Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา การใช้และการซ่อมบำรุงรถกู้เภทล้อและประเภทสายพาน

วิชา การใช้และการซ่อมบำรุงรถกู้เภทล้อและประเภทสายพาน

Published by qacavalry, 2021-10-27 02:51:22

Description: วิชา การใช้และการซ่อมบำรุงรถกู้เภทล้อและประเภทสายพาน
รหัสวิชา ๐๑๐๒๒๓๐๖๐๓
หลักสูตร พลประจำรถกู้และช่างเชื่อม
แผนกวิชายานยนต์ กศ.รร.ม.ศม.

Search

Read the Text Version

ห น้ า | 148 ใบมีดค้ำยันเป็นอุปกรณ์ซึ่งควบคุม และบังคับการทำงานด้วยระบบไฮดรอลิก มีไว้เพื่อใช้สนับสนุนการ ปฏบิ ตั ิภารกจิ ของรถกู้ ดงั น้ี 1.1 ใช้ยดึ ตัวรถกู้ไวไ้ ม่ให้เคลอื่ นที่ ในขณะทำการกรู้ ถดว้ ยกว้านหลกั 1.2 ใชพ้ ยงุ ตวั รถกู้ เพ่ือชว่ ยในการทรงตวั ของรถ เมือ่ ใช้ปั้นจ่ันประจำรถ ยกส่ิงของทม่ี ีนำ้ หนักมาก ๆ 1.3 ใชเ้ ป็นอปุ กรณ์สำหรับถากถางสิง่ กีดขวาง และปรับระดับพน้ื ดนิ หรอื ถมหลุมบอ่ ต่าง ๆ หมายเหตุ ความมุ่งหมายหลักของใบมดี ค้ำยนั กค็ อื การใชเ้ พอ่ื ค้ำยนั และยดึ ตัวรถก้ไู ว้ ส่วนการใช้เพ่อื ถากถางสงิ่ กดี ขวาง และปรับระดับพื้นดนิ นัน้ เป็นความมุง่ หมายรอง 2. ขดี ความสามารถของใบมดี ค้ำยนั 2.1 ความลึกในการขุด ( ดนิ ทราย หรือดินออ่ น ) ไมน่ อ้ ยกว่า 200 มม. 2.2 ความสามารถในการขุดดิน ( ดินแหง้ ) ไม่น้อยกว่า 100 ลบ.ม./ชม. 2.3 ความสามารถในการรับนำ้ หนักค้ำยนั ไม่นอ้ ยกว่า 70 ตนั 3. องคป์ ระกอบสำคญั ชดุ ใบมดี คำ้ ยัน ซึง่ ติดตง้ั อยู่บนแผ่นเกราะอนั ลา่ งด้านหน้ารถ ประกอบดว้ ยองค์ประกอบสำคญั ดงั นี้ 3.1 ใบมีด 3.2 แผ่นเหล็กเสรมิ ใบมดี 3.3 เหล็กยึดใบมดี 3.4 แขนใบมีด 4. เครื่องควบคุม และคันบงั คบั ใบมดี คำ้ ยัน เคร่ืองควบคุม และคันบังคบั ใบมีดคำ้ ยัน ซง่ึ จะตอ้ งใชง้ านร่วมกันคือ 4.1 คันบังคับปั๊มไฮดรอลิก 4.2 คนั เรง่ เครอื่ งยนต์ 4.3 คนั บงั คับใบมดี ของชุดล้ินควบคมุ 3 ทาง คันบังคับใบมีดของชุดลิ้นควบคุม 3 ทาง มี 3 ตำแหน่ง คือ ลดลง “DOWN”, ว่าง และยกข้ึน “UP” ( UP – BULLDOZING – DOWN ) - เมอ่ื ดนั คนั บงั คับใบมดี ไปทางตำแหนง่ ลดลง “DOWN” จะทำใหใ้ บมดี ลดต่ำลง - เมื่อปล่อยคันบังคับใบมีด คันบังคับฯ จะจะกลับคืนสู่ตำแหน่งว่างเองด้วยแรงแหนบ และ ใบมีดจะยังคงคา้ งอยูใ่ นตำแหนง่ เดิมกอ่ นปลอ่ ยคนั บังคบั ฯ - เมอื่ ดึงคันบงั คบั ใบมีดมาทางตำแหน่งยกข้ึน “UP” จะทำให้ใบมดี ยกสงู ขนึ้ 5. การเตรยี มการกอ่ นใช้งานใบมีดคำ้ ยนั และข้อควรระมัดระวงั ในการใช้ 5.1 ปลดเหลก็ ยดึ ใบมดี คำ้ ยัน และเก็บเขา้ ท่ใี ห้เรียบร้อยท้งั 2 อัน 5.2 เมื่อจะใชง้ าน ให้ลดใบมดี ค้ำยันลง อยา่ ควบคุมความเร็วของรถกดู้ ้วยคลัตชใ์ นขณะใชใ้ บมดี ไถ หรอื ดันภารกรรม มิฉะนั้นจะทำให้คลัตช์จับตัวไม่สนิท เป็นเหตุให้คลัตช์ไหม้ และสึกหรออย่างหนัก และให้ใช้เกียร์ 1 5.3 อย่าใหส้ ิ่งต่าง ๆ เขา้ ไปขดั หรือขวางการเคลือ่ นทีข่ องกระบอกสบู ไฮดรอลิก ในขณะใชง้ านใบมดี 5.4 เมื่อยกใบมีดขึ้น ให้เก็บดิน และสิ่งต่าง ๆ ที่ติดค้างอยู่ระหว่างแขนใบมีด และแผ่นเกราะด้านล่าง ใหห้ มด - เมื่อใชใ้ บมีดเป็นสมอบกคำ้ ยัน ให้พยามยามลดใบมดี ลงจนโคนด้านล่างของแขนใบมดี อยใู่ กล้ หรอื ชดิ กับ แผน่ เกราะดา้ นล่างให้มากทสี่ ดุ เทา่ ทจี่ ะทำได้

ห น้ า | 149 - เมอื่ กางแผน่ เสริมใบมดี ด้านบนออก ใหใ้ สส่ ลกั เหลก็ ยดึ และขันใหแ้ น่น 5.5 เมื่อเสร็จภารกิจการกู้ซ่อมแล้ว การเก็บใบมีด จะกระทำได้โดยการถอยหลังรถ พร้อมกับยกใบมีด ขึ้น 6. การใชใ้ บมีดคำ้ ยนั ใบมีดค้ำยนั มี 2 ตำแหนง่ คอื - ตำแหน่งเก็บเดินทาง ใบมีดจะถูกยกขึ้นสุด จนกระบอกสูบไฮดรอลิกแนบชิดกับแป้นรองบนลาด ด้านหน้ารถตอนบน แผ่นเหล็กเสริมถูกพับเก็บ และใบมีดถูกยึดติดกับตัวรถไว้อย่างมั่นคงด้วยเหล็กยึดใบมีดท้งั 2 อัน - ตำแหน่งใช้งาน เหล็กยึดใบมีดทั้ง 2 อันจะต้องถูกปลดออก และการเปลี่ยนระดับ หรือตำแหน่งใช้ งานของใบมีดจะควบคุมโดยกระบอกสบู ไฮดรอลิก 6.1 ตรวจความเรยี บรอ้ ย ของชดุ ใบมดี คำ้ ยนั 6.2 จัดคันบังคับปั๊มไฮดรอลิกไว้ในตำแหน่งเข้า “ENGAGE” โดยยกด้ามคันบังคับขึ้น และดันไป ขา้ งหน้าใหส้ ุด ถา้ เขา้ ไมไ่ ด้ ให้ใชส้ วติ ช์หมุนเครอ่ื งยนต์หมุนขยบั เฟอื งเพลาขับใหต้ รงกนั 6.3 ติดเคร่ืองยนต์ และใชค้ นั เร่งมือต้งั รอบเครือ่ งยนตต์ ามข้อกำหนดในการใช้อุปกรณ์กซู้ ่อม 6.4 ปลดเหลก็ ยึดใบมดี คำ้ ยันทัง้ 2 ข้าง และเกบ็ เข้าทใี่ หเ้ รียบร้อย 6.5 ควบคุมตำแหน่ง และระดบั ใบมีด โดยใช้คันบงั คบั ใบมดี คำ้ ยันท่ชี ุดลิ้นควบคุม 3 ทาง 7. การใชใ้ บมีดเป็นสมอบก ประกอบกบั การใชก้ ว้านหลกั เพอ่ื ค้ำยนั และยดึ ตัวรถไว้ - ถา้ พน้ื ดินอ่อน ใหล้ ดใบมีดลงแตะพื้น และใช้กระบอกสบู ไฮดรอลกิ กดใบมดี ให้จมลงในพน้ื ดินให้มาก ที่สดุ เทา่ ท่จี ะทำได้ - ถ้าพื้นดินแขง็ อาจใชว้ ิธีขดุ เป็นรอ่ ง เพอ่ื ใหใ้ บมีดฝงั ลงในดินเสยี ก่อนตามสมควร หลังจากนั้นใบมีดจะ กดั ลกึ ลงไปในพนื้ ดินเองเม่อื ใช้กว้าน 8. การใชใ้ บมดี คำ้ ยันประกอบกบั ปั้นจนั่ เพือ่ พยุงตัวรถกู้ การใช้ใบมดี ค้ำยันเพื่อพยุงตัวรถกูใ้ ห้มั่นคง เมื่อใช้งานปั้นจั่น จำเป็นต้องกระทำเมื่อใชป้ ั้นจั่นยกสิ่งของ ที่มีน้ำหนัก มาก ๆ เท่านั้น โดยการลดใบมีดค้ำยันลงแตะพื้นดิน แล้วกดใบมีดลงจนล้อกดสายพาน ล้อที่ 1 หมนุ ตัวได้ 9. การหล่อลืน่ ใบมดี คำ้ ยัน ทำความสะอาดบริเวณสลักบานพับ และจุดหมุนขององค์ประกอบต่าง ๆ แล้วให้การหล่อลื่นโดยการ หยอดน้ำมนั เคร่ืองยนต์ เบอร์ 16 ………………………………………………….. ตอนท่ี 4 กว้านหลกั 1. หน้าที่ และความมุ่งหมาย กว้านหลกั ซง่ึ ควบคมุ และบงั คับการทำงานด้วยระบบไฮดรอลกิ มีความมงุ่ หมายในการใชง้ าน ดังนี้ 1.1 ใช้ในการกู้ยานพาหนะ เช่นรถถัง ฯลฯ ในสนาม โดยใช้ร่วมกับอุปกรณ์กู้ซ่อม อื่นๆ ของรถกู้ เช่น รอกขนาด 70 ตัน และใบมีดค้ำยัน เป็นตน้

ห น้ า | 150 1.2 ใช้กตู้ นเอง ให้เคลอ่ื นที่พ้นไปจากตำบลยากลำบาก 1.3 ใช้ฉดุ ลากยานพาหนะอ่นื ๆ ใหเ้ คล่ือนท่ีขา้ มส่ิงกีดขวาง เชน่ เนนิ เขา ลาดชัน สะพานสูง ลำน้ำ ที่ ลมุ่ โคลนเลน ฯลฯ เมื่อไมส่ ามารถลากจูงให้ข้ามพน้ ไปด้วยคานลากจงู หรือลวดลากจูง 2. ขดี ความสามารถ ของกวา้ นหลัก - ความสามารถในการฉุดลากน้ำหนกั 32 – 35 ตัน - เสน้ ผ่าศนู ยก์ ลางของลวดกว้าน 2.85 ซม. - ความยาวของลวดกว้าน 130 เมตร 3. องค์ประกอบสำคัญ กวา้ นหลักซ่งึ ตดิ ตั้งอยทู่ บี่ ริเวณกงึ่ กลางของตวั รถ ใตห้ อ้ งพลประจำรถ จะมอี งคป์ ระกอบสำคัญ คอื 3.1 เฟอื งขบั กวา้ น และหีบเฟอื งขบั กวา้ น 3.2 ลอ้ ขับลวดกวา้ น ( ล้อหน้า และล้อหลงั ) 3.3 ชุดเฟอื งตัวกลาง 3.4 ชดุ เฟืองขับลอ้ เกบ็ ลวดกว้าน 3.5 ล้อเก็บลวดกว้าน 3.6 ลกู กลิ้งเรียงลวดกวา้ น 3.7 ลกู กลง้ิ รองลวดกวา้ น 3.8 ลูกกลิง้ กดลวดกว้าน 3.9 ชุดเหล็กกันลวดกว้าน 3.10 ชดุ หา้ มล้อกว้าน 3.11 สวิตชส์ ญั ญานเตอื น 4. เครือ่ งควบคุม และคันบงั คับกว้านหลกั เครือ่ งควบคุม และคนั บงั คบั การใชง้ านกวา้ นหลัก ซ่งึ จะตอ้ งใช้งานร่วมกนั คอื 4.1 คันบังคบั ปม๊ั ไฮดรอลิก 4.2 คันบงั คบั หีบเฟอื งขับกวา้ น 4.3 คันเรง่ มอื 4.4 คันบงั คบั กว้านหลักของชุดลนิ้ ควบคมุ 3 ทาง 4.5 คนั หา้ มล้อกวา้ น 4.1 คันบังคับปั๊มไฮดรอลิก ติดตั้งอยู่บนพื้นรถ หน้าที่นั่งพลขับ ทางด้านซ้าย ทำหน้าที่ตัด – ต่อกำลงั ขบั ระหวา่ งเครื่องยนต์ และปั๊มไฮดรอลกิ มี 2 ตำแหนง่ คือ - ตำแหน่งเขา้ “ENGAGE” เมื่อคนั บงั คับอยู่ในตำแหนง่ ดนั ไปข้างหน้าสดุ - ตำแหน่งปลด “DISENGAGE” เมื่อคันบงั คบั อย่ใู นตำแหน่งดึงมาข้างหลงั สดุ 4.2 คันบังคับหีบเฟืองขับกว้าน ติดตั้งอยู่บนพื้นรถ หน้าที่นั่งพลขับ ทางด้านขวาของคัน บังคับปั๊มไฮดรอลิก มีไว้เพื่อให้ผู้ใช้สามารถปรับกำลัง และความเร็วของกว้านหลัก ให้เหมาะสมกับภารกรรม ของกว้าน คนั บังคับหีบเฟอื งขับกวา้ นมี 3 ตำแหน่ง คือ - ตำแหน่งพับเก็บ เมื่อคันบังคับอยู่ในตำแหน่งดันไปข้างหน้าสุด และพับไปทางขวาจนแนบ กับก้านโยงคันบงั คับ - ตำแหน่งความเร็วต่ำ “LOW” เมื่อคันบังคับอยู่ในลักษณะตั้งขึ้น และดันไปข้างหน้าสุด ใช้ สำหรบั การฉุดลากภารกรรมหนัก - ตำแหน่งความเร็วสูง “HIGH” เมื่อคันบังคับอยู่ในลักษณะตั้งขึ้น และดึงมาข้างหลังสุด ใช้ สำหรบั การคลายลวดกว้านออก และการฉุดลากภารกรรมเบา

ห น้ า | 151 4.3 คนั เร่งมอื ใชส้ ำหรับการปรบั ตัง้ รอบความเรว็ ของเครอื่ งยนต์ ตามความตอ้ งการใชง้ าน 4.4 คันบังคับกว้านหลัก ติดตั้งอยู่ที่ชุดลิ้นควบคุม 3 ทาง เป็นคันบังคับแบบควบคุมด้วยแรง แหนบ โดยคันบังคับจะกลับคืนสู่ตำแหน่งว่าง เอง เมื่อปล่อยคันบังคับ คันบังคับกว้านหลักมี 3 ตำแหน่ง คือ คลายออก “OFF”, ว่าง, และม้วนเขา้ “UP” ( UP – WINCH – OFF ) - เมอื่ ดันคนั บงั คบั ไปทางตำแหน่งคลายออก “OFF” จะทำให้ลวดกว้านถกู คลายออก - เม่ือปลอ่ ยคันบงั คบั คนั บงั คบั จะกลบั คนื สตู่ ำแหนง่ ว่าง และล้อกว้านจะหยุดหมุน - เมอื่ ดงึ คันบังคบั มาทางตำแหนง่ ม้วนเขา้ “UP” จะทำใหล้ วดกวา้ นถูกมว้ นเข้า 4.5 คันห้ามล้อกว้าน ติดตั้งอยู่ที่ตัวกว้านหลักทางขวามือของพลขับ เป็นคันบังคับที่สามารถ ปรบั ระดบั ความตึงของห้ามลอ้ และยึดไว้ในตำแหนง่ ทีป่ รบั ไว้นัน้ ได้ ใช้สำหรับยดึ ลอ้ กว้านไมใ่ ห้หมุนตวั กลับ ทำ ให้มอเตอร์ขบั กว้านชำรุดเสยี หาย เมื่อหยุดกว้านในขณะทำการฉุดลากภารกรรมหนกั ข้นึ ลาดชัน 5. สวิตชส์ ัญญานเตอื น ตดิ ตัง้ อยบู่ นปลายแกนขบั ลกู กลง้ิ เรยี งสายลวดกว้าน ทำหนา้ ทต่ี อ่ วงจรสญั ญานไฟ เตือน และแตรเตอื น เพ่อื ให้ผู้ใช้กวา้ นไดท้ ราบเมื่อเหลือลวดกวา้ นพนั อย่กู ับลอ้ เกบ็ ลวดกว้าน 3.5 – 4.5 รอบ 6. แถบสีแดง จะทาไว้บนลวดกว้านเป็นแถบยาว 500 – 550 มม. โดยแถบสีแดงนี้จะปรากฏให้เห็นภายนอก รถ เมอ่ื คลายลวดกวา้ นออกจนเหลอื ลวดกว้านพันอยบู่ นลอ้ เก็บลวดกวา้ น 3-5 – 4.5 รอบ 7. หลกั การกซู้ อ่ มดว้ ยกว้าน 7.1 ประมาณนำ้ หนกั หรอื ความต้านทานของภารกรรมท่จี ะก้ซู ่อมอยา่ งรอบคอบ 7.2 ใช้การต่อลวดกวา้ น และการตอ่ รอกอย่างถกู ตอ้ ง 7.2.1 ถ้าน้ำหนัก หรือความต้านทานของภารกรรมอยู่ในเกณฑ์ 32 – 35 ตัน ให้พิจารณาใช้ วิธีการดงึ โดยตรง หรอื พจิ ารณาใช้การตอ่ รอกตามความเหมาะสม 7.2.2 ถ้าน้ำหนัก หรือความต้านทานของภารกรรม มากกว่า 32 – 35 ตัน ให้ทำการต่อรอก โดยใชร้ อกประจำรถขนาด 70 ตัน

ห น้ า | 152

ห น้ า | 153 7.3 เลอื กตำแหนง่ ทจ่ี อดรถกู้ อยา่ งถูกตอ้ ง ดงั น้ี 7.3.1 เมื่อทำการกู้รถขึ้นลาดชัน ควรจอดรถกู้ให้มีระยะห่างจากหน้ารถกู้ถึงหน้าลาดขาลง มากกว่าช่วงความยาวของตัวรถกู้ หรือช่วงตัวรถที่จะฉุดลากขึ้น เพื่อให้เป็นท่ีจอดของรถที่ถูกกู้ และพยายาม เลอื กจอดบนพืน้ ทีแ่ ขง็ และราบเรียบ 7.3.2 พยายามจอดรถกู้ให้ตรงแนวกับรถที่ต้องการจะฉุดลากขึ้น โดยแนวดึงของสายลวด กว้านจะต้องไม่เบี่ยงเบนจากแนวตรงเกินกว่า 7 องศา มิฉะนั้นจะทำให้ความตา้ นทานในการดึงมากขึ้น ถ้าแนว ของลวดกว้านเบย่ี งเบนไปจากแนวตรงเกิน 7 องศา จากแนวศนู ยก์ ลางของตวั รถกู้ 7.3.3 เม่ือเลือกท่ีจอดรถก้ไู ด้แล้ว ให้ลดใบมดี ค้ำยันลงกดพืน้ ดนิ และเคลอ่ื นรถกไู้ ปขา้ งหนา้ ช้า ๆ เพอ่ื ให้ใบมีดกัดลึกลงไปในดนิ จนแขนใบมีดทำมมุ กับพืน้ ดิน 45 องศา หรือใหโ้ คนใบมีดดา้ นล่างชดิ กับบ่าของ สลักแขนใบมดี หนา้ รถ ซงึ่ ในตำแหน่งน้ี ใบมีดค้ำยันจะรับน้ำหนกั ได้มากที่สุด เหยียบคนั ห้ามลอ้ เท้าลงไปใหส้ ดุ และยดึ คนั หา้ มล้อไว้ ในกรณีทีพ่ ืน้ ดนิ แขง็ จนใบมดี ไม่สามารถกัดลึก ลงไปในพน้ื ดินจนถึงระดบั ความลกึ ทตี่ ้องการ ใหข้ ดุ พืน้ ดินหน้ารถก้ใู หเ้ ปน็ รอ่ งกว้าง 0.5 เมตร ลกึ 0.5 เมตร และมคี วามยาวเทา่ กับใบมดี เพอ่ื วางใบมดี ลงในหลุมนนั้ แตถ่ า้ พน้ื ดนิ ไมแ่ ข็งพอทจี่ ะยดึ ใบมีดคำ้ ยนั รถกูไ้ ว้อยา่ ง มนั่ คง ใหจ้ ดั หา สมอบก หรอื รถคันอน่ื มาเพือ่ ยดึ รถกไู้ ว้ 8. การใชก้ ว้านหลัก 8.1 ตรวจความเรยี บร้อยก่อนใช้งาน 8.2 จดั คนั บงั คับปัม๊ ไฮดรอลิกไว้ในตำแหนง่ เข้า “ ENGAGE ” 8.3 ตดิ เคร่ืองยนต์ และใช้คนั เรง่ มอื ตัง้ รอบเครอื่ งยนต์ไว้ 1,100 รอบ/นาที 8.4 ลดใบมดี ค้ำยันลงเพอ่ื ใช้เป็นสมอบก และนำลวดกว้านออกจากทีเ่ กบ็ 8.5 จัดคันบังคับหีบเฟืองขับกว้านไว้ในตำแหน่งความเร็วสูง “ HIGH ” โดยดึงคันบังคับมาไว้ข้าง หลังสดุ แตถ่ า้ เขา้ คนั บงั คบั ไม่ได้ ให้ดึงคนั บังคับกวา้ นหลกั ไปทางใดทางหน่งึ ใหล้ อ้ กว้านหมนุ ตัวเล็กน้อยเพื่อจัด เฟืองให้ตรง พรอ้ มกบั ดันคนั บังคับหบี เฟอื งขับกว้านไปยงั ตำแหน่งความเร็วสูง “ HIGH ” 8.6 ดันคันบังคบั กวา้ นหลักไปยงั ตำแหนง่ คลายออก “ OFF ” และคลายลวดกวา้ นออกจนได้ความยาว ตามตอ้ งการ 8.7 ต่อลวดกวา้ นเข้ากบั ภารกรรมท่ตี ้องการกู้ 8.8 ดงึ คนั บังคบั กว้านหลกั มายงั ตำแหน่งม้วนเขา้ “ UP ” ใหล้ วดกวา้ นมว้ นเข้าช้า ๆ จนลวดกวา้ นเร่ิม ตงึ แลว้ หยุดกวา้ นอ โดยดนั คันบังคับกลับไปยังตำแหนง่ ว่าง 8.9 ตรวจความมัน่ คง และเรยี บร้อยในการตอ่ ลวดกว้าน หรอื การตอ่ รอก 8.10 จัดคันบังคับหีบเฟืองขับกว้านไว้ในตำแหน่งความเร็วต่ำ “ LOW ” โดยดันคันบังคับไปข้างหน้า สดุ 8.11 ดึงคันบังคับกว้านหลักมายังตำแหน่งม้วนเข้า “ UP ” ภารกรรมที่ถูกกู้จะถูกลวดกว้านดึงเข้ามา ชา้ ๆ 8.12 ในขณะกู้รถ ถ้าต้องการหยุดกว้าน ให้ดันคันบังคับกว้านหลกั ไปยังตำแหน่งว่าง และถ้าเป็นการกู้ รถขึ้นลาดชัน ให้ดึงคันห้ามล้อกว้านโดยเร็วเพื่อไม่ให้ล้อกว้านหมุนกลับ และเมื่อจะเริ่มใช้กว้านดึงอีก ให้ปลด ห้ามลอ้ กวา้ น และดึงคันบงั คบั กว้านหลักมายังตำแหนง่ ม้วนเขา้ “ UP ” โดยเร็ว 8.13 เมื่อเสร็จภารกิจแล้ว ให้ทำความสะอาดลวดกว้าน แล้วม้วนลวดกว้านเก็บเข้าที่ให้หมด และเก็บ อุปกรณเ์ คร่อื งมือเคร่ืองใช้เขา้ ท่ีเกบ็ ใหเ้ รียบร้อย

ห น้ า | 154 9. ขอ้ ควรระมดั ระวงั ในการใช้กวา้ นหลกั 9.1 เมื่อใช้งานกว้านนานกว่า 15 นาที หรือใช้งานในสภาพอากาศร้อน ให้ถอดแผ่นเหล็กปิดรังผึ้ง ระบายความร้อนน้ำมันไฮดรอลิก และเปิดห้องพลประจำรถเพื่อให้มีการระบายความร้อน และการระบาย อากาศในห้องพลประจำรถมากข้ึน เมื่ออากาศไหลผ่านถังน้ำมันไฮรดอลิกได้สะดวกจะทำให้อุณหภูมิของน้ำมนั ลดลง 9.2 เมอื่ ใช้กว้านฉุดลากภารกรรมหนัก จะตอ้ งจดั คันบงั คบั หบี เฟืองขบั กว้านในตำแหน่งความเรว็ ตำ่ “ LOW” 9.3 ในขณะกรู้ ถ หรือใช้กวา้ นฉดุ ลากภารกรรม อย่ายนี อยู่ในแนวรัศมีของลวดกว้าน 9.4 ในขณะคลายลวดกว้านออก ถ้าเห็นแถบสีแดงบนลวดกว้าน หรือเห็นไฟเตือนติดสว่าง หรือมีเสียง แตรเตือนดังขึ้น ให้หยุดการคลายลวดกว้านออกทันที และม้วนลวดกว้านเข้าจนแตรเตือนหยุดดัง และไฟเตือน ดบั เพอ่ื ปอ้ งกนั ไมใ่ ห้สวติ ช์สัญญานเตือนชำรุด 9.5 อยา่ คลายลวดกว้านออกไปกองไว้กับพื้นดนิ เพราะลวดกว้านอาจคลายเกลยี วออกจนใช้การไม่ได้ 9.6 อย่าหล่อลื่นลวดกว้าน และล้อขับลวดกว้านเป็นอันขาด และระวังอย่าทำน้ำมันหกรดลงบนล้อขับ ลวดกวา้ น เพราะจะทำใหล้ วดกว้านลื่น 9.7 การทำความสะอาดลวดกว้าน ใหใ้ ชแ้ ปรงลวด หรอื ใช้เครือ่ งมอื ทำความสะอาดลวดกวา้ นในชุด เครอื่ งมอื ประจำรถกู้ 10. การหลอ่ ล่ืนกวา้ นหลัก การหล่อลืน่ กว้านหลกั ใหป้ ฏิบัติตามตารางกำหนดการหล่อลนื่ อุปกรณก์ ้ซู ่อม 11. ข้อขดั ข้องของกว้านหลกั ในกรณีที่ล้อเก็บลวดกว้าน ม้วนลวดกว้านเข้าเก็บไม่ได้ สาเหตุเกิดจากคลัตช์ล้อเก็บลวดกว้านลื่น เนื่องจากชุดคลัตช์รับแรงบิดได้น้อยกว่า 30 – 40 กก./เมตร ให้แก้ไขด้วยการเดินกว้านโดยไม่มีภารกรรม ให้ ล้อเก็บลวดกว้าน และชุดคลัตช์ทำงานประมาณ 5 – 10 นาที เพื่อให้แผ่นคลัตช์จับกันสนิท และได้ความฝืด เพิม่ ข้ึน 12. อปุ กรณ์ทใี่ ช้งานร่วมกับกว้านหลัก 12.1 รอกขนาด 70 ตัน 12.2 ลวดลากจงู ขนาด 1 เมตร จำนวน 2 เสน้ 12.3 ลวดลากจงู ขนาด 4 เมตร จำนวน 2 เสน้ 12.4 ชุดหว่ งต่อ จำนวน 2 อัน ………………………………………

ห น้ า | 155 ตอนท่ี 5 กวา้ นเล็ก 1. หนา้ ท่ี และความมุ่งหมาย กว้านเล็กซึ่งควบคุม และบังคับการทำงานด้วยระบบไฮดรอลิก มีความมุ่งหมายเพื่อใช้สำหรับฉุดลาก ลวดกว้านหลักไปยังจุดท่ีต้องการใช้ เช่นยานพาหนะที่ติดหล่ม หรือวัตถุสิ่งของที่ตอ้ งการฉุดลากด้วยกว้านหลัก และอยู่ห่างจากรถกู้เป็นระยะทางไกล เป็นการอำนวยความสะดวก และผ่อนแรงเจ้าหน้าที่กู้ซ่อม และเป็น หลกั ประกนั ว่า การคลายลวดกว้านออกจากกวา้ นหลักสามารถดำเนินไปได้อยา่ งตอ่ เนอ่ื งกัน 2. ขดี ความสามารถของกวา้ นเลก็ ความสามารถในการฉดุ ลาก 1 ตนั เสน้ ผ่าศูนย์กลางของลวดกว้าน 6.2 มม. ความยาวของลวดกว้าน 265 เมตร ความเรว็ ในการฉดุ ลาก 16.65 – 39.37 เมตร/นาที 3. องค์ประกอบสำคญั กวา้ นเล็กจะตดิ ตงั้ อยู่บนบงั โคลนด้านหน้าซ้ายข้างหอ้ งพลขับ และมีองค์ประกอบสำคัญ ดังน้ี 3.1 มอเตอร์ขับกวา้ น 3.2 ชดุ เฟืองขบั กวา้ น 3.3 ชดุ เฟอื งตดั – ตอ่ กำลัง และคันบงั คับ 3.4 ลอ้ กวา้ น 3.5 ชดุ ลูกกลิง้ กดลวดกว้าน 3.6 ชดุ ลกู กลง้ิ เรยี งลวดกวา้ น 3.7 ลวดกวา้ น และขอเกาะ 4. เคร่ืองควบคุม และคนั บงั คบั กวา้ นเล็ก เครอ่ื งควบคุม และคันบงั คบั กวา้ นเลก็ ซง่ึ จะตอ้ งใชง้ านรว่ มกัน คอื 4.1 คนั บังคบั ปั๊มไฮดรอลิก 4.2 คันเร่งมือ 4.3 คันบังคบั กวา้ นเล็กของชดุ ล้นิ ควบคุม 3 ทาง 4.4 คันบังคับชุดเฟอื ง ตดั - ตอ่ กำลงั 5. คันบังคับกวา้ นเลก็ ติดตง้ั อยทู่ ่ีชดุ ลนิ้ ควบคมุ 3 ทาง เป็นคันบงั คับแบบควบคมุ ดว้ ยแรงแหนบ โดยคนั บงั คบั จะกลบั คืนสตู่ ำแหน่งว่างเอง เมื่อปลอ่ ยคนั บังคบั คนั บงั คบั กวา้ นเล็กมี 3 ตำแหนง่ คอื WINCH CABLE, วา่ ง , CRANE 5.1 เมื่อดึงคนั บงั คบั มาทางตำแหน่งมว้ นลวดกวา้ น “ WINCH CABLE ” จะทำใหล้ วดกว้านถกู มว้ นเขา้ 5.2 เม่อื ปลอ่ ยคันบงั คับ ๆ จะกลับคืนสู่ตำแหน่งว่าง และล้อกวา้ นจะหยุดหมุน 5.3 เมื่อดันคันบงั คบั ไปทางตำแหน่งป้ันจั่น “ CRANE ” และยึดคันบังคบั ไว้ จะเป็นการต่อวงจรน้ำมัน ไฮดรอลกิ ใหก้ บั ชดุ ล้ินควบคุม 4 ทางของป้ันจ่นั หมายเหตู คนั บงั คับกวา้ นเลก็ จะไม่มตี ำแหน่ งคลายลวดกวา้ นออก เน่อื งจากลวดกว้าน และลอ้ กวา้ นมีขนาดเล็ก สามารถคลายออกดว้ ยแรงคนไดส้ ะดวกและรวดเรว็ 6. คันบังคับชุดเฟืองตัด – ต่อกำลัง ติดตั้งอยู่ที่ตัวกว้านเล็ก ทำหน้าที่ตัด – ต่อกำลังขับระหว่างชุดเฟืองขับ กวา้ น และลอ้ กวา้ น คนั บังคับนีม้ ี 2 ตำแหน่ง คอื

ห น้ า | 156 6.1 ตำแหน่งเข้า “ ENGAGE ” เมื่อคันบังคับอยู่ในตำแหน่งดันออกจากตัวกว้าน ล้อกว้านจะได้รับ กำลังขบั จากมอเตอร์ และชุดเฟืองขบั กวา้ น 6.2 ตำแหน่งปลด “ DISENGAGE ” เมื่อคันบังคับอยู่ในตำแหน่งดึงเข้าหาตัวกว้าน ล้อกว้านจะไม่ได้ รับกำลงั ขับจากมอเตอร์ และชุดเฟอื งขับกว้าน ทำใหล้ ้อกว้านหมุนฟรีได้ 7. ชุดลกู กลงิ้ กดลวดกว้าน ทำหน้าที่กดลวดกว้านไว้กับล้อกว้านเพื่อไม่ให้ลวดกว้านคลายออก และ ไมใ่ ห้ล้อกวา้ นหมุนฟรีอยา่ งรวดเร็วเกินไป จนลวดกว้านย่งุ 8. ชดุ ลกู กลิง้ เรยี งลวดกวา้ น ได้รับกำลังขับจากชุดเฟืองขับกว้าน เพื่อทำหน้าที่ช่วยเรียงลวดกว้านให้พัน รอบลอ้ กวา้ นได้อยา่ งเปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ยพอควร 9. การใช้กว้านเลก็ โดยปกตกิ ว้านเล็กจะใช้ประกอบกบั รอกเปิดข้าตวั เล็ก เพื่อบงั คบั ทศิ ทางในการฉุดลาก และรองรับลวด กวา้ นเล็กไมใ่ หช้ ำรุดเสียหาย ขั้นตอนการปฏิบัติ 9.1 ตรวจความเรียบร้อยก่อนใชง้ าน และถอดฝาครอบกว้านเล็กออกเก็บให้เรียบรอ้ ย 9.2 ใช้รอกเปดิ ขา้ งตัวเลก็ ตดิ ตง้ั เขา้ กบั รถทต่ี อ้ งการกู้ หรอื ภารกรรมทต่ี อ้ งการใชก้ ว้านหลักฉุดลาก 9.3 จัดคนั บงั คับชดุ เฟืองตัด – ตอ่ กำลัง ไวใ้ นตำแหนง่ ปลด “ DISENGAGE ” 9.4 ดึงลวดกว้านเล็กออกไปคล้องกับรอกเปิดข้างตัวเล็ก และดึงลวดกว้านเล็กกลับมาเกี่ยวเข้ากับห่วง ปลายลวดกวา้ นหลกั ของรถกู้ 9.5 จดั คนั บังคบั ชดุ เฟืองตัด – ต่อกำลัง ไว้ในตำแหนง่ เข้า “ ENGAGE ” 9.6 จดั คนั บงั คับปม๊ั ไฮดรอลกิ ไวใ้ นตำแหนง่ เขา้ “ ENGAGE ” 9.7 ตดิ เครื่องยนต์ และใช้คันเรง่ มอื ต้งั รอบเครื่องยนตไ์ ว้ 800 รอบ/นาที 9.8 จดั คนั บังคับหีบเฟอื งขับกว้านหลักไว้ในตำแหนง่ ความเรว็ สูง “ HIGH ” 9.9 ดันคันบังคับกว้านหลักกว้านหลักไปยังตำแหน่งคลายออก “ OFF ” และดึงคันบังคับกว้านเล็ก มายังตำแหนง่ ม้วนลวดกว้าน “ WINCH CABLE ” จนลวดกว้านหลกั ถูกดงึ ไปถึงจดุ ที่ตอ้ งการใช้ ข้อควรระวัง อย่าดงึ ปลายลวดกว้านหลักไปจนชิดกบั รอกเปิดขา้ งตัวเล็ก จะทำใหล้ วดกวา้ นเล็กพลดั หลดุ จากรอก จนลวดกว้าน และรอกชำรดุ เสียหายได้ 9.10 ปลดลวดกว้านเล็กออกจากลวดกว้านหลัก แล้วต่อลวดกว้านหลักเข้ากับภารกรรมที่ต้องการฉุด ลาก และเมอ่ื ใช้รอกขนาด 70 ตนั ประกอบกับลวดกวา้ นหลกั ดว้ ย ใหป้ ฏบิ ัติดังนี้ 9.11 ต่อรอกขนาด 70 ตนั เข้ากบั ภารกรรมทีต่ อ้ งการฉุดลาก 9.12 คล้องลวดกว้านหลกั เข้ากับรอกขนาด 70 ตัน 9.13 เก่ยี วขอปลายลวดกวา้ นเลก็ เขา้ กับห่วงปลายลวดกวา้ นหลักอกี คร้ังหนง่ึ 9.14 ดงึ ลวดกว้านพลักไปยังรถกู้ แลว้ ยึดลวดกวา้ นหลกั เข้ากับรถกตู้ ามวธิ ีการที่เหมาะสม 9.15 มว้ นลวดกวา้ นเล็ก เขา้ เกบ็ ในล้อกวา้ นให้เรียบรอ้ ย แลว้ จัดคนั บังคับชดุ เฟืองตัด - ตอ่ กำลงั ไวใ้ น ตำแหน่งปลด 10. ขอ้ ควรระมดั ระวังในการใช้กวา้ นเล็ก 10.1 การบงั คับใช้งานกวา้ นหลกั และกว้านเลก็ ให้กระทำโดยจา้ หน้าที่คนเดยี วกัน 10.2 ในขณะใชง้ านกว้านเลก็ รอบเคร่ืองยนตจ์ ะต้องไม่เกิน 800 รอบ/นาที เนือ่ งจากมอเตอร์ขบั กวา้ น มีขนดเลก็ ไม่ต้องการแรงดนั น้ำมันไฮดรอลกิ มาก

ห น้ า | 157 10.3 การคลายลวดกว้านเลก็ ออกใช้งาน จะต้องเหลือลวดกว้านพนั อย่บู นลอ้ กวา้ นอยา่ งนอ้ ย 3 รอบ 10.4 เมื่อเลิกใช้งานจะต้องจัดคันบังคับชุดเฟืองตัด – ต่อกำลัง ไว้ในตำแหน่งปลด มิฉะนั้นจะทำให้ ลอ้ กวา้ นเลก็ ม้วนเขา้ ได้ แม้ว่าจะจดั คันบังคับกวา้ นเล็กท่ชี ดุ ลน้ิ ควบคุม 3 ทางไว้ในตำแหน่งวา่ งแล้ว 10.5 เมื่อเลิกใช้งาน ให้ทำความสะอาดลวดกว้าน แล้วม้วนเข้าเก็บให้เรียบร้อยตามสมควร เก็บรอก เปิดข้างตัวเลก็ และปดิ ฝาครอบกวา้ นเลก็ 11. การหล่อล่ืนกว้านเลก็ 11.1 เมื่อใช้งานกว้านเล็กครบ 25 ชั่วโมง ให้หล่อลื่นองค์ประกอบของกว้านเล็กด้วยไขข้นซัลเฟอไรส์ ดังนี้ 11.1.1 ชดุ เฟอื งขับลกู กล้ิงเรียงลวดกวา้ น 11.1.2 ชดุ เฟืองขับกวา้ น 11.1.3 ชดุ ปลอกเลอื่ นเฟืองตดั - ตอ่ กำลังขบั 11.2 ใหก้ ารหลอ่ ลื่นบ้ชู รองลกู กลิง้ ตา่ ง ๆ ด้วยไขข้นแคลเซีย่ มเบอร์ 2 11.3 อย่าหล่อลื่นลวดกว้านเล็ก และล้อกว้าน อนญุ าตใหใ้ ช้น้ำมันหลอ่ ลืน่ ชะโลม แล้วเช็ดใหแ้ หง้ 11.4 รกั ษาลวดกวา้ นให้สะอาดอยเู่ สมอ ……………………………………….

ห น้ า | 158 ตอนที่ 6 อุปกรณ์ลากจูง อปุ กรณล์ ากจูงประจำรถกู้ ใช้สำหรับการลากจูงยานพาหนะ ซ่ึงเปน็ งานกู้ซอ่ มทีส่ ำคญั อีกอย่างหนง่ึ 1. หน้าที่ และความมุ่งหมาย ใชส้ ำหรับการลากจูงรถถงั ขนาดกลางท่ีชำรดุ เสียหายจนไม่สามารถขบั เคล่อื นไปไดด้ ว้ ยตนเอง การลาก จูงสามารถกระทำไดท้ ัง้ การลากจงู ระยะใกล้ และการลากจงู ระยะไกล 2. ขดี ความสามารถของอปุ กรณ์ลากจงู ความสามารถในการรบั น้ำหนักลากจูงของคานลากจูง 35 – 38 ตัน ความสามารถในการรับนำ้ หนักลากจูงของขอพ่วง (ไม่น้อยกว่า) 30 ตัน ความยาวของคานลากจูง 2.125 เมตร ความเร็วในการลากจูง (บนถนนลกู รัง ชัน้ 2 ) 18 กม./ชม. (บนถนนชนั้ 1 ) 25 - 28 กม./ชม. ความสามารถในการปนี ลาดขณะลากจงู (ลาดตรง) 15 องศา (ลาดขา้ ง) 17 องศา ระยะลากจงู โดยตอ่ เนอื่ ง (ณ อุณหภมู ิ 35 องศาเซลเซียส) 20 กม. 3. อุปกรณล์ ากจูง มี 2 อย่าง คอื 3.1 ขอพว่ ง ขอพ่วง ซง่ึ ตดิ ตั้งอยบู่ รเิ วณก่งึ กลางด้านท้ายรถ ประกอบด้วยสว่ นสำคญั 4 สว่ น คือ ตัว ขอพว่ ง, ชดุ แหนบรับแรงกระแทก, กลอนยึดขอพ่วง และฝาปิดเรอื นขอพว่ ง 3.2 คานลากจูง คานลากจูง ทำด้วยท่อเหล็กกล้า ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วน คือ คานหลัก และคานรอง 3.2.1 คานหลกั ประกอบดว้ ยตัวคาน ซึ่งมหี หู ่วงสำหรบั สวมเกี่ยวขอพว่ ง และขอ้ ตอ่ บานพับ เช่ือมติดอยทู่ ีป่ ลายแต่ละด้าน 3.2.2 คานรอง ประกอบด้วยตัวคาน ซึ่งมีข้อต่อบานพับสำหรับสวมต่อกับตัวคานหลัก และ หูหว่ งเชอ่ื มตดิ อยูท่ ่ีปลายแตล่ ะดา้ น 4. การใชอ้ ุปกรณ์ลากจงู การลากจูงรถถงั ชำรุดกระทำได้ 2 วธิ ี คือ การลากจูงดา้ นหนา้ กระทำไดก้ ับรถถัง และยานยนตอ์ ืน่ ๆ ทีไ่ มม่ ีเครื่องอปุ กรณก์ ีดขวางอยูท่ างด้านหน้ารถ การลากจงู ดา้ นหลัง กระทำได้กบั รถถงั และยานยนต์ท่มี เี ครื่องอุปกรณก์ ีดขวางอยทู่ างด้านหน้ารถ เช่นใบมีด ค้ำยันของรถสายพานกซู้ ่อมกู้ซ่อม แบบ 653 เปน็ ต้น 4.1 การลากจูงด้านหน้า กระทำโดยการต่อคานลากจูง เข้ากับขอลากจูงด้านหน้าของรถถัง และขอ พว่ งของรถกู้ โดยปฏิบตั ิ ดังน้ี 4.1.1 ประกอบคานลากจูง โดยประกอบคานรองเข้ากับคานหลัก และประกอบหูห่วงลากจูง ด้านหน้า เขา้ กบั หหู ว่ งที่ปลายคานลากจงู ทัง้ สองขา้ ง 4.1.2 สวมเกีย่ วหูห่วงลากจงู ของคานลากจงู เข้ากับขอลากจูงด้านหนา้ รถถงั ทจี่ ะลากจูง 4.1.3 ยกคานลากจูงข้ึนใหไ้ ด้ระดบั เสมอกบั ขอพว่ งของรถกู้ 4.1.4 เปิดขอพว่ งของรถกูไ้ ว้ และถอยหลงั รถก้ใู หต้ รงแนวกบั รถถงั แล้วสวมเกีย่ วหูหว่ งปลาย คานลากจงู เขา้ กับขอพ่วง ปดิ ขอพว่ ง และใส่สลักกนั หลดุ ใหเ้ รียบรอ้ ย 4.2 การลากจูงดา้ นหลัง กระทำโดยการตอ่ คานลากจูงเข้ากับหลกั รับหูห่วงลากจูงด้านท้ายรถ และขอ พว่ งของรถกู้ โดยปฏิบตั ิ ดังนี้

ห น้ า | 159 4.2.1 ประกอบคานลากจูง โดยประกอบคานรองเข้ากับคานหลัก และประกอบหูห่วงลากจูง ดา้ นหลงั เขา้ กบั หหู ่วงที่ปลายคานลากจูงทั้ง 2 ข้าง 4.2.2 สวมเกี่ยวหูห่วงลากจูงของคานลากจูง เข้ากับหูห่วงลากจูงด้านหลังของรถถังที่จะลาก จงู ใส่สลกั และสลักกนั หลุดใหเ้ รยี บร้อย 4.2.3 ยกคานลากจูงขึ้นให้ได้ระดบั เสมอกับความสงู ของขอพ่วงรถกู้ 4.2.4 เปดิ ขอพว่ งของรถกูไ้ ว้ และถอยหลงั รถกใู้ หต้ รงแนวกับรถถัง แล้วสวมเก่ยี วหหู ่วงปลาย คานลากจูงเข้ากบั ขอพว่ ง ปิดขอพ่วง และใส่สลักกนั หลุดใหเ้ รียบร้อย 5. ขอ้ ควรระวงั ในการลากจงู 5.1 พลขับจะต้องเลือกตำแหน่งเกียร์ และใช้ความเร็วให้เหมาะสมกับสภาพถนน และเส้นทางในภูมิ ประเทศในขณะทำการลากจูง อย่าใช้เกียร์สูงเมื่อทำการลากจูงบนถนนที่มีความลื่น ผิวเรียบแข็ง เช่น ถนนลาดยาง หรือถนนคอนกรตี หรือขณะลงลาดทม่ี ชี ่วงยาว 5.2 ในขณะทำการลากจูงให้หลีกเลี่ยงการใช้คันบังคับเลี้ยวในตำแหน่งที่ 2 ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในกรณีทีจ่ ะต้องใชค้ นั บังคับเลยี้ วในตำแหน่งท่ี 2 ให้ใช้ในลกั ษณะดงึ คนั บงั คับเล้ยี ว แล้วปล่อยซ้ำ ๆ กันเป็นชว่ ง ส้ัน ๆ และจะตอ้ งมผี ใู้ ห้สัญญานเลี้ยว ซึ่งจะต้องสงั เกตลักษณะความแตกต่างในการเลีย้ วระหว่างรถกูก้ บั รถท่ีถูก ลากจูง การเลี้ยวรถ และการถอยหลังรถในบริเวณพื้นที่คับแคบ จะต้องมีผู้ให้สัญญาน หรือกระทำตามคำส่ัง ของ ผบ.รถ 5.3 ในขณะทำการลากจูง ควรหลีกเลี่ยงการเร่งความเร็ว การลดความเร็ว และการหยุดรถอย่าง กระทันหัน 5.4 ถ้าจะลากจูงรถที่มีระบบขับเคลื่อนรถชำรุด ทำให้สายพานไม่สามารถปรับความเร็วให้แตกต่างกัน ได้ในขณะบังคับเลี้ยว เช่นหีบเฟืองขับขั้นสุดท้ายชำรุด หรือเครื่องเปลี่ยนความเร็วชำรุด ฯลฯ ให้ถอดข้อต่อ เพลาขับระหว่างเครื่องเปลี่ยนความเร็ว กับชุดเฟืองบังคับเลี้ยวออกทั้ง 2 ข้าง หรือถอดเฉพาะข้างที่ชำรุด หรือ ถอดสายพานออกจากล้อขับสายพาน แล้วต่อใหม่บนล้อกดสายพานล้อที่ 5 ก็ได้ ( กระทำได้เฉพาะสายพาน ดา้ นขวาเท่านน้ั ) 5.5 เมือ่ ทำการลากจงู ด้วยลวดลากจงู ขนาด 4 เมตร จะตอ้ งมพี ลขบั มีพลขับประจำอยู่ในหอ้ งพลขบั ของรถถงั ทถ่ี ูกลากจูง เพ่ือใชค้ ันบงั คับเลยี้ ว และหา้ มล้อรถ และจะตอ้ งลากจูงด้วยความเร็วต่ำ การบังคบั เล้ียว ควรกระทำตาม คำสง่ั ของผ้ใู หส้ ัญญานท่ีอยภู่ ายนอกรถ 6. การบริการ และการหล่อล่นื อปุ กรณ์ลากจูง 6.1 ทำความสะอาดอุปกรณล์ ากจงู ใหส้ ะอาด และชะโลมน้ำมนั หลอ่ ล่ืนเพ่ือปอ้ งกันสนิม ก่อนเก็บเข้าท่ี หลงั จากใช้งานเสรจ็ แลว้ 6.2 เมื่อใช้ขอพ่วงทำการลากจูงครบ 500 กม.แล้วให้ทำการหล่อลื่นองค์ประกอบภายในเรือนขอพ่วง ด้วยส่วนผสมของไขข้นโซเดียมเบอร์ 3 ZN-3GB 492-65 จำนวน 50 เปอร์เซ็นต์ และน้ำมันเครื่องเบอร์ 16 Q/SY 8014-66 จำนวน 50 เปอรเ์ ซ็นต์ ในปริมาณ 1,000 กรัม เขา้ ไปทางจุกเติมท่ีเรอื นขอพว่ ง 6.3 เมื่อใช้ขอพ่วงลากจูงครบ 1,000 กม. ให้ถอดแยกชุดขอพ่วงออกทำความสะอาด ตรวจสภาพ และ ประกอบเข้าที่เดิม แล้วทำการหล่อลื่นด้วยส่วนผสมของสารหล่อลื่นที่กล่าวไว้ในข้อ 6.2 ด้วยปริมาณ 2,000 กรมั

ห น้ า | 160 ตอนท่ี 7 เครอ่ื งมอื เคร่อื งใชป้ ระจำรถสายพานกซู้ ่อม แบบ 653 1. เครอ่ื งมอื เครื่องใช้ ท่ีจา่ ยประจำรถกู้ มีดังน้ี 1.1 เครอ่ื งมือ และอปุ กรณก์ ูต้ นเอง 1 ชุด 1.2 หว่ งขอ้ ตอ่ 8 อัน 1.3 ลวดลากจูง ขนาด 1 เมตร 2 เส้น 1.4 ลวดลากจูง ขนาด 4 เมตร 2 เส้น 1.5 พลวั่ พร้อมด้าม 2 อนั 1.6 ขวานพร้อมดา้ ม 1 เลม่ 1.7 จอบพร้อมด้าม 1 อนั 1.8 คอ้ นใหญพ่ ร้อมด้าม 1 อนั 1.9 ชะแลงใหญ่ 1 อัน 1.10 ชะแลงเลก็ 1 อัน 1.11 เลือ่ ยไม้ 1 อนั 1.12 เคร่อื งมอื ช่างท่วั ไป 1 ชุด 1.13 เคร่อื งมือ และเคร่ืองวัดสำหรับการถอดแยก และการประกอบ องคป์ ระกอบของรถถัง 1 ชดุ 2. ชดุ ลวดสลงิ ยกองค์ประกอบต่าง ๆ ของรถถัง มดี ังนี้ 2.1 ชดุ สลิงยกป้อมปนื (รูปภาพที่ 7-14) 2..2 ชุดสลงิ ยกเคร่ืองยนต์ (รูปภาพที่ 7-15) 2.3 ชุดสลิงยกเครื่องเปลี่ยนความเร็ว (รูปภาพท่ี 7-16) 2.4 ชดุ สลิงยกหบี เฟอื งถ่ายทอดกำลัง (รูปภาพท่ี 7-17) 2.5 ชุดสลิงยกฝาปิดหอ้ งเครอื่ งยนต์ (รปู ภาพที่ 7-18) 2.6 ชดุ สลิงยกฝาปดิ ห้องพลประจำรถ (รปู ภาพท่ี 7-19) 2.7 ชดุ ขอยก ชุดเฟอื งบงั คับเล้ียว และหา้ มล้อ (รูปภาพท่ี 7-20 และ 7-21 ) การใชเ้ ครื่องมือ และชุดสลิงยกต่าง ๆ จะมคี ำอธิบายอยใู่ นหวั ขอ้ ทเี่ กีย่ วกับการซอ่ มบำรุงอปุ กรณ์ เฉพาะ รายการนน้ั ๆ ชดุ สลงิ ยกฝาปดิ หอ้ งเครื่องยนต์ สามารถใชฝ้ าปิดหอ้ งพลประจำรถของรถชนดิ เดียวกันได้ ……………………………………….

ตารางการหลอ่ ลนื่ รถสายพานก้ซู ่อม แบบ 653 ตำบลหลอ่ ล่นื องคป์ ระกอบหรอื ระบบ จำนวน สารห เคร่ืองพยงุ ตัวรถ จุดหล่อล่นื ล้อปรบั สายพาน 2 ไขขน้ แคลเ ล้อกดสายพาน ZG-2G บู้ทดุมแขนล้อกดสายพาน ตลบั ลูกปืนหวั คานรบั แรงบดิ 10 เครื่องกลไกปรบั สายพาน 10 10 2 เครอ่ื งผอ่ นแรงสะเทือน 4 สว่ นผสมข และแอลก ห้องเครื่องยนต์และ ระบบหล่อล่ืน 1 น้ำมนั เคร เคร่อื งเปลย่ี นความเร็ว ปั๊มสบู ฉดี นำ้ มนั เชือ้ เพลงิ 1 เ ค ร ื ่ อ ง ค ว บ ค ุ ม ค ว า ม เ ร็ ว 1 เครอ่ื งยนต์ 1 สายขบั เครื่องวดั ความเร็ว 1 หบี เฟืองถา่ ยทอดกำลงั

ห น้ า | 1 หลอ่ ลืน่ ตรวจ/เติม ระยะเวลา ความจุและวิธีการหลอ่ ลน่ื ปบ.ขน้ั ท่ี 3 ถ่าย/เปล่ียน เซียมเบอร์ 2 GB491-65 ” เมื่อทำการถอดแยกและ ” ประกอบ ” ” ” ” ป บ . ข ั ้ น 2 ห ร ื อ เ มื่ อ 60 ลติ ร (เม่ือวดั ด้วยเหล็ก ” ” ” เสื่อมสภาพ วัดนำ้ มนั เครอ่ื งยนต)์ ของกลเี ซอรีน ปบ.ข้ัน 1 ปบ.ข้นั 3 เติมด้วยกาหยอด กอฮอล์ เมอ่ื เส่ือมสภาพ นำ้ มนั เครอื่ งประมาณ 20 รอื่ งเบอร์ 16 ปบ.ขนั้ ท่ี 3 – 30 กรมั 6 - 7 ลติ ร, เติมจนถึงรอย ” ปบ.ขน้ั ท่ี 3 บากบนเหลก็ วัดฯ ” ” ปบ.ขั้นที่ 2 ”

ตารางการหล่อลื่น รถสายพานกซู้ อ่ ม แบบ 653 (ตอ่ ) ตำบลหล่อล่นื องคป์ ระกอบหรือระบบ จำนวน สารห จุดหลอ่ ลื่น ห้องเครื่องยนต์และ เคร่อื งเปลีย่ นความเร็ว 1 นำ้ มันเคร เครื่องเปลี่ยนความเร็ว (ตอ่ ) ชุดเฟอื งบังคบั เลย้ี ว 2 ส่วนผสมข น้ำมนั เคร่ือ และไขขน้ โ คลัตช์พดั ลมระบายความรอ้ น 1 ไขขน้ ZN-GB คลัตชช์ ดุ เฟอื งบังคบั เลี้ยว 2 คลัตชห์ ลัก 1 บ ู ้ ท แ ก น ท ุ ่ น ม อ เ ต อ ร ์ ห มุ น 1 เครือ่ งยนต์ 2 ไขขน้ ซ หีบเฟืองขับขนั้ สดุ ท้าย Q/SY คนั บงั คับและเครอ่ื ง ชดุ คันเกยี ร์ 1 ไขข้นแคลเ ควบคมุ ในหอ้ งพลขบั ZG-2G ชุดข้อต่อและกระเดือ่ งกา้ นโยง คนั เกยี ร์ 1 แกนแป้นคลตั ช์ 1

ห น้ า | 2 หลอ่ ล่ืน ระยะเวลา ความจแุ ละวิธกี ารหลอ่ ล่ืน รอ่ื งเบอร์ 16 ตรวจ/เติม ถา่ ย/เปลย่ี น 12.5 – 13.5 ลติ ร, เติม ปบ.ขนั้ ท่ี 2 เม่ือเสอื่ มสภาพ จนถงึ รอยบากบนเหล็กวัด ฯ ของ ” ” ตวั ละ 2.5 ลิตร องเบอร์ 16 โซเดยี ม ” ” 100 – 150 กรมั นโซเดียม B492-77 ” - 70 – 100 กรมั ” ” - 75 – 100 กรมั ” ปบ.ขน้ั ที่ 3 - ” - ปบ.ขั้นที่ 2 4,800 กรมั เติมทีเ่ รือน ซลั เฟอไรส์ หบี เฟอื ง 2 ,500 กรัม 1029-64 และเตมิ ทจ่ี กุ เติมหัวเพลา 2,300 กรมั เซียมเบอร์ 2 ปบ.ขน้ั ท่ี 3 GB491-65 ”” ””

ตำบลหลอ่ ลื่น องคป์ ระกอบหรือระบบ จำนวน สารห จุดหล่อลน่ื คันบงั คับและเคร่อื ง ลกู ปนื แกนแป้นคลตั ชแ์ ละแปน้ 1 ไขข้นแคลเ ควบคุมในห้องพลขับ ห้ามลอ้ ZG-2G (ต่อ) แกนคันบงั คับเลี้ยว 1 แกนข้อเหวี่ยงก้านโยงคันเกียร์อัน 1 ตง้ั ในห้องเครอ่ื งยนต์ เคร่อื งกลไกเปดิ -ปดิ ฝาปิดหอ้ งพล 1 ขับ นำ้ มันเคร จุดหมุน, แกนต่าง ๆ ซ่งึ หมนุ ตวั , ขยบั เคลื่อนที่ไดข้ องก้านโยง และ คนั บังคับตา่ ง ๆ 2 ไขขน้ แคลเ ห้องพลประจำรถ เคร่อื งกลไกขบั หมุนเครื่องทำ ความร้อน 2 ลูกปนื รองรบั ปอ้ มตรวจการณ์ของ ผบ.รถ และพลยิงปนื กล 1 ฐานติดต้งั ปืนกล - ชน้ิ ส่วนเคลอ่ื นทขี่ องชอ่ งรบั กล้อง ตรวจการณ์ และกล้องตรวจ การณ์ - นำ้ มนั เคร บานพับและกลอนยึดของฝาปดิ ชอ่ งทางเขา้ -ออกตา่ ง ๆ

ห น้ า | 3 หล่อลน่ื ระยะเวลา ความจุและวธิ กี ารหลอ่ ลน่ื เซียมเบอร์ 2 ตรวจ/เติม ถา่ ย/เปล่ยี น GB491-65 ปบ.ขนั้ ท่ี 3 ” ” ” ” ”” รื่องเบอร์ 16 ปบ.ขั้นที่ 1 เซยี มเบอร์ 2 เมือ่ ใชง้ านใน ฤดูหนาว ” ปบ.ขน้ั ที่ 2 ” ปบ.ขั้นท่ี 3 ”” รือ่ งเบอร์ 16 ปบ.ข้นั ท่ี 1

ตารางการหล่อลื่น รถสายพานกซู้ อ่ ม แบบ 653 (ตอ่ ) ตำบลหลอ่ ล่นื องค์ประกอบหรือระบบ จำนวน สารห อุปกรณ์ลากจูง ขอพ่วง จุดหล่อลืน่ 1 ส่วนผสมข โซเดยี ม 70 น้ำมันเครื่อ 30% ตารางการหล่อลน่ื อปุ กรณก์ ซู้ ่อม (ป้นั จั่น) ตำบลหลอ่ ลืน่ องค์ประกอบหรอื ระบบ จำนวน สารห จุดหล่อลน่ื ปั้นจ่ัน สลักบานพบั หูคานปั้นจัน่ 2 ไขข้นแคลเ ZG-2G สลักบานพบั หูกระบอกสบู ไฮดรอ 2 ลกิ ยกคานปนั้ จนั่ เฟืองวงแหวนปัน้ จั่น 1 สลักหูกระบอกสูบไฮดรอลกิ ยืด- 2 หดคานปั้นจ่ันตัวใน ลูกกลิ้งรองรับคานป้นั จนั่ ตัวใน - และลูกกล้งิ ตา่ ง ๆ

ห น้ า | 4 หลอ่ ลื่น ระยะเวลา ความจแุ ละวธิ ีการหลอ่ ล่นื ของไขขน้ ตรวจ/เติม ถ่าย/เปลี่ยน 1,000 กรมั เม่อื ทำการ 0% และ ปบ.ขน้ั ท่ี 2 ถอดแยกองคป์ ระกอบ องเบอร์ 16 และเมือ่ ประกอบเข้าทแ่ี ล้ว ให้หล่อลื่นด้วยสารหลอ่ ลืน่ 2,000 กรมั หล่อลน่ื ระยะเวลา ความจุและวิธีการหลอ่ ล่นื ตรวจ/เตมิ ถ่าย/เปลี่ยน ล้างทำความสะอาด และ ทา เซยี มเบอร์ 2 เม่อื ใช้งานครบ ดว้ ยไขข้น GB491-65 20 ชว่ั โมง ” ”” ” ” ”” ”” ” ””

ตารางการหลอ่ ลืน่ อปุ กรณก์ ซู้ อ่ ม (ปั้นจั่น) (ตอ่ ) ตำบลหลอ่ ลน่ื องค์ประกอบหรือระบบ จำนวน สารห ปั้นจัน่ (ต่อ) จดุ หลอ่ ล่ืน แกนชุดรอกปลายคานป้ันจน่ั ตัว ใน 1 ไขขน้ แคลเ ZG-2G แกนรอกชดุ ขอยก ตลบั ลกู ปนื ขอยก 1 1 แกนรอกรับลวดกวา้ นปลายคาน ป้นั จั่น 1 ตลับลกู ปืนลอ้ กวา้ น 1 ลกู กลง้ิ แท่นปนั้ จัน่ 2 ไขขน้ อณุ ห แกนชุดหา้ มล้อกว้าน 2 ZL—ZG ตลบั ลูกปืนชุดห้ามล้อกว้าน 1 64 2 ไขข้นแคลเ

ห น้ า | 5 หล่อล่ืน ระยะเวลา ความจแุ ละวิธกี ารหลอ่ ล่ืน ตรวจ/เติม ถ่าย/เปล่ียน หลอ่ ลน่ื ดว้ ยกระบอกอดั ไขข้น เซียมเบอร์ 2 เมื่อใชง้ านครบ ” GB491-65 5 ชว่ั โมง ล้างทำความสะอาด และ ทา ”” ด้วยไขขน้ หล่อลืน่ ด้วยกระบอกอดั ” เมือ่ ใช้งานครบ ไขขน้ ” 10 ชวั่ โมง ” ” เมอ่ื ใช้งานครบ ” 5 ชัว่ โมง ” ลา้ งทำความสะอาด และ ” เมอ่ื ใชง้ านครบ ทา ดว้ ยไขขน้ 10 ชั่วโมง หภูมิต่ำเบอร์ เม่อื ใช้งานครบ G/SY1021- 5 ชั่วโมง ” เซียมเบอร์ 2 เมื่อใช้งานครบ ” 10 ชว่ั โมง

ตารางการหล่อลื่น อปุ กรณก์ ซู้ อ่ ม (กว้านหลักและกว้านเลก็ ) ตำบลหล่อลน่ื องคป์ ระกอบหรอื ชิ้นสว่ น ก่อนใชง้ าน หลงั กว้านหลักและห้อง หบี เฟืองขับกวา้ น ตรวจความ ทำคว กว้าน คล่องตัวในการ สะอา หมุน ให้กา รอกขนาด 70 ตัน และรอกเลก็ ล่นื ตา ” ความ กว้านหลกั ลูกกลง้ิ กนั สายลวดกวา้ นตวั นอน ” และลูกกล้งิ กันสายลวดกวา้ นตัว ต้งั ทห่ี น้ารถ หยอดน้ำมัน แกนลูกกลงิ้ กดสายลวดกวา้ น หล่อลื่น แกนเฟืองขบั ลูกกลิ้งเรยี งสายลวด กว้าน

ห น้ า | 6 ระยะเวลา จำนวน สารหล่อลนื่ จุดหล่อ ไขขน้ ซลั เฟอไรส์ งใช้งาน เม่ือใชง้ านครบ 10 เมือ่ ใช้งานครบ 20 ล่นื ไขข้นแคลเซยี ม ชม. ชม. 1 ” ตรวจระดบั วาม ทำความสะอาดและ นำ้ มนั หลอ่ ลน่ื และ าดและ หล่อลืน่ ลูกปืนของ เตมิ ตามความ ารหล่อ แกนรอก ตอ้ งการ าม มจำเป็น - ”- - หยอดน้ำมนั หลอ่ ลื่น - ไขขน้ แคลเซยี ม ” - 70 % และ น้ำมนั เครื่องเบอร์ 16 30 % ”

ตารางการหล่อลืน่ อุปกรณ์กูซ้ ่อม (กวา้ นหลกั และกวา้ นเลก็ ) (ต่อ) ตำบลหล่อลื่น องคป์ ระกอบหรอื ชิ้นส่วน กอ่ นใช้งาน หลัง กวา้ นหลัก (ตอ่ ) รอ่ งเฟอื งตวั หนอนขับลูกกล้งิ เรียง สายลวดกว้าน เฟอื งขบั ลูกกลิ้งเรียงสายลวด กวา้ น ฟันเฟอื งบงั คบั คลตั ช์ลอ้ เกบ็ ลวด กวา้ นและเฟืองขบั ลอ้ เก็บลวด กว้าน ปลายแกนเฟอื งขบั ลูกกล้งิ เรยี ง สายลวดกว้านท้ังดา้ นซ้ายและ ดา้ นขวา เฟอื งขบั ล้อกว้าน ตลับลกู ปนื ล้อขับกวา้ น

ห น้ า | 7 ระยะเวลา จำนวน สารหลอ่ ล่ืน งใช้งาน เมอื่ ใชง้ านครบ 10 เมื่อใช้งานครบ 20 จดุ หล่อ ล่นื ชม. ชม. หยอดนำ้ มนั หล่อล่ืน ไขข้นแคลเซียม 70 % และ ” นำ้ มนั เครอื่ งเบอร์ หล่อลน่ื ด้วยไขข้น 16 หลอ่ ลนื่ ดว้ ยน้ำมัน 30 % ไขขน้ ซลั เฟอไรส์ หลอ่ ลื่นด้วยไขข้น หล่อลื่นดว้ ยน้ำมัน ” ไขขน้ โซเดยี ม 50 % และ น้ำมันเครอ่ื งเบอร์ 16 50 % ไขขน้ ซลั เฟอไรส์ ไขข้นโซเดียม 50% และ น้ำมันเคร่อื งเบอร์ 16 50 %

ตำบลหล่อลื่น องค์ประกอบหรือชน้ิ ส่วน ก่อนใช้งาน หลงั กวา้ นหลัก (ต่อ) ปลายแกนล้อเกบ็ ลวดกว้านทัง้ ด้านซา้ ยและด้านขวา แกนลูกกลงิ้ รองรบั สายลวดกวา้ น หยอดนำ้ มัน ลกู ปืนลกู กลง้ิ เรยี งสายลวดกว้าน ” หบี เฟอื งขับกว้านเล็ก และคลตั ช์ กว้านเลก็ กวา้ น องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ให้การหล่อ ล่ืนเช่นเดยี วกับกวา้ นหลัก

ห น้ า | 8 ระยะเวลา จำนวน สารหล่อล่ืน งใชง้ าน เมื่อใช้งานครบ 10 เมื่อใชง้ านครบ 20 จุดหลอ่ ล่ืน ชม. ชม. ไขขน้ โซเดียม หยอดน้ำมัน 50% และ นำ้ มนั เคร่อื งเบอร์ ” 16 หล่อลน่ื ตลับลกู ปนื 50 % เม่ือมีการ และชุดเฟอื งขับ ถอดแยก องคป์ ระกอบ ไขขน้ แคลเซยี ม 50% และ นำ้ มันเครือ่ งเบอร์ 16 50 % ” ไขขน้ โซเดียม 30% และ น้ำมันเครื่องเบอร์ 16 70 %

ตารางการหลอ่ ลนื่ อปุ กรณก์ ้ซู ่อม (กว้านหลักและกวา้ นเล็ก) (ต่อ) ตารางรายละเอียดความจุน้ำมนั เชอื้ เพลิง นำ้ มันหลอ่ ลืน่ น้ำระบายความรอ้ น สารดบั เพ

ห น้ า | 9 พลงิ ฯลฯ

องคป์ ระกอบหรอื ระบบ ระบบน้ำมนั เชอื้ เพลิง ถงั นำ้ มันชดุ กลาง (ซ้าย) ถังนำ้ มนั ชุดกลาง (หลงั ) ถงั น้ำมันชุดหน้า (ซา้ ย) ถงั น้ำมันชุดหน้า (ขวา) ถงั นำ้ มนั ชุดนอก ( 4 ถงั ๆ ละ 90 – 95 ลิตร ) ระบบนำ้ มนั หล่อล่นื ( TANK OIL NO 16, Q/SY8014-66 ) ถังน้ำมันหลอ่ ลื่นเครอ่ื งยนต์ ถงั น้ำมันหล่อลน่ื อะไหล่ เครอ่ื งเปล่ียนความเร็ว หบี เฟอื งถ่ายทอดกำลัง ( SPEED UP GEAR BOX ) ( ZG-2GB491-65 ) ชดุ เฟืองบังคับเลย้ี ว ( ZN-3GB-492-77 ) หีบเฟอื งขับข้นั สุดทา้ ย ( Q/SY1029-64 ) ระบบระบายความรอ้ น ถังลม

ห น้ า | 10 หนว่ ยนบั ปรมิ าณ ลิตร 865 – 885 ลิตร 200 ลิตร 35 ลิตร 130 ลิตร 140 ลิตร 360- 380 ลติ ร 78 ลติ ร 55 ลติ ร 35 ลิตร 12.5 – 13.5 หรอื 11 – 12 กก. ลติ ร 6 -7 ลิตร 2.5 (ตวั ละ) ส่วนผสมของไขข้นโซเดียมเบอร์ 3 ZN-3 จำนวน 30 % และนำ้ มนั เครอ่ื งเบอร์ 16 จำนวน 70 % กก. 4.8 ( ตวั ละ ) ไขข้นซลั เฟอไรส์ เติมท่ีหบี เฟอื ง 2.5 กก. และเตมิ ทีจ่ กุ เติมปลายเพลาขับ 2.3 กก. ลิตร 78 – 80 ลิตร 5 ( ถงั ละ )

ตารางรายละเอียดความจุนำ้ มนั เชอ้ื เพลงิ น้ำมันหลอ่ ล่นื นำ้ ระบายความรอ้ น สารดบั เพ องคป์ ระกอบหรอื ระบบ สารดบั เพลงิ 1211 ถังนำ้ มันไฮดรอลิกอปุ กรณก์ ู้ซอ่ ม ( เซยี งไฮ้ 40-2 หรือ ลันโจว 40-2 ) หรอื OE 30 ถงั น้ำมนั ไฮดรอลิกระบบบังคับเลี้ยว ( AVI HYD NO.10, YH-10SY1181-65 ) หบี เฟืองขบั กว้านหลกั ( ไขขน้ ซัลเฟอไรส์ Q/SY1029-64 )

ห น้ า | 11 พลิง ฯลฯ (ตอ่ ) ปรมิ าณ หนว่ ยนบั 1.5 ( หมอ้ ละ ) 250 ( ถงั เล็ก 70 - 80 ลิตร , ถังใหญ่ 150 - 160 ลติ ร กก. ) ลติ ร 18 ลติ ร 2.1 ลิตร



ห น้ า | 12