ใหท้ ำการถอดแผน่ เกราะในทางตรงกนั ขา้ มกับการใส่ สำหรับการถอดแผ่นเกราะ ERAE ออกจากแผงติดตงั้ ใหใ้ ช้เครอ่ื งมือพเิ ศษท่ีเปน็ ขอเกย่ี วทมี่ อี ยใู่ นกล่อง เครือ่ งมือของพลประจำรถทเี่ กบ็ ไว้ในชดุ เล็กของ SPTA ในขณะที่ทำการถอดแผ่นเกราะ ERAE จากกรอบใส่แผน่ เกราะด้านข้างของส่วนประกอบที่ 4 และ 5 ผ่าน ทางชอ่ งถา่ ยนำ้ โดยดึงแผ่นเกราะ ERAE ทีอ่ ยูใ่ นสว่ นประกอบในแนวระดบั ด้วยขอเก่ียว การถอดแผน่ เกราะ ERAE ออกจากรถถังจะตอ้ งตรวจสอบเพือ่ ค้นหาสาเหตุ revealrejectioncriteriaand faults การชำรดุ เสียหายของแผน่ เกราะ ERAE ในระหวา่ งปฏิบตั ิงานท่ีจะต้องทำเครือ่ งแจ้งการชำรดุ เพอ่ื เกบ็ แยก ตา่ งหากตามมาตรฐานและสง่ คืนไปยงั คลังเก็บกระสนุ การหกั งอของแผ่นเกราะ ERAE ในขณะปฏบิ ตั ิงานควรทำความสะอาดและเช็ดแหง้ ภายหลงั จากตรวจสอบแผน่ เกราะ ERAE ทน่ี ำออกมาแลว้ จะต้องจดั วางด้วยรูปแบบมาตรฐาน ปดิ และผนึกกล่องเก็บแผ่นเกราะ ERAE ทจี่ ะตอ้ งนำส่งคืนคลงั กระสุน 6.2 อุปกรณใ์ นตัวรถและป้อมปืน (Hull and turret equipment) 6.2.1 อปุ กรณใ์ นตวั รถและปอ้ มปืน (Opening and closing of the driver’s hatch from outside the tank) สำหรับการเปิดชอ่ งทางเขา้ -ออกจากภายนอกให้ปฏิบัติดงั นี้: − คลายจุกเกลียวหมายเลข 1 (รปู ที่ 6.11) โดยใชเ้ ครอ่ื งมอื ล็อคฝาปิดชอ่ งทางเข้า-ออก ยกฝาปดิ หมายเลข 3 ของช่องทางเข้า-ออกโดยการหมนุ แป้นปรับหมายเลข 2 ตามเข็มนาฬกิ าจนกระทั่งหยดุ เอง 1. จุกเกลียว (plug), 2. แป้นปรบั (bush), 3. ฝาปิดชอ่ งทางเข้า-ออก (hatch cover), 4. ฝาครอบแบบหมนุ ตัว (turnover cup), 5. เครื่องตรวจวดั เตรยี มการล็อค (locking arrangement sensor), 6. ฝาครอบตัวนอก (outer cup), 7. ด้ามจบั กระเด่อื งหนบี (clamper handle), 8. น็อต (nut), 9. สลกั ยึด (stopper), 10. คนั จบั (handle), 11, 12 แหวนลอ็ ค (locking ring), 13. ตัวจำกดั การยก (lift limiter), 14. สลักเกลยี ว (screw) รปู ท่ี 6.11 ฝาปิดช่องทางเขา้ -ออกห้องพลขับ (Driver’s hatch cover) − เปิดฝาปดิ ช่องทางเขา้ -ออก โดยการหมุนฝาปิดไปทางขวาจนกระทั่งหยุด
− ลอ็ คฝาปิดด้วยคนั จับหมายเลข 7 ทีใ่ ชส้ ำหรบั ดึงและหมุนทวนเขม็ นาฬกิ าจนกระท่ังหยุดใน ตำแหน่งของแกนเพลาในแนวนอน ปลอ่ ยคันจับเพอ่ื ใหล้ ็อคลงไปในชอ่ งรับฝาครอบตวั นอกหมายเลข 6 − ลดฝาปิดลงบนสายรัด และกระเดื่องหนบี โดยใช้เคร่ืองมอื หมนุ แปน้ ปรบั หมายเลข 2 ทวนเขม็ นาฬกิ า − คลายจุกเกลียว หมายเลข 1 การปดิ ฝาปิดช่องทางเขา้ -ออกให้กระทำย้อนกลับกนั 6.2.2 การเปิดและการปิดฝาปดิ ชอ่ งทางเขา้ -ออกหอ้ งพลขับจากด้านในรถถงั (Opening and closing of the driver’s hatch from inside the tank) สำหรับการปดิ ฝาปดิ ชอ่ งทางเข้า-ออกจากทีน่ ่ังพลขบั ให้ปฏบิ ัตดิ ังนี้: − ดงึ เหลก็ หยุดหมายเลข 9 (รปู ท่ี 6.11) และยา้ ยคนั จับหมายเลข 10 จากตำแหน่งปกติไปอยู่ใน ตำแหน่งใชง้ าน − ยกฝาปิดชอ่ งทางเข้า-ออกหมายเลข 3 โดยการหมุนคนั จบั หมายเลข 10 ตามเขม็ นาฬกิ า − ปลดลอ็ คฝาปิดชอ่ งทางเขา้ -ออกโดยดึงคันจบั หมายเลข 7 และตดิ ตั้งลงไปบนเหนือช่องทางเขา้ - ออกและหมนุ ไปจนกระทัง่ หยดุ − ล็อคฝาปดิ ช่องทางในตำแหนง่ เหนือช่องทางเขา้ -ออกโดยปล่อยคนั จบั และต้องแน่ใจวา่ ขดั กลอนอยู่ในชอ่ งรับของฝาครอบด้านนอก − ลดฝาปดิ ชอ่ งทางเขา่ -ออกลงโดยการหมนุ ด้ามจับหมายเลข 10 ทวนเข็มนาฬิกาจนกระทั่งหยุด − ดึงเหล็กหยุดหมายเลข 9 และยา้ ยด้ามจบั กลับเข้าทใี่ นตำแหนง่ เริ่มแรก การเปดิ ฝาปิดชอ่ งทางเข้า-ออกให้กระทำยอ้ นกลับกัน 6.2.3 การทำความสะอาดเคร่อื งกลไกยกฝาปดิ ห้องพลขบั (Cleaning of the driver’s covers lifting mechanism) ในกรณที ีเ่ ปดิ ฝาปดิ ช่องทางเข้า-ออกห้องพลขบั ยาก ใหท้ ำความสะอาดเครือ่ งกลไกดังน:ี้ − ติดตง้ั ฝาปดิ หอ้ งพลขับไปตามแนวรถถัง − ถอดแหวนล็อคหมายเลข 12 (รปู ท่ี 6.11) และหมนุ คันจบั หมายเลข 10 และคลายน็อตหมายเลข 8 ในเวลาเดียวกัน และคลายสลักเกลยี วหมายเลข 14 − ถอดแหวนล็อคหมายเลข 10 ออกและยกตวั จำกัดการยกหมายเลข 13 ข้ึน − ถอดเคร่อื งตรวจจับของเคร่ืองกลไกลอ็ คหมายเลข 5 และนำลูกปนื ออก − คลายจุกเกลยี วหมายเลข 1 และถอดแป้นปรับหมายเลข 2 ออก − ถอดฝาปดิ ช่องทางเขา้ -ออกด้วยแทง่ เหล็ก − ลา้ งฝาปิดดว้ ยนำ้ มันดเี ซลจากดา้ นนอกและดา้ นในสลกั เกลยี วหมายเลข 14 และหงายฝาครอบ หมายเลข 4 − ใชไ้ ขขน้ AMS-3ชโลมบางๆลงบนช้นิ ส่วนพ้ืนผิวที่ทำความสะอาดเกลียวเหลก็ ความชโลมหนาๆ การประกอบเคร่ืองกลไกใหท้ ำดงั นี้: − ตดิ ตง้ั ฝาปดิ ช่องทางเขา้ -ออกหมายเลข 3 ดว้ ยเหลก็ แทง่ (stem) − ตดิ ตั้งสว่ นหลังและเครื่องตรวจจับของเครื่องกลไกลอ็ คหมายเลข 5 − ตดิ ตั้งแปน้ ปรับหมายเลข 2 และขันจุกเกลยี วหมายเลข 1 − ตดิ ตัง้ ตัวจำกัดการยกหมายเลข 13 และแหวนล็อคหมายเลข 11 − หมนุ ดา้ มจบั หมายเลข 10 และนอ็ ตหมายเลข 8 ไปพร้อมกนั ขันสลักเกลียวหมายเลข 14 บน ฝาปดิ
− ลอ็ คน็อตหมายเลข 8 โดยแหวนล็อคหมายเลข 12 ตรวจสอบการใหบ้ รกิ ารของเคร่ืองกลไกขบั กระเดือ่ งลอ็ คด้วยไฟฟ้าและเชงิ กล เคร่อื งขับจะต้องปลดกลอน จากตัวยกฝาปิดชอ่ งทางโดยการหมุนดา้ มจั 1- 6.5 รอบ 6.2.4 การใชช้ ่องทางออกฉกุ เฉนิ (Using the emergency escape hatch) ฝาปดิ ชอ่ งทางออกฉกุ ฉินใชก้ ารเปิดออกไปทางด้านนอก สำหรบั การเปดิ ฝาปิดชอ่ งทางออกฉกุ เฉินให้ปฏบิ ัตดิ ังนี้: − ถอดสายรัดหมายเลข 2 (รปู ท่ี 6.16) และพนกั พงิ ทน่ี ง่ั พลขบั หมายเลข 3 ออกจากฝาปดิ ช่อง ทางออกฉกุ เฉิน − เลือ่ นทนี่ ง่ั พลขบั ไปทางดา้ นหน้าจนกระท่ังหยุด − ปลดล็อคสายรดั หมายเลข 2 (รูปท่ี 6.12) โดยคลายสลกั เกลยี วแหนบสปริงกลอนยดึ หมายเลข 5 − ใช้ค้อน − ดงึ คันขับหมายเลข 3 ของฝาปิดชอ่ งทางออก ดึงเชอื กหมายเลข 4 ปลดกลอนยดึ หมายเลข 6 และนำฝาปดิ ลง การปดิ ชอ่ งทางออกฉกุ เฉนิ ให้กระทำย้อนกลบั กัน ในกรณีที่ต้องการออกจากรถถังขอแนะนำใหถ้ อดก้านเหล็กหมายเลข 7 ทง้ั 2 ตวั กดลงเม่อื ต้องการถอด 1. ฝาปดิ (cover), 2. สายรดั (fastener), 3. คนั จับ (handle), 4. เชอื ก (rope), 5. กลอนยึด (hinge), 6. กระเดื่อง
กลอน (latch), 7 ก้านเหล็ก (rod) รูปที่ 6.12 ฝาปิดชอ่ งทางออกฉุกเฉิน (Emergency escape hatch) 6.2.5 การเปิดแผน่ ปิดดาดฟา้ เหนือห้องเครื่องกำเนดิ กำลงั (Opening of the top deck plate above power pack compartment) การเปดิ แผ่นปดิ ดาดฟา้ : − ตดิ ตงั้ คันบงั คับท่อบายพาสแก๊สลงในตำแหนง่ อยู่กับท่ี “COOLING” หรอื “HEATING”; − ถอดถงั สำหรบั น้ำมนั เชือ้ เพลงิ ติดต้ังแผน่ ปิดบนดาดฟ้าเพอื่ ปอ้ งกันแผน่ กำบังฉนวนกนั ความรอ้ น ชำรุด; − ถอดแผน่ กำบงั ดา้ นหลังหมายเลข 1 (รูปที่ 6.13); 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 แผ่นกำบงั (screen) รูปที่ 6.13 ฉนวนกันความรอ้ นแผน่ ปดิ ดาดฟา้ ห้องเครื่องกำเนิดกำลงั (Power pack compartment top deck plate thermal insulation) − คลายสลักเกลียวยึดบานเกล็ดตัวนอกและลดบานเกลด็ ลง − ใช้ประแจคลายนอ็ ต 20 ตวั ทยี่ ึดดาดฟ้ากับตัวรถออกดว้ ยแรง 478B.95.010sb และ 432.95.139-2 sb − สอดแชลงเข้าไปในท่อหมายเลข 10 (รปู ท่ี 6.14) − ยกแผน่ ปดิ ดาดฟ้าด้วยพลประจำรถ 2 นาย โดยใช้แชลงยกขนึ้ จนกระทงั่ เปิดอยูใ่ นตำแหน่งขดั กลอน − ถอดแชลงออก − สอดแทง่ เหล็กหมายเลข 11 (6.15) ซง่ึ ใชย้ ดึ ติดเพื่อความปลอดภัยในขณะปฏบิ ัตงิ านกับเคร่ือง กำเนิดกำลงั − ใชแ้ ผ่นปดิ 476.35.200sb (จากกลอ่ งเครอื่ งมือ SPTA) เพอ่ื ปดิ ท่อแกส๊ ติดยดึ ดว้ ยเหล็กตัวยพู ร้อม กบั แหวนบนก้านเหลก็ d. คำเตอื น! หา้ มเดด็ ขาด ห้ามปฏิบตั ิงานในห้องเคร่ืองกำเนิดกำลงั โดยการยกและลอ็ คแผน่ ปดิ ดาดฟ้าโดย ไมต่ ิดตงั้ แทง่ เหลก็ ค้ำพร้อมกับฝาครอบ
1. ตะแกรง (grid), 2. บานเกล็ด (louvers), 3. หม้อระบายนำ้ มนั เคร่ือง (oil radiators), 4. หมอ้ นำ้ (water radiators), 5. ท่อรวม (manifold), 6. อา่ งระบายน้ำมนั (expansion tank), 7. หัวฉีด (diffuser), 8. หอ้ งส่วนผสม (mixing chamber), 9. ทอ่ หลายทาง (branch pipe), 10. ท่อสำหรบั ใส่แชลง (pipe for crow bar), 11. ท่อแกส๊ บายพาส (bypass gas duct), 12. สลักยึดแผ่นปดิ ดาดฟ้าดา้ นบน (top deck plate fastening bolt), 13. ตะแกรง ปิดหีบทำความสะอาดอากาศขัน้ ต้น (grid over the primary air cleaning bunker), 14. แผ่นปดิ เครือ่ งทำความ สะอาดอากาศ (cover over the aircleaner), 15. แผน่ ปิดดาดฟา้ (top deck plate) รปู ที่ 6.14 แผน่ ปดิ ดาดฟ้า (Top deck plate)
1. แกนเพลา (axle), 2. แถบเหลก็ ยึด (strip), 3. สลักกลอน (latch), 4. แผน่ ปดิ ดาดฟ้าด้านบน (top deck plate), 5. ทอ่ (pipe), 6, 7. แขนค้ำ (lever), 8. คานรบั แรงบดิ (torsion bar), 9, 10. แผ่นปดิ (cover), 11. เหลก็ คำ้ (rod), 12. ทอ่ เพ่มิ (additional pipe), C ด้านซ้าย (left side), E ดา้ นขวา (right side) รูปที่ 6.15 การติดต้ังท่อเพ่มิ และเคร่ืองกลไกยกแผน่ ปิดดาดฟ้า (Installation of the additional pipe and top deck plate lifting mechanism) การปิดแผ่นปิดดาดฟา้ : − การถอดแผน่ ปดิ ท่อแก๊สและการปลดลวดออกจากแหวนของเหลก็ คำ้ − ใสแ่ ชลงและยกแผน่ ปดิ ดาดฟ้าถอดเหลก็ คำ้ หมายเลข 11 ออกมา (รปู ที่ 6.15) − หมุนสลักกลอนไปทางด้านขวาของแกนเพลา และยึดไวก้ บั บานพบั ทอ่ี ย่ตู ดิ กบั สลกั กลอน − ปล่อยขอยดึ ด้านซา้ ยแล้วลดแผ่นเกราะดาดฟา้ ลง ปลดขอยึดออกจากบานพับ − ใช้แชลงกดแผ่นปิดดาดฟ้าไวก้ ับตวั รถ ยดึ ไวด้ ้วยสลกั แลว้ ขนั แน่นสลักตามลำดบั ทแ่ี สดงไวใ้ นแผนผงั (รปู ท่ี 6.16) ขน้ั แรกให้ขนั สลักหมายเลข 1...8 ทางด้านขวาและดา้ นซ้ายอยา่ งนอ้ ยสามรอบเพื่อทำใหแ้ นน่ จากนน้ั ใส่สลกั หมายเลข 9...20 แล้วขนั ให้แนน่ กบั ด้านหน้าและดา้ นหลงั โดยหมุนสามรอบ ขนั สลักแต่ละตวั ใหแ้ นน่ อีกคร้ัง − นำแชลงออก − ยกและยึดบานเกลด็ ด้านนอกดว้ ยสลักยึด − ติดต้งั แผ่นกำบงั ฉนวนความร้อนโดยยึดไว้ด้วยสลัก ผนึกลวดสลกั กับตวั หนีบบนแผน่ ปดิ ดาดฟ้า ในกรณที ่ีตอ้ งใชแ้ รงเพ่ิมขึน้ ในการยกแผน่ ปดิ ดาดฟา้ ให้ติดตั้งแขนคำ้ ตามทีก่ ล่าวไว้ใน “คมู่ ือการใชง้ านเครอ่ื งมือ พิเศษและเครอ่ื งกลไก” สำหรับการปลอ่ ยไอเสียในระหวา่ งใชง้ านเคร่อื งยนต์เมือ่ ยกแผน่ ปดิ ดาดฟา้ อยู่ใหต้ ิดตง้ั ตวั ปรับต่อท่อเพมิ่ หมายเลข 12 (จาก SPTA) ระหว่างแผน่ ปิดดาดฟ้าและทอ่ แก๊ส ดังน:้ี − ตดิ ตั้งเหลก็ ค้ำหมายเลข 11 ทางดา้ นขวา − ในขณะทหี่ มนุ เหลก็ คำ้ ยนั ดว้ ยสวิ่ เหลก็ หรอื tommy bar ใหย้ กแผ่นปดิ ดาดฟา้ ให้ได้มุม ที่ชว่ ยใหส้ ามารถ ตดิ ต้งั ท่อเพ่ิมหมายเลข 12 ได้ − ถอดแผ่นปดิ ออกจากทอ่ แกส๊ และตดิ ตัง้ ทอ่ เพ่มิ เขา้ ไปในช่องตดิ ต้ัง − หมนุ ตัวท่อให้ตดิ แนน่ กับฝาครอบของทอ่ เพมิ่ เพ่อื จะไมท่ ำใหค้ รีบของทอ่ แก๊สชำรุด การถอดตัวปรบั ตอ่ ทอ่ เพ่มิ :
− หมนุ เหลก็ ค้ำยนั เพื่อยกแผ่นปิดดาดฟ้าให้ได้มมุ ตวั ทอ่ เพื่อชว่ ยใหส้ ามารถถอดตวั ปรับตอ่ ทอ่ ได้ − ถอดทอ่ เพม่ิ ออก การเปดิ แผ่นบานเกล็ดระบายอากาศบนหม้อนำ้ : − ถอดแผน่ กำบงั ฉนวนความร้อนดา้ นหน้าสองช้ินหมายเลข 2 และ 3 ออก (รูปท่ี 6.13) − คลายสลกั ยึดแผ่นบานเกล็ดออก − เปดิ แผ่นบานเกลด็ ดา้ นหนา้ โดยใชค้ ันจบั ยกขนึ้ ไปจนถึงมมุ 120 จนกระทั่งหยดุ − เปดิ แผ่นบานเกล็ดดา้ นหนา้ โดยใช้คันจบั ยกข้ึนด้วยมุม 35 และติดตงั้ เสาค้ำไว้ด้านใต้อยทู่ างด้านขวาของ แผน่ ปดิ ดาดฟ้า การปิดแผน่ บานเกลด็ ระบายอากาศใหท้ ำยอ้ นกลบั กนั รูปที่ 6.16 ลำดบั ในการขนั สลกั ยึดบน PPC ของแผ่นปิดดาดฟา้ (Sequence of tightening of bolts on the PPC top deck plate) การเปิดฝาครอบบนอา่ งขยายน้ำมัน: − ถอดแผ่นกำบงั ฉนวนกนั ความร้อนดา้ นหน้าสองชิ้น − คลายสลักยดึ ฝาครอบ − เปดิ ฝาครอบด้วยคันจับ การปดิ ฝาครอบให้ทำยอ้ นกลบั กัน การเปดิ ฝาครอบหมายเลข 14 (รปู ท่ี 6.14) ทีอ่ ยดู่ ้านบนหมอ้ กรองอากาศ
− คลายสลกั เกลยี วยดึ ฝาครอบออก − เปิดฝาครอบโดยใชค้ นั จบั ยกขึ้นดว้ ยมุมf 60 − ตดิ ต้งั เสาคำ้ ข้างใต้โดยจะอย่ทู างด้านซา้ ยของแผ่นปดิ ดาดฟา้ การปิดฝาครอบใหท้ ำยอ้ นกลบั กนั 6.2.6 การใชง้ านที่นง่ั พลขบั (Operation of the driver’s seat) การเลอื่ นท่ีนั่งพลขบั ขึ้น: − ปลดลอ็ คที่นั่ง เลอื่ นคันลอ็ คทนี่ ัง่ ทางสงู หมายเลข 8 (รูปท่ี 6.17) มาข้างหน้าเพือ่ ใหก้ ลอนของคนั ล็อคทางสงู หลดุ ออกจากซ่เี ฟอื งลอ็ คท่ีนงั่ หมายเลข 7 − ยกคนั เลือ่ นหมายเลข 8 ข้นึ ในขณะเดยี วกันใหย้ กทน่ี ง่ั ข้ึนดว้ ย − ลอ็ คทน่ี ่งั โดยการดนั คนั เลอื่ นหมายเลข 8 ]และเลอื่ นทน่ี ่ังไปจนกระทง่ั กลอนกระเด่ืองคันเลือ่ น ออกมาขบกับซเ่ี ฟอื งลอ็ คท่นี ั่ง การลดที่น่ังลงในตำแหนง่ ต่ำลง: − ปลดลอ็ คทีน่ ง่ั ทางสูง − นั่งลงบนที่นั่ง − ลอ็ คทน่ี ั่งทางสงู เพ่ือล็อค (ปลดล็อค) ท่ีนั่งแลว้ เล่อื นขนึ้ -ลงตามต้องการ การเลือ่ นที่นั่งไปด้านหน้าหรือดา้ นหลัง: − ปลดลอ็ คทน่ี ่ังโดยเลื่อนคันล็อคทางระดบั หมายเลข 10 ไปทางซ้าย − กดคันล็อคทางระดบั หมายเลข 10 ไวใ้ นขณะทเ่ี ลือ่ นทนี่ งั่ ไปข้างหน้าหรอื ข้างหลังตามที่ต้องการ และเล่ือนข้ึนลงตามทีต่ อ้ งการ − ลอ็ คท่ีน่ังโดยการกดคนั ลอ็ คทางระดับหมายเลข 10 และเลื่อนให้กลอดยึดเข้าขบกับซเี่ ฟอื งล็อคท่ีน่ัง 1. คันเล่อื นเคร่ืองกลไก (lever mechanism), 2. เหล็กโค้ง (arc), 3. พนงั พิง (seat back), 4. โครงที่นัง่ (frame),
5. เครือ่ งกลไกกระเด่ืองกลอนยดึ (latch mechanism), 6. สว่ นติดตงั้ กระเดือ่ งกลอน (latch sector), 7. ซี่เฟือง ล็อค (comb), 8. คนั ล็อคทางสูง (vertical lock handle), 9. เบาะรองนั่ง (seat cushion), 10. คันล็อคทางระดับ (horizontal lock handle), 11. คานรับแรงบดิ (torsion bars) รปู ที่ 6.17 ที่นงั่ พลขบั (driver’s seat) ในกรณีทต่ี ้องการเล่ือนเบาะท่ีนงั่ ไปตามแนวของตวั รถถงั − ใหถ้ อดเหลก็ โคง้ หมายเลข 2 เลื่อนแป้นปรบั ไปตามแกนของเหล็กโคง้ − ถอดพนงั พงิ หมายเลข 3 โดยพับพนกั พิงและนำออกจากฐานตดิ ตง้ั เบาะรองน่ังหมาย 9 ออกทาง รอ่ ง − เลื่อนคนั ลอ็ คทางสงู หมายเลข 10 โดยการเลอ่ื นเบาะหมายเลข 9 ไปทางด้านหน้าและถอดออก − ทำความสะอาดเหลก็ นำบนเบาะรองนง่ั และรางเล่อื นบนโครงที่นั่งหมายเลข 4 ทำความสะอาด โคลน,สี และใช้ไขข้น AMS -3 − ประกอบทนี่ งั่ กลับโดยกระทำยอ้ นกลับกนั การโค้งงอของพนักพงิ โดยใช้แรงดนั เหล็กโค้งของโครงสรา้ งหมายเลข 2 ท่ีน่งั สามารถจดั ปรบั ไดส้ ามตำแหนง่ เพ่ือความสะดวกสบายของพลขบั 6.2.7 การขึ้นรถหรือลงรถของพลขับเมอ่ื ตดิ ต้ังอปุ กรณ์ IP -5 ส่ิงอุปกรณ์ L-1 ใชง้ าน (Mounting and dismounting of the driver while using the device IP-5 and item I-1) การข้ึนรถและลงรถของพลขบั เมอ่ื ตดิ ตง้ั อุปกรณ์ IP-5 และ สง่ิ อุปกรณ์ I-1 สามารถทำไดเ้ ม่ือถอด สว่ นประกอบแผน่ เกราะหมายเลข 3 และ 18 ออก (รูปที่ 6.1) และป้อมปืนอยู่ในตำแหน่งล็อคปืนเดนิ ทาง ซง่ึ ตวั ปนื จะอยู่ ในดา้ นขวาของตวั รถเลก็ นอ้ ยดว้ ยมุมทศิ 31-50…31-80 เมื่ออา่ นจากเคร่ืองกำหนดมุมภาคของทศิ สว่ นประกอบของแผ่น เกราะ ERAE สามารถติดตงั้ บนปลอกรับหมายเลข 31 ถอดครอบเกลยี วหมายเลข 32 (รูป 6.1) ทีอ่ ยบู่ นดา้ นซา้ ยของปอ้ ม ปืน 6.2.8 การใชฝ้ าครอบปอ้ งกันและหีบควบคมุ ของพลขบั (Use of protective hood and driver’s panel) การติดตัง้ ฝาครอบปอ้ งกนั ของพลขับ: − หมุนป้อมปนื ไปทางขวาจนกระท้งั เข็มชเ้ี สน้ มาตราของเคร่อื งกำหนดมมุ ภาคของทศิ อ่านได้ 31- 50…31-80 − ถอดสว่ นประกอบแผน่ เกราะหมายเลข 3 และ 18 (รปู ที่ 6.1) − ยดึ ส่วนประกอบแผน่ เกราะ ERAE เข้ากับปลอกรบั สลักหมายเลข 31 ตดิ ตัง้ อยทู่ างซา้ ยของปอ้ มปืน − เปิดฝาปดิ ชอ่ งทางเข้า-ออกของพลขับและลอ็ คไว้ในตำแหน่งเปิด − ถอดส่วนหลังของฝาครอบป้องกันพลขับนำไปยดึ ตดิ กับปอ้ มปืนเขา้ กบั ถุงบน tarpaulin cover; − ยกครอบปอ้ งกัน คล่ถี งุ ใส่ออก รดู ซิปและสอดแผ่นเหลก็ โคง้ เขา้ ไปในเครอ่ื งหนบี ทีเ่ ชื่อมต่ออยกู่ ับ ฐานติดตงั้ ของครอบปอ้ งกนั − ตดิ ตงั้ แผน่ เกราะกระจกดว้ ยสลักของแผน่ ฐานและโครงของฝาครอบและยดึ ไว้ด้วยน็อตควงผเี สอื้ − ติดตัง้ ครอบปอ้ งกันลงบนชอ้ งทางเขา้ -ออกห้องพลขบั โดยใช้แหนบสปรงิ ลอ็ ค 4 ตัว การถอดฝาครอบป้องกันใหท้ ำย้อนกลับกัน ในสภาพอากาศที่ดขี อแนะนำให้ตดิ ตงั้ เฉพาะแผน่ ป้องกนั เท่านั้น โดยคลายสลักยดึ ออกจากตัวเรือน ครอบปอ้ งกนั เล่ือนตวั จับแผน่ เกราะโดยการคลายหัวน็อตและขนั ใหแ้ นน่ ไมจ่ ำเป็นต้องถอดแผน่ เกราะ ERAE ออก การถอดแผน่ เกราะให้ทำยอ้ นกลบั กนั ภายหลังจากถอดแผน่ เกราะแลว้ ใหใ้ สแ่ หวนล็อคและขันสลกั เกลยี วจนสุด มว้ นแผ่นเกราะเข้าเก็บในห่อแลว้ วางลงในกลอ่ งด้านหน้าทางดา้ นขวาของชนั้ วางเหนือสายพาน
เม่อื พลขบั ข้นึ รถหรือลงรถแผ่นเกราะปอ้ งกันพลขบั จะตอ้ งถกู ถอดออกแลว้ วางบนฝาปดิ ชอ่ งทางเข้า- ออกพลขับ ในระหวา่ งใชง้ านในสภาพทม่ี ฝี ุ่น ฝนและหิมะตก จำเปน็ ต้องต่อหวั ฉีดจากเครอื่ งทำความสะอาดกล้องเล็ง ด้วยน้ำและแรงลมเข้ากับครอบปอ้ งกันพลขับ โดยมีวิธีการปฏิบตั ดิ งั นี้: − ปลดทอ่ ทางเดนิ ของระบบ HPC ออกจากคันปดิ -เปิดหมายเลข 18 (รูปที่ 4.1) ของอปุ กรณจ์ ากล้นิ ควบคมุ หมายเลข 19 ไปตดิ ตั้งอยู่ด้านหน้าแผ่นเกราะ − คลายจุกเกลยี วและเชื่อมตอ่ ทอ่ เขา้ กับด้านหน้าของครอบป้องกันพลขบั − ขนั เกลียวน็อตยดึ จากทอ่ ท่ีถอดออกเข้ากบั ขอ้ ตอ่ ของท่อ ทำความสะอาดกระจกตามคำแนะนำท่ีกลา่ วไวใ้ นบทที่ 4.1 การทำความร้อนด้วยไฟฟ้าจะเปดิ สวติ ชไ์ ปตำแหนง่ “ON” เม่อื มหี มิ ะปกคลมุ กระจกเป็นนำ้ แขง็ ใน ระหวา่ งท่มี หี ิมะตกหนักไดเ้ ทา่ นนั้ สำหรบั การทำความรอ้ นต่อสายไฟไปยังว่องต่อไฟฉุกเฉนิ ทอ่ี ยู่หบี ควบคมุ พดั ลม DV-3 6.2.9 การเปดิ และปดิ ฝาปดิ ช่องทางเขา้ -ออกปอ้ มปืน (Opening and closing of the turret hatch covers) การเปดิ และปิดฝาปิดช่องทางเข้า-ออกของผบ.รถ และพลยงิ จากดา้ นในปอ้ มปนื : − หมุนคันกระเดอื่ งลอ็ คฝาปดิ − หมุนคนั กระเดอ่ื งลอ็ คฝาปดิ ช่องทางเขา้ -ออกตามเขม็ นาฬกิ า และเปดิ ฝาปดิ ช่องทางเขา้ -ออก จนกระท่งั หยุดอยใู่ นตำแหน่งเปิดดว้ ยตัวหยุด − ยดึ คันกระเดื่องยดึ ฝาปดิ โดยการหมุนคนั กระเด่ือง การปิดฝาปดิ ช่องทางเขา่ -ออก: − หมนุ คันกระเดอ่ื งปลดกลอนจากตำแหน่งลอ็ ค ฝาปิดทอี่ ยูใ่ นตำแหนง่ เปดิ ทวนเขม็ นาฬิกา จน กระเดื่องปลดกลอนจากแท่นยดึ ของป้อมปืนผบ.รถหรอื แท่นทีย่ ื่นออกมาจากการเช่ือมต่อบนป้อมปืน − ปดิ ฝาปดิ ช่องทางเข้า-ออก และล็อคคันกระเดอ่ื งให้เขา้ ท่ี ฝาปิดช่องทางเขา้ -ออกจะเปดิ และปิดได้โดยเครื่องมือสำหรับปิดฝาปดิ ชอ่ งทาง 6.2.10 การใช้ตัวล็อคปอ้ มปนื (Using the turret lock) การล็อคป้อมปนื : − ดงึ ปลอกกระเดอ่ื งหมายเลข 1 (รปู ที่ 6.18) บนคนั ล็อคและหมุนจนกระทง่ั ดันตัวอกั ษร “3” หนั หนา้ มาทางห้องหอรบ − ลอ็ คป้อมปนื โดยทำซ้ำดว้ ยการหมุนคนั ล็อคตามเขม็ นาฬกิ า เขม็ ช้ีจะเคล่ือนจากตัวอกั ษร “O” ไป ยงั “3” ในช่องของแผ่นเกราะบนตวั เรือนคันล็อค เพอ่ื ป้องกนั การติดขดั ของซีเ่ ฟอื งในรางฟันเฟอื งของป้อมปนื ขอแนะนำ ว่าใหห้ ยดุ การหมุนป้อมปนื โดยการใช้เคร่อื งหมุนปอ้ มปนื ด้วยมือหมนุ ไปทางซา้ ยหรือขวาจนกระทั่งซี่ฟันเฟอื งขบกันใน ตำแหน่งพอดี − หมนุ คันลอ็ คปอ้ มปนื ทวนเขม็ นาฬกิ าจนกระท่งั หยดุ ในจากตำแหน่งด้านบนของกระเช้าปอ้ มปนื การปลดล็อคปอ้ มปนื : − ดงึ ปลอกกระเดอ่ื งบนคนั ลอ็ คปอ้ มปนื แล้วหมนุ แลว้ หมนุ ไปทางใดทางหน่งึ จนกระทั่งเห็นตวั อกั ษร “O” หันหนา้ มาทางห้องหอรบ − ปลดลอ็ คปอ้ มปืนโดยหมุนคนั ล็อคปอ้ มซำ้ ทวนเขม็ นาฬิกา จนเข็มช้เี คลอื่ นทีจ่ ากตัวอกั ษร “3” ไป ยงั “O” ในชอ่ งของแผ่นเกราะบนตวั เรือนคันล็อค − หมุนคันล็อคทวนเข็มจนกระท่งั หยดุ ในตำแหนง่ ด้านบนของกระเช้าป้อมปนื
1. ปลอกกระเดือ่ ง (cap), 2. ดา้ มจับ (stem), 3. แหนบสปรงิ (spring), 4. สลักกลอน (latch stem), 5. สลัก เกลียว (screw), 6. ตวั เรือน (body), 7. ซเ่ี ฟอื ง (comb), 8. สลักยดึ (bolt), 9. เคร่ืองกลไกล็อค (locking mechanism), 10. คันจบั (handle), 11. เฟอื งขับ (sprocket), 12. แกนเฟือง (stem) รูปที่ 6.18 เครอื่ งกลไกล็อคป้อมปืน (Turret lock) 6.2.11 การหล่อลืน่ รางหมนุ ปอ้ มปนื และเครอ่ื งกลไกล็อคปอ้ มปืน (Lubrication of turret race and lock) การหล่อล่นื ตลบั ลกู ปนื ของปอ้ มปนื ควรจะทำ ในกรณที ่ีต้องการเพมิ่ แรงหมุนใหก้ บั เครื่องกลไกหมนุ ปอ้ ม ปืนท่วี างอย่ใู นแนวนอน โดยปฏิบตั ิดงั น้ี: − คลายจุกเกลยี ว Aตำแหน่งท่ี 7(รปู ที่ 6.18)ทต่ี ดิ ตัง้ อยทู่ างดา้ นขวาของส่วนหลงั บนพ้นื กระเชา้ ป้อมปืน − หมุนปอ้ มปนื ให้สมำ่ เสมอโดยใช้คันหมนุ ของเครื่องกลไกหมนุ ป้อมปืน 1-2 รอบ ใช้กระบอกอัดไข ข้น 200-3-UHL-1 หรือ 478B.90.040sb-1 โดยเตมิ ไขขน้ AMS-3 300-400 กรมั − คลายจกุ เกลยี ว ให้การหลอ่ ลื่นในกรณีทก่ี ารเคลอื่ นที่ของซฟี่ ันเฟอื งในตวั เรือนเครอ่ื งกลไกลอ็ คป้อมปืนฝดื − คลายสลกั A ตำแหนง่ ที่ 8 (รปู ที่ 6.18) − หลอ่ ล่นื กลไกล็อค ป้อมปืนโดยใชก้ ระบอกอัดไขข้น 200-3-UHL-1 หรอื 478B.90.040sb-1 ดว้ ยไข ข้น AMS-3 − คลายสลกั เกลยี ว A บทท่ี 7 กฎและขนั้ ตอนการปฏิบตั ิสำหรับใช้อปุ กรณส์ รา้ งท่ีกำบงั ตนเอง 7.1 การเตรียมอุปกรณ์สำหรับใชง้ าน การเตรียมการเพ่ือใชอ้ ุปกรณส์ รา้ งที่กำบงั ตนเอง − ปลดล็อคป้อมปนื − ยกปืนขน้ึ สูงสุด − พับแผงพับดา้ นหนา้ เพ่อื หลีกเลีย่ งความเสยี หาย − ถอดแผ่นยางปอ้ งกันดา้ นหนา้ ตัวรถพรอ้ มแท่นยึดออก นำไปไวเ้ หนอื สายพาน และยดึ ด้วยลวดสลงิ จากชดุ อุปกรณแ์ ละเครือ่ งมือประจำรถ − จอดรถถงั ในแนวที่ต้องการสรา้ งทีก่ ำบงั ตนเอง
− ปลดใบมีดประจำรถลงพ้นื เพือ่ ใชง้ าน การปลดใบมีดประจำรถควรใช้พลประจำรถสองนาย และเครื่องมือชะแลงเพ่ือปลดผานหน้าลง โดยปฏิบัติ ดังน:ี้ − สอดชะแลงเข้าที่เหลก็ ยดึ ใบมดี − คลายสลกั เกลยี วเหลก็ ยดึ ใบมีด − หมนุ เหล็กยึดใบมีดไปประมาณ 90 องศาและขันสลกั เกลยี วเหลก็ ยึดอีกครง้ั ในขณะทยี่ งั ไมป่ ล่อย ใบมดี ลงพน้ื − ปล่อยใบมดี ลงพืน้ โดยใช้ชะแลง สอดชะแลงเล็กเข้าท่ีชอ่ งเปิดของใบมีดและยกใบมดี ขนึ้ เล็กน้อย − นำชะแลงออกจากใต้ใบมีด และปลอ่ ยใบมดี ลงสพู่ ืน้ ด้วยชะแลงเลก็ − นำชะแลงเลก็ ออกจากใบมดี − ถา้ จำเป็น ใหท้ ำความสะอาดร่องเหลก็ บังคับใบมดี ท่ีเป้ือนดินโคลน 7.2 การสร้างที่กำบังตนเอง การสร้างที่กำบังตนเองบนพื้นดินอ่อนมีพชื ปกคลุม โดยการขับรถถังไป-กลับในช่วงสายพาน เพิ่มขนาดความกว้าง โดยขับเปล่ียนทิศทางไปด้านขวาและด้านซ้ายในแนวขนาน ในแต่ละช่วงการเพิ่มขนาดให้เปลี่ยนตำแหน่งของรถถังด้วย คร่งึ ช่วงกวา้ งสายพาน ในขณะท่ีขับรถถังเดินหน้า ใบมีดจะขุดดินทางดา้ นหน้า ขับรถถังโดยใชต้ ำแหน่งเกียร์ 1 ดว้ ยความเร็วไม่เกิน 5 กม./ชม. เมื่อขับถอยหลัง ใบมีดจะไม่ขุดดิน ในกรณีน้ีร่องขุดจะมีความกว้างประมาณ 4.5 เมตร และดินด้านข้างมี ลักษณะเป็นหนา้ ตดั ตรง การเร่ิมต้นขุด รถถังควรเคล่ือนที่ไป-กลับในระยะ 8 – 10 เมตร เพื่อให้ได้ความลึกของร่องท่ีขุดไม่ต่ำกว่า คร่ึงหน่งึ ของท่ีตอ้ งการ หลงั จากน้ันใหข้ ับรถถงั ออกจากร่องขดุ และดำเนินการขุดต่อไปโดยเคล่ือนท่ีไป-กลับด้วยระยะ 10 – 14 เมตร เพื่อให้ไดค้ วามลึกรอ่ งขุดตามที่ตอ้ งการ ในขณะขุดสร้างท่ีกำบัง ไม่ให้สร้างกำแพงดินด้านหน้าสูงมากกว่า 1 เมตร และทลายกำแพงดินโดยเคล่ือนรถ เปน็ ระยะ 8 – 12 เมตรจากขอบการขุด ในกรณีท่ีเป็นดินแข็งที่มีพชื ปกคลุมที่เป็นดนิ ร่วน เม่ือรถถังวิง่ แล้วดินไม่ยุบ การขุดเริ่มที่ความกวา้ งประมาณ 5.5 – 6 เมตรบนผิวดินทีละน้อย (ในความลึก) ตามความกวา้ งของรถถัง การขับรถไป-กลับในกรณีแรก โดยเลื่อนตำแหน่ง รถ ในวิธีนี้ การเคลื่อนรถกลับไป-กลับมาในกรณีแรก ควรจะบังคับรถหันเล้ียวไปทางซ้ายหรือขวาทีละน้อยในระหวา่ ง การขับ และ diagonal passes ด้วยมุมเล็กตามแกนลองจิจูดของการขุด สำหรับการเคลื่อนท่ีช่วยเพื่อบีบอัด falling
down of the bed track under the caterpillars and cutting of side walls of the trench by outer edges of the caterpillars. ผลลัพธ์ท่ไี ด้จะเกิดกำแพงดนิ ด้านขา้ งทำมมุ เอยี งประมาณ 30 - 45 กบั the plumb. การขุดฝังตนเองควรหยุดกระทำเมื่อพบกับ หินใหญ่, อิฐ, ตอไม้, โครงสร้างเหล็ก และวัสดุอื่นที่สร้างความ เสียหายใหก้ ับใบมีด ในกรณีที่ตอ้ งใช้งานให้นำส่ิงกีดขวางเหลา่ นี้ออกจากแนวทางการเคลอื่ นรถถังหรือละลายดินทเี่ ป็น น้ำแข็งหรือทำลาย (ทำใหค้ ลาย) กอ้ นดนิ ด้วยชะแลงหรือโดยวธิ อี นื่ ข้อห้าม หา้ มใชอ้ ปุ กรณ์ขดุ ฝงั ตนเองเพ่อื เล่ือนหนา้ ผวิ ดินหรือหิมะบนพนื้ หลังจากการใชง้ านอุปกรณ์ขุดฝังตนเอง ให้ทำความสะอาดใบมที ่เี ป้ือนสงิ่ สกปรกตา่ ง ๆ ออก การเก็บใบมดี ขดุ ฝงั ตนเองให้ปฏิบตั ดิ ังนี้: – คลายสลกั เกลยี วเหลก็ ยดึ ใบมีด – ใชช้ ะแลงใหญแ่ ละชะแลงเลก็ ยกใบมดี ข้ึนจนตวั ใบมีดชดิ ตดิ กบั เกราะรถดา้ นหน้า – หมุนเหล็กยึดใบมีดและขันแนน่ สลกั เกลยี วเหลก็ ยึดใบมีดจนสดุ – ติดตั้ง mud flaps และแผน่ ยางปอ้ งกนั ด้านหนา้ ตวั รถ บทที่ 8 การขับรถถัง 8.1 มาตรการรักษาความปลอดภัยและคำแนะนำทัว่ ไป ขอ้ ห้าม ขับรถถังโดยใชร้ ะบบเกียรอ์ ัตโนมัติ โดยไมแ่ กไ้ ขขอ้ ขดั ขอ้ งของระบบขบั เคล่ือนอัตโนมัติ คำเตือน 1. การขับเคลื่อนด้วยระบบเกียร์อัตโนมัติเป็นระบบขับเคล่ือนหลักของรถถัง การทำงานในระบบเกียร์ธรรมดา (ฉกุ เฉนิ ) ใชใ้ นกรณีที่ไม่สามารถใช้ระบบเกียร์อัตโนมัติได้ และตอ้ งจดบันทึกชว่ั โมงการใช้งานในสมุดประจำรถถงั ในกรณี ทีใ่ ชร้ ะบบเกยี ร์ธรรมดาเกนิ กวา่ 5 ชั่วโมง จำต้องเปลย่ี นไส้กรองละเอียดระบบนำ้ มันเครื่องเปล่ียนความเร็ว 2. ถ้าในระหว่างขับรถถังด้วยเกียร์อัตโนมัติ และมีไฟเตือน ติดสว่างท่ีแผงแสดงข้อมูล PNP02 ให้เหยียบ แป้นคลัชท์ หยุดรถถังด้วยเบรก ยกแผ่นป้องกันเลื่อนคันเกียร์และปรับคันเกียร์ไปท่ีตำแหน่ง “N” ถ้าจำเป็นต้องขับรถให้ ใช้เกยี รธ์ รรมดา 3. ถ้าในระหวา่ งขับรถถังด้วยเกียร์ธรรมดา และไฟเตือนตดิ สว่างท่ีแผงควบคุมระบบขับเคล่ือน PST602 เหยียบ แปน้ คลชั ท์ หยุดรถถังดว้ ยเบรก และดับเครือ่ งยนต์ แกไ้ ขเหตขุ ัดขอ้ งทเ่ี กดิ ขึ้น 4. ในระหว่างเข้าเกียร์ถอยหลังช่วยในตำแหน่ง “R” เม่ือเข้าเกียร์ถอยหลังปกติ “R” รถถังควรจะเคลื่อนท่ี เดินหน้าในทิศทางตรงขา้ มกบั ทไี่ ฟเตอื นบนแผงควบคมุ PST602 ขอ้ ควรจำ สารละลายปอ้ งกนั การแข็งตัวและสารเคมสี ามชนดิ ท่เี ติมในสารหลอ่ เย็นเปน็ สารพิษ หา้ มรับประทาน รถถังท่ถี ูกลากจูง ให้ปดิ ฝาป้อมตำแหนง่ พลขบั การหมุนปอ้ มฉุกเฉินโดยพลขับ ควรกระทำหลังแจง้ เตอื นพลประจำรถทุกตำแหน่ง ในขณะเตรียมการกอ่ นเคลอ่ื นที่ หา้ ม: – ใช้งานเคร่ืองทำความร้อนสำหรับทำความร้อนให้กับสารหล่อเย็นในโดยไม่เปิดฝาครอบท่อระบายไอเสีย เคร่อื งทำความรอ้ นออกรถใน โดยที่ไมล่ ็อกฝาปดิ ป้อมพลประจำรถก่อนออกรถ ให้ตรวจให้แนใ่ จว่าทิศทางทจี่ ะเคลื่อนท่ไี ม่ มสี ิ่งกดี ขวาง พลประจำรถอยู่ประจำตำแหนง่ ของตนเอง และสามารถติดตอ่ สื่อสารผ่านชุดติดต่อสอ่ื สารภายในได้ ใหส้ ญั ญาณแตรกอ่ นตดิ เครอ่ื งยนตแ์ ละกอ่ นออกรถ เม่ือขับรถในทัศนวิสัยจำกัด เช่น มีฝุ่นมากหรือในเวลากลางคืน ให้เปิดไฟบอกตำแหน่งรถ (marked light) ในขณะขับรถ พลขับควรสังเกตเส้นทางด้านหน้า หมนั่ ตรวจสอบแผงไฟเตือนต่าง ๆ และใช้การควบคุมรถ ให้เหมาะสมกับสภาพถนนและสถานการณ์ โดยไมท่ ำใหเ้ คร่ืองยนต์ทำงานหนักเกินไป
เม่ือเครื่องยนต์ทำงานในขณะรถถังหยุดอยู่กับที่ ตั้งความเร็วรอบเคร่ืองยนต์เดินเบาให้กับเคร่ืองยนต์ด้วย คันต้องรอบเครื่องยนต์ด้วยมือ (ไม่ต่ำกว่า 800 รอบ/นาที เม่ือใช้น้ำมันดีเซล และไม่ต่ำกว่า 1,000 รอบ/นาที เม่ือใช้ นำ้ มันเบนซินเปน็ นำ้ มนั เชอ้ื เพลิง) ใชค้ นั ลอ็ คเบรก เม่อื หยุดรถบนลาด การเหยียบคลัทช์ ใหเ้ หยียบแป้นคลทั ช์จนสุดระยะและเหยียบอยา่ งรวดเร็ว ไมว่ างพกั เทา้ ไว้บนแปน้ คลัทชใ์ นขณะขบั รถถัง การขับรถถังควรคำนงึ ถึงการใชแ้ ปน้ เบรกใหน้ ้อยที่สดุ การใช้เบรกซำ้ ๆจะทำให้แผน่ คลัชท์ในหีบเฟืองสกึ หรอ ไม่บงั คับเลี้ยวกะทนั หันในตำแหน่งเกยี รส์ ูง เพอ่ื ปอ้ งกันการลนื่ ไถล ถ้าสารหล่อเย็นหรือน้ำมันเครื่องทอ่ี อกจากเครอื่ งยนต์มอี ุณหภูมิสงู เกินระดับสูงสุดท่อี นญุ าตใหใ้ ช้งาน (คัน บงั คบั วาล์วทางลัดไอเสียอยู่ในตำแหนง่ ด้านหนา้ “COOLING” จำเป็นต้องลดเกยี ร์ลงและเพ่มิ ความเร็วรอบเคร่อื งยนต์ ถ้าอุณหภูมิยังไม่ลดลง ให้หยุดรถถัง ตั้งความเร็วรอบเครื่องยนต์ที่รอบเดินเบา ลดอุณหภูมิของสารหล่อ เยน็ ให้ตำ่ กว่า 115 องศาเซลเซยี ส ดับเครอื่ งยนตแ์ ละตรวจหาสาเหตทุ ีท่ ำใหอ้ ุณหภูมิสงู ขึ้น ในกรณีท่ีแรงดันของน้ำมันหล่อลื่นในหีบเฟืองหรือเครื่องยนต์ลดลงอย่างกะทันหัน ให้ดับเคร่ืองยนต์ ตรวจหาสาเหตแุ ละแก้ไขปัญหานน้ั ในระหวา่ งที่ไม่ใชร้ ถถงั (นานกว่า 2 ชวั่ โมง) ใหป้ ดิ วาลว์ ถังลม ขอ้ หา้ ม: – ใชง้ านเครอื่ งยนต์โดยทีแ่ ผงควบคุมพลขบั ไม่ทำงาน – กดปุ่ม ENGINE OIL PUMP, OIL PUMP และ TOW OIL PUMP (TOW START บนแผงสวิตช์และอุปกรณ์ ตัดต่อวงจรอัตโนมัติ BK712M1-Z-1T (รูปท่ี 8.1)) ในขณะท่ีเคร่ืองยนต์กำลังทำงานและกดหลังจากดับเครื่องยนต์ ในเวลา 5 วินาที รูปท่ี 8.1 - หนว่ ยสวติ ชแ์ ละอปุ กรณต์ ดั ต่อวงจรอตั โนมตั ิ BK712M1-Z-1T 8.2 การตดิ เครอ่ื งยนต,์ การอนุ่ เครื่องยนต์ และการดบั เคร่ืองยนต์ 8.2.1 การเตรียมการท่วั ไปสำหรบั ติดเคร่ืองยนตใ์ นแบบอัตโนมัติและติดเคร่อื งยนตด์ ว้ ยตนเอง การเตรยี มการทัว่ ไปของการติดเครื่องยนตใ์ นแบบอตั โนมัติและตดิ เครอื่ งยนต์ดว้ ยตนเอง: – ทำการตรวจสอบรถถงั กอ่ นใช้งาน – ตรวจให้แนใ่ จวา่ คนั เกียร์อยใู่ นตำแหน่ง D (เกียรอ์ ัตโนมตั ิ) หรอื ตำแหน่ง N (เกยี ร์ธรรมดา) และลอ็ ค เบรก
– เปิดวาลว์ ถงั ลม – ปรับคันตัง้ รอบเครอ่ื งยนต์ดว้ ยมือไปท่ีตำแหนง่ ประมาณ 1/3 ถึง 1/2 ของระยะต้งั รอบ – เลอื กใช้วาล์วเลอื กใช้น้ำมนั ไปทต่ี ำแหน่งใชง้ าน (เมื่อใชน้ ำ้ มันเบนซนิ เป็นเชอ้ื เพลิงให้ปรบั ไปทต่ี ำแหนง่ ALL TANKS) – เปดิ สวติ ชไ์ ฟหลกั หลงั จากนน้ั : – สำหรบั การใช้งานระบบเกียร์อัตโนมตั :ิ – ผลกั สวติ ชอ์ ุปกรณ์ตดั ต่อวงจรอัตโนมัติ 5 แอมแปร์ และ 20 แอมแปร์ ไปที่ตำแหน่ง ON – คอยจนกระทั่งการตรวจสอบอุปกรณ์ควบคุมเสร็จส้ินบนแผงควบคุม PNP02 แสดงสัญลักษณ์ N เพื่อ แสดงตำแหน่งเกียรป์ จั จบุ ันอยูท่ เ่ี กยี รว์ า่ ง (เวลาในการทดสอบอปุ กรณแ์ ละระบบไม่ควรเกิน 10 วินาท)ี – สำหรบั การใชง้ านระบบเกียรธ์ รรมดา: – คอยจนกระท่ังการทดสอบอุปกรณ์ระบบเกียร์ธรรมดาเสร็จส้ิน หลังจากน้ันไฟเตือน TEST บนแผง ควบคุม PST602 จะดบั ลง (เวลาในการทดสอบไมเ่ กิน 5 วนิ าที) – ไล่อากาศในระบบเชื้อเพลิง โดยใช้คนั โยกป๊มั น้ำมันด้วยมอื โยกประมาณ 3 – 5 ครง้ั 8.2.1.1 การเตรียมการติดเครื่องยนต์แบบอัตโนมัติในฤดูร้อน ในระหว่างการเตรียมการติดเครื่องยนต์แบบอัตโนมัติในฤดรู ้อน (ทีอ่ ณุ หภูมิ ≥ 278 K, +5 C): – เตรียมการทั่วไปกอ่ นตดิ เคร่อื งยนต์ – ผลักสวติ ช์ MANENGINE–STARTAUTOบนBK712M1-Z-1T(รูปที่ 8.1)ไปทตี่ ำแหนง่ STARTAUTO – บนแผงควบคุมพลขับ (รูปที่ 8.2) ปรับสวติ ช์ PREHEATER ไปตำแหน่งท่ีตอ้ งการใชง้ าน ข้ึนอยู่ กบั อุณหภูมขิ องสารหลอ่ เยน็ (\"+5\", \"+20\", \"+50\") C – กดปมุ่ MODE START ไฟเตือน PRESTART จะตดิ สว่าง หลังจากการทำงานก่อนติดเครือ่ งยนต์เสร็จสนิ้ อปุ กรณจ์ ะสร้างสญั ญาณเพื่อใหไ้ ฟเตือนREADYติดสว่าง 8.2.1.2 การเตรียมการติดเครื่องยนต์แบบอัตโนมัติในฤดูหนาว เม่อื เตรยี มการตดิ เครือ่ งยนต์แบบอตั โนมตั ใิ นฤดูหนาว (ท่อี ณุ หภูมิ ≤ 278 K, +5 C): – เตรียมการท่ัวไปกอ่ นติดเครือ่ งยนต์ – ใชผ้ ้าคลมุ แผงตะแกรงระบายความรอ้ น (ที่อณุ หภมู ิ ≤ 253 K, - 20 C) – เปดิ ฝาปิดไอเสียทางด้านซ้าย – ผลกั สวิตช์ MANENGINE–STARTAUTOบนBK712M1-Z-1T(รปู ท่ี 8.1)ไปท่ีตำแหนง่ STARTAUTO – บนแผงควบคมุ พลขับ (รปู ท่ี 8.2) ปรับสวติ ช์ PREHEATER ไปที่ตำแหนง่ PLUG และกดปมุ่ MODE START
1 – หน่วยป้องกันและจัดปรบั BZN01; 2 – อปุ กรณแ์ ปลงไฟ PAG-1FP; 3 – แผงมาตรวดั 1KPT-M; 4 – แผงควบคมุ 1BUD; 5 – แผงมาตรวัด 1KIP; 6 – แผงควบคมุ เครอ่ื งปรบั อากาศ; 7 – แผงควบคุมไฟสญั ญาณ 2KDS-T; 8 – แผง ควบคมุ BK712M1-P-1T; 9 – กล่องควบคุม BK712M1-LT รปู ท่ี 8.2 – แผงควบคุมพลขบั – ใน 2 – 3 นาที (ท่ีอุณหภูมิ ≥ 243 K, - 30 C) หรือ 3 – 4 นาที (ที่อุณหภูมิ ≤ 243 K, - 30 C) ปรบั สวิตช์ PREHEATER ไปที่ตำแหน่ง START และกดปมุ่ MODE START เม่ือเคร่อื งทำความร้อนทำงาน ปรับสวิตชไ์ ปที่ ตำแหนง่ OPERAT และกดปมุ่ MODE START – เม่ือใชน้ ำ้ มนั เครื่องของ AZMOL GARANT, M-4042 VT, Galol M-4042 DT or M16IHP-3: – ท่อี ุณหภมู ิ ≤ 278 K (+ 5 C) อนุ่ สารหลอ่ เย็นดว้ ยเคร่ืองทำความรอ้ นจนมีอุณหภมู ปิ ระมาณ 363- 383 K (90-110 C) – ทีอ่ ณุ หภมู ิ ≤ 243 K (- 30 C) หลงั จากทำความรอ้ นคร้ังแรก คอย 4 – 5 วนิ าที และทำความรอ้ น ให้กับสารหลอ่ เยน็ ด้วยเครื่องทำความร้อนจนมอี ุณหภูมปิ ระมาณ 363-383 K (90-110 C) – หลังทำความร้อนให้กบั สารหล่อเย็นและหยดุ ใชง้ านเครอ่ื งทำความร้อนโดยอตั โนมตั ิ ปรับสวติ ช์ PREHEATER ไปทต่ี ำแหนง่ SCAV และกดปุ่ม MODE START – ใน 30 – 60 วนิ าที ปรบั สวิตช์ PREHEATER ไปทีต่ ำแหนง่ OFF – หลังใชง้ านเคร่อื งทำความรอ้ น ปิดฝาครอบไอเสยี ด้านซา้ ย – เหยียบและปลอ่ ย 5 – 8 คร้ัง ในแต่ละครั้งให้เหยยี บคนั เรง่ จนสดุ ค้างไว้ 3 – 5 วนิ าที – ปรับสวิตช์ PREHEATER ไปที่ตำแหน่ง \"0 C\" (สำหรับติดเคร่ืองยนต์ด้วยไฟฟ้า) หรือ \"–5 C\" (สำหรบั ตดิ เคร่อื งยนต์แบบผสม) และกดป่มุ MODE START ไฟเตือน PRESTART จะตดิ สวา่ ง หลังจากการเตรียมการกอ่ นติดเครอ่ื งยนตข์ อง PREHEATER เสรจ็ สน้ิ ไฟเตือน READY จะตดิ สวา่ ง 8.2.1.3 การเตรียมการติดเครื่องยนต์แบบธรรมดา
ในระหว่างเตรียมการติดเครื่องยนต์แบบธรรมดา (กรณีฉุกเฉิน) ในฤดูหนาว (ที่อุณหภูมิ ≤ 278 K, + 5 C) หรอื ในฤดรู อ้ น (ท่อี ุณหภมู ิ ≥ 278 K, + C): – เตรียมการทว่ั ไปกอ่ นติดเครอ่ื งยนต์ – ปรับสวติ ช์ MANENGINE–STARTAUTOบนBK712M1-Z-1T(รูปท่ี 8.1)ไปตำแหน่งMANENGINE – เปดิ สวติ ช์ FUEL PUMP – ผลักสวิตช์ OIL PUMP บน BK712M1-Z-1T ค้างไว้ประมาณ 20 – 30 วินาที ไฟเตือน จะติดสว่าง และจะดับลง เมอ่ื แรงดนั นำ้ มันเครอ่ื งในระบบหล่อลน่ื เครื่องยนตเ์ พยี งพอ – ถ้าอุณหภูมิสารหล่อเย็นอยู่ระหว่าง 293 – 323 K (20 – 50 C) หลังจากนั้น BK712M1-Z- 1T กดสวติ ช์ OIL INJECT ค้างไว้และสังเกตมาตรวดั แรงดันลมของระบบลม เมื่อเข็มมาตรวดั แรงดันลมตกี ลับไปทางซ้าย ปดิ ปุ่ม OIL INJECT (ระหวา่ งการฉีดน้ำมันเครื่องยนต์เข้ากระบอกสูบ ข้ึนอยู่กับอุณหภูมิของน้ำมันเคร่ืองยนต์ อาจจะอยู่ ระหวา่ ง 15 – 30 วนิ าที) – ถา้ อุณหภูมิของสารหล่อเยน็ อย่รู ะหวา่ ง 278 – 293 K (5 – 20 C) ใหฉ้ ีดน้ำมันเครื่องยนตเ์ ข้า กระบอกสูบอกี ครั้ง หลงั จากเปดิ สวิตช์ OIL PUMP ประมาณ 20 – 30 วินาที – ถ้าอุณหภมู ิของสารหล่อเยน็ อยู่ต่ำกวา่ 278K(5C)ทำความร้อนสารหล่อเย็นโดยปฏิบตั ิตามข้อท่ี 8.2.1.2 – ก่อนกดปมุ่ ENGINE STARTER หรอื AIR START บน BK712M1-Z-1T กดป่มุ OIL PUMP คา้ วไว้ จนกระทว่ั ไฟเตือน ดับลง แต่ไมน่ านกวา่ 30 วนิ าที ขอ้ ควรระวัง 1. การทำงานเครื่องยนต์ เมื่อใช้น้ำมันเบนซินเป็นเชื้อเพลิง ควรเปิดสวิตช์ FUEL PUMP ตลอดเวลา โดยผลัก สวิตช์บน BK712M1-Z-1T ไปท่ีตำแหน่ง PETROL (ในการทำงานแบบ \"START AUTO\" หรือ \"MAN ENGINE\") เม่ือใช้ น้ำมนั ดเี ซลเป็นเชื้อเพลิง ควรเปิดสวิตช์ FUEL PUMP ในระหวา่ งทำการติดเครื่องยนต์ 2. ถ้าใช้น้ำมัน M-8B2C ในระบบหล่อลื่นเครื่องยนต์ และน้ำมัน TSZp-8 ในระบบหล่อล่ืนและควบคุมเครื่อง เปลี่ยนความเร็ว สามารถติดเคร่ืองยนต์ได้โดยไม่ต้องทำความร้อนให้กับเครื่องยนต์ก่อน เม่ืออุณหภูมิภายนอก ≥ 248 K (- 25 C) 3. ในกรณีท่ีการติดเครื่องยนตร์ ถถังล้มเหลว ให้ติดเครื่องยนต์ชว่ ยตามการปฏบิ ตั ิข้อท่ี 5.9.3 และเตรยี มการตดิ เคร่ืองยนตอ์ ีกครง้ั ในแบบธรรมดา 8.2.2 การติดเคร่ืองยนต์ด้วยไฟฟ้า การติดเคร่ืองยนต์ด้วยไฟฟ้าสามารถติดเคร่ืองยนต์ท้ังแบบอัตโนมัติและแบบธรรมดา (กรณีฉุกเฉิน) ใช้การ ติดเครอ่ื งยนต์แบบธรรมดาเม่อื ไมส่ ามารถติดเคร่อื งยนต์แบบอัตโนมตั ไิ ด้ (อุปกรณต์ ิดเคร่ืองยนตแ์ บบอตั โนมัตใิ ช้ไม่ได)้ ภายหลังการเตรียมการติดเคร่ืองยนต์ในฤดูหนาวหรือฤดูร้อน ขึ้นออยู่กับอุณหภูมิอากาศภายนอก กดปุ่ม STARTER บนแผงควบคุมพลขับ (รปู ท่ี 8.2) และคา้ งไวจ้ นกระท่งั เครอื่ งยนต์ติด ในการติดเครื่องยนต์แบบธรรมดา (กรณีฉุกเฉิน) หลังจากการเตรียมการติดเครื่องยนต์แบบธรรมดาในฤดู ร้อนหรือฤดูหนาว ข้ึนอยู่กับอุณหภูมิอากาศภายนอก กดปุ่ม ENGINE STARTER บน BK712M1-Z-1T (รูปท่ี 8.1) ข้าง แผงควบคมุ พลขบั และกดคา้ งไว้จนกระทง่ั เคร่อื งยนต์ติด ในระหว่างใช้งานสวิตช์ติดเครือ่ งยนต์ด้วยไฟฟ้า ต้องไม่นานกวา่ 7 วนิ าที และไม่เกิน 3 ครั้ง ซ่ึงในแตล่ ะคร้ัง มรี ะยะเวลาห่างกนั อยา่ งน้อย 15 วนิ าที การตดิ เครื่องยนตค์ รง้ั ต่อไป ตอ้ งคอยเวลา ทันทีที่เครื่องยนตต์ ิด ปล่อยปมุ่ STARTER (ในการติดเคร่ืองแบบอัตโนมัติ) หรือ ENGINE STARTER (ในการ ตดิ เครอ่ื งแบบธรรมดา) และตัง้ ความเร็วรอบเครือ่ งยนต์ดว้ ยคันต้งั รอบเคร่ืองยนต์ด้วยมือไปท่ี 1,000 – 1,200 รอบ/นาที 8.2.3 การติดเครอ่ื งยนต์ดว้ ยลม
การติดเครื่องยนต์ด้วยลมสามารถทำได้ท้ังในการติดเครื่องยนต์แบบอัตโนมัติและแบบธรรมดา ใช้การติด เครื่องยนต์ด้วยลมในแบบธรรมดา เมื่อไม่สามารถติดเคร่ืองยนต์แบบอัตโนมัติได้ (อุปกรณ์ติดเครื่องยนต์แบบอัตโนมัติใช้ ไมไ่ ด้) การตดิ เครอ่ื งยนตแ์ บบธรรมดา (กรณฉี กุ เฉิน): - เตรียมการตดิ เครอื่ งตามข้อที่ 8.2.1.3 - กดปุ่ม AIR START บน BK712M1-Z-1T (รูปท่ี 8.1) และกดค้างไว้จนกระทั่งเคร่ืองยนต์ติด ทันทีที่ เครื่องยนต์ทำงาน ปล่อยปุ่ม AIR START และปิดสวิตช์ FUEL PUMP (เม่ือใช้น้ำมันดีเซลเป็นเช้ือเพลิงและน้ำมันเจ็ท) การใช้เครื่องยนต์เม่ือใช้น้ำมันเบนซินเป็นเชื้อเพลิง ให้เปิดสวิตช์ FUEL PUMP บน BK712M1-Z-1T ไปท่ีตำแหน่ง PETROL หมายเหตุ – ปมั๊ น้ำมันควรจะหยดุ ทำงานอัตโนมตั ิ เม่อื เคร่อื งยนต์รถถังหยุดทำงาน ขอ้ ควรจำ! ห้ามกดปุ่ม AIR START นานเกินกว่า 7 วินาที ตง้ั รอบเครื่องยนตไ์ ปท่ี 1,000 – 1,200 รอบ/นาที หมายเหตุ – การติดเครื่องยนตด์ ้วยลม สามารถกระทำไดเ้ มอ่ื : – อณุ หภูมนิ ้ำมันเครื่องยนต์ต้องไมต่ ำ่ กว่า 323 K (50 C) – แรงดันลมในถังลมต้องมากกว่า 7 MPa (70 kgf/cm2) เม่ืออุณหภูมิภายนอกมากกว่า 278 K (5 C) และแรงดนั ลมมากกวา่ 9.0 MPa (90 kgf/cm2) เม่อื อณุ หภูมภิ ายนอกต่ำกวา่ 278 K (5 C) การติดเครอื่ งยนตแ์ บบอัตโนมัติ: – ปรับสวติ ช์ MAN ENGINE – START AUTO บน BK712M1-Z-1T ไปทีต่ ำแหน่ง START AUTO – เตรียมการติดเครือ่ งยนตแ์ บบอัตโนมตั ิ ซ่ึงข้นึ อยกู่ บั อณุ หภูมิภายนอก – กดปุ่ม AIR บนแผงควบคุมพลขับ (รปู ท่ี 8.2) และกดคา้ งไวจ้ นกระทง่ั เคร่ืองยนตต์ ิด – ตัง้ รอบเคร่ืองยนตไ์ ปที่ 1,000 – 1,200 รอบ/นาที 8.2.4 การติดเครอ่ื งยนต์แบบผสม เครื่องยนต์สามารถติดได้โดยการติดเคร่ืองยนต์แบบผสมท้ังในแบบอัตโนมัติและแบบธรรมดา ในการติด เคร่ืองยนตแ์ บบธรรมดาสามารถตดิ เคร่ืองยนต์เมื่ออุปกรณต์ ดิ เคร่ืองยนต์แบบอัตโนมัตใิ ชไ้ ม่ได้ การติดเคร่ืองยนตแ์ บบอตั โนมัต:ิ – เตรยี มการตดิ เคร่อื งยนตต์ ามข้อที่ 8.2.1.2 (เงอื่ นไขอุณหภูมทิ ี่ \"-5 C\") – บนแผงควบคุมพลขับ (รูปท่ี 8.2) กดปุม่ STARTER คา้ งไว้ วาล์วติดเครื่องยนตด์ ้วยลม ควรจะทำงาน อัตโนมัตเิ ป็นเวลา 2 วนิ าที ในระหวา่ งท่กี ดปุ่ม STARTER คา้ ง 7 วินาที ทนั ทเี คร่อื งยนตต์ ิด ปลอ่ ยปมุ่ STARTER – ตั้งรอบเครอ่ื งยนต์ท่ี 1,000 – 1,200 รอบ/นาที การตดิ เคร่ืองยนตใ์ นแบบอัตโนมตั :ิ – ใหเ้ ตรียมการติดเครอ่ื งยนต์ตามขอ้ ท่ี 8.2.1.3 – บน BK712M-Z-1T (รูปที่ 8.1) กดปุ่ม ENGINE STARTER ค้างไว้ ใน 1 วินาที กดปุ่ม AIR START ระหว่างที่ติดเครื่องยนต์กดปุ่ม AIR START 1 – 4 ครั้ง นาน 2 – 3 วินาที ระยะเวลาห่างในแต่ละคร้ังประมาณ 6 – 7 วนิ าที ทนั ทที ่ีเคร่อื งยนตต์ ดิ แลว้ ให้ปล่อยปุม่ ENGINE STARTER และ AIR START – ตงั้ รอบเคร่อื งยนตไ์ ปที่ 1,000 – 1,200 รอบ/นาที 8.2.5 การตดิ เครอื่ งยนต์จากรถถังคันอน่ื 8.2.5.1 การตดิ เครื่องยนต์โดยใช้พลังงานไฟฟ้าจากรถถังคันอนื่ ปิดสวติ ชอ์ ปุ กรณไ์ ฟฟ้าทงั้ หมด หลังจากน้ันปดิ สวิตช์ไฟหลักของรถถงั ท้งั สองคนั ท่ีรถถงั ทั้งสองคัน ปิดการใช้งานอปุ กรณ์ตัดต่อวงจรอัตโนมัติ ท่ี BK712M1-Z-1T (รูปที่ 8.1) ถอดสะพานไฟจากเตา้ เสยี บสำหรบั ติดเครือ่ งยนตภ์ ายนอกทร่ี ถถังคันที่เปน็ แหลง่ พลังงานไฟฟ้า
เชือ่ มตอ่ ชดุ สายไฟทเี่ ตา้ เสยี บสำหรบั ติดเคร่อื งยนตภ์ ายนอกตามแผนภาพบนแผ่นปิดหน้า ตำแหนง่ แบตเตอรี่ เช่ือมต่อสายไฟควบคุมติดเคร่ืองยนต์จากภายนอกเข้าท่ีเต้าเชื่อมต่อ EXTERNAL START บน BK712M1-Z-1T เปดิ สวติ ช์ตัดต่อวงจรอัตโนมัติ EXTERNAL START บน BK712M1-Z-1T และสวติ ช์ไฟหลักบนรถถัง ท้ังสองคนั เตรยี มการตดิ เครื่องยนตต์ ามขอ้ ท่ี 8.2.1.3 โดยขนึ้ อยกู่ บั อุณหภูมิของสารหลอ่ เยน็ และตดิ เคร่อื งโดย SG หลงั จากเคร่อื งยนตต์ ดิ แลว้ : – ปิดสวิตช์ตัดตอ่ วงจรอัตโนมตั ิ EXTERNAL START บนรถถังทั้งสองคนั และปลดการเช่อื มตอ่ สายไฟ – ใส่สะพานไฟกลับเข้าตำแหน่งของรถถังคันท่เี ปน็ แหล่งพลงั งานไฟ – ปดิ ฝาครอบเต้าเสียบ EXTERNAL START บนรถถังท้ังสองคัน หมายเหตุ สายไฟควบคมุ ตดิ เคร่ืองยนตแ์ ละชดุ สายไฟพว่ งมีอยใู่ นชดุ อุปกรณแ์ ละเคร่ืองมือประจำหน่วย 8.2.5.2 การตดิ เครื่องยนต์จากแรงดันลมภายนอก ระบบลมท่ีเปน็ ลกั ษณะคล้ายกันกบั ของรถถัง สามารถใชเ้ ป็นแรงดนั ลมภายนอกในการติดเคร่อื งยนตไ์ ด้ ขัน้ ตอนการตดิ เคร่อื งยนต์ใหป้ ฏิบตั ดิ ังนี้: – ตอ่ ท่อลมทั้งสองทอ่ จากชดุ อุปกรณแ์ ละเครอ่ื งมือประจำรถถัง – ต่อปลายทอ่ เขา้ ทตี่ ำแหนง่ วาลว์ ลมในรถถัง – ทรี่ ถถงั คันทีม่ าพ่วง ให้เปดิ วาลว์ ในถงั ลมและสำหรับรถถังท่ตี อ้ งการตดิ เครื่องให้ปิดวาล์วถงั ลม – เปดิ วาลว์ ปล่อยลมจากรถถงั ทง้ั สองคนั – ให้เรม่ิ ทำการตดิ เครอ่ื งยนต์ดว้ ยลมตามการปฏบิ ัติในหวั ขอ้ ที่ 8.2.3 หลังจากติดเครื่องยนต์ด้วยลมแล้ว ให้ปิดวาล์วปล่อยลมจากรถถังท้ังสองคัน ปลดท่อลมเชื่อมต่อ ถอด แยกออกจากกนั และเกบ็ อุปกรณ์ทอ่ ตอ่ ลมเขา้ ในชดุ อปุ กรณ์และเครอื่ งมือ 8.2.6 การติดเครื่องยนตด์ ว้ ยการพ่วงลาก การตดิ เครื่องยนตด์ ้วยการพ่วงลาก จะใช้ในการตดิ เครอ่ื งยนตเ์ มื่อ ไม่สามารถตดิ เคร่ืองยนตด์ ้วยไฟฟ้า, ด้วย ลม หรอื แบบผสมได้ การติดเครอ่ื งยนตด์ ว้ ยการพว่ งลาก: – ตรวจให้แนใ่ จวา่ เพลาขอ้ เหวีย่ งสามารถหมุนไดอ้ ย่างอิสระโดยการติดเคร่อื งยนต์ด้วยไฟฟา้ หรือลม คำเตือน! ในกรณีที่เพลาข้อเหวี่ยงไม่สามารถหมุนได้อย่างอิสระ ไม่ให้ทำการติดเครื่องยนต์ด้วยการพ่วงล ากโดยไม่ แก้ปญั หาก่อน – เตรียมเครือ่ งยนต์ให้พรอ้ มทำการตดิ เครอ่ื งยนต์ – พว่ งลากรถถังทง้ั สองคนั โดยสลงิ ลากจูงและหมุนป้อมปนื ไปในทิศทางตรงกันข้ามกบั ทิศทางการ เคล่ือนที่ – ใช้ป่มุ “+” บนคันบังคบั เล้ียวเพ่อื เข้าเกียร์ 1 ในแบบเกยี ร์อัตโนมัตหิ รอื ตำแหน่งเกียร์ท่ี 1, 2 หรือเกียร์ ถอยหลงั ในแบบเกียรป์ กติ (ขั้นอยู่กบั ทศิ ทางของการพว่ งลากรถถงั ) ในระหว่างพว่ งลากรถถงั แนะนำให้รถถงั คนั ที่ถูกพว่ ง ลากใชต้ ำแหน่งเกยี ร์เดยี วกนั กับรถถงั คนั ที่มาพว่ งลาก – ระหว่างการพ่วงลาก บนแผงควบคุม BK712M1-Z-1T (รูปท่ี 8.1) ของรถถังคันที่ถูกพ่วงลาก ส้ัน ให้ กดปุ่ม ENGINE OIL PUMP และ TOW OIL PUMP เป็นช่วงระยะเวลาสั้น ในระหว่างเวลา 120 - 150 วินาที เพ่ือ ปั๊มน้ำมันเคร่อื งยนต์และปม๊ั นำ้ มนั เคร่ืองเปลีย่ นความเร็วทำงาน – ทนั ทีที่แรงดันน้ำมนั เครื่องยนตส์ ูงถงึ 0.04 เมกกะปาสคาล (0.4 กก./ตร.ซม.) ใน 2-3 วินาที ให้เหยียบ แป้นคันเร่ง ในกรณีที่ไม่สามารถติดเคร่ืองยนตไ์ ดใ้ น 3 นาที แนะนำให้กดปมุ่ สวิตช์ ENGINE OIL PUMP และ TOW OIL
PUMP ทงั้ สองสวติ ชอ์ กี คร้ัง ตลอดการพ่วงลาก จนกระทง่ั เคร่อื งยนต์ตดิ หลังจากเครอ่ื งยนตต์ ดิ : – เหยยี บแป้นคลัทช์ – หยดุ รถถงั โดยแป้นเบรก เพื่อป้องกันรถถังทพ่ี ว่ งลากจะชนกนั – ปลดเกยี ร์ และเล่ือนตำแหนง่ เกยี ร์ไปที่ตำแหน่งเกียรว์ า่ ง – เมื่อรถถังหยดุ เคลือ่ นที่ ให้ปลดสลงิ พว่ งลากและเก็บสลิงพว่ งลากไว้ยังตำแหน่งเดมิ 8.2.7 ตดิ เครอื่ งยนต์ดว้ ยนำ้ มันทม่ี คี วามหนืดตำ่ M-8B2C น้ำมนั เครือ่ งยนต์แบบ M-8B2C ในระบบหล่อลื่นเครอ่ื งยนต์ แนะนำใหใ้ ช้ในสภาพอากาศภายนอก อุณหภูมติ ำ่ กว่า 278 เควนิ (<5 องศาเซลเซยี ส) (และใช้น้ำมนั TSZp-8 เป็นน้ำมันสำหรบั ระบบหลอ่ ล่ืนเคร่ืองเปลี่ยน ความเรว็ และการควบคุมไฮดรอลิก) ถ้าระบบหล่อล่ืนเคร่ืองยนต์และระบบควบคุมเคร่ืองเปลี่ยนความเร็วด้วยไฮดรอลิกถูกเติมด้วยน้ำมัน ดังกล่าว เคร่อื งยนตค์ วรสามารถตดิ เครื่องยนตไ์ ด้ในสภาพอากาศอณุ หภมู ิสงู กวา่ 248 เควนิ (>-25 องศาเซลเซียส) โดยไม่ ตอ้ งอุ่นความรอ้ นใหก้ ับน้ำมนั เครือ่ งและสารหล่อเยน็ การติดเครอ่ื งยนตท์ ่ีอณุ หภูมิต่ำกวา่ 248 เควนิ (<-25 องศาเซลเซียส) ควรปฏิบัติตามขอ้ ที่ 8.2.1.2 การติดเคร่ืองยนต์โดยไม่ทำการอุ่นเคร่ืองยนต์ ควรกระทำโดยการติดเครื่องยนต์ด้วยไฟฟ้าหรือแบบผสม ได้ทง้ั ในแบบการตดิ เครือ่ งยนตด์ ว้ ยมอื หรอื แบบอตั โนมตั ิ การติดเครอื่ งยนตด์ ว้ ยมือควรปฏบิ ตั ิดงั นี้ – หยุดรถถังดว้ ยเบรกจอดรถ – ปรบั สวติ ชเ์ ลือกใช้ถงั น้ำมนั ไปยังกลมุ่ ถังน้ำมนั ที่ต้องการ – เปิดสวติ ชไ์ ฟหลัก – เปดิ วาล์วถงั ลมทง้ั สองถัง (แรงดนั ลมไมค่ วรนอ้ ยกว่า 9.0 เมกกะปาสคาล (90 กก/ตร.ซม.)) – ไลอ่ ากาศทีอ่ ยูใ่ นระบบนำ้ มันเช้ือเพลงิ โดยการโยกคนั ปัม๊ นำ้ มันด้วยมอื 3 – 5 ครงั้ หลงั จากนนั้ ให้ เปดิ สวติ ช์ปม๊ั นำ้ มันเชอื้ เพลงิ – ตรวจใหแ้ นใ่ จวา่ ตำแหนง่ ของคนั เกียรถ์ กู เล่อื นไปทต่ี ำแหน่ง “N” – สูบฉีดนำ้ มันเคร่ืองยนต์ดว้ ยป๊มั นำ้ มนั เครอ่ื งยนต์หลัก โดยการกดสวิตช์ OIL PUMP คา้ งไว้ 25 - 30 วินาที ในระหว่างกดสวิตช์ ให้เหยียบคันเร่งจนสุดและปล่อย 5 - 8 ครั้ง โดยเหยียบค้างไว้แต่ละคร้ัง ประมาณ 3 - 5 วินาที แรงดันน้ำมันเครื่องยนต์ในระบบหล่อลื่น ควบคุมโดยการถอนคันเร่ง เม่ือถอนคันเร่ง แรงดันไม่ควรน้อย กว่า 0.05 เมกกะปาสคาล (0.5 กก./ตร.ซม.) – กดสวิตช์ OIL INJECT ท่ีแผงควบคุม BK712M1-Z-1T (รูปที่ 8.1) และควบคุมตำแหน่ง มาตรวดั แรงดันลม ทันทที ่เี ขม็ ช้ีตีกลับไปทางซ้าย ให้ปดิ สวติ ช์ OIL INJECT (ระยะเวลาในระหวา่ งการฉีด นำ้ มนั เขา้ กระบอกสบู ซึ่งขน้ึ อยูก่ บั อณุ หภมู แิ ละอยใู่ นห้วงประมาณ 15 - 30 วนิ าท)ี – เปิดใช้งานสวิตช์ OPP อีกครั้งเป็นระยะเวลา 25-30 วินาที หลังจากน้ันปิดใช้งานสวิตช์ OPP ทำการฉีด นำ้ มนั – ใหส้ ญั ญาณแตรเตือนเพ่ือตดิ เคร่อื งยนต์ – ต้ังคันตั้งรอบเครื่องยนต์ด้วยมือไปที่ตำแหน่ง ½ ของระยะคันต้ังรอบด้วยมือ และเปิดใช้งานสวิตช์ OPP จนกระท่งั แรงดันพอที่จะใชใ้ นระบบหล่อล่นื เคร่อื งยนต์ – กดปุ่ม ENGINE STARTER บนแผงควบคุม BK712M1-Z-1T และในเวลาเดียวกันภายใน 6-7 วินาที กด ปุ่ม AIR START เปน็ ระยะเวลา 2-3 วนิ าที หลังการติดเครือ่ งยนต์และรอบเครอื่ งยนต์คงท่ี ปล่อยปมุ่ ENGINE STARTER และ AIR START เร่มิ อุ่นเครอ่ื งยนต์ การติดเครอ่ื งยนต์แบบอัตโนมัติ ใหป้ ฏบิ ตั ิดงั น้:ี
– จอดรถโดยใช้เบรกจอดรถ – เลอื กใช้งานสวติ ช์เลือกใช้ถังน้ำมนั – เปดิ ใช้งานสวติ ช์ไฟหลกั – เปิดวาลว์ ถังลม (แรงดันไมค่ วรน้อยกว่า 9.0 MPa (90 kgf/cm2)) – ไล่อากาศในระบบนำ้ มนั เช้ือเพลงิ โดยคันโยกปมั๊ นำ้ มันดว้ ยมอื 3-5 ครั้ง – ตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้เลือกตำแหน่งก้านปรับไปทีต่ ำแหนง่ “A” – เตรียมการตดิ เครือ่ งยนตส์ ำหรับการตดิ เครอื่ งยนต์ในข้อท่ี 8.2.1.2 เงื่อนไขอุณหภมู ิ “–5C” – กดปุ่ม STARTER บนแผงควบคุมพลขบั (รปู ท่ี 8.2) หลังเคร่ืองยนต์ตดิ และความเร็วรอบคงที่ ปลอ่ ยปุม่ STARTER และเรมิ่ อุ่นเคร่ืองยนต์ ถ้าหลังจาก 15 วินาที เครื่องยนตไ์ ม่สามารถติดเครื่องยนต์ได้ และรอบเครื่องยนต์ไม่ถัง 200 rpm ให้หยุดขั้นตอน การปฏิบัติตดิ เครอ่ื งยนต์ และเริม่ ต้นตดิ เคร่อื งยนต์ใหม่ต้ังแต่การเตรยี มการติดเครอ่ื งยนต์ ที่อุณหภูมิภายนอกและสารหล่อเย็นต่ำกว่า 293 K (20 C) ควรกดปุ่ม STARTER เป็นระยะเวลา 30 วินาที ติด เคร่อื งยนตอ์ ีกครงั้ หลงั จาก 3 นาที เมื่อการติดเครอ่ื งยนตล์ ม้ เหลว ถ้าการตดิ เครื่องยนต์รอบที่สองไมส่ ำเรจ็ ให้ใช้ระบบอ่นุ เครือ่ งยนตแ์ ละเครอื่ งยนต์ช่วยในการตดิ เคร่อื งยนต์ ระหวา่ งใชง้ านเครอ่ื งยนตด์ ว้ ยน้ำมันดเี ซล ปดิ ใชง้ านปั๊มน้ำมันเชือ้ เพลงิ 8.3 การอุ่นเคร่ืองยนต์ หลังการติดเคร่ืองยนต์ให้ควบคุมการการทำงานของระบบโดยอ่านค่ามาตรวัดต่าง ๆ โดยทันที ในห้วงระยะเวลา 1 นาทีแรกของการทำงานของเครื่องยนต์ แรงดันน้ำมันเครื่องยนต์ปกติ จะสูงกว่า (โดยเฉพาะในฤดูหนาว) การอุ่น เครอื่ งยนต์ หลังการติดเครื่องยนต์ แรงดันน้ำมันเครื่องยนต์ไม่ควรต่ำกวา่ 0.15 MPa (1.5 kgf/cm2) ที่ความเร็วรอบเคร่ืองยนต์ 1,800-2,800 rpm ถ้าแรงดันต่ำกว่า 0.15 MPa (1.5 kgf/cm2) เครื่องยนต์ควรจะหยุดทำงานทันทีและตรวจพบ เหตุขดั ข้องเนื่องจากแรงดันต่ำ หลังการตดิ เคร่ืองยนต์ ให้อนุ่ เคร่อื งยนตท์ ่ีรอบเดินเบา ลำดับแรด อุ่นเครื่องยนต์ท่ีความเร็วรอบ 1,000-1,200 rpm จนกระทั่งอุณหภูมิของสารหล่อเย็นและน้ำมัน เคร่ืองยนต์อยู่ที่ 288-293 K (15...20 C) แล้วจึงเพิ่มความเร็วรอบเครื่องยนตไ์ ปที่ 2,000 rpm อุ่นเคร่ืองยนต์จนกระท่ัง อุณหภูมิของสารหล่อเย็นสูงถึง 313 K (40 C) เม่ืออุณหภูมิของสารหล่อเย็นสูงถึง 313 K (40 C) รถถังสามารถขับได้ เพอื่ อนุ่ เครื่องยนต์ตอ่ ไป เคร่ืองยนต์ร้อนและพร้อมจะทำงานได้ในทุกรูปแบบการทำงาน เม่ืออุณหภูมิของสารหล่อเย็นและน้ำมันเครื่องยนต์ ไมต่ ำ่ กว่า 348 K (75 C) ในระหว่างการอุ่นเคร่ืองยนต์ ควรปรับวาล์วบายพาสไอเสียไปท่ีตำแหน่ง HEATING (รูปท่ี 5.10) เพื่อเร่งการอุ่น เครื่องยนต์สามารถใช้ผ้าคลุมจากชุดเครื่องมือและอุปการณ์มาปิดตะแกรงระบายอากาศเหนือแผงระบายความร้อน แต่ หา้ มนำผ้าคลุมมาปิดทีต่ ะแกรงเหนือส่วนกรองอากาศเครอ่ื งยนต์ หลังจากการอุน่ เครื่องยนต์ ควรปรบั ตำแหน่งของวาลว์ บายพาสไอเสยี ไปท่ตี ำแหน่งกลาง เพื่อยงั คงรกั ษาอุณหภมู ิ ของสารหลอ่ เย็นและระบบหลอ่ ลืน่ เกบ็ ผา้ คลุมตะแกรงแผงระบายอากาศเขา้ ในชดุ อุปกรณ์เครอ่ื งมอื ประจำรถ 8.4 การติดเครอื่ งยนตร์ ถถังอยู่กับที่ ในระหวา่ งใช้งานท่ีรอบเดนิ เบา เม่ือใชน้ ำ้ มันดีเซลหรอื นำ้ มันเจ็ท ความเร็วรอบต่ำสุดควรอยู่ที่ 800 rpm ถ้าใชน้ ำ้ มัน เบนซิน ความเร็วรอบตำ่ สดุ ควรอยู่ท่ี 1,000 rpm
สำหรับการชาร์ตประจุให้กับแบตเตอรี่ ความเร็วรอบเครื่องยนต์ควรเพิ่มขึ้นถึง 1,400 – 1,500 rpm และหากใช้ กำลังไฟฟ้า (เม่ือใช้ระบบรักษาการทรงตัวของปืน, กล้องตรวจการณ์เวลากลางคืน และอื่น ๆ) ควรเพิ่มความเร็วรอบถึง 2,100-2,200 rpm คำเตือน! ไมอ่ นุญาตให้ติดเคร่ืองยนต์ท่ีรอบเดนิ เบาโดยไมใ่ ช้งานเครอ่ื งยนต์เกนิ กวา่ 60 นาที 8.5 การควบคุมการทำงานของเคร่ืองยนตแ์ ละเคร่อื งเปลี่ยนความเรว็ เพ่ือป้องกันรถถังจากความเสียหายและอุบัติเหตุ พลขับควรควบคุมการทำงานของเคร่ืองยนต์และเคร่ืองเปลี่ยน ความเร็วตลอดเวลา โดยการอ่านคา่ มาตรวดั ต่าง ๆ ท่แี ผงควบคมุ ของพลขับ ก่อนเรม่ิ เคลื่อนรถถงั : - ตรวจสอบการทำงานของเครื่องยนต์ท่ีรอบเดินเบา (800 rpm เม่ือใช้น้ำมันดีเซลและน้ำมันเจ็ท และ 1,000 rpm เม่ือใชน้ ้ำมนั เบนซิน) - แรงดันน้ำมันเคร่ืองยนต์ในระบบหล่อลื่น ไม่ควรต่ำกว่า 0.15 MPa (1.5 kgf/cm2) และแรงดันน้ำมันในระบบ เครื่องเปลยี่ นความเร็ว ไมค่ วรตำ่ กว่า 0.2-0.25 MPa (2.0-2.5 kgf/cm2) ในการใช้งาน คา่ ตัวแปรต่าง ๆ ท่ีตอ้ งควบคมุ ควรอย่ใู นระดบั ต่าง ๆ ดังนี้: 1. ท่ีแผงควบคมุ พลขบั : - ชว่ งความเร็วรอบเครอ่ื งยนต์ระหวา่ ง 1,200-2,950 rpm (ควรให้อยูร่ ะหว่าง 1,800-2,400 rpm) - แรงดันนำ้ มนั เคร่อื งยนตใ์ นระบบหล่อลน่ื ไมค่ วรต่ำกวา่ 0.15 MPa (1.5 kgf/cm2) - แรงดนั นำ้ มันในระบบหล่อล่ืนเครอ่ื งเปลยี่ นความเร็ว ไมค่ วรต่ำกว่า 0.2-0.25 MPa (2.0-2.5 kgf/cm2) และ ทตี่ ำแหน่งเกียร์ 6 และเกยี ร์ 7 ควรอยู่ระหว่าง 0.2-0.3 MPa (2-3 kgf/cm2) การลดลงของแรงดันน้ำมันในระบบหล่อลื่น เคร่อื งเปลย่ี นความเรว็ ไมค่ วรตำ่ กวา่ 0.15 MPa (ทีค่ วามเรว็ รอบต่ำกว่า 2,000 rpm) ถา้ จำเปน็ ใหจ้ ดั ปรับแรงดนั นำ้ มัน - อุณหภูมิท่ีเหมาะสมในการใช้งานของน้ำมันเคร่ืองยนต์ควรอยู่ระหว่าง 363-383 K (90-110C) และ อุณหภูมิใช้งานสูงสุดที่สูงถึง 403 K (130 C) ห้ามเกินกว่า 60 นาที (เม่ือใช้น้ำมัน M-8B2C อุณหภูมิใช้งานควรอยู่ ระหวา่ ง 343-368 K (70-95C) และอุณหภมู ิใชง้ านสูงสดุ ท่ี 378 K (105 C)) - อณุ หภมู ิสารหลอ่ เย็นในระบบระบายความรอ้ นเมอ่ื ใช้นำ้ ควรอยรู่ ะหว่าง 363-383 K (90-110C) อุณหภมู ิสงู สุดท่ี 403 K (130 C) โดยใชง้ านไม่เกนิ 60 นาที หากใชส้ ารป้องกนั การแขง็ ตวั เป็นสารหล่อเย็น ควรอยู่ ระหวา่ ง 353-368 K (80-95C) และอณุ หภูมิใช้งานสูงสุดท่ี 378 K (105C) 2. การอา่ นค่าท่ีระบบลมจากมาตรวดั แรงดันควรอยรู่ ะหว่าง 12.0-15.0 MPa (120-150 kgf/cm2) เมื่ออุณหภูมิน้ำสูงถึง 373 K (100 C) และสารป้องกันการแข็งตัว 368 K (95 C) เพิ่มความสนใจท่ี อุณหภูมิของสารหล่อเยน็ ใหม้ ากขึ้น เมื่ออณุ หภมู ขิ องสารหล่อเยน็ สงู ถึงคา่ สูงสดุ ที่อนญุ าตใหใ้ ช้งาน (เม่ือใช้นำ้ อย่ทู ่ี 403 K (130 C) และเมอ่ื ใช้ สารปอ้ งกันการแข็งตัว อยูท่ ่ี 378 K (105 C)) จำเปน็ ตอ้ งลดเกียร์ลงและเพิ่มความเรว็ รอบเคร่ืองยนต์ เมอื่ อุณหภูมขิ องน้ำมนั เครื่องยนต์สูงถึงคา่ สงู สดุ ทอ่ี นญุ าตให้ใชง้ าน จำเปน็ ต้องลดความเรว็ รอบเครอื่ งยนต์ ถา้ การปฏิบตั ิข้างตัน ไม่สามารถลดอณุ หภูมลิ งได้ ให้หยุดรถถัง และลดอุณหภูมิของสารหล่อเยน็ ลงมาจนถึง 388 K (115 C) หลังจากจึงดบั เคร่อื งยนต์ หาสาเหตุและแก้ไขเหตทุ ่ีทำใหอ้ ณุ หภูมิเพ่ิมข้นึ คราบของสารหล่อเย็นทมี่ าจากด้านใตฝ้ าปดิ จุดเติมในขณะที่หม้อนำ้ ร้อน เปน็ สัญญาณของการเติมสารหล่อ เยน็ ในกรณนี ี้ ไมต่ ้องขนั ปดิ ฝาจดุ เติมจนแน่น หากจำเปน็ ให้เติมสารหลอ่ เย็นเพ่มิ เตมิ การตรวจสอบระดับน้ำมันเคร่ืองยนต์ในถัง ไม่ควรเร็วกว่า 10 นาทีหลังจากดับเคร่ืองยนต์ การลดลงหรือ เพิ่มขึ้นของระดบั การส้ินเปลืองน้ำมันอย่างกะทนั หัน หมายถงึ อาการผดิ ปกติในการทำงานของเครื่องยนต์ รอ่ งรอยของสารหล่อเยน็ และน้ำมนั เครื่องทบ่ี รเิ วณด้านใต้รถถงั สามารถเกิดขึน้ ไดท้ ่จี ุดตรวจสอบของปัม๊ น้ำ 8.6 การดับเครอื่ งยนต์
หลังจากที่เครื่องยนต์ถูกใช้งานโดยมีภารกรรม ให้เดินเครื่องยนต์โดยไม่มีภารกรรมเป็นเวลา 2-3 นาที ที่ความเร็ว รอบ 1,500-1,600 rpm ถา้ อณุ หภมู ขิ องสารหล่อเยน็ ไม่สูงกวา่ 388 K (115 C) จึงดับเคร่ืองยนต์ การดับเครอ่ื งยนต์ ให้ถอนคันเรง่ และตัง้ คันต้ังรอบเครือ่ งยนต์ดว้ ยมือมาท่ตี ำแหน่งหลงั สดุ เมอื่ เคร่อื งยนตใ์ ช้น้ำมันเบนซนิ การดับเครอื่ งยนต์ อณุ หภูมขิ องสารหลอ่ เยน็ ต้องไม่สูงกว่า 353 K (80 C) ข้อควรจำ! อุณหภูมิของสารหล่อเย็นท่ีต่ำก่อนดับเคร่ืองยนต์ จะช่วยให้ติดเครื่องยนต์ได้ง่ายข้ึน เมื่อใช้น้ำมัน เบนซินเป็นนำ้ มันเชือ้ เพลงิ การดบั เครอื่ งยนต์ในกรณีฉุกเฉนิ ใหก้ ดปุ่ม EMERGENCY ENGINE STOP ท่แี ผงควบคุม BK712M1-Z-1T บทที่ 9 คณุ ลกั ษณะเฉพาะทีส่ ำคัญในการใชร้ ถถังปฏิบตั ิการภายใตส้ ภาวะฤดูร้อนและฤดูหนาว (Specific features of operating the tank under summer and winter conditions) 9.1 คณุ ลกั ษณะเฉพาะท่สี ำคญั ในการใชร้ ถถังปฏบิ ตั ิการในสภาวะฤดรู อ้ น (Specific features of operating the tank under summer conditions) การใช้รถถังในการปฏิบตั กิ ารภายใตส้ ภาวะฤดูร้อนคือ การปฏบิ ตั ิงานภายใตอ้ ณุ หภมู ขิ องอากาศแวดลอ้ มคงท่ี 278 K (5 ºC) หรอื สงู กว่า 9.1.1 การเตรยี มการรถถงั เพือ่ ปฏิบัตกิ ารภายใต้สภาวะฤดูร้อน (Preparation of the tank for operation under summer conditions) การเตรยี มรถถงั เพื่อปฏิบัติการภายใต้สภาวะฤดูรอ้ น ให้ปฏบิ ัตติ ามดงั น้ี: – เปลย่ี นนำ้ ยาหล่อเย็น (low-freeze liquid) ในระบบระบายความรอ้ นด้วยการใชน้ ำ้ โดยทำการเติม นำ้ ยาเพิ่มเข้าไปในน้ำอีกสามส่วน – ถอดผนกึ ก้ันออกจากสวติ ชป์ ้องกันความเย็น (ANTIFREEZE switch) บนแผงเครอื่ งกลไกดับเครื่องยนต์ โดยการผลกั สวติ ชไ์ ปทีต่ ำแหนง่ OFF แลว้ ใสผ่ นกึ ลงไปบนสวิตช์ – ถอดบานเกลด็ ฤดูหนาวบนหม้อน้ำออก (แผงเซลขนาด 2.82.8 มม.) แลว้ ใส่บานเกลด็ ฤดรู ้อนแทน (แผงเซลขนาด 1.61.6 มม.) – เปล่ยี นน้ำเช้อื เพลงิ ฤดูหนาวด้วยน้ำมันเชอ้ื เพลงิ ฤดรู อ้ น]ในระบบน้ำมนั เชอื้ เพลงิ อนญุ าตให้ใช้นำ้ มนั เช้อื เพลิงฤดหู นาวที่เหลอื อยูใ่ นระบบน้ำมนั เช้อื เพลิงไดจ้ นหมดไปจากระบบ – เปลย่ี นนำ้ ยาหล่อเย็นในระบบทำความสะอาดด้วยน้ำและแรงลมดว้ ยน้ำสะอาดลงในถงั เก็บ – ลดและยึดแผงปิดช่องทางดดี ของเสยี ออก โดยการถอดลวดยดึ แล้วคลายสลักเกลยี วทใ่ี ชย้ ดึ แผ่นป้องกนั ความร้อนด้านหลังออก แล้ววางแผ่นป้องกันลงบนห้องเครือ่ งกำเนิดกำลงั บนดาดฟ้า หลังจากน้ันให้ยึดแผน่ ป้องกันโดย การลดลงแล้วขนั ใหแ้ น่นด้วยสลักเกลยี วยึดในตำแหนง่ ใช้งาน – ตดิ ตัง้ ปลก๊ั บนช่องทางบายพาสของไอเสยี 9.1.2 วธิ ีการใชง้ านรถถงั ภายใต้สภาวะฤดรู ้อน (Procedures for operating the tank under summer conditions) เพ่ือให้รถถงั สามารถปฏิบตั กิ ารโดยเช่ือถือไดแ้ ละปราศจากข้อบกพร่องภายใต้สภาพของฤดูรอ้ น ใหป้ ฏบิ ตั ิ ดังน:้ี – ตรวจใหแ้ นใ่ จวา่ แผ่นเกราะป้องกันสายพานดา้ นข้าง, แผน่ ป้องกันฝุ่นของเครอื่ งกำเนิดกำลงั บนดาดฟ้า และ แผงบานเกล็ดบนช่องเก็บและหม้อนำ้ ไมเ่ ส่ือมสภาพ ถา้ แผน่ เกราะหรอื แผน่ บานเกล็ดชำรุดให้เปลี่ยนใหม่ – ตรวจให้แนใ่ จวา่ ระดบั นำ้ กรดในชอ่ งเก็บของแบตเตอรไี่ ด้ระดบั ตามทกี่ ำหนด ถ้าต้องการเติมให้เตมิ นำ้ กลน่ั จนกระทงั่ ไดร้ ะดบั ให้บรกิ ารแบตเตอร่ตี ามท่ีกลา่ วไว้ใน “คู่มือการใช้งานการเก็บรกั ษาแบตเตอรี่ (Operation manual B8516.00000 RE of the 12ST-85 starter lead-acid storage battery)” ไม่อนุญาตให้ ปลอ่ ยประจใุ นการเก็บรักษาแบตเตอรม่ี ากกวา่ 50 %
– ถอดฝาครอบออกจากฝาครอบเครือ่ งกลไกเทา่ น้ัน หลงั จากเริม่ ใช้งานเครอ่ื งกลเหล่าน้ี – เมอื่ เคลอ่ื นท่ีดว้ ยรูปขบวนแถวตอน ภายใต้สภาวะท่ีเป็นฝุ่น ใหเ้ พมิ่ ระยะตอ่ ระหวา่ งรถถังใหม้ ากข้นึ – ไม่แนะนำให้ทำการเปลี่ยนนำ้ ในระบบระบายความรอ้ น ถา้ จำเปน็ ใหท้ ำการเตมิ น้ำยาหล่อเยน็ ตาม ขอบเขตนอ้ ยกวา่ 5 ลิตร โดยจะอนญุ าตใหเ้ ติมนำ้ ท่ีไม่มีสารเพม่ิ เตมิ ได้ รกั ษานำ้ ให้สะอาดตลอดท่อทางเดินของนำ้ เพื่อทำ ให้สามารถเติมน้ำเข้าระบบได้ในคร้ังตอ่ ไป – หลังพายุฝุ่น ถา้ รถถงั ยังคงอยู่ในระหวา่ งพายฝุ นุ่ หรอื อยู่ในสภาวะของสนาม ใหด้ ำเนนิ การปรนนิบตั ิบำรุง ประจำวนั ตามขอบเขตที่กำหนดกอ่ นตดิ เครือ่ งยนตเ์ พอื่ ใช้งานตอ่ ไป 9.2 คุณลักษณะเฉพาะที่สำคญั ในการใชร้ ถถงั ปฏิบตั กิ ารภายใตส้ ภาวะฤดหู นาว (Specific features of operating the tank under winter conditions) การปฏิบัตงิ านของรถถังภายใตส้ ภาวะฤดหู นาวคือการปฏิบัติงานทีอ่ ุณหภมู ิของอากาศคงท่ีน้อยกวา่ 278 K (5 ºC) ภายใต้สภาวะเงือ่ นไขของอณุ หภมู ทิ ตี่ ่ำ เวลาทต่ี ้องการในการเตรียมการสำหรับตดิ เครื่องยนต์และอ่นุ เครอ่ื งจะต้อง นานกว่า เงือ่ นไขในการใชง้ านยุทธภัณฑ์, เครื่องยนต์, เครอ่ื งประกอบชุดเครื่องเปลีย่ นความเร็ว, การเกบ็ รกั ษาแบตเตอร่ี และระบบอืน่ ๆ จะรนุ แรงขนึ้ 9.2.1 การเตรยี มรถถังเพือ่ ปฏิบัตกิ ารภายใต้สภาวะฤดหู นาว (Preparation of the tank for operation under winter conditions) การเตรียมรถถงั เพื่อปฏิบัติการภายใต้สภาวะฤดหู นาว ใหป้ ฏิบตั ดิ งั น้ี: – เปลยี่ นน้ำมนั ดเี ซลฤดรู ้อนจากถังเก็บน้ำมนั เชอื้ เพลิงดว้ ยนำ้ มนั ดีเซลฤดหู นาว (ถ้าคาดวา่ อณุ หภมู ิของ อากาศอยูใ่ นย่าน 278 K (+5 ºC) - 243 K (–30 ºC)) หรอื ใชน้ ้ำมนั เชือ้ เพลงิ อารก์ ติก (ถา้ คาดว่าอณุ หภูมขิ องอากาศ แวดล้อมจะนอ้ ยกว่า 243 K (–30 ºC)) – เปล่ียนน้ำในระบบระบายความรอ้ นด้วยน้ำยาท่ีจดุ เยือกแข็งตำ่ เกรด “40” (ถ้าคาดว่าอณุ หภมู ิของ อากาศแวดลอ้ มอย่างน้อย 238 K (–35 ºC)) หรือเกรด “65” (ถา้ คาดว่าอณุ หภมู ิของอากาศแวดลอ้ มจะต่ำกว่า 238 K (– 35 ºC)) – จัดปรับแผงปดิ ช่องทางปลอ่ ยไอเสียไปอยใู่ นตำแหน่งบนสดุ – ถอดผนกึ จากสวิตช์ ANTIFREEZE ของหบี เครอ่ื งกลไกดบั เครอื่ งยนต,์ จดั ปรบั หีบควบคุมไปท่ีตำแหนง่ ANTIFREEZE แลว้ ใสผ่ นึกไวต้ ามเดมิ – ตดิ ต้งั บานเกลด็ สำหรบั ฤดหู นาวบนหมอ้ น้ำ – ตรวจใหแ้ น่ใจวา่ ระบบอนุ่ ไอดเี ครอ่ื งยนตท์ ำงานได้ ตรวจสอบโดยการติดเครื่องอุ่นไอดีประมาณ 2-3 นาที – ถอดปลก๊ั ทอ่ บายพาสไอเสีย – ติดเคร่ืองยนต์และเดินเบาประมาณ 10-15 นาที เพื่อใหน้ ำ้ มันดีเซลฤดูรอ้ นหมดไปจากทอ่ ทางเดนิ นำ้ มนั และกรองน้ำมนั เช้ือเพลิง – ตรวจการทำงานของของระบบหวั ฉีดทำความร้อนอตั โนมตั ิ และอุปกรณท์ ่จี ะฉีดนำ้ มนั เครือ่ งเขา้ ไปยงั กระบอกสูบของเครอ่ื งยนต์ และปั๊มนำ้ มันเครือ่ งออกจากห้องเฟอื งเกียร์ โดยการเปดิ สวิตช์ไปที่ตำแหนง่ ON – ตรวจการทำงานของระบบทำความรอ้ นห้องหอรบของพลประจำรถ โดยเปดิ สวิตช์ไปท่ตี ำแหนง่ ON – เปลี่ยนน้ำในถังเก็บสำหรบั ระบบทำความสะอาดด้วยนำ้ และแรงลมกลอ้ งตรวจการณข์ องพลขับ, กระจก ป้องกันหวั กลอ้ งเลง็ 1G46-M และกระจกปอ้ งกันหัวกลอ้ งเล็ง TKN-6 โดยใช้ของเหลวจดุ เยือกแขง็ ตำ่ เกรด “40” ถ้าคาด ว่าอุณหภูมิอย่างนอ้ ย 238 K (–35 ºC) หรอื ใชข้ องเหลวจุดเยือกแขง็ ต่ำของเกรด “65” ถ้าคาดวา่ อณุ หภูมิจะตำ่ กวา่ 238 K (–35 ºC) 9.2.2 วิธกี ารใช้งานรถถังภายใต้สภาวะฤดหู นาว (Procedures for operating the tank under winter conditions)
เพื่อใหร้ ถถังสามารถปฏิบตั ิได้อยา่ งเชอ่ื ถือไดแ้ ละไมม่ ขี อ้ บกพร่องภายใต้สภาวะฤดูหนาว ตดิ เครอ่ื งยนต์ หลงั จากทีอ่ นุ่ ไอดี ตามทก่ี ล่าวไว้ในข้อ 14.2.1.2 ของคู่มือฉบับน้แี ลว้ หา้ ม ตดิ เคร่ืองยนต์ท่เี ย็นอยู่ หรอื ยงั อุ่นไอดเี ครือ่ งยนต์ไมเ่ พียงพอ ด้วยวิธีการติดเคร่ืองยนตอ์ นื่ ใดกต็ าม ถา้ อุณหภมู ิของสภาพแวดล้อมตำ่ กว่า 278 K (5 ºC). หลังจากหยุดพักเป็นเวลานาน ให้ขับรถถงั เคลอื่ นท่อี อกไป 200 - 300 ม. ด้วยเกยี รต์ ่ำเพ่อื อ่นุ การหล่อลน่ื ใน ระบบเฟืองเกียร์ เม่ือรถถังเคลอื่ นท่ี ให้อ่านมาตรวดั อุปกรณต์ า่ งๆเพือ่ ลดความหนาแนน่ ของการระบายความร้อนลงในระหวา่ งการเคลอ่ื นที่ ให้ ใช้ล้ินควบคมุ บายผ่านของไอเสียโดยการจดั ปรับคันบังคบั ลน้ิ บายพาสไปตามตำแหน่งทส่ี ัมพนั ธ์กัน การป้องกนั รกั ษาแบตเตอรีจ่ ากการปลอ่ ยประจมุ ากกวา่ 25 % เมอ่ื เติมน้ำมันเชอ้ื เพลงิ และนำ้ มนั เคร่อื ง ตรวจใหแ้ นใ่ จว่าไม่มีหิมะ (ไมม่ นี ้ำ) เขา้ ไปเจอื ปนอยู่ในถังของนำ้ มัน เชือ้ เพลิงและน้ำมันเครอ่ื ง เตมิ นำ้ ยาระบบระบายความรอ้ นดว้ ยของเหลวทมี่ จี ุดเยือกแข็งต่ำซึง่ ตอ้ งการความหนาแน่น เมอื่ ดำเนนิ การ ปรนนิบัติบำรงุ ทางเทคนิคหมายเลข 1 หรอื หมายเลข 2 ใหต้ รวจความหนาแน่นของระบบระบายความรอ้ น และต้อง แนใ่ จว่าอยู่ในระดับปกติ เมื่อตอ้ งทำการยิงปืนใหญใ่ หเ้ ชด็ ไขข้นหลอ่ ลนื่ GOI-54p ออกจากลำกลอ้ งและแท่งลูกเลือ่ นแลว้ หล่อลืน่ ดว้ ย ของเหลวหลอ่ ล่นื ปนื ทำใหร้ ถถงั อยู่ในสภาพที่พร้อมเคลอื่ นท่ี อุ่นเครื่องยนตต์ ลอดเวลาทง้ั ในขณะท่หี ยดุ พักชั่วขณะ ตามท่ีกล่าวไว้ ในขอ้ 9.2.3. เมือ่ จะเตรยี มรถถังใหพ้ รอ้ มจะออกจากฤดหู นาวล่วงหน้า ให้ขจดั ไอนำ้ ออกจากระบบทอ่ ทางเดินและระบบ สะสมอากาศสำหรับติดเครือ่ งยนตใ์ ห้หอ้ งพลขบั และตัวแยกไอนำ้ -และ-น้ำมนั เครื่องในหอ้ งกำเนิดกำลังดว้ ยวิธกี ารดังนี้ – ถอดตัวควบแน่นน้ำออกจากคอมเพรสเซอร์แยกไอน้ำ-และ-นำ้ มนั เครอ่ื ง โดยการกดแปน้ สเี ขยี ว (PIPE DOWN) บนแผงควบคุมอุปกรณข์ องพลขับกดค้างไว้ประมาณ 2-3 ในขณะทีเ่ คร่อื งยนตก์ ำลังทำงานอยู่ และปดิ ลน้ิ ถงั ลม – หมนุ คันบังคบั ล้ินควบคุมทำความสะอาดด้วยน้ำและแรงลมในสถานพี ลขบั ลงด้านล่างให้มากทส่ี ดุ เท่าท่ี จะทำได้ กดแป้นสวติ ช์ “C” (hydraulic and pneumatic cleaning) บนคนั บังคบั เลี้ยว ในระหว่างช่วงเวลา 1 นาที เคร่ืองจะทำความสะอาดท่อทางเดินในห้องพลขับ หลังจากน้นั ผลักคันบงั คบั ลิ้นควบคมุ ไปยังตำแหน่งการทำความสะอาด ดว้ ยแรงลม แล้วกดคันบังคับลนิ้ ควบคมุ ใหท้ ำความสะอาดระบบดว้ ยแรงอดั อากาศประมาณ 1 นาที ในโหมดทำความ สะอาดด้วยแรงลม จะทำความสะอาดทอ่ ทางเดินของระบบทำความสะอาดด้วยน้ำและแรงลมของป้อมปนื – ถอดเครื่องควบแนน่ น้ำออกจากเคร่อื งเก็บกักไอน้ำในห้องพลขับ โดยการคลายเกลยี วยดึ บนลิ้นไลอ่ ากาศ และหมุนลอ้ ควบคุมล้ินประมาณ 1-2 รอบ – คลายเกลยี วลอ้ ไลอ่ ากาศและใสค่ รอบล้ิน – กอ่ นดบั เครือ่ งยนต์ ใหป้ ัม๊ น้ำมนั เคร่ืองออกจากหอ้ งเฟอื งเกยี ร์ โดยป๊นั ้ำมันเครือ่ งออกจากหอ้ งเฟืองเกียร์ 2 ครัง้ (ดรู ายการที่ 6.2.2) ถ้าเติมนำ้ ในระบบระบายความร้อน ให้ถา่ ยนำ้ ออกภายหลังจากดบั เครือ่ งยนต์ลงแลว้ ให้ปฏบิ ตั ิตามท่กี ล่าว ไวใ้ นรายการท่ี 5.5 ของคูม่ อื เลม่ นี้ เมอ่ื หยุดรถ ใหเ้ ตรียมการให้รถถงั พรอ้ มท่ีจะเคล่อื นทีต่ อ่ ไปได้ โดยปฏบิ ตั ิน้ี: – ให้ทำการตรวจสอบอุณหภมู ิของระบบระบายความรอ้ นเปน็ ห้วงๆ โดยตรวจท่ีมาตรวัด (ในโหมด เครือ่ งเตือนหลัก) หรอื ไฟเตือน (ในโหมดเคร่อื งเตือนเพม่ิ เติม) บนแผงควบคมุ อปุ กรณ์ของพลขับ – เพอ่ื ลดอณุ หภูมิของของเหลวทม่ี ีจุดเยอื กแข็งตำ่ ใหถ้ งึ 313 K (40 ºC) คลายเกลียวปลกั๊ ฝาปดิ ช่องไล่ อากาศในหอ้ งสันดาป และใช้การอนุ่ ไอดีตามท่ีกลา่ วไวใ้ นรายการที่ 5.6 ของคมู่ ือเล่มนี้
– อนุ่ เครอ่ื งยนตจ์ นกระทง่ั อุณหภูมริ ะบบระบายความรอ้ นสูงขึน้ ถึง 363-383 K (90-110 ºC) แล้วหยดุ การ ทำงานของระบบอนุ่ ไอดี – ใชม้ ือขนั เกลียวปลก๊ั ฝาปดิ ในหว้ งระยะเวลาในการหยดุ พกั ของรถถังทงั้ หมด ถ้าอณุ หภมู เิ ครอื่ งระบายความร้อนลดลงถึง 313 K (40 C) ใหป้ ฏิบัตซิ ำ้ ในการอ่นุ ไอดตี ามทไี่ ด้กลา่ วไว้แลว้ ขา้ งต้น บทท่ี 10 การปรนนิบัติบำรงุ รถถงั ทางเทคนิค (TECHNICAL MAINTENANCE OF THE TANK) 10.1 ขอ้ ระมดั ระวงั ความปลอดภัย (Safety precautions) การปรนนบิ ตั บิ ำรงุ รถถงั ทางเทคนิคสามารถปฏบิ ัตไิ ด้โดยพลประจำรถและจนท.ซบร.ดา้ นเทคนิคของหนว่ ยเท่านั้น เพอ่ื หลกี เล่ยี งการบาดเจบ็ ในขณะติดตั้งหรอื ถอดประกอบชิ้นส่วนในระหว่างการปรนนิบตั ิบำรุงรถังทางเทคนิค ใหใ้ ช้ เครือ่ งมอื และอปุ กรณืทใ่ี ช้สำหรับการปรนนิบัตบิ ำรุงเท่าน้ัน และตอ้ งคอยสังเกตอย่างเข้มงวดในเรอื่ งของการปฏบิ ตั ิตามกฏ ของความปลอดภยั ตลอดเวลา: - การปรนบบิ ัติบำรงุ และซ่อมบำรงุ รถถังสามารถทำได้เม่อื สวิตช์ไฟหลักอยู่ในตำแหน่งปิด (OFF) เทา่ นน้ั ยกเวน้ ในกรณที ่ีต้องมีการเปิดสวติ ช์ตามท่ีกลา่ วไว้ในวิธกี ารปรนนบิ ตั บิ ำรงุ ด้านเทคนคิ - ตรวจใหแ้ นใ่ จวา่ ฉนวนหมุ้ สายไฟฟ้าและขัว้ ต่อตา่ งๆ อยู่ในสภาพดี และเพื่อปอ้ งกนั การการลดั วงจร เมือ่ ดำเนินการปรนนิบตั บิ ำรงุ ทางเทคนิคกบั ระบบอาวธุ นำวิถี และระบบวงจรร่วมปืนและระบบควบคุมการยงิ ห้ามปฏบิ ตั ิดังน้ี: - ทำการปรนนบิ ัติบำรงุ ทางเทคนคิ ใดๆ ในขณะท่ีปนื ใหญห่ รือปนื กลมกี ารบรรจกุ ระสนุ อยู่ - ทำงานใดๆ ถา้ สวติ ช์มอเตอรข์ องหีบควบคุมวงจรไฟฟา้ ของผบ.รถ อยใู่ นตำแหนง่ เปดิ (ON) - ซ่อมหรือเปลยี่ นอปุ กรณ,์ ปลดขว้ั ต่อหรือใสข่ ว้ั ตอ่ อปุ กรณ,์ เปล่ยี นฟิวส์อุปกรณ์ และเปลยี่ นหลอดไฟเตือน ถ้า อปุ กรณ์นั้นๆ เปดิ สวติ ชใ์ ชง้ านอยู่ หรือเปดิ สวิตชอ์ ุปกรณ์ทต่ี ้องการเปลีย่ นหรอื ต่ออปุ กรณน์ นั้ ๆ - ใชอ้ ุปกรณเ์ พอ่ื ความปลอดภยั (ฟวิ ส)์ ทไี่ มไ่ ด้มาตรฐานกบั อปุ กรณน์ น้ั ๆ - เปดิ สวติ ช์อปุ กรณ์เมอ่ื แรงเคล่ือนไฟฟา้ ในรถตำ่ กวา่ 22 V หรือสงู กว่า 29 V - ต่อสายไฟที่ไม่ใชส้ ายดนิ เขา้ กับรถถงั (27 V) - เปดิ สวติ ช์และใชง้ านอปุ กรณท์ ่ที ราบวา่ ชำรดุ อยู่ - เปดิ สวิตชอ์ ุปกรณท์ ้งิ ไวเ้ มอ่ื ปฏบิ ัตงิ านเสรจ็ เรยี บร้อยแล้ว - ใชเ้ ครอื่ งมือท่ีมแี รงเคลอ่ื นไฟฟา้ สูงกว่า 30 V - อนุญาตให้บคุ คลอืน่ ยืนหรอื วางอปุ กรณ์ใดๆ ไว้บนตวั รถถงั และใกลก้ บั รถถงั ในรศั มที ป่ี ืนใหญ่รถถงั หมุนถึงเมื่อ เปดิ สวติ ช์ระบบรักษาการทรงตัวของปืน เมอ่ื กระเดื่องสวิตช์ ระบบควบคุมการยงิ (FIRE CONSTROL SYSTEM) หรอื กระเดื่องสวิตช์ เครอื่ งหาระยะ (LASER RANGE-FINDER) อยู่ในตำแหนง่ ON ห้ามปฏิบัติดังน:้ี - กดปมุ่ สวติ ช์ยงิ เลเซอร์ ถา้ กระเด่ืองสวติ ช์ RANGE CHECK อย่ใู นตำแหน่ง ON ในกรณใี ดๆ กต็ ามท่ีไม่ได้ เกีย่ วข้องกับการหาระยะ - เลง็ เครอ่ื งหมายจดุ เลง็ ไปยังบุคคลอืน่ - เล็งจดุ กึ่งกลางของเสน้ เล็งไปยงั ดวงอาทติ ย์ - วัดระยะไปยงั วตั ถุหรือสงิ่ ปลูกสรา้ งในถานที่ท่ีทำการปรนนบิ ตั บิ ำรงุ อยู่ (ยกเว้นวัตถทุ ่ีใช้สำหรบั วัดระยะเมอ่ื ตรวจสอบการใชง้ านเลเซอร์ของกล้องเลง็ ) - มองผ่านเขา้ ไปในช่องเลง็ ของกล้องเล็งเลเซอร์ในโหมดการทดสอบ (TEST) เม่ือกดปุม่ สวติ ช์หาระยะ ห้าม ดำเนินการปรนนบิ ัติบำรุงดา้ นเทคนคิ กับระบบตอ่ ตา้ นการใชอ้ ปุ กรณอ์ ิเลค็ ทรอนกิ สน์ ำทางเมื่อเปดิ สวิตช์ อยู่
10.2 แบบและห้วงระยะเวลในการปรนนิบัตบิ ำรุงทางเทคนคิ (Types and periodicity of technical maintenance) เพื่อรกั ษารถถังให้อย่ใู นสภาพทพี่ รอ้ มใช้งานได้ตลอดเวลา ให้พิจารณาใชแ้ บบของการปรนนบิ ัติบำรุงดงั น:้ี - การตรวจ (CHK) - การปรนนบิ ตั ิบำรงุ ทางเทคนิคประจำวนั (DTM) - การปรนนิบตั บิ ำรงุ ทางเทคนิคหมายเลข 1 (TM No. 1) - การปรนนบิ ตั บิ ำรงุ ทางเทคนิคหมายเลข 2 (TM No. 2); - การปรนนิบตั บิ ำรุงตามฤดกู าล (STM) การตรวจ จะตอ้ งดำเนนิ การก่อนท่ีจะนำรถถังออกจากโรงเกบ็ รถ และในระหว่างหยดุ พักทางธุรการ เพือ่ ตรวจ ความสามารถในการปฏิบัติงานของรถถัง การปรนนิบัติบำรุงทางเทคนิคประจำวนั จะต้องดำเนนิ การหลงั จากนำรถถงั เข้าเกบ็ ในโรงเกบ็ รถโดยไม่ต้อง คำนงึ ถึงระยะทางในการเคลอื่ นของรถถังวา่ กกี่ โิ ลเมตร (หรือติดเครื่องยนตไ์ ปกี่ชัว่ โมง) เพื่อตรวจสอบสภาพและ เตรียมการปฏบิ ตั ิงานในอนาคต การปรนนบิ ตั ิบำรุงทางเทคนคิ หมายเลข 1 จะตอ้ งดำเนินการทกุ ๆ 2500100 กม. เพอ่ื ตรวจสอบสภาพทาง เทคนิคของรถถังและเตรยี มไว้ใช้งานในอนาคต การปรนนิบัติบำรุงทางเทคนคิ หมายเลข 2 จะต้องดำเนนิ การทุกๆ 5000100 กม. เพื่อตรวจสอบและใช้เป็น ข้อพิจารณาเช่นเดียซกับการปรนนบิ ตั ิบำรงุ ทางเทคนิคหมายเลข 1 การปรนนบิ ตั บิ ำรุงทางเทคนิคตามฤดกู าล จะตอ้ งดำเนินการปีละ 2 ครงั้ เมือ่ เปลีย่ นฤดูจากฤดใู บไม้ร่วง – และ - ฤดหู นาว ไปยังห้วงระยะเวลาในการปฏบิ ัติงานรถถังจากฤดูใบไม้พลิ – และ - ฤดูรอ้ น และเปล่ยี นจากการปฏิบัตงิ านของ รถถงั จากฤดูใบไม้ผลิ – และ – ฤดูรอ้ น ไปยังฤดูใบไมร้ ว่ ง – และ – ฤดูหนาว เมือ่ ปฏบิ ตั งิ านรถถงั ภายใตส้ ภาวะเงื่อนไขท่ีต้องการ การฝึกแบบพิเศษ และมีการทำงานเพิ่มเติมจะต้องดำเนินการ ดงั ต่อไปน:ี้ - การเตรยี มการรถถงั เพ่ือทำการยิง - การใหบ้ รกิ ารรถถงั หลังการยงิ การปรนนบิ ตั ิบำรุงทางเทคนิกจะแยกส่วนออกจากทก่ี ลา่ วไว้ขา้ งตน้ โดยจะตอ้ งมีการตรวจตามหว้ งระยะเวลา ใหส้ ัมพันธ์กับกรรมวธิ ีทีใ่ ช้จรงิ การเก็บรักษาแบตเตอรแ่ี ละอุปกรณ์ตา่ งๆ เช่นเดียวกบั ระบบของถังลมและถงั ดับเพลงิ ถา้ จำเปน็ ให้ปรนนิบัตบิ ำรงุ เพิม่ เตมิ ต่อกระสุนปนื ใหญ,่ ปืนกลรว่ มแกน และปนื กลต่อสูอ้ ากาศยาน หว้ งระยะเวลาท่ีตอ้ งการสำหรบั การปรนนอบัตบิ ำรุงทางเทคนิคตามสภาพแวดล้อมของอุณหภมู อิ ากาศอย่างนอ้ ย ทสี่ ุด 288 K (15 C) ตามตารางท่ี 10.1 ตารางที่ 10.1 – หว้ งระยะเวลาท่ีต้องการสำหรับปรนนบิ ตั ิบำรงุ ทางเทคนิค แบบของการปรนนบิ ตั ิบำรงุ ทางเทคนคิ ระยะเวลา (ชวั่ โมง) การตรวจ 0.2 การปรนนิบตั บิ ำรุงประจำวนั 1.5 การปรนนิบัตบิ ำรุงทางเทคนิคหมายเลข 1 4.5 การปรนนบิ ตั บิ ำรงุ ทางเทคนิคหมายเลข 2 10 10.3 คำแนะนำทว่ั ไป (General instructions) ความถูกตอ้ งและการใชเ้ วลาในการปรนนบิ ัติบำรงุ ทางเทคนคิ ของรถถงั จะชว่ ยใหอ้ ปุ กรณท์ ้ังหมด, ระบบ, และ เครอื่ งกลไกของรถถังไมเ่ สื่อมสภาพและสามารถปฏิบตั ิการได้โดยไม่มีข้อบกพร่อง
การปรนนบิ ตั บิ ำรงุ ทางเทคนิคจะตอ้ งดำเนนิ การ โดยใชอ้ ุปกรณเ์ คร่ืองมอื และอะไหล่ประจำรถและประจำหนว่ ย (Individual and group SPTA kits) เช่นเดียวกับวิธกี ารทใ่ี ชใ้ นการปรนนบิ ตั บิ ำรุงทางเทคนคิ ที่มีอยใู่ นหนว่ ย หา้ ม เปล่ียนแปลงขอบเขตในการทำงานสำหรบั การปรนนิบัติบำรงุ ใหง้ ่ายขึ้น เปลีย่ นสารซลิ ิกากันความชน้ื ในตลับใส่สารกนั ความช้ืนของกล้องเล็ง เมือ่ เปลยี่ นการปฏบิ ตั ิงานในทุกๆ ฤดตู ่อไป แตอ่ ย่างนอ้ ยให้เปล่ียนทุกๆ 6 เดอื น หรอื เมือ่ สารซลิ กิ าเปลย่ี นเป็นสชี มภู หรือสขี าวขนุ่
10.4 ขอบเขตของแบบการปรนนบิ ัตบิ ำรงุ ทีต่ า่ งกัน (Scope of different types of ma 10.4.1 การตรวจกอ่ นนำรถถังออกจากโรงเกบ็ รถ (Check before the tank lea ตารางท่ี 10.2 – การตรวจกอ่ นนำรถถงั ออกจากโรงเก็บรถ (Check before the tank leave ลำดบั ลักษณะงาน ความต้องการทางเทคนคิ และคำแนะนำ 1 การตรวจระดับน้ำยาหลอ่ เยน็ ดำเนินการตรวจเม่อื ดับเครื่องยนต์ เม่ือวางบรรทัดวัดระดบั (feeler) ลงบนพนื้ ผ จะตอ้ ง: – ถ้าอณุ หภูมินำ้ ยาหล่อเย็นมากกว่า 323 K “1” และ “2” (บรรทดั 30-40 มม.) 17-4 – ถ้าอุณหภมู ินำ้ ยาหลอ่ เย็นตำ่ กวา่ 323 K ( และ “3” (บนบรรทดั 40-50 มม.) ถา้ มีน้ำยาหล่อเยน็ หายไป ใหต้ รวจในห้องหอ หอ้ งเคร่อื งกำเนิดกำลงั ขึ้น) คน้ หาสาเหตุทีท่ ำ น้ำยาเขา้ ระบบให้ไดร้ ะดบั ปกติ ถา้ อุณหภมู สภาพแวดลอ้ มตำ่ กว่า 253 K (– 2 กอ่ นยกดาดฟา้ หอ้ งเครอ่ื งกำเนิดกำลังข้นึ จำเ เสยี ก่อน แลว้ อนุ่ เคร่อื งยนตโ์ ดยใช้ระบบอ่นุ ไอ 2 ตรวจให้แนใ่ จวา่ ระบบหล่อลนื่ ตรวจระดับนำ้ มนั เคร่ืองในถงั โดยใชม้ าตรวัดบ ของเคร่ืองยนต์ เติมน้ำมนั หล่อลน่ื เมือ่ ทำการติมนำ้ มนั เครือ่ งใหป้ ฏิบตั ติ ามคำแน ไว้ถกู ต้อง ถ้าจำเปน้ ใหเ้ ติม ภายหลังจากเติมนำ้ มันเครอ่ื งแล้วตรวจระดบั น้ำมนั หลอ่ ล่ืนระบบ 3 ตรวจใหแ้ นใ่ จวา่ มีนำ้ มันเชอื้ เพลิง ตรวจปริมาณน้ำมนั ที่มอี ยู่: อยใู่ นถังน้ำมนั ถา้ จำเป็นให้ทำ - ถังนำ้ มนั เชือ้ เพลิงด้านใน – ใช้มาตรวัดน้ำมัน การเติมน้ำมันเชอื้ เพลิง - ถงั นำ้ มนั เชื้อเพลิงด้านนอก – b ใช้บรรทัดวดั นำ้ มนั เช้อื เพลิงของถังกลางดา้ นนอกบนทวี่ างข เมอ่ื ทำการเตมิ นำ้ มนั เชือ้ เพลิงใหป้ ฏิบตั ิตามคำแ
aintenance) 478DU9-T RE2 aves its parking place (garage)) es its parking place (garage)) เคร่ืองมือและวัสดุที่ตอ้ งนำมาใช้ ำทเ่ี ก่ียวข้องกับการปฏบิ ัติงานให้สมบูรณ์ ใชป้ ระแจแหวนขนาด 2741 มม. ถัง ผิวของระดบั นำ้ ปลายด้านบนของแผน่ วดั (bucket), skeep, บรรทัดวัดระดบั (feeler) จากชุดอุปกรณเ์ คร่อื งมือประจำ K (50 C) – จะอยรู่ ะหวา่ งขีดเครอ่ื งหมาย รถ (SPTA kit) (50 C) – จะอย่รู ะหวา่ งขดี เครื่องหมาย “2” อรบและห้องเครือ่ งกำเนดิ กำลัง (โดยยกดาดฟ้า ำให้นำ้ ยาหายไป ขจัดสาเหตุตดิ ขัด และเตมิ 20 C) เพ่อื ป้องกันมใิ ห้ทอ่ ของระบบชำรุด เป็นตอ้ งเตมิ นำ้ ยาระบบใหไ้ ดร้ ะดบปกติ อดจี นอุณหภูมถิ งึ ระดับบวก (เหนอื 0) บนแผงควบคมุ อุปกรณข์ องพลขับ นะนำท่ีกำหนดไว้ในค่มู อื รายการท่ี 5.4.1 บโดยใชบ้ รรทัดวัดระดบั นเช้อื เพลงิ บนแผงควบคมุ อุปกรณข์ องพลขบั ; ประแจแหวนขนาด 2741 มม. ดระดับทเ่ี ชือ่ มตอ่ ตดิ อยกู่ บั ปล๊กั ของคอต่อกรอง ของดา้ นซ้ายเหนอื สายพาน แนะนำท่กี ำหนดไว้ในคู่มือเล่มนี้รายการท่ี 5.2.1
17-5 ลำดบั ลกั ษณะงาน ความต้องการทางเทคนิคและคำแนะนำ ใส่ฝาปดิ ในกรณีทีไ่ ม่ได้ปดิ ฝา 4 ตรวจให้แนใ่ จวา่ ฝาปิดทอ่ เครอ่ื ง ยงิ ลูกระเบดิ ควนั ของระบบทำ ถงุ ครอบจะต้องตดิ ต้ังในทต่ี ดิ ตัง้ อยา่ งมน่ั คง ฉากควนั ดว้ ยตนเองปิดอยู่ แรงดนั ในถังลมจะต้องอยใู่ นย่าน 13.2 - 14.7 5 ตรวจให้แนใ่ จวา่ มีถงุ ครอบ อุปกรณ์ปอ้ งกันปืนใหญ,่ ปนื กล ร่วมแกน,และปตอ. 6 เปดิ ลิ้นถังลม 7 ตรวจใหแ้ นใ่ จวา่ สามารถตรวจ กระจกป้องกันและช่องเลง็ ต่างๆ จะต้องสะอา การณ์ผ่านอุปกรณต์ รวจการณ์ ถ้าจำเป็นใหท้ ำความสะอาดกระจกและช่องเล ต่างๆ ได้ และแรงลมหรอื ใชม้ ือทำความสะอาด 8 ตรวจให้แนใ่ จวา่ วงจรไฟฟ้าของ เมอ่ื เปดิ สวติ ชไ์ ฟหลัก ไฟเตอื น “1B”, “2B”, ลูกระเบิดยิงของระบบต่อตา้ น ตอ่ ต้านการยิงจากอาวุธนำวิถี (P708) จะตอ้ ง การยงิ จากอาวุธนำวิถอี ย่ใู นสภาพ ท่สี มบรู ณ์ 9 ตรวจให้แน่ใจวา่ อปุ กรณเ์ ครอ่ื งให้ ตรวจสอบการทำงานโดยการเปิดสวิตช์ แสงสว่างทง้ั ภายนอกและภายใน เปิดสวิตชห์ ลอดไฟแสดงเครื่องหมายในตำแห รถถังอยู่ในสภาพสมบรู ณ์ เครือ่ งยนต์
ำทเี่ ก่ียวขอ้ งกับการปฏิบตั ิงานให้สมบูรณ์ เคร่ืองมือและวสั ดทุ ตี่ อ้ งนำมาใช้ ฝาปิดอยู่ในชดุ อปุ กรณเ์ คร่ืองมือประจำรถ ถงุ ครอบมีอยใู่ นชดุ อปุ กรณ์เครอ่ื งมอื ประจำรถ 7 MPa (132 - 147 kgf/cm2). าด ลง็ ตา่ งๆ โดยใช้ระบบทำความสะอาดดว้ ยนำ้ , “3B” และ “4B” บนแผงควบคมุ ระบบ งตดิ สวา่ งขึน้ (ครง่ึ ดวง) หน่งโหมดใชง้ าน LOW-LIGHT กอ่ นตดิ 478DU9-T RE2
ลำดบั ลักษณะงาน ความต้องการทางเทคนคิ และคำแนะนำ 10 ตรวจสอบขั้วต่อสายเคเบิลและ เครื่องมือตดิ ตอ่ สื่อสารภายในและภายนอกจะ สายดินของชดุ วทิ ยุ VRC-950 และ VRC-6020, ความหยนุ่ ตวั ของเครื่องผ่อนแรงของเสาอากาศ และถ้าจำเปน็ ให้ขนั นอ๊ ตเครอ่ื ง ผ่อนแรงเสาอากาศใหแ้ น่น ตรวจสอบการทำงานของระบบ เคร่ืองติดตอ่ ภายในรถถงั ของพล ประจำรถ AVSK-1T, การไดย้ นิ , ภาครบั ของชดุ วทิ ยุ 17-6 11 ก่อนตดิ เครอ่ื งยนตใ์ ห้ทำการ การเก็บประจไุ ฟของแบตเตอรใี่ นฤดหู นาวจะ ตรวจสอบการเกบ็ ประจุไฟของ นอ้ ยทส่ี ดุ 50% โดยให้ทำการตรวจตามที่กลา่ แบตเตอร่ี การเรม่ิ ตน้ ประจุไฟแบตเตอร่ี 12ST-85 12 หลังจากตดิ เครอ่ื งยนต์แล้วกอ่ น ค่าการอา่ นสัญญาณไฟปกตหิ รือสญั ญาณแบบ เคลอื่ นท่ี จะตอ้ งตรวจการทำงาน ยา่ นจำกดั ทยี่ อมรับได้ หลังจากตดิ เครอ่ื งยนต์แ ของวงจรประจไุ ฟแบตเตอรี่ การ ไม่เกิน 10-15 แอมป์ ถ้ากระแสไฟมากกว่า 6 ทำงานของเครอ่ื งยนต์ (โดยการ แบตเตอรม่ี ปี ัญหา อ่านสัญญาณไฟปกตหิ รอื สัญญาณ หลอดไฟเตือนจะตดิ สวา่ งขน้ึ ครงึ่ เทา่ แบบตวั เลขบนแผงอปุ กรณข์ องพล ขบั ) การทำงานของสัญญาณไฟ จราจรในโหมดไฟตำ่ LOW LIGHT และการทำงานของระบบปอ้ งกนั ระบบเครอื่ งยนต์
ำทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การปฏบิ ตั ิงานให้สมบรู ณ์ เครอ่ื งมือและวสั ดทุ ีต่ อ้ งนำมาใช้ 478DU9-T RE2 ะต้องชว่ น้ใหพ้ ลประจำรถตดิ ตอ่ สอ่ื สารได้ง่าย ใชป้ ระแจขนาด 12 มม.จากชดุ อปุ กรณ์ เครอ่ื งมือประจำรถ ะต้องมีคา่ อย่างนอ้ ยท่สี ดุ 75 % ในฤดรู อ้ นอยา่ ง าวไวใ้ นคมู่ อื ผู้ใชง้ าน B8516.00000 RE ของ บตวั เลขบนแผงอุปกรณข์ องพลขับจะต้องอยใู่ น และประมาณ 10-15 นาที การประจไุ ฟจะตอ้ ง 60-150 แอมป์ หมายความวา่ การประจุไฟ 478DU9-T RE2
ลำดบั ลกั ษณะงาน ความต้องการทางเทคนิคและคำแนะนำ 13 ตรวจสอบระบบทำฉากควันดว้ ย เมอ่ื ดำเนินการตรวจสอบให้ปฏิบตั ติ ามคำแนะ ตนเองโดยใช้ระบบทดสอบ อปุ กรณ์ด้วยตัวเอง 14 ตรวจสอบระบบตอ่ ต้านการใช้ เม่อื ดำเนินการตรวจสอบใหป้ ฏบิ ัตติ ามคำแนะ อปุ กรณอ์ เิ ล็คทรอนิกส์นำทาง 15 ตรวจให้แน่ใจวา่ กระจกหวั ระบบ ตวั เรือนกระจกและตัวกระจายแสงจะต้องสะ ShILI และกระจกของเครือ่ งให้ ถา้ จำเปน็ ใหท้ ำความสะอาดดว้ ยผ้าทำความส แสงสว่างของระบบต่อต้านการใช้ อุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์นำทาง สะอาด 16 ตรวจสอบการทำงานของหบี ขจัดฝุน่ และสง่ิ สกปรกออกจากผิวพนื้ ภายนอ ควบคมุ 1KPI-MT ตรวจให้แนใ่ จวา่ หีบควบคุมอย่ใู นสภาพสมบรู 17-7
ำทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการปฏิบตั งิ านใหส้ มบรู ณ์ เคร่ืองมอื และวัสดุท่ตี ้องนำมาใช้ ะนำตามคูม่ อื เลม่ นี้ในรายการท่ี 11.5.2.1 ะนำตามคู่มือเลม่ น้ีในรายการที่ 11.5.3 ใชผ้ า้ ทำความสะอาดจากชุดเครื่องมอื อปุ กรณป์ ระจำรถ ะอาด สะอาด อกโดยใชผ้ า้ ฝา้ ยทำความสะอาดทอ่ี อ่ นนุ่ม ผา้ ฝา่ ยทำความสะอาดจากชุดเคร่ืองมือ รณ์ อุปกรณ์ประจำรถ 478DU9-T RE2
Продолжение таблицы 10.3 10.4.2 การตรวจระหวา่ งหยดุ พักชั่วขณะ (Check during a halt) ตารางที่ 10.3 – การตรวจระหวา่ งหยุดพักช่วั ขณะ ลำดับ ลักษณะงาน ความตอ้ งการดา้ นเทคนิคและคำแนะนำ 1 ตรวจสภาพของการยดึ ตรึง ส่วนประกอบของชดุ เครือ่ งมอื อปุ กรณ์ประจำ ภายนอกรถถัง, แผงป้องกนั ความ จะต้องวางอยูใ่ นที่เก็บมาตรฐาน ถา้ จำเปน็ ให รอ้ น, สว่ นประกอบของชดุ เครอื่ งมอื อปุ กรณ์ประจำรถ และ อุปกรณ์มาตรฐานทตี่ ดิ ตั้งอยู่ดา้ น นอกและด้านในรถถงั 2 ตรวจสอบสภาพของแผ่นบาน ถ้าแผน่ บานเกล็ดถูกปิดดว้ ยส่ิงสกปรก, หิมะ, เกล็ดด้วยสายตา: ,เศษหญ้า ฯลฯ) ใหท้ ำความสะอาดบานเกล็ด 17-8 - บานเกล็ดเหนอื กล่องติดตงั้ เคร่อื งทำความสะอาดเด้วยลม - บานเกลด็ เหนือแผ่นปิดของหมอ้ ระบายน้ำ, และแผน่ บานเกล็ด ป้องกันลิ้นควบคุมซุปเปอร์ชารต์ 3 ตรวจสอบสภาพส่วนประกอบ อนญุ าตใหท้ ำการขบั เคล่อื นรถถงั ตอ่ ไปไดจ้ นห ของชดุ เฟอื งขับเคลอื่ นด้วย - ถา้ สลกั ยางของยางรองสายพานชำรุด, สลกั สายตา ขบั ), ปลายดา้ นหนงึ่ ของขอ้ ตอ่ หายไปหรอื เหล จากสายพาน - ถ้ากระบอกผอ่ นแรงสะเทอื น 3 ตวั ไม่ทำงาน การทำงานของกระบอกผอ่ นแรงสะเทอื นทำไ ความรอ้ นในระหว่างปฏิบตั งิ าน แสดงวา่ กระ
ำที่เก่ยี วขอ้ งกับการปฏิบตั ิงานให้สมบรู ณ์ เครอื่ งมอื และวสั ดุท่ีต้องนำมาใช้ 478DU9-T RE2 ำรถที่ติดตงั้ อยู่ด้านนอกและด้านมนรถถงั ใชป้ ระแจขนาด 17 มม.จากชดุ เคร่ือง ห้ยดึ ตรงึ ให้ถกู ต้อง มอื อุปกรณป์ ระจำรถ , และสิ่งแปลกปลอมอน่ื ๆ (เช่นใบสน,ใบไม้ ด หมดวนั ทำการ: กคด (แตไ่ มไ่ ดท้ ำให้ข้อต่อหลดุ ออกจากเฟอื ง ล็กนำสายพานสองตวั ท่ไี ม่ไดอ้ ยูต่ ิดกันหลุดไป น (แต่ไมม่ ากกวา่ ข้างละ 2 ตัว) การตรวจสอบ ไดโ้ ดยการทดสอบอุณหภมู ิ, ถา้ ตวั กระบอกไมม่ ี ะบอกผ่อนแรงสะเทือนไมท่ ำงาน 478DU9-T RE2
Продолжение таблицы 10.3 ลำดบั ลักษณะงาน ความต้องการด้านเทคนคิ และคำแนะนำ 4 ตรวจสอบพ้นื ท่ขี องช่องทางเขา้ ดำเนนิ การตรวจสอบเมอ่ื ใชช้ ุดอปุ กรณ์ PRKhR- ของอากาศของอุปกรณป์ อ้ งกัน เกหลวสกปรกและหิมะ ถา้ ชอ่ งทางเข้าอากาศถกู การนำไอดเี ขา้ ของชดุ อปุ กรณ์ สะอาด PRKhR-M1 ดว้ ยสายตา 5 ตรวจสอบการทำงานของ เมือ่ เปดิ สวิตช์ไฟหลัก ไฟสัญญาณเตอื น “1B” วงจรไฟฟ้าของเครอื่ งยิงลกู ระเบดิ ระบบการยิงป้องกันและแผงไฟสญั ญาณ P70 ควันของระบบการยิงป้องกนั 6 ถา่ ยนำ้ ออกจากตวั แยกไอน้ำ- การถา่ ยน้ำออกด้วยมือ, กดแป้นสวติ ช์ และ-น้ำมันเครอื่ ง จะถูกระบายออกมาโดยอัตโนมัตทิ ุก 605 ว การติดเครื่องยนต)์ หลงั จากดบั เครอื่ งยนต์หล 17-9 เมื่อจดั ปรบั สวิตช์ DFE–FFE ไปทีต่ ำแหนง่ D จับตัวกนั อยจู่ ะไม่สามารถถา่ ยออกมาได้ 10.4.3 การตรวจก่อนทำการยงิ และหลงั ทำการยิง (Check before firing and af ตารางที่ 10.4 – การตรวจกอ่ นทำการยงิ และหลังทำการยิง ลำดบั ลกั ษณะงาน ความต้องการด้านเทคนคิ และคำแนะนำ
ำที่เกี่ยวขอ้ งกับการปฏิบัตงิ านใหส้ มบรู ณ์ เครอ่ื งมือและวัสดทุ ต่ี ้องนำมาใช้ -M1 โดยเปิดสวิตช์ใชง้ านตามสภาวะเงื่อนไขของ กปดิ ก้นั ดว้ ยส่ิงสกปรก, หิมะ ฯลฯ ให้ทำความ ”, “2B”, “3B” และ “4B” บนหบี ควบคมุ 08 จะสวา่ งขนึ้ ครงึ่ หนง่ึ ของแสงสวา่ ง สเี ขยี วบนแผงอปุ กรณ์ค้างไว้ 3-5 วนิ าที ไอนำ้ วินาที -vการใช้งานเครอ่ื งยนต์หลกั (เริม่ จาก ลัก และลดอุปกรณ์นำเข้าไอดีลงแล้ว DFE หรือเมอื่ ยกท่ออุปกรณน์ ำเขา้ ไอดขี ้ึน, นำ้ ท่ี fter firing) 478DU9-T RE2 ำทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั การปฏิบตั งิ านใหส้ มบรู ณ์ เครื่องมอื และวัสดุทีต่ อ้ งนำมาใช้ 478DU9-T RE2
ลำดบั ลักษณะงาน ความต้องการดา้ นเทคนิคและคำแนะนำ การปรนนิบัติบำรุงยทุ ธภณั ฑก์ ่อนทำการยิง (Maintenance of the armament befo 1 ตรวจสอบปืนใหญ่: ตรวจสภาพของ ขจัดปญั หาข้อขัดข้องที่ตรวจพบ เรือนเครือ่ งปิดท้าย, แท่งลูกเล่ือน, และถาดนำกระสนุ ถ้าจำเป็นใหท้ ำ ความสะอาดฝุน่ และสิง่ สกปรก 2 ตรวจสอบเครอื่ งกลไกรับแรงถอย การตรวจจะต้องดำเนนิ การโดยผทู้ ่ชี ำนาญดา้ และสง่ ปืนกลบั เข้าท่ี ท่ี2.1.12. 17-10 3 ทำความสะอาดและตรวจสอบปืน ตอ้ งดำเนินการโดยพลประจำรถตามคำแนะน กลร่วมแกนและปนื กลต่อสู้อากาศ ยาน 4 ตรวจสอบห้องหอรบและตรวจการ ยกถาดบรรจกุ ระสนุ อตั โนมตั ิขึ้น ตรวจสอบท ขนั ตรงึ ของส่วนประกอบเครอื่ ง ขนสง่ กระสนุ ประกอบชดุ ของชุดเครอื่ งมอื อุปกรณ์ประจำรถและชอ่ งเกบ็ กระสุน 5 ตรวจสภาพของล้อยางบนเครอ่ื งดนั Iถ้าพ้ืนผิวของยางท่ชี ง้ านชำรุด 50% ให้เปล่ีย กระสุนเข้ารงั เพลิงอัตโนมัติ
ำทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั การปฏบิ ัตงิ านใหส้ มบูรณ์ เคร่ืองมอื และวัสดทุ ต่ี อ้ งนำมาใช้ ore firing) แสท้ ำความสะอาดปนื ใหญ่ KBA3- านปืนใหญต่ ามคำแนะนำที่กลา่ วไวใ้ นรายการ 42.29.000, ดอกแสป้ นื ใหญ่ KBA3- 42.26.000, pole 1250, tie-rod 1250 นำท่ีกล่าวไวใ้ นรายการท่ี 2.2.2 และ 2.3.7 (3 pcs) – นำมาจากชุดเครอื่ งมืออปุ กรณ์ ของปนื ใหญ่ประจำรถ, ผ้าทำความสะอาด และไขข้นหลอ่ ล่ืน GOI-54p อุปกรณ์เตมิ นำ้ มันปืใหญร่ ถถัง KBA3- 42.08.000, ประแจ LP-519-4, tip KBA3- 42.09.000, T-joint KBA3-42.10.000, มาตรวัดแรงดนั DM2002-AS, ทอ่ เติมน้ำมนั KBA3-42.11.000 และ KBA3-42.11.000- 01, ข้อต่อท่อ KBA27-42.00.037 จากชุด เครือ่ งมอื และอุปกรณข์ องปนื ใหญป่ ระจำ หนว่ ย, นำ้ มนั Ros หรอื POZH-70, ถงั ลม ชุดเครอ่ื งมอื ทำความสะอาดปืนกลประจำ รถ ท่รี องไมอ่ นุญาตใหม้ สี ่ิงแปลกปลอมอืน่ อยู่ในราง ยนล้อยางใหม่ (นำมาจากชดุ เครอื่ งมอื อปุ กรณ์) 478DU9-T RE2
6 ตรวจสอบระดับน้ำมันบนอ่างเก็บ ระดบั นำ้ มันจะต้องอยรู่ ะหว่างขดี สองขีด ถา้ จ น้ำมนั ชดเชยของเครอื่ งบรรจุ กระสุนอตั โนมตั ิ 7 ตรวจการทำงานของเครอ่ื งบรรตุ หมนุ รางขนส่งกระสุน 2-3 ช่องเกบ็ ไปทางซ้า กระสุนอัตโนมัตโิ ดยการหมุนราง ขับเคลอ่ื นด้วยมือ ขจัดปญั หาทพ่ี บถา้ มขี อ้ บก ขนสง่ กระสุน 8 ตรวจการทำงานของระบบอาวุธนำ วธิ ีการในการตรวจสอบมอี ยู่แล้วใน “คมู่ ือการใ วถิ ี และระบบวงจรร่วมปืนและ การใชง้ านภาค 5” (478DU9-T RE4) ระบบควบคมุ การยิง 9 ตรวจการทำงานของวงจรล่นั ไก, ดำเนินการตรวจสอบหลงั จากแน่ใจวา่ อาวธุ ไม วงจรลั่นไกปนื ใหญ่ดว้ ยไฟฟ้า และ 17-11 วงจรล่นั ไกปนื กลด้วยไฟฟา้ 10 ทำความสะอาดอุปกรณต์ รวจการณ์ พ้ืนผวิ ตอ้ งสะอาด และกลอ้ งเลง็ , กระจกสะท้อน ระบบอา้ งปากลำกล้องปนื และ ส่วนทใ่ี ช้สะท้อนแสงของระบบอา้ ง ปากลำกลอ้ งปนื ใหญ่ 11 ตรวจใหแ้ นใ่ จวา่ เครอื่ งกรองและ อปุ กรณร์ ะบายอากาศสามารถสรา้ ง แรงดันสงู สดุ ในหอ้ งหอรบของพล ประจำรถได้ 12 ตรวจระดบั นำ้ มนั ไฮโดรลกิ ในเครอื่ ง หลงั จากท่ีเครอื่ งขบั ไฮโดรลกิ ไม่ได้ทำงานมาอ ขบั ทางสงู /เครือ่ งลดปนื อยใู่ นยา่ นอุณหภมู ิท่ีตรงกับอุณหภมู ขิ องอากา จำเปน็ ให้เตมิ นำ้ มันตามคำแนะนำท่ีกลา่ วไว้ใน
จำเปน็ ใหท้ ำการเติม าย หลงั จากน้นั หมนุ ไปทางขวาโดยใชก้ าร กพร่อง ใช้งานภาค 4” (478DU9-T RE3) และ “คมู่ ือ มไ่ ด้บรรจุกระสนุ เท่าน้ัน ใชผ้ า้ ทำความสะอาดจากชุดเครอ่ื งมือ อปุ กรณ์ประจำรถ มาตรวัดแรงดันเกนิ ด้วยตัวเอง อยา่ งน้อย 4 ชม. แถบไฟเตอื นระดับน้ำมันจะ าศลอ้ มรอบด้วยค่าความถูกต้อง 20 C ถ้า นรายการที่ 2.6.12.2 ของคมู่ อื เลม่ นรี้ 478DU9-T RE2
การปรนนบิ ตั บิ ำรงุ ยทุ ธภณั ฑห์ ลังทำการยิง (Maintenance of the armament after 1 ทำความสะอาด, ตรวจสอบ และ ทำความสะอาดจนกระท่ังเศษทองแดงในลำก หลอ่ ลน่ื ปืนใหญ่และปนื กล คาร์บอนทสี่ ะสมอยู่ตามสว่ นตา่ งๆ หมดไป 2 ทำความสะอาด, ตรวจสอบ และ ทำความสะอาดเคร่ืองยงิ ของระบบทำฉากคว หลอ่ ลนื่ เคร่อื งยิงระเบดิ ควนั ของ - หลงั การยงิ ทอ่ เด่ยี ว – โดยไม่ถอดประกอบแ ระบบทำฉากควันด้วยตวั เอง - หลกั การยิง 25-30 นดั – โดยถอดประกอบ 3 ใส่ฝาครอบอาวธุ
r firing) แส้ทำความสะอาดปืนใหญ่ KBA3- 478DU9-T RE2 กล้องปนื ใหญ่และปนื กลรว่ มแกนและเขมา่ 42.29.000, ดอกแส้ KBA3-42.26.000, pole 1250, tie-rod 1250 (3 pcs), ทอ่ วนั ดว้ ยตนเองในกรณีต่อไปน้ี: ถ่ายนำ้ มนั KBA3-42.08.000 – จากชดุ แยกชุดหน้าสมั ผสั เครอื่ งมืออุปกรณป์ ืนใหญ่ประจำรถ, บชดุ หนา้ สัมผัสและถอดแหวนยดึ ประแจขนาด 2227 จากชดุ เครอ่ื งมอื ประจำรถถัง, ผา้ ฝา้ ยทำความสะอาด, ผา้ ทำความสะอาด, นำ้ มัน RChS, ปลอก กระสนุ ที่ทำการยงิ แล้ว, ไขขน้ GOI-54p แส้ทำความสะอาด AZhIYu.306597.001, ประแจ AZhIYu.764431.001, ค้อน, ไขควง, คีม ปากแบนจากชดุ เครอ่ื งมืออปุ กรณ์ประจำ รถ ฝาครอบจากชดุ เครอ่ื งมอื อุปกรณป์ ระจำ รถ 478DU9-T RE2
17-12 10.4.4 การปรนนบิ ัตบิ ำรงุ ทางเทคนคิ ประจำวนั , การปรนนบิ ัตบิ ำรุ่งหมายเลข 1 แ and No. 2) หมายเหตุ – งานทีต่ อ้ งทำจะใชเ้ คร่ืองหมาย “+”, ในขณะที่งานทไ่ี ม่ตอ้ งทำใชเ้ ครอื่ งหม ตาราง 10.5 – การปรนนิบัตบิ ำรงุ ทางเทคนคิ ประจำวัน, การปรนนบิ ตั ิบำรงุ หายเลข 1 และห ลำดับ ลกั ษณะงาน แบบของการปบ. ความตอ้ งการดานเทค DTM TO-1 TO-2 1 ทำความสะอาดฝุน่ , ดินโคลน, + + + ล้างรถถงั เม่ือดบั เครื่องย และหมิ ะดา้ นนอกและด้านใน บายพาสไอเสยี ไปที่ตำแ รถถงั ทำความสะอาดฝ่นุ โคลน โดยกดปุ่มสวิตช์สีแดง เคร่อื งหมายที่สร้างขึน้ บนปากลำ กล้องปนื ของอปุ กรณ์ทใ่ี ชท้ ดสอบ กดค้างไวจ้ นกระทง่ั ไฟสัญ ตัวเอง เตรียมการป้องกนั นำ้ เข้า (Tarpaulin) ปดิ ท่ออปุ ก 17-13 ครอบป้องกนั ช่องทางเข ในขณะเดยี วกนั ใหป้ ิดปา 7.62 ปากลำกลอ้ งปืนให ระเบดิ ของระบบสร้างฉา หลงั จากลา้ งรถถงั เสร็จเร ลดทอ่ ลง แล้วกดปุ่มสวิต DOWN”) กดค้างไวจ้ นก สวา่ งข้นึ
และหมายเลข 2 (Daily technical maintenance, technical maintenance No. 1 มาย “-” เคร่อื งมือและวสั ดุที่ต้องนำมาใช้ หมายเลข 2 478DU9-T RE2 คนิคและคำแนะนำในการปฏิบัตงิ านใหส้ มบูรณ์ ยนตแ์ ล้วเทา่ น้นั เม่อื ล้างรถถังให้จดั ปรับทอ่ แหนง่ COOLING ยกท่ออุปกรณน์ ำเขา้ ไอดีข้ึน (“AIR INTAKE DEVICE PIPE UP”) แล ญญาณตดิ ท้ังสองแถว และ การ าห้องเคร่อื งกำเหนิดกำลัง, ใช้ผา้ ใบกนั น้ำ กรณน์ ำอากาศเข้า ตรวจให้แนใ่ จว่าไดต้ ิดตงั้ ฝา ขา้ ของอากาศของอุปกรณน์ ำเข้าไอดี PRKhR-M1 ากลำกล้องปืนกลร่วมแกนและชอ่ งยิงปืนกล KT- หญ่ และเครื่องวัดความเร็วลม เคร่ืองยงิ ลูก ากควนั ดว้ ยตนเองจะต้องปดิ ด้วยฝาครอบ รียบร้อยแลว้ ใหถ้ อดผา้ ใบกันน้ำออกจากทอ่ ไอดี ตช์สเี ขยี ว (“AIR INTAKE DEVICE PIPE กระทั่งไฟสญั ญาณสเี ขยี วสองแถว และ
ลำดับ ลกั ษณะงาน แบบของการปบ. ความต้องการดานเทค DTM TO-1 TO-2 2 ถา่ ยน้ำออกจากเคร่ืองดกั ไอน้ำ + + + ดำเนินการงานนี้ในฤดหู และแยกน้ำมนั เครือ่ งของ ดำเนนิ การงานนเ้ี มื่อเคร คอมเพรสเซอร์ และจากเคร่ืองดกั โดยการกดปมุ่ สวิตช์ไฟส ไอนำ้ จากระบบอากาศ DOWN”) ประมาณ 3-5 คลายฝาครอบลิน้ ถ่ายอา ฝาครอบกลบั ทีเ่ ดิม 3 ตรวจแรงดนั ในระบบของถงั ลม + + + กอ่ นดับเคร่ืองยนตต์ อ้ งแ แรงดนั 13.2-14.7 MPa ลิ้นควบคุมถังลม 4 เติมนำ้ มนั เชื้อเพลิงใหกับระบบ + + + ตรวจน้ำมนั เชื้อเพลิงท่มี อี - ถังนำ้ มนั เชอ้ื เพลิงดา้ นใ 17-14 - ถังนำ้ มันเชอื้ เพลิงด้านน ของคอช่องเติมน้ำมันของ สายพานด้านซา้ ย เม่อื เตมิ กล่าวไว้ในรายการท่ี 5.2. 5 ลา้ งกรองเตมิ น้ำมันระบบนำ้ มัน + + + ถ้าเตมิ นำ้ มนั เชอื้ เพลงิ โด เชอ้ื เพลิง (กรองน้ีติดตัง้ อยูใ่ นหอ้ ง เรือนและชดุ กรองน้ำมัน พลขบั )
คนคิ และคำแนะนำในการปฏิบัตงิ านใหส้ มบรู ณ์ เคร่อื งมือและวัสดทุ ต่ี อ้ งนำมาใช้ 478DU9-T RE2 หนาวเทา่ น้นั ใช้ประแจขนาด 17 มม.จากชุดเครอื่ งมือ รื่องยนตท์ ำงานและท่ออปุ กรณน์ ำเข้าไอดีลดลง อุปกรณ์ประจำรถ สีเขยี วคา้ งไว้ (“AIR INTAKE PIPE 5 วินาที ากาศออก หมุนลอ้ ล้นิ ควบคมุ 1-2 รอบแลว้ ขัน แนใ่ จไดว้ า่ ได้เตมิ ลมในถงั ลมจนกระท่งั ได้คา่ a (132-147 kgf/cm2) เมอื่ ไดแ้ รงดนั แลว้ ให้ปิด อยู่: ประแจแหวน 2741 มม., ประแจฝา ใน – ใช้มาตรวดั นอก – ใช้ไม่บรรทัดวัดซ่งึ เชอื่ มตอ่ ตดิ อย่กับฝาปดิ ครอบ tap,ประแจปากตาย 4146 มม. งถงั นำ้ มันด้านนอกถงั กลางที่อยู่บนทเ่ี ก็บเหนอื มนำ้ มันให้กบั ระบบให้ปฏบิ ัตติ ามคำแนะนำที่ , ประแจแหวน 2441 มม,ประแจปาก .1 ของค่มู ือเล่มนี้ ตาย 1417 mm, ผ้าทำความสะอาด, ดยปมั๊ จ่ายนำ้ มัน,ให้ลา้ งพทล้นื ผวิ ดา้ นในของตวั ท่อเตมิ น้ำมนั , อปุ กรณเ์ ตมิ นำ้ มัน – จาก นดว้ ยน้ำมันเชอ้ เพลงิ ชดุ เครอ่ื งมอื อุปกรณป์ ระจำรถหรือถงั เติม (refueller) ใชป้ ระแจปากตาย 2730 มม., กรวย เติมนำ้ มนั , แปรง,ผา้ ฝา้ ยทำความสะอาด และขอเก่ียวจากชุดเครือ่ งมืออปุ กรณ์ ประจำรถ 478DU9-T RE2
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217