Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา การใช้และการซ่อมบำรุงรถกู้เภทล้อและประเภทสายพาน

วิชา การใช้และการซ่อมบำรุงรถกู้เภทล้อและประเภทสายพาน

Published by qacavalry, 2021-10-27 02:51:22

Description: วิชา การใช้และการซ่อมบำรุงรถกู้เภทล้อและประเภทสายพาน
รหัสวิชา ๐๑๐๒๒๓๐๖๐๓
หลักสูตร พลประจำรถกู้และช่างเชื่อม
แผนกวิชายานยนต์ กศ.รร.ม.ศม.

Search

Read the Text Version

โรงเรียนทหารม้า วิชา การใชแ้ ละการซ่อมบำรงุ รถกู้เภทลอ้ และประเภทสายพาน รหัสวิชา ๐๑๐๒๒๓๐๖๐๓ หลกั สูตร พลประจำรถกูแ้ ละช่างเช่อื ม แผนกวิชายานยนต์ กศ.รร.ม.ศม. โรงเรียนทหารมา้ ศนู ย์การทหารม้า เลม่ ท่ี ๓ ปรัชญา รร.ม.ศม. “ฝกึ อบรมวชิ าการทหาร วทิ ยาการทนั สมยั ธำรงไว้ซึง่ คุณธรรม”

ปรชั ญา วิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ วัตถปุ ระสงค์การดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา เอกลกั ษณ์ อัตลกั ษณ์ ๑. ปรัชญา ทหารม้าเป็นทหารเหล่าหนึ่งในกองทัพบก ที่ใช้ม้าหรือสิ่งกำเนิดความเร็วอื่น ๆ เป็นพาหนะ เป็นเหล่าที่มีความสำคัญ และจำเป็นเหล่าหนึ่ง สำหรับกองทหารขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับเหล่าทหารอื่น ๆ โดยมีคุณลักษณะที่มีความ คล่องแคล่ว รวดเร็วในการเคลื่อนที่ อำนาจการยิงรุนแรง และอำนาจในการทำลายและข่มขวัญ อันเป็น คุณลกั ษณะทส่ี ำคัญและจำเป็นของเหลา่ โรงเรียนทหารม้า ศูนยก์ ารทหารมา้ มีปรชั ญาดงั นี้ “ฝึกอบรมวิชาการทหาร วิทยาการทันสมัย ธำรงไว้ซึง่ คณุ ธรรม” ๒. วิสยั ทัศน์ “โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้วิชาการเหล่าทหารม้าที่ทันสมัย ผลติ กำลงั พลของเหล่าทหารมา้ ให้มลี ักษณะทางทหารท่ีดี มคี ณุ ธรรม เพ่อื เปน็ กำลังหลักของกองทัพบก” ๓. พันธกิจ ๓.๑วจิ ยั และพฒั นาระบบการศกึ ษา ๓.๒ พฒั นาคณุ ภาพครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๓.๓ จัดการฝึกอบรมทางวชิ าการเหล่าทหารม้า และเหล่าอ่ืนๆ ตามนโยบายของกองทัพบก ๓.๔ผลิตกำลังพลของเหล่าทหารมา้ ใหเ้ ปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงคข์ องหลกั สูตร ๓.๕ พฒั นาสอื่ การเรยี นการสอน เอกสาร ตำราของโรงเรยี นทหารมา้ ๓.๖ปกครองบังคับบัญชากำลังพลของหน่วย และผู้เข้ารับการศึกษาหลักสูตรต่างๆ ให้อยู่บนพื้นฐาน คุณธรรม จรยิ ธรรม ๔. วตั ถปุ ระสงคข์ องสถานศึกษา ๔.๑เพื่อพัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ให้กับผู้เขา้ รับการศกึ ษาได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ๔.๒ เพ่อื พฒั นาระบบการศกึ ษา และจัดการเรยี นการสอนผา่ นสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ใหม้ คี ุณภาพอย่างตอ่ เน่ือง ๔.๓ เพื่อดำเนินการฝึกศึกษา ให้กับนายทหารชั้นประทวน ที่โรงเรียนทหารม้าผลิต และกำลังพลที่เข้ารับ การศึกษา ใหม้ คี วามร้คู วามสามารถตามที่หน่วย และกองทัพบกต้องการ ๔.๔ เพื่อพัฒนาระบบการบรหิ าร และการจดั การทรพั ยากรสนับสนุนการเรียนรู้ ให้เกิดประโยชนส์ ูงสุด ๔.๕ เพือ่ พัฒนาปรับปรุงส่ือการเรียนการสอน เอกสาร ตำรา ใหม้ ีความทันสมัยในการฝกึ ศึกษาอยา่ งต่อเน่อื ง ๔.๖เพื่อพัฒนา วิจัย และให้บริการทางวิชาการ ประสานความร่วมมือ สร้างเครือข่ายทางวิชาการกับ สถาบันการศกึ ษา หน่วยงานอ่ืนๆ รวมทง้ั การทำนุบำรงุ ศลิ ปวฒั ธรรม ๕. เอกลกั ษณ์ “เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ทางวิชาการ และผลิตกำลังพลเหล่าทหารม้าอย่างมีคุณภาพเป็นการ เพิ่มอำนาจกำลังรบของกองทัพบก” ๖. อตั ลักษณ์ “เด่นสง่าบนหลังมา้ เกง่ กลา้ บนยานรบ”

สารบัญ หน้า 1 ลำดับ วชิ า 38 1 การใฃแ้ ละการซอ่ มบำรุงรถกู้ 5 ตนั เอ็ม 543 เอ 2 49 2 การใฃ้และการซอ่ มบำรุง รถสายพานกู้ซ่อม 21 แซมซนั่ 81 3 การใฃแ้ ละการซ่อมบำรุง รถสายพานกซู้ ่อม เอม็ 88 เอ 1 4 การใฃ้และการซ่อมบำรงุ รถสายพานก้ซู อ่ ม แบบ 653 ...................................................

ห น้ า | 1 วชิ า การใช้และซ่อมบารุง รถกู้ 5 ตัน เอม็ 543 และ เอม็ 543 เอ 2 แผนกวชิ ายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า ค่ายอดศิ ร สระบุรี

ห น้ า | 2 แผนกวชิ ายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรียนทหารมา้ ศนู ยก์ ารทหารมา้ ค่ายอดศิ ร สระบุรี ---------- เอกสารนำ วิชา การใช้ และการปรนนบิ ตั บิ ำรงุ รถกู้ 5 ตัน 6 x 6 M543 และ M543A2 1. ขอ้ แนะนำในการศกึ ษา วิชานี้ทำการสอนเชิงประชมุ , สาธิต, ฝึกปฏิบตั กิ ารใช้งาน รถกู้ 5 ตนั และการปรนนิบตั บิ ำรงุ ในหน้าท่ี ของ พลประจำรถ 2. หัวข้อสำคัญในการศึกษา 2.1 คุณลกั ษณะขีดความสามารถของรถกู้ 5 ตัน 2.2 คุณลกั ษณะและการทำงานของเครอื่ งยนตด์ เี ซล MULTIFUEL 2.3 การปรนนบิ ตั ิบำรงุ ขัน้ ท่ี 1 2.4 รายการตรวจสอบการ ปบ.ประจำวนั 2.5 การลุยขา้ มนำ้ 2.6 การใชง้ านอปุ กรณก์ ้ซู ่อมประจำรถกู้ 5 ตนั 2.7 ความรับผิดชอบของพลประจำรถในการ ปบ.ขนั้ ท่ี 1 2.8 เครือ่ งมอื เคร่ืองใช้ประจำรถกู้ 5 ตัน 3. งานมอบ ให้นกั เรียนอา่ นเอกสารเพิ่มเตมิ และ คท.9-2320-211-10 เดอื น เม.ย.1973 และ คล.9-2320-211- 12 ฉบบั เดอื น พ.ย.2519 (ค.ศ.1976) 4. คำแนะนำพเิ ศษ ให้นกั เรยี นนำเอกสารเพ่มิ เติม และคมู่ อื ทางเทคนิคประจำรถมาเป็นหลักฐานประกอบการศึกษา 5. เอกสารที่จา่ ยพร้อมเอกสารนำ เอกสารเพมิ่ เติม **************

ห น้ า | 3 แผนกวิชายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรียนทหารม้า ศนู ยก์ ารทหารมา้ ค่ายอดิศร สระบุรี ---------- เอกสารเพ่ิมเตมิ วิชา การใช้ และการปรนนบิ ตั บิ ำรงุ บำรงุ รถกู้ 5 ตนั 6 x 6 M543 และ M543A2 คณุ ลกั ษณะโดยท่วั ไป รถกู้ 5 ตัน 6 x 6 M543 และ M543A2 เป็นรถกูข้ นาดกลาง ใช้สนบั สนนุ การซอ่ มบำรงุ และการกู้ซ่อม ทั่วไป โดยออกแบบให้ใช้ได้กับสภาพถนนทุกประเภท ในภูมิประเทศและในทุกสภาวะอากาศ สามารถลุยข้าม น้ำท่ีมพี นื้ ใต้ท้อง นำ้ แขง็ ได้ลึก 30 นิ้วเครอ่ื งเปลย่ี นความเร็วมีความเร็วเดินหนา้ 5 ตำแหน่ง มีเครอื่ งเพิ่มเพลาขับเพ่อื ส่งกำลังขับ ไปยังเพลาล้อหลัง และเพลาล้อหน้า ซึ่งสามารถเลือกใช้งานได้ 3 ตำแหน่ง ระบบห้ามล้อเป็นแบบทำงานด้วย ของเหลว และมีเครื่องทวีกำลังห้ามล้อทำงานด้วยลม ระบบบังคับเลี้ยวประกอบด้วยระบบกำลังไฮดรอลิก ผา้ ใบหลังคาหอ้ งพลขบั โครงหลังคา และกระจกบงั ลมสามารถพับเกบ็ ได้ รถกู้ M543 เป็นรถกู้รุ่นแรกใช้เครื่องยนต์แก๊สโซลีน 6 กระบอกสูบ ระบายความร้อนด้วยน้ำ แบบ CONTINENTAL R 6602 กำลงั 224 แรงม้า เมือ่ เครอ่ื งยนต์หมนุ 2,800 รอบ/นาที รถกู้ M543A2 เป็นรถรุ่นหลัง ที่ได้รับการพัฒนาให้ดีขึ้น จะได้รับการติดตั้งเครื่องยนต์ดีเซล 6 กระบอกสูบ ระบายความร้อนด้วยของเหลว จุดระเบิดด้วยกำลังอัด มีเครื่องเพิ่มไอดี แบบ LDS 435-1A ให้กำลัง 175 - 180 แรงม้า เมื่อ เครอื่ งยนต์หมนุ 2,600 รอบ/นาที เครื่องยนต์ดเี ซลน้สี ามารถใชน้ ้ำมันเช้อื เพลงิ ไดห้ ลายประเภท \"MULTIFUEL\" นอกจากเครื่องยนต์แล้วองค์ประกอบของระบบต่าง ๆ และอุปกรณ์กู้ซ่อมประจำรถ เป็นแบบเดียวกันกับรถกู้ M543 รายละเอยี ด 1. ขบวนส่งกำลัง ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบต่าง ๆ คอื 1.1 เครื่องยนต์แก๊สโซลีน 6 กระบอกสูบ ระบายความร้อนด้วยน้ำ แบบ CONTINENTAL R 6602 มีกำลัง 224 แรงม้า เมื่อเคร่ืองยนต์หมุน 2,800 รอบ/นาที 1.2 เครื่องยนต์ดีเซล 6 กระบอกสูบ ระบายความร้อนด้วยน้ำ จุดระเบิดด้วยกำลังอัด มีเครื่องเพิ่มไอดี แบบ LDS 465-1A มกี ำลัง 175 - 180 แรงมา้ เมื่อเครื่องยนตห์ มนุ 2,600 รอบ/นาที 2. เครอ่ื งเปลี่ยนความเรว็ มคี วามเร็วเดนิ หน้า 5 ความเร็ว ติดต้ังอยูก่ บั เรือนล้อตนุ กำลงั ของเครือ่ งยนต์ กำลัง ของ เครื่องยนต์จะถูกส่งต่อเข้าไปยังเพลาคลัตช์ของเครื่องเปลี่ยนความเร็ว การเปลี่ยนตำแหน่งเกียร์ต่าง ๆ ทำได้ โดยใช้ คันบังคับซง่ึ อยใู่ นห้องพลขับ 3. เครือ่ งเพม่ิ เพลาขับ (TRANSFER) มหี น้าทีร่ บั กำลงั ขบั จากเคร่อื งเปลย่ี นความเรว็ แล้วสง่ กำลังต่อไปยังเพลา ล้อหลังและเพลาล้อหน้าของรถ เครื่องเพิ่มเพลาขับมีคันบังคับใช้งานอยู่ในห้องพลขับ และมีตำแหน่งใช้งาน 3 ตำแหน่ง คือ HIGH, LOW, N ( สงู , ต่ำ และวา่ ง ) - ตำแหน่ง \" HIGH \" ใช้ในการขับเคล่ือนบนถนน เม่อื ตอ้ งการความเร็วสงู

ห น้ า | 4 - ตำแหน่ง\"LOW \" ใชใ้ นการขบั เคลอื่ นในกรณที ตี่ อ้ งการกำลังฉดุ ลากมากย่ิงข้ึน หรือในการปฏบิ ัตกิ ารใน ภูมิประเทศท่ยี ากลำบาก - ตำแหน่ง\"N \" ใช้ในเมื่อต้องการส่งกำลังขับจากเครื่องยนต์ผ่านเครื่องเปลี่ยนความเร็ว และเครื่องเพิ่มเพลา ขับไปยังกว้านหลังและปั้นจ่ัน ในตำแหน่ง \" N \" นี้ รถจะไม่เคลื่อนที่ไม่ว่าคันบังคับของเครื่องเปลี่ยนความเร็ว จะอยู่ในตำแหน่งเกียร์เดินหน้า หรือถอยหลัง ทางด้านหน้าของเครื่องเพิ่มเพลาขับ จะมีเครื่องขับเพลาหน้า อัตโนมัติ ติดตั้งอยู่ด้วย เครื่องอุปกรณ์นี้จะทำหน้าที่ส่งกำลังขับไปยังเพลาล้อหน้า ในกรณีที่ล้อหลังทั้งคู่ ล้อ ใดล้อหนึ่งเกิดการลื่นไถล หรือหมุนฟรี เนื่องจากเสียการเกาะพื้น และจะทำงานตลอดไปจนกว่าล้อหลังจะมี การขับเคลื่อนตามปกติแล้วจึงจะตัดกำลังขับไปยังเพลาล้อหน้าโดยอัตโนมัติเช่นเดียวกัน ทั้งนี้ไม่ว่าคันบังคับ เคร่ืองเพิ่มเพลาขบั จะอยใู่ นตำแหน่ง HIGH หรือ LOW กต็ าม 4. เพลาขับ และข้อต่ออ่อน กำลังที่ส่งจากเครื่องเปลี่ยนความเร็วไปยังเครื่องเพิ่มเพลาขับ, เพลาล้อหน้า, เพลาล้อหลังตัวหน้า และเพลาล้อหลังตัวหลัง จะถูกส่งผ่านเพลาขับ และปลายทั้งสองข้างของเพลาขับ จะ ประกอบด้วยข้อต่ออ่อนและข้อต่อเลื่อนได้ เพลาขับ และข้อต่ออ่อนเหล่านี้จะยึดติดกับองค์ประกอบต่าง ๆ ของขบวนการส่งกำลงั ด้วยสลกั เกลียวเขา้ กบั หน้าแปลนของจานขับ และจานรับกำลงั ขององค์ประกอบนั้น ๆ 5. เพลาล้อหลัง เป็นเพลาคู่ติดตั้งเรียงกันตามลำดับโดยยึดโยงต่อกันไว้ด้วยแขนรับแรงบิด กำลังขับจะถูกส่ง จากเครื่องเพิ่มเพลาขับผ่านเพลาขับ และข้อต่ออ่อนมายังเพลาล้อหลังตัวหน้า และส่งผ่านเพลาขับต่ออ่อนอกี ชดุ หนง่ึ ไปยังเพลาล้อหลงั ตวั หลัง 6. เพลาล้อหน้า เป็นเพลาเดี่ยวมีหีบเฟืองทดเลี้ยว ซึ่งทำให้สามารถรับกำลังขับจากเครื่องเพิ่มเพลาขับมา ขับเคลื่อนล้อหน้า และด้านปลายทั้งสองด้านของเพลาล้อหน้าจะมีสะบ้าเลี้ยว และข้อต่ออ่อนความเร็วคงที่ เพ่อื ใหท้ ำการบงั คับเลยี้ ว ในขณะมกี ารขบั เคล่ือนล้อหนา้ ได้ 7. ระบบนำ้ มนั เชอ้ื เพลงิ 7.1 ระบบน้ำมันเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์แกส๊ โซลีนจะประกอบด้วย ถังน้ำมันเชื้อเพลงิ จำนวน 2 ถัง ติดตั้ง อยู่กับโครงรถทั้งสองด้าน ถังซ้ายมีความจุ 78 แกลลอน และถังขวามีความจุ 55 แกลลอน, หม้อกรองน้ำมัน เชื้อเพลิง 2 ตัว, ปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง, คาร์บูเรเตอร์ และเครื่องควบคุมความเร็ว, เข็มวัดปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิง, ลนิ้ จ่ายนำ้ มันเชอื้ เพลิง และทอ่ ทางเดนิ นำ้ มันเชอื้ เพลิง 7.2 ระบบน้ำมันเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ดีเซล ประกอบด้วย ถังน้ำมันเชื้อเพลิง 2 ถัง, หม้อกรองน้ำมัน เช้อื เพลิง 3 ตัว,ปั๊มไฟฟ้า, ป๊ัมปอ้ นน้ำมนั เช้ือเพลงิ , ปม๊ั สูบฉีดนำ้ มันเชอ้ื เพลิง, ทอ่ นำ้ มันความดันสูง, หวั ฉีดนำ้ มัน เชื้อเพลิง, เข็มวัดปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิง, ปั๊มไฟฟ้าถ่ายเทน้ำมันเชื้อเพลิง และท่อทางเดินต่าง ๆ ของระบบ น้ำมนั เช้อื เพลิง 8. ระบบอากาศ 8.1 เคร่อื งยนต์แกส๊ โซลีน จะมีหมอ้ กรองอากาศแบบอ่างนำ้ มนั และทอ่ ร่วมไอดี ซงึ่ ตอ่ เขา้ กบั คารบ์ เู รเตอร์ 8.2 เครื่องยนต์ดีเซล จะมีหม้อกรองอากาศแบบแห้ง,ท่อร่วมไอดี และหลอดแสดงสภาพของไส้กรอง อากาศ 9. ระบบอุ่นไอดี สำหรับเครื่องยนต์ดีเซล จะมีเครื่องอุ่นไอดี ซึ่งทำหน้าที่เผาอากาศที่ไหลผ่านเข้าไปยัง กระบอกสูบของเครื่องยนต์ให้ร้อนขึ้น เพื่อช่วยให้สามารถติดเครื่องยนต์ได้ง่ายในสภาพอากาศหนาวเย็นจั ด และช่วยให้เครื่องยนต์เก่าที่มีกำลังอัดต่ำติดได้ง่ายยิ่งขึ้นแต่โดยปกติแล้วในสภาพภูมิอากาศ ในประเทศไทยน้ี ถ้าเครื่องยนต์ยังมีสภาพดีก็ไม่จำเป็นต้องใช้ ระบบอุ่นไอดีประกอบด้วยปั๊มไฟฟ้า, ตัวกรองน้ำมันเชื้อเพลิง, หัวฉีด, คอยล์จุดระเบิด, หัวเทียน, ห้องอุ่นไอดี, ท่อทางเดินของน้ำมันเชื้อเพลิง, สายไฟต่าง ๆ ของวงจรไฟฟ้า และสวติ ชอ์ ุน่ ไอดี ซึ่งอยใู่ นห้องพลขับ 10. ระบบไอเสยี

ห น้ า | 5 10.1 ระบบไอเสียของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน ประกอบด้วย ท่อร่วมไอเสีย, ท่อไอเสียท่อนหน้า, หม้อเก็บ เสียง และทอ่ ไอเสยี ท่อนปลาย 10.2 ระบบไอเสียของเครือ่ งยนตด์ ีเซล มอี งค์ประกอบเชน่ เดียวกบั ระบบไอเสียของเคร่อื งยนตแกส๊ โซลีน และยังมเี ครอ่ื งเพมิ่ ไอดี (TURBOCHARGER) ซง่ึ ทำงานดว้ ยแรงขบั จากไอเสยี อุปกรณน์ ีจ้ ะทำใหเ้ ครอ่ื งยนต์มี กำลงั ดูดมากขึ้น ซ่งึ จะทำให้แรงมา้ ของเคร่อื งยนตเ์ พิ่มขึน้ ไปดว้ ย 11. ระบบระบายความร้อน ระบบระบายความรอ้ น ประกอบด้วย ป๊ัมนำ้ , พดั ลมระบายความร้อน, ท่อน้ำ , หม้อนำ้ รังผง้ึ ,ล้นิ ควบคุมอุณหภูมิ,ฝาปิดหมอ้ น้ำแบบควบคุมแรงดัน และเครือ่ งวดั อุณหภูมิ 12. ระบบหล่อลื่น ใช้น้ำมันหล่อลื่น OE-30 ประกอบด้วย ปั๊มน้ำมันเครื่อง,หม้อกรองน้ำมันเครื่อง จำนวน 2 ตวั , ลิ้นระบายความดัน ลิ้นควบคุมความดัน,และเครื่องวัดความดันน้ำมันเครื่องยนต์ เครื่องยนต์ดีเซลจะมี เครื่องระบายความร้อนน้ำมันเครื่องติดตั้งเพิ่มขึ้นมาด้วย เพื่อช่วยอุ่นน้ำมันเครื่องให้ร้อนถึงอุณหภูมิใช้งาน โดยเรว็ และระบายความรอ้ นออกเม่อื นำ้ มนั เครอื่ งยนต์รอ้ นจดั 13. ระบบหมุนเครื่องยนต์ ใช้มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง 24 โวลท์ เป็นแบบ โอเวอร์รันนิ่งคลัตช์ ทำงานด้วย กระแสไฟจากแบตเตอรี่ และมีสวิตช์ควบคุมการทำงานอยู่ในห้องพลขับ โดยสวิตช์ของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน เป็นแบบปมุ่ กดด้วยเท้าบนพื้นห้องพลขับ และสวิตชข์ องเครอื่ งยนตด์ ีเซลเป็นแบบปมุ่ กดดว้ ยมอื บนแผงหน้าปดั 14. ระบบไฟฟ้า เป็นระบบไฟกระแสตรง 24 โวลท์ มีแบตเตอรี่ 6 TN 23 หม้อละ 12 โวลท์ จำนวน 2 หม้อ ต่อวงจรแบบอันดับ โดยใช้ขั้วลบลงดิน ระบบประจุไฟ ประกอบด้วยเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงขนาด 24 โวลท์ 25 แอมป์. เครอ่ื งควบคุมกระแสไฟฟ้า และเครอ่ื งวดั ไฟฟา้ ระบบประจุไฟ ทำหน้าทีป่ ระจุให้กบั แบตเตอรี่ และใช้ในระบบ แสงสวา่ ง เครือ่ งกำเนดิ ไฟฟ้าจะได้รับกำลังขับจากสายพานพดั ลม 15. ระบบห้ามลอ้ 15.1 หา้ มล้อเทา้ เปน็ แบบทำงานดว้ ยของเหลว และมเี ครื่องทวีกำลังหา้ มลอ้ ทำงานด้วยลมระบบหา้ มล้อ ประกอบด้วยแม่ปั๊มห้ามล้อ, เครื่องทวีกำลังห้ามล้อ, ลูกปั๊มห้ามล้อ,ท่อทางเดินน้ำมันห้ามล้อ และท่อลมต่าง ๆ นอกจากน้ที างดา้ นหนา้ และด้านหลังของรถยงั มีหัวต่อทอ่ ลมสำหรบั รถพ่วงทั้งด้านซา้ ยและดา้ นขวาของรถ 15.2 ห้ามล้อมือ ประกอบด้วย จานห้ามล้อซึ่งติดตั้งอยู่กับเพลาส่งกำลังออกของเครื่องเพิ่มเพลาขับ ผ้า ห้ามล้อด้านนอกและด้านในของจานห้ามล้อทำงานด้วยกระเดื่องห้ามล้อ โดยมีสายลวดดึงต่อเข้าไปยังคันห้าม ล้อมอื ซึง่ ติดตัง้ อยูบ่ นพ้ืนรถทางดา้ นซ้ายของพลขบั ห้ามลอ้ มือชว่ ยในการจอดรถ และการออกรถในทล่ี าดชัน 16. ระบบเครื่องทำลม ประกอบด้วย ปั๊มลม ซึ่งติดตั้งอยู่ทางด้านหน้าซ้ายของเครื่องยนต์ ขับด้ว ยสายพาน เส้นเดียวแบบ V จากรอกเพลาข้อเหวี่ยง,เครื่องควบคุมความดันลม,เครื่องวัดความดันลม,ถังเก็บลม จำนวน 2 ถัง,ลิ้นนิรภัยของระบบเครื่องทำลม,เครื่องสัญญาณเตือนความดันลมต่ำ, ลิ้นและหัวต่อลมใช้งานภายนอก และ ท่อทางเดินต่างๆ ระบบเครื่องทำลมจะทำลมเพื่อใช้ในการห้ามล้อ และใช้กับเครื่องอุปกรณ์ต่างๆ ของรถท่ี ทำงานด้วยลม 17. ระบบบังคับเลี้ยว ประกอบด้วย พวงมาลัย,กระปุกเฟืองพวงมาลัย,เครื่องเพิ่มกำลังบังคับเลี้ยวซึ่งทำงาน ดว้ ยแรงดนั จากนำ้ มนั ไฮดรอลิก, ถังเก็บน้ำมนั เคร่อื งบงั คับเลีย้ ว,แขนคนั ชกั ,และกา้ นโยงต่าง ๆ ของระบบบังคับ เลย้ี ว และปั๊มน้ำมนั เคร่ืองเพมิ่ กำลงั บังคบั เล้ยี ว 18. ระบบระบายอากาศ เนื่องจากระบบต่าง ๆ ของเครื่องยนต์เป็นแบบกันน้ำได้ ดังนั้นจึงต้องมีระบบ ระบายอากาศ เพื่อให้การทำงานของระบบนั้น ๆ เป็นไปตามปกติ ท่อระบายอากาศของถังนำ้ มันเช้ือเพลิง และ ระบบห้ามล้อจะต่อ

ห น้ า | 6 รวมกันไว้ และระบายความดันออกไปด้วยกัน ส่วนท่อระบายความดันของห้องเพลาข้อเหวี่ยงจะระบายออก ทางดา้ นบนของฝาครอบล้นิ และต่อทอ่ ระบายลงไปทางดา้ นล่างของห้องเคร่ืองยนต์ 19. ระบบพยงุ ตวั รถ 19.1 แหนบหนา้ และเครอ่ื งผอ่ นแรงสะเทือน แหนบหน้าเป็นแหนบแผ่นวางซอ้ นกนั โดยแหนบยาวที่สดุ อยู่ ด้านบน และใบแหนบทั้งหมดยึดติดกันไว้ด้วยสลักเกลียว และเหล็กรัดแหนบ แหนบหน้าวางอยู่บนสาแหรก แหนบหน้าทั้งสองข้างของเพลาล้อหน้าโดยยึดไว้ด้วยสลักเกลียวรูปตัว U ( U BOLT ) ปลายทั้งสองของแหนบ หนา้ มีจดุ หมนุ ท่โี ตงเตงหแู หนบซ่ึงยึดติดแน่นอยู่กบั โครงรถ เครอ่ื งผ่อนแรงสะเทือนแบบทรงกระบอก จำนวน 2 ตัว จะตดิ ต้ังอยู่แตล่ ะดา้ นของโครงรถ และปลายดา้ นลา่ งยดึ ตดิ กบั แผน่ รอง และสลักเกลยี วรดั แหนบ 19.2 แหนบหลงั และแขนรบั แรงบดิ แหนบหลงั เปน็ แหนบแผน่ วางซ้อนกนั โดยใบแหนบตวั ยาวท่ีสุดอยู่ทาง ด้านล่าง แหนบหลังวางอยู่บนแท่นแหนบหลัง ซึ่งมีจุดหมุนบนเพลาโบกี้ ปลายทั้งสองด้านของแหนบหลังสอด เปน็ อสิ ระอย่ใู นช่องรบั แหนบบนเพลาล้อหลงั ทั้งสองเพลา แขนรับแรงบดิ จำนวน 6 ตวั จะทำหน้าที่ยึดเพลาล้อ หลงั ทง้ั สองใหต้ ดิ กบั โครงรถ เพ่อื รกั ษาแนวของเพลาลอ้ หลงั และโครงรถ 19.3 ยางใชข้ นาด 10.00 x 20 20. อุปกรณ์กู้ซ่อม ประกอบด้วยกว้านหน้า และกว้านหลังทำงานด้วยแรงขับจากเครื่องยนต์ และปั้นจั่น ซ่ึง ทำงานดว้ ยระบบกำลังไฮดรอลิก 21. รายละเอียด และสมรรถนะ เครื่องยนต์ เคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลีน เครอ่ื งยนตด์ ีเซล รายละเอยี ดเคร่อื งยนต์ CONTINENTAL R 6602 LDS465-1A 6 6 แบบ 224 ณ 2,800 รอบ/นาที 175-180 ณ 2,600 รอบ/ จำนวนกระบอกสบู หัวเทียน แรงมา้ 1-5-3-6-2-4 นาที ระบบการจดุ ระเบิด ของเหลว กำลงั อัด ลำดบั การจุดระเบดิ 170 – 200 องศา ฟ. 1-5-3-6-2-4 ระบบระบายความร้อน ของเหลว อุณหภูมิใช้งาน 180 – 200 องศา ฟ. ความเรว็ สงู สุด 59 ไมล์/ชม. - เครือ่ งยนตแ์ กส๊ โซลีน 52 ไมล์/ชม. - เครอ่ื งยนตด์ ีเซล 2 นาย พลประจำรถ 108 5/8 นว้ิ ขนาด 349 นว้ิ - ความสูงทง้ั หมด 96 1/4 น้ิว - ความยาว 11 น้วิ - ความกวา้ ง 46 ฟุต 8 นว้ิ - ความสูงใตท้ อ้ งรถ - เสน้ ผ่าศูนย์กลางวงเลย้ี ว 35,154 ปอนด์ นำ้ หนักรถ - เครอ่ื งยนตแ์ ก๊สโซลีน

ห น้ า | 7 - เครอ่ื งยนต์ดเี ซล 35,404 ปอนด์ ความจุ - ถงั น้ำมนั เชอื้ เพลงิ ดา้ นซา้ ย 78 แกลลอน - ถังนำ้ มันเช้ือเพลิง ด้านขวา 55 แกลลอน ระบบระบายความร้อน - เครื่องยนตแ์ กส๊ โซลนี 44 ควอต - เครอ่ื งยนตด์ เี ซล 38 ควอต ระบบหล่อล่ืน - เครื่องยนตแ์ ก๊สโซลีน 18 ควอต (รวมทงั้ หม้อกรอง 2 ตวั ) - เครอ่ื งยนต์ดีเซล 22 ควอต (รวมท้ังหมอ้ กรอง 2 ตัว) เคร่อื งเปลย่ี นความเรว็ 11 ควอต เครื่องเพิม่ เพลาขับ 5 1/2 ควอต หบี เฟอื งทดเล้ยี ว (ตัวละ) 12 ควอต กวา้ นหน้า 2.6 ควอต กวา้ นหลัง 3 ควอต ถงั น้ำมนั ระบบบังคับเลย้ี ว 8 1/2 ควอต ถงั นำ้ มันไฮดรอลิคระบบปนั้ จัน่ 70 ควอต ความส้นิ เปลืองนำ้ มันเชอื้ เพลงิ - เครื่องยนต์แกส๊ โซลีน 4 ไมล์/แกลลอน - เคร่อื งยนต์ดเี ซล 5 ไมล์/แกลลอน รอบเคร่อื งยนต์ - เครือ่ งยนต์แก๊สโซลีน รอบเดินเบา 400 - 450 รอบ/นาที 2,750 - 2,800 รอบ/นาที รอบสูงสุด 650 - 700 รอบ/นาที - เครอ่ื งยนต์ดีเซล รอบเดนิ เบา 2,850 - 2,900 รอบ/นาที รอบสงู สดุ 5 ตำแหนง่ เครือ่ งเปลี่ยนความเรว็ 1 ตำแหนง่ - ความเรว็ เดินหน้า 1 ตำแหนง่ ถอยหลัง T 138 2 ความเรว็ วา่ ง 3 ตำแหน่ง HIGH - N - LOW เครอ่ื งเพ่มิ เพลาขับ - แบบ 2 หมอ้ - ตำแหนง่ ใช้งาน 6 TN 23 ระบบไฟฟ้า 12 โวลท์ - แบตเตอรี่ แบบอันดบั ขั้วลบลงดิน - แบบ 7 ปอนด์/ตร.นิ้ว - แรงเคลือ่ น - การตอ่ วงจร 1 1/2 - 2 น้ิว แรงดนั ของฝาปดิ หมอ้ น้ำ ระยะวา่ งกอ่ นทำงาน - คลตั ช์

ห น้ า | 8 - ห้ามล้อ 1/4 - 1/2 นิว้ สารหลอ่ ลื่นทใี่ ช้ - น้ำมันเคร่ืองยนต์ OE 30 - น้ำมนั หบี เฟอื งตา่ งๆ GO 90 - น้ำมันระบบบังคบั เลย้ี ว OE 10 - นำ้ มนั ระบบปั้นจน่ั OE 10 - นำ้ มันห้ามลอ้ HB - ไขขน้ GAA ความตงึ หยอ่ นของสายพาน - พัดลมระบายความร้อน (เครื่องยนตแ์ กส๊ โซลนี ) 1/8 - 1/4 นว้ิ (เครือ่ งยนตด์ ีเซล) 3/4 นว้ิ - เครื่องทำลม 1/2 น้ิว การเติมลมยาง - บนถนน 70 ปอนด์/ตร.น้วิ - ในภูมิประเทศ 35 ปอนด์/ตร.น้วิ - ทราย,โคลน,หิมะ 25 ปอนด์/ตร.น้วิ กว้านหน้า - นำ้ หนักฉุดลากสูงสุด 20,000 ปอนด์ - ลวดกว้านยาว 280 ฟุต - ความโต 5/8 นวิ้ กว้านหลงั - นำ้ หนกั ฉุดลากสงู สดุ 45,000 ปอนด์ - ลวดกวา้ นยาว 280 ฟุต - ความโต 3/4 นิว้ ปนั้ จนั่ - ยกน้ำหนกั สงู สุด 20,000 ปอนด์ - คานปนั้ จั่นยาว 18 ฟุต (ตัวนอก 10 ฟตุ ,ตัวใน 8 ฟตุ ) - ยกไดเ้ ป็นมมุ สงู สุด 45 องศา - หมุนรอบตวั 270 องศา - ลวดกวา้ นปั้นจั่นยาว 95 ฟตุ 5 นว้ิ - ความโต 1/2 นิว้ **************

ห น้ า | 9 แผนกวชิ ายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรยี นทหารมา้ ศูนยก์ ารทหารมา้ ค่ายอดิศร สระบรุ ี ---------- เอกสารเพ่ิมเตมิ วชิ า คุณลักษณะและการทำงานของเครือ่ งยนต์ LDS 465-1, LDS 465-1A, LD 465-1, LD 427-2 และ LDT 465-1C กล่าวทั่วไป คำบรรยายนี้จะกล่าวถึงรายละเอียด คุณลักษณะ และการทำงานของเครื่องยนต์ดีเซล ที่ใช้ นำ้ มัน เชื้อเพลงิ ได้หลายประเภท ความมงุ่ หมาย เพอื่ ใหน้ กั เรียนไดท้ ราบถึง 1. คณุ ลักษณะทั่วไปของเครื่องยนต์ 2. นำ้ มนั เช้ือเพลงิ ประเภทต่าง ๆ ที่สามารถใชไ้ ด้ 3. การติด-ดับ เคร่อื งยนต์ 4. การใช้งาน และข้อควรระมัดระวัง 5. การปรนนบิ ตั ิบำรุงและการบรกิ าร ขอบเขต คำบรรยายน้เี ปน็ เพยี งมูลฐานเบอ้ื งตน้ ทั่วไปของเครื่องยนตท์ พ่ี ลขับและผู้ใชค้ วรทราบ เอกสารอา้ งอิง - DA PAMPHLET 750-11 - TM 9-2320-211-10 APR.1973 - LO 9-2320-211-12 1963 **************

ห น้ า | 10 คุณลักษณะ และการทำงานของเครอ่ื งยนต์ MULTIFUEL LDS 427-2,LD 465-1,LDS 456-1A และ LDT 465-1C เครื่องยนต์ที่ใช้น้ำมันเชื้อเพลิงได้หลายประเภทนี้ก็คือเครื่องยนต์ดีเซลซึ่งเป็นเครื่องยนต์ที่มีการจุด ระเบิดดว้ ยกำลงั อดั กล่าวคอื เช้อื เพลงิ นั้นจะถูกจุดใหล้ ุกไหม้ดว้ ยอากาศร้อน ซึง่ เกิดจากการอดั ของลูกสูบ ขณะ เคลื่อนที่ขึ้นไปทางด้านบนในจังหวะอัด อากาศในกระบอกสูบจะร้อนจัด และในช่วงเวลานี้เองเชื้อเพลิงก็จะถูก ฉีดเข้าไปกระทบกับอากาศร้อนและเกิดการลุกไหม้ขึ้น ก๊าซร้อนที่เกิดจากการเผาไหม้ก็จะกดดันให้ลูกสูบ เคลื่อนที่ลงมาทางด้านล่าง ในจังหวะกำลัง ท่านจะศึกษารายละเอียด หลักการทำงานของเครื่องยนต์ดีเซลได้ จาก TM 9-8000 JAN 56,CHAP 6 เครื่องยนต์นี้ออกแบบองค์ประกอบต่าง ๆ ใหม่ล่าสุด เพื่อให้มี คุณลักษณะใช้ได้กับน้ำมันเชื้อเพลิงได้หลายประเภท ซึ่งจะทำให้ได้เปรียบเครื่องยนต์ดีเซล แบบธรรมดาที่ใช้ นำ้ มนั เชือ้ เพลงิ ดเี ซลไดเ้ พยี งอย่างเดยี ว ที่จะกล่าวต่อไปนี้ เป็นเชื้อเพลิงประเภทต่างๆ ที่สามารถใช้กับเครื่องยนต์แบบนี้ และพลขับจะต้อง เลือกใช้ตามลำดับก่อนหลัง เพราะแม้ว่าเครื่องยนต์นี้จะสามารถใช้ได้กับเชื้อเพลิงหลาย ๆ อย่าง หรือแม้แต่ กับส่วนผสมระหว่าง น้ำมันเชื้อเพลิงเหล่านี้ก็ตามแต่น้ำมันดีเซลจะให้กำลังงาน และประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ได้ดีกว่าน้ำมันแก๊ส โซลนี น้ำมันเชอ้ื เพลิงทใ่ี ชเ้ ป็นหลกั และตอ้ งเลอื กใช้ตามลำดับ คือ อนั ดับแรก - VVF - 800 DIESEL FUEL - MIL - F- 46005 COMPRESSION IGNITION ENGINE FUEL - CIE MIL - F-16884 MARINE FUEL OIL อันดบั สอง - JET FUEL SPEC MIL-J-5624 JP-4 - KEROSENE JET A,-JET A-1 ซ่ึงเป็น COMERCIAL AVIATION FUEL อันดบั สาม - MIL-G-3056 COMBAT GASOLINE ซึง่ มีอัตรา OCTANE 83-95 น้ำมันแก๊สโซลีนนี้ ควรจะได้พิจารณาใช้เป็นอันดับสุดท้าย หรืออาจเรียกได้ว่าเป็นเชื้อเพลิงฉุกเฉนิ เพราะน้ำมันแก๊สโซลีนจะทำให้กำลังงานและสมรรถภาพของเครื่องยนต์ลดลงมาก และถ้าใช้ต่อเนื่องกันเป็น เวลานานๆ จะทำใหอ้ ายกุ ารใช้งานของเครอ่ื งยนตส์ ั้นลงอยา่ งรวดเร็ว เครอื่ งยนตท์ ใี่ ชน้ ้ำมันไดห้ ลายประเภท ในปัจจบุ ันน้ีได้พฒั นาข้นึ มาตามลำดบั 5 แบบ ดว้ ยกัน คอื - เครอ่ื งยนต์ LDS 427-2 เปน็ เคร่อื งยนต์รุน่ แรก ใช้กับ รยบ.2 1/2 ตัน ลำดบั 6742 หรือเรียกวา่ รยบ. 2 1/2 ตัน M 35 A 1 ( M 44A1 ) - เคร่ืองยนต์ LD 465-1 ใชก้ บั รยบ.2 1/2 ตัน M35A2 ( M44A2 ) - เครอ่ื งยนต์ LDT465-1C ใช้กับ รยบ. 2 1/2 ตนั M35A2 C - เครื่องยนต์ LDS 645-1 ใช้กับ รยบ. 5 ตนั ลำดบั 6744 หรือ รยบ. 5 ตนั M52A2 - เครื่องยนต์ LDS 465-1A เป็นเครื่องยนต์ที่ได้รับการดัดแปลงให้ดีขึ้น ใช้กับ รยบ. 5 ตัน หรือรถกู้ ขนาด 5 ตัน M543A2 ความหมายของตวั ย่อ L = ระบายความร้อนด้วยของเหลว ( LIQUID COOLED ) D = เครื่องยนตด์ ีเซล ( DIESEL ) S = เครื่องเพ่มิ ไอดี ( SUPERCHARGER ) T = เคร่ืองเพมิ่ ไอดีแบบกังหัน ( TURBOCHARGER )

ห น้ า | 11 การปฏิบัตกิ อ่ นติดเคร่อื งยนต์ กอ่ นที่จะติดเครื่องยนต์ ควรจะทำการปรนนิบตั ิบำรงุ ก่อนใช้งานทุกคร้งั โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ควรตรวจ - ระดบั น้ำมันเครอ่ื งยนต์ - ระดบั น้ำยา และสภาพของแบตเตอร่ี - ระดับนำ้ มนั เช้อื เพลิงในถงั - ระดับนำ้ ระบายความร้อน เนื่องจากเครื่องยนต์นี้จัดว่าเป็นเครื่องยนต์พิเศษแบบหนึ่ง ดังนั้นจึงมีข้อกำหนดให้ปฏิบัติผิดแปลก ออกไปบา้ งคอื ก่อนทีเ่ รม่ิ ติดเคร่ืองยนต์คร้ังแรกของวันนั้น จะตอ้ งถ่ายนำ้ มนั และฝ่นุ ผงส่ิงสกปรกออกจากหม้อ กรองนำ้ มนั เช้อื เพลงิ ตัวแรกเสียก่อนทุกครั้ง หม้อกรองตัวนี้ติดตั้งอยู่ใต้บังโคลน ทางด้านซ้ายของรถ การถ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงให้ ปฏบิ ัติดังน.ี้ 1. เปดิ สวิตชแ์ บตเตอรีไ่ ปยังตำแหนง่ \" ON \" เพอ่ื ใหป้ ๊ัมไฟฟา้ ทำงาน 2. คลายควงผีเสอื้ ทางด้านใต้หม้อกรองออก ใชภ้ าชนะรองรบั นำ้ มนั เชือ้ เพลิงที่ไหลออกมา และตรวจดู วา่ มีนำ้ และฝุน่ ผงเจอื ปนอยูม่ ากนอ้ ยเพยี งใด 3. ถ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงออกจากหม้อกรองตัวที่ 2 อีก ถ้าปรากฏว่ามีน้ำและฝุ่นผงในหม้อกรองตัวแรก มาก 4. ถ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงออกจากหมอ้ กรองตัวสุดท้าย ถ้าปรากฏว่ามีนำ้ และฝุ่นผงในหม้อกรองตัวที่ 2 มาก แต่ถ้าพบว่ามีนำ้ และฝุ่นผงอยู่ในหม้อกรองท้ัง 3 ตัวมาก จะต้องแจ้งให้ช่างยานยนต์ทราบ เพื่อที่จะได้ทำ ความสะอาดหม้อกรองทัง้ หมด และเปล่ยี นไสก้ รองใหม่ การตดิ เครอื่ งยนต์ การตรวจของเหลวอดั หวั กระบอกสูบ ( CHECK FOR HYDROSTATIC LOCK )เปน็ ส่ิงท่ีจำเป็นมาก ใน บางโอกาส น้ำหรือน้ำมันเชื้อเพลิงอาจเข้าไปสะสมอยู่ภายในกระบอกสูบภายหลังจากเลิกใช้งานแล้วก็ได้ ซ่ึง ของเหลวเหล่านี้ถ้าถูกอัดตัวอย่างแรงโดยลูกสูบในขณะที่เครื่องยนต์ติด จะทำให้เครื่องยนต์ชำรุดอย่างหนัก เชน่ ก้านสบู หัก, ลกู สูบแตก หรือเครื่องยนตร์ ะเบิดออกมากไ็ ด้ ดงั นนั้ กอ่ นทจ่ี ะทำการติดเครื่องยนต์ พลขบั ที่ดี ควรปฏบิ ัตดิ ังนี้ 1. จัดคนั เกียรเ์ คร่อื งเปลย่ี นความเรว็ ไวใ้ นตำแหน่ง วา่ ง ( N ) และตัง้ คนั ห้ามล้อมอื 2. ดงึ ปุ่มดับเคร่อื งยนตอ์ อกมาใหส้ ุด แลว้ ปลอ่ ยค้างไว้ 3. เปดิ สวิตชแ์ บตเตอร่ี ไปยงั ตำแหนง่ เปิด (ON) 4. เหยียบคลัตชล์ งให้สดุ 5. กดปุ่มหมุนเครื่องยนต์โดยแรง ประมาณ 2-3 วินาที ฟังเสียงผิดปกติขณะที่เครื่องยนต์หมุน และ สังเกตว่าเครื่องยนต์หมุนได้สะดวกหรือไม่ ถ้ามีเสยี งผิดปกติหรือเครื่องยนตไ์ ม่หมุน แจ้งใหช้ ่างยานยนต์ทราบ เพ่ือทำการ แกไ้ ขต่อไป เมอื่ ปรากฏวา่ เคร่ืองยนตห์ มุนได้สะดวกเปน็ ปกตใิ หต้ ิดเครอ่ื งยนต์ตามขั้นตอนดงั น.้ี 6. ดันปุ่มดับเคร่อื งยนต์เข้าไปใหส้ ดุ 7. กดปุ่มเคร่อื งยนตอ์ กี เพื่อตดิ เครื่องยนต์ ข้อควรระวัง การใช้มอเตอรห์ มนุ เครอ่ื งยนต์น้นั ไม่ควรกดปุ่มหมุนเครือ่ งยนต์คร้ังหนึ่งนานเกนิ กว่า 10 วนิ าที และใหค้ อย 10 วนิ าที ถ้าจะต้องกดปมุ่ หมนุ เครื่องยนต์ครั้งต่อไป และถา้ ปรากฏวา่ ทา่ นได้พยายาม ตดิ เครื่องยนตถ์ ึง 3 คร้ังแล้ว แต่เครื่องยนต์ยังไม่ติด แจ้งให้ช่างยานยนต์ค้นหาสาเหตุบกพร่อง และทำการแก้ไข การกดปุ่มเครื่องยนต์น้ัน

ห น้ า | 12 จะตอ้ งกดให้แรงและแน่นสนิท มิฉะนั้นจะทำใหส้ วิตช์เสียหายหรือทำให้มอเตอร์หมุนเครือ่ งยนตช์ ำรดุ ได้ อยา่ ใช้ เท้าปั๊มคันเร่งน้ำมัน เพราะจะไม่ก่อให้เกิดประโยชน์อันใดเลย นอกจากจะทำให้คันเร่งและก้านโยงคดงอ เสียหายได้ และห้ามมิให้พยายามที่จะติดเครื่องยนต์แบบนี้โดยการฉุดลาก หรือการผลักดัน เพราะจะทำให้ สังเกตอาการบางอย่างของ HYDROSTATIC LOCK ไม่ได้ ซึ่งการฉุดลากรถนี้จะเป็นการบังคับให้เครื่องยนต์ หมุน และเครื่องยนต์ติดขึ้นอาจจะทำให้เครื่องยนต์ระเบิดออกมาได้ ดังนั้นจึงควรใช้สายไฟ ต่อพ่วงไฟจากยาน ยนต์คันอ่ืนเข้ามาช่วยการหมุนตดิ เคร่อื งยนต์ การอุ่นเครื่องยนต์ 1. หลังจากติดเครื่องยนต์แล้วให้เครื่องยนต์เดินเบาไว้ประมาณ 3-5 นาที จนกระทั่งเครื่องยนต์ได้ อุณหภูมิ 140 องศา ฟ. รอบที่ใช้ในการอุ่นเครื่องยนต์ไม่ควรต่ำกว่า 800 รอบ/นาทีและไม่เกิน 1,000 รอบ/ นาที การปลอ่ ยให้ เครื่องยนต์เดินด้วยรอบเดินเบาต่ำเกินไปนั้น จะทำให้เกิดอาการสั่นสะเทือนมาก ซึ่งจะทำให้ส่วนประกอบ ต่างๆ ของเครื่องยนต์หลวมคลอน หรือแตกหักได้การอุ่นเครื่องยนต์นี้ จะช่วยให้การทำงานขององค์ประกอบ ต่างๆ ของเครื่องยนต์เรียบร้อยสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการอุ่นเครื่องยนต์นี้มีความสำคัญเป็นพิเศษ เฉพาะกบั \"เครือ่ งเพมิ่ ไอด\"ี ของเคร่ืองยนต์ แกส๊ ไอเสียของเครอ่ื งยนต์จะเป่าให้กังหันของเครื่องเพิม่ ไอดหี มุน ด้วยความเร็ว 30,000 รอบ/นาทีในรอบเดินเบา เมื่อเครื่องยนต์เดินด้วยรอบสูงกังหันจะหมุนเร็วถึง 60,000 รอบ/นาที การอุ่นเครื่องยนต์จะช่วยให้น้ำมันเครื่องยนต์ขึ้นไปหล่อเลี้ยงตลับลูกปืนของเครื่องเพิ่มไอดีอย่าง เพียงพอ ดังนัน้ จงอยา่ งเรง่ เครอื่ งยนตโ์ ดยแรงแลว้ ปล่อยคันเร่งทนั ทที นั ใด 2. ตรวจดูการทำงานของเข็มวัดความดันน้ำมันเครื่องโดยใกล้ชิดในระยะ 20 วินาที แรก หลังจาก เครื่องยนต์ติดแล้ว ถ้าปรากฏว่าเข็มวัดความดนั ชี้แสดงค่าไม่ถึง 15 ปอนด์/ตร.นิ้ว ณ ย่านความเร็ว 800 ถึง 1,000 รอบ/นาที ใหด้ บั เครอ่ื งยนต์ทันที และแจ้งใหช้ ่างยานยนต์ทราบ 3. เมื่อท่านจะออกรถ ควรจะให้อุณหภูมิของน้ำระบายความร้อนสูงถึง 140 องศา ฟ. เสียก่อน และ อุณหภูมิจะสูงข้ึนอีกเมอ่ื ทา่ นออกรถ แตก่ ่อนท่ีท่านจะเร่งเคร่ืองยนตเ์ ต็มท่ี เม่อื ต้องการความเร็วสูงก็ควรจะให้ เครื่องยนต์ได้อุณหภูมิใช้งาน 160 - 180 องศา ฟ.เสียก่อน และไม่ควรเปิดฝาปิดด้านข้างของห้องเครื่องยนต์ ออก เพราะจะทำใหก้ ารหมุนเวยี นของอากาศในห้องเครื่องยนต์ผดิ ปกติได้ 4. จงสังเกตการทำงานของเครื่องยนต์และควันจากท่อไอเสีย เครื่องยนต์ควรจะเดินเรียบไม่มีอาการ สะดุด หรือเดินไม่ครบสูบ เครื่องยนต์ไม่มีกำลังและไอเสียมีควันดำมาก และแสดงว่าหม้อกรองอากาศสกปรก มากหรืออุดตัน ซึ่งเครื่องบอกสภาพของหม้อกรองอากาศจะแสดงให้ท่านทราบได้ทันที เม่ือแถบสีแดงขึ้นมา ครึ่งหนึ่ง แสดงว่าไสก้ รองกรองอากาศสกปรกมาก ใหด้ บั เครอื่ งยนต์ และทำความสะอาดไส้กรอง ในภมู ิประเทศ ที่มีฝุ่นมากควรจะทำความสะอาดไส้กรองอากาศทุกๆ วันการทำความสะอาดไส้กรองให้ใช้ลมเป่าหรือล้างด้วย น้ำสบู่ แต่หา้ มมใิ หใ้ ช้น้ำมนั แรใ่ ด ๆ ลา้ งทำความสะอาด เพราะจะทำใหไ้ สก้ รองอากาศเสอื่ มสภาพได้ การออกรถ สำหรับรถที่ใช้เครื่องยนต์แบบนี้ ควรจะออกรถด้วย เกียร์ 1 เท่านั้น และออกรถช้าๆ ด้วยความน่ิม นวล เพราะรถแบบนี้ไม่ใช่รถสปอรต์ หรอื รถแขง่ ต้องคอ่ ยๆ ผ่อนคลัตช์อย่ากระตกุ คลัตชโ์ ดยแรงจะทำให้คลัตช์ หรอื เครอื่ งเปล่ยี นความเรว็ ชำรุดเสยี หายไดใ้ นขณะขบั รถ ไมค่ วรวางเท้าไวบ้ นแป้นคลัตช์ (RIDE CLUTCH) จะ ทำใหต้ ลบั ลูกปืนปลดคลัตช์ และแผ่นคลัตชส์ ึกหรออยา่ งรวดเรว็ โดยไม่จำเป็นจงจำไว้ว่า \"แปน้ คลตั ช\"์ ไมใ่ ชท่ ีพ่ กั เท้า ในขณะขับด้วยความเร็วสูง บนถนนหรือขับลงจากลาดเนิน จงระมัดระวังอย่างให้รอบหมุนของ เครื่องยนต์เกิน 2,600 รอบ/นาที เพราะจะทำให้เครื่องยนต์หมุนเร็วเกินขีดกำหนด ทำให้ส่วนประกอบต่างๆ ชำรุด สึกหรออย่างรวดเร็ว จนทำให้ต้องซ่อมใหญ่เครื่องยนต์ ซึ่งมีราคาแพงมากกว่าการเปลี่ยนผ้าห้ามล้อ

ห น้ า | 13 ดังน้นั เมือ่ ท่านต้องการลดความเร็วลง ไม่ควรกระทำโดยการทดเกยี ร์ลง ใหใ้ ช้ห้ามล้อในการลดความเร็ว และใน การลงเนินให้เหยยี บหา้ มลอ้ แลว้ ปลอ่ ยในลักษณะการปมั๊ หา้ มล้อ อย่าเหยยี บแช่ไว้ จะทำใหผ้ ้าหา้ มลอ้ ไหม้ได้ การดบั เคร่อื งยนต์ หลงั จากใชง้ านมาแล้ว ก่อนทที่ า่ นจะดบั เคร่ืองยนต์ ท่านจะต้องปล่อยให้เคร่ืองยนต์เดินเบา 800 - 1,000 รอบ/นาที เป็นเวลา 5 นาที แล้วจึงดึงปุ่มดับเครื่องยนต์และปล่อยค้างไว้ การที่ต้องเดินเบาเครื่องยนต์ ก็ เพราะว่าตอ้ งการใหร้ ะบบระบายความร้อนของเคร่อื งยนต์ทำการระบายความรอ้ นออกจากเครอื่ งยนต์ที่ร้อนจัด จากการใช้งานหนักเสียก่อน และมีความสำคัญสำหรับกังหันของเครื่องเพิ่มไอดีอีกด้วย เพราะการดับ เครื่องยนต์ทันที จะทำให้ไม่มีน้ำมันเครื่องไปหล่อเลี้ยงตลับลูกปืนซึ่งยังหมุนอยู่ด้วยความเร็วสูง และทำให้ตลับ ลูกปืนไหม้จนละลายได้ และการเดินเบายังช่วยให้ชุดกังหันลมนี้ลดความเร็วและอุณหภูมิลงได้มาก จนถึงขีด ปลอดภัย (เมื่อดับเครอื่ งยนต์แล้วอยา่ ลืมปิดสวิตช์แบตเตอรไี่ ปยงั ตำแหนง่ ปิด OFF) เนื่องจากเครื่องยนต์เป็นเครื่องยนต์ดีเซล จึงต้องดับเครื่องยนต์โดยการดึงคันตัดน้ำมันเชื้อเพลิงเท่านั้น และถ้าเกิดขัดข้องกับคันดับเครื่องยนต์ ทำให้ดับเครื่องยนต์ไม่ได้ ในกรณีฉุกเฉินให้ดับเครื่องยนต์โดยการเข้า เกียรส์ ูงและเหยียบหา้ มล้อเพ่ือทำใหเ้ ครื่องยนต์กระตุก และดับลง รอบเครื่องยนตท์ ่ีกำหนดไวส้ ำหรบั การใชง้ านของเครือ่ งยนต์ดีเซล MULTIFUEL 1. 1,200 รอบ/นาที - คือ รอบต่ำสุดระหว่างบรรทุก เพื่อให้เครื่องยนต์ทำงานคงที่ และ 2. 1,400 - 1,800 รอบ/นาที รถไม่มีการกระตุก 3. 1,400 - 2,200 รอบ/นาที - คือ รอบหมุนของเครื่องยนต์ในเกณฑ์ที่จะเปลี่ยนเกียร์จากสูงลง 4. 2,600 รอบ/นาที ต่ำ และอย่าเปลย่ี นเกยี รต์ ่ำลงในขณะรอบเครือ่ งยนต์สงู กวา่ นี้ - คือ ระหว่างตัวเลขแสดงรอบ 2 จุดนี้ เชื้อเพลิง 1 แกลลอน รถ จะวิ่งไดไ้ กลสดุ กำหนดนใ้ี ชส้ ำหรบั ปฏิบตั กิ ารตามปกติ - รอบสูงสุดที่กำหนดให้ใช้เมื่อรถบรรทุกเต็มที่ รถวิ่งขึ้นที่สูงชันลง จากที่ลาดชัน แต่จะต้องระวังไม่ให้รอบของเครื่องยนต์สูงกว่านี้จะ ทำให้เครือ่ งยนต์ชำรดุ เสียหาย ***************

ห น้ า | 14 แผนกวิชายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรยี นทหารมา้ ศูนย์การทหารมา้ คา่ ยอดศิ ร สระบรุ ี ---------- วชิ า การปรนนบิ ัตบิ ำรงุ ประจำวัน รถกู้ 5 ตนั M543 และ M543A2 กอ่ นการใชง้ าน ( BEFORE OPERATION ) การตรวจสภาพความเรียบรอ้ ยตา่ ง ๆ ด้านหน้ารถ 1. เครื่องมือและอุปกรณ์ประจำรถ ให้เริ่มตรวจตั้งแต่ด้านหน้าซ้ายของรถ ต้องแน่ใจว่าท่านมีเครื่องมือและ อุปกรณ์ประจำรถ คู่มอื เทคนคิ และเอกสารแบบพิมพต์ ่างๆ ถา้ รถของทา่ นมีเครื่องดับเพลงิ ติดตั้งอยดู่ ว้ ย จะต้อง ตรวจดูว่ายงั สามารถใชง้ านได้ และตดิ ต้งั ถูกท่เี รยี บร้อย ให้ท่านทำการตรวจตอ่ ไป และบนั ทึกสิง่ ที่บกพร่องลงใน แบบพมิ พ์ สพ.110 2. การชำรดุ เสยี หาย ต่อไปใหท้ ำการตรวจความเสียหายของส่งิ ต่าง ๆ เหลา่ น้ี ก. บงั โคลน ตรวจดูรอยบุบ,แตก,บริเวณที่เป็นสนิม การหลวมคลอนหรือหลุดคลายของ แป้นเกลยี ว และสลกั เกลียว ตา่ ง ๆ ข. ตะแกรงกันหมอ้ น้ำ ตรวจรอยแตก,หัก,การหลวมคลอน และหลุดหายของแป้นเกลียว และสลัก เกลียวต่างๆ ค. หมอ้ น้ำรังผึ้ง ตรวจดูรอยรั่วไหล,รอยทะลุ หรือคดงอของหลอดน้ำและสิ่งขวางกัน้ ทางเดิน อากาศระหว่างหลอดนำ้ และครบี ระบายความรอ้ น ง. โคมไฟหนา้ ตรวจดูรอยแตกร้าวของกระจก ความหลวมคลอนของกรอบโคมไฟหน้า ตลอดจนความมนั่ คงในการยดึ ตรึงของโคมไฟต่างๆ จ. กันชน ตรวจดูรอยบุบ,รอยแตกหกั ,ความหลวมคลอน หลดุ หายของแป้นเกลียวและ สลักเกลียวต่างๆ และบรเิ วณใดบา้ งทีต่ ้องการทาสีทบั ฉ. ฝาครอบห้องเครื่องยนต์ ตรวจดูรอยบุบ,แตกร้าวต่างๆ ความหลวมคลอนและหลุดหายของแป้น เกลยี ว และ สลกั เกลียวต่างๆและบรเิ วณที่ต้องการทาสที บั ช. หัวต่อท่อลม ฝาปิดท่อลมได้รับการติดตั้งมั่นคงเรียบร้อย หัวต่อท่อลมอยู่ในสภาพ เรยี บรอ้ ยไม่ แตกรา้ ว 3. การรัว่ ไหลท่ัวๆ ไป ท้ังบนพื้นดิน และบรเิ วณด้านใต้รถ 4. ระดบั น้ำระบายความรอ้ นและนำ้ มันเครอ่ื งยนต์ ตรวจระดับน้ำมันเครื่องให้มีปริมาณเพียงพอต่อการใช้งาน การตรวจวัด ระดับท่ีถูกตอ้ งให้กระทำดงั นใี้ นการตรวจวัดระดบั ท่านต้องไม่หมุนเกลยี วก้านเหลก็ วดั น้ำมันเคร่อื งลงไป - ตำ่ กว่าขีด \" ADD \" ถอื วา่ ไม่ปลอดภยั หมายเหตุ การวัดระดบั เม่ือเครือ่ งยนต์เยน็ (เคร่อื งยนตด์ ีเซล) สำหรบั เคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลนี ระดับ - ระดบั น้ำมันอยใู่ นบริเวณ \" ADD - 1 1/2 นวิ้ \" น้ำมนั เครือ่ งจะตอ้ งไมเ่ กินขีด \"FULL\" เหนอื ขดี \" FULL \" แสดงว่าอย่ใู นเกณฑป์ ลอดภัย

ห น้ า | 15 ไม่วา่ เคร่ืองยนตจ์ ะรอ้ นหรือเย็น สำหรับการติดเครื่องยนต์ การวัดระดับเมื่อเครื่องยนต์ร้อน เครื่องยนต์ดีเซล การวัดระดับเมื่อเครื่องยนต์ร้อน หมายความว่า หลัง จากท่านอุ่นเครื่องยนต์ประมาณ 3-5 นาที แล้วดับเครือ่ งยนต์ คอย 1 นาที แล้วจึงตรวจวัดระดับ - ระดับน้ำมันอยู่ในบริเวณ \" ADD-FULL \" ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ ปลอดภัย ขอ้ ควรระวงั อย่าเติมน้ำมันเครื่องให้เกินกว่าระดับขีด \"FULL\" - ระดับน้ำระบายความร้อน เติมให้ได้ระดับต่ำจากฝาปิด หม้อน้ำลง ไปประมาณ 2 1/2 นิ้ว ตรวจดูรอยแตกร้าว,หลวมคลอน และรั่วไหลของทอ่ ยาง ความม่นั คงของเขม็ ขัดรดั ท่อยาง - ตรวจรอยร่วั ไหลของนำ้ มันเคร่ืองในตำบลต่างๆ ของเครื่องยนต์,ตรวจสภาพทั่วไป และการรั่วไหลของท่อ ทางเดินนำ้ มันเช้ือเพลิง ดา้ นขวาของรถ 1. การชำรุดเสียหาย ตรวจความชำรุดเสียหายทั่วไปทางด้านขวาของรถ ซึ่งอาจเกิดขึ้น ได้ด้วยเหตุใดก็ตามในตอนกลางคืนทั้งนี้รวมถึงสิ่งต่างๆ ฯลฯ เช่น หนา้ ต่างแตก,รอยบุบทัว่ ไป และรอยขีดข่วนตา่ ง ๆ ฯลฯ 2. ยางและกงล้อ - ต้องมั่นใจว่ายางทุกเส้นได้เตมิ ลมตามความดันที่กำหนดไว้ทกุ เส้น ตามลักษณะพ้นื ทท่ี น่ี ำรถออกใช้งาน ดงั น.้ี - M543A2 - บนถนนหลวง 70 ปอนด์/ตร.นว้ิ - ในภูมปิ ระเทศ 35 ปอนด/์ ตร.นิว้ - ในโคลน,ทราย,หิมะ 25 ปอนด์/ตร.น้ิว - ตรวจดูวา่ ยางและลอ้ ได้รับการตดิ ต้ังมนั่ คง เรยี บรอ้ ย แปน้ เกลียวและสลกั เกลียวได้ขันแนน่ ไม่หลวมคลอน (แรงบดิ ของแปน้ เกลียวล้อ 400-450 ปอนด์.ฟตุ ) 3. ฝาปิดถงั น้ำมนั เชื้อเพลิง - ตรวจสภาพของความเรียบรอ้ ยของปะเก็นฝาปดิ ถงั 4. การร่ัวไหลตา่ งๆ ท่ัวไป - ทั้งบนพื้นดิน และบริเวณด้านใตร้ ถ ให้ท่านตรวจดูบริเวณเหล่าน้ี คือ บริเวณด้านในของล้อรอบ ๆเครื่องเปลี่ยนความเร็ว, หีบเฟือง ช่วย, ห้องขอ้ เหวี่ยงและหบี เฟืองทดเลย้ี ว 5. แบตเตอร่ี ขั้วต่อสายไฟต่าง ๆ และสะพานไฟต้องยึดแน่นไม่หลวมคลอนขั้ว แบตเตอรี่สะอาด,ฝาปิดช่องเติมน้ำยาไม่หลุดหายและมีระดับน้ำยา ถกู ตอ้ ง แบตเตอรย่ี ึดแนน่ ไมห่ ลวมคลอน ด้านหลงั รถ 1. การชำรดุ เสียหาย ตรวจดูการชำรุดเสียหาย ของฝาปิดกระบะท้ายโคมไฟด้านหลังรถ, เต้าเสยี บสายไฟสำหรบั รถพว่ ง,ขอลากจงู ไม่เป็นสนิม และได้รับการ หลอ่ ลน่ื ตามสมควร 2. หวั ต่อทอ่ ลม - ตรวจสภาพความเรียบร้อยของหัวต่อท่อลมและลิ้นปิด-เปิดลม และมีฝาปิดอยู่เรียบร้อย ถ้ามีรถพ่วงต่ออยู่ด้วยจงตรวจให้แน่ใจว่า ได้ตอ่ สายลมไว้ถูกตอ้ งตามตำแหนง่ ใชง้ าน

ห น้ า | 16 3. กระจกสะท้อนแสง - ต้องไม่หลดุ หาย,แตกรา้ ว,หรือสกปรก หรือซดี จนไม่มีสี 4. กนั ชนหลงั - ไมค่ ดงอ,หลวมคลอน หรือแตกหัก 5. ยางกันสาด - ไม่หลดุ หาย,หลวมคลอน,ฉกี ขาด,สลกั เกลียวยดึ ไมห่ ลดุ หาย ดา้ นซ้ายรถ ในหอ้ งพลขบั 1. แป้นหา้ มล้อ - เหยียบแป้นห้ามล้อลงไปแล้วกดนิ่งไว้ แป้นห้ามล้อจะต้องไม่เกิดอาการ ค่อยๆ ยุบตัวลงซึ่งเป็นการแสดงอาการรั่วในระบบห้ามล้อ ถ้าเป็นดังนี้ต้อง ให้ช่างยานยนต์ทำการแก้ไขโดยเร็วที่สุด และจงสังเกตว่าเมื่อเหยียบแป้น ห้ามล้อลงจนสุดแล้วจะต้องมีระยะห่างระหว่างแป้นห้ามล้อกับพื้นรถมาก พอ ถ้าปรากฏว่าระยะห่างนี้น้อยกว่า 1/2 ของระยะเคลื่อนที่ของแป้นห้าม ล้อทั้งหมด ควรจะไดต้ รวจสอบ และปรบั ตงั้ ระบบห้ามลอ้ 2.การปรับแป้นคลตั ช์ - จงตรวจดูว่าแป้นคลัตช์ของรถมีระยะว่างเพียงพอหรือไม่ ระยะว่างของ แป้นคลัตช์ คือระยะเคลื่อนที่ของแป้นคลัตช์ก่อนเริม่ ทำงาน การตรวจระยะ ว่างนี้ควรจะกระทำโดยใช้มือกดมิใช่ใช้เท้าเหยียบระยะว่างของแป้นคลัตช์ ควรวดั ได้ 1 1/2 - 2 นว้ิ ตดิ เครอื่ งยนต์ 3. เสียงดงั ผิดปกติตา่ งๆ - ต้ังเคร่ืองยนต์เดินเบาดว้ ยรอบสงู ประมาณ 800 - 1,000 รอบ/นาที (อย่าง เร่ง เครื่องยนต์โดยแรงด้วยการปั๊มคันเร่ง) และตรวจดูภายในห้องเครื่องยนต์ และฟังเสียงดังผิดปกติ ถ้าปรากฏขึ้นให้ดับเครื่องยนต์ และรายงาน ข้อบกพร่องที่เกดิ ขึน้ และถ้าเข็มวัดความดันน้ำมันเคร่ืองไม่แสดงค่าความดนั ภายใน 20 วนิ าที ให้ดับเครอ่ื งยนต์ทนั ที และรายงานให้ช่างยานยนต์ทำการ ตรวจและแก้ไข 4. เครอ่ื งควบคมุ การทำงานของเครื่องยนต์ - ตรวจสอบการทำงานของคันเร่ง คนั ดบั เครอื่ งยนต์คันเร่ง มือ ว่าทำงานถกู ตอ้ งเรยี บรอ้ ยหรือไม่ 5. ตรวจสอบการทำงานของเครอื่ งวดั ตา่ งๆ - หลังจากติดเครื่องยนต์ อุ่นเครื่องยนต์ไว้ประมาณ3 นาที ให้ท่านตรวจการทำงานของเครอ่ื งวัดต่างๆ ดังน้ี ก. เข็มวัดความดันน้ำมันเครื่อง เมื่อเครื่องยนต์เดินเบาไม่ ควรต่ำกว่า 15 ปอนด์ ค่าความดันนี้แสดงว่าปั๊ ม น้ำมันเครอ่ื งทำงาน แตพ่ ึงระลกึ ว่าคา่ ความดนั นีม้ ไิ ด้แสดง ว่าระดับน้ำมันเครื่องในห้องเพลาข้อเหวี่ยงจะมีระดับ \" FULL \" เสมอไป ค่าความดันที่อ่านจะเพิ่มขึ้นหรือลดลง ตามรอบความเร็วของเครื่องยนต์ แต่ค่าความดันที่ลดลง โดยกระทันหันหรือเปลี่ยนแปลงไปอย่างผิดปกติ จะแสดง ถึงข้อขัดข้องในระบบหล่อลื่นของเครื่องยนต์ ให้ดับ เครือ่ งยนต์และค้นหาสาเหตขุ องขอ้ ขดั ข้องนั้นๆ ข. เครื่องวัดไฟฟ้า ซึ่งจะแสดงการทำงานด้วยแถบสีต่างๆ ดงั น.้ี -

ห น้ า | 17 1) เมื่อเปิดสวิตช์แบตเตอรี่ และเครื่องยนต์ยังไม่ติด เครื่องวัดไฟควรจะชี้แสดงค่าอยู่ในบริเวณแถบสีเหลือง (แสดงแรงเคลอื่ นของแบตเตอร)่ี 2) เมอ่ื เคร่อื งยนตต์ ดิ และเร่งเครือ่ งยนต์1,500 รอบ/นาที เครื่องวัดควรจะชี้แสดงค่าอยู่ในบริเวณแถบสีเขียว (แสดง วา่ เคร่ืองกำเนิดไฟฟา้ ทำงานปกต)ิ 6. เครื่องวดั รอบเครือ่ งยนต์ จะต้องชี้แสดงรอบความเร็วของเครื่องยนต์ โดยแสดงค่า เป็นจำนวนรอบ/นาที 7. เครอื่ งวัดปรมิ าณนำ้ มันเช้ือเพลิง - ควรจะแสดงปริมาณน้ำมันในถงั 8. เครอื่ งวัดความดันลม - แสดงความดนั ของลมในระบบเครือ่ งทำลม เกณฑ์ ปลอดภัยในการใช้งานปกติ 100-150 ปอนด์/ตร.นิ้วความ ดันใช้งานต่ำสุด 65 ปอนด์/ตร.นิ้ว โดยจะมีเครื่องช่วย ความปลอดภัยคือ เสียงสัญญาณเตือนแสดงความดันลม ต่ำกว่าเกณฑ์ใช้งานปลอดภัย โดยจะส่งเสียงดัง ตลอดเวลาและหยุดดังเมื่อความดันลมถึง 65 ปอนด์/ตร. นว้ิ ข้อควรระวัง ทา่ นไมค่ วรจะออกรถจนกวา่ เสียงสัญญาณเตือนจะหยุดดงั 9. เครื่องวัดอณุ หภมู ิ - อณุ หภมู ใิ ชง้ านปกติ 160-180 องศา ฟ.หลังจากอุน่ เครอ่ื งยนต์แล้ว 10. โคมไฟตา่ งๆ - ทดสอบการทำงานของสวติ ชไ์ ฟเครอื่ งใหแ้ สงสว่างเพือ่ ใหแ้ น่ใจว่าโคมไฟตา่ งๆ ทำงาน อย่างเรียบร้อยรวมทั้งการทำงานของสวิตช์เปลี่ยนระดับลำแสงไฟใหญ่ (DIMMER SWITCH) 11. กระจกมองหลงั - สามารถปรับได้โดยสะดวก กระจกไมแ่ ตกร้าวขนุ่ มัวหรือเสอื่ มสภาพ 12. แตร - ทำงานได้เรยี บร้อย 13. เครอื่ งปดั นำ้ ฝน - ตรวจดูสภาพของใบปดั น้ำฝนวา่ อยู่ในสภาพใชก้ ารไดด้ ีและมอเตอรท์ ำงานไดเ้ รียบรอ้ ย ขณะใช้งาน DURING OPERATION การ ปบ.ขณะใชง้ านน้ีจะไมม่ กี ำหนดเวลาที่แนน่ อนในการตรวจสอบ อยา่ งไรกต็ ามควรจะได้กระทำ เปน็ ระยะๆ ไปในระหว่างการใช้งานประจำวนั ตามความจำเป็น ขณะขบั รถ WHILE DRIVING 1. ห้ามล้อ - การทำงานของห้ามลอ้ ต้องเทา่ กันทกุ ลอ้ ให้สังเกต 2. เสยี งผิดปกตติ า่ งๆ การทำงานของหา้ มลอ้ วา่ มอี าการหยุ่นตัว ห้ามลอ้ ไม่ 3. เครอื่ งบังคับเลีย้ ว ทำงานอย่างมีประสทิ ธิภาพ ผ้าหา้ มลอ้ ไม่ตดิ คา้ งหรือไม่ - คอยเงย่ี หูฟงั เสียงท่ีแสดงว่าเครอ่ื งยนตท์ ำงาน ผดิ ปกติ คลตั ช์,เครอ่ื งเปลยี่ นความเร็ว,หีบเฟอื งชว่ ย เพลาขับต่างๆ ทำงานได้เรียบร้อยไม่มีเสยี งดงั ผิดปกติขณะขบั รถ - ระยะวา่ งตอ้ งไมม่ ากเกนิ ควร (ควรมี 1 นว้ิ ) การบังคับเลยี้ วคลอ่ งตัวไมม่ ีอาการสะบัดในขณะขับ

ห น้ า | 18 หรอื เซไปข้างใดข้างหนึง่ หรือวิง่ สา่ ยไปมา ถ้าทา่ นพบว่าเกดิ ขอ้ บกพร่องขนึ้ ใหห้ ยุดรถ และตรวจหาสาเหตุ 4. การทำงานของคลตั ช์ - ตอ้ งไม่มอี าการลน่ื หรือส่นั สะทา้ นเม่ือคลตั ช์เร่ิมจับ ในขณะขบั รถอย่างวางเท้าไวบ้ นแป้นคลัตช์ จงจำ ไว้ว่าแปน้ คลตั ชไ์ ม่ใช้ทพ่ี กั เทา้ 5. การทำงานของเครื่องยนต์ - ต้องแนใ่ จวา่ เครือ่ งยนต์ทำงานอยา่ งเรียบร้อย เปน็ ปกตติ ลอดเวลาไม่มีเสยี งเคาะ (เสียงเคาะ ของลนิ้ หรอื เสียงเคาะของการเผาไหม)้ เครื่องยนตต์ ้องทำงานครบทุกกระบอกสบู และความ สนิ้ เปลอื งของน้ำมันเช้ือเพลิง การเรง่ การลดความเรว็ เรยี บรอ้ ย อย่าลมื รายงานข้อบกพรอ่ งทเี่ กิดขนึ้ 6. การทำงานของเครอ่ื งวดั ตา่ งๆ - ควรสงั เกตการทำงานของเคร่ืองวัดต่างๆ บน แผงหน้าปัด ในขณะขบั รถ โดยเหลอื บมองดูบ่อยๆ เคร่ืองวดั ตา่ งๆ จะบอกสภาพการทำงาน ของระบบต่างๆ ของเครอ่ื งยนต์ อาทิเชน่ ระบบ หลอ่ ล่ืน,ระบบไฟฟ้า,ระบบเครื่องยนต,์ ความเรว็ ของเครอื่ งยนต,์ ความเร็วของรถ,อุณหภูมใิ ช้งาน, ความดันของลมและประมาณของนำ้ มันเชื้อเพลิงในถงั ขณะหยุดรถ ในขณะหยดุ พกั รถนานเกินกว่า 10 นาที ทา่ นควรจะไดส้ ละเวลาสกั เลก็ น้อย เพอ่ื ทำการตรวจยานพาหนะของท่าน ดงั น้ี 1. การรว่ั ไหลท่ัวไป - โดยการเดนิ ไปรอบๆ รถ ตรวจดูรอยหยดของ นำ้ มนั และน้ำบนพนื้ ดนิ และบรเิ วณใตร้ ถด้วย 2. ยางและล้อรถ ตรวจดูสภาพของยางและความดนั ลม โดยการเคาะ ด้วยกุญแจขันล้อรถ ดูความหลวมคลอนของแป้นเกลยี ว ยึดลอ้ รถ เอาหินหรือส่ิงตา่ งๆ ทีต่ ิดคา้ งอยู่ในระหวา่ งยางคูห่ ลังออก 3. ดคู วามหลวมคลอนของแปน้ เกลยี ว - ตรวจดูรอบๆ รถ และบรเิ วณไต้รถว่ามีการ และสลกั เกลียวยึดช้นิ ส่วนต่างๆ ของรถ หลวมคลอน หรอื หลดุ หายทีอ่ งค์ประกอบใดบ้าง หลงั การใชง้ าน AFTER OPERATION เม่อื ทา่ นจอดรถหลงั จากเสร็จสิ้นภารกิจใช้งานประจำวนั แลว้ ควรจะตรวจและเตมิ น้ำมนั เครอื่ งยนต์ น้ำระบายความรอ้ น และนำมนั เชอ้ื เพลงิ ใหเ้ รียบร้อย และบนั ทึกความสนิ้ เปลือง ลงในบตั รใช้รถประจำวนั (สพ.110) 1. เครือ่ งยนต์ - ฟังเสยี งผิดปกติอีกคร้งั หนง่ึ ซึง่ อาจจะสงั เกต ไมพ่ บในขณะปฏบิ ัตงิ าน ต่อไปตรวจดูอปุ กรณ์ชว่ ย ความปลอดภยั เชน่ ก. เสียงสญั ญาณเตือนความดันลมตำ่ ควรทำงานตามทกี่ ำหนด ข. กระจกมองหลงั ตรวจดใู หอ้ ยูใ่ นสภาพใช้การได้ ค. โคมไฟตา่ งๆ ตรวจดกู ารทำงานและสภาพความ

ห น้ า | 19 เรยี บรอ้ ย การตดิ ตงั้ ม่ันคงแข็งแรง ง. เครอื่ งปดั น้ำฝน ตรวจสภาพความเรียบร้อยของ ใบปดั นำ้ ฝน และการทำงานของมอเตอรป์ ดั นำ้ ฝน จ. แตร ทำงานเรยี บรอ้ ยดี ภายในห้องเครอื่ งยนต์ ปล่อยให้เคร่ืองยนต์เดนิ เบา แล้วเปิดฝาปิดห้องเครอื่ งยนต์ขน้ึ และตรวจสภาพภายใน หอ้ งเครื่องยนต์ ดงั น้ี 1. การรว่ั ไหลทั่วไป - ตรวจดูบรเิ วณรอบๆ ฝาครอบลิน้ ,หมอ้ กรองนำ้ มัน เครื่อง และท่อทางเดินนำ้ มนั เคร่ือง ตลอดจนระบบ นำ้ มนั เชือ้ เพลงิ 2. การหลวมคลอนขององคป์ ระกอบต่างๆ - ความส่ันคลอนของเคร่อื งกำเนิดไฟฟ้า,ปมั๊ น้ำ, ใบพัดลม,หม้อกรองอากาศ,สายไฟต่างๆ และฐาน ติดตั้งเครอื่ งยนต์ อนึง่ ใหท้ า่ นตรวจดูท่อรว่ มไอดีวา่ ไมแ่ ตกรา้ วคดงอ หรือมแี กส๊ ร่ัวไหลออกได้ ตรวจดู รอยรัว่ ไหลรอบๆ บรเิ วณปะเก็นฝาเรือนสูบ ดูสภาพ ทวั่ ไปของหมอ้ นำ้ รงั ผงึ้ และระบบระบายความร้อน แตจ่ งระวงั อย่าใหม้ ือ หรอื อวยั วะอื่นใดไปกระทบ เข้ากับสายพานหรอื ใบพดั ลม ด้านซา้ ยรถ 1. การร่ัวไหลทว่ั ไป ตรวจการร่ัวไหลทว่ั ไปบนพ้ืนดนิ และบริเวณใตร้ ถ 2. ปล่อยลมท้งิ - เปิดก๊อกถา่ ยลมด้านใตถ้ งั เกบ็ ลมเพื่อไลน่ ำ้ ตกค้าง อยูใ่ นถงั ลมออกมาใหห้ มด และปิดก๊อกเมอื่ ถา่ ยน้ำออก หมดแล้ว 3. ถงั นำ้ มันเชอื้ เพลงิ - ตรวจดูสภาพความเรียบร้อยของปะเกน็ ฝาปดิ ถงั และความสะอาดของตะแกรงกรองนำ้ มันเชือ้ เพลงิ 4. ความชำรดุ เสียหาย - รอยบุบหรือรอยร้าวหรือแตกหกั ทวั่ ไป รอยขีดขว่ น ที่อาจตอ้ งการทาสีทบั 5. ยางและลอ้ รถ - ดคู วามดันของลมในยางใหไ้ ด้ความดนั ตามเกณฑ์ กำหนด และตรวจสภาพความเรียบร้อย ตลอดจนความ มน่ั คงในการติดตั้ง 6. บันทึกและรายงานการตรวจสภาพต่างๆ ของรถ - รายงานสภาพข้อบกพร่องตา่ งๆ ท่ีตรวจพบให้ นายสบิ ยานยนต์ หรือช่างยานยนต์ทราบและแนใ่ จว่า ได้ทำการปรนนิบตั บิ ำรงุ เรยี บรอ้ ยแลว้ พรอ้ มท่จี ะนำ รถออกใช้งานไดท้ นั ที 7. กว้านหน้า และกวา้ นหลงั - ตรวจสภาพของสายลวดกวา้ น,ขอเกี่ยวและการ (FORNT & REAR WINCH) ตดิ ตง้ั ของลอ้ กวา้ น ตรวจความเรียบร้อยของเคร่อื ง สง่ กำลังออก,เพลาขับกวา้ น,สลกั นิรภัย ตลอดจน ใหก้ ารบริการ และทำความสะอาดหรอื เปลี่ยน สลกั นิรภยั

ห น้ า | 20 8. ปัน้ จน่ั (CRANE) - ใหต้ รวจสภาพการตดิ ตัง้ และความเรยี บร้อยของอุปกรณ์เหล่าน้ี 1. ห้องพลประจำป้ันจั่น 2. ชดุ คนั บงั คบั การทำงานของปั้นจั่น 3. กว้านป้ันจน่ั HOIST WINCH 4. คานปั้นจัน่ ตัวนอก SHIPPER 5. คานป้ันจั่นตัวใน BOOM 6. ท่อทางเดนิ ของนำ้ มันไฮดรอลกิ 7. เทา้ ช้าง OUT RIGGERS 8. ขาคำ้ ยันคานปนั้ จนั่ BRACE & BOOM JACK 9. เคร่ืองแบง่ แยกกำลัง POWER DIVIDER 10. เพลาขับตา่ งๆ 11. ป๊มั ไฮดรอลกิ CRANE HYDRAULIC PUMP 12. ถงั เก็บนำ้ มนั ไฮดรอลิก และตวั กรองนำ้ มัน 13. ทดสอบการทำงานของเคร่ืองอุปกรณ์ต่างๆและการปฏิบตั กิ ารของปน้ั จ่ัน ตลอดจนการใหก้ ารบรกิ ารและแก้ไขขอ้ ขดั ขอ้ งตามความจำเปน็ ------------------------- รายการตรวจสอบการ ปบ.ประจำวัน (CHECK LIST) ก่อนใช้งาน ด้านหน้ารถ 1. เครือ่ งมือเครื่องใช้ และอปุ กรณป์ ระจำรถ 2. ความชำรุดเสียหายทัว่ ไป 3. การรวั่ ไหลทวั่ ไป 4. ระดับนำ้ มนั เครอ่ื งยนต์ และระดบั น้ำระบายความรอ้ น ดา้ นซา้ ย 1. ความชำรดุ เสียหายทัว่ ไป 2. ยางและลอ้ รถ 3. การรั่วไหลท่ัวไป 4. ฝาปิดถังนำ้ มันเชอ้ื เพลงิ ด้านขวา 1. ความชำรุดเสยี หายท่วั ไป 2. ยางและกงลอ้ 3. การรวั่ ไหลทวั่ ไป 4. แบตเตอรี่ 5. ฝาปิดถงั นำ้ มันเชือ้ เพลิง

ห น้ า | 21 ด้านหลงั 1. ความชำรุดเสยี หายทั่วไป 2. หัวต่อทอ่ ลม 3. การรั่วไหลท่ัวไป ภายในหอ้ งพลขบั 1. การปรบั แปน้ ห้ามลอ้ 2. การปรบั คลัตช์ 3. เสียงดงั ผิดปกตติ ่างๆ 4. คันบังคบั ตา่ งๆ ของเครอ่ื งยนต์ 5. ตรวจสอบการทำงานของเคร่ืองวดั ตา่ งๆ ดังน้ี. ( ติดเครอื่ งยนต์ ) - เคร่อื งวดั ความดันน้ำมันเครอื่ งยนต์ - เครื่องวดั ไฟฟ้า - เครอ่ื งวดั รอบและบนั ทึกชว่ั โมงการทำงาน - เครอ่ื งวดั ปริมาณน้ำมนั เชอ้ื เพลิง - เครื่องวัดความดันลม - เคร่อื งวัดอุณหภูมิ 6. เคร่อื งช่วยความปลอดภยั - เสยี งสญั ญาณเตือนความดันลมตำ่ - โคมไฟต่างๆ - กระจกมองหลัง - เครือ่ งปดั นำ้ ฝน - แตร ขณะใชง้ าน ขณะขบั รถ 1. การทำงานของแป้นห้ามลอ้ 2. การทำงานของแป้นคลตั ช์ 3. การทำงานของเคร่อื งวดั ตา่ งๆ - เครื่องวดั ความดนั น้ำมันเคร่ืองยนต์ - เครอื่ งวัดไฟฟา้ - เครอื่ งวดั รอบและบนั ทกึ ชว่ั โมงการทำงาน - เครอื่ งวัดปริมาณน้ำมนั เชื้อเพลิง - เครอ่ื งวัดความดันลม - เคร่อื งวดั อณุ หภมู ิ - เครื่องวัดความเร็วและบนั ทกึ ระยะทาง 4. เสียงผิดปกตติ ่างๆ 5. การบงั คบั เล้ยี ว 6. การทำงานของเครอื่ งยนต์

ห น้ า | 22 ขณะหยดุ 1. การรวั่ ไหลทั่วไป 2. ยางและล้อ 3. ความหลวมคลอนของแปน้ เกลียวและสลกั เกลยี วตา่ งๆ 4. เติมนำ้ ,นำ้ มันเครือ่ งและนำ้ มนั เชื้อเพลิง หลังใชง้ าน ในหอ้ งพลขบั 1. ติดเคร่อื งยนต์ - เสียงสญั ญาณเตือนความดันลมตำ่ - โคมไฟตา่ งๆ - กระจกมองหลัง - เครือ่ งปดั น้ำฝน - แตร 2. ในหอ้ งเคร่อื งยนต์ - การร่ัวไหลทว่ั ไป - การยึดแน่นและความเรียบรอ้ ยขององค์ประกอบต่างๆ ด้านซ้าย 1. ถ่ายลมในถังเก็บลม 2. ฝาปดิ ถงั และตะแกรงกรองน้ำมันเชอ้ื เพลิง 3. ความชำรดุ เสียหายทัว่ ไป 4. ยางและลอ้ 5. แหนบ,เครอื่ งผ่อนแรงสะเทอื นและคานรบั แรงบิด 6. เพลาขับและข้อต่ออ่อน 7. การร่วั ไหลทวั่ ไป 8. เครอื่ งบงั คบั เล้ียว 9. ความหลวมคลอนของสลกั เลียวและแป้นเกลยี วต่างๆ ดา้ นขวา 1. ความชำรดุ เสยี หายทว่ั ไป 2. ยางและล้อ 3. แหนบ,เครอื่ งผอ่ นแรงสะเทือนและคานรบั แรงบิด 4. การรั่วไหลทว่ั ไป 5. ความหลวมคลอนของสลักเกลียวและแป้นเกลียวต่างๆ ด้านหลัง 1. ความชำรดุ เสยี หายทั่วไป 2. หวั ตอ่ ทอ่ ลม 3. การรัว่ ไหลทวั่ ไป 4. ความหลวมคลอนของสลกั เกลยี วและแป้นเกลียวตา่ งๆ

ห น้ า | 23 ด้านหนา้ 1. ความชำรดุ เสยี หายท่วั ไป 2. การรัว่ ไหลทว่ั ไป 3. ชดุ ข้อตอ่ ก้านโยงเคร่ืองบังคับเลีย้ ว 4. ข้อต่อออ่ นสะบา้ เลีย้ ว 5. บันทึกและรายงานสภาพของรถ หมายเหตุ การเตมิ นำ้ มันเช้อื เพลงิ นัน้ ไม่ควรจะเตมิ ใหเ้ ต็มปร่ี ต้องเติมให้มรี ะดับต่ำกวา่ ขอบบนของ ของถงั ลงมา 2 นว้ิ ------------------------------- หลกั ฐานอ้างองิ - TM 9-2320-211-10,APR.1976 - PS. ISSUE 208 PG.2-15 - PS. ISSUE 248 JUJY.1973 PG.2-15 - PS. ISSUE 252 NOV.1973 PG.2-15 การลุยขา้ มนำ้ ก. การลยุ ข้ามแบบธรรมดา ตามจุดสำคัญๆ หรืออุปกรณท์ ่ีสำคัญของรถไดร้ บั การออกแบบใหก้ นั นำ้ ได้ ถงึ ความลึกของนำ้ 30 นว้ิ ขอ้ ควรระวัง ใสจ่ กุ เกลียวชอ่ งระบายอากาศของเรอื นลอ้ ตนุ กำลงั กอ่ นทีจ่ ะลยุ ข้ามพน้ื ท่เี ป็น โคลนตมมากๆ หมายเหตุ จกุ เกลียวนี้ ติดอยู่กับเรือนล้อตุนกำลัง ข. ข้อควรระวังในการลยุ ขา้ ม 1. จงมั่นใจว่าเครื่องยนต์ทำงานอยา่ งเรียบร้อย และมีประสทิ ธภิ าพเสียก่อนท่ีจะลยุ ขา้ ม และ อยา่ หย่อนสายพานพดั ลมใหห้ ลวม 2. เคล่ือนรถลงน้ำอยา่ งชา้ ๆ (3 - 4 ไมล/์ ชม.) ดว้ ยเกยี ร์ต่ำสุด และเรง่ เครือ่ งยนตเ์ พือ่ ป้องกนั ไม่ให้เคร่ืองยนต์สะดุด ถา้ เครอ่ื งยนตด์ ับให้ตดิ เคร่ืองยนตต์ ามวธิ ีปกติ 3. อยา่ เหยียบคลตั ชโ์ ดยไมจ่ ำเป็น 4. อย่าวางใจในหา้ มล้อ เมื่อขึ้นจากน้ำแลว้ ให้เหยยี บห้ามล้อหลายๆ คร้ัง เพอื่ ช่วยให้ ผ้าห้ามลอ้ แห้งเรว็ ขึน้ ค. การปฏบิ ัตหิ ลังการลยุ ข้ามนำ้ 1. ติดเครือ่ งยนตไ์ วห้ ลงั จากขนึ้ จากนำ้ แล้ว เพอ่ื ใหน้ ้ำทีอ่ าจรั่วไหลเขา้ ไปในอา่ งนำ้ มนั เครือ่ ง ไดร้ ะบายออกไปจากหอ้ งข้อเหว่ียงของระบบระบายความดนั ปกติ 2. ถอดจกุ เกลียวอดุ หอ้ งเรอื นล้อตุนกำลงั ออก แลว้ ใส่เขา้ ทเ่ี ดิมเพ่อื ปอ้ งกันมใิ หค้ ลตั ช์ล่นื เน่อื งจากน้ำมันหลอ่ ล่ืนซง่ึ อาจรวั่ ซมึ เข้ามาตกคา้ งอย่ใู นห้องคลัตช์ 3. เคร่อื งอุปกรณ์ตา่ งๆ ถกู ป้องกันมิใหน้ ำ้ เข้าได้ในกรณไี ด้รับความเยน็ โดยกระทนั หันจะทำให้ เกิดฝ้าไอนำ้ กลัน่ ตวั ข้ึนภายในอปุ กรณ์ต่างๆ ได้ กลอ่ งเครอ่ื งอปุ กรณ์ตา่ งๆ สามารถท่ีจะเปิดออกแล้ว ลมอุ่นๆ เปา่ เพ่อื ใหแ้ ห้งได้ -------------------------------

ห น้ า | 24 แผนกวชิ ายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรยี นทหารม้า ศูนยก์ ารทหารมา้ ค่ายอดศิ ร สระบุริ ---------- เอกสารเพ่มิ เตมิ วิชา การใชง้ านอุปกรณก์ ้ซู ่อมประจำรถกู้ 5 ตนั M543 และ M543A2 การทำความคนุ้ เคยกับคนั บงั คบั กว้านหลงั และคนั บังคบั ปน้ั จ่ันด้านหลงั รถ คันบงั คบั ต่างๆ ของกวา้ นหลงั DISENGAGE ปลด ก. คนั คลัตชล์ ม ตำแหน่งใช้งาน – UP ยกข้ึน – DOWN กดลง CLUTCH CONTROL VALVE ENGAGE เขา้ ข. คนั บงั คบั กวา้ นหลงั ตำแหนง่ ใช้งาน - WIND มว้ นเขา้ WINCH SHIFT LEVER - NEUTRAL วา่ ง - UNWIND คลายออก กว้านหลงั (REAR WINCH) จดั เปน็ อปุ กรณ์ในการกู้ซ่อมทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพมาก และใชง้ านในการก้ซู อ่ มในสนาม มากทีส่ ุด ขดี ความสามารถ ฉุดลากนำ้ หนกั ได้สูงสุด 45,000 ปอนด์ ทล่ี อ้ กว้านช้นั ล่างสุด (ชน้ั แรก) ลวดกว้านยาว 280 ฟุต โต 3/4 นว้ิ ดึงทางดิ่งได้ 60 องศา ดึงทางข้าง ซ้าย-ขวา ได้ 90 องศา วัตถุประสงคข์ องกวา้ นหลัง กตู้ ัวเอง กู้ผอู้ นื่ ใชเ้ ปน็ สมอบก องค์ประกอบของกว้านหลัง (COMPONENTS) ลอ้ กว้านหลัง WINCH DRUM รอกปรับความตงึ ของลวดกว้านทำงานดว้ ยลม CABLE TENSIONNER รอกจัดระดบั ลวดกว้าน CABLE ALINGNER ลูกกล้ิงกนั สายลวดกว้าน 4 ตวั ทางระดับ และทางดิง่ ROLLERS ปุ่มยดึ รอกจัดระดับลวดกวา้ น CABLE ALINGNER LOCK KNOB ห้ามลอ้ นริ ภัย (AUTOMATIC BRAKE) สลักนิรภยั (SHEAR PIN) สวิตชบ์ ังคับรอกปรับความตงึ ของลวดกว้าน

ห น้ า | 25 การใชง้ านกวา้ นหลัง ( REAR WINCH OPERATION ) การใชง้ านแบง่ ออกเป็น 2 ขน้ั ตอน ดงั นี้ - การปฏบิ ตั ภิ ายในห้องพลขับ - การปฏิบตั ทิ ีต่ วั กว้านหลงั 1. การปฏิบตั ภิ ายในหอ้ งพลขบั 1.1 ตดิ เครื่องยนต์ 1.2 เข้าคนั บงั คบั หบี เฟอื งช่วยในตำแหนง่ \" ว่าง \" 1.3 เขา้ คันเกยี ร์เคร่ืองเปลี่ยนความเร็วในตำแหน่ง \" สาม, ส่ี หรอื หา้ \" 1.4 เข้าคนั บังคับ เครื่องแบง่ กำลัง (POWER DIVIDER) ในตำแหน่ง ENGAGE โดย ปลดล๊อค และผลักมาทางด้านในสุด 1.5 ใชป้ ุ่มล๊อคห้ามลอ้ ไฟฟ้า หมายเหตุ - ความเรว็ ของเครื่องยนต์ไม่ควรเกนิ 1,000 RPM. ต้ังโดยใช้คนั เร่งมอื - รอใหล้ มในระบบมีความดันอยา่ งนอ้ ย 65 PSI. 2. การปฏิบตั ทิ ต่ี ัวกวา้ นหลงั 2.1 ปลดปุ่มยึดรอกจัดระดับลวดกว้านโดยยดึ ออกมาแล้วหมุนไป 90 องศา 2.2 ปลดสายโซ่ และขอเกี่ยวออกจากทเ่ี ก็บ 2.3 ยกคนั คลตั ช์ลมขน้ึ ในตำแหน่ง 2.4 ปลดสลกั ยดึ คันบังคบั กว้านหลัง การคลายสายลวดกวา้ น ( CABLE UNWINDING ) ลวดกว้านหลังจะคลายออกเพอ่ื ใชง้ านได้ด้วยกำลงั จากเครือ่ งยนต์เทา่ น้นั 1. ผลักสวติ ชป์ รบั ความตงึ ลวดกวา้ นไปยงั ตำแหนง่ \" OFF \" 2. ดันคนั บังคับกว้านหลงั ไปยงั ตำแหน่ง UNWIND (ดงึ มาทางดา้ นหลัง) 3. กดคนั คลัตช์ลมลงในตำแหนง่ ENGAGE ข้อควรจำ ในการคลายลวดกว้านจะต้องดึงใหล้ วดกว้านตงึ ตลอดเวลาเพ่อื ป้องกนั ไมใ่ ห้ สายลวดกว้านย่งุ 4. ปลอ่ ยสายลวดกว้านออกจนได้ความยาวตามต้องการ การหยดุ กวา้ น 1. ยกคันคลตั ชล์ มขึ้น (จะทำให้ลอ้ กวา้ นหยดุ หมุน) 2. ผลกั คันบังคบั กวา้ นไปยังตำแหน่งว่าง “ NEUTRAL ” การมว้ นลวดกวา้ น ( CABLE WINDING ) 1. ผลกั สวติ ชป์ รบั ความตึงลวดกว้านไปยงั ตำแหน่ง \" ON \" 2. ดนั คันบังคับกว้านหลงั ไปยังตำแหน่ง WIND \" มว้ นเขา้ \" 3. กดคันคลตั ช์ลมลงในตำแหน่ง ENGAGE หมายเหตุ ความเร็วในการม้วนเข้า หรอื คลายออกขนึ้ อยกู่ บั ตำแหนง่ เกยี ร์เครอ่ื งเปลี่ยน ความเร็ว และรอบการหมุนของเครื่องยนต์ ทา่ นควรพิจารณาให้เหมาะสมกับ การใชง้ าน กว้านหลังจะดงึ นำ้ หนกั ได้มากทีส่ ดุ ในเมือ่ น้ำหนักท่ีดงึ อยใู่ นแนว เดยี วกบั ตวั กวา้ นหลัง ---------------------------

ห น้ า | 26 ปนั้ จ่ันและการใชง้ าน ( CRANE OPERATION ) ปั้นจ่นั มวี ตั ถุประสงค์ในการใชง้ านกซู้ อ่ ม และยกยา้ ยสิง่ ของในระยะทางใกลๆ้ สามารถ ปฏิบัติงานได้โดยพลประจำรถเพียงคนเดยี ว คณุ ลักษณะและขดี ความสามารถ 1. ยกนำ้ หนกั ไดส้ ูงสดุ 20,000 ปอนด์ โดยติดตงั้ อุปกรณ์พรอ้ ม 2. คานป้นั จั่นตวั นอกยาว 10 ฟุต คานตวั ในยาว 8 ฟุต 3. คานปน้ั จ่นั ยกได้สงู สดุ 45 องศา 4. คานป้ันจนั่ ส่ายด้านขา้ ง ซ้าย-ขวา ได้ 270 องศา 5. ลวดกวา้ นรอกยกของยาว 95 ฟุต 5 นว้ิ 6. ลวดกว้านโต 1/2 นว้ิ องคป์ ระกอบของปน้ั จัน่ ( COMPONENTS ) 1. คานปน้ั จ่ัน ( BOOM ) 2. รอกยกของ ( HOIST ) 3. แทน่ หมุนปน้ั จั่น ( SWING ) 4. ขาคำ้ คานป้ันจ่ัน ( BRACE ) 5. หอ้ งพลประจำปน้ั จน่ั ( CRANE OPERATOR COMPARTMENT ) 6. คนั บงั คบั ปม๊ั ไฮดรอลิกของปนั้ จ่ัน ( CRANE DRIVE ) - DISENGAGE ปลด - ENGAGE เขา้ 7. มอเตอร์ขับกวา้ นปนั้ จ่นั 8. มอเตอร์สา่ ยปน้ั จน่ั 9. กระบอกสูบไฮดรอลิกยกคานปัน้ จน่ั 10. กระบอกสูบไฮดรอลิกยืด-หด คานปน้ั จ่นั ตวั ใน 11. ถังเกบ็ นำ้ มนั ไฮดรอลิกของปน้ั จั่น ( ความจุ 70 แกลลอน ) 12. ตวั กรองนำ้ มนั ไฮดรอลกิ 13. ป๊มั ไฮดรอลิกของระบบปน้ั จั่น ลกั ษณะการทำงานของปน้ั จน่ั ( TYPE OF OPERATION ) ป้ันจ่ันมีลกั ษณะการทำงานอยู่ 4 แบบ คือ 1. ยกคานปน้ั จน่ั ขน้ึ -ลง BOOM ขน้ึ UP ลง DOWN 2. ยกและลดรอกยกของ HOIST ข้ึน UP ลง DOWN 3. ยดื และหดคานปั้นจั่นตัวใน CROWD หด RETRACT ยืด EXTEND 4. ส่ายแทน่ ปน้ั จนั่ ซา้ ย-ขวา SWING ขวา RIGHT ซ้าย LEFT

ห น้ า | 27 การเรยี กขานตำแหนง่ ของป้นั จั่น จะผิดแปลกไปจากการเรียกตำแหน่งตามปกตขิ องรถ คอื ให้พลประจำป้นั จ่นั อยู่ในหอ้ งบงั คับ ป้นั จัน่ โดยหนั หน้าเข้าหาคนั บังคบั - ดา้ นรอกยกของ HOIST คือ \" ดา้ นหน้า \" ของป้นั จั่น - ด้านถังเก็บน้ำมันไฮดรอลกิ คือ \" ด้านซ้าย \" ของป้นั จัน่ - ดา้ นหอ้ งบังคบั ปน้ั จ่ันคอื \" ด้านขวา \" - ด้านหลงั หอ้ งบงั คับปนั้ จน่ั คือ \" ดา้ นหลงั \" ลกั ษณะและการทำงานของคนั บงั คับปัน้ จนั่ ทั้ง 4 อนั คันบงั คับการทำงานของปนั้ จน่ั ทัง้ 4 อัน เป็นลน้ิ เปดิ -ปิดนำ้ มนั ไฮดรอลิกทำงาน 2 ทาง ตำแหนง่ ปกตติ รงกลางจะเปน็ ตำแหน่งว่าง คนั บงั คบั ท้งั 4 เปน็ แบบใชส้ ปรงิ บังคบั เม่ือผใู้ ชป้ ล่อยมือ จากคันบงั คับแล้ว คันบงั คับจะดีดตัวกลบั ไปยังตำแหน่งวา่ งตรงกลางได้เอง แผนผงั การทำงานของคันบงั คับปน้ั จัน่ BOOM HOIST CROWD SWING ลง DOWN ลง DOWN ยืด EXTEND ซา้ ย LEFT ขึน้ UP ขนึ้ UP หด RETRACT ขวา RIGHT ขอ้ ควรระวงั 1. คนั บงั คบั ทต่ี อ้ งใช้คูก่ นั เสมอคือ คันบงั คบั HOIST และ CROWD 2. ระวังอยา่ ใหร้ อกยกของตกถงึ พื้นดินเป็นอันขาด จะทำให้ลวดกวา้ นป้นั จ่ันคลายออกจากล้อ กว้านได้ การใช้งานปั้นจน่ั การใชง้ านแบ่งเปน็ 2 ขนั้ ตอน คอื - การปฏบิ ตั ใิ นห้องพลขับ - การปฏบิ ตั ทิ างด้านหลงั รถ 1. การปฏิบัติในหอ้ งพลขับ 1.1 ติดเครอ่ื งยนต์ 1.2 เข้าคนั บงั คบั หีบเฟืองชว่ ยในตำแหนง่ \" วา่ ง \" 1.3 เข้าคนั เกียร์เครือ่ งเปล่ียนความเร็วในตำแหนง่ เกียร์ 4 1.4 เขา้ คนั บงั คบั POWER DIVIDER ในตำแหนง่ ENGAGE (ปลดลอ๊ คและดนั มาด้านหนา้ สุด) 1.5 ใชป้ ุ่มยึดห้ามล้อไฟฟ้า หมายเหตุ - รอใหล้ มในระบบมีความดนั อย่างนอ้ ย 65 PSI.(หรือเสยี งสญั ญาณเตอื นหยดุ ดัง) - ความเร็วเครอื่ งยนตไ์ มเ่ กนิ 1,600  50 รอบ/นาที ตงั้ ไดโ้ ดยใชค้ นั เร่งมือ 2. การปฏบิ ตั ทิ างดา้ นหลงั 2.1 ปลดสลกั คนั บังคบั การทำงานของปั๊มไฮดรอลิกของปน้ั จ่นั 2.2 ยกคนั คลตั ช์ลมขึน้ ในตำแหนง่ DISENGAGE 2.3 ดันคนั บังคบั การทำงานของปมั๊ ไฮดรอลิกมาทางด้านหลงั ในตำแหนง่ ENGAGE 2.4 กดคนั คลัตช์ลมลงในตำแหน่ง ENGAGE หมายเหตุ ตอนนถี้ า้ ปฏบิ ตั ถิ กู ต้องจะไดย้ นิ เสยี งปั๊มไฮดรอลิกทำงาน 2.5 ปลดขาค้ำคานป้ันจัน่ และเก็บเข้าให้เรียบรอ้ ย

ห น้ า | 28 2.6 ปลดหว่ งยดึ รอกยกของลง 2.7 ใช้คนั บังคบั ตา่ งๆ ตามต้องการ ข้อควรจำ 1) เมอื่ จะยกของท่มี นี ้ำหนกั มากๆ จะตอ้ งเอาเทา้ ชา้ งลงยันพื้นไว้ เมอ่ื ป้องกันมิใหร้ ะบบ พยุงตัวรถชำรดุ เสียหาย 2) ตอ้ งระลกึ ไว้เสมอวา่ คานปั้นจ่นั มคี วามยาวเพ่ิมข้ึนเทา่ ไรกจ็ ะยกน้ำหนกั ได้น้อยลงยง่ิ ขน้ึ เทา่ นั้น 3) ถา้ เกิดการรว่ั ไหลขนึ้ ในระบบไฮดรอลิกควรจะตรวจนำ้ มนั ในถังบอ่ ยครงั้ ในขณะใช้งาน ท่าสัญญาณในการบงั คบั ปนั้ จน่ั ของผู้บังคบั ปั้นจ่นั CRANE GUIDE 1. พลประจำปนั้ จั่น ( CRANE OPERATOR ) 2. ผ้บู ังคับป้นั จน่ั ( CRANE GUIDE ) - นว้ิ หัวแมม่ ือ ใชบ้ ังคบั BOOM - นิ้วช้ี ใช้บังคับ HOIST - นวิ้ ชี้และนิว้ กลาง ใชบ้ ังคบั CROWD - ฝ่ามอื ข้างเดียว ใช้บังคับ SWING - การหยุด ใชก้ ำมอื หรือเอามอื ทงั้ สองขา้ งประสานกนั หมายเหตุ ท่ีตอ้ งมผี ้บู ังคับป้นั จั่นเนื่องมาจากบางครงั้ เราต้องปฏิบตั ใิ นพืน้ ทจ่ี ำกัดหรือคับแคบ หรอื บริเวณท่ีทำงานมเี สยี งดงั มาก จะใชเ้ สยี งส่งั งานไม่ไดเ้ ลย ซง่ึ เป็นสาเหตุ ให้เกิดอุบตั เิ หตไุ ดง้ ่าย ทา่ สัญญาณนี้ตอ้ งฝึกให้เขา้ ใจ และเชือ่ ฟังกันอยา่ งเครง่ ครัด เพราะเมอ่ื เกดิ ความเสยี หายข้นึ ผู้บังคบั ป้ันจ่ันจะเป็นผู้รับผดิ ชอบ การใชง้ านกวา้ นหนา้ ( FRONT WINCH OPERATION ) กว้านหน้ามีความประสงค์ในการใชง้ านเชน่ เดียวกันกบั กวา้ นหลงั คณุ ลกั ษณะและขดี ความสามารถ 1. ฉดุ ลากน้ำหนกั ได้สงู สดุ 20,000 ปอนด์ 2. ลวดกว้านยาว 280 ฟตุ 3. ลวดกว้านโต 5/8 นว้ิ อปุ กรณ์และคันบังคบั ตา่ งๆ ของกวา้ นหนา้ ( COMPONENT AND CONTROLS ) ทตี่ วั กวา้ นหนา้ 1. ล้อกวา้ นหน้า ( WINCH DRUM ) 2. รอกปรบั ความตงึ ลวดกว้าน ( CABLE TENSIONER ) 3. คนั บังคบั รอกปรบั ความตึงลวดกว้าน CABLE TENSIONER CONTROL LEVER 4. ปุ่มยดึ คันบังคับรอกปรับความตงึ ของลวดกว้าน LOCK KNOB 5. รอกจดั ระดบั ลวดกว้าน ( CABLE ALINGNER ) 6. ปมุ่ ยดึ รอกจดั ระดบั ลวดกวา้ น ( LOCK KNOB ) 7. คลัตช์ล้อกว้าน ( DRUM CLUTCH LEVER ) 8. บานพบั ยดึ คลัตชล์ ้อกว้าน ( CLUTCH LEVER LOCK ) 9. หา้ มลอ้ นิรภัย AUTOMATIC BRAKE

ห น้ า | 29 10. สลักนริ ภัย SHEAR PIN ในห้องพลขับ 11. คันบงั คบั กว้านหน้า ( POWER TAKE OFF CONTROL LEVER ) 12. บานพบั ยึดคนั บงั คับกว้านหนา้ ( LEVER LOCK ) การใช้งานกวา้ นหนา้ การนำลวดกวา้ นออก สายลวดกว้านหนา้ สามารถนำออกใชง้ านได้ 2 วิธีคือ - ด้วยกำลงั คน - ดว้ ยกำลังเคร่ืองยนต์ 1. การนำลวดกว้านออกดว้ ยกำลงั คน 1.1 ปลดปุ่มยดึ รอกจดั ระดับลวดกว้าน 1.2 ปลดปมุ่ ยดึ คันบังคบั รอกปรบั ความตงึ ของลวดกว้าน และใชค้ นั บงั คบั ให้รอกปรับความตึงถ่างออก ให้ท่สี ุด 1.3 ปลดบานพบั ยึดคันคลัตช์กว้านหน้า 1.4 ดนั คนั คลตั ช์กว้านหนา้ ไปยังตำแหน่ง OUT \" ปลด \" 1.5 ดึงลวดกว้านออกจนได้ความยาวตามตอ้ งการ 1.6 ดันคันคลตั ชก์ ว้านหน้าไปยังตำแหนง่ IN \" เขา้ \" การมว้ นลวดกว้าน 1. ติดเครอื่ งยนต์ 2. ปลดบานพบั ยดึ คันบังคับกวา้ นหนา้ ในหอ้ งพลขบั 3. เหยยี บคลตั ช์ 4. ดันคันบงั คับกวา้ นหน้าไปยังตำแหน่ง \"LOW\" หรอื \"HIGH\" ตามการใช้งาน การหยุดลวดกวา้ น 1. เหยียบคลัตช์ (ล้อกว้านจะหยดุ ทำงานทนั ท)ี 2. ดนั คนั บังคับกวา้ นหน้าไปยังตำแหน่งว่าง \"N\" หมายเหตุ การมว้ นกวา้ นเขา้ เกบ็ จะตอ้ งดึงปลายสายลวดกว้านให้ตึงไว้ตลอดเวลา เพ่อื ปอ้ งกันมใิ หล้ วดกวา้ นยุง่ 2. การคลายลวดกว้านดว้ ยกำลัง 2.1 เหยยี บคลัตช์ 2.2 ดันคนั บังคับกว้านหนา้ ไปยังตำแหน่ง REV \" คลายออก \" 2.3 ปลอ่ ยคลตั ช์จนใหล้ อ้ กวา้ นคลายออกจนไดส้ ายลวดกวา้ นยาวตามต้องการ หมายเหตุ ตอ้ งดงึ ปลายสายลวดกว้านให้ตึงตลอดเวลา เพอ่ื มใิ ห้สายลวดยงุ่ ข้อควรระวงั 1) การเข้าคนั บังคบั กวา้ นไปยงั ตำแหน่งตา่ งๆ ต้องเหยียบคลัตช์ทกุ ครง้ั 2) ความเร็วของสายลวดกว้านข้นึ อยู่กบั ความเรว็ ของเคร่ืองยนต์ ซง่ึ เราจะควบคุมไดโ้ ดย ใช้คนั เรง่ ให้เหมาะสมกับการใช้งาน การปรนนิบตั บิ ำรุงกว้านหนา้ , กวา้ นหลงั , และปนั้ จน่ั ใหท้ ำตาม LO 9-2320-211-12 จงใช้ ฉบับที่ทนั สมยั ที่สุด -----------------------------

ห น้ า | 30 การแก้ไขขอ้ ขดั ขอ้ งอุปกรณก์ ้ซู อ่ ม รถกู้ 5 ตัน M543 และ M543M2 ขอ้ ขัดข้อง สาเหตุท่ีอาจเป็นได้ การแก้ไข กวา้ นหน้า 1. ล้อกว้านไมห่ มุน ก. ไมไ่ ด้เข้าคนั บงั คับกวา้ นในตำแหน่ง ก. เข้าคันบงั คบั กว้านในตำแหนง่ ใช้งาน ใชง้ าน ข. สลกั นริ ภัยขาด ข. เปลย่ี นสลักนริ ภยั ค. คลตั ชก์ วา้ นชำรุด ค. รายงานช่างยานยนต์ ง. ปรบั กา้ นโยงคันบงั คับกวา้ นไม่ถูก ค. รายงานชา่ งยานยนต์ 2. กว้านหน้าหยดุ หา้ มล้อนริ ภัยขัดขอ้ ง รายงานช่างยานยนต์ ภารกรรมไมไ่ ด้ 3. ลอ้ กว้านหมนุ เรว็ เกนิ แผน่ ปรับความฝดื ของลอ้ กวา้ นขัดข้อง รายงานชา่ งยานยนต์ ควรเม่ือคลายลวดกว้าน ออก กว้านหลัง 1. ล้อกวา้ นไมห่ มุน ก. สลกั นริ ภยั ขาด ก. เปลีย่ นสลักนภิ ัย ข. ระบบกวา้ นขดั ข้อง ข. รายงานช่างยานยนต์ 2. กวา้ นหลังหยุด - หา้ มล้อนริ ภยั ขดั ข้อง - รายงานช่างยานยนต์ ภารกรรมไม่ได้ 3. มีเสยี งดงั มากในขณะ - ให้การหลอ่ ลืน่ ไม่เพยี งพอ - ใหก้ ารหล่อล่ืนตามคำสง่ั การ ทำงาน หล่อลน่ื ถ้าปรากฏเสยี งดงั อยูใ่ ห้รายงาน ช่างยานยนต์ ป้ันจ่นั ป้ันจ่นั ไมม่ กี ำลงั ก. ระดบั น้ำมนั ในถังเกบ็ น้ำมันไฮดรอลิกตำ่ ก. เตมิ น้ำมนั ตามทีก่ ำหนดไว้ใน มาก คำสง่ั การหลอ่ ลื่น ข. เปิดล้นิ จา่ ยนำ้ มันไม่สดุ ข. เปดิ ล้นิ ทอ่ น้ำมันใหส้ ุด หมายเหตุ ต้องแน่ใจว่าได้เข้าเกียร์ในตำแหน่งเกียร์ 4 เพ่อื ให้ปมั๊ หมนุ ด้วยความเร็วทีถ่ ูกตอ้ ง ค. ตัง้ เครื่องควบคมุ ความเรว็ ไม่ถกู ค. รายงานช่างยานยนต์ ง. ล้ินระบายความดันชำรุด ง. รายงานช่างยานยนต์

ห น้ า | 31 การแกไ้ ขข้อขดั ข้องอุปกรณก์ ู้ซอ่ ม รถกู้ 5 ตัน M543 และ M543M2 ( ต่อ ) ขอ้ ขัดข้อง สาเหตทุ ่ีอาจเปน็ ได้ การแก้ไข 2. การยกของปนั้ จ่ันไม่ ก. ระดับน้ำมันในถงั นำ้ มนั ไฮดรอลกิ ก. ทำการแกไ้ ขตามข้อ 1 ก. นม่ิ นวล ตำ่ มาก ข. ลน้ิ ระบายความดันชำรดุ ข. รายงานชา่ งยานยนต์ 3. มอเตอรส์ ่ายป้นั จัน่ - ลิ้นควบคมุ ทีค่ นั บงั คับชำรุด - รายงานช่างยานยนต์ หมุนไมน่ ม่ิ นวล 4. เครอ่ื งยนต์เดินไม่คงท่ี ก. ระบบใดระบบหน่ึงชำรุด ก. รายงานช่างยานยนต์ ในขณะทป่ี ั้นจน่ั ทำงาน ข. ลิ้นความคุมความเร็วชำรดุ ข. รายงานชา่ งยานยนต์ 5. ป๊ัมไฮดรอลกิ มเี สียง ก. ระดบั น้ำมันในถงั น้ำมันไฮดรอลิก ก. ทำการแก้ไขตามข้อ 1 ก. ดงั มาก ข. ปัม๊ ไฮดรอลกิ ชำรดุ ข. รายงานช่างยานยนต์ 6. คนั บงั คับปน้ั จัน่ ไม่ - เรอื นล้ินควบคุมปั้นจ่ันชำรดุ - รายงานช่างยานยนต์ กลับคนื สู่ ตำแหนง่ วา่ ง เมอ่ื ปล่อยมอื จากคัน บังคบั ความรับผิดชอบในการซอ่ มบำรุงขนั้ ที่ 1 และการปรนนบิ ัตบิ ำรงุ ของพลขับ จดุ ประสงค์สำคญั ทพ่ี ลประจำรถจะตอ้ งมคี วามรู้ในการปรนนบิ ัติบำรงุ และบริการตอ่ ยานพาหนะ เพ่ือ ปอ้ งกันสภาพซึง่ อาจทำใหย้ ทุ โธปกรณช์ ำรดุ เพื่อคน้ หาอปุ กรณ์ท่บี กพรอ่ งและทำการแกไ้ ขข้อบกพรอ่ งนั้น หรือ แจง้ ใหเ้ จ้าหน้าที่ซอ่ มบำรงุ ดำเนินการแกไ้ ข กอ่ นทีจ่ ะชำรดุ เสยี หายอย่างใหญ่โต หรอื เสยี เวลามากที่จะทำการ ซ่อมแก้ พลประจำรถสว่ นมากมักจะทราบถึงสาเหตุผดิ ปกติของยทุ โธปกรณ์ ดังน้นั การตรวจสอบตาม ระยะเวลา โดยพลประจำรถจะเปน็ การหลีกเลีย่ งสถานภาพหลายๆ อยา่ ง ซง่ึ สามารถทำใหเ้ กิดการชำรดุ บกพรอ่ งได้ เชน่ การเกบ็ รักษาไม่ถูกต้อง, ขาดการหลอ่ ลืน่ และการหลวมคลอน ความมุ่งหมาย ก. เพอ่ื ให้พลประจำรถทราบถึง 1. ความรบั ผดิ ชอบในการซอ่ มบำรุงขนั้ ท่ี 1 2. วธิ ีการซอ่ มบำรุงขนั้ ท่ี 1 3. ระยะเวลา ข. ให้พลประจำรถคุ้นเคยกับการ ปบ.ประจำวนั 1. การ ปบ.กอ่ นใช้งาน 2. การ ปบ.ระหวา่ งการใชง้ าน 3. การ ปบ.หลังใชง้ าน ความรับผดิ ชอบในการซ่อมบำรุงข้นั ที่ 1 พลขบั และพลประจำรถเปน็ บุคคลผู้รับผิดชอบยานพาหนะตามที่ได้รบั มอบหมายไว้ โดยมผี บ.หมู่ ผบ.ตอน, และ ผบ.หมวด ทำหนา้ ทก่ี ำกบั ดแู ลความรบั ผดิ ชอบตอ่ รถ ซ่ึงอยู่ภายใตก้ ารบงั คบั บญั ชา ท้ังน้ี ผบ.หน่วย ยอ่ มมีความต้องการและมหี ลกั ประกนั ว่ารถทจี่ ่ายให้ หรือกำหนดให้อยูใ่ นรบั ผิดชอบของหนว่ ยนนั้ ได้รับการบำรงุ รักษาให้อย่ใู นสภาพใชร้ าชการได้ พลประจำรถใชร้ ถ และระวงั รักษาอยา่ ง ถูกต้อง

ห น้ า | 32 การซอ่ มบำรงุ ขั้นท่ี 1 เปน็ การซ่อมบำรงุ ที่กระทำโดย พลขับ, พลประจำรถ หรือผใู้ ช้ยุทโธปกรณ์ รวมทัง้ การ ระมดั ระวังรักษา การใชง้ าน การทำความสะอาด และการหลอ่ ลื่น หลักฐานท่ีใชใ้ นการ ปบ.ขัน้ ท่ี 1 คือ คท.9-2320-211-10 ระยะเวลา จำนวนระยะทางซึง่ ใช้รถมาแล้ว และระยะเวลาน้นั เป็นเกณฑ์ และเปน็ หลกั สำหรับแบง่ ช่องความถี่ ใน การใหก้ ารปรนนบิ ตั ิบำรงุ และบรกิ ารตอ่ ยานพาหนะ การใช้งานในสภาพยากลำบากต่างๆ เช่น อณุ หภูมิสูงจดั , หนาวจัด, ฝุ่นหรือหลม่ โคลนน้ัน อาจตอ้ งใหก้ ารปรนนิบัตบิ ำรงุ ถ่ขี ึน้ ให้ลดหว้ งเวลาระหว่างการบรกิ าร เมื่อ สถานการณแ์ ละส่ิงแวดลอ้ มบง่ ให้กระทำ อยา่ ยืดยา่ นเวลาการปรนนบิ ัตบิ ำรงุ และบรกิ ารออกไป และให้ ปฏบิ ัตติ ามตารางการ ปบ.ใน สพ.110 และ ตารางตรวจ การ ปรนนิบัติบำรงุ และการบริการ ( PMCS ) ใน คท.9-2320-211-10 เพอ่ื เป็นหลักประกันว่าชิ้นสว่ นสำคัญๆ ของยุทโธปกรณ์ไดท้ ำการตรวจตามลำดับ การตรวจ การปรนนิบตั บิ ำรุง และบริการประจำวนั ( PMCS ) การบรกิ ารก่อนใช้งานกระทำเพอื่ 1. ใหร้ ถอยู่ในสภาพพร้อมจะใชง้ าน 2. เปน็ การตรวจสอบเพื่อดูสภาพการณ์ตา่ งๆ ซง่ึ จะส่งผลกระทบกระเทอื นต่อความ พรอ้ มรบของรถวา่ ไดม้ กี ารเปลีย่ นแปลงหลงั จากการใชง้ านหลงั สดุ หรือไม่ การบรกิ ารระหวา่ งใชง้ าน การบริการน้ปี ระกอบดว้ ยการค้นหาการทำงาน ซง่ึ ให้ผลไมพ่ ึงพอใจในการขบั รถ พลขบั หรอื พลประจำรถ ควรจะต่ืนตวั ต่อเสยี ง หรือกลิ่นที่ผดิ ปกติ คา่ ผิดปกติท่อี ่านได้ จากการทำงานของ เครอ่ื งวดั การบงั คับเลย้ี วที่ไมเ่ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ หรอื ส่งิ ชส้ี อบอ่นื เกย่ี วกับการไม่ทำงานตาม หนา้ ทีข่ องระบบตา่ งๆ การใชง้ านทุกครงั้ พลขับควรจะพจิ ารณาและสังเกตการทำงาน ซึง่ เปน็ ไปอย่างผดิ ปกติ หรือใหผ้ ลไมเ่ ป็นท่พี อใจ ขอ้ บกพรอ่ งทงั้ หลายทคี่ น้ พบจะต้องได้พิจารณาหาสาเหตุ และทำการ แก้ไข หรอื รายงานให้เจ้าหนา้ ท่ีซอ่ มบำรุงทราบ การบริการระหว่างการใชง้ านกระทำเพือ่ 1. ค้นหาการทำงานที่ผิดปกติ 2. พลประจำรถตื่นตวั ตอ่ เสยี ง, กลน่ิ ทีผ่ ดิ ปกติ 3. คา่ ผิดปกติที่อ่านได้จากเครื่องวัด,การบงั คบั เล้ียวผิดปกติ และส่ิงช้ีสอบต่าง ๆ การบริการหลงั ใช้งาน เพือ่ เตรยี มรถให้พรอ้ มท่ีจะใชง้ านอีกเมื่อได้รับคำส่ัง การบรกิ ารน้เี ป็นการบริการขน้ั มลู ฐานสำหรับ รถทม่ี คี วามสำคญั เป็นพิเศษ เพราะในโอกาสนพ้ี ลขับหรอื พลประจำรถจะต้องทำการตรวจรถโดยถี่ถว้ น เพอ่ื คน้ หาขอ้ บกพรอ่ งตา่ ง ๆ อนั เกิดจากการใช้ยานพาหนะ การบริการหลังใชง้ าน กระทำเพ่อื 1. ตรวจข้อบกพรอ่ งทง้ั มวล ซง่ึ เกดิ ขึ้นระหวา่ งการใช้งานยานพาหนะ 2. ตรวจองคป์ ระกอบ ซ่งึ ต้องทำการตรวจและบริการ ณ อุณหภูมใิ ชง้ านโดยเร็วทส่ี ดุ 3. แกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งหรือแจ้งใหเ้ จ้าหนา้ ท่ีซอ่ มบำรงุ แก้ไข เม่ือเกนิ ขีดความสามารถของตน พลขบั หรือพลประจำรถ ตอ้ งช่วยกันรกั ษายทุ โธปกรณใ์ ห้อยใู่ นสภาพพรอ้ มใช้งานโดยมีการกระทำท่ี เปน็ จติ สำนกึ คอื ตอ้ งทำการบริการหลังใช้งาน และพลขบั หรือพลประจำรถจะตอ้ งช่วยเหลอื หรอื เปน็ ลกู มอื ใหก้ บั เจ้าหนา้ ทซี่ อ่ มบำรุงขนั้ ท่ี 2 ดว้ ย *************

ห น้ า | 33 แผนกวิชายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรยี นทหารม้า ศนู ยก์ ารทหารมา้ ค่ายอดศิ ร สระบุรี ---------- เอกสารเพมิ่ เตมิ วชิ า เคร่ืองมอื เคร่ืองใช้ประจำรถกู้ 5 ตัน M543 และ M543M2 และการเก็บรกั ษา ช่องเก็บของหมายเลข 1 บันใดข้ึนลงทางดา้ นซ้าย 1. ด้ามกญุ แจขนั นอ๊ ตลอ้ โต 3/4 นวิ้ ยาว 30 นวิ้ 2. กุญแจขันน๊อตลอ้ ขนาด 13/16 และ 1 1/2 นวิ้ 3. รอกขนาด 10 ตนั 4. แมแ่ รงไฮดรอลิกขนาด 8 ตนั พร้อมดา้ มแมแ่ รง 5. โซใ่ ช้งานท่วั ไปขนาด 5/8 นิว้ ยาว 16 ฟุต 6. ท่อออ่ นเตมิ น้ำมนั เชอ้ื เพลิง ชอ่ งเกบ็ ของหมายเลข 2 ใต้ทน่ี งั่ พลขับ 1. ตะเกียงไฟฟ้าขนาด 6 โวลท์ 2. แบตเตอรีข่ นาด 6 โวลท์ 3. สายไฟส่องสวา่ งสำหรับตรวจ/ใชง้ านทว่ั ไป ยาว 25 ฟุต 4. หลอดไฟ 5. สายตอ่ ยาว 20 ฟุต 6. สายไฟ ยาว 25 ฟุต 7. หวั สูบลมยาง และมาตรวดั พร้อมดว้ ยสายยาง ยาว 30 ฟุต 8. โครงเลอ่ื ยตดั เหลก็ 9. ใบเล่อื ยตัดเหลก็ ยาว 12 นิ้ว จำนวน 12 อัน 10. กระบอกอัดไขขน้ 11. หัวต่ออ่อนอัดไขข้น ยาว 12 นว้ิ 12. หวั ตอ่ อัดไขขน้ ยาว 12 นว้ิ 13. กล่องพลแุ ละเครอื่ งสญั ญาณพรอ้ มด้วยธงสัญญาณ, กระจกสะท้อนแสง 14. ถงุ ผา้ ใบขนาด 10 x 20 นวิ้ ในถุงผา้ ใบ ประกอบด้วย 14.1 หว่ งโซข่ นาด 5/8 นว้ิ สำหรบั ซอ่ มโซก่ วา้ นหน้า 2 ห่วง 14.2 สลกั นริ ภัยกวา้ นด้านหนา้ โต 3/8 นิว้ ยาว 2 5/8 นิ้ว ทำด้วยอะลูมเิ นียม 14.3 สลกั หวั ผ่า (สำหรบั ใสห่ ัวสลกั นริ ภยั ) 6 อนั 14.4 ห่วงโซ่ สำหรบั ซอ่ มโซข่ ับกวา้ นหลงั 2 ตัว 14.5 สลกั นริ ภัยกว้านหลังโต 5/8 น้ิว ยาว 3 1/2 นว้ิ 14.6 สลักหวั ผา่ สำหรบั ใสห่ วั สลกั นริ ภัย 3 ตวั 14.7 คมี ปากเลอื่ นได้ ยาว 10 นว้ิ 14.8 ไขควงหวั จบี เบอร์ 2 ยาว 7 1/2 นว้ิ 14.9 ไขควงปากแบน ยาว 7 3/4 นว้ิ 14.10 ไขควงปากแบน ยาว 9 1/2 นว้ิ 14.11 กญุ แจเลอื่ น ยาว 12 นว้ิ

ห น้ า | 34 14.12 กญุ แจสเ่ี หล่ยี มโต 1/2 นว้ิ ยาว 2 1/2 นว้ิ ช่องเก็บของหมายเลข 3 A 1. รอกเดย่ี วเชือกเส้นใย 2. รอกคู่เชอื กเส้นใย 3. เชือกมนิลาโต 3/8 นิ้ว ยาว 50 ฟุต 4. เชอื กมนิลาโต 1 นิ้ว ยาว 300 ฟตุ 5. เชือกมนิลาโต 3/4 น้ิว ยาว 100 ฟุต 6. ชะแลง ยาว 36 นว้ิ 7. ชะแลงหัวงอ ยาว 6 นว้ิ 8. ซองเกบ็ เล่อื ยตัดไม้ 9. เลอ่ื ยตัดไม้ ยาว 5 ฟุต 10. คมี ตัดเหล็ก ยาว 35 หรอื 39 นว้ิ 11. กญุ แจปากตาย 1 5/8 นว้ิ 12. กญุ แจปากตาย 1 11/16 น้ิว 13. กญุ แจปากตาย 1 13/16 นิ้ว ช่องเกบ็ ของหมายเลข 3 B 1. ค้อน ขนาด 20 ปอนด์ พรอ้ มด้าม ยาว 35.3 นว้ิ 2. สายยางโต 1 3/16 นิว้ ยาว 60 นิว้ (สำหรับถ่ายน้ำมนั ไฮดรอลกิ ) 3. สายยางสีเขียวสำหรับตอ่ ท่ออ๊อกซิเจน ยาว 25 ฟตุ 4. สายยางสีแดงสำหรับตอ่ ทอ่ อาเซททลิ ีน ยาว 25 ฟุต 5. แมแ่ รงไฮดรอลิก ขนาด 30 ตนั พร้อมดว้ ยด้ามแมแ่ รง 6. เครอื่ งบังคบั แรงดัน อาเซททลี ีน 7. เครอ่ื งบังคับแรงดัน ออ๊ กซิเจน 8. ชุดเครอื่ งเช่อื มประกอบดว้ ย 8.1 หีบเคร่ืองมือพร้อมด้วยถาด 8.2 แปรงเหลก็ 8.3 สกัดเหลก็ โต 1/2 นว้ิ ยาว 5 3/4 นว้ิ 8.4 สกัดเหลก็ โต 3/4 นว้ิ ยาว 6 1/2 นว้ิ 8.5 ชดุ ลวดแยงหัวเช่ือม 8.6 ตะไบแบนละเอียด ยาว 12 นว้ิ 8.7 ตะไบแบนหยาบ ยาว 12 นว้ิ 8.8 ตะไบกลม ยาว 12 นว้ิ 8.9 หินเหลก็ ไฟ สำหรบั จดุ หัวเชื่อม 1 กลอ่ ง (6 อนั ) 8.10 ถุงมอื หนังชา่ งเชอื่ ม 1 คู่ 8.11 แวน่ ตาช่างเช่ือม 1 คู่ 8.12 แว่นตากนั สะเกด็ 1 คู่ 8.13 ค้อนหัวกลม ขนาด 2 ปอนด์ 8.14 คอ้ นช่างเชอ่ื ม ขนาด 14 ออนซ์ 8.15 ด้ามตะใบโต 1 1/2 น้ิว ยาว 5 1/2 นว้ิ 8.16 เครอื่ งจดุ หัวเช่ือม

ห น้ า | 35 8.17 คีมปากเลื่อนได้ 8.18 เหล็กต้ังศูนย์ ยาว 4 นว้ิ 8.19 เหลก็ ส่ง ยาว 10 นว้ิ 8.20 บรรทัดพบั ได้ ยาว 3 ฟุต ทำด้วยเหลก็ หรอื ไม้ 8.21 ไขควงปากแบน ยาว 14 1/2 นว้ิ 8.22 เหลก็ จาร 8.23 เหลก็ ฉาก 8.24 กญุ แจแหวน ขนาด 3/8 - 7/16 นว้ิ 8.25 กญุ แจแหวน ขนาด 1/2 - 9/16 นว้ิ 8.26 กญุ แจแหวน ขนาด 5/8 - 3/4 นว้ิ 8.27 กญุ แจเล่อื น ขนาด 12 นว้ิ 8.28 กญุ แจปากตาย ขนาด 3/8 - 7/16 นวิ้ 8.29 กญุ แจปากตาย ขนาด 1/2 - 9/16 นวิ้ 8.30 กญุ แจปากตาย ขนาด 5/8 - 11/16 นิ้ว 8.31 คีมล๊อค ยาว 8 นว้ิ 8.32 ชดุ หวั เชื่อมและหัวตัด ชอ่ งเก็บหมายเลข 4 1. เหลก็ ยกเคร่อื งยนต์ 2. เหล็กลากจูง 3. ชะแลงเหล็ก 4. ขาค้ำยนั 2 อัน ช่องเก็บหมายเลข 5 1. รอกเดย่ี วเชอื กลวด 2 ตัว 2. รอกคูเ่ ชือกลวด 2 ตัว ช่องเก็บหมายเลข 7 1. สลกั ขาค้ำคานป้นั จั่นตัวใน 2 อนั 2. สลกั หวั ตอ่ ขาค้ำคานป้นั จ่ันตัวใน 2 อนั 3. สลกั ยดึ หัวขาค้ำคานปัน้ จ่นั ตวั ใน 1 อัน 4. โซ่ใสล่ อ้ 3 เสน้ 5. ขอลากจงู 2 อนั 6. เหล็กหมุนเท้าชา้ ง 7. กุญแจคอมา้ ยาว 12 นว้ิ 8. กญุ แจจบั ของกลม ยาว 18 นว้ิ 9. สกัดชา่ งเหลก็ มดี า้ ม 10. สกดั ไมม่ ดี ้าม ยาว 24 นว้ิ 11. เหล็กสง่ มดี า้ ม ขา้ งกวา้ นหลงั 1. ฐานรองขาคำ้ คานปัน้ จ่ัน ในช่องเกบ็ แผนที่

ห น้ า | 36 1. ไฟฉาย 2 ดวง 2. ถ่านไฟฉาย 4 กอ้ น 3. ถุงผา้ ใบใส่เอกสาร ประกอบด้วย 3.1 คำส่ังการหล่อลน่ื ประจำรถ 3.2 คู่มอื ทางเทคนคิ ประจำรถ 3.3 รายงานอปุ ทั วเหตุ 3.4 สมุดประวัติรถ 3.5 คู่มือทางเทคนคิ การตรวจสภาพความพรอ้ มรบ หลังถังเก็บนำ้ มันไฮดรอลกิ 1. ถังนำ้ มนั อะไหล่ ขนาด 5 แกลลอน พรอ้ มท่ียดึ หลงั ห้องบังคบั ปน้ั จน่ั 1. หม้อดบั เพลงิ ขนาด 2-3/4 ปอนด์ 3 หมอ้ ในหอ้ งบังคบั ป้นั จนั่ ดา้ นขวา 1. แผงเก็บเครอื่ งโยธาสนาม ประกอบดว้ ย 1.1 ขวาน 1.2 จอบพร้อมด้าม 1.3 พล่ัว ใต้ห้องบังคับป้ันจน่ั ท่พี น้ื รถ 1. ขาค้ำคานปน้ั จนั่ ตวั นอก 2 อนั 2.ขาคำ้ คานปัน้ จ่ันตัวใน 2 อนั บนกันชนด้านขวา 1. ปากกาจับสง่ิ ของ 1 ตวั บนบนั ใดขึ้นรถดา้ นซา้ ย 1. ถงั นำ้ ขนาด 5 แกลลอน พร้อมที่ยึด ชดุ กญุ แจสำหรับใสฝ่ าปดิ หอ้ งเก็บของ 1. หมายเลข 1, 3 A, 3 B, 6 และ 7 จำนวน 5 ดอก ***************

ห น้ า | 37 วชิ า การใช้และซ่อมบารุง รถสายพานก้ซู ่อม แซมซ่ัน แผนกวชิ ายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า ค่ายอดศิ ร สระบุรี

ห น้ า | 38 แผนกวชิ ายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรยี นทหารม้า ศูนย์การทหารมา้ คา่ ยอดิศร สระบุรี -------------------------- คท.ประจำรถสายพานกซู้ ่อม 21 ( แซมซนั่ ) พ.ศ. 2521 วิชา คณุ ลักษณะขีดความสามารถ มาตราทาน และการใชร้ ถสายพานกูซ้ อ่ ม 21 (แซมซ่ัน) ตอนท่ี 1 คณุ ลกั ษณะขีดความสามารถ และมาตราทานรถ 1. คณุ ลกั ษณะทว่ั ไป รถสายพานกู้ซ่อม 21 (แซมซั่น) เปน็ รถกซู้ อ่ มที่ใชใ้ นการกซู้ อ่ มรถแบบต่าง ๆ ในตระกลู รถถังเบา 21 อปุ กรณก์ ซู้ อ่ มประจำรถ คือกวา้ นท่ีสามารถฉุดลากนำ้ หนกั ได้ 3.5 ตัน (35 กโิ ลนิวตนั ) และมลี วดกวา้ นยาวถึง 228 เมตร 750 ฟตุ ) ซง่ึ เพยี งพอสำหรบั การประกอบเขา้ กับอุปกรณก์ ซู้ ่อมตา่ งๆ หรือการต่อรอกกว้านให้การ ไดเ้ ปรียบเชงิ กล 4 ตอ่ 1 นอกจากนีย้ งั มีคานลากจูงทีส่ ามารถใชเ้ ปน็ โครงรอกสำหรบั ยกภารกรรมตา่ งๆ ได้ และ ทางดา้ นทา้ ยรถ ยงั ตดิ ตง้ั เครื่องค้ำยนั ชนิดใชง้ านด้วยมอื เพ่ือใชเ้ ปน็ สมอบกของรถ และจัดเป็นองคป์ ระกอบ ส่วนหนึ่งของรถด้วย ตวั รถสายพานกซู้ ่อม 21(แซมซนั่ )สร้างดว้ ยแผน่ เกราะอะลูมิเนยี มผสมเชอื่ มประสานกันตลอดคนั และ มรี ูปร่างลกั ษณะโครงสรา้ งด้านหนา้ เชน่ เดียวกับรถถงั เบา 21 สกอรเ์ ป้ยี น แต่ถัดจากดา้ นหลังของหอ้ งพลขับ ออกไปจะไปจะเป็นห้อง ผบ.รถ หรือพลประจำกว้าน ซึง่ เป็นท่ีตดิ ตัง้ กว้าน และองค์ประกอบตา่ ง ๆ ของกวา้ น ป้อมตรวจการณ์ของ ผบ.รถ และชดุ ลกู กลงิ้ กนั สายลวดกว้าน จะตดิ ตงั้ ไว้บนหลงั คารถดา้ นบนของฝาปดิ ห้อง เครอ่ื งยนต,์ หอ้ งเคร่ืองเปลย่ี นความเรว็ และชอ่ งรบั อากาศเขา้ ของหม้อกรองอากาศจะปดิ ทับด้วยตะแกรงลวด เพ่ือป้องกนั ปลอกกระสุนปืน หรอื ใบไม้ หรอื ส่งิ ต่างๆ ร่วงหล่นเขา้ ไปและยงั มีผา้ ใบกันนำ้ สำหรับปดิ คลมุ ฝาปดิ หอ้ งองคป์ ระกอบดังกล่าว มว้ นเก็บไวท้ างด้านบนของฝาปดิ ฯ เพอ่ื ใชป้ กปดิ ไม่ให้นำ้ ฝนร่ัวไหลเข้าไปในหอ้ ง องคป์ ระกอบต่าง ๆ เม่อื จอดทิ้งไวก้ ลางแจ้งดา้ นบนหลังคา, ดา้ นข้างตัวรถ และภายในรถจะจัดไว้เป็นที่เกบ็ เคร่ืองมือประจำรถและยทุ โธปกรณ,์ ตาข่ายพรางรถ,กลอ่ งเสบียง และเครอ่ื งหุงตม้ ต่างๆ รถสายพานกูซ้ อ่ ม 21 (แซมซน่ั )จะมปี ืนกล ขนาด 7.62 มม.(GPMG) ซ่ึงสามารถติดตัง้ ไวบ้ นฐานตดิ ตง้ั ปนื กลภายนอกปอ้ มตรวจการณท์ ห่ี มนุ ได้รอบตัวของ ผบ.รถ หรอื ถอดออกไปตั้งยิงด้วยขาหยงั่ บนพื้นดนิ ก็ได้ และถงึ แมว้ า่ ปืนกลประจำรถ ขนาด 7.62 มม.นี้ จะใช้ยงิ โดยการโผล่ออกมาภายนอกป้อมตรวจการณ์ แต่ปอ้ ม ตรวจการณ์ ซึ่งหมุนไดร้ อบตัวจะช่วยให้ ผบ.รถ สามารถตรวจการณไ์ ดโ้ ดยรอบ และทางดา้ นหน้ารถบนลาด ของแผ่นเกราะจะติดตง้ั เคร่ืองยงิ ลกู ระเบิดควนั ชนดิ หลายลำกลอ้ งจำนวน 2 เครอ่ื ง นอกจากน้ี ยงั ติดต้ังกรอบ พยงุ ซึ่งพับเก็บไดเ้ พื่อลยุ ข้ามลำนำ้ ลึก รถสายพานกู้ซอ่ ม 21(แซมซั่น) มีพลประจำรถ 3 นายคอื - ผบ.รถ (ทำหนา้ ท่เี ปน็ พลประจำกว้านด้วย) - นายสิบกู้ซอ่ ม - พลขบั

ห น้ า | 39 2. รายละเอียด และมาตราทานรถ พลประจำรถ 3 นาย (พลขบั , ผบ.รถ,นายสบิ กู้ซอ่ ม) ขนาด ความยาวทัง้ หมด 5 ม.(15 ฟุต 5 นวิ้ ) ความสูง (เหนอื ฐานปืนกล) 2.20 ม. (7 ฟตุ 2 1/2 นว้ิ ) ความกวา้ งทง้ั หมด 2.43 ม.(7 ฟตุ 10 1/2 นิว้ ) ความยาวของสายพานที่สมั ผสั พ้นื 2.82 ม.(9 ฟุต/3 น้ิว) จำนวนขอ้ สายพาน (ด้านละ) 82 - 84 ขอ้ ความตึงหย่อนของสายพาน 120 - 145 มม. นำ้ หนกั พรอ้ มรบ (สงู สุด) 8,738 กก.(19,264 ปอนด)์ ชนั้ สะพาน 9 การขนส่งทางอากาศ เท่ียวละ 2 คัน ดว้ ยเคร่อื งบนิ C-130 นำ้ หนกั กดพืน้ 5.1 ปอนด์/ตร.น้ิว (35.2 กก.นวิ ตัน/ตร.ม.) สมรรถนะ ความเรว็ อนมุ ตั ใิ ช้งานบนถนน (สงู สุด) 80 กม./ชม.(50 ไมล์/ชม.) อัตราความเร็วในการเรง่ ของเกยี ร์ต่าง ๆ 0.48 กม./ชม.(0 - 30 ไมล์/ชม.)ใน 7 วินาที ระยะหา่ งใตท้ อ้ งรถ 372 มม.(1 ฟตุ 2 5/8 นิว้ ) ข้ามเคร่ืองกดี ขวางทางดิ่ง 546 มม.(1 ฟุต 9 1/2 นิว้ ) ข้ามคูกว้าง 1,499 มม.(9 ฟตุ 11 นวิ้ ) มุมปนี ลาด 462 มลิ (26 องศา) มุมจากลาด 382 มลิ (21 1/2 องศา) มมุ ไตล่ าดขา้ ง 728 มลิ (41 องศา) ลยุ ข้ามน้ำลกึ (ไม่กางกรอบพยงุ ) 1,067 มม.(3 ฟตุ 6 นิว้ ) ความเร็วในน้ำ (ขบั เคล่อื นด้วยสายพาน) 5.3 กม./ชม.(3.2) ไมล/์ ชม.) (ขับเคลื่อนด้วยชุดใบจกั ร) 8.5 กม./ชม.(5.27 ไมล/์ ชม.) ระยะปฏิบตั กิ าร (บนถนน) 482 กม.(300 ไมล)์ ความจขุ องถังนำ้ มันเชอ้ื เพลงิ 404 ลิตร (89 แกลลอน) การลุยนำ้ 1,387 ม.(55 น้ิว) ด้านหน้า กรอบพยงุ สงู พ้นน้ำ 0.837 ม.(33 นวิ้ ) ด้านข้าง 1.047 ม.(42 1/4 น้วิ ) ด้านหลงั อปุ กรณท์ ศั นะ กลอ้ งตรวจการณ์รอบปอ้ มฯ แบบ NO 27 ประกอบ ผบ.รถ ด้วย กล้องตรวจการณ์ AV,NO 2 MK 2, จำนวน 1 กล้อง และ กล้องตรวจการณ์ AV,NO 42 MK 1, พลขับ จำนวน 5 กล้อง กลอ้ งตรวจการณ์ AV,NO 44 MK 2,

ห น้ า | 40 กล้องตรวจการณ์เวลากลางคืน กลอ้ งตรวจการณ์ AV,L7 A1 อาวธุ ปืนกล ขนาด 7.62 มม.(GPMG) แบบ L7 A1 ติดตั้งบนฐานปนื แบบ L7 การสร้างฉากควันกำบัง เครอื่ งยิงลูกระเบดิ ควนั ชนิดหลายลำกล้อง ขนาด 66 มม. จำนวน 2 เครอ่ื ง ติดตง้ั บนแผ่นเกราะดา้ นหน้ารถ กระสนุ ปก.ขนาด 7.62 มม.จำนวน 2,000 นัด ลูกระเบิดควนั จำนวน 16 นดั ลูกระเบดิ ขว้าง จำนวน 6 นดั อุปกรณส์ อ่ื สาร ชดุ วิทยุ VRC-353 ใช้กำลงั ไฟฟา้ จากชดุ แบตเตอร่ี แบบ UK-6TN 100 Amp./20 ชม.ติดตง้ั ในกล่อง ไฟเบอร์กลาส บนพื้นรถด้านท้าย อปุ กรณก์ ูซ้ ่อมประจำรถ กวา้ น และคานลากจูง ความสามารถในการฉุดลากน้ำหนกั ของกว้าน 35 กโิ ลนวิ ตัน (3.5 ตนั ) ลวดกวา้ น ทำด้วยเหล็กกล้าขนาดเสน้ ผา่ ศนู ย์กลาง ขนาด 11 มม. ( 0.433 นิ้ว) ความยาว 228.6 ม. (750 ฟตุ ) ความสามารถในการรบั นำ้ หนักของคานลากจูงเม่อื ใช้เปน็ โครงรอก 454 กก.(1,000 ปอนด์) ความสามารถในการรบั นำ้ หนักของเคร่อื งค้ำยัน(สมอบก) 14 ตนั ************** ตอนท่ี 2 การใช้งาน การ ตดิ – ดับ เครอ่ื งยนต์ 1. การตดิ เคร่ืองยนต์ 1.1 ตรวจวัดระดบั น้ำมนั เคร่ืองยนต์ให้อยใู่ นระดับทถี่ ูกต้องตามเกณฑใ์ ชง้ าน 1.2 ตรวจความเรยี บร้อยของเคร่อื งดบั เพลิงประจำรถ 1.3 ปรับระดับที่นง่ั พลขับ และกระจกมองหลงั ใหเ้ หมาะสมตามความจำเปน็ 1.4 ตรวจ และตั้งหา้ มล้อจอดรถไว้ในลักษณะตึงเตม็ ท่ี 1.5 ตรวจคนั บงั คับเกยี ร์เดินหนา้ – ถอยหลัง ให้อยู่ในตำแหนง่ ที่เหมาะสมกบั การใช้งาน 1.6 ตรวจคนั บงั คบั เลยี้ วทัง้ คู่ ให้อยู่ในตำแหน่งปลอ่ ยไปขา้ งหน้าจนสุด 1.7 ตรวจ และเขา้ เกยี รเ์ ครือ่ งเปลย่ี นความเร็วไว้ในตำแหนง่ วา่ ง “ N ” โดยสังเกตดจู ากตำแหนง่ เกียร์ 1.8 ตรวจดคู นั ว่าคันเรง่ มอื ไมถ่ ูกควงผีเส้ือขันยึดไว้จนแน่น 1.9 เปิดสวิตช์แบตเตอร่ี และสวิตช์จุดระเบดิ ไปทต่ี ำแหน่ง เปดิ “ON” แลว้ ตรวจดูว่าไฟเตอื นสวิตช์ จุดระเบิด, ไฟเตือนระบบหลอ่ ลื่น, ไฟเตอื นหลกั สสี ม้ ด้านหน้ารถติดสวา่ งตามปกติ และเขม็ วดั น้ำมนั เช้ือเพลิงทำงานเรยี บร้อย 1.10 ตดิ เครอ่ื งยนต์โดยกดปมุ่ หมนุ เคร่อื งยนต์ “START” และรบี ปลอ่ ยเม่อื เคร่ืองยนต์ติด ถ้า เครื่องยนต์ ไม่ตดิ ภายใน 15 วนิ าที ใหห้ ยดุ และคอย 2 – 3 วนิ าที แล้วเริม่ ตดิ เครอ่ื งยนต์ใหม่

ห น้ า | 41 หมายเหตุ ถ้าติดเครื่องยนต์ในขณะที่มีอากาศหนาวเย็นจัดมาก ให้ดึงคันช่วยติดเครื่องยนต์ออกมา เล็กน้อย และเมอ่ื เครอ่ื งยนต์ติดเรียบรอ้ ยแล้ว ใหร้ บี ดนั กลบั เข้าไปจนสดุ 1.11 เร่งเครื่องยนต์ให้ได้รอบประมาณ 800 – 1,000 รอบ/นาที และสังเกตการทำงานของไฟเตือน หลัก, ไฟเตือนสวิตช์จุดระเบิด, หลอดไฟเตือนระบบแบตเตอรี่ติดสว่างเพียงหรี่ ๆ เข็มแอมมิเตอร์แสดงค่าการ ประจุไฟตามปกติ และอยา่ เร่งเคร่อื งยนต์โดยการปัม๊ คนั เร่ง 1.12 เบาเครอื่ งยนต์ และตรวจดวู า่ รอบเดนิ เบาของเครอ่ื งยนตถ์ ูกต้อง 500 – 600 รอบ/นาที คำเตอื นไม่ว่ากรณใี ด ๆ อย่างเร่งเครอื่ งยนต์เกิน 5,000 รอบ/นาที 2. การดับเครอ่ื งยนต์ 2.1 เบาเครือ่ งยนต์ และปล่อยให้เครอื่ งยนตเ์ ดินเบา แล้วปดิ สวติ ช์จดุ ระเบดิ อยา่ ดับเครอื่ งยนตใ์ นขณะ เร่งเคร่ือง ข้อควรระวัง เมื่อดับเครื่องยนต์หลังจากการใช้งานหนัก และเครื่องยนต์ร้อนจัด ให้ปล่อยเครื่องยนต์ เดนิ เบาไว้ 800 รอบ/นาที ประมาณ 3 นาที กอ่ นท่ีจะเบาเคร่ืองยนตจ์ นสุด แล้วจึงดบั เคร่ืองยนต์ 3. การติดเครือ่ งยนตใ์ นกรณฉี ุกเฉนิ การตดิ เคร่อื งยนตใ์ นกรณฉี กุ เฉิน เมื่อชดุ แบตเตอรปี่ ระจำรถมไี ฟออ่ นสามารถกระทำได้ 2 วธิ ี คอื 3.1 การติดเครอ่ื งยนต์โดยใช้สายพ่วงไฟจากรถคันอืน่ 3.2 การตดิ เครอ่ื งยนต์โดยการฉุดลาก ข้อควรระวัง อยา่ ตดิ เคร่ืองยนต์ ถ.เบา 21 โดยการใช้สายพว่ งไฟ หรือดว้ ยการฉุดลาก เม่อื ปลด สายไฟของชุดแบตเตอรีป่ ระจำรถ หรอื ถอดชดุ แบตเตอรี่ประจำรถออกมาจากรถ 3.1 การตดิ เคร่ืองยนต์โดยการใชส้ ายพ่วงไฟ การปฏิบัติ 3.1.1 ปิดสวิตช์แบตเตอร่ี และสวติ ช์จดุ ระเบดิ ของรถทงั้ สองคัน แล้วต่อสายพ่วงไฟเข้ากับ เตา้ พ่วงไฟ ท่หี บี ควบคมุ วงจรไฟฟา้ ประจำรถท้งั สองคนั ให้สนทิ 3.1.2 ตรวจดูว่า ไฟเตือนระบบแบตเตอร่ีของรถท่ีจะติดเคร่ืองจะตอ้ งไมต่ ิดสวา่ งทง้ั กอ่ น และ หลงั การเปดิ สวิตชแ์ บตเตอร่ี 3.1.3 ตดิ เครื่องยนตข์ องช่วยเหลือกอ่ นแล้วจงึ ติดเครอ่ื งยนต์ของคันท่มี ีไฟอ่อน ด้วยวธิ ีการติด เคร่อื งยนตต์ ามปกติ เม่ือเคร่ืองยนตต์ ิดแลว้ ให้เร่งเครอ่ื งยนต์ไวด้ ้วยรอบสูงปานกลาง 3.1.4 ดับเครื่องยนต์ และปดิ สวิตชแ์ บตเตอรขี่ องรถชว่ ยเหลือ แลว้ ถอดสายไฟออกจากรถท้ัง สองคนั 3.1.5 ปดิ ฝาครอบทีป่ ลายสายพว่ งไฟทัง้ สองข้าง และเก็บสายพว่ งไฟเขา้ ท่ีเดมิ 3.2 การตดิ เคร่อื งยนต์โดยการฉุดลาก การปฏิบตั ิ 3.2.1 เตรียมรถที่จะติดเครื่องยนตด์ ว้ ยการฉดุ ลาก โดยปฏบิ ัติตามลำดับการติดเครอ่ื งยนต์ ต้งั แตข่ ้อ 1 – 9 3.2.2 เข้าเกียรเ์ ครื่องเปลย่ี นความเร็วของรถท่ีรบั การฉดุ ลากไวใ้ นเกียร์ 4 ตำแหนง่ “เดินหน้า” 3.2.3 เข้าเกยี รเ์ ครื่องเปลย่ี นความเรว็ ของรถฉดุ ลากในตำแหน่งเกียร์ 1 หรอื 2 ตำแหนง่ “เดนิ หน้า” 3.2.4 ปลดห้ามล้อจอดรถ และทำการฉดุ ลาก เมอื่ เครอื่ งยนต์ติดแล้ว ใหเ้ ปล่ยี นเกยี รไ์ ปยัง ตำแหนง่ “ว่าง” ใหส้ ัญญาณหยดุ รถ และใสห่ า้ มล้อจอดรถ หมายเหตุ

ห น้ า | 42 1. อยา่ พยายามฉุดลากตอ่ ไป ถ้าเครอื่ งยนตม์ ีอาการตดิ ๆ ดบั ๆ 2. ปัม๊ ลากจงู “TOWING PUMP” ภายในเครอ่ื งเปลยี่ นความเร็วสามารถส่งแรงดันนำ้ มันให้ เพียงพอท่เี ปลย่ี นเกยี ร์ในตำแหนง่ ต่าง ๆ ได้ภายในระยะฉุดลาก 150 ฟตุ หรอื 45.5 เมตร ตอนท่ี 3 อปุ กรณ์กซู้ อ่ มประจำรถสายพานก้ซู ่อม 21 “ แซมซน่ั ” และการใชง้ าน 1. ชดุ ลกู กลิ้งกนั สายลวดกว้าน อุปกรณน์ ตี้ ิดตง้ั อยู่ทางดา้ นขวาของรถในระดบั เดียวกันกบั ปอ้ มตรวจการณ์ ของ ผบ.รถ เพอื่ ใช้นำสายลวดกว้านเมอ่ื ทำการกู้รถดว้ ยกว้านทางด้านหน้า ชุดกลกู กลงิ้ กันสายลวดกวา้ นควร ไดร้ บั การดูแลรกั ษาให้สะอาดปราศจากฝุ่นผง และสิ่งสกปรก ชดุ ลกู กลง้ิ กนั สายลวดกว้านจะมีหวั อัดไขข้น เพอ่ื ใหก้ ารหลอ่ ลน่ื แกนลกู กล้ิงอยู่ 4 หวั 1.1 การใชง้ าน 1.1.1 จบั ขาทปี่ ลายทงั้ 2 ข้างของลูกกล้งิ ตวั นอนอันบนไว้ 1.1.2 ปลดกลอนยึดลกู กลิ้งโดยการหมนุ ลูกกลงิ้ ทวนเข็มนาฬิกา 1.1.3 ดึงลกู กลิ้งตวั นอนอันบนออกจากโครงยึด 1.1.4 ร้อยสายลวดกว้านผา่ นกลางระหว่างลูกกลิ้งตวั ตั้งให้พาดลงบนลกู กลิง้ ตวั นอนอนั ล่าง 1.1.5 ใส่ลูกกลง้ิ ตัวนอนอนั บนเขา้ ทีอ่ ยู่ และขดั กลอนด้วยการหมนุ ขาปลายลูกกล้งิ ตามเข็ม นาฬกิ า 1.2 การถอดสายลวดกวา้ นออกจากชุดลกู กล้ิง ให้ปฏบิ ัติย้อนกลับลำดับการใส่ลวดกวา้ นเข้ากบั ชดุ ลกู กลง้ิ 2. คานลากจงู /โครงแขวนรอก รถสายพานกซู้ อ่ ม 21 “ แซมซ่ัน ” จะใชค้ านลากจงู แบบมาตรฐานซ่งึ สามารถ ใช้เปน็ โครงรอกไดด้ ว้ ย คานลากจูงจะเกบ็ ไวก้ ับตัวรถทางดา้ นซ้าย ค่อนไปทางทางทา้ ยรถ คานลากจงู น้ีใช้ สำหรบั ลากจงู รถ และกู้รถในตระกูลรถถังเบา 21 ด้วยการฉุดลาก หรอื ใช้เป็นโครงรอกเพื่อยกเครอ่ื งกำเนดิ กำลงั ออกจากรถ 2.1 การใชเ้ ปน็ คานลากจูง 2.1.1 ถอดคานลากจูงออกจากทีเ่ ก็บ 2.1.2 วางคานลากจูงลงบนพืน้ และประกอบหวั ต่อปลายคานลากจูงทงั้ 2 ขา้ งใหถ้ กู ตอ้ ง 2.1.3 ประกอบหหู ่วงปลายคานลากจูง ใส่สลักยดึ แปน้ เกลียว และสลกั กันคลายให้ เรยี บรอ้ ย 2.1.4 ถอดสลกั ออกจากหวั ต่อปลายคานลากจงู ทั้ง 2 ข้าง และยกคานลากจูงเข้าประกอบกับ หหู ่วงลากจูงแต่ละตัวของรถทต่ี ้องการลากจงู และใส่สลักหหู ่วงลากจงู กับสลกั กนั หลดุ ใหเ้ รยี บรอ้ ย 2.1.5 นำรถสายพานกซู้ อ่ ม 21 “ แซมซ่นั ” เขา้ สู่ตำแหนง่ ลากจงู และใส่หูหว่ งปลายคานลาก จงู เข้ากับขอพ่วงของรถสายพานก้ซู ่อมอย่างระมัดระวงั 2.1.6 ตรวจความเรยี บรอ้ ย และมัน่ คงในการใส่สลกั ยึด และสลักกนั คลาย กอ่ นเร่มิ การลากจูง ขอ้ ควรระวัง การเลย้ี วรถในขณะลากจูงจะตอ้ งเลยี้ วเป็นวงกว้าง อย่าให้คานลากจงู หกั พับเปน็ มมุ เกินกวา่ 70 องศา มฉิ ะนัน้ จะทำใหค้ านลากจงู ชำรดุ เสยี หายอยา่ งหนกั 2.2 การใชเ้ ปน็ โครงรอก 2.2.1 ถอดคานลากจงู ออกจากท่เี ก็บ และวางลงบนพืน้ 2.2.2 ถอดสลกั กนั หลดุ ถอดแป้นเกลียวยดึ สลักหูห่วงปลายคานลากจงู และเกบ็ ให้เรยี บร้อย 2.2.3 คลายลวดกวา้ นออกใหย้ าวพอท่ีจะประกอบรอกใชง้ าน 2.2.4 ใส่สายลวดกวา้ นเขา้ กบั โครงกนั สายลวดกว้าน แลว้ ประกอบรอกเขา้ กับโครงกนั สาย ลวดกว้าน

ห น้ า | 43 2.2.5 ประกอบองค์ประกอบในขอ้ 2.2.4 เข้ากับปลายคานลากจงู 2.2.6 ประกอบหหู ว่ งปลายสายลวดรงั้ คานลากจงู ทัง้ 2 อนั เขา้ กบั โครงกันสายลวดกว้านทง้ั 2 ข้าง แล้วใสแ่ กนรอก และขันแป้นเกลยี วยดึ แกนรอก และขันแปน้ เกลียวยึดแกนรอกใหแ้ นน่ ดว้ ยมอื เทา่ นั้น 2.2.7 คลายแปน้ เกลยี วยึดแกนรอกออกจนใส่สลกั กันหลดุ เข้าทใี่ นรอ่ งบากถัดไปของแปน้ เกลียวได้ ขอ้ ควรระวงั การขนั แปน้ เกลียวยดึ แกนรอกจนแน่นเกินไปจะทำใหล้ อ้ กวา้ น และลวดกวา้ นชำรุด เสียหายได้ในขณะใชง้ าน 2.2.8 ยกโครงรอกขึ้นสู่หลังคารถสายพานกซู้ ่อม 2.2.9 ยกโครงรอกตั้งขน้ึ และสวมปลายหวั ตอ่ ปลายคานลากจูงทัง้ 2 ขา้ ง เข้ากับหหู ว่ งบนตัว รถ และใส่สลกั ยึดหวั ตอ่ และสลักกนั หลดุ ให้เรียบร้อย 2.2.10 ยกสลักกันสายลวดท่ีหลักยดึ ขึน้ และใส่สายลวดรั้งโครงรอกเขา้ กับร่องบนหลักยดึ 2.2.11 วางโครงรอกใหเ้ อนไปทางดา้ นหลงั รถจนสายลวดรัง้ ตงึ คำเตือน เมอื่ กระทำตามวิธีท่กี ล่าวมาในขา้ งต้นจะทำให้รถสายพานกซู้ ่อม 21 “ แซมซ่ัน ” สามารถ ใชค้ านลากจูงเป็นโครงรอกยกสิง่ ของซึง่ สามารถรับนำ้ หนักได้อยา่ งปลอดภัยสูงสุด 454 กก. ( 1,000 ปอนด์ ) บนพนื้ ทีร่ าบเรยี บไดร้ ะดับ และหากใชย้ กบนพน้ ทีล่ าดเอียงถึง 5 องศา หรอื มากกวา่ จะทำใหล้ วดกว้าน และ เครอ่ื งค้ำยนั ชำรดุ เสยี หาย หรือไมป่ ลอดภัย และจะตอ้ งจำกดั รอบความเร็วของเครอื่ งยนตไ์ ว้ระหวา่ ง 1,000 – 1,200 รอบ/นาที ใหป้ ฏบิ ัตติ ามคำเตือนน้อี ยา่ งเคร่งครัด เนือ่ งจากไมม่ เี ครอ่ื งอุปกรณ์เตือนภยั หรอื เคร่อื งตัดการทำงานของระบบ เมือ่ ใชง้ านจนเกนิ เกณฑป์ ลอดภยั ท่กี ำหนดไว้ การตรวจระดบั ความเอียงของพ้นื ทีจ่ อดรถสามารถกระทำได้จาก เคร่ืองวัดระดบั ขา้ งกลอ่ งควบคมุ เครอ่ื งติดต่อสอื่ สารในห้องพลขบั 3. หัวหน้าชดุ กู้ซ่อมมีหน้าท่พี จิ ารณา และตกลงใจ ดังตอ่ ไปนี้ 3.1 สภาพความเหมาะสมตา่ ง ๆ ในการใช้โครงรอก 3.2 การตรวจสภาพเคร่อื งอุปกรณต์ า่ ง ๆ ทีเ่ ก่ยี วข้องกบั การใชเ้ ป็นโครงรอก ไดอ้ ย่างปลอดภยั 3.3 ตรวจความปลอดภัยของสลกั จุดหมุน สลกั กันคลาย และสลกั กันสายลวดกวา้ น ว่าใส่เข้าทีอ่ ยา่ ง ถกู ต้อง และมน่ั คง 3.4 พจิ ารณาวา่ ภารกรรมทจ่ี ะยกนั้นมนี ำ้ หนกั อยู่ในเกณฑท์ ก่ี ำหนดไว้ หมายเหตุ อยา่ ทำการลากจงู รถเม่อื คานลากจงู อยู่ในตำแหนง่ การใชเ้ ปน็ โครงรอก 4. การเก็บโครงรอก 4.1 คลายสายลวดกวา้ นออกใหย้ าวเพยี งพอ 4.2 ยกโครงรอกต้ังข้นึ จนสายลวดรงั้ หย่อนตวั 4.3 ถอดสลกั กนั สายรั้งโครงรอกออกจากหลกั ยึด 4.4 ถอดสลักยดึ ออกจากหวั ต่อปลายคานลากจงู ท้ัง 2 ขา้ ง 4.5ถอดคานลากจูงออกจากหูหว่ งทต่ี ัวรถ แล้ววางคานลากจูงลงบนพน้ 4.6 ถอดแป้นเกลียว และสลกั เกลยี ว ออกจากหหู ว่ งลวดร้ังคานลากจูง โครงกันสายลวดกวา้ น รอก และสายลวดกวา้ น 4.7 เก็บลวดรงั้ คานลากจงู โครงกนั สายลวดกวา้ น และรอก เข้าที่เก็บใหเ้ รยี บร้อย แลว้ ม้วนสายลวด กวา้ นไว้ในตำแหนง่ เก็บเดนิ ทาง 4.8 ประกอบหหู ่วงปลายคานลากจูงเข้าที่เดิม แลว้ ใสส่ ลักเกลยี ว แป้นเกลียว และสลักกนั คลายให้ เรียบร้อย และนำคานลากจงู เข้าทเี่ กบ็ ข้างตัวรถ

ห น้ า | 44 5. ชุดรอกนำสายลวดกว้าน อุปกรณ์นต้ี ดิ ตั้งติดตงั้ อยู่กลางหลงั คารถด้านหลงั โดยมีตลบั ลกู ปนื รองรบั ไว้ เพือ่ ใหช้ ุดรอก และแขนนำสายลวดกว้านสามารถหมุนตัว และกระดกขึน้ ลงไดค้ ลอ่ ง ชดุ รอกนำสายลวดกว้านมี หน้าทน่ี ำสายลวดกวา้ นออกจากล้อกว้าน สามารถหมนุ ตัวในแนวระดับไดข้ ้างละ 90 องศา และกระดกขนึ้ ลง ได้ –10 ถึง + 40 องศา 6. เครือ่ งคำ้ ยัน อปุ กรณน์ ต้ี ิดตง้ั ไว้กบั ตัวรถสายพานกู้ซอ่ มทางด้านหลงั สามารถรบั แรงดึงทเี่ กดิ จากการฉดุ ลากของกว้านได้ 14 ตัน เครอื่ งคำ้ ยนั มี 2 สว่ น คือ โครงเครอ่ื งค้ำยนั และแผน่ กลาง 7. แผ่นกลาง แผน่ กลางจะถกู ถอดออกจากโครงเครอื่ งคำ้ ยนั และเก็บไวใ้ นท่ีเกบ็ ขา้ งตัวรถด้านหลงั ขวา และ จะตอ้ งนำแผน่ กลางมาใช้ประกอบกับโครงเครือ่ งคำ้ ยนั เมอื่ ทำการก้รู ถบนพื้นดินออ่ น หรือเม่อื ภารกรรมท่จี ะกู้ มนี ้ำหนักเกิน 6 ตนั โดยปกติแล้วเครื่องค้ำยนั จะสามารถรบั นำ้ หนกั ได้ถงึ 4 เทา่ ของขดี ความสามารถในการฉุด ลากของกวา้ นบนพ้ืนดนิ แขง็ 8. การใชเ้ คร่ืองค้ำยนั 8.1 ปดิ ประตทู ้ายรถ ถอดแผ่นกลางออกจากท่ีเกบ็ ขา้ งตวั รถดา้ นหลังขวา 8.2 ปลดกลอนยดึ โครงเคร่ืองคำ้ ยนั และลดโครงเครอ่ื งคำ้ ยันลงลงจากตำแหน่งพบั เก็บ 8.3 ยกโครงเครอื่ งค้ำยนั ขนึ้ แลว้ ประกอบแผน่ กลางเขา้ ที่ในโครงเครื่องคำ้ ยัน แลว้ ขัดกลอนยดึ แผ่น กลางใหเ้ รยี บร้อย 8.4 วางเคร่ืองค้ำยันลงบนพนื้ ดนิ 8.5 ตดิ เคร่อื งยนต์ เข้าเกยี รถ์ อยหลัง ปลดหา้ มล้อจอดรถ แล้วถอยหลังรถจนเครื่องคำ้ ยนั กดพน้ื ดนิ และยกท้ายรถสายพานกซู้ อ่ มขนึ้ ในตำแหน่งกรู้ ถ 8.6 หยดุ รถ และใส่ห้ามล้อจอดรถ 9. การเกบ็ เครอื่ งค้ำยนั 9.1 ขบั รถก้เู ดนิ หน้าช้า ๆ จนเครอ่ื งคำ้ ยนั ถูกลากขนึ้ จากพนื้ ดนิ 9.2 หยดุ รถ ดบั เครอื่ งยนต์ และใสห่ ้ามลอ้ จอดรถ 9.3 ปดิ ประตูทา้ ยรถไว้ แลว้ ทำความสะอาดเครอ่ื งคำ้ ยันใหส้ ะอาด โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ทแี่ ผน่ กลาง และ กลอนยดึ 9.4 ยกเคร่ืองค้ำยนั ขน้ึ ไว้ ปลดกลอนยดึ แผน่ กลาง แลว้ ดึงแผน่ กลางออก โดยอาจใช้ชะแลงชว่ ยงัด หรอื ตอกออกด้วยทอ่ นไม้ และนำแผน่ กลางเข้าทีเ่ ก็บขา้ งตวั รถดา้ นหลงั ขวา 9.5 นำเคร่ืองคำ้ ยันเข้าท่เี ก็บ และตรวจให้แน่ใจว่าเดือยกลอนสอดเข้าในรกู ลอน 9.6 ขดั กลอนยดึ เครอ่ื งคำ้ ยนั ให้เรียบร้อย 10. ชุดขอพ่วง รถสายพานกู้ซอ่ ม 21 (แซมซัน่ ) จะตดิ ตง้ั ชุดขอพว่ งแบบมาตรฐานขนาดกลางไวท้ างดา้ นทา้ ย รถ ชุดขอพ่วงนี้จะมแี ผ่นยดึ ขอพว่ งซ่ึงสามารถปลดสลักเพอ่ื ให้ขอพว่ งหมุนตวั ได้ในขณะใช้งาน และใสส่ ลกั แผ่น ยดึ ไว้เม่ือไมใ่ ช้งาน 11. การใชง้ านขอพ่วง 11.1 ถอดลวดสลกั กลอนยึดฝาประกับขอพว่ ง 11.2 เปิดฝาประกบั ขอพว่ ง 11.3 สวมเกยี่ วหูห่วงคานลากจงู เขา้ กบั ขอพว่ ง 11.4 ปิดฝาประกับขอพ่วง และตรวจให้แน่ใจวา่ กลอนยดึ ฝาประกับเขา้ ท่ีสนิท 11.5 ใสล่ วดสลัก หมายเหตุ กอ่ นทำการลากจงู ยานพาหนะด้วยคานลากจูง จะต้องถอดสลักแผน่ ยดึ ขอพ่วงออก แล้วหมุนเบ่ียง แผ่นยดึ ให้พ้นจากขอพ่วงเพ่ือให้ขอพว่ งหมนุ ตวั ได้

ห น้ า | 45 12. หหู ่วงยกรถ และประกอบอุปกรณ์กู้รถ ทตี่ ัวรถจะมีหหู ว่ ง 4 ตวั เพอื่ ใชใ้ นการยึดตรึงรถเมอื่ ขนส่งทาง อากาศ หรือทงิ้ ส่งทางอากาศด้วยร่ม หูหว่ งแตล่ ะตวั ทางด้านหน้ารถยังใช้สำหรับการก้รู ถ และหูห่วง 2 อนั ทางทา้ ยรถใต้เครื่องค้ำยันมไี ว้เพอ่ื ยกรถ ลากจงู รถ หรอื ประกอบอปุ กรณก์ ู้รถ 13. การบริการ 13.1 ให้ใชก้ าหยอดนำ้ มัน เพ่ือหยอดนำ้ มนั หลอ่ ล่นื สลกั จุดหมุน และบานพับตา่ ง ๆ 13.2 ตรวจสภาพใช้การได้ และความม่ันคงของซลี กันรั่ว ฝาครอบอปุ กรณ์ และสิ่งยึดตรงึ บนตวั รถ 13.3 ตรวจความสะอาดเรยี บรอ้ ยของตะแกรงลวดปิดช่องทางตา่ ง ๆ 14. หอ้ งบงั คับกว้าน กลา่ วทัว่ ไป ห้องบังคบั กว้านเป็นท่ตี ดิ ตั้งเครอื่ งอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ท่ีจำเปน็ สำหรับการบังคบั ใชง้ านกว้าน ในขณะกู้รถ 15. หอ้ งบงั คับกวา้ น เป็นทต่ี ิดตัง้ กว้าน และระบบไฮดรอลิกซึง่ ขับหมนุ ดว้ ยชดุ เพลาส่งกำลังออกของ เครอ่ื งยนต์ โดยลวดกวา้ นจะได้รับการนำออก และม้วนเข้าผา่ นชุดลกู กลิ้งนำลวดกว้านซ่งึ อยูบ่ นหลังคารถ นอกจากนี้ในห้องบังคับกว้านยงั เป็นท่ีตดิ ตง้ั ถงั นำ้ มนั เช้ือเพลิง ทน่ี ง่ั พลประจำรถ และท่นี ่งั ผบ.รถ ซงึ่ สามารถ ปรับระดับ และพับเกบ็ ไดเ้ ม่ือตอ้ งการใช้กว้าน 16. กวา้ น กว้านจะตดิ ตัง้ อยู่บนแท่นยึดซึ่งเชื่อมตดิ อยูก่ บั ผนังตัวรถ ในหอ้ งบังคับกวา้ น กว้านได้รับกำลัง ขับหมุนจากมอเตอร์ไฮดรอลิก สามารถฉุดลากนำ้ หนักได้ 3.5 ตนั ดว้ ยความเร็ว 18.28 เมตร/นาที ( 60 ฟตุ / นาที ) ล้อเกบ็ ลวดกว้านเก็บลวดกวา้ นได้ยาว 228.6 เมตร ( 750 ฟตุ ) ลอ้ กว้านจะมีห้ามล้อนริ ภัยซ่งึ ทำหน้าท่ี ยึดล้อกวา้ นไว้ตลอดเวลายกเว้นในขณะคลายลวดกว้านออก มอเตอรไ์ ฮดรอลกิ ขบั กวา้ นจะได้รับกำลังไฮดรอลิ กจากปัม๊ ไฮดรอลกิ หลกั และปั๊มช่วยซง่ึ ไดร้ ับกำลังขับจากหบี เฟอื งขบั ป๊มั ซงึ่ ขับหมนุ ดว้ ยชุดคลัตช์ และชุดเพลา สง่ กำลงั ออกของเคร่อื งยนต์ 17. เคร่ืองควบคุมกวา้ น ความมงุ่ หมายหลักของเครอ่ื งควบคุมกวา้ นกค็ อื ทำให้สามารถตัดต่อกำลังจาก เครื่องยนตท์ ่ีสง่ เขา้ ไปขับปม๊ั ไฮดรอลกิ หลกั และปั๊มช่วยได้ เครอื่ งควบคมุ กว้านมดี งั นี้ 18. คนั คลตั ช์ อยู่ทางดา้ นซา้ ยของคนั บังคับกวา้ น และคนั คลตั ชจ์ ะมแี ผน่ ขวางแบบพับได้กนั้ ไวเ้ พอ่ื ป้องกัน ไมใ่ หค้ นั คลตั ช์เลื่อนตวั ไดโ้ ดยบังเอิญ คันคลตั ชม์ ี 2 ตำแหนง่ คือ เขา้ ( IN ) และปลด ( OUT ) 19. เคร่ืองควบคุมการใช้กวา้ น มี 3 อยา่ ง คือ 19.1 คนั เรง่ คนั เร่งซึ่งตดิ ตง้ั อยทู่ างดา้ นบนของคันบังคบั กวา้ น มไี ว้เพื่อใหผ้ ู้ใชก้ วา้ นสามารถควบคุม ความเรว็ ของเคร่ืองยนต์ไดจ้ ากสายลวดซงึ่ เชื่อมต่อเขา้ กับชดุ คนั เรง่ เครือ่ งยนต์ เมอื่ ผลักคนั เร่งไปขา้ งหน้าจะเปน็ การเรง่ เครื่องยนต์ และเม่ือดงึ คนั เร่งมาข้างหลงั จะเปน็ การเบาเครื่องยนต์ 19.2 คนั ห้ามลอ้ กวา้ น คนั หา้ มล้อกว้านใช้สำหรับปลดหา้ มลอ้ กวา้ น ชดุ ห้ามล้อกว้านทำงานดว้ ย ระบบน้ำมนั ห้ามลอ้ เมือ่ เหยียบคันห้ามลอ้ จะทำให้แมป่ มั๊ ส่งแรงดันน้ำมันไปบังคบั ลูกปั๊มห้ามลอ้ ซึง่ ทำหน้าท่ี ปลดหา้ มล้อกว้าน และที่คันหา้ มลอ้ จะมเี หลก็ ขวางตดิ อยู่เพือ่ ปอ้ งกันไม่ใหค้ ันบังคับกวา้ นเล่ือนเข้าสู่ตำแหน่ง คลายออกโดยบังเอญิ 19.3 คนั บงั คบั กวา้ น คนั บงั คบั กวา้ นใช้สำหรบั ควบคมุ ทศิ ทางการหมนุ ดงั นี้ - เมอื่ ผกั คนั บังคับกวา้ นไปข้างหนา้ จะทำใหล้ วดกว้านคลายออก - เมอื่ ดงึ คนั บังคบั กว้านมาข้างหลังจะทำให้ลวดกวา้ นมว้ นเขา้ การเคลือ่ นทีข่ องคันบงั คับกวา้ นจะถูกสง่ ต่อไปควบคมุ การทำงานของลน้ิ โซลนิ อยด์บงั คบั ทศิ ทางไหล ของน้ำมนั และล้ินบังคบั นำ้ มนั ในปัม๊ ไฮดรอลิกหลัก ซึ่งมผี ลตอ่ การควบคุมทศิ ทางการหมุน และความเรว็ ในการ หมุนของกว้าน

ห น้ า | 46 ทางดา้ นหนา้ ของคันบังคับกวา้ นจะมีเหล็กขวางซึ่งตดิ อยูก่ ับคนั หา้ มลอ้ กวา้ นยื่นมากัน้ คันบงั คบั กวา้ นไว้ เพือ่ ป้องกันไมใ่ ห้คนั บงั คับกวา้ นเลอ่ื นไปข้างหนา้ ในตำแหนง่ คลายลวดกวา้ นออกโดยบังเอญิ โดยไมไ่ ดเ้ หยยี บคนั หา้ มลอ้ กว้าน 20. สวติ ชค์ ลายลวดกว้านเรง่ ด่วน เปน็ สวติ ชแ์ บบมีแหนบบงั คับ ใชเ้ ม่อื ต้องการคลายลวดกว้านอยา่ งรวดเรว็ เมอ่ื ใชส้ วิตช์น้ีจะตอ้ งดึงสายลวดกวา้ นให้ตึงไวต้ ลอดเวลา เพือ่ ไมใ่ ห้ลวดกว้านขดั ตัวยุง่ อย่ใู นลอ้ กวา้ น 21. เครอ่ื งบนั ทึกชว่ั โมงใช้งาน ทำหน้าทบี่ นั ทึกช่วั โมงการใช้งานกวา้ น เพอื่ ให้การซ่อมบำรุงกวา้ นตาม ระยะเวลาที่กำหนดไว้ 22. การใชง้ านกว้าน คำเตือน เพอ่ื ป้องกนั อนั ตรายในขณะใชก้ ว้านทำการกูร้ ถ จะต้องปิดฝาปดิ ห้องพลขบั และหอ้ ง ผบ.รถ ไว้ และจะต้องจอดรถไวใ้ นตำแหนง่ ใชก้ ว้าน การเครอ่ื งค้ำยนั ใหเ้ รยี บรอ้ ยหากจำเป็นต้องใช้ และเดนิ เบาเครือ่ งยนต์ไว้ แล้วปฏบิ ตั ิต่อไป ดงั นี้ 22.1 จดั คนั เกยี รเ์ ครือ่ งเปล่ยี นความเรว็ ไวใ้ นตำแหน่งวา่ ง 22.2 จัดคนั เกยี ร์เดินหน้า/ถอยหลัง ไวใ้ นตำแหน่งวา่ ง 22.3 ใสห่ า้ มลอ้ จอดรถ 23. การเขา้ คันบงั คบั เครอื่ งส่งกำลงั ออก ยกแผน่ กัน้ คันคลัตชข์ ้ึนพบั ไปทางซา้ ย และดึงคนั คลัตชก์ ว้านมายัง ตำแหนง่ เขา้ (IN) 24. การคลายลวดกวา้ นออก หมายเหตุ จะต้องดึงสายลวดกว้านให้ตงึ ไว้ตลอดเวลาทค่ี ลายลวดกว้านออก 24.1 กดคันห้ามลอ้ กว้านลงไปใหส้ ุด 24.2 ดนั คันบงั คับกว้านไปข้างหน้าในตำแหนง่ คลายออก ( WINCH OUT ) 24.3 เรง่ เครือ่ งยนต์ขนึ้ จนถึง 3,000 รอบ/นาที 24.4 เมอ่ื คลายลวดกวา้ นออกจนได้ความยาวตามต้องการแลว้ จงึ เบาเคร่อื งยนต์ และดึงคนั บังคบั กว้าน กลบั สู่ตำแหนง่ วา่ ง แลว้ ปลอ่ ยคันห้ามลอ้ เพอ่ื ใสห่ ้ามล้อกว้าน 25. การมว้ นลวดกวา้ นเขา้ 25.1 ตรวจให้แน่ใจวา่ ใสห่ า้ มลอ้ จอดรถไว้ 25.2 ดงึ คนั บังคับกว้านมาขา้ งหลังในตำแหน่งมว้ นเข้า ( WINCH IN ) 25.3 เร่งเครอ่ื งยนต์ขึ้นอยา่ งะมัดระวัง ใหล้ วดกว้านตึงขน้ึ อย่างชา้ ๆ 25.4 เมื่อลวดกว้านตงึ แลว้ จึงเร่งเคร่อื งยนตต์ อ่ ไปจนถึง 3,000 รอบ/นาที 25.5 ทำการกวา้ นใหเ้ หมาะสมกับภารกรรม 25.6 การหยุดกว้าน ให้กระทำโดยดันคนั บังคบั กว้านกลับคนื สู่ตำแหนง่ วา่ ง และปลอ่ ยคนั เรง่ ให้ เครอื่ งยนต์เดินเบา 26. ระบบนำ้ มนั ไฮดรอลกิ ระบบนำ้ มันไฮดรอลิกขบั กวา้ นซงึ่ ได้รบั กำลังขบั หมุนจากชุดเพลาส่งกำลังออกของ เครือ่ งยนต์จะติดต้งั อยู่ในห้องบังคบั กวา้ น แรงดันไฮดรอลิกจะเกดิ จากปัม๊ ไฮดรอลิกหลกั และป๊ัมช่วย แรงดนั น้ี จะใชใ้ นการขับมอเตอร์ขบั กวา้ น ผา่ นทางลิ้นควบคุมการทำงาน ในระบบนำ้ มันไฮดรอลิกจะมีเคร่อื งสง่ เสียงเตือน เมือ่ แรงดนั ไฮดรอลกิ ในระบบตำ่ กวา่ 3.44 บาร์ ( 50 ปอนด์/ตร.น้ิว ) นอกจากน้ยี งั มีการปอ้ งกนั อันตรายเมอ่ื เกดิ การร่ัวไหลข้ึนเนื่องจากท่อน้ำมันแตก หรือเกิดจาก ขดั ข้องอน่ื อน่ื ๆ ดว้ ยคลัตช์ทำงานทางเดียวซงึ่ บังคบั ใหห้ ้ามลอ้ กวา้ นทำงานโดยอัตโนมตั ิ

ห น้ า | 47 27. ถงั นำ้ มนั ไฮดรอลกิ ถังน้ำมันทำด้วยเหลก็ กล้าจะตดิ ตัง้ อยใู่ นห้องบงั คับกว้าน ทางด้านหลงั ขวาใกล้ ๆ กบั ตัวกว้าน ถงั น้ำมนั มคี วามจุ 45.36 ลิตร ( 10 แกลลอน ) และทใ่ี ตฝ้ าปิดชอ่ งเตมิ จะเปน็ ชอ่ งกระจกตรวจระดับ นำ้ มัน ซึง่ จะต้องตรวจ และเตมิ เพื่อรกั ษาระดับน้ำมนั ให้เพยี งพอต่อการใช้งานตลอดเวลา 28. การบริการกวา้ น ตารางที่ 20 การบริการเมื่อแรกรบั ลำดับ การปฏบิ ัติ สารหลอ่ ล่ืน 1. ตรวจความเรียบรอ้ ยในการตดิ ต้งั และความพร้อมใช้งานของเครือ่ ง OMD 75 2. ดับเพลิง OMD 75 3. ตรวจความเรยี บร้อย และความมัน่ คงของเคร่ืองป้องกนั อันตรายตา่ ง ๆ OMD 33 4. ตรวจระดับนำ้ มันหบี เฟอื งขบั กว้าน 5. ตรวจระดบั นำ้ มนั ในหีบเฟืองขับป๊มั ไฮดรอลิก 6. ตรวจระดบั น้ำมนั ในถังน้ำมนั ไฮดรอลิก 7. ตรวจความเรยี บรอ้ ยในการทำงาน และความสะอาดของชุดรอกนำสาย 8. ลวดกว้าน 9. ตรวจการชำรดุ เสยี หายของลวดกว้าน ตรวจการทำงานของเครือ่ งควบคุมการทำงานของกวา้ นทกุ อัน ใหก้ ารบรกิ ารประจำสปั ดาห์ ตารางท่ี 21 การบริการประจำวนั ( ใช้งาน ) สารหลอ่ ลื่น ลำดบั การปฏิบตั ิ OMD 75 OMD 75 1. ตรวจระดับน้ำมนั หบี เฟืองขบั กวา้ น OMD 33 2. ตรวจระดบั น้ำมันในหีบเฟืองขับปม๊ั ไฮดรอลิก 3. ตรวจระดับนำ้ มนั ในถังน้ำมันไฮดรอลกิ ตารางท่ี 22 การบรกิ ารประจำสปั ดาห์ สารหล่อลนื่ XG 279 ( GAA ) ลำดับ การปฏบิ ตั ิ OMD 75 1. อัดไขขน้ ทห่ี วั อดั ไขข้นต่าง ๆ ของกวา้ น และองคป์ ระกอบ OMD 75 2. ให้การหลอ่ ล่นื โซ่ขบั กวา้ น OMD 33 3. ให้การหลอ่ ลน่ื สายลวดคันบงั คบั กวา้ น 4. ใหก้ ารหล่อลื่นช่องนำลวดที่ชดุ รอกนำสายลวดกว้าน OMD 13 5. ตรวจช่องกระจกตรวจสภาพหม้อกรองน้ำมันแรงดันสูง และหม้อกรอง นำ้ มนั 6. แรงดันต่ำ 7. ตรวจความหลวมคลอนของเพลาสง่ กำลงั ออกของเครอื่ งยนต์ ตรวจระดับน้ำมันห้ามลอ้ กว้าน