีแ่ ละการใช้งาน 1. คันบงั คบั ปั้นจน่ั - เมื่อผลักคันบังคับไปที่ตำแหน่ง “FORWARD” จะ “ BOOM OPERATING LEVER” ทำให้คานปัน้ จ่ันยกขึน้ - เมื่อผลักคันบังคับไปที่ตำแหน่ง “RETRACT STOW” จะทำใหค้ านป้ันจ่ันลดต่ำลง - เมื่อปล่อยคันบังคับ ๆ จะกลับคืนสู่ตำแหน่ง “HOLD” เองด้วยแรงแหนบ และคานปั้นจั่นจะถูก ยดึ ไว้ในตำแหนง่ น้นั แผงคันบงั คบั อุปกรณไ์ ฮดรอลกิ “HYDRAULIC CONTROL PANEL” (ตอ่ ) ลำดบั ชอื่ อุปกรณ์ หนา้ ท่ีและการใช้งาน 2. คันเลอื กระบบไฮดรอลิก - เลือกใช้ระบบไฮดรอลิกสำรอง เมื่อจัดคันบังคับไว้ “SYSTEM SELECTOR LEVER” ในตำแหน่ง “AUX” - เลือกใช้ระบบไฮดรอลิกหลัก เมื่อจัดคันบังคับไว้ใน ตำแหน่ง “MAIN” - เลือกใช้ระบบไฮดรอลิกหลัก เมื่อจัดคันบังคับไว้ใน ตำแหน่ง “MAIN” 3. คันบังคบั เคร่ืองค้ำยัน - ใชง้ านปั๊มสบู ถา่ ยน้ำมันเชอ้ื เพลิง และกญุ แจไฮ- “SPADE OPERATING LEVER” ดรอลิกเม่อื จดั คันบังคับไว้ในตำแหน่ง “REFUEL”
ห น้ า | 62 - เมื่อผลักคันบังคับไปที่ตำแหน่ง “RAISE” จะทำให้ ใบมดี คำ้ ยนั ยกตวั ขนึ้ - เมื่อผลักคันบังคับไปที่ตำแหน่ง “LOWER” จะทำ ให้ใบมดี คำ้ ยนั ลดตำ่ ลง - เมื่อปล่อยคันบังคับ ๆ จะกลับคืนสู่ตำแหน่ง “HOLD” เองด้วยแรงแหนบ และใบมดี คำ้ ยันจะ 4. คันบงั คบั กวา้ นหลัก ถกู ยึดไวใ้ นตำแหน่งนั้น “MAINWINCH OPERATING LEVER” - เมื่อผลักคนั บงั คับไปทีต่ ำแหน่ง “PAYOUT” จะทำ ให้ลวดกวา้ นถูกคลายออก - เมื่อผลักคันบังคับไปที่ตำแหน่ง “INHAUL” จะทำ ให้ลวดกว้านถูกม้วนเข้า - เมื่อปล่อยคันบังคับ ๆ จะกลับคืนสู่ตำแหน่ง “HOLD” เองด้วยแรงแหนบ และล้อกว้านจะถูกยึด 5. คันบงั คบั ป๊มั ไฮดรอลกิ หลัก ไวใ้ นตำแหน่งน้นั “POWER CONTROL LEVER” - เมื่อผลักคันบังคับไปที่ตำแหน่ง “ON” จะทำให้ ป๊ัมไฮดรอลิกหลกั ทำงาน - เมื่อผลักคันบังคับไปที่ตำแหน่ง “OFF” จะทำให้ ปมั๊ ไฮดรอลกิ หลักหยดุ ทำงาน - คันบังคับจะถกู ยดึ ไวใ้ นตำแหน่งที่เลือกใชง้ าน แผงคนั บังคบั อุปกรณไ์ ฮดรอลกิ “HYDRAULIC CONTROL PANEL” (ตอ่ ) ลำดบั ชื่ออปุ กรณ์ หนา้ ที่และการใชง้ าน 6. คนั บงั คับกว้านปน้ั จน่ั - เมื่อผลักคันบังคับไปที่ตำแหน่ง “LOWER” จะทำ “HOIST WINCH OPERRATING LEVER” ให้ลวดกวา้ นถกู คลายออก (ปล่อยภารกรรมลง) - เมื่อผลักคันบังคับไปที่ตำแหน่ง “RAISE” จะทำให้ ลวดกวา้ นถกู มว้ นเขา้ (ยกภารกรรมข้นึ ) - เมื่อปล่อยคันบังคับ ๆ จะกลับคืนสู่ตำแหน่ง “HOLD” เองด้วยแรงแหนบ และล้อกว้านจะถูกยึด คนั บงั คบั “ BOOM SAFETY CONTROL” ไวใ้ นตำแหนง่ นน้ั 7. - เมื่อผลกั คันบังคับไปที่ตำแหน่ง “STOW” จะทำให้ คานปน้ั จ่ันสามารถโยกไปขา้ งหนา้ ไดจ้ นสุด คันตัดตอ่ กำลังกวา้ นหลัก - เมื่อปล่อยคันบังคับ ๆ จะกลับไปที่ตำแหน่ง “MAINWINCH SHIFT LEVER” “LIVE” เองดว้ ยแรงแหนบ 8. - เมื่อผลักคันบังคับไปที่ตำแหน่ง “LOW” ล้อกว้าน จะหมนุ ช้า ใชเ้ พ่ือฉดุ ลากภารกรรมหนัก - เมื่อผลักคันบังคับไปที่ตำแหน่ง “HIGH” ล้อกว้าน จะหมุนเร็วใช้เพ่อื ฉุดลากภารกรรมเบา - ตำแหน่งว่าง “NEUTRAL” ใช้เพื่อตัดกำลังที่ส่งไป ขับกว้านหลกั เมอ่ื เลิกใช้งาน - คนั บังคบั จะถกู ยึดไว้ในตำแหนง่ ทีเ่ ลอื กใชง้ าน 9. คันตัดตอ่ กำลงั กวา้ นปนั้ จั่น
ห น้ า | 63 “HOIST WINCH SHIFT LEVER” - เมื่อผลักคันบังคับไปที่ตำแหน่ง “LOW” ล้อกว้าน จะหมุนช้า ใชเ้ พ่ือยกภารกรรมหนกั - เมื่อผลักคันบังคับไปที่ตำแหน่ง “HIGH” ล้อกว้าน จะหมนุ เรว็ ใช้เพอื่ ยกภารกรรมเบา - ตำแหน่งว่าง “NEUTRAL” ใช้เพื่อตัดกำลังที่ส่งไป ขบั กว้านปั้นจ่ันเม่อื เลิกใช้งาน - คันบังคบั จะถูกยดึ ไว้ในตำแหน่งท่เี ลอื กใชง้ าน คันบังคบั นี้จะตดิ ตั้งอยู่บนพืน้ รถ ทางด้านซ้าย หลังท่ี นง่ั พลขับ แผงสวิตชเ์ คร่อื งอุปกรณ์ชว่ ย “ACCESSORIES PANEL” ลำดับ ชื่ออปุ กรณ์ หนา้ ทีแ่ ละการใชง้ าน 1. สวิตชไ์ ฟหอ้ งกวา้ น เปดิ -ปดิ ไฟส่องสว่างหอ้ งกว้าน 2. สวิตช์พดั ลมระบายอากาศ เปิด-ปดิ พดั ลมระบายอากาศ 3. ไฟเตือนสวิตชเ์ ครื่องกำเนดิ ไฟฟา้ ของ จะดับลงเมือ่ สวติ ชเ์ ครอ่ื งกำเนดิ ไฟฟ้าอยู่ในตำแหน่ง เปดิ “ON” เครอื่ งยนต์หลกั เปดิ -ปิดเครื่องกำเนิดไฟฟา้ ของเครอ่ื งยนต์หลัก 4. สวิตชเ์ คร่อื งกำเนดิ ไฟฟา้ ของ ตามปกตจิ ะตอ้ งอยใู่ นตำแหนง่ เปดิ “ON” โดยกา้ น สวติ ชอ์ ยูท่ างดา้ นล่าง เครอื่ งยนตห์ ลกั เสียบต่อสายโคมไฟสอ่ งสว่างในขณะทำการซ่อม บำรุง 5. เต้าเสยี บสายไฟเลก็ เปดิ -ปดิ ปม๊ั สูบน้ำพ้ืนรถ ตดิ สว่างขึน้ เม่ือสวิตชป์ ั๊มสบู น้ำอยใู่ นตำแหนง่ 6. สวติ ชป์ ๊มั สบู น้ำ เปดิ “ON” 7. ไฟเตอื นสวิตชป์ ๊ัมสบู นำ้
ห น้ า | 64 แผงควบคุมเคร่อื งกำเนิดกำลงั สำรอง “AUXILIARY POWER UNIT CONTROL BOX” ลำดับ ชื่ออุปกรณ์ หนา้ ท่แี ละการใชง้ าน 1. สวติ ชห์ มนุ เครอ่ื งยนต์ “START” หมุนตดิ เคร่ืองยนตข์ องเครือ่ งกำเนดิ กำลังสำรอง 2. สวติ ชด์ ับเครอื่ งยนต์ “FUEL SHUTOFF” ดับเครื่องยนต์เครื่องกำเนิดกำลังสำรอง ด้วยการตัด น้ำมันเชือ้ เพลงิ 3. สวิตชอ์ ่นุ ไอดี “PREHEAT” เปิด-ปิดชุดอุ่นไอดขี องเครื่องยนต์ชว่ ย 4. เครือ่ งวดั ความดนั น้ำมันเครื่องยนต์ แสดงค่าความดนั น้ำมันเคร่ืองยนต์ช่วย ความดนั ใช้ งานปกติ 25-36 ปอนด์/ตร.นว้ิ “ENGINE OIL PRESSURE” ติดสว่างขึ้นเพื่อแสดงว่าน้ำมันเครื่องยนตช์ ่วยมีความ 5. ไฟเตอื นความดันน้ำมันเครอ่ื งยนตต์ ำ่ ดนั ตำ่ ติดสว่างขึ้นเพื่อแสดงว่าอุณหภูมิอากาศระบายความ “LOW OIL PRESS” ร้อนของเครอ่ื งยนตช์ ่วยรอ้ นจดั เกนิ ควร 6. ไฟเตือนอณุ หภมู สิ ูง “HIGH AIR TEMP” เปิด-ปิดเครื่องกำเนิดไฟฟ้าของเครื่องกำเนิดกำลัง สำรอง 7. สวติ ช์เครื่องกำเนิดไฟฟ้า “APU GEN”
ห น้ า | 65 ตอนท่ี 2 การใชง้ านรถในสภาวการณป์ กติ กลา่ วท่ัวไป ก่อนติดเครื่องยนต์ และนำรถออกใช้งาน ต้องทำการปรนนิบัติบำรุงก่อนใช้งานให้เสร็จ สมบูรณ์เสยี กอ่ น คำแนะนำก่อนติดเคร่อื งยนต์ 1. ก่อนนำรถออกใช้งาน ตอ้ งม่นั ใจว่าพลขับคุน้ เคยกับเคร่ืองควบคุม ไฟเตอื น และเครือ่ งวัดตา่ ง ๆ 2. ถ้าพบแผ่นป้ายซึ่งบันทึกข้อบกพร่องต่าง ๆ ไว้ในห้องพลขับ ต้องทำการแก้ไขข้อบกพร่องตามที่ บันทกึ ไวน้ น้ั ใหเ้ สร็จเรียบรอ้ ยก่อนใชง้ านรถ 3. ถ้าเครื่องยนต์ของรถเป็นเครื่องยนต์ใหม่ หรือเป็นเครื่องยนต์ที่ได้รับการซ่อมใหญ่ ต้องปฏิบัติตาม กรรมวธิ ีการใหบ้ รกิ ารเคร่อื งยนต์ใหม่ 4. ตรวจให้แน่ใจว่าเครื่องควบคุมต่าง ๆ ของรถสายพานกู้ซ่อม M88A1 ติดตั้งอยู่ในตำแหน่งเดิมของ มันอย่างถูกต้อง และมั่นคง ฝาปิด ประตู รวมทั้งสิ่งอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้รับการเก็บเข้าที่อย่างเรียบร้อย และ มั่นคง ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะเป็นหลักประกันว่า จะสามารถใช้งานรถได้อย่างมีประสิทธิภาพ และปลอดภัยต่อพล ประจำรถ อย่าละเลยหรือเพิกเฉย ในการปฏบิ ตั คิ วรตรวจสิ่งตา่ ง ๆ ด้วยตัวท่านด้วยเสมอ 5. พลขบั ต้องปรับทนี่ ง่ั ให้เหมาะสมกับรา่ งกายของตน เพ่อื ไม่ต้องทำการปรับในขณะกำลังขบั รถ การตดิ เครื่องยนตห์ ลกั คำเตอื น ถ้าใช้งานรถด้วยการปิดห้องพลประจำรถ ต้องตรวจให้แน่ใจว่ากระเดื่องบังคับอากาศของหม้อกรอง อากาศไดจ้ ัดไวใ้ นตำแหนง่ รับอากาศจากภายนอกรถ “OUTSIDE” กอ่ นที่จะติดเครอ่ื งยนต์ การปฏิบตั กิ ่อนติดเครื่องยนต์ ก่อนติดเคร่อื งยนตค์ วรทำการตรวจ และปรนนิบตั ิบำรงุ ส่งิ ตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1. ระบบพยงุ ตวั รถ 2. ระดบั นำ้ มันหล่อลนื่ ของเครือ่ งยนต์ และเครอ่ื งเปล่ยี นความเรว็ 3. ระดับน้ำมนั ในถงั นำ้ มันไฮดรอลิก หีบเฟืองขับป๊มั ไฮดรอลกิ กว้านหลกั และกว้านปั้นจัน่ 4. เครื่องดบั เพลงิ ประจำรถ 5. แผงเครอื่ งวดั 6. เครอื่ งควบคุมต่าง ๆ เช่นคนั บังคบั เลยี้ ว คนั เกียร์ คันเรง่ และคันหา้ มลอ้ เปน็ ต้น 7. เครื่องยนต์ช่วย การตดิ เครอ่ื งยนต์หลัก (ขั้นตอน) 1. จัดสวิตช์วิทยุ และอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ไว้ในตำแหน่งปิด “OFF” ก่อนทำการติดเครื่องยนต์ และ ดบั เครื่องยนต์ 2. จัดคันเกยี ร์เครอ่ื งเปลย่ี นความเร็วไวใ้ นตำแหนง่ จอดรถ “P” เหยียบคนั ห้ามล้อเพื่อยึดหา้ มลอ้ จอดรถ จัดคันบังคับเล้ยี วไว้ในตำแหนง่ กลาง และยึดไว้ในตำแหน่งน้ี 3. จัดสวิตช์แบตเตอรี่ไว้ในตำแหน่งเปิด “ON” ตรวจสวิตช์ปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิงซึ่งควรอยู่ในตำแหน่ง เปิด “ON” เสมอ โดยมีฝาครอบสวิตช์ปิดไว้ ไฟเตือนหลัก และไฟเตือนหีบเฟืองขับปั๊มไฮดรอลิกควรจะติด สวา่ งอยู่ตลอดเวลาจนกวา่ เคร่ืองยนตจ์ ะติด
ห น้ า | 66 4. โยกคันปั๊มสูบล่อจนรู้สึกว่ามีแรงต้านกลับ (ประมาณ 3-4 ครั้ง ) เพื่อไล่อากาศออกจากท่อน้ำมัน เชือ้ เพลงิ 5. กดคันเร่งลงประมาณ 2/3 –3/4 ของระยะคันเร่ง กดสวิตช์หมุนเครื่องยนต์ให้แน่นจนกว่า เครือ่ งยนตต์ ิด ปลอ่ ยคันเร่งเม่ือเครือ่ งยนตต์ ดิ แลว้ ไฟเตอื นหลักควรจะดบั สนิทภายใน 20 วินาที (อย่ากดสวติ ช์ หมุนเครื่องยนต์นานเกินกว่า 15 วินาที ถ้าเครื่องยนต์หมุนแต่ไม่ติด ให้ปิดสวิตช์แบตเตอรี่ และรอ 3 – 5 นาที แลว้ จึงติดเครือ่ งยนตซ์ ้ำอีก และถ้าเครอ่ื งยนตย์ ังไมต่ ดิ เมือ่ พยายามเป็นคร้ังที่ 2 ใหท้ ำการตรวจ แก้ไขข้อขัดข้อง ) ถ้าแบตเตอรี่มีไฟน้อยจนไม่พอหมุนเครื่องยนต์ ให้ติดเครื่องยนต์ช่วยเพื่อประจุแบตเตอรี่เป็นเวลา 20 นาที หรือใช้วธิ ีติดเครอ่ื งยนต์ด้วยสายพ่วงไฟจากรถคนั อน่ื 6. ตั้งคันเร่งมือไว้ให้เครื่องยนต์เดินประมาณ 1,000-1,200 รอบ/นาที เพื่ออุ่นเครื่องยนต์เป็นเวลา 3 นาที แล้วจงึ ปลอ่ ยให้เครื่องยนต์เดินเบา 675-725 รอบ/นาที 7. ตรวจให้แน่ใจว่าพัดลมระบายความร้อนของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าทำงาน เมื่อเครื่องยนต์ติด ด้วยการ ใช้กระดาษ หรือเศษผ้าวางไว้หน้าช่องรับอากาศเข้าเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ถ้าวัตถุดังกล่าวถูกดูดเข้าไปติดช่องรับ อากาศแสดงวา่ พดั ลมใชก้ ารได้ แต่ถา้ ไม่ถูกดูดใหด้ บั เคร่อื งยนต์ และแจง้ ช่างซอ่ มบำรุง 8. ตรวจการทำงานตามปกติของเครื่องยนต์ โดยสังเกตจากเครื่องวัดต่าง ๆ ไฟเตือนควรจะดับสนิท ภายใน 20 วนิ าที หลังจากเคร่อื งยนตต์ ดิ ความดันนำ้ มนั เครื่องยนตค์ วรอา่ นค่าได้ 15 ปอนด์/ตร.นิ้วที่รอบเดิน เบา และอ่านคา่ ได้ 40-70 ปอนด/์ ตร.นวิ้ ท่ี 2,400 รอบ/นาที ความดันนำ้ มันเคร่อื งเปลยี่ นความเร็วควรอ่านค่า ได้ 5 ปอนด์/ตร.นิ้วที่รอบเดินเบา และอ่านค่าได้ 15-29 ปอนด์/ตร.นิ้ว ที่ 2,400 รอบ/นาที และถ้าปรากฏว่า ไฟเตอื นติดสวา่ งข้นึ ในขณะเครือ่ งยนตต์ ดิ ใหด้ ับเครื่องยนต์ การดบั เครื่องยนต์ 1. จัดคันเกียร์ไว้ในตำแหน่งจอดรถ “P” เหยียบห้ามล้อเพื่อใส่ห้ามล้อจอดรถ เร่งเครื่องยนต์ไว้ 1,000-1,200 รอบ/นาที เพือ่ ใหเ้ คร่อื งยนตเ์ ย็นลง ถ้าเป็นการดับเครอ่ื งยนตห์ ลังการนำรถออกใช้งาน 2. จัดสวิตชเ์ ครือ่ งอปุ กรณไ์ ฟฟา้ ต่าง ๆ ไวใ้ นตำแหน่งปิด “OFF” ยกเว้นสวติ ช์แบตเตอรี่ แล้วกดสวิตช์ ดบั เครือ่ งยนต์ลงจนเครอ่ื งยนต์ดับสนิท 3. จัดสวิตช์แบตเตอรี่ไว้ในตำแหน่งปดิ “OFF” โดยต้องแน่ใจวา่ เครือ่ งยนต์ดับสนทิ แล้ว ก่อนปิดสวิตช์ แบตเตอร่ี เพือ่ ใหเ้ ครือ่ งยนต์เผาไหมน้ ำ้ มนั เชือ้ เพลงิ จนหมดเสยี กอ่ น การตดิ เครื่องยนตห์ ลกั ดว้ ยวิธกี ารใช้สายพ่วงไฟ หมายเหตุ รถสายพานกซู้ อ่ ม M88A1 จะใช้เตา้ เสยี บสายพว่ งไฟแบบนาโต้ ซึง่ ตอ้ งใช้หัวตอ่ เสรมิ เมอ่ื ใชส้ ายพ่วงไฟร่นุ เกา่ ข้อควรระวงั จัดสวติ ชว์ ิทยุ และอุปกรณไ์ ฟฟา้ ต่าง ๆ ไว้ในตำแหนง่ ปดิ “OFF” กอ่ นทำการติดเคร่อื งยนต์ และดบั เคร่ืองยนต์ คำเตือน อยา่ ให้บคุ คลเข้าไปอยรู่ ะหวา่ งรถ ใสห่ า้ มล้อจอดรถไว้ท้งั 2 คัน และปล่อยให้เครื่องยนตเ์ ดนิ เบา การปฏบิ ตั ิ 1. จัดสวติ ช์แบตเตอร่ีของรถคันทีแ่ บตเตอรี่ไม่มีไฟ ไว้ในตำแหนง่ ปิด “OFF” 2. จอดรถที่ใช้ระบบไฟ 24 โวลท์ แบตเตอรี่ 6 หม้อ ให้ชิดกับรถที่แบตเตอรี่ไม่มีไฟ โดยให้เต้าเสียบ สายพว่ งไฟอยใู่ กล้กัน
ห น้ า | 67 หมายเหตุ ถา้ รถคนั ทม่ี าชว่ ยพว่ งไฟใหเ้ ปน็ รถสายพานกู้ซอ่ ม M88A1 รถถัง M60 หรอื รถถัง M48A5 ใหต้ ิดเคร่ืองยนตไ์ ว้ 3. จัดสวิตชแ์ บตเตอรีข่ องรถคนั ทม่ี าช่วยพ่วงไฟ ไวใ้ นตำแหนง่ ปดิ “OFF” 4. ต่อสายพ่วงไฟเข้ากับเต้าเสียบสายพ่วงไฟของรถทั้ง 2 คัน ( เต้าเสียบสายพ่วงไฟของรถสายพานกู้ ซอ่ ม M88A1 อยูท่ ีท่ ้ายรถทางด้านขวา ) 5. ถา้ มีเวลาพอ และสถานการณอ์ ำนวยให้ ให้ทำการประจุไฟแกแ่ บตเตอรี่ของรถคันทไี่ ม่มีไฟเปน็ เวลา 15 นาที โดยการจัดสวิตช์แบตเตอรี่ของรถที่มาช่วยไว้ในตำแหน่งเปิด “ON” ก่อนที่จะพยายามติดเครื่องยนต์ ของรถคนั ที่แบตเตอรไี่ ม่มีไฟ 6. จัดสวิตช์แบตเตอรี่ของรถคันที่แบตเตอรี่ไม่มีไฟไว้ในตำแหน่งเปิด “ON” หลังจากได้ทำการประจุ แบตเตอรี่ในข้อ 5. แล้ว และจัดสวิตช์แบตเตอรี่ของรถคันที่มาช่วยพ่วงไฟ ไว้ในตำแหน่งปิด “OFF” เพื่อ ปอ้ งกันไมใ่ หเ้ ครื่องกำเนดิ ไฟฟา้ และระบบประจไุ ฟชำรุดเสียหาย แล้วปลอ่ ยให้เคร่ืองยนตเ์ ดนิ เบาไว้ 7. ตดิ เครอ่ื งยนต์ของรถคันทีแ่ บตเตอรีไ่ มม่ ไี ฟ ขอ้ ควรระวงั ถา้ เคร่อื งยนต์ไม่ตดิ ภายใน 15 วินาที ใหป้ ล่อยสวิตช์หมนุ เครือ่ งยนต์ และคันเรง่ จัดสวิตช์แบตเตอรี่ไวใ้ นตำแหน่งปดิ “OFF” คอยอกี 3-5 นาที แลว้ จงึ พยายาม ติดเคร่อื งยนตอ์ ีก ถา้ เคร่ืองยนตไ์ มต่ ิด หลังจากไดพ้ ยายามตดิ เครอื่ งยนต์ถงึ 3 ครั้ง ใหท้ ำการตรวจ แกไ้ ขขอ้ ขัดขอ้ ง 8. เม่ือเคร่ืองยนต์ติดเรียบรอ้ ยแลว้ ให้ปลดสายพ่วงไฟออกจากรถทัง้ 2 คัน 9. ตรวจเครื่องวัดไฟฟ้า และการทำงานของพดั ลมระบายความร้อนของเครื่องกำเนดิ ไฟฟ้า ถ้าปรากฏ ว่ามอเตอรพ์ ัดลมไมท่ ำงานให้ดับเคร่ืองยนต์ และรายงานชา่ งซอ่ มบำรงุ 10. ถ้าไม่ได้นำรถออกใช้งานเป็นเวลานาน เมื่อเครื่องยนต์ตดแล้วให้เร่งเครื่องยนต์ไว้ 1,000-1,200 รอบ/นาที เปน็ เวลา 30 นาทีเพ่ือประจุแบตเตอร่ีให้เต็ม การขบั รถสายพานกูซ้ อ่ ม M88A1 1. ตรวจให้แน่ใจว่าคานปั้นจั่น และเครื่องค้ำยันได้รับการยึดตรงึ ไว้อย่างถูกต้อง ตรวจบริเวณรอบ ตัว รถ เพ่อื หลีกเลย่ี งอนั ตรายตอ่ บุคคล หรือทำความเสยี หายตอ่ ส่ิงต่าง ๆ 2. เหยียบคันห้ามล้อไว้ และเข้าเกียร์ในตำแหน่งที่ต้องการใช้งาน ปล่อยคันห้ามล้อ แล้วกดคันเร่งจน รถเคลอื่ นทด่ี ้วยความเร็วตามต้องการ 3. ในขณะขับรถ ควรสังเกตแผงเครื่องวัด เพื่อตรวจดูการทำงาน และการอ่านค่าตามปกติของ เครื่องวัด ต่าง ๆ เช่น อุณหภูมิ และความดันน้ำมันเครื่องยนต์ อุณหภูมิ และความดันน้ำมันเครื่อ งเปลี่ยน ความเรว็ และเครอ่ื งวัดไฟฟ้า หมายเหตุ ให้สังเกตการขัดตัว หรือระยะว่างที่มากเกินควรของก้านโยง คันบังคับต่าง ๆ ตลอดจน เสียงดังผดิ ปกติ ในขณะใชง้ านรถ การใช้ตำแหน่งเกยี รข์ องเครอ่ื งเปลยี่ นความเร็ว 1. ใช้เกียร์ 1 เมื่อไต่ขึ้นหรือลงลาดชันมาก ในพื้นที่ดินอ่อน เป็นโคลน หรือพื้นที่เป็นหลุมบ่อมาก และเม่ือข้ามคูกวา้ ง หรอื ขา้ มเครือ่ งกีดขวางตา่ ง ๆ 2. ใช้เกียร์ 2 เมื่อใช้งานหนัก เช่นการไต่ขึ้นหรือลงลาดที่ไม่ชันมาก และใช้ในการเริ่มออกรถตามปกติ หรือใชใ้ นการลากจงู รถ 3. ใชเ้ กยี ร์ 3 เม่ือขบั รถตามปกตบิ นถนนพ้นื แขง็ ความเร็วสูงสดุ 26 ไมล์/ชม.
ห น้ า | 68 4. ใช้เกียร์ถอยหลัง “R” เมื่อขับรถถอยหลัง และใช้ช่วยชะลอความเร็วเมื่อขับรถลงลาดชันมาก ๆ (50 – 60 เปอร์เซน็ ต)์ เม่ือลงลาดสูงชันตอ้ งเร่งเคร่ืองยนตไ์ วเ้ พ่อื ให้รถชา้ ลง และป้องกนั ไม่ให้เครือ่ งยนตด์ ับ คำเตอื น การเปลีย่ นเกยี รจ์ ากเดนิ หนา้ เปน็ ถอยหลงั หรอื จากเกยี รถ์ อยหลงั เปน็ เดนิ หนา้ จะตอ้ งกระทำ เม่อื รถหยดุ สนทิ และเคร่ืองยนตเ์ ดนิ เบาอยเู่ ทา่ นั้น การบังคบั เลยี้ ว ให้ใชค้ นั บังคับเล้ียวอย่างระมัดระวงั เนอ่ื งจากการเลย้ี ว และการบังคบั ไม่เหมือนกับรถลอ้ และหากไม่ปฏบิ ตั ติ ามวิธกี ารขับรถอยา่ งถกู ต้อง จะเปน็ เหตุให้เกิดอันตรายตอ่ บุคคล หรอื ทำใหย้ ุทโธปกรณ์ ชำรดุ เสยี หายได้ การเล้ียววงกวา้ ง ให้หมนุ คันบงั คบั เล้ยี วอย่างน่ิมนวลไปตามทศิ ทางที่ตอ้ งการในเกยี ร์ 2 หรอื เกียร์ 3 วงเล้ยี ว ในเกียร์ 1 จะแคบกว่าวงเลีย้ วในเกยี ร์ 2 และเกียร์ 3 การเลี้ยวในเกียร์ถอยหลัง การเลี้ยวในเกียร์ถอยหลัง การบังคับเลี้ยวจะกลับทิศทางกันกับการบังคับเลี้ยวใน เกียร์เดนิ หน้า กล่าวคอื เมอ่ื หมุนคันบงั คับเล้ยี วไปทางขวา หน้ารถจะหันไปทางซ้าย และเม่ือหมุนคันบังคับเลี้ยว ไปทางซา้ ย หนา้ รถจะหนั ไปทางขวา การหมุนเลีย้ วอย่กู บั ท่ี ใหเ้ ข้าเกยี ร์ไวใ้ นตำแหน่งวา่ ง “N” หมนุ คันบงั คบั เลี้ยวไปในทศิ ทางที่ต้องการให้หน้า รถหันเลี้ยวไปให้สุด แล้วเร่งเครื่องยนต์ขึ้นช้า ๆ ควบคุมความเร็วในการเลี้ยวด้วยคันเร่ง ในการเลี้ยวสายพาน ทั้ง 2 ขา้ งจะหมุนสวนทางกนั หมายเหตุ เมอื่ เลยี้ วรถในพนื้ ที่เปน็ ทราย ให้ใช้เกียร์ 2 หรือเกยี ร์ 3 และให้เลย้ี วช้า ๆ ถา้ พยามเล้ียวด้วยเกียร์ 1 หรือเลี้ยวรถโดยเร็วจะทำให้สายพานหลุดได้ง่าย เนื่องจากทรายอัดตัวเข้าไประหว่างใต้ล้อกดสายพานกับ สายพาน การหยดุ รถ 1. ปลอ่ ยคนั เรง่ 2. เหยียบคันห้ามล้อลงอย่างสม่ำเสมอ จนรถหยุดสนิท เลื่อนคันเกียร์ไปยังตำแหน่งว่าง “N” และถ้า จะจอดรถให้เหยียบคนั ห้ามล้อไว้ แล้วเลือ่ นคันเกียร์ไปยังตำแหนง่ จอดรถ “P” เพ่อื ใส่ห้ามล้อจอดรถ ขอ้ ควรระวงั อย่าพยายามทำใหร้ ถแลน่ ชา้ ลง ดว้ ยการหมุนคันบังคบั เล้ยี วให้รถสา่ ยไปมา การลากจงู รถ อุปกรณส์ ำหรบั ลากจงู ประจำรถสายพานกซู้ ่อม M88A1 มดี ังน้ี 1. คานลากจงู “TOW BAR” 2. ขอพว่ ง “TOWING PINTLE” 3. ขอลากจงู “TOWING EYE OR TOWING SHACKLE” 4. ลวดลากจูง และโซล่ ากจงู “TOWING CABLE AND TOWING CHAIN” หมายเหตุ รถสายพานกซู้ อ่ ม M88A1 ใช้ลากจงู รถได้คร้งั ละ 1 คนั เทา่ นัน้ ความเร็วในการลากจงู การลากจงู รถด้วยรถสายพานกูซ้ ่อม M88A1 ให้ใช้ความเรว็ ดงั นี้ 13 ไมล์/ชม. บนถนนผวิ เรยี บพ้ืนแข็ง โดยใชค้ านลากจูง 2.5 ไมล์/ชม. ในภมู ิประเทศ หรอื บนลาดเนิน โดยใชล้ วดลากจงู ความเร็วทก่ี ำหนดไว้นีเ้ ป็นเพียงเกณฑเ์ ฉลย่ี ทวั่ ไปเทา่ นนั้ พลขบั อาจต้องใช้ความเร็วน้อยลงเพอ่ื ความปลอดภยั ในขณะเคล่อื นท่ี ทั้งนข้ี ้นึ อยกู่ ับการพจิ ารณาของพลขับ และใหต้ รวจสอบความเรว็ ในการลากจูงกับความจำเป็น ในการถอดเพลาขับหีบเฟืองขับขั้นสุดท้ายของรถที่ถูกลากจูงเมื่อต้องลากจูงเป็นระยะทางเกินกว่า 1/4 ไมล์ ตามทีก่ ำหนดไวใ้ นคูม่ ือทางเทคนคิ ของรถน้นั ๆ ดว้ ย การใชอ้ ุปกรณ์ลากจงู - ให้ใช้คานลากจูง “TOW BAR” เม่อื ทำการลากจูงบนพนื้ ท่ีแข็ง และราบเรียบเท่านั้น
ห น้ า | 69 - ให้ใช้ลวดลากจูง “ TOW CABLE” เมอื่ ทำการลากจูงในพืน้ ทเ่ี ปน็ หลมุ บอ่ หรอื ในภมู ปิ ระเทศ การลากจงู รถสายพานกู้ซอ่ ม M88A1 ใหป้ ฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1. ต่อคานลากจูง หรอื ลวดลากจูง เข้ากับรถลากจงู และรถทถ่ี ูกลากจงู 2. เข้าเกียร์เคร่ืองเปล่ยี นความเรว็ ของรถทีถ่ กู ลากจูงไวใ้ นตำแหน่งวา่ ง “N” 3. เร่มิ ทำการลากจูง ข้อควรระวัง 1. อยา่ ใชห้ า้ มล้อของรถสายพานกซู้ อ่ ม M88A1 อยา่ งตอ่ เน่ืองกัน เพราะจะทำให้ห้ามล้อไหม้ 2. ถา้ ลากจูงรถสายพานกู้ซ่อม M88A1 ด้วยลวดลากจงู จะต้องมพี ลขับอยใู่ นรถเพือ่ คอยใช้ห้ามลอ้ 3. ถ้าลากจูงรถสายพานกู้ซ่อม M88A1 ด้วยรถชนิดอื่น ๆ จะต้องแน่ใจว่าขอลากจูงของรถนั้น ๆ แข็งแรงพอท่จี ะรับภารกรรมในการลากจงู ได้ 4. อย่าปลดข้อต่อเพลาขับเฟืองขับขั้นสุดท้ายออกนอกจากเครื่องเปลี่ยนความเร็วจะชำรุดเสียหายถ้า สงสัยวา่ เครื่องเปลี่ยนความเรว็ ชำรดุ เสียหายใหป้ ลดขอ้ ตอ่ เพลาขบั เฟอื งขบั ขน้ั สุดทา้ ยออกท้งั 2 ขา้ ง และ ถา้ ตอ้ งการลากจูงรถสายพานกซู้ อ่ ม M88A1 ไปเปน็ ระยะทางเกินกว่า 1/4 ไมล์ โดยใชล้ วดลากจูง จะต้องใช้รถ อกี คนั หนงึ่ ตอ่ พว่ งเข้าทางด้านหลังของรถทถ่ี ูกลากจูง เพ่ือช่วยรัง้ หนว่ งรถแทนห้ามล้อ 5. อย่าลากจูงรถสายพานกู้ซ่อม M88A1 ทางด้านหลัง โดยที่เพลาขับหีบเฟืองขั้นสุดท้ายยังคงต่อไว้ จะตอ้ งถอดเพลาขับหีบเฟืองขัน้ สดุ ท้ายออกเสมอ กอ่ นทำการลากจูงทางดา้ นหลัง 6. อย่าลากจงู รถสายพานกู้ซ่อม M88A1 โดยใช้ความเร็วเกินกวา่ 12 ไมล์/ชม. เมือ่ ใช้คานลากจูง หรือ ใช้ความเรว็ เกินกวา่ 2 .5 ไมล์/ชม. เมื่อใช้ลวดลากจงู การใช้งานในสภาพอากาศรอ้ นจดั กล่าวทั่วไป เครื่องกำเนิดกำลังของรถอาจร้อนจัดเกินควรในขณะทำการลากจูง ด้วยเกียร์สูงติดต่อกันเป็น เวลานาน หรือเม่อื ขบั รถดว้ ยความเรว็ สูง ในสภาพเชน่ นีใ้ หต้ รวจเครอ่ื งวัดอุณหภมู ิ และไฟเตือน บอ่ ย ๆ และควรหยุดรถเพื่อให้เครื่องยนต์เย็นลงในโอกาสที่สามารถกระทำได้ ตรวจหม้อกรองอากาศ และเครื่อง ระบายความร้อนน้ำมันเครื่อง ให้บ่อยขึ้น ทำความสะอาดกำจัดฝุ่น แมลง หรือสิ่งสกปรก อื่น ๆ ออกจาก ตะแกรงปิดรังผึ้งเครอื่ งระบายความร้อนนำ้ มันเครอ่ื ง โดยใช้แปรงปัด หรอื ใช้นำ้ ทีม่ คี วามดนั ตำ่ ฉีดล้างออก และ หมนั่ ตรวจระดบั น้ำยาแบตเตอร่ีเสมอ การหยุดพกั หรอื จอดรถ 1. อยา่ จอดรถทิง้ ไวก้ ลางแดดเปน็ เวลานาน ๆ ควรปกปดิ หรือคลุมรถไว้เพ่ือปอ้ งกันแสงแดดเผา ทราย และฝนุ่ ละออง 2. ถา้ ไม่สามารถหาท่รี ่มสำหรับจอดรถ ใหค้ ลมุ รถดว้ ยผา้ ใบ และต้องแน่ใจว่าไดป้ กปดิ กลอ้ ง ตรวจการณ์ แทง่ แก้วตรวจการณ์ และหอ้ งเครอ่ื งยนต์ให้พ้นจากทราย และฝนุ่ ละออง 3. ตรวจสภาพรถบ่อยครั้ง เพื่อหารอยสนิม การขึ้นรา เมื่อต้องจอดรถทิ้งไว้เป็นเวลานานในที่ที่มี อากาศร้อน ความชื้นสงู และให้ทำความสะอาด และใหก้ ารหลอ่ ลื่นบริเวณทเี่ กดิ บกพรอ่ งดังกลา่ ว อุปกรณ์ทัศนะ ตรวจกล้องตรวจการณ์ต่าง ๆ เพื่อหาการขึ้นรา ที่บริเวณกระจก และเลนส์ แล้วทำความ สะอาดใหเ้ รยี บร้อย ถ้าพบรอยสถี ลอกใหใ้ ช้สแี ตม้ รอยถลอกนน้ั เพ่ือป้องกนั สนิม ข้อควรระวงั อย่าให้กล้องตรวจการณ์ M24 ถกู แสงแดดโดยตรง และใหเ้ กบ็ กล้องไว้ในหีบเก็บกลอ้ ง เมือ่ ใชร้ ถในตอนกลางวัน การใช้งานรถในพืน้ ท่ยี ากลำบาก
ห น้ า | 70 1. โคลน ใหใ้ ชเ้ กียร์ 1 เม่อื ขบั รถผา่ นพ้นื ท่ีเปน็ โคลน หรอื พืน้ ดินอ่อนเพ่อื ไม่ให้รถจม ถ้ารถเกิดติดหล่ม ให้ทำการลากจูงรถออกจากหล่ม แล้วทำความสะอาดเคร่ืองพยุงตวั รถ 2. ทราย ระวังอย่าให้สายพานหมุนฟรี ถ้าสายพานเกิดหมุนฟรีให้ลดความเร็วลง และใช้ตำแหน่ง เกยี ร์ให้ถกู ตอ้ ง แล้วเคลื่อนทีต่ อ่ ไปดว้ ยความเร็วสมำ่ เสมอกนั อยา่ ให้เครอื่ งยนต์ทำงานอยา่ หนกั ตดิ ต่อกัน เป็นเวลานาน เพราะอาจทำให้เครือ่ งยนต์ร้อนจดั เมื่อเคลื่อนท่ีในทรายออ่ น อย่าเลี้ยวรถเป็นมุมแคบด้วยเกยี ร์ 1 จะทำให้สายพานหลุดได้ เนื่องจากทรายอัดตัวเข้าไประหว่างใต้ล้อกดกับสายพาน ควรเลี้ยวรถเป็นวงกว้าง ดว้ ยเกียร์ 2 หรือเกยี ร์ 3 3. ฝุ่น ให้หมั่นตรวจเครื่องแสดงการอุดตันของหม้อกรองอากาศ ซึ่งติดอยู่ที่เรือนหม้อกรองอากาศ และทำความสะอาดไส้กรองอากาศ กบั หมอ้ กรองอากาศตามความต้องการ การลุยขา้ มนำ้ กล่าวทั่วไป ในขณะใช้งาน รถอาจต้องลงไปอยู่ในน้ำ ซึ่งอาจลึกเพียง 2-3 นิ้ว ถึง 2-3 ฟุต ความลึกในการลุย ขา้ มตามปกติของรถ (เมื่อไมต่ ดิ ตัง้ อปุ กรณล์ ุยน้ำลึก ) กำหนดไวใ้ ห้ลุยได้ลึก 56 นิ้ว โดยตอ้ งปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี ก่อนทำการลยุ ข้าม 1. ม้วนลวดกวา้ นหลักเข้าเกบ็ จนเหล็กยึดหัวลวดกว้านอัดตัวเขา้ ชดิ กับชอ่ งสายลวดกว้าน ด้วยความตึง เลก็ นอ้ ย เพอื่ ให้นำ้ รวั่ ไหลเขา้ ทางช่องลวดกวา้ นไดน้ อ้ ยลง 2. เครื่องยนต์ของรถจะต้องมีสภาพดี และตรวจให้แน่ใจว่าลิ้นถ่ายน้ำพื้นรถได้ถูกปิดไว้เรียบร้อย โดย การตรวจสอบตำแหนง่ ของคันบังคบั ลิน้ ถา่ ยนำ้ หมายเหตุ ตรวจให้แน่ใจว่าแผ่นปดิ ช่องตรวจห้ามล้อใต้ท้องรถดา้ นหลัง ได้รับการขันแน่น และมีสลักเกลียวใส่ ครบทกุ ตวั 3. อย่าลุยขา้ มนำ้ ลกึ กวา่ 56 นว้ิ การลยุ ข้าม 1. เข้าเกียร์ 1 (ในขณะอยู่ในน้ำ เพื่อไม่ใหเ้ ครือ่ งยนต์เดินสะดดุ ในน้ำ ต้องเร่งเครื่องยนต์ให้สูงกวา่ 950 รอบ/นาท)ี่ 2. เคลื่อนทลี่ งนำ้ ช้า ๆ 3. เร่งเครื่องยนต์ให้สูงกว่า 950 รอบ/นาที และขับรถด้วยความเร็วประมาณ 3-4 ไมล์/ชม.เพื่อไม่ให้ เกดิ คล่ืนทางหน้ารถ 4. ถ้ารถเกิดพลัดจมอยู่ในน้ำจนถึงระดับที่เกิดน้ำไหลเข้าห้องเครื่องยนต์ ให้เร่งเครื่องยนต์ไว้ เพื่อ ป้องกันไม่ให้นำ้ เขา้ เครื่องยนต์ และเคลอ่ื นที่ขึ้นจากน้ำใหเ้ รว็ ท่สี ดุ แล้วถา่ ยน้ำออกจากหอ้ งเครื่องยนต์ ถ้าเครื่องยนต์เดินสะดุดจนดับลงในขณะรถจมอยู่ในน้ำ ให้ทำการฉุดลากรถขึ้นจากน้ำ แล้วแจ้งช่าง ซ่อมบำรุงให้ดำเนินกรรมวิธตี ่อรถจมน้ำโดยเรว็ ทรี ่สดุ เทา่ ทจ่ี ะทำได้ 5. ถ้าจำเป็นต้องหยุดรถในขณะที่เครื่องยนต์อยู่ใต้ระดับน้ำ ให้เหยียบห้ามล้อ เข้าเกียร์ไว้ในตำแหน่ง ว่าง “N” และเร่งเครื่องยนต์ไว้ 950-1,000 รอบ/นาที เมื่อจะเคลื่อนที่อีก ให้เข้าเกียร์ 1 และเคลื่อนที่ต่อไป ชา้ ๆ ดว้ ยความเรว็ ประมาณ 3-4 ไมล์/ชม. โดยรกั ษารอบเครอ่ื งยนต์ใหส้ งู กว่า 950 รอบ/นาที การปฏบิ ัติหลงั การลุยขา้ ม 1. เปิดลิ้นถ่ายน้ำทุกตัว วัดระดับน้ำมันเครื่องยนต์ ตรวจว่ามีน้ำเข้าไปในเครื่องยนต์หรือไม่ ถ้าพบว่า นำ้ มนั เครื่องเปลย่ี นสี หรือมีน้ำอยใู่ นเครือ่ งยนต์ ใหท้ ำการถา่ ยน้ำมันเครอื่ งยนต์ และเติมใหม่ ติดเครื่องยนต์ และเร่งเครื่องไว้ 2-3 นาที เพื่อให้น้ำระเหย และขับไล่น้ำที่อาจรั่วเข้า หรือตกค้างอยู่ ออกใหห้ มด 2. ทำความสะอาด และเช็ดแห้งอุปกรณ์ทัศนะ และอาวุธที่เปียกน้ำ ถ้าพบว่ามีน้ำรั่วเข้าไปในเครื่อง ทัศนะ ให้สง่ ซอ่ มโดยเร็วท่ีสดุ เท่าที่จะกระทำได้
ห น้ า | 71 การปรนนิบตั ิบำรงุ หม้อกรองอากาศของเครอ่ื งยนตห์ ลกั กล่าวทั่วไป เครื่องยนต์หลักจะได้รับอากาศจากหม้อกรองอากาศของเครื่องยนต์เพียงแห่งเดียว และเป็น หน้าที่ของพลประจำรถที่จะต้องดูแลรับผิดชอบ เพื่อเป็นหลักประกันว่าหม้อกรองอากาศได้รับการบำรุงรักษา อย่างถกู ต้อง เพ่ือปอ้ งกนั ไม่ใหเ้ คร่ืองยนต์ชำรดุ เสียหาย เครอื่ งแสดงการอุดตันของหม้อกรองอากาศ เครื่องแสดงการอุดตันฯ จะติดอยู่เหนือหม้อกรองอากาศแต่ละตัว ซึ่งจะแสดงให้เห็นเป็นปลอกสีเขยี ว เมื่อไส้กรองอากาศมีสภาพดี แต่เมื่อไส้กรองอากาศเกิดอดุ ตัน จะมีปลอกสีแดงปรากฏให้เห็น และอากาศท่ไี หล ผ่านไส้กรองจะถูกอุดตันถึงขีดสุดเมื่อปลอกสีแดงเลื่อนเข้าทับปลอกสีเขียวจนหมด และถูกยึดไว้ในตำแหน่งนี้ เพื่อแสดงให้ทราบว่าจะต้องทำความสะอาดไส้กรองอากาศ และการปรับตั้งเครื่องแสดงการอุดตันฯ เมื่อทำ ความสะอาดไสก้ รองเสร็จแล้ว ใหก้ ดท่ยี างดา้ นบนของเคร่ืองแสดงการอดุ ตันฯ ลง การบริการ 1. ตะแกรงรบั อากาศเข้า ใหก้ ำจดั สง่ิ สกปรก หรอื โคลนทปี่ ดิ กั้นทางไหลผ่านของอากาศ 2. ฝาครอบหมอ้ กรองอากาศ ใหถ้ อดฝาครอบหม้อกรองอากาศออกทำความสะอาดทกุ วัน หรอื บ่อยคร้ัง ตามความตอ้ งการ ตอ้ งแนใ่ จว่าควงผีเสอ้ื ยดึ ไสก้ รอง ถกู ขันแน่น ทุกครง้ั ที่ถอดฝาครอบออกใหเ้ ปดิ แผน่ ปิดดา้ นในฝาครอบ ออกทำความสะอาดโดยเช็ดด้วยผ้าชบุ นำ้ พอเปียกช้นื แล้วประกอบกลบั ทีเ่ ดิม 3. ไส้กรองอากาศ เม่อื เครือ่ งแสดงการอดุ ตนั ฯ เปล่ียนเปน็ สีแดงจนหมด จะต้องถอดไสก้ รองออก ทำความสะอาด หรือเปลี่ยนใหม่ 4. อย่าทำความสะอาดไส้กรอง โดยการฟาด หรอื กระแทกไสก้ รองกับของแข็ง ทจ่ี ะทำใหไ้ สก้ รองบุบ หรอื ทำใหข้ อบยางกันรว่ั ชำรดุ เสยี หาย อย่าใชล้ มแรงดันสูง เปา่ ทำความสะอาดไสก้ รองเวน้ แต่ในกรณฉี ุกเฉนิ และให้ใชล้ มทมี่ ีแรงดนั 100 ปอนด/์ ตร.นว้ิ หรือตำ่ กว่านี้ ในการเปา่ ไสก้ รอง การใชอ้ ากาศทมี่ ีแรงดันสงู กวา่ 100 ปอนด/์ ตร.นิว้ จะทำให้ไส้ กรองทะลุจนฝนุ่ ผงเลด็ รอดเขา้ ไปในเครอ่ื งยนต์ ทำให้เครอื่ งยนตช์ ำรุดเสียหายได้ และอยา่ ใชล้ มเป่าไส้กรองท่ี เปียก การตรวจสภาพไส้กรองอากาศ 1. ตรวจสภาพไสก้ รองโดยใชไ้ ฟสอ่ งจากด้านใน ถ้าตรวจพบวา่ ไสก้ รองแตก หรือทะลเุ พียงเล็กนอ้ ย ให้ เปลีย่ นไสก้ รอง 2. ไส้กรองทตี่ รวจพบวา่ ยางกนั รั่วชำรุด จะต้องไดร้ ับการเปลี่ยนทนั ที การทำความสะอาดไสก้ รอง 1. คลายควงผีเสอ้ื ยดึ ฝาครอบใหห้ ลวม แลว้ เบยี่ งเหลก็ ยึดใหพ้ ้นจากฝาครอบ แล้วถอดฝาครอบออก 2. ถอดแผ่นปิดด้านในฝาครอบออก โดยการถอดควงผีเสื้อ แล้วดึงห่วงจับ และทำความสะอาดด้วยผา้ ชบุ น้ำพอเปียกชื้น 3. ถอดควงผีเสอ้ื ยดึ ไสก้ รอง แลว้ ถอดไส้กรองออก 4. ใชน้ ำ้ สะอาดท่มี ีแรงดนั ไมเ่ กิน 10 ปอนด/์ ตร.นิว้ ชำระลา้ งฝ่นุ ผงออกจากไสก้ รอง 5. จุ่มไสก้ รองลงในน้ำอนุ่ ผสมผงซกั ฟอกทไี่ มเ่ ป็นฟองเปน็ เวลา 15 นาที และห้ามใช้นำ้ มนั ชนดิ ใด ๆ ในการทำความสะอาดไสก้ รอง 6. เขย่าไสก้ รอง เบา ๆ ก่อนท่ีจะยกไสก้ รองข้นึ จากนำ้ 7. ลา้ งไส้กรองด้วยน้ำสะอาดอีกครั้งหนงึ่ จากทางด้านในออกมา 8. วางไส้กรองไว้ในท่สี ะอาด ปราศจากฝนุ่ ละออง แลว้ ปลอ่ ยใหแ้ หง้ หรอื ใช้ลมร้อนไม่เกนิ
ห น้ า | 72 105 ฟ. เปา่ ให้แห้ง 9. กอ่ นใส่ไส้กรองเขา้ ที่เดิม ใหท้ ำความสะอาดภายในเรือนไส้กรอง ดว้ ยผา้ สะอาด ตรวจการฉกี ขาด แตกทะลุของไส้กรอง ถ้าพบการชำรดุ ใหเ้ ปลย่ี นไสก้ รอง 10. ใสอ่ งคป์ ระกอบตา่ ง ๆ กลับเขา้ ท่เี ดมิ และขนั ควงผเี สอื้ ให้แนน่ ด้วยมอื ข้อควรระวงั 1. ในกรณีฉกุ เฉนิ ให้ใชล้ มทมี่ ีแรงดัน 100 ปอนด/์ ตร.น้วิ หรือตำ่ กวา่ นท้ี ำความสะอาดไส้กรอง โดยการ เปา่ ออกจากด้านในไสก้ รอง และจ่อหวั เปา่ ลมใหห้ า่ งจากตะแกรงหมุ้ ไสก้ รองอย่างนอ้ ย 1 นว้ิ เพือ่ ปอ้ งกันไม่ให้ ไสก้ รองแตก หรอื ทะลุ 2. อย่าทำความสะอาดไสก้ รองด้วยการฟาด หรอื กระแทกไสก้ รองกับของแขง็ 3. อย่าลา้ งไสก้ รองเกินกว่า 2 ครั้ง และเมอื่ พบวา่ ไส้กรองสกปรกจนตอ้ งล้างอกี ใหเ้ ปล่ียนไสก้ รอง การทำความสะอาดไส้กรองอากาศของเครื่องยนต์ช่วย 1. ปลดเหล็กยดึ ฝาครอบหมอ้ กรองอากาศ และถอดฝาครอบออก 2. ถอดควงผเี สื้อยดึ ไส้กรองออก พร้อมด้วยแหวนรอง แผน่ ปิดไสก้ รอง และไสก้ รอง 3. ถ้าพบวา่ ไส้กรองสกปรก หรืออุดตัน ให้ทำความสะอาดไสก้ รอง ด้วยวิธีเดียวกับการทำความสะอาด ไส้กรองของเครอ่ื งยนต์หลกั 4. ตรวจสภาพไส้กรอง และประกอบกลับทเ่ี ดมิ การตรวจสภาพไส้กรอง ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกบั การตรวจสภาพไส้กรองของเคร่อื งยนตห์ ลัก -------------------------------- ตอนท่ี 3 การใชง้ านเครื่องอุปกรณไ์ ฮดรอลิก กลา่ วท่วั ไป 1. ระบบไฮดรอลกิ หลกั “MAIN HYDRAULIC SYSTEM” ทำหนา้ ทีจ่ ่ายกำลังงานไฮดรอลิกทีใ่ ชใ้ นการ ทำงาน และการควบคมุ เคร่ืองคำ้ ยนั “ SPADE” คานปั้นจ่นั “BOOM” กว้านป้ันจั่น “HOISTING WINCH” และกว้านหลัก“MAIN WINCH” และยงั ใช้สำหรับปลดหา้ มลอ้ นริ ภัย “SAFETY BRAKE” ของกวา้ นหลกั และ กวา้ นปน้ั จั่นอีกดว้ ย กำลังไฮดรอลกิ ในระบบจะไดร้ ับมาจากป๊มั ไฮดรอลิกหลกั “MAIN HYDRAULIC PUMP” ซึง่ ถกู ขับ ด้วยหบี เฟืองขับป๊ัมไฮดรอลกิ “MECHANICAL TRANSMISSION” จากเครอ่ื งยนต์หลักผ่านชุดคลัตชท์ ำงาน ด้วยน้ำมัน 2. องค์ประกอบตา่ ง ๆ ของระบบไฮดรอลกิ และหนา้ ทีก่ ารทำงาน 2.1 คนั บงั คับปม๊ั ไฮดรอลิกหลกั “POWER CONTROL” เมื่อจัดคนั บังคับนไี้ วใ้ นตำแหนง่ เปดิ “ON” จะทำให้เกิดการส่งแรงดันนำ้ มนั จากปมั๊ ของหบี เฟอื งขบั ป๊มั ไฮดรอลิก ไปยงั ชุดแผน่ คลัตชท์ ำใหแ้ ผ่น คลตั ช์จบั ตวั และถา่ ยทอดกำลังขบั หมุนไปยงั ปั๊มไฮดรอลิกหลัก 2.2 หบี เฟืองขบั ปั๊มไฮดรอลกิ “MECHANICAL TRANSMISSION” ทำหน้าท่ีถา่ ยทอดกำลงั ขับจากเครอื่ งยนต์หลักไปยังปั๊มไฮดรอลกิ หลกั เป็นหีบเฟอื งทดรอบความเร็วชนั้ เดียว ประกอบดว้ ยปั๊มหลอ่ ลนื่ และสรา้ งแรงดนั ลนิ้ ความดนั สูง และลนิ้ ความดันต่ำ และชดุ แผน่ คลัตชท์ ำงานด้วยแรงดนั น้ำมัน 2.3 ถังนำ้ มนั ไฮดรอลกิ “HYDRAULIC OIL TANK” ติดต้งั อยดู่ า้ นหลังทางขวาของกวา้ น หลกั และหอ้ งเครื่องอุปกรณไ์ ฮดรอลิก มคี วามจุ 95 แกลลอน 2.4 ปัม๊ น้ำมนั ไฮดรอลกิ หลกั “ MAIN HYDRAULIC PUMP” ทำหน้าทส่ี ร้างแรงดัน ไฮดรอลกิ สำหรับใหก้ ำลงั งานแก่ระบบกวา้ นหลัก ปั้นจ่ัน และเครื่องค้ำยนั ฯลฯ
ห น้ า | 73 2.5 กวา้ นปน้ั จนั่ “HOIST WINCH” ติดตง้ั อยภู่ ายในตัวรถใตห้ อ้ งพลขบั เพอ่ื ใช้สำหรบั ยก สิ่งของ และใชน้ ำลวดกวา้ นหลักออกจากล้อกวา้ น 2.6 กวา้ นหลกั และเครื่องค้ำยนั “MAIN WINCH AND SPADE” ติดต้งั อยใู่ นส่วนที่เปน็ กระพ้งุ ย่ืนของหนา้ รถ โดยกวา้ นหลักจะตดิ ตง้ั อยูใ่ นตวั รถใตห้ อ้ งพลประจำรถ และเครื่องค้ำยันติดตั้งอยู่ทาง ด้านหนา้ นอกตวั รถ อง๕ประกอบสำคญั คอื ใบมดี คำ้ ยัน กระบอกบงั คับเครอื่ งค้ำยนั 2 ตวั ลวดกวา้ นหลัก เคร่อื งเรียงลวดกว้าน ชุดลิน้ ควบคุม และกว้านหลกั ซ่ึงประกอบดว้ ยหา้ มล้อนริ ภยั 2.7 คานปน้ั จน่ั “HOISTING BOOM ASSEMBLY” คานป้ันจั่นทำด้วยทอ่ เหล็กกลา้ ท่ี ประกอบเข้าด้วยกนั เป็นโครงรปู ตัวเอ “A” ประกอบดว้ ยกระบอกยกคานปัน้ จั่น 2 ตัว และกระบอกบงั คับ ลวดร้ังคานปน้ั จั่น 2 ตัว คานป้ันจัน่ ติดตงั้ อยู่ทางดา้ นบนสดุ ของตัวรถ และยกข้ึนลงได้จากการควบคมุ ภายในหอ้ งพลประจำรถ กระบอกยกคานปั้นจ่ันตดิ ตั้งอย่ภู ายในรถ แตล่ ะข้างของหอ้ งพลประจำรถ และเป็นกระบอกไฮดรอลกิ ซง่ึ แต่ละ อันจะมีกา้ นสบู เดีย่ วทำงานสองทางดว้ ยแรงดนั ไฮดรอลิก เม่ือยดื ตวั ออกจะทำให้คานปัน้ จั่นยกตัวสูงขึน้ และ เมือ่ หดตวั จะทำใหค้ านปนั้ จน่ั ลดตำ่ ลง กระบอกบังคบั ลวดรงั้ คานป้นั จน่ั 2 ตัวเปน็ กระบอก ไฮดรอลกิ แบบเดยี วกนั กบั กระบอกยกคานปัน้ จัน่ และติดต้ังอย่ทู างดา้ นหลงั ของตวั รถ กระบอกบังคับลวดรั้ง คานปั้นจ่นั คนู่ ้ีจะทำงานสมั พันธ์กนั กับกระบอกยกคานป้นั จ่นั เพอื่ ดึงร้งั คานปน้ั จัน่ ให้โยกตัวไปขา้ งหนา้ หรอื โยก มาข้างหลงั ไดเ้ มอ่ื คานปน้ั จัน่ อยู่ในตำแหน่งตั้งขน้ึ 3. ระบบไฮดรอลิกสำรอง “AUXILIARY HYDRAULIC SYSTEM” ทำหน้าท่จี ่ายกำลังไฮดรอลกิ สำหรับการควบคุม และใชง้ านอุปกรณไ์ ฮดรอลกิ ต่าง ๆ เชน่ คานป้นั จน่ั เคร่ืองค้ำยัน และกวา้ นตา่ ง ๆ ในกรณี ฉกุ เฉินเม่ือเครอ่ื งยนตห์ ลกั เกิดขัดขอ้ ง และยงั สามารถจา่ ยกำลังเพ่ือใชง้ านป๊ัมสบู ถ่ายน้ำมนั เช้อื เพลิง และ กุญแจไฮดรอลกิ ไดอ้ ีกด้วย 4. การเตรียมใช้งานระบบไฮดรอลิกหลกั 4.1 ใส่หา้ มลอ้ จอดรถ โดยเหยียบคนั หา้ มล้อไว้ และเลอื่ นคันเกียรเ์ คร่ืองเปล่ียนความเร็วไปยัง ตำแหน่งจอดรถ “P” 4.2 ติดเคร่ืองยนต์ และเดินเบาเครื่องยนต์ไว้ 675 – 725 รอบ/นาที 4.3 จดั คันบังคบั อปุ กรณไ์ ฮดรอลกิ ทกุ อนั ไวใ้ นตำแหนง่ วา่ ง “NEUTRAL” - จัดคนั เลือกระบบ “SYSTEM SELECTOR” ไวใ้ นตำแหนง่ ระบบไฮโรอลิกหลกั “MAIN” - จดั คนั บังคบั ป๊มไฮดรอลิกหลกั “POWER CONTROL” ไว้ในตำแหนง่ เปดิ “ON” 4.4 เร่งเครอื่ งยนต์ขน้ึ จนถึง 1,000 รอบ/นาที และคอย 5 – 10 นาที เพือ่ อนุ่ ระบบไฮดรอลกิ และให้น้ำมนั ไหลเวียนภายในระบบอย่างทั่วถึง 4.5 เร่งเครื่องยนตข์ ้ึนช้า ๆ จนถงึ 1,500 รอบ/นาที โดยคันเร่งมือ และไมค่ วรเรง่ เคร่อื งยนต์เกนิ 1,800 รอบ/นาที ในขณะใชง้ านระบบไฮดรอลกิ 4.6 ขณะนี้ระบบไฮดรอลิกหลกั อยใู่ นสภาพพรอ้ มใช้งานแล้ว 5. การใช้งานเครอ่ื งคำ้ ยนั 5.1 เตรียมการใช้งานระบบไฮดรอลกิ โดยปฏบิ ตั ิตามขน้ั ตอนในขอ้ 4.1 – 4.6 หมายเหตุ เคร่ืองคำ้ ยนั ใช้สำหรับสร้างความสมดุลใหแ้ กร่ ถสายพานกซู้ ่อม ดงั น้ี (1) เมอื่ ใช้คานปน้ั จั่นทำการยกภารกรรมหนัก 6 ตนั ข้ึนไป โดยไม่ได้ประกอบอุปกรณย์ ดึ แขนล้อกด สายพาน
ห น้ า | 74 (2) เม่อื ใชก้ ว้านหลกั ทำการฉดุ ลากภารกรรม 5.2 ปลดกลอนยดึ เคร่ืองคำ้ ยัน ด้วยการดันคันบงั คบั เคร่อื งค้ำยันไปยงั ตำแหน่งยกขึ้น “RAISE” เลก็ นอ้ ย แล้วดึงคันกลอนยดึ เครอื่ งคำ้ ยนั ให้สดุ 5.3 ลดเครือ่ งค้ำยนั ลงจนใบมีดแตะพนื้ 5.4 ดันคันบงั คบั ไวใ้ นตำแหนง่ ลดลง “LOWER” ปล่อยใหเ้ คร่ืองยนตเ์ ดนิ เบา เข้าเกยี ร์เคร่ือง เปล่ยี นความเร็วในตำแหนง่ เกยี ร์ 3 และเดินหน้ารถช้า ๆ จนรถเคลื่อนที่ขน้ึ อยเู่ หนือเคร่อื งค้ำยันในลักษณะ สมดุล แล้วปลอ่ ยคันบังคบั เครื่องคำ้ ยันให้กลับคืนส่ตู ำแหนง่ ยึด “HOLD” 5.5 ใสห่ ้ามล้อจอดรถ โดยเหยยี บคนั ห้ามล้อไว้ และเลื่อนคันเกียร์เคร่อื งเปล่ยี นความเร็วไปยัง ตำแหนง่ จอดรถ “P” ขอ้ ควรระวัง ใบมีดของเครอ่ื งคำ้ ยนั ใชส้ ำหรับถากถาง และปรับระดบั พน้ื ดินทเ่ี ป็นงานเบา เพอื่ ให้รถกวู้ างตัวไดเ้ หมาะสมกบั การใช้เครอ่ื งมอื กูซ้ ่อมของรถเท่านนั้ 5.6 การถอนใบมีดคำ้ ยัน กระทำโดยการถอยหลังรถก้ชู ้า ๆ ออกจากใบมดี คำ้ ยัน พร้อมกบั ดัน คันบังคับเคร่อื งค้ำยันไปยังตำแหนง่ ยกข้นึ “RAISE” 6. การใช้งานกว้านหลัก 6.1 เตรียมการใช้งานระบบไฮดรอลกิ โดยปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนในข้อ 4.1 – 4.6 6.2 ลดใบมีดคำ้ ยันลงยนั พน้ื ดนิ เพ่ือเปน็ สมอบก โดยปฏิบัติตามข้นั ตอนในข้อ 5.2 – 5.5 6.3 ผลักคันตดั ตอ่ กำลังกวา้ นปน้ั จ่นั “HOIST WINCH SHIFT” จากตำแหนง่ วา่ ง “NEUTRAL” ไปยงั ตำแหน่ง “LOW” หรอื ตำแหน่ง “HIGH” ตามความเรว็ ท่ีตอ้ งการ 6.4 ผลกั คันบงั คบั กวา้ นปั้นจั่น “HOIST CONTROL” ไปยังตำแหนง่ ลดลง “LOWER” เพ่ือ คลายลวดกว้านปน้ั จั่นออก - ผูกรอกเดยี่ วเปดิ ข้างขนาด 5/8 นิ้วเข้ากบั ภารกรรมทต่ี ้องการกว้าน - สอดลวดกว้านปนั้ จ่นั ผ่านรอ่ งรอกเปิดข้าง แลว้ ดงึ ลวดกวา้ นป้ันจนั่ กลบั มายงั รถกู้ แลว้ ยดึ ปลายลวดกว้านปน้ั จ่นั เข้ากบั ปลายลวดกวา้ นหลัก หมายเหตุ ลวดกว้านหลกั มนี ้ำหนักมาก จงึ จำเป็นตอ้ งใช้กว้านปัน่ จ่ันชว่ ยดงึ และนำลวดกว้านหลัก ออกจากล้อกว้านไปยังภารกรรม 6.5 ผลกั คนั บังคบั กว้านหลกั “MAIN WINCH ” ไปข้างหนา้ ในตำแหน่งคลายลวดออก “PAY OUT” พร้อมกับดันคนั บงั คับกว้านปั้นจั่น“HOIST CONTROL” ไปยงั ตำแหนง่ ยกขึ้น “RAISE” เพอ่ื ดึงลวด กวา้ นหลักออกไปยงั ภารกรรมทตี่ อ้ งการกวา้ น - ม้วนลวดกว้านป้ันจั่นเข้าเกบ็ และปล่อยคนั บงั คับกว้านปน้ั จั่นไว้ในตำแหนง่ กลาง หมายเหตุ ควรใช้เครือ่ งค้ำยันเสมอเมอ่ื ใช้งานกวา้ นหลัก หรือเม่ือใช้คานปนั้ จั่นยกน้ำหนักมากกวา่ 6 ตัน 6.6 ผกู ยึดลวดกว้านหลักเขา้ กับภารกรรมทต่ี อ้ งการกว้าน - ผลกั คนั ตัดตอ่ กำลงั กว้านหลกั “MAIN WINCH SHIFT” ไปยังตำแหน่ง “LOW” หรอื ตำแหน่ง “HIGH” ตามความเหมาะสมกับขนาดของภารกรรม - ดนั คันบังคบั กว้านหลักไปยงั ตำแหน่งมว้ นเข้า “IN HAUL” เมอื่ ต้องการม้วนลวดกวา้ นเขา้ และดนั คันบงั คบั กว้านหลักไปยังตำแหน่งคลายออก “PAT OUT” เมอื่ ต้องการคลายลวดกวา้ นออก - เม่อื ปล่อยคนั บังคับให้กลับไปยงั ตำแหน่งยึด “HOLD” ลอ้ กว้านจะหยุดหมุน และ ภารกรรมจะถูกยดึ ไวก้ ับท่ี
ห น้ า | 75 หมายเหตุ กว้านหลกั สามารถฉดุ ลากน้ำหนักได้สูงสุด 90,000 ปอนด์ เมอ่ื ดึงโดยตรง และเมอื่ ประกอบรอกขนาด 90 ตัน ใหเ้ กิดการไดเ้ ปรียบเชิงกล 2 ต่อ 1 จะสามารถฉุดลากน้ำหนกั ได้ 180,000 ปอนด์ การฉุดลากภารกรรมขนาดหนักเช่นน้ี จะกระทำได้เมอื่ คลายลวดกวา้ นออกจนสุด และคันตดั ต่อกำลังกวา้ น หลัก “MAIN WINCH SHIFT” อยใู่ นตำแหนง่ “LOW” ตารางความสามารถของกวา้ นหลัก ชนั้ ของลวดใน ความยาวของลวด นน.ฉุดลากในตำแหนง่ นน.ฉดุ ลากในตำแหน่ง ล้อกว้าน ในล้อกวา้ น “LOW” “HIGH” ช้ันท่ี 1 1 - 42 ฟุต 90,000 ปอนด์ 22,000 ปอนด์ ช้นั ท่ี 2 43 – 96 ฟุต 76,000 ปอนด์ 19,000 ปอนด์ ชน้ั ที่ 3 97 – 150 ฟุต 65,000 ปอนด์ 16,000 ปอนด์ ช้นั ท่ี 4 151 – 200 ฟตุ 57,000 ปอนด์ 14,000 ปอนด์ 7. การใช้งานปั้นจน่ั 7.1 เตรียมการใชง้ านระบบไฮดรอลิก โดยปฏิบตั ติ ามขั้นตอนในขอ้ 4.1 – 4.6 7.2 จดั วางรอกคเู่ ปดิ ข้างขนาด 25 ตนั ไวบ้ นแผน่ ตะแกรงปลายคานปัน้ จั่น “BOOM T RAY” โดยหันหหู ว่ งรอกไปทางหนา้ รถ บานพบั อยู่ทางดา้ นบน ปลดกลอนยึดบานพับ เบย่ี งหูห่วงไปทาง ขา้ ง แลว้ เปิดบานพับขึ้น 7.3 จัดคนั ตดั ต่อกำลังกวา้ นปั้นจั่น “HOIST WINCH SHIFT” ไปยังตำแหนง่ “LOW” หรือ ตำแหน่ง “HIGH” และผลักคนั บงั คบั กว้านป้ันจน่ั “HOIST CONTROL” ไปยังตำแหนง่ ลดลง “LOWER”เพอื่ คลายลวดกว้านออก เม่อื คลายลวดกวา้ นออกพอควรแลว้ จึงพาดลวดกวา้ นไปเหนือห้องพลประจำรถใต้คานขาง ของปน้ั จ่นั โดยให้ลวดกวา้ นอยใู่ นระหวา่ งสายลวดร้ังคานปัน้ จนั่ ลากลวดกว้านอ้อมผา่ นด้านซา้ ยของกลอนยดึ คานปนั้ จัน่ นำลวดกวา้ นกลบั ขึ้นมาข้างบน และนำพาดผ่านไปบนรอกปลายคานปน้ั จน่ั ตวั ซ้าย ดงึ ลวดกว้าน มาข้างหนา้ แลว้ พาดลวดกว้านลงในรอกเปดิ ขา้ งตวั ลา่ งจากดา้ นซ้ายไปขวาลากลวดกว้านกลบั ใหพ้ าดผ่านไปบน รอกปลายคานป้ันจนั่ ตวั ขวา และปดิ เหลก็ กนั ลวดกว้านที่ปลายคานปนั้ จน่ั ลากสายลวดกว้านมาข้างหน้า และ พาดลวดกว้านลงในรอกเปดิ ขา้ งตวั บน จากด้านซ้ายไปขวา ปดิ บานพบั รอกเปดิ ขา้ ง เบี่ยงหูหว่ งมาไวต้ รงกลาง และขดั กลอนยดึ บานพบั นำปลายลวดกว้านกลับไปยดึ ปลายลวดไว้กบั หยู ึด “DEAD MAN” บนโครงรอก ปลายคานปน้ั จัน่ 7.4 ปลดกลอนยดึ คานปั้นจ่ัน และยดึ กระเด่อื งกลอนไว้ในตำแหนง่ เปิดค้าง 7.5 ผลักคนั “BOOM SAFETY CONTROL” ไปขา้ งหน้าในตำแหน่ง “STOW” และยดึ คนั บงั คับไวใ้ นตำแหน่งนี้ แล้วผลักคันบังคับกว้าน “BOOM OPERATING” ไปขา้ งหนา้ ในตำแหนง่ “FORWARD” เมอ่ื คานปน้ั จนั่ ยกตัวขึน้ แล้ว ตรวจให้แน่ใจวา่ ลวดรัง้ คานปั้นจ่นั ไมข่ ดั ตัว หรอื เกยี่ วพนั กบั สง่ิ ตา่ ง ๆ เมอ่ื ยกคาน ป้นั จนั่ ขน้ึ สดุ แลว้ ใหป้ ลอ่ ยคนั บงั คบั ทง้ั คู่ และคันบังคบั จะกลับคืนสตู่ ำแหน่งปกติเอง 7.6 การควบคมุ การเคลือ่ นทข่ี องคานป้นั จั่นภายในระยะ 4 ฟตุ (โยกไปขา้ งหน้าหา่ งจากรถ ไกลสดุ 4 ฟุต จนถึงระยะหา่ งจากรถ 1 ฟุต ) ในแนวกลางของตัวรถ สามารถกระทำไดโ้ ดยใชค้ ันบงั คบั ป้นั จั่น “BOOM OPERATING” เพยี งอย่างเดียว การโยกคานปนั้ จน่ั เอนไปขา้ งหลังใหผ้ ลกั คันบังคับไปยังตำแหน่ง “RETRACT STOW” และการโยกคานป้ันจั่นเอนไปข้างหนา้ ให้ผลักคนั บงั คบั ไปยงั ตำแหน่ง “FORWARD” - การใช้งานในลกั ษณะคานปนั้ จัน่ เคลอ่ื นท่ีได้ “LIVE BOOM OPERATING” จะใช้เพื่อให้ สามารถโยกคานป้ันจ่ันไปมา จากตำแหน่งหน้าสดุ จนถงึ ตำแหน่งหลงั สดุ ภายในระยะ 4 ฟตุ เพ่ือหาจดุ ยกหรือ เปลีย่ นจุดยกใหเ้ หมาะสม ในขณะปฏิบตั ิงานซ่อมบำรุง หรือทำการกซู้ ่อม
ห น้ า | 76 - ถา้ คานปน้ั จนั่ ถูกโยกกลบั มาขา้ งหลังจนสุดระยะ 4 ฟตุ จะต้องผลกั คันบงั คับ “BOOM SAFETY” ไปขา้ งหนา้ ในตำแหน่ง “FORWARD” จงึ จะทำใหค้ านป้ันจ่นั สามารถโยกไปข้างหนา้ ไดอ้ กี 7.7 ในระหวา่ งการใช้งานหนัก จะต้องใชท้ ่อนไมห้ นนุ ดา้ นหน้าของล้อกดสายพานไว้เมื่อ ต้องการเคลอื่ นยา้ ยภารกรรมนั้น แต่ถ้าไมต่ อ้ งการเคลือ่ นย้ายภารกรรมให้ใชเ้ ครอ่ื งคำ้ ยันกดพืน้ ไว้ หมายเหตุ รถกสู้ ามารถเคลอื่ นท่ไี ปโดยมภี ารกรรมหนกั 6 ตันแขวนอยกู่ ับคานปัน้ จัน่ 7.8 การใชก้ วา้ นปน้ั จนั่ ใหป้ ฏบิ ตั ดิ งั น้ี 7.8.1 ผลกั คนั ตัดตอ่ กำลัง “HOIST WINCH SHIFT” ไปยงั ตำแหน่ง “LOW” หรือ “HIGH” ตามความตอ้ งการใชง้ าน ตำแหน่ง “LOW” ลอ้ กวา้ นปั้นจน่ั จะหมุนชา้ ใชส้ ำหรบั การยกภารกรรมท่มี ี นำ้ หนกั มาก ตำแหน่ง “HIGH” ล้อกวา้ นจะหมนุ เร็ว ใชส้ ำหรบั การคลายลวดกว้านออกใช้งาน หรอื การม้วน เกบ็ ลวดกวา้ น และการยกภารกรรมทีม่ ีนำ้ หนักน้อย 7.8.2 ผลกั คันบังคบั กว้านปนั้ จ่ัน “HOIST WINCH OPERATING” ไปยงั ตำแหนง่ ยก “RAISE” เม่อื ตอ้ งการยกภารกรรมข้นึ และผลกั คันบงั คบั ไปยังตำแหน่งลดลง “LOWER” เมื่อตอ้ งการวางภาร กรรมลง หมายเหตุ เม่อื ปล่อยคันบงั คบั กว้านปนั้ จ่นั คนั บังคับจะกลับคนื สตู่ ำแหน่งยดึ “HOLD” เอง ลอ้ กวา้ น จะหยดุ หมุน และภารกรรมจะถูกยดึ ไว้กับที่ในตำแหนง่ น้นั - กว้านปั้นจนั่ สามารถยกภารกรรมไดส้ งู สดุ 12,000 ปอนด์ เม่ือจัดลวดกวา้ นใหม้ เี สน้ ดงึ 2 เสน้ “TWO PART LINE” และเม่ือประกอบรอกคูเ่ ปิดขา้ งใหม้ เี สน้ ดงึ 4 เสน้ “FOUR PART LINE” จะสามารถ ยกภารกรรมได้ 50,000 ปอนด์ 7.9 การจดั เตรยี มคานปนั้ จ่ันเพ่อื เดนิ ทาง หรอื การเก็บป้นั จนั่ ให้ปฏิบตั ยิ ้อนกลับตามลำดบั การใช้งานปน้ั จน่ั ----------------------------------------- การใช้งานเครอื่ งกำเนดิ กำลังสำรอง (AUXILIARY POWER UNIT OPERATION) 1. กลา่ วท่ัวไป เคร่ืองกำเนิดกำลงั สำรอง (APU) จะใช้สำหรบั ประจุไฟใหก้ ับแบตเตอรป่ี ระจำรถ และจา่ ย กำลังงานให้แกป่ ๊ัมสูบถ่ายน้ำมนั เชอ้ื เพลงิ และกุญแจไฮดรอลิก นอกจากนีย้ งั ใชเ้ พื่อจา่ ยกำลังไฮดรอลิกให้กับกับ เครอื่ งอุปกรณต์ า่ ง ๆ ในกรณฉี ุกเฉินเม่ือเครอ่ื งยนตห์ ลกั ขดั ขอ้ ง ดังน้ี 1.1 กวา้ นหลัก “MAIN WINCH” ใชใ้ นการคลายลวดกว้านออกเพื่อปลดภารกรรม และม้วนลวด กวา้ นเก็บ 1.2 กวา้ นปน้ั จนั่ “HOIST WINCH” ใช้ในการวางภารกรรมที่แขวนค้างลงสูพ่ น้ื และม้วนลวดกวา้ นเกบ็ 1.3 เคร่อื งค้ำยนั “SPADE” ใชใ้ นการยก หรอื ลดใบมีดค้ำยนั เมอ่ื ไม่มีภารกรรม และอาจยกใบมีดค้ำ ยันข้ึนจากตำแหน่งสมดุลได้ โดยตอ้ งฉุดลากรถก้ถู อยหลังใหใ้ บมดี ค้ำยนั ลอยตวั บนพ้นื ดนิ แล้วจงึ ยกใบมีดคำ้ ยนั ขึ้น 1.4 คานป้ันจนั่ “BOOM” ใชใ้ นการยกคานปั้นจัน่ ข้ึนลง โดยไม่มภี ารกรรม 2. การประจแุ บตเตอรปี่ ระจำรถ ใหต้ ดิ เคร่อื งยนต์ชว่ ย (APU) อนุ่ เครื่องยนต์ไว้ 3 นาที แล้วเปิดสวิตชเ์ ครือ่ ง กำเนดิ ไฟฟ้าของเครอ่ื งยนต์ช่วย และประจแุ บตเตอรี่ด้วยเวลา 20 นาที ในกรณที แี่ บตเตอร่ีประจำรถไมม่ ีไฟ พอท่ีจะตดิ เคร่ืองยนต์ชว่ ย ใหท้ ำการติดเคร่ืองยนตห์ ลกั โดยการใช้สายพว่ งไฟจากรถคันอนื่ 3. การสบู ถา่ ยนำ้ มนั เชอ้ื เพลิง ปมั๊ สูบถา่ ยน้ำมันเชื้อเพลิงประจำรถ จะใช้เพือ่ เติมน้ำมนั เชื้อเพลิงใหก้ ับรถ ด้วยการสบู จากถังน้ำมันขนาด 200 ลติ ร หรอื สบู จากถังนำ้ มนั ของรถคนั อืน่ ๆ และยังสามารถใชส้ ูบถา่ ยนำ้ มัน เช้ือเพลิงจากรถสายพานกซู้ ่อม M88A1 ไปใหก้ บั รถคันอนื่ ไดด้ ว้ ย โดยมเี คร่อื งควบคมุ และทอ่ น้ำมนั เชือ้ เพลงิ อยูใ่ นห้องเก็บของทางดา้ นขวาภายนอกรถ 4. การเตรยี มใชง้ านเครือ่ งกำเนดิ กำลงั สำรอง (APU)
ห น้ า | 77 ขอ้ ควรระวัง ใหป้ ิดวิทยุ และอปุ กรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ท่ีไม่เกยี่ วขอ้ ง ก่อนที่จะติดเครื่องยนต์ช่วย การปฏิบตั ิ 1. ก่อนติดเครอ่ื งยนต์ชว่ ย ให้ทำการตรวจดังน้ี 1.1 คันเลือกระบบไฮดรอลิก “SYSTEM SELECTOR” อยูใ่ นตำแหน่ง “MAIN” 1.2 คนั บังคบั หบี เฟอื งขบั ป๊ัมไฮดรอลกิ “POWER CONTROL” อยูใ่ นตำแหน่งปิด “OFF” 1.3 จัดสวติ ชแ์ บตเตอรไี่ ว้ในตำแหนง่ เปดิ “ON” 1.4 จดั สวิตช์ปมั๊ น้ำมันเช้อื เพลิงไวใ้ นตำแหน่งปดิ “OFF” 1.5 จดั สวติ ชเ์ ครอื่ งกำเนดิ ไฟฟ้าของเคร่ืองยนตช์ ว่ ยไว้ในตำแหนง่ ปิด “OFF” 2. จัดสวิตชด์ ับเคร่ืองยนตช์ ว่ ย “FUEL SHUTOFF” ไว้ในตำแหนง่ เปิด “ON” ไฟเตอื นความดนั น้ำมัน เคร่อื งยนตต์ ำ่ ควรตดิ สว่างข้นึ จนกวา่ เคร่อื งยนตจ์ ะตดิ 3. กดสวติ ช์อุ่นไอดี “PREHEAT” ไวใ้ นตำแหนง่ เปิด “ON” นาน 20 วินาที 4. ยกสวติ ช์หมนุ เคร่อื งยนต์ “START” ไวใ้ นตำแหนง่ เปิด “ON” จนเครอื่ งยนตต์ ดิ ถ้าเคร่อื งยนตไ์ ม่ติดภายใน 1 นาที ให้ปลอ่ ยสวิตชห์ มุนเครอื่ งยนต์ และกดสวติ ชอ์ ุน่ ไอดตี ่อไปอกี 20 วนิ าที หรอื 1 นาที แล้วพยายามติด เครอื่ งยนตอ์ กี คร้งั หนงึ่ ถ้าเครือ่ งยนตย์ ังไม่ตดิ ให้ตรวจหาสาเหตขุ ัดขอ้ ง 5. ปล่อยสวติ ช์หมนุ เครื่องยนต์ และสวติ ช์อุ่นไอดเี มอ่ื เครอ่ื งยนตต์ ิดแล้ว ขอ้ ควรระวงั ถา้ ไฟเตอื นความดนั นำ้ มนั เคร่ืองยนต์ต่ำ ยังคงติดสวา่ งอยู่หลังจากเคร่ืองยนต์ตดิ แล้ว หรอื ตดิ สว่างขึ้นในขณะเคร่ืองยนตเ์ ดิน ใหด้ ับเคร่ืองยนตช์ ่วยทันท่ี ด้วยการจดั สวิตช์ ดับเครอ่ื งยนต์ “FUEL SHUTOFF” ไวใ้ นตำแหน่งปดิ “OFF” 6. เดินเครอื่ งเพ่อื อุ่นเครอ่ื งยนตช์ ว่ ยไว้ 3 นาทกี ่อนท่ีจะจัดสวิตช์เครอ่ื งกำเนดิ ไฟฟา้ “APU GEN” ไว้ในตำแหน่ง เปดิ “ON” หรือใช้งานเครอ่ื งกำเนดิ กำลงั ไฮดรอลกิ สำรอง ขอ้ ควรระวงั อย่าเดินเครอ่ื งกำเนิดกำลังสำรอง (APU) นานกวา่ 1 ชว่ั โมง โดยใช้เครื่องกำเนิดไฟฟ้า หรอื ระบบไฮดรอลิกสำรองทำงานหนัก เม่ือใชง้ านถงึ 1 ชัว่ โมง ให้ปิดสวิตช์เคร่ือง กำเนิดไฟฟา้ หรือระบบไฮดรอลกิ สำรอง แลว้ เดนิ เครือ่ งยนต์ช่วยตอ่ ไปจนเคร่ืองยนต์ เย็นลง แลว้ จงึ เปดิ ใช้งานเคร่อื งกำเนดิ ไฟฟา้ หรอื ระบบไฮดรอลกิ สำรองต่อไป ขอ้ ควรระวัง ถ้าไฟเตอื นอณุ หภมู ิอากาศระบายความรอ้ น ติดสวา่ งข้นึ ในขณะเดินเครอ่ื ง ใหด้ ับเคร่อื งยนต์ แล้วปลอ่ ยใหเ้ ครอ่ื งยนต์เย็นลง และถ้าปรากฏว่าไฟเตอื นดวงนีต้ ิดสว่างขน้ึ บอ่ ยครงั้ ให้แจ้ง ชา่ งซ่อมบำรงุ 7. ในขณะเดนิ เคร่อื งใชง้ านเคร่ืองกำเนิดกำลังสำรอง ใหต้ รวจแผงควบคุมเครอ่ื งกำเนิดกำลังสำรองบอ่ ยคร้ัง เพื่อสังเกตขอ้ ขัดข้องทอี่ าจเกิดขึน้ การดับเคร่ืองยนตช์ ่วย 1. จดั สวิตชเ์ ครื่องกำเนิดไฟฟา้ ไว้ในตำแหน่งปิด “OFF” แล้วจึงจดั สวติ ช์ดบั เครื่องยนตช์ ว่ ย “FUEL SHUTOFF” ไว้ในตำแหน่งปิด “OFF” 2. ถา้ เคร่อื งยนต์ช่วยไม่ดบั เม่อื ปิดสวติ ชด์ ับเครอ่ื งยนต์ ใหป้ ิดสวติ ชแ์ บตเตอร่ีไว้ในตำแหนง่ ปิด “”OFF
ห น้ า | 78 3. ถา้ เครอ่ื งยนต์ยงั ไม่ดับ ใหอ้ อกจากรถ แล้วเปดิ ฝาปดิ เครื่องยนตช์ ่วย และปดิ น้ำมันเช้ือเพลงิ ด้วยลน้ิ ปดิ น้ำมันเชือ้ เพลงิ ฉกุ เฉนิ ของหม้อกรองนำ้ มันเชื้อเพลิงเครอ่ื งยนตช์ ่วย การใช้งานเครอ่ื งอปุ กรณ์ดว้ ยระบบไฮดรอลกิ สำรอง 1. จัดคนั บังคับปม๊ั ไฮดรอลิกหลกั “POWER CONTROL” ไว้ในตำแหนง่ ปิด “OFF” 2. จัดคันเลอื กระบบไฮดรอลกิ “SYSTEM SELECTOR” ไว้ในตำแหนง่ “MAIN” 3. ตดิ เครอ่ื งยนตช์ ่วย “APU” อ่นุ เครือ่ งยนตไ์ ว้ 5 นาที 4. ใช้งานกว้านป้ันจน่ั และกว้านหลกั โดยไม่มภี ารกรรม ดังนี้ 4.1 จดั กระเดอื่ งลิน้ ควบคมุ การใชก้ ว้านฉุกเฉินของเครอื่ งกำเนดิ กำลงั สำรอง “APU EMERGENCY WINCH CONTROL VALE” ไวใ้ นตำแหน่งใช้งานดว้ ยกำลังไฮดรอลกิ สำรอง “AUXILIARY POWER UNIT OPERATION” (อยู่ทางด้านซ้ายมือในห้องช่าง) 4.2 จัดคันเลือกระบบไฮดรอลกิ “SYSTEM SELECTOR” ไว้ในตำแหน่ง “AUX” 4.3 จดั คันตัดต่อกำลังกวา้ นหลกั “MAIN WINCH SHIFT” หรือ คันตดั ตอ่ กำลังกว้านปั้นจน่ั “HOIST WINCH SHIFT” ไวใ้ นตำแหน่งความเรว็ สงู “HIGH” เทา่ นน้ั 4.4 ใชค้ ันบังคบั กวา้ นหลัก “MAIN WINCH” หรอื คนั บงั คบั กว้านปัน้ จ่นั “HOIST WINCH” ตาม ความต้องการ 5. ใชง้ านคานปนั้ จ่ัน และเคร่ืองค้ำยัน โดยไมม่ ีภารกรรม ดงั น้ี 5.1 จดั กระเดอ่ื งลิ้นควบคุมการใช้กว้านฉกุ เฉนิ ของเครอ่ื งกำเนดิ กำลงั สำรอง “APU EMERGENCY WINCH CONTROL VALE” ไวใ้ นตำแหนง่ ใชง้ านด้วยกำลังไฮดรอลกิ ปกติ “NORMAL OPERATION” (อยู่ ทางดา้ นซ้ายมือในห้องช่าง) 5.2 จัดคนั เลือกระบบไฮดรอลกิ “SYSTEM SELECTOR” ไวใ้ นตำแหน่ง “AUX” 5.3 ใชค้ นั บงั คบั คานป้ันจ่นั “BOOM OPERATING” หรอื คันบงั คับเครื่องคำ้ ยนั “SPADE OPERATING” ตามความตอ้ งการ 6. การเตรียมใช้งานปม๊ั สบู ถา่ ยนำ้ มนั เชื้อเพลงิ “FUEL TRANSFER OPERATION” และกุญแจไฮดรอลิก “IMPACT WRENCH” 6.1 จัดกระเดอ่ื งลิ้นควบคุมการใช้กว้านฉกุ เฉินของเครือ่ งกำเนดิ กำลงั สำรอง “APU EMERGENCY WINCH CONTROL VALE” ไว้ในตำแหน่งใช้งานด้วยกำลังไฮดรอลิกปกติ “NORMAL OPERATION” (อยู่ ทางด้านซ้ายมอื ในห้องช่าง) 6.2 จัดคันเลอื กระบบไฮดรอลกิ “SYSTEM SELECTOR” ไวใ้ นตำแหนง่ “REFUEL” 7. การเตมิ น้ำมันเชอ้ื เพลงิ และการถ่ายนำ้ มนั เช้อื เพลงิ “REFUEL - DEFUEL OPERATION” 7.1 เปดิ ลนิ้ นำ้ มันเชือ้ เพลิงของถังซ้าย และถังขวา 7.2 ปิดถงั ดา้ นหน้า และลน้ิ ถา่ ยน้ำมนั ตา่ ง ๆ 7.3 จัดคันบงั คบั “FUEL PUMP CONTROL” ไวใ้ นตำแหนง่ ปดิ “CLOSE” 7.4 ต่อทอ่ น้ำมนั เช้ือเพลิงเขา้ กบั ปม๊ั จดั คนั บงั คบั FLOW REGULATOR ไวใ้ นตำแหนง่ 10 7.5 ติดเครอื่ งยนตช์ ว่ ย และจดั คันเลอื กระบบไฮดรอลกิ “SYSTEM SELECTOR” ไว้ในตำแหนง่ “REFUEL” 7.6 การเติมนำ้ มันเช้ือเพลิงเขา้ รถกูใ้ ห้จดั คันบังคบั ปม๊ั สบู ถ่ายนำ้ มนั เชื้อเพลงิ “FUEL PUMP CONTROL” ไว้ในตำแหนง่ เติมนำ้ มัน “REFUEL” และการถ่ายนำ้ มนั เชอื้ เพลงิ ออกจากรถกู้ ใหจ้ ดั คนั บงั คับปม๊ั สบู ถา่ ยน้ำมันเช้ือเพลงิ “FUEL PUMP CONTROL” ไวใ้ นตำแหนง่ ถา่ ยนำ้ มัน “DEFUEL”
ห น้ า | 79 7.7 จัดคนั บังคบั FLOW REGULATOR ไวใ้ นตำแหนง่ ท่ตี อ้ งการ ตำแหน่ง 5.50 – 0 จะสูบน้ำมันได้ 3 – 36 แกลลอน/นาที ตำแหน่ง 6 – 10 จะไม่มีการจ่ายน้ำมัน 8. การเลกิ ใชง้ าน 8.1 จดั คนั บังคบั FLOW REGULATOR ไว้ในตำแหนง่ 10 8.2 จัดคนั บังคบั ปม๊ั สบู ถ่ายน้ำมนั เชือ้ เพลิง “FUEL PUMP CONTROLไว้ในตำแหน่ง ปิด “OFF” 8.3 จัดคันเลือกระบบไฮดรอลิก “SYSTEM SELECTOR” ไวใ้ นตำแหนง่ “MAIN” 8.4 ดบั เครอ่ื งยนตช์ ว่ ย ถอดทอ่ น้ำมันเชือ้ เพลิง เทนำ้ มนั ออกจากท่อใหห้ มดก่อนเก็บทอ่ และจดั ล้นิ นำ้ มนั เช้ือเพลิงของถังนำ้ มันต่าง ๆ ไว้ในตำแหน่งใช้งานตามปกติ 9. การใช้งานกุญแจไฮดรอลิก “IMPACT WRENCH” 9.1 ตอ่ ท่อน้ำมนั ไฮดรอลิกแบบปลดเรว็ เขา้ กับกญุ แจไฮดรอลิก 9.2 จดั คนั บังคบั ปัม๊ สบู ถา่ ยน้ำมนั เชือ้ เพลงิ “FUEL PUMP CONTROL” ไวใ้ นตำแหนง่ ปิด “OFF” 9.3 จัดคนั บงั คบั FLOW REGULATOR ไวใ้ นตำแหนง่ 10 9.4 ติดเครื่องยนต์ชว่ ย และจดั คนั เลอื กระบบไฮดรอลกิ “SYSTEM SELECTOR” ไวใ้ นตำแหน่ง “REFUEL” 9.5 จัดคนั บังคบั FLOW REGULATOR ไวใ้ นตำแหนง่ ตามแรงบดิ ทตี่ ้องการใช้ ปรับทศิ ทางการหมุน ของกญุ แจไฮดรอลกิ และใช้งานกญุ แจดว้ ยการกดไก 10. การเลกิ ใช้งาน 10.1 จัดคนั บังคบั FLOW REGULATOR ไวใ้ นตำแหน่ง 10 10.2 จัดคันเลอื กระบบไฮดรอลิก “SYSTEM SELECTOR” ไว้ในตำแหนง่ “MAIN” 10.3 ดบั เครือ่ งยนต์ช่วย ถอดท่อน้ำมนั ไฮดรอลิกออกจากกุญแจไฮดรอลกิ และเทน้ำมนั ออกจากท่อ ปลดเรว็ ให้หมด แลว้ จึงเกบ็ กญุ แจไฮดรอลิก และทอ่ นำ้ มันเขา้ ทเี่ กบ็ ---------------------------------------
ห น้ า | 80 ตารางที่ 2-1 การปรับตง้ั คันบงั คบั FLOW REGULATOR เพ่อื ใชง้ านกุญแจไฮดรอลกิ และปม๊ั สูบถ่ายนำ้ มันเชอ้ื เพลงิ ตำแหน่งคันบังคบั การไหลของ ค่าเฉลี่ยแรงบดิ เป็น ปอนด.์ ฟตุ การไหลของ FLOW น้ำมนั ไฮดรอลิก น้ำมนั เช้อื เพลิงจาก REGULATOR เป็นแกลลอน/นาที สลักเกลียวขนาด 1 สลกั เกลยี วขนาด 1 ปม๊ั สูบถา่ ย โดยประมาณ นวิ้ ในเวลา 5 วนิ าที นิว้ ในเวลา 10 นำ้ มันเช้อื เพลงิ เปน็ วนิ าที แกลลอน/นาที โดยประมาณ 0 6.3 ไม่ใช้ ไม่ใช้ 36 0.50 6.2 ไม่ใช้ ไมใ่ ช้ 35.5 1.00 6.0 ไมใ่ ช้ ไม่ใช้ 34 1.50 5.8 ไม่ใช้ ไม่ใช้ 33.5 2.00 5.5 ไมใ่ ช้ ไมใ่ ช้ 33 2.50 5.1 ไมใ่ ช้ ไมใ่ ช้ 29 3.00 4.5 ไม่ใช้ ไม่ใช้ 26.5 3.25 4.1 940 ไม่ใช้ 24 3.50 3.9 800 1000 21 3.75 3.5 620 770 18.5 4.00 3.2 490 580 16 4.25 2.8 360 480 14 4.50 2.4 305 450 9 5.00 1.7 - -3 5.50 1.1 - -0 6 - 10.00 0 - - ---------------------------------------
ห น้ า | 81 วชิ า การใช้และซ่อมบารุง รถสายพานก้ซู ่อม แบบ 653 แผนกวชิ ายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า ค่ายอดศิ ร สระบุรี
ห น้ า | 82 แผนกวิชายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรยี นทหารมา้ ศูนยก์ ารทหารมา้ ค่ายอดศิ ร สระบุรี ---------- วิชา การใช้ และการปรนนิบัติบำรงุ รถสายพานก้ซู อ่ ม แบบ 653 (ARV TYPE 653) บทที่ 1 ตอนที่ 1 1. คุณลักษณะทั่วไปและมาตราทาน รถสายพานกูซ้ ่อม แบบ 653 ใช้สำหรับกซู้ อ่ มรถถังขนาดกลาง และยานพาหนะอื่นๆ ซ่ึงชำรุดเสยี หายจากการกระทำของข้าศึก หรอื จากเครือ่ งกดี ขวางตา่ ง ๆ ใน ภูมิประเทศ และใช้สนบั สนุนงานซ่อมบำรงุ รถถัง เชน่ การยกองคป์ ระกอบทีม่ นี ำ้ หนักมากๆ เชน่ เครือ่ งยนต,์ เครื่องเปล่ยี นความเรว็ และป้อมปนื รถถัง ฯลฯ ตวั เกราะสร้างดว้ ยแผ่นเกราะเหลก็ กล้า เชื่อมประสานเข้าด้วยกนั มลี ักษณะทรวดทรงตำ่ และมมี ุมลาดเพ่ือป้องกนั การทะลทุ ะลวงจาก กระสนุ ปนื รถสายพานกูซ้ ่อม แบบ 653 ใช้ตัวรถและระบบขบั เคล่ือนของ รถถัง 30 (T 69-2) ปฏิบตั กิ ารด้วย พลประจำรถ 5 นาย อาวธุ ประจำรถคือ ปนื กล ขนาด 12.7 มม.จำนวน 1 กระบอก ติดตัง้ ทีป่ ้อม ตรวจการณ์ของพลยงิ ปืนกล อุปกรณก์ ซู้ อ่ มประจำรถคอื กว้านหลัก,กว้านเลก็ ,ปั้นจน่ั ,ใบมีด และ คานลากจูง รถสายพานกู้ซอ่ ม แบบ 653 แบ่งได้เป็น 3 ตอน ดงั นี้ - ตอนหน้า เปน็ ห้องพลขับ จะติดตง้ั แผงเคร่อื งวัด,แผงสวิตช์ควบคุมวงจรไฟฟา้ ,กล่องควบคุม ระบบเครือ่ งดบั เพลิง,แตรเตือน และไฟเตือน เครื่องควบคมุ และคันบงั คับต่างๆ ที่ใช้ในการควบคมุ การทำงานของเครอื่ งยนตแ์ ละการขับรถ ชดุ ลนิ้ ควบคุมและคันบงั คบั กว้านเลก็ , ปัน้ จนั่ , ใบมีด และ กว้านหลกั จะติดต้ังอยทู่ างขวามือของพลขบั คนั บงั คบั ป๊มั ไฮดรอลกิ กู้ซ่อม และคนั บังคบั หบี เฟืองขับกว้านหลกั จะตดิ ตง้ั อยู่บนพน้ื รถด้านทีน่ ่ังพลขบั ถงั น้ำมนั เชอื้ เพลงิ ชดุ หนา้ และปั๊มสูบลอ่ จะตดิ ตง้ั อยทู่ างขวามือของพล ขับ - ตอนกลาง เป็นห้องพลประจำรถซึ่งติดตงั้ ถงั น้ำมนั เชอื้ เพลิงชุดกลาง,ถงั น้ำมันไฮดรอลกิ ระบบ กูซ้ อ่ ม,รงั ผงึ้ ระบายความร้อนด้วยน้ำมันไฮดรอลกิ , ทีน่ ั่งพลประจำรถ, เคร่อื งทำความร้อน, เครือ่ ง อปุ กรณ์ติดต่อสอ่ื สารประจำรถ,ถงั ลม,กวา้ นหลัก,แผงควบคมุ ปั้นจั่น ทางด้านบนของพลประจำรถจะ ตดิ ต้งั ปืนกลตอ่ สู้อากาศยานและโคมไฟอินฟราเรด ฯลฯ - ตอนหลัง เปน็ หอ้ งระบบขบั เคล่ือนรถ ซ่งึ ตดิ ต้ังเครือ่ งยนต,์ หีบเฟืองถ่ายทอดกำลังขบั , ชุดเฟืองบังคบั เล้ียวและห้ามล้อรถ หบี เฟอื งขบั ข้ันสดุ ทา้ ย,พดั ลมระบายความรอ้ นของเคร่ืองยนต์,หมอ้ น้ำรังผ้ึงของ เครื่องยนต,์ ถังน้ำมันหลอ่ ลื่นของเครือ่ งยนต์,ถังนำ้ มนั ไฮดรอลิกบังคบั เลีย้ วและหา้ มล้อ 2. องค์ประกอบหลกั รถสายพานกซู้ ่อม แบบ 653 มีองคป์ ระกอบหลัก 5 อย่าง ดงั นี้ 2.1 เครอ่ื งควบคุมและคนั บังคบั รถ ตดิ ตั้งอย่ภู ายในห้องพลขับทางดา้ นหนา้ ซา้ ยของรถ ภายใน ประกอบด้วย ระบบเคร่อื งควบคุมและคนั บงั คบั ต่างๆ แผงเครื่องวัดและไฟเตอื น,ท่ีนั่งพลขบั ฯลฯ 2.2 หนว่ ยกำลังและองค์ประกอบ ติดต้ังอยูภ่ ายในห้องเครอื่ งยนตท์ างด้านหลังรถภายในประกอบด้วย เครื่องยนต,์ หีบเฟืองถ่ายทอดกำลัง,เคร่อื งเปลี่ยนความเร็ว,คลตั ช,์ ชดุ เฟอื งบังคบั เลย้ี วและหา้ มลอ้ , หบี เฟอื งขับขน้ั สุดท้าย,พัดลมระบายความรอ้ นของเคร่อื งยนต,์ ถังน้ำมนั ไฮดรอลิกบงั คบั เลยี้ วและ ห้ามลอ้ ,หม้อนำ้ รังผึง้ ,เครอ่ื งระบายความรอ้ นนำ้ มนั เครือ่ งยนต์,หมอ้ กรองอากาศ ฯลฯ 2.3 เครือ่ งพยงุ ตัวรถและสายพาน ประกอบด้วย ลอ้ ขับสายพาน,ลอ้ ปรบั สายพาน,ลอ้ กดสายพาน, คานรับแรงบิด,เครอื่ งผ่อนแรงสะเทือนและสายพาน ฯลฯ
ห น้ า | 83 2.4 หอ้ งพลประจำรถ ตดิ ตั้งอยู่บรเิ วณกง่ึ กลางตวั รถ ภายในประกอบดว้ ย ถังนำ้ มนั เชือ้ เพลิง, ถงั นำ้ มนั ไฮดรอลิกกซู้ อ่ ม, เครอื่ งระบายความร้อนน้ำมนั ไฮดรอลิก,ท่ีนงั่ พลประจำรถ,เคร่อื งทำความ รอ้ น,เครื่องสอ่ื สารประจำรถ,ถังลมตดิ เคร่อื งยนต,์ กวา้ นหลกั ,ป๊มั ไฮดรอลิกกู้ซอ่ ม,ชดุ ล้ินควบคุม และ คนั บงั คับปั้นจัน่ ดา้ นบนจะติดตั้ง ปก.ขนาด 12.7 มม.จำนวน 1 กระบอก และโคมไฟสอ่ งสว่างระบบ อินฟราเรด 2.5 ตัวรถดา้ นนอก - ด้านหนา้ รถ ตดิ ตัง้ ใบมดี ทำงานดว้ ยระบบไฮดรอลกิ และขอลากจงู 2 อัน - ดา้ นหลังรถ ตดิ ตงั้ ขอพว่ ง สำหรับลากจูงด้วยคานลากจงู และมีขอลากจูง 2 อัน - ด้านขวารถ ติดต้ังระบบปนั้ จนั่ - ดา้ นซา้ ยรถ ติดตง้ั คานลากจูง บนบงั โคลนทัง้ สองขา้ ง เปน็ ทตี่ ิดตั้งถังน้ำมนั เช้ือเพลงิ ด้านนอก, หีบเคร่อื งอะไหล่, หบี เครื่องมอื เคร่อื งใช้ประจำรถ,โคมไฟท้าย และแผ่นครอบสายพานทำดว้ ยยาง เพื่อป้องกันเครอ่ื งพยุง ตัวรถ จากการทำลายด้วยกระสุนเจาะเกราะด้วยความร้อน (HEAT) 3. เกราะปอ้ งกนั ตัวรถสรา้ งด้วยแผ่นเกราะเหลก็ กลา้ เชอ่ื มประสานกัน เพ่ือเป็นทีต่ ิดตั้งองค์ประกอบและ เครอื่ งกลไกตา่ งๆ และปอ้ งกนั พลประจำรถ ตลอดจนส่งิ ตา่ งๆ ภายในรถจากอำนาจการยิง นอกจากนย้ี ังทำ หน้าท่รี องรับภารกรรมตา่ งๆ ที่เกิดข้นึ ในขณะใชง้ านอปุ กรณก์ ซู้ อ่ ม แผน่ เกราะตวั รถแบ่งออกเปน็ สว่ นตา่ งๆ ดังนี้ 3.1 แผ่นเกราะด้านหนา้ ประกอบด้วยแผน่ เกราะ 2 แผน่ คอื แผ่นเกราะบนและแผน่ เกราะ ลา่ ง ความหนา 99 มม. 3.2 แผน่ เกราะด้านขา้ ง ประกอบด้วย แผน่ เกราะดา้ นซ้ายและดา้ นขวา สามารถปอ้ งกัน กระสนุ ปนื ขนาด 12.7 มม. ไดท้ ี่ระยะ 160 เมตร 3.3 แผน่ เกราะด้านหลัง ประกอบดว้ ยแผ่นเกราะ 3 ตอน คอื ตอนบน,ตอนล่าง,ตอนกลาง, ตอนล่าง และเกราะกันหบี เฟืองขบั ขน้ั สดุ ท้ายท้งั สองขา้ ง 3.4 แผ่นเกราะใต้ท้องรถ ประกอบด้วยแผ่นเกราะ 3 ตอน คือ ตอนหนา้ , ตอนกลาง, ตอนหลงั แผ่นเกราะใตท้ อ้ งรถจะมชี ่องออกฉกุ เฉินและแผ่นปดิ ใตท้ อ้ งรถ ซ่ึงถอดออกได้ตามบริเวณทต่ี ดิ ตงั้ องคป์ ระกอบต่างๆ เพือ่ ให้การบริการตอ่ องคป์ ระกอบนน้ั ๆ เชน่ ระบบนำ้ มันเช้ือเพลิง, ระบบ ไฮดรอลกิ ,ระบบหลอ่ ล่นื ,ระบบระบายความรอ้ น,ท่อไอเสียของเคร่ืองทำความรอ้ น,ชอ่ งตรวจเครือ่ ง ยนต์ และชอ่ งตรวจคลตั ช์ ฯลฯ 3.5 แผน่ เกราะด้านบน ประกอบดว้ ย แผ่นเกราะปดิ ห้องเคร่ืองยนต์,แผ่นเกราะปดิ เคร่ืองเปลี่ยน ความเรว็ และแผ่นเกราะดา้ นขวาหนา้ ซง่ึ เป็นที่ตดิ ตง้ั ฐานรองรับแทน่ ป้ันจน่ั ความหนาของ แผน่ เกราะด้านบนประมาณ 20-30 มม.สามารถปอ้ งกันสะเก็ดกระสนุ ปืนใหญ่ขนาดโต 20 มม.ได้ แผน่ เกราะปดิ เคร่ืองเปล่ียนความเรว็ จะเปน็ ชุดบานเกลด็ บังคบั หมุนเปดิ -ปิดได้ เพอ่ื จดั ปริมาณอากาศไหลผ่านหมอ้ นำ้ รงั ผึง้ ให้เหมาะสมกับสภาพการใชง้ าน การเปดิ -ปิดแผน่ บานเกล็ด จะ กระทำโดยใช้คนั บงั คบั ภายในหอ้ งพลขับ 4. การกำหนด ด้านหนา้ ,ด้านหลัง,ด้านซา้ ย และด้านขวาของรถ ดา้ นหนา้ , ดา้ นหลงั , ดา้ นซ้าย และด้านขวาของรถสายพานกซู้ ่อม แบบ 653 ทถ่ี ูกกล่าวถงึ ตามบรเิ วณทัว่ ไป หรอื ด้านนน้ั ๆ ของรถจะ กำหนดไดด้ ว้ ยการหันหนา้ เขา้ หาด้านหลงั ของห้องเครอื่ งยนต์ซึ่งเรยี กว่าด้านหลงั ยกเว้นการกำหนด ด้านต่างๆ ของเครื่องยนต์ โดยให้เรียกด้านทตี่ ิดตง้ั ชุดเฟืองขับเครือ่ งประกอบฯ วา่ เปน็ ดา้ นหนา้ ของ เครอ่ื งยนต์และดา้ นหีบเฟืองถ่ายทอดกำลงั เปน็ ด้านหลัง สว่ นด้านซ้ายและด้านขวาจะกำหนดไดด้ ้วย การมองหนั หนา้ เขา้ หาเรือนเฟืองขบั เคร่ืองประกอบฯ
ห น้ า | 84 5. ระบบหน่วยกำลัง 5.1 ระบบหนว่ ยกำลังของรถสายพานกู้ซ่อม แบบ 653 ประกอบด้วยเครื่องยนตด์ ีเซล 12 สบู , V-60, ระบายความร้อนด้วยนำ้ จุดระเบดิ ดว้ ยกำลงั อัดแบบ 12150 L-7 BW, 4 จังหวะรอบ, กำลัง 580 แรงม้า ณ 2,000 รอบ/นาที รอบเดนิ เบา 500-600 รอบ/นาที,รอบใช้งาน 1,600- 1,800 รอบ/นาที 5.2 ระบบน้ำมันเชื้อเพลิง ประกอบด้วย ถังนำ้ มนั เช้อื เพลิง จำนวน 3 ชดุ คอื - ชุดหน้า ติดตง้ั อยทู่ างดา้ นหนา้ รถ ประกอบด้วยถงั ขวาและถงั ซา้ ย ถงั ชดุ หน้าจะมี เคร่ืองวดั ระดบั น้ำมนั เชอื้ เพลิง ซ่ึงประกอบด้วยลกู ลอย และทอ่ ใส ซงึ่ มขี ีดบอกประมาณนำ้ มันไวด้ ้วย ถงั หนา้ ซา้ ยความจุ 130 ลิตร และข้างหนา้ ขวาความจุ 140 ลิตร - ชดุ หลงั ติดต้งั อยทู่ างตอนหลงั ใตแ้ ผ่นปดิ พ้ืนหอ้ งพลประจำรถ ประกอบด้วยถงั หลังซ้าย ความจุ 200 ลิตร และถังหลังขวา ความจุ 35 ลติ ร - ชุดนอก ตดิ ตง้ั อยู่บนบังโคลนดา้ นขวาของรถ ประกอบดว้ ยถังเล็ก 4 ถัง ความจุถังละ 90-95 ลิตร 5.3 ระบบไอด-ี ไอเสยี ประกอบดว้ ยหม้อกรองอากาศแบบแหง้ จำนวน 1 หม้อ ติดตง้ั อย่ภู าย ในห้องเครอื่ งยนต์ และฝุ่นผงท่สี ะสมอยู่ภายในหมอ้ กรองอากาศขนั้ แรกจะถูกระบายออกไปทางทอ่ ไอเสียด้วยการชกั นำจากแรงดันของทอ่ ไอเสีย 5.4 ระบบระบายความรอ้ น ประกอบด้วยพัดลมระบายความรอ้ นทำหน้าท่ีดูดอากาศใหไ้ หลผ่าน หม้อนำ้ รังผึ้งของเคร่อื งยนตแ์ ละเครือ่ งระบายความรอ้ นของน้ำมนั ไฮดรอลิก ระบบกู้ซ่อมในระบบ ระบายความรอ้ นจะมเี ครอื่ งทำความรอ้ นดว้ ยการเผาไหมน้ ้ำมนั เชือ้ เพลิง เพื่ออ่นุ นำ้ ระบายความร้อน, นำ้ มนั เครื่องยนต์ และห้องพลประจำรถ เม่ือปฏิบตั งิ านในเขตหนาว 5.5 หบี เฟอื งถา่ ยทอดกำลงั ,คลัตช,์ เครื่องเปล่ยี นความเรว็ ,ชดุ เฟืองบังคับเล้ยี วและห้ามล้อ และหบี เฟืองขบั ขั้นสุดท้าย - หีบเฟอื งถ่ายทอดกำลังทำหนา้ ที่ถ่ายทอดกำลงั ขับและเพิม่ รอบความเร็วจากเครอ่ื งยนต์ ใหม้ ากขึน้ แล้วจงึ ส่งกำลงั ขบั ผา่ นคลตั ชไ์ ปยังเครอ่ื งเปลีย่ นความเรว็ นอกจากนย้ี งั สง่ กำลงั ขับผ่านชดุ ตัด-ตอ่ กำลังใหก้ บั ปั๊มไฮดรอลกิ กู้ซ่อม - คลตั ช์ เป็นคลัตชแ์ ห้ง ถา่ ยทอดกำลังดว้ ยความฝืด ทำดว้ ยแผ่นเหลก็ รปู จานหลายแผน่ วางซอ้ นกันทำ หน้าทตี่ ดั -ต่อกำลังขับระหวา่ งหบี เฟืองขบั ถา่ ยทอดกำลงั และเครือ่ งเปลย่ี นความเรว็ ทจ่ี านคลัตชอ์ ันนอกจะมี เฟอื งวงแหวนเพอื่ รบั กำลงั ขับจากชดุ เฟอื งขับของมอเตอรห์ มุนเครอื่ งยนต์ การควบคมุ และบงั คับการทำงาน ของคลัตช์กระทำไดด้ ้วยชุดกา้ นโยง และคนั คลตั ชใ์ นหอ้ งพลขบั - เคร่อื งเปลย่ี นความเร็วเปน็ แบบธรรมดา ซ่งึ สามารถเลือกใช้เกยี ร์เดินหนา้ ได้ 5 ตำแหน่ง และเกยี ร์ ถอยหลังได้ 1 ตำแหน่ง ในตำแหนง่ เกียร์ 2-3 และเกียร์ 4-5 จะมชี ดุ เฟืองปรบั ความเรว็ (SYNCHROMESH) ประกอบอยู่ดว้ ย เพ่อื ชว่ ยใหเ้ ขา้ เกียรไ์ ดง้ ่ายข้ึน การควบคุมและบงั คับการทำงานของเครอ่ื ง เปลี่ยนความเร็ว กระทำได้ด้วยชุดกา้ นโยงและคันเกียร์ในหอ้ งพลขบั - ชุดเฟอื งบงั คบั เล้ยี วและหา้ มล้อ ทำหนา้ ทถ่ี า่ ยทอดกำลงั ขบั ระหว่างเครอ่ื งเปลี่ยนความเร็วและ หบี เฟืองขบั ข้ันสดุ ท้ายแต่ละขา้ ง หบี เฟืองบงั คบั เล้ียวและห้ามล้อ ประกอบด้วยชดุ เฟอื งเกียรบ์ รวิ าร, จานห้ามล้อเล็ก,จานห้ามลอ้ ใหญ่ และคลตั ช์ หน้าที่สำคญั ของชุดเฟืองบังคับเล้ยี วและห้ามลอ้ ก็คอื ทำใหเ้ กิด การบังคบั เลีย้ ว การห้ามล้อ การหมนุ เล้ยี วอยู่กับท่ี และการทดรอบความเรว็ เพอ่ื เพ่มิ กำลงั ขบั เคลอ่ื น การ ควบคมุ และการบงั คับการทำงานของชุดเฟอื งบังคบั เล้ยี วและห้ามล้อกระทำไดด้ ว้ ยชดุ ก้านโยง, คนั บงั คบั เล้ยี ว และคนั ห้ามลอ้ ในหอ้ งพลขบั - หีบเฟอื งขับขนั้ สุดท้าย เป็นแบบชุดเฟอื งเกยี รบ์ รวิ าร ทำหนา้ ทีร่ ับกำลังขบั จากชดุ เฟอื ง
ห น้ า | 85 บังคบั เลย้ี วและห้ามล้อ แลว้ ทดรอบความเรว็ ใหช้ ้าลงเพื่อเพิ่มแรงบดิ ขบั เคล่อื นให้แกล่ ้อขับสายพาน ซึ่งทำหน้าทห่ี มุนเฟอื งขบั สายพานทั้งสองขา้ ง 5.6 ระบบพยงุ ตัวรถและสายพานรถสายพานกซู้ อ่ ม แบบ 653 ใช้ระบบพยุงตัวรถด้วยคานรบั แรงบิด ประกอบด้วยล้อกดสายพานข้างละ 5 ล้อ ลอ้ ขับสายพานอยู่ด้านหลงั รถ และลอ้ ปรบั สายพานอยู่ ดา้ นหนา้ รถ ลอ้ ต่างๆ ในระบบพยงุ ตวั รถเปน็ ล้อคูแ่ บบถอดแยกไม่ได้ - สายพานท้งั สองข้าง เปน็ สายพานเหล็กแบบสายพานตาย ข้างละ 91 ขอ้ ซงึ่ ถกู ขบั ดว้ ยซีเ่ ฟืองของล้อ ขับสายพาน ทีช่ ุดลอ้ ปรับสายพานจะมชี ดุ เฟืองตัวหนอนและข้อเหวียงปรบั สายพาน ระยะเคลือ่ นทีข่ องลอ้ กด สายพานแต่ละล้อจะถูกจำกดั ด้วยเหลก็ หยุดแขนลอ้ กดสายพาน ท่ีแขนล้อกดสายพานลอ้ ท่ี 1และล้อที่ 5 จะ มเี ครือ่ งผ่อนแรงสะเทอื นเมื่อรถเคลอื่ นที่ไปในภมู ิประเทศ 5.7 ระบบไฟฟ้า เปน็ ระบบไฟตรง 24 โวลท์ ซ่ึงประกอบด้วยระบบต่าง ๆ ซงึ่ ทำงานเกีย่ วขอ้ ง และสมั พันธ์กนั ตดิ ตง้ั อยภู่ ายในห้องพลขบั ,หอ้ งพลประจำรถและหอ้ งเคร่อื งยนต์ เช่น ระบบแบตเตอรี่ ระบบหมุนเคร่ืองยนต์ดว้ ยกระแสไฟฟ้า,ระบบประจุไฟ,ระบบแสงสว่าง,ระบบเคร่ืองวดั และสญั ญาณ เตอื น เปน็ ตน้ 5.8 ระบบเครอ่ื งดบั เพลิงประจำรถ เป็นระบบใชง้ านไดท้ ้งั แบบอตั โนมัติและก่งึ อตั โนมตั ิ สารดบั เพลงิ 1211 สามารถดบั เพลงิ ทเี่ กดิ จากกระแสไฟฟา้ และน้ำมนั ตา่ งๆ ระบบดบั เพลงิ ฯ ประกอบดว้ ยหมอ้ น้ำยาดับเพลิง จำนวน 3 หมอ้ ตดิ ตั้งอยทู่ างท้ายรถดา้ นขวาในหอ้ งเครือ่ งยนตใ์ ต้พดั ลมระบายความรอ้ น พรอ้ มดว้ ยกล่อง ควบคุมการทำงานซึง่ อยู่ในหอ้ งพลขับ ท่ีหัวหม้อนำ้ ยาดับเพลิงทงั้ 3 หัว จะมชี ุดบังคบั การทำงานดว้ ยเชอื้ ประทุ ไฟฟา้ และมีทอ่ ส่งนำ้ ยาดบั เพลิงตอ่ เข้าไปยงั หวั ฉดี น้ำยาดบั เพลงิ ซ่ึงตดิ ตัง้ อย่ใู นตำบลตา่ งๆ ภายในหอ้ ง เคร่ืองยนต์ 5 แห่ง และภายในหอ้ งพลประจำรถ 5 แหง่ - ระบบเครื่องดับเพลิง เม่อื ใชใ้ นแบบอัตโนมัตจิ ะรบั สญั ญาณความรอ้ นจากชุดสง่ สญั ญาณ ความร้อนซึ่งตดิ ตง้ั อยใู่ นตำบลตา่ งๆ ภายในเครอื่ งยนตแ์ ละหอ้ งพลประจำรถ สัญญาณน้ีจะถูกขยายด้วย กล่องควบคุม และสง่ ไปบังคับใหเ้ ช้อื ประทุไฟฟา้ จุดระเบิดขึ้น ทำให้น้ำยาดบั เพลงิ ถูกสง่ ไปยงั ท่ีเกิด เพลงิ ไหมข้ น้ึ ภายในห้องเครอื่ งยนตห์ รือภายในห้องพลประจำรถแหง่ ใดแห่งหนงึ่ พลขบั สามารถกด สวิตช์ดบั เพลิง เพ่ือบังคบั ให้ระบบดับเพลิงสง่ นำ้ ยาดบั เพลิงไปยังบรเิ วณทีเ่ กิดเพลิงไหมไ้ ดต้ ามความ ต้องการใช้งาน - การบังคบั ใชง้ านระบบดบั เพลงิ แบบกงึ่ อตั โนมัติ จะกระทำได้ดว้ ยสวติ ช์ดับเพลงิ แบบ ปุม่ กดบนกล่องควบคุมฯ ในห้องพลขบั 5.9 ระบบกลอ้ งตรวจการณด์ ว้ ยแสงอนิ ฟราเรด รถสายพานกูซ้ อ่ ม แบบ 653 จะมรี ะบบกลอ้ ง ตรวจการณด์ ว้ ยแสงอนิ ฟราเรดสำหรบั การขับรถหรือการปฏิบตั งิ านในเวลากลางคนื ซึ่งขณะใชง้ านจะ ติดตัง้ เขา้ กบั ฐานตดิ ตงั้ หนา้ ห้องพลขบั และใช้ประกอบกับโคมไฟอินฟราเรด ซ่งึ สามารถปรบั ระดบั ลำ แสงไฟสูง-ต่ำได้ 5.10 ระบบเคร่อื งทำควัน ใชส้ ร้างม่านควันพรางรถ ด้วยการฉีดนำ้ มันเช้อื เพลงิ เข้าไปทอ่ รว่ ม ไอเสยี ของเครือ่ งยนต์ให้ระเหยเป็นไอนำ้ มนั เม่ือถูกขับออกมาพร้อมกบั ไอเสียกระทบกับความเยน็ ของอากาศภายนอก ไอนำ้ มนั จะกลนั่ ตัวกลายเปน็ ควนั สขี าวปนเทาหนาทึบ - ระบบเครื่องทำควัน จะใชน้ ้ำมันเชอ้ื เพลิงจากถงั น้ำมันเชื้อเพลงิ กลุม่ กลางภายในรถ การบังคบั ใช้งานเครื่องทำควันจะกระทำได้ดว้ ยสวิตช์เคร่ืองทำควันบนแผงสวติ ช์ของพลขบั
ห น้ า | 86 6. มาตราทานรถ พลประจำรถ (พลขับ 1,พลยงิ ปก.1,ชา่ ง 2,ผบ.รถ 1) 5 นาย นำ้ หนักพรอ้ มรบ 38 ตนั นำ้ หนักกดพืน้ 0.85 กก./ตร.ซม.(12.08 ปอนด/์ ตร.นว้ิ ) ขนาด ความยาว 7.75 เมตร ความสูง (รวม ปก.12.7 มม.) 3.00 เมตร ความกวา้ ง (รวมแผ่นครอบสายพาน) 3.33 เมตร ระยะจากก่ึงสายพาน ดา้ นซ้าย-ขวา 2.64 เมตร สายพานสมั ผัสพ้นื 3.845 เมตร ความสงู ใตท้ อ้ งรถ 0.425 เมตร อตั ราสว่ นกำลังขับเคลอ่ื น : นำ้ หนกั 15.46 แรงม้า/ตัน อาวุธประจำรถ ปก.ขนาด 12.7 มม 1 กระบอก กระสุน ปก.(พรอ้ มหีบกระสนุ ) 500 นดั ลกู ระเบดิ ขว้าง 20 ลูก เคร่อื งยนต์ ดีเซล 12 สบู , V-60, ระบายความร้อนด้วยนำ้ แบบ 12150 L-7 BW,กำลงั 580 แรงม้า ณ 2,000 รอบ/นาที รอบเดินเบา 500-600 รอบ/นาท,ี รอบใช้งาน 1,600-1,800 รอบ/นาที เครื่องเปลยี่ นความเร็ว แบบชนิ โครเมช เกียร์เดนิ หน้า 5 ตำแหนง่ เกียรถ์ อยหลงั 1 ตำแหน่ง ระบบไฟฟ้า 24 โวลท์ แบตเตอรี่ จำนวน 4 หมอ้ แบบ 65,12 โวลท์ 140 แอมป.์ /ชม. เครอ่ื งกำเนิดไฟฟ้า แบบ GFT-6,000,28 โวลท์ 214 แอมป,์ 6,000 วตั ต์ รอบหมนุ ใช้งานต่ำสุด 4,000 รอบ/นาที รอบหมุนใช้งานสงู สดุ 6,000 รอบ/นาที รอบหมุนสงู สดุ ไม่เกิน 10 นาที 7,000 รอบ/นาที ทศิ ทางการหมุนตามเขน็ นาฬิกา เครอื่ งควบคมุ กระแสไฟฟา้ แบบ JET-204 แรงเคลอ่ื นควบคมุ 24 โวลท์ ปรบั แรงเคล่ือนควบคุมได้ 1.5 โวลท์ สมรรถนะ ความเร็วในตำแหนง่ เกียรต์ ่างๆ (เครอื่ งยนตห์ มุน 1,800 รอบ/นาท)ี - เกียร์ 1 6.85 กม./ชม. - เกยี ร์ 2 14.7 กม./ชม. - เกียร์ 3 20.2 กม./ชม. - เกยี ร์ 4 28.9 กม./ชม. - เกยี ร์ 5 45.5 กม./ชม. - เกยี ร์ถอยหลัง 6.85 กม./ชม. ความเร็วสงู สดุ 50.00 กม./ชม.
ห น้ า | 87 ความสนิ้ เปลอื งน้ำมันเครอื่ งยนต์ (บนถนน)(ประมาณ) 175 กรมั /แรงมา้ -ชม.,หรือ 101.5 กรมั /ชม.หรอื 2.4 ลติ ร/กม. หรือ 102 ลติ ร/ชม. (ประมาณ) 8 กรัม/แรงมา้ -ชม.,หรือ 4.65 กรมั /ชม.หรือ 4.5 ลิตร/กม. ระยะปฏบิ ัตกิ ารไกลสุด (บนถนน) 370 กม. ความสามารถในการปีนลาด ลาดตรง 30 องศา ลาดขา้ ง 30 องศา ข้ามเครอื่ งกีดขวางทางด่ิง 0.60 เมตร ขา้ มคกู วา้ ง 2.60 เมตร ลยุ ขา้ มนำ้ ลกึ 1.40 เมตร รัศมีวงเลี้ยว สามารถหมุนเล้ียวอย่กู ับที่ กลอ้ งตรวจการณแ์ ละขบั รถในเวลากลางคืน ระบบอนิ ฟราเรดของพลขบั ยา่ นการเห็น 30 องศา ระยะตรวจการณ์ 60 เมตร ระบบเครอ่ื งดับเพลิงประจำรถ แบบ อตั โนมัติและก่ึงอตั โนมัติ สารดับเพลงิ 1211 ความไวในการดบั เพลงิ 3 - 5 วินาที ระยะเวลาในการฉดี สารดบั เพลงิ (แตล่ ะท่อ) 10 - 15 วินาที ระยะเวลาในการฉดี สารดับเพลงิ (ท้งั 3 ทอ่ ) 30 - 35 วินาที นำ้ หนักของสารดับเพลิง (แต่ละท่อ) 1.5 กก. เครอื่ งทำควันดว้ ยระบบไอเสยี สารสร้างควนั น้ำมนั เช้ือเพลงิ ความคงทนของควนั (ประมาณ) 2 - 4 นาที ระยะเวลาใชง้ านตอ่ เน่อื ง (ไม่เกนิ ) 10 นาที ความสิ้นเปลอื งสารสรา้ งควนั (ประมาณ) 10 ลติ ร/นาที ความจุ ถงั นำ้ มนั เช้ือเพลิง 965 - 885 ลิตร ถงั หน้า 270 ลิตร (ขวา 140 ลิตร,ซ้าย 130 ลติ ร) ถังหลงั 235 ลติ ร (หนา้ 200 ลติ ร,หลงั 35 ลิตร) ถังนอก 360 - 380 ลติ ร (ถงั ละ 90 - 95 ลิตร) ระบบหล่อล่นื เครื่องยนต์ 78 ลิตร อ่างนำ้ มันเครอ่ื งยนต์ 13 ลติ ร ถงั น้ำมันเคร่ืองสำรอง 35 ลติ ร หีบเฟอื งถา่ ยทอดกำลัง 6 - 7 ลติ ร เครื่องเปลยี่ นความเร็ว (11 - 12 กก.) 12.5 - 13.5 ลติ ร หีบเฟอื งบังคบั เล้ียวและหา้ มล้อ (ตัวละ) 2.5 ลติ ร หบี เฟืองขับขัน้ สดุ ท้าย (ตัวละ) 4.8 ลิตร
ห น้ า | 88 ถงั น้ำมันไฮดรอลิกบังคับเลี้ยวและห้ามลอ้ 18 ลิตร หบี เฟอื งขับกว้านหลกั 2.1 ลติ ร ถงั ลมตดิ เครอ่ื งยนต์ (ถงั ละ) 5 ลติ ร อปุ กรณ์กซู้ อ่ มประจำรถ กวา้ นหลกั ควบคมุ และทำงานด้วยระบบไฮดรอลกิ ความสามารถในการฉุดลาก 32 - 35 ตนั ลวดกว้าน (เสน้ ผ่าศูนย์กลาง) 28.5 มม. ความยาวลวดกวา้ น 130 เมตร กวา้ นเล็ก ควบคมุ และทำงานดว้ ยระบบไฮดรอลกิ ความสามารถในการฉุดลาก 1 ตนั ลวดกว้าน (เส้นผา่ ศนู ยก์ ลาง) 6.2 มม. ความยาวลวดกวา้ น 265 เมตร ปั้นจัน่ ควบคมุ และทำงานด้วยระบบไฮดรอลกิ ความสามารถในการยก 10 ตนั การหมนุ แทน่ ป้นั จั่น 360 องศา (เมือ่ คานปนั้ จั่นทำมมุ 36.5 องศา) รศั มีคานปนั้ จัน่ (มมุ ยกศนู ย์องศา) สงู สุด 6.5 เมตร, ต่ำสดุ 2.2 เมตร (มมุ ยก 66 องศา) ความสงู จากพน้ื ถงึ ปลายคานป้นั จั่น 8.075 เมตร (เมอ่ื คานปนั้ จน่ั ทำมุม 66 องศา) ระดับความสงู ในการยก 6 เมตร ความเร็วในการยก (สูงสุด) 8 เมตร/นาที ลวดกวา้ นปั้นจนั่ (เสน้ ผ่าศูนย์กลาง) 15 มม. ความยาวลวดกว้าน 50 เมตร ความยาวของคานปัน้ จ่นั (ประมาณ) 7 เมตร (ตัวนอก 5 เมตร,ตัวใน 2 เมตร) ใบมดี คำ้ ยนั ควบคมุ และทำงานด้วยระบบไฮดรอลิก ความลึกในการขุดพื้นดนิ (ไม่นอ้ ยกว่า) 20 ซม. ปรมิ าณการขดุ พน้ื ดนิ แห้ง (ไม่นอ้ ยกว่า) 100 ลบ.ม./ซม. ความสามารถในการรับนำ้ หนกั คำ้ ยนั (ไมน่ อ้ ยกวา่ ) 70 ตนั คานลากจูง ความสามารถในการรับนำ้ หนกั (สูงสุด) 35 - 35 ตนั ความสามารถในการลากจงู รถถัง (บนถนนช้ัน 1) 25 - 28 กม./ชม. (บนถนนช้ัน 2) 18 กม./ชม. ระยะลากจงู โดยตอ่ เน่ืองสูงสุด 20 กม. ณ อณุ หภูมิ 35 องศา C. ความสามารถในการปีนลาด เมอื่ ลากจูงรถถงั ลาดตรง 15 องศา, ลาดข้าง 17 องศา **************
ห น้ า | 89 บทท่ี 2 ตอนท่ี 1 1. เคร่ืองควบคุม และคันบงั คับ,เครอื่ งวัดและสญั ญาณเตอื นในห้องพลขับ หมายเลข ชอ่ื อุปกรณ์ หน้าที่และการใชง้ าน 1. แผงสวติ ชข์ องพลขับ ตดิ ต้งั สวิตช์ต่างๆ ซง่ึ ใช้ในการควบคุมการทำงานของ เครื่องยนต,์ ระบบไฟฟา้ ,ระบบแสงสว่าง ฯลฯ 2. แผงเคร่ืองวัด และไฟเตือน ตดิ ตั้งเครื่องวดั ตา่ งๆ และไฟเตือน (ด้านข้าง) ควบคมุ การทำงานและระบบเครื่องดับเพลงิ ประจำรถ 3. กลอ่ งควบคมุ เคร่อื งดับเพลิง ตดิ ตั้งเครื่องวดั ความเร็ว,เครื่องวดั รอบเคร่ืองยนต์ 4. แผงเครอ่ื งวดั (ดา้ นหนา้ ) และเคร่ืองวดั แรงดันน้ำมนั ไฮดรอลกิ เปิด-ปดิ แผน่ เกราะป้องกันกระจกหนา้ หอ้ งพลขบั 5. คนั บังคับแผ่นเกราะป้องกัน กระจกหน้าห้องพลขับ ตอ่ ป้อนกระแสไฟแรงสงู จากกลอ่ งเครอื่ งกำเนดิ ไฟแรงสงู ให้แกก่ ล้องตรวจการอินฟราเรดของพลขบั 6. สายไฟกล้องตรวจการณ์ ระบายความร้อนและอากาศในหอ้ งพลขับ อนิ ฟราเรด เปิด-ปดิ พดั ลมระบายความร้อน เลือกระบบการทำความสะอาดกระจกด้านหนา้ ห้องพบขับ 7. พัดลม มี 2 ตำแหนง่ คอื 8. สวติ ช์พดั ลม - ทำความสะอาดดว้ ยลม 9. ล้ินเลือกระบบการทำความ - ทำความสะอาดด้วยน้ำ เก็บฟิวส,์ สวิตช์,หลอดไฟ และเชอ้ื ประทไุ ฟฟา้ ของ สะอาดกระจก ระบบเคร่ืองดับเพลิง เปดิ -ปดิ แผ่นบานเกลด็ ปิดหม้อน้ำรงั ผ้งึ และเครื่อง 10. กล่องเกบ็ ชิ้นสว่ นอะไหลร่ ะบบ ไฟฟา้ ระบายความรอ้ นน้ำมันเครอ่ื งยนต์ สามารถปรบั ตำแหนง่ ของบานเกล็ดฯ ได้ตามความตอ้ งการ 11. คันบังคบั บานเกล็ดปิดหม้อน้ำ ตั้งรอบเครอ่ื งยนต์ ตามความต้องการในการใช้งาน และ รังผึ้ง ดบั เครื่องยนต์ 12. คนั เร่งมอื (ดับเครอ่ื งยนต)์
ห น้ า | 90 -11 - เคร่ืองควบคมุ คนั บงั คบั เคร่ืองวดั และสญั ญาณเตือน ในห - 11 -
ห น้ า | 91 หมายเลข ชอ่ื อุปกรณ์ หนา้ ที่และการใช้งาน 13. ลิน้ ถังเกบ็ ลม เปดิ -ปิด ถงั เกบ็ ลมสำหรับหมุนตดิ เคร่ืองยนต์ 14. สวิตช์ทำความสะอาดกระจก เปดิ -ปิด ระบบทำความสะอาดกระจกหนา้ ห้องพลขับ หน้าห้องพลขับ 15. สวิตชถ์ า่ ยนำ้ ถา่ ยน้ำ และสิง่ สกปรกออกจากเครอื่ งแยกน้ำ และ น้ำมันของระบบเคร่ืองอดั ลม 16. เครื่องวดั แรงลม แสดงค่าแรงดันในถังเก็บลม - เกณฑป์ ลอดภยั 150 กก./ตร.ซม. - เกณฑใ์ ช้งานต่ำสุด 40 กก./ตร.ซม. 17. ชุดกลไกดับเคร่ืองยนต์ของระบบ ปลดกา้ นโยงคันเรง่ เครื่องยนต์ เพ่ือให้เครอื่ งยนตด์ ับ เครื่องดบั เพลิง กอ่ นทรี่ ะบบเครื่องดบั เพลิงจะทำงาน 18. กล่องควบคมุ เครอ่ื งกำเนิดไฟ เปิด-ปดิ เครื่องกำเนิดไฟแรงสงู ของกล้องตรวจการณ์ แรงดนั สงู อนิ ฟราเรดของพลขับ 19. คันบงั คบั เลีย้ วซา้ ย บงั คับให้รถเลี้ยวซ้าย มี 3 ตำแหนง่ คือ - ตำแหนง่ ปกติ เมื่อไมใ่ ชง้ าน - ตำแหน่งที่ 1 วงเล้ยี วกว้าง - ตำแหนง่ ท่ี 2 วงเลี้ยวแคบ และหมุนอยูก่ บั ที่ 20. คันคลตั ช์ ตดั -ต่อ การถา่ ยทอดกำลังขบั ระหว่างหบี เฟอื งถา่ ยทอด กำลัง และเครอ่ื งเปลี่ยนความเรว็ 21. คนั ปรับที่น่ังพลขบั ปรับระดบั ทน่ี ั่งพลขับ มี 2 ตำแหนง่ คอื สงู และ ตำ่ 22. คนั บังคับป๊ัมไฮดรอลกิ ตดั -ต่อ การถ่ายทอดกำลงั ขบั ระหว่างเฟืองถ่ายทอด กำลงั และป๊ัมไฮดรอลกิ ระบบกูซ้ ่อม 23. คนั บังคบั หบี เฟอื งขับกวา้ นหลกั เลอื กตำแหน่งความเรว็ ใช้งานของกว้านหลกั มี 3 ตำแหน่ง คอื - ตำแหนง่ \"ความเร็วตำ่ \" เม่อื คนั บังคับอยู่หน้าสดุ - ตำแหน่ง \"ความเร็วสงู \" เมอื่ คนั บังคบั อยู่หลังสุด - ตำแหน่ง \"พับเกบ็ \" เม่อื คนั บงั คับอยหู่ นา้ สดุ และ พบั ไปทางขวา 24. เหลก็ ยดึ คันหา้ มล้อ ยึดคันหา้ มลอ้ เท้าไว้ในตำแหน่ง \"จอดรถ\" 25. คนั ห้ามล้อเทา้ ชะลอความเร็ว และหยุดรถ 26. คนั เรง่ เครือ่ งยนต์ ควบคุมความเร็วของเครือ่ งยนต์ หมายเลข ชอื่ อปุ กรณ์ หน้าทแ่ี ละการใช้งาน 27. คนั บงั คบั เลี้ยวขวา บังคบั ให้รถเลีย้ วขวา มี 3 ตำแหนง่ คือ - ตำแหน่งปกติ เม่อื ไมใ่ ช้งาน 28. ล้นิ ไล่ฟองอากาศ - ตำแหนง่ ที่ 1 วงเลี้ยวกว้าง - ตำแหนง่ ท่ี 2 วงเลย้ี วแคบ และหมุนอย่กู บั ที่ ไลฟ่ องอากาศออกจากระบบน้ำมนั เชื้อเพลิง โดยการ หมนุ ตามเข็มนาฬกิ า และยึดไว้ พรอ้ มกบั โยกปั๊มสบู ลอ่ เมอ่ื ปล่อยล้นิ จะกลบั คนื สู่ตำแหนง่ ปดิ เองด้วยแรงแหนบ
ห น้ า | 92 29. ชุดคันบังคับอปุ กรณข์ องชดุ ล้ิน ควบคุมวงจรนำ้ มนั ไฮดรอลิกของอปุ กรณก์ ู้ซ่อม ควบคุม 3 ทาง มคี นั บงั คับ 3 อนั คอื - คันบงั คบั กวา้ นเล็ก - ปัน้ จ่นั - คนั บงั คบั ใบมดี ค้ำยัน - คันบังคบั กวา้ นหลัก 30. คนั หา้ มล้อกวา้ นหลกั ใช้ยึดกวา้ นหลักไม่ให้หมุนคลายออก เมอ่ื หยุดกว้านขณะดึง ภารกรรมขึ้นลาดชนั และสามารถปรบั ความตึงของ ห้ามล้อ และยดึ คนั หา้ มลอ้ ไว้ในตำแหนง่ ท่ีตอ้ งการใชง้ าน 31. คันโยกปั๊มสบู ลอ่ ใช้ไล่ฟองอากาศออกจากระบบน้ำมันเชอื้ เพลิง 32. คันเกยี ร์เครอื่ งเปล่ยี นความเร็ว เลือกตำแหนง่ เกยี ร์ใช้งาน มเี กยี รเ์ ดนิ หนา้ 5 ตำแหน่ง เกยี รถ์ อยหลงั 1 ตำแหนง่ และเกยี ร์วา่ ง 1 ตำแหน่ง ------------------------------ 2. แผงเครอื่ งวัดของพลขับ (ดา้ นหน้า) หมายเลข ชอ่ื อปุ กรณ์ หน้าทแ่ี ละการใชง้ าน 1. ไฟส่องหนา้ ปดั เครื่องวดั ส่องสว่างหนา้ ปัดเครอ่ื งวดั ปรบั แสงสวา่ งดว้ ยการ เลือ่ นครอบปดิ หลอดไฟ 2. เครอ่ื งวัดความเร็ว และบนั ทึก แสดงความเร็วของรถเป็น กม./ชม.และบันทกึ ระยะทาง ระยะทาง ทรี่ ถเคลื่อนท่ไี ปเป็นกโิ ลเมตร และทศนยิ มของกิโลเมตร 3. เคร่ืองวัดรอบเครอื่ งยนต์ แสดงรอบความเรว็ ของเคร่ืองยนตใ์ นหนึ่งนาท(ี รอบ/นาที) 4. เคร่ืองวดั แรงดนั นำ้ มันไฮดรอลิก แสดงคา่ แรงดนั นำ้ มันไฮดรอลกิ ในวงจรน้ำมนั ของ อปุ กรณก์ ู้ซ่อมทก่ี ำลังทำงาน 5. ไฟสอ่ งหน้าปดั เคร่อื งวัด สอ่ งสวา่ งหน้าปดั เคร่อื งวดั ปรบั แสงสวา่ งดว้ ยการ เลอื่ นครอบปดิ หลอดไฟ -----------------------------------------
ห น้ า | 93 - 15 - แผงเครื่องวดั ของพลขบั (ด ) - 15 - - 16 -
ห น้ า | 94 3. แผงเครอ่ื งวดั ของพลขับ (ดา้ นข้าง) หมายเลข ชอื่ อปุ กรณ์ หนา้ ท่ีและการใช้งาน 1. ไฟส่องหน้าปดั เครื่องวดั ส่องสว่างหนา้ ปดั เคร่ืองวดั ปรับคา่ ความสวา่ งไดด้ ว้ ย การเลื่อนครอบหลอดไฟ 2. นาฬกิ า และเครื่องบนั ทึกชวั่ โมง แสดงเวลาเป็นชัว่ โมง,นาที และวินาที และบันทึก การใชง้ านเครอ่ื งยนต์ ชัว่ โมงการใช้งานเคร่อื งยนต์ 3. เครื่องวดั ไฟฟ้า แสดงค่ากระแส และแรงดนั ไฟฟ้าในระบบไฟฟา้ ของรถ ดังนี้ - แสดงคา่ การประจแุ บตเตอรีเ่ ปน็ แอมแปรเ์ มอ่ื เรง่ เคร่อื งยนต์ ตัง้ แต่ 900 รอบ/นาที ขึน้ ไป - แสดงค่าแรงดันไฟฟา้ เมื่อกดปุ่มบนหนา้ ปัดเครื่องวัด 4. เครอ่ื งวัดอุณหภมู นิ ้ำมันไฮดรอลกิ แสดงค่าอุณหภมู ิน้ำมันไฮดรอลกิ ของระบบกูซ้ อ่ ม อณุ หภมู ิ ใชง้ านสูงสดุ ไม่เกนิ 80 องศา C. 5. ไฟเตือนกวา้ นหลัก หลอดไฟจะติดสวา่ งขน้ึ เมือ่ เหลอื ลวดกวา้ นพนั อยู่บนล้อ เกบ็ ลวดกว้าน 3.5 - 4.5 รอบ 6. ไฟเตือนเพลงิ ไหม้ หลอดไฟจะติดสว่างขึ้น เมื่อเกดิ เพลงิ ไหม้ขึ้นภายในห้อง เครื่องยนต์ หรือในหอ้ งพลประจำรถ 7. กล่องควบคมุ เครือ่ งดบั เพลิง ควบคมุ การทำงานของระบบดับเพลิงประจำรถ 8. ไฟเตอื นความดนั นำ้ มัน -หลอดไฟจะตดิ สว่างขึ้นเมอื่ ความดนั นำ้ มันเครอ่ื งยนต์ เครื่องยนต์ ต่ำกว่า 3.5 กก./ตร.ซม.ในขณะที่เครอ่ื งยนตเ์ ดนิ ด้วย รอบสูงกวา่ 700 รอบ/นาที 9. สวติ ชก์ ดทดสอบระบบสัญญาณ ใช้กดทดสอบการทำงานของวงจรเตือนสัญญาณ ไดแ้ ก่ เตือนของเครอื่ งยนต์ และกวา้ น - ไฟเตอื นความดันนำ้ มนั เครือ่ งยนต์ หลกั - ไฟเตอื นกว้านหลกั 10. สวิตช์ไฟสอ่ งหนา้ ปัดเครอ่ื งวดั เปดิ -ปิด ไฟสอ่ งหน้าปดั เครื่องวัดของพลขบั 11. สวิตชเ์ คร่อื งทำความร้อนของ เปดิ -ปดิ ระบบเครอื่ งทำความร้อนของนาฬิกา เม่ือ นาฬกิ า อุณหภูมิเย็นจดั ถึง - 25 องศา C. 12. เครอ่ื งวดั อุณหภูมิน้ำมัน แสดงคา่ อณุ หภมู นิ ้ำมันเครอื่ งยนตใ์ นขณะใชง้ าน เคร่ืองยนต์ - อุณหภมู ใิ ชง้ านปกติ 70 - 90 องศา C. 13. เครอื่ งวดั อณุ หภูมนิ ้ำระบายความ แสดงคา่ อณุ หภมู ินำ้ ระบายความร้อนเคร่อื งยนต์ ร้อนเครือ่ งยนต์ - อณุ หภูมใิ ช้งานปกติ 70 - 90 องศา C.
ห น้ า | 95 -17 - แผงเครื่องวดั ของ7ลขบั (ด ) - 17 -
ห น้ า | 96 หมายเลข ชื่ออุปกรณ์ หน้าทีแ่ ละการใช้งาน 14. เคร่ืองวัดแรงดนั น้ำมนั แสดงคา่ ความดันน้ำมนั เคร่ืองยนตใ์ นระบบหลอ่ ลน่ื ของ เคร่อื งยนต์ เครื่องยนต์ - แรงดันใช้งานปกติ 6-10 กก./ตร.ซม. - แรงดนั ตำ่ สุด 2-3.5 กก./ตร.ซม. -------------------------------- 4. แผงสวติ ช์ของพลขบั หมายเลข ชือ่ อปุ กรณ์ หน้าท่แี ละการใชง้ าน 1. สวิตช์แบตเตอร่ี (ชนิดตดั วงจร เปดิ -ปดิ กระแสไฟฟ้าในระบบไฟฟ้าทัง้ หมดของรถ อตั โนมตั ิ) ยกเว้นวงจรนาฬกิ า 2. ไฟเตอื นสวิตช์แบตเตอร่ี จะตดิ สว่างขึน้ เมอ่ื เปิดสวิตช์แบตเตอร่อี ย่ใู นตำแหน่ง เปดิ \" ON \" 3. สวติ ชแ์ ตร ใช้กดเพือ่ ใหส้ ัญญาณเตอื น 4. สวิตช์มอเตอร์ขบั ป๊ัมนำ้ มนั เครือ่ ง ใชก้ ด เพือ่ สง่ นำ้ มันเคร่ืองเข้าไปหลอ่ ล่ืนสว่ นประกอบต่าง ๆ เครือ่ งยนต์ ของเครอ่ื งยนต์ ก่อนตดิ เครอื่ งยนตค์ รั้งแรก ระยะเวลากดใชง้ านครั้งหนึง่ 3 - 5 วินาที จนได้ แรงดนั นำ้ มันเครอื่ งยนตไ์ มน่ ้อยกว่า 2 กก./ตร.ซม. 5. สวิตชห์ มนุ เคร่อื งยนตด์ ้วยไฟฟ้า ใชก้ ดเพอื่ หมนุ ติดเครือ่ งยนต์ด้วยมอเตอร์ไฟฟา้ ระยะเวลากดใชง้ านครงั้ หน่งึ 2 - 3 วนิ าที 6. สวติ ช์หมนุ เครอ่ื งยนตด์ ว้ ยลม ใช้กด เพ่อื หมนุ ตดิ เคร่อื งยนตด์ ว้ ยแรงดันลม 7. สวิตชเ์ ครอ่ื งทำควัน (ชนดิ ตดั เปดิ -ปิด ระบบเคร่ืองทำควนั เพือ่ สรา้ งมา่ นควัน วงจรอตั โนมัต)ิ พรางรถ 8. สวิตชไ์ ฟพรางขบั ธรรมดา เปิด-ปิดไฟพรางขับธรรมดา มี 3 ตำแหนง่ คอื - ลำแสงไฟต่ำ (NEAR) - ปดิ ไฟ - ลำแสงไฟสงู (FAR) 9. สวิตช์ไฟพรางอนิ ฟราเรด เปิด-ปิด ไฟพรางขบั อนิ ฟราเรด อนิ ฟราเรดดวงล่าง ดวงลา่ ง มี 3 ตำแหน่ง คือ - ลำแสงไฟต่ำ (NEAR) - ปิดไฟ - ลำแสงไฟสงู (FAR)
ห น้ า | 97 19 แผงสวติ ช - 19 -
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187