แรงเคลือ่ น RN505M1-1T ตดิ ตงั้ อยบู่ นพนื้ ลา่ งทีฝ่ าครอบเครอื่ งยนตแ์ ละชดุ ของหนว่ ย BK712M1-1-02Tชดุ อุปกรณก์ ู้ ซ่อม เม่อื การสตาร์ทติดเครอื่ งยนต์หลักทำงาน,อปุ กรณค์ วบคมุ การสตารท์ ตดิ เครื่องยนต์จะใชใ้ นการเปดิ สวิทช์ต่อ กำลงั ไฟฟ้าจากแบตเตอร่อี ัตโนมัติเพอื่ ใช้ในการสตารท์ ตดิ เครอ่ื งยนตโ์ ดยจ่ายกำลังไฟฟา้ แรงเคลื่อน 48 โวลต์ และใช้จา่ ยไฟฟ้าทีพ่ ักเก็บไว้ท่แี รงเคลื่อน 24 โวลต์ ในแบบการกำเนดิ ไฟทำงานอุปกรณไ์ ฟจะใช้ในการต่อกำลงั ของการผลิตกำลังงานไฟฟ้าจา่ ยเป็นหลัก ใหก้ ับ ยานยนต์เม่ือกำลังไฟมีแรงเคล่ือนไฟฟ้าเกินความตอ้ งการ เครือ่ งควบคมุ แรงเคล่ือน ( SB ) จะตอ่ กำลงั จ่ายไฟฟา้ ให้ระบบ,และเม่ือแรงเคลอ่ื นไฟฟ้านอ้ ยกวา่ ค่าท่ีกำหนดไว้เคร่ืองควบคมุ แรงเคลอื่ น( SB )จะตัดการจา่ ยไฟฟ้าใน ทำนอง เดยี วกนั กับการควบคุมแรงเคลือ่ นไฟฟ้าหลักในยานยนตแ์ ละกำลังไฟฟา้ จะถกู ควบคมุ ไวอ้ ยา่ งจำกัดในการ ผลติ กำลังไฟฟ้าของเครื่องยนต์ช่วย (APU)ที่ผลิตไดใ้ นระหวา่ งการทำความรอ้ นเพิม่ ข้ึนในเคร่ืองยนต์ชว่ ย(APU) อุปกรณ์ควบคุมและสตาร์ทตดิ เครื่องยนต์ถูกออกแบบมาดังน้ี. -จดั ไว้สำหรบั การสตารท์ ตดิ เครือ่ งยนต์หลัก -จัดไวส้ ำหรับการสตาร์ทตดิ เคร่อื งยนต์หลกั ในขณะทใ่ี ช้แบบการควบคมุ ฉกุ เฉนิ -จดั ไวใ้ ชใ้ นการสวทิ ชเ์ ปดิ กลไกตอ่ กำลงั ในขณะสตารท์ ติดเคร่ืองยนตช์ ่วย ( APU ) -จัดไว้ใช้จ่ายกำลังไฟฟ้าให้กบั รถถังโดยเครอ่ื งควบคมุ แรงเคล่อื นไฟฟา้ หลักในยานยนต์ -จดั ไวใ้ ชต้ ัดวงจรไฟเพอ่ื ต่อตา้ นปอ้ งกนั การลัดวงจรในระบบไฟทใี่ ช้งาน -จดั ไวใ้ ช้สตาร์ทติดเครอ่ื งยนต์หลักในรถถังคันอน่ื แบบเดียวกนั ด้วยการใช้วิธีตอ่ วงจรสตาร์ทตดิ ภายนอกตวั รถ -การดำรงรกั ษาแรงเคลือ่ นท่ีใชง้ านในยานยนต์ แรงเคล่ือนหลกั อยใู่ นชว่ งประมาณ 26.5 - 28.5 โวลต์ ในระหว่างทีเ่ คร่อื งยนตห์ ลกั ( ME )และเคร่อื งยนตช์ ่วย ( APU ) ทำงาน หมายเหตุ : การดำรงรกั ษาแรงเคล่อื นทีใ่ ชง้ านในยานยนต์ ในระหว่างท่มี กี ารทำงานนั้น การผลิตกำลังไฟฟ้าจะ ถกู ควบคมุ ไว้โดยเครือ่ งควบคมุ แรงเคลื่อนไฟฟา้ RN 505M1-1T ส่วนประกอบหลกั ของชดุ SCE มีดงั ต่อไปน้ี. - เครอ่ื งควบคมุ แรงเคลอ่ื นไฟฟ้า RN 505M1-1T ( รูป 3.4 ) รูป 3.4 เครอื่ งควบคมุ แรงเคลื่อน RN505M1-1T -ชุดหนว่ ย BK712M1-3-1T ใชป้ ้องกันและเปิดสวิทชว์ งจรไฟฟา้ ( รปู 3.5 ) ตดิ ต้งั อยู่ที่ด้านซา้ ย จากพลขับบนแผงเครื่องวัดหันเหไดท่อี ยู่เหนือแบตเตอร่ี
รูป 3.5 ชดุ หน่วย BK712M1-3-1T บนดา้ นหนา้ แผงเครอ่ื งวดั ของชุดหน่วย BK712M1-3-1T ตดิ ต้งั องคป์ ระกอบตา่ ง ๆดังนี้ ตวั ตดั – ตอ่ วงจรไฟอัตโนมัติ : INSIDE LIGHT \"+\" FUEL PUMP ROAD SIGNAL POWER SUPPLY INSIDE LIGHT \"–\" PREHEATER MOTOR GLASS HEATING POWER SUP. EXTERNAL START HEATER MOTOR POWER MOVEMENT CONTROL SYSTEM SUPPLY POWER SUPPLY FFE POWER OIL PUMP DIRECTION GYRO SUPPLY POWER SUPPLY POWER SUPPLY FFE BLOWER TOW OIL PUMP POWER FRONT PUMP SUPPLY REAR PUMP RIGHT HATCH POWER STARTING SUPPLY POWER SUPLPLY - ไฟแสดงผล: - ME oil minimal pressure; - ME CL max. temperature. - สวทิ ช์กดการทำงานใหมอ่ กี ครั้งหนง่ึ : OIL INJECT – BLOWER WASHING; OIL PUMP – ENGINE OIL PUMP; OIL DRAIN – TOW OIL PUMP ). - สวทิ ช์ปลดการทำงาน: FUEL PUMP – PETROL;
MAN ENGINE – START AUTO. - ป่มุ กดสำหรบั : AIP START; ENGINE STARTER; EMERGENCY ENGINE STOP. - ปลก๊ั เสยี บต่อสำหรับ : RECHARGING ; ЕXTERNAL START; TEST . -ชดุ เปิดสวทิ ช์กำลงั ไฟ BK712M1-ST ( รูป 3.6 ) ของการสตาร์ทติดเครอื่ งยนตใ์ นเครอ่ื งกำเนดิ ไฟ – สตารท์ เตอร์ SG 1 ( ME ) , เครือ่ งยนตช์ ว่ ย SG 2 ( APU ) สำหรับใชต้ ่อกับชดุ ตัด –ตอ่ วงจรไฟกบั อุปกรณเ์ พม่ิ กำลัง การสตาร์ทติดเคร่ืองยนต์หลกั ( ME ) มันตดิ ตัง้ อยู่ทเ่ี ครื่องวดั SCE เหนอื แบตเตอร่แี ละออกแบบไวส้ ำหรบั เริม่ การสตาร์ท ตดิ เคล่ือนยนต์หลกั ( ME )และเครอื่ งยนต์ชว่ ย ( APU ) รปู 3.6 ชดุ เปิดสวทิ ชก์ ำลังไฟ BK712M1-ST -ชุดหนว่ ย BK712M1-V-1T ใชใ้ นการปอ้ งกันวงจรทีใ่ ช้งานภายนอก ( รูป 3.7 ) มันติดต้งั อยูท่ ี่ดา้ นซ้ายของพลขับใกล้กับชุด BK712M1-Z-1T
รปู 3.7 ชดุ หนว่ ย BK712M1-V-1T -ชุดปลัก๊ เสียบLogicBK712M1-LT ของเคร่อื งยนต์หลักเตรียมไว้ใช้กอ่ นการสตาร์ทตดิ เครอื่ งยนตใ์ หม่ ( รูป 3.8 ) -มันติดตงั้ บนแผงเครอื่ งวดั ห้องพลขับ รูป 3.8 ชดุ ปลัก๊ เสียบLogicBK712M1-LT -ชุดหนว่ ย BK712M1-P-1T ( รูป 3.9 ) ถูกออกแบบมาสำหรับควบคมุ ในการเตรียมการไว้กอ่ นการ สตาร์ทตดิ เครื่องยนต์ใหม่และเครอ่ื งยนตห์ ลัก ( ME ) สตาร์ทในแบบอตั โนมตั ิ,การทำความรอ้ นและการอ่นุ ทำความรอ้ น อากาศมันตดิ ต้ังอยบู่ นแผงเคร่ืองวัดหอ้ งพลขับ
รูป 3.9 ชุดหน่วย BK712M1-P-1T 3.1.2 แบตเตอรี่ ( Storage batteries ) แบตเตอร่ีมีไว้เพอื่ ใชใ้ นการจ่ายกำลงั ไฟฟา้ ของเครอ่ื งกำเนิดไฟ – สตารท์ เตอร์ในระหวา่ งการสตารท์ ติด เคร่ืองยนต์หลกั ,ชุดกำลงั ไฟอัตโนมตั ิและใชก้ บั อปุ กรณ์ไฟฟา้ ตา่ ง ๆในชว่ งเครื่องยนต์ไมท่ ำงาน ในรถถังติดตง้ั ไว้เป็นแบตเตอรีต่ ะก่วั กรด 12ST-85 ดว้ ยอตั ราแรงเคลอ่ื นขนาด 24 โวลตต์ ่อหม้อ,ความจุ กระแสไฟฟ้า 85 แอมแปร์ น้ำหนักรวม 72 กิโลกรมั ตอ่ หมอ้ แบตเตอร่จี ำนวน 2 หมอ้ ต่อกันแบบขนานและแต่ละชุดแบง่ เปน็ 2 กล่มุ ในแตล่ ะชดุ จะตอ่ ข้ัวรว่ มกันกับ ชดุ การเปิดสวทิ ช์ BK-712M1-ST ( รูป 3.6 ) แบตเตอรี่ตดต้ังอยทู่ ช่ี ่องวา่ งปดิ ไวเ้ ปน็ พิเศษด้วยฝาปดิ ทม่ี แี ผน่ บอกชอื่ รายละเอยี ดผังแสดงการต่อวงจร ของแบตเตอรี่ตดิ ไว้ดว้ ย ( รูป 3.10 )
รูป. 3.10 – ผังแสดงการตอ่ วงจรของแบตเตอร่ี และ สายไฟทต่ี อ่ พว่ งสำหรับการสตาร์ทติดเคร่ืองยนตภ์ ายนอก 3.2 การใชพ้ ลงั งานไฟฟ้า ( Electric energy users ) การใช้พลังงานไฟฟ้าหลัก คือใชใ้ นการสตารท์ ตดิ เคร่อื งยนต-์ เครือ่ งกำเนดิ ไฟในแบบของการสตาร์ทตดิ เคร่ืองยนต์ใหท้ ำงาน,ใช้กับอปุ กรณข์ องป้อมปืน,มอเตอร์ไฟฟ้าของเครอื่ งอดั อากาศ,เคร่ืองอุ่นทำความร้อนอากาศตัวทำ ความรอ้ น, ป้มั ปอ้ นนำ้ มันหล่อลื่นในสว่ นท่เี ป็นมอเตอรแ์ ละใช้ดงึ , ปม้ั ถ่ายน้ำ,เคร่อื งทำความร้อนบุคคล, ใชก้ บั อุปกรณ์ติดตอ่ สือ่ สารภายในและติดต่อสอ่ื สารภายนอก, ชุดไฟฟา้ ส่องสวา่ งและบอกสัญญาณจราจร, อุปกรณ์การทำความร้อนของกระจกกล้องเลง็ ตรวจการณ์และการป้องกนั กระจกของฝาครอบห้องพลขับ,อปุ กรณค์ วบคุม ตา่ ง ๆ 3.2.1 กลไกของการส่องสว่างภายนอก ( Devices of external lighting ) ในเวลากลางคืนเพื่อใช้สนบั สนุนการมองเห็นในเวลาท่ีรถถงั มกี ารเคลือ่ นท่ี นน่ั คือไฟส่องหน้า 4 ดวงจะ ใชส้ ำหรบั การสอ่ งสวา่ งร่วมกันนี้ ไฟส่องหนา้ 2 ดวงถกู ตดิ ตง้ั อยู่ที่ แผ่นเกราะด้านหน้าตัวรถ และ อีก 2 ดวงจะติดตง้ั ไว้ที่ ดาดฟา้ ป้อมปนื บนแผ่นเกราะดา้ นหนา้ จะถกู ใช้งานดงั น้ี . -ทีด่ า้ นขา้ งขวาเปน็ ไฟสอ่ งหน้าพรอ้ มกบั กรองอนิ ฟาเรด ไฟส่องหน้าถูกใชส้ ำหรับส่องบนถนน ในขณะรถถงั วง่ิ ไปพรอ้ มกับใชก้ ล้องเลง็ ตรวจการณก์ ลางคนื TVN-5 การเปิดสวิทชไ์ ฟส่องหน้าใชโ้ ดยการกดปุ่ม ที่ติดต้ังบนแผงเครอื่ งวดั 1KDS-T ( รปู 3.11 -การมองเห็นของไฟสอ่ งหน้าและโคมไฟพรางขับทด่ี า้ นข้างซ้าย ซ่งึ ไฟสอ่ งหนา้ จะติดโดยการ เปดิ สวทิ ชก์ ดปุ่ม ท่ีติดตงั้ อยู่ทแ่ี ผงเครอื่ งวัด 1KDS-T ตัวจดั ปรบั ความเข้มไฟสอ่ งหน้ามีไวใ้ ชป้ รับการมองเห็นดว้ ยการ กดป่มุ และการปรบั โคมไฟพรางขับ
รปู 3.11 แผงเครอ่ื งวดั 1KDS-T บนป้อมปนื ถูกติดตง้ั ไว้ด้วยไฟสอ่ งหน้า 2 ดวง ใชเ้ พม่ิ แสงสว่างในระหว่างการขบั รถถังในเวลากลางคืน ไฟส่องหนา้ 1 ดวง ติดต้ังประจำอยทู่ ี่ฐานป้อมปนื และอกี ดวงหนึง่ ติดตั้งอย่ทู ี่ฐานรองรบั ดา้ นหลงั ซ่งึ สามารถใช้หมุนรอบ ตวั ได้ ฐานรอรับหมุนได้รอบตัวของไฟสอ่ งหน้าจะประกอบด้วยชนิ้ ส่วนของโคมไฟดจิ ติ อลท่ถี กู เกบ็ ไว้ในชุดชิน้ ส่วนอะไหล่, เครื่องมือและอปุ กรณ์ประจำรถ ( SPTA )ของรถถัง และยดึ ปิดไวน้ น่ั คอื ไฟส่องหน้าถูกติดตงั้ ดว้ ยการยดึ แนน่ ขอบด้านตำ่ กว่าโดยการใช้สลกั เกลยี ว 2 ตวั ยึดไว้ สำหรบั การป้องกนั พลขับตาพร่าจากการมองไฟส่องหน้าตวั อยู่กับทจ่ี ะถกู ปิดสวิทช์ โดยการใช้สวิทช์ไฟหน้า ( F. LIGHT ) จะ ตดิ ตัง้ อยู่ที่แผงเคร่ืองวัดของห้องพลยงิ ( รูป 5.8 )และไฟสอ่ งหน้าตัวหมนุ ได้ อกี ตวั หนง่ึ น้นั ( T LIGHT ) ติดต้งั ไว้ที่แผงเครื่องวัดของห้องผบู้ ังคบั รถ ( รปู 5.9 ) 3.2.2 พดั ลมและไฟสอ่ งสวา่ งภายใน ( Internal lights and fans ) ไฟสอ่ งสว่างภายใน ประกอบด้วยองคป์ ระกอบต่าง ๆ ดังน้ี -ไฟส่องสวา่ งพร้อมสวทิ ชใ์ นตวั จำนวน 3 ชดุ ติดต้ังอยู่ที่หอ้ งพลประจำรถต่าง ๆ -ไฟหอ้ งแขวน 2 ดวงสำหรับการส่องสว่างแผงเครือ่ งวดั ในหอ้ งพลขับและการเลือกตำแหนง่ คัน เกยี รก์ บั สวทิ ชถ์ อยหลังบนแผงเคร่ืองวัดและแผน่ เกราะลาดเอยี งในฐานล็อคกา้ นตอ่ -ไฟสอ่ งสว่างสำหรับแผงเครอ่ื งวดั สอ่ งสว่างของบอร์ดจ่ายไฟ ไฟทด่ี ้านซ้ายติดต้งั อยู่บนตวั เรอื น ลอ็ คปอ้ มปนื และไฟทีด่ า้ นขวาอีกดวงหนึง่ ตดิ ตัง้ ทีด่ ้านขวาป้อมปืน ( จะเริม่ ทำงานเม่ือแบตเตอรถ่ี กู เปิดสวทิ ชต์ อ่ วงจร ) -ไฟสอ่ งสวา่ งที่ตดิ ต้ังอยทู่ ่ดี า้ นหลงั ท่นี งั่ พลยิงบนฐานป้อมปนื สำหรบั ใช้ส่องสว่าง U-type manometer ball มันถูกใชง้ านโดยเปิดสวทิ ช์ LIGHTING HEAD MASTTER ท่ตี ดิ ตั้งอยทู่ แี่ ผงเครื่องวดั หอ้ งพลยิง ( รปู 5.8 ) -ใชไ้ ฟสอ่ งสวา่ ง 2 ดวงที่ติดตั้งอย่บู นตัวเรอื นของเครื่องแสดงมุมทางทศิ (ทำใหอ้ ยู่ในสภาพปดิ โดยการใช้สวทิ ช์ “ GTS – NIGHT AZ ” , ทต่ี ดิ ตง้ั อยบู่ นบอร์ดจา่ ยไฟของพลยิง ( รูป 3.21 ) และการสอ่ งสวา่ งกลอ้ งเล็ง ตรวจการณข์ องพลยงิ 1G46M ( การหมนุ “ ปิด ” โดยการใช้สวิทช์ “ LIGHING PANEL ” ตดิ ตงั้ อย่ทู แ่ี ผงเคร่อื งวัดใน หอ้ งพลยิง ( รปู 5.8 ) สำหรบั พัดลมใช้ในการหมนุ เวยี นระบายอากาศในหอ้ งพลประจำรถ มดี งั นี้ พดั ลมในหอ้ งพลขับพร้อม สวทิ ช์,ตดิ ต้งั อย่ทู ่ีแถวใกล้ ๆฝาปิดหอ้ งพลขับ, พัดลมดา้ นหลังในห้องพลยงิ 2 ตวั พร้อมกบั สวทิ ชแ์ บบกา้ นโยก FAN
COOING – REVERSE บนแผงเคร่ืองวดั ในห้องพลยงิ ( รปู 5.8 ) และพดั ลมห้องผ้บู งั คับรถพรอ้ มกับสวิทชแ์ บบก้านโยก FAN , ติดตั้งอยทู่ ี่ แผงเคร่ืองวดั ห้องผู้บงั คบั รถ ( รูป 5.9 ) 3.2.3 การใชส้ ญั ญาณไฟขบั รถบนถนน ( Road signaling ) การใช้สัญญาณไฟขับรถบนถนน ถกู ออกแบบมาไวส้ ำหรบั การใหข้ ้อมลู ในการใชร้ ถบนถนนโดยการใช้ สญั ญาณแสงและเสยี งของการเรมิ่ สตารท์ ตดิ เครอ่ื งยนต์และในขณะที่มกี ารเคล่ือนท่ีรถในทำนองเดียวกันกใ็ ช้ในการนำ ยานยนต์ใหเ้ คล่ือนทไ่ี ปบนถนนให้มีความคลอ่ งแคลว่ ในการเคลอ่ื นที่ ชน้ิ ส่วนหลกั ของระบบการให้สัญญาณบนถนน ประกอบด้วย แตร ,ไฟบอกตำแหนง่ รถดา้ นข้าง, เครอ่ื งควบคุมองคป์ ระกอบของแผงเคร่อื งวดั การใหส้ ัญญาณบนถนน 1KDC และสวทิ ช์ไฟเลีย้ ว สำหรับการใช้สญั ญาณเสียงโดยทว่ั ไป,รถถงั จะใชส้ ัญญาณสยี งจากอปุ กรณไ์ ฟฟา้ ผลิตเสียง น่นั คอื จะ ติดตง้ั ด้านนอกของตัวรถถังบนแผน่ เกราะใกลก้ บั ไฟบอกตำแหนง่ ด้านซ้าย ตวั สัญญาณจะถูกใช้ด้วยการกดปมุ่ ตดิ ต้ังอยทู่ ่ีแผงเครื่องวัดดา้ นหน้าของคอนโซล 1KDS-T ( รปู 3.11 ) สำหรับการใชส้ ัญญาณไฟส่องสว่างบอกตำแหน่งจะใช้การกดปุม่ ท่ีตดิ ตัง้ อยูบ่ นแผงเคร่อื งวัดให้ สัญญาณการขบั รถบนถนน 1KDS-T. โคมไฟของไฟสอ่ งสว่างบอกตำแหนง่ ต่าง ๆสามารถปอ้ นสัญญาณใหท้ ำงาน ไดโ้ ดยการกดปมุ่ ถ้า ต้องการ, สิ่งหนึง่ ทีส่ ามารถกระทำได้ในการเปดิ สวิทชไ์ ฟส่องสว่างบอกตำแหน่งทดี่ า้ นหลงั เพยี งอย่างเดียวเท่านัน้ โดยการ กดปุ่มที่แผงเคร่อื งวดั บอกตำแหนง่ การขับรถบนถนนไปที่ตำแหนง่ แผงเคร่อื งวดั บอกตำแหนง่ การขับรถบนถนนโดยการทำงานของเครอ่ื งยนต์ทีใ่ ช้ในการผลิตจา่ ยไฟบอก ตำแหนง่ ในการทำงานเปน็ ช่วง ๆ (การกระพรบิ ) เมือ่ สญั ญาณแสดงการเลย้ี วรถแตล่ ะข้างเปดิ ขน้ึ ,หรอื แปน้ เหยียบเบรก ถูกกดใหต้ ่ำลง สวิทชแ์ สดงการเลี้ยวรถ “ TURN ” ตดิ ตง้ั อยูบ่ นพวงมาลัยบังคับเลยี้ วและมีความมุ่งหมายสำหรบั สลบั สบั เปล่ยี นตำแหนง่ ในการเปดิ วงจรไฟบอกตำแหนง่ ด้านขวาหรอื ไฟบอกตำแหนง่ ด้านซ้าย ตวั ส่งสญั ญาณการเบรกหยุดรถ จะติดตงั้ อย่บู นเพลาตอ่ สง่ กำลังใกลแ้ ผน่ เกราะดา้ นหน้าของชดุ เบรก หยดุ รถ สัญญาณการเบรกจะถูกส่งมาท่ไี ฟส่องสวา่ งบอกตำแหน่งทัง้ 3 ตวั การทำงานของไฟส่องสว่างบอกตำแหน่งใน แบบการทำงานเปน็ ช่วง ๆ จะถูกยืนยันวา่ มกี ารทำงานโดยไฟสีเขยี วสวา่ งติดข้นึ บนแผงเคร่ืองวดั 1KDS-T 3.2.4 สญั ญาณแจ้งเตอื นแสดงที่แผงเคร่อื งวัด ( Alarm display panel ) สญั ญาณแจง้ เตอื นแสดงท่แี ผงเครอ่ื งวัด ( ADP ) ( รปู 3.12 ) จะใชใ้ นการให้ข้อมลู แสดงแจง้ เตอื น ( การ สง่ สญั ญาณ ) ให้กบั พลขับด้วยการใช้ไฟสอ่ งสวา่ งแสดงบอกดังน.้ี ในแบบการใชข้ องสวทิ ช์ “ TURN ” สำหรบั แสดงตำแหน่งการเลยี้ วรถในตำแหน่ง “LEFT” หรอื “RIGHT”ตำแหนง่ ปนื ที่เกนิ ไปจากขนาดของตัวรถถงั ในการเดินทางปอ้ มปืนจะอยใู่ นตำแหนง่ “LEFT” หรอื “RIGHT” - ไฟแจง้ เตอื นในเครอ่ื งวดั alarm parameter ในระบบ FFE, RCAD-M1 ,ระบบการ ป้องกันในเครื่องยนตห์ ลักและชุดหนว่ ยกำลังอัตโนมัติ แผงการจา่ ยไฟแจ้งเตือน 24 ( รูป 3.1 ) จะถกู ติดตงั้ ไวใ้ นด้านหนา้ ของพลขบั เหนืออุปกรณ์ TNPO-160 และสูงกวา่ ชดุ 1KVI unit ไฟแสดงการเล้ียวรถของแผงเคร่ืองวดั ADP และไฟสอ่ งสวา่ งแสดงสัญญาณบนถนน,ติดตงั้ อย่บู นแผง เคร่อื งวัดในหอ้ งพลขบั จะทำงานในแบบทำงานเปน็ ช่วง ๆ ด้วยการโยกสวิทชเ์ ลือกตำแหน่ง “ TURN ”ในตำแหน่ง “LEFT” หรอื “RIGHT” ในขณะทีม่ กี ารเบรกรถถังด้วยการวงิ่ ด้วยเครอื่ งยนตเ์ ท่านน้ั ไฟแสดงตำแหนง่ ปืนท่เี กินไปจากขนาดของตัวรถถังในการเดินทางป้อมปนื จะสวิทช์อยใู่ นตำแหนง่ “LEFT” หรอื “RIGHT” จากวงแหวนเลือ่ นตอ่ วงจรไฟฟ้าป้อมปืน ขึน้ อยู่กบั ตำแหนง่ ของปืน
1 ไฟติดแสดงการเลยี้ วซ้าย ( แสดงการเลย้ี วซ้ายเม่อื สญั ลักษณ์ทด่ี า้ นซา้ ยอยูต่ ำแหน่งเปดิ ) 2 ไฟตดิ แสดงด้านซา้ ย(ตำแหนง่ ปนื สว่ นทีเ่ กินจากขนาดของตวั รถอยู่ในตำแหน่งซา้ ย ) 3 ไฟติดแสดงแจ้งเตอื นใหร้ ะวงั ( แบบของการแจง้ เตอื น ) 4 ไฟติด แสดงดา้ นขวา(ตำแหนง่ ปนื ส่วนทีเ่ กินจากขนาดของตวั รถอยใู่ นตำแหน่งขวา ) 5 ไฟติดแสดงการเลีย้ วขวา ( แสดงการ เลยี้ วขวาเมอ่ื สญั ลักษณ์ทด่ี า้ นขวาอยูต่ ำแหนง่ เปิด ) รูป 3.12 สญั ญาณแจง้ เตอื นแสดงทแ่ี ผงเครอ่ื งวัด ( ADP ) 3.3 กลไกช่วยอปุ กรณไ์ ฟฟา้ ( Electrical equipment auxiliary devices ) 3.3.1 วงแหวนเลื่อนตอ่ วงจรไฟฟ้าป้อมปนื ( Rotary collector ring ) วงแหวนเลอื่ นต่อวงจรไฟฟ้าปอ้ มปนื ( RCR ) (รูป 3.1 ) ถกู ออกแบบมาสำหรับการส่งถา่ ยกำลังไฟฟ้า จากวงแหวนเลอ่ื นตอ่ วงจรไฟฟา้ ป้อมปนื ( RCR ) จะใช้เปน็ อปุ กรณต์ ่อวงจรไฟสอ่ งสว่างให้ทำงานในขณะแสดงตำแหนง่ ปนื ทเี่ กนิ ไปจากขนาดของตวั รถถังในการเดินทางปอ้ มปนื ชิ้นส่วนทอี่ ยู่กบั ทีข่ องวงแหวนเลอ่ื นตอ่ วงจรไฟฟ้าป้อมปืน ( RCR ) ถูกติดตง้ั บนตวั รถด้านลา่ งและช้นิ สว่ นท่ีมกี ารเคลือ่ นทจี่ ะยึดตอ่ อยกู่ บั วงแหวนเล่อื นในพ้ืนห้องป้อมปนื บนวงแหวนเลือ่ นต่อวงจรไฟฟา้ ป้อมปืน ( RCR ) ติดตงั้ อุปกรณ์หมนุ เวียนอากาศ ( RAD ) สำหรับการสง่ จา่ ยอดั อากาศแรงดันสงู จากถงั ลมในตวั รถเข้าสรู่ ะบบทำความสะอาดนำ้ มนั ไฮดรอลิกป้อมปืน ( 3.3 ) 3.3.2 แผงเครอื่ งหอ้ งพลขับ ( Driver ’s panel ) แผงเครอ่ื งวดั หอ้ งพลขบั ( รูป 3.3 ) ถกู มไี ว้ใชใ้ นระบบและกลไกบางส่วนของการแสดงการใช้งาน ควบคุมองค์ประกอบชดุ หนว่ ยกำเนิดกำลังและส่งข้อมูลเปน็ ชว่ ง ๆให้กบั เคร่อื งวัด ( parameter ) ทราบสภาพต่าง ๆ ภายใต้การควบคมุ แผงเครือ่ งวัดจะถกู ต่อกบั วงจรท่ีใชอ้ ปุ กรณไ์ ฟฟา้ ในรถถังดว้ ยการใชห้ วั เสียบต่ออุปกรณไ์ ฟฟา้ ในแผง เครอื่ งวัดจะถูกตอ่ เขา้ กบั แผงเครื่องวัดต่าง ๆ ดว้ ยดงั น้ี 1KDS-T, 1BUD-T, 1KIP, 1KPT-M ในทำนองเดยี วกนั กจ็ ะต่อ วงจรไฟฟา้ กับชดุ BZN01, BK712M1-P-1T, BK712M1-LT และเครอ่ื งแปลงไฟฟา้ PAG-1FP.
1 ชดุ BZN01 2 เครื่องแปลงไฟฟา้ PAG-1FP 3 แผงเครอ่ื งวดั 1KPT-M 4 แผงเคร่อื งวัด 1BUD-T 5 แผงเครื่องวดั 1KIP 6 แผงเคร่ืองวัดเคร่ืองปรับอากาศ 7 แผงเคร่ืองวดั 1KDS-T 8 ชุด BK712M1-P-1T 9 ชดุ BK712M1-LT รูป 3.13 แผงเครือ่ งวดั ห้องพลขบั 3.3.3 ชดุ หนว่ ย BK 712M1 – P – 1T ( Unit BK 712M1 – P – 1T )
ชุดหนว่ ย BK 712M1 – P – 1T ออกแบบไว้ใช้ในการควบคมุ การเตรยี มการก่อนการสตารท์ ติด เครื่องยนต์ และใชใ้ นการตดิ เครื่องยนต์หลกั แบบอตั โนมตั ิ,การทำความร้อนและการทำงานอุ่นความร้อนใหอ้ ากาศ ชดุ หน่วย BK 712M1 – P – 1T ตดิ ต้งั ไว้ในแผงเครื่องวัดหอ้ งพลขบั บนหน้าแผงเคร่ืองวัดของชดุ หนว่ ย BK 712M1 – P – 1T ( รปู 3.9 ) ประกอบดว้ ย -ป่มุ : ENGINE STARTING: STARTER, AIR; GB DRAIN OIL; MODE START. -ไฟกระพรบิ แสดงท่บี นแผงเครอื่ งวดั : PRESTART - ไฟกระพรบิ ของการเตรียมการกอ่ นการสตาร์ทตดิ เคร่อื งยนต์หลกั ; READY-ไฟกระพริบของการเตรียมการกอ่ นการสตารท์ เสร็จสมบรณู ์ ; HEATER FC - ไฟกระพริบของเคร่อื งทำความร้อน -อากาศทำงาน; SCAV- ไฟกระพริบของแบบการดดู หมนุ เวยี นอากาศของหอ้ งเผาไหมเ้ ครอ่ื งทำความรอ้ น; START-ไฟกระพริบของแบบการสตารท์ ตดิ เคร่ืองยนต์ดว้ ยเครอ่ื งทำความรอ้ น; PLUG - ไฟกระพรบิ ในแบบการทำงานของเต้าเสยี บตอ่ วงจรไฟฟา้ เครอ่ื งทำความร้อน . -แบบการเลอื กตำแหน่งสวทิ ช์ท่ีใชส้ ำหรบั : -การสตารท์ ติดเครอ่ื งยนต์ และการทำงานของเครือ่ งทำความรอ้ น; -การทำงานเพ่ิมความร้อนของเครือ่ งทำความรอ้ น -อากาศ; 3.3.4 เครือ่ งมอื วัดที่แผงเครือ่ งวดั ( Instrumentation ) 3.3.5 การควบคุมข้อมูลที่แผงเคร่อื งวัด ( Informative control panel ) แผงเครอื่ งวดั ใชใ้ นการแสดงคุณค่ากระแสไฟฟ้าของการวัดผลพ้ืนฐานในเครอ่ื งยนตห์ ลัก (ME) , ช่วงเวลาระหว่างการทำงานของเครื่องยนตช์ ่วย ( APU ) , แรงดนั น้ำมันหลอ่ ล่ืนในชดุ หบี เฟอื งเคร่อื งเปลี่ยนความเร็ว ( GB ), ความเร็วรถและระยะทาง, แรงเคล่ือนไฟฟา้ หลกั ของยานยนตแ์ ละเครอ่ื งตดั –ต่อกระแสไฟฟ้า ( SB )ในการเกบ็ ประจไุ ฟฟ้า / จ่ายประจไุ ฟฟ้า. แผงเคร่อื งวัด 1KIP ( รปู 3.14 ) ติดตัง้ บนแผงเครอ่ื งวัดหอ้ งพลขบั รปู 3.14 ภาพท่ัวไปของแผงเครอ่ื งวัด 1KIP ( แบบพื้นฐาน ) บนดา้ นหน้าแผงเคร่ืองวัดองค์ประกอบตา่ ง ๆที่ถกู ติดต้งั ไวใ้ ช้งานดงั นี้ -แสดงไฟบอกตำแหนง่ ระดบั ต่าง ๆ -แสดงการส่งสญั ญาณต่าง ๆ -อณุ หภูมริ ะบบระบายความร้อนเครอ่ื งยนต์ -แบตเตอรจ่ี า่ ยประจุไฟฟา้
- อุณหภูมนิ ำ้ มันหลอ่ ลนื่ เครอ่ื งยนต์ -กรองทำความสะอาดนำ้ มันเชอ้ื เพลิงแบบละเอยี ดอุดตนั -แรงดนั น้ำมนั หลอ่ ลนื่ เครอ่ื งยนต์ -แรงดันนำ้ มนั หล่อล่นื หบี เฟอื งเกยี ร์เครื่องเปล่ยี นความเร็ว -ความเร็วรถ -ความเร็วการหมุนเพลาขอ้ เหวยี่ งเครื่องยนต์ ในแบบการแสดงชว่ ย ( รปู 3.15 ) รูป 3.15 การแสดงผลการใชง้ านอปุ กรณใ์ นแผงเครอ่ื งวดั 1KIP ( แบบการชว่ ย ) -การแสดงสญั ญาณ : -แบตเตอรจี่ ่ายประจไุ ฟฟา้ -กรองทำความสะอาดน้ำมันเชื้อเพลงิ แบบละเอียดอุดตนั -แสดงไฟส่องสวา่ งแบบตวั เลข ( digital ) V -คุณค่าแรงเคลอื่ นไฟฟา้ ในเครอ่ื งยนตห์ ลกั A -คณุ ค่ากระแสไฟฟ้าในเครือ่ งควบคมุ ตดั ต่อวงจรไฟ ประจุกระแสไฟฟา้ /จ่ายประจุไฟฟ้า h -การนับจำนวนชว่ั โมงการทำงานของเครอ่ื งยนตห์ ลกั h -การนับชวั่ โมงการทำงานปัจจุบันของเครือ่ งยนตช์ ่วย km -ระยะทางการวง่ิ ของรถถงั r/min - ความเร็วในการหมนุ ของเพลาขอ้ เหวีย่ งเคร่ืองยนต์ km/h -ความเร็วรถ kg/cm2 - แรงดนั นำ้ มนั หลอ่ ล่ืนเครื่องยนต์ kg/cm2 - แรงดันนำ้ มนั หล่อลน่ื หีบเฟอื งเกียร์เครอื่ งเปลย่ี นความเร็ว -อุณหภูมริ ะบบระบายความรอ้ นเครื่องยนต์ - อณุ หภมู นิ ำ้ มันหลอ่ ลื่นเครอื่ งยนต์
-แบตเตอร่จี า่ ยประจไุ ฟฟา้ -กรองทำความสะอาดน้ำมนั เชื้อเพลิงแบบละเอยี ดอดุ ตัน 2) ปมุ่ ต่าง ๆ : MODE ใช้สำหรบั การเปิดสวทิ ชเ์ ลอื กการทำงานท่บี นแผงเครอื่ งวดั ระหว่างการแสดงผลหลัก(แสดงผลระยะ ยาว ) และชุดเพม่ิ เติม ( แสดงผลดว้ ยดจิ ิตอล ) แบบของการแสดงผลเปน็ พื้นฐานของการวดั TEST ใชส้ ำหรบั การทดสอบการทำงานของชดุ ส่งสัญญาณและชดุ หนว่ ยควบคมุ ความสำเร็จของการคำนวณ แปลงข้อมูลการทดสอบการทำงานออกมาที่บนจอแสดงผล จะเกี่ยวขอ้ งกบั ผลการทดสอบต่าง ๆ ( รูป 3.16 ) การทำงานของผลการทดสอบตา่ ง ๆบนจอแสดงผลประกอบดว้ ย ดงั ต่อไปน้ี ชือ่ ของอปุ กรณท์ ีถ่ ูกการควบคมุ และสถานะภาพของอุปกรณ์เหลา่ น้ัน (ปกติ,ผิดปกติ,หยุดการทำงาน,เกิดการลดั วงจร,และไม่สามารถติดตอ่ ส่อื สารได)้ การเล่ือนเข้าตำแหน่งมากเกินไป ที่แสดงเป็นแบบพน้ื ฐานถกู กระทำโดยใช้การกดปุ่มแบบ MODE หรอื การกด ปุม่ TEST ทดสอบตามลำดับขั้นตอน รปู 3.16 การแสดงผลการทำงานของแผงเคร่อื งวัด 1KIP ( แบบการทดสอบ ) 3.3.4.2 แผงเคร่ืองวัด 1KPT-M แผงเครื่องวัดนี้มไี วส้ ำหรบั การวดั ด้วยเคร่อื งควบคมุ ระยะไกลและแสดงผลของปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิงใน กลุ่มถังน้ำมันเช้อื เพลงิ ตา่ ง ๆและระดบั น้ำมนั หล่อล่นื ในถงั นำ้ มันหล่อลื่นเคร่ืองยนต์
รูป 3.17 แผงเคร่ืองวดั 1KPT-M ทีบ่ นดา้ นหน้าแผงเครอื่ งวดั ของ 1KPT-M จะตดิ ตัง้ องคป์ ระกอบต่าง ๆดงั น้ี 1 ปุม่ : สำหรบั แบบการเลอื กสวทิ ช์ในการวดั ระดบั น้ำมนั หลอ่ ล่ืน 2. ไฟแสดงผลแจง้ เตอื น : -ไฟกระพรบิ แจง้ เตอื นน้ำมนั เช้ือเพลงิ ในถังนำ้ มันเชอื้ เพลิงเหลือ 300 ลติ รหรือนอ้ ยกว่า -ไฟกระพรบิ แจง้ เตือนแบบการเลือกสวทิ ช์ในการวดั ระดบั น้ำมนั หลอ่ ล่ืน - ไฟกระพรบิ เตอื นระดับน้ำมันหล่อลน่ื ตำ่ สดุ ในถังน้ำมันหลอ่ ลืน่ เคร่อื งยนต์ -ไฟกระพรบิ เตือนระดบั น้ำมนั หลอ่ ลนื่ ตำ่ สดุ ในถังน้ำมนั หลอ่ ล่ืนเคร่อื งเปลย่ี นความเร็ว (ไม่ใชส้ ำหรบั ถงั นี้) 3. ไฟแสดงขีดเส้นบอกระดบั ท่มี าตรวัด : -ขดี เสน้ บอกระดบั ท่ดี ้านซ้าย จะแสดงขอ้ มลู เกย่ี วกบั จำนวนปรมิ าณน้ำมนั เชื้อเพลงิ ในกลมุ่ ถงั น้ำมนั เชือ้ เพลิงถงั หลัง ( แบบการวดั ปรมิ าณน้ำมันเชือ้ เพลงิ ) หรอื จำนวนปริมาณน้ำมันหลอ่ ล่นื ในถังนำ้ มนั หลอ่ ลืน่ เคร่อื งยนต์ ( แบบการวัดระดับนำ้ มนั เชอื้ เพลิง ) -ขีดเส้นบอกระดับทด่ี ้านขวา จะแสดงขอ้ มลู เกย่ี วกบั จำนวนปริมาณน้ำมันเชอื้ เพลงิ ในกลุ่มถังนำ้ มัน เชือ้ เพลงิ ถงั หน้า ในขีดเสน้ บอกระดับทใ่ี ชจ้ ะบอกเปน็ สญั ลกั ษณเ์ คร่อื งหมาย 3.3.5 การควบคมุ ข้อมลู ท่ีแผงเครื่องวัด ( Informative control panel ) การควบคุมข้อมูลทีแ่ ผงเครอ่ื งวดั ( ICP ) ออกแบบมาใชใ้ นการสง่ ขอ้ มลู ในปัจจบุ นั ให้กบั พลขบั โดยการ ใชไ้ ฟแสดงรว่ มกันกับชดุ หน่วย 1KBU-MT ดังนี้. -การควบคุมการวัดกระแสไฟฟ้าของเครอื่ งยนตห์ ลกั (ME) และ อปุ กรณ์ไฟฟ้า (EE) ,การใช้ ภาระกรรมชดุ หน่วยกำลงั อัตโนมตั ิ -การสง่ สญั ญาณของระบบแจ้งเตือนบอกสถานภาพ.ในกรณีท่มี ีการเกิดเพลงิ ไหม้ในหอ้ งเครื่อง กำเนิดกำลงั และความสามารถในการตรวจพบสารรงั สรี อบ ๆ บรเิ วณตวั รถ -ไฟแสดงผลตดิ พรอ้ มกบั สัญลักษณ์ของระบบเคร่อื งยนตห์ ลกั (ME) และ อปุ กรณ์ไฟฟ้าติด เคร่ืองยนต์ (EE) ทอ่ี ยู่ภายใตก้ ารควบคมุ -ปุ่ม START และ STOP ของชดุ หนว่ ยกำลังอัตโนมตั ิ
-ไฟแสดงผลตดิ เป็นกลมุ่ โดยใชร้ ะดบั สำคัญในการทำงาน กลา่ วคอื แจ้งเตือน หรอื บอก สถานภาพการทำงานของระบบและตำแหน่งทีเ่ กดิ เหตภุ ายใตก้ รองไฟสตี า่ ง ๆ ในยา่ นเขตการตอบสนองออกมาเป็นสแี ดง หรือสีเขยี ว สัญลักษณแ์ สดงผลท่อี อกแบบมาใชไ้ ดแ้ สดงไวใ้ นรปู ท่ี 11.5 การทำงานของ แผงเคร่อื งวดั PIU สำหรับการหมนุ ติดเครือ่ งยนตด์ ว้ ยอุปกรณ์ไฟฟ้าตดิ เคร่ืองยนต์ ( EE ) โดยปราศจากการป้อนนำ้ มนั เช้ือเพลิงมัน จะมคี วามต้องการในการดำเนนิ การดังน.ี้ 1) หมุนเปดิ สวทิ ชไ์ ฟหลัก ( MS ) ในแบตเตอรี่ 2) รอคอยสำหรับการทดสอบระบบการควบคุมให้เรยี บรอ้ ยเสร็จสมบรณู ์,ในการกระทำไฟทแ่ี ผง เครื่องวัด PIU ควรติดตามลำดบั ขัน้ ตอนและไฟแจง้ เตอื นดับลง การแสดงผล FFE ควรมีไฟติดข้ึนบนแผงดจิ ติ อลบอร์ด การทดสอบ TEST จะใชเ้ วลาประมาณ 45 วินาที ถ้าต้องการ,หยุดการทดสอบในทนั ทีทนั ใดสามารถทะได้โดยการกดปมุ่ “ STOP ” 3) เปิดตวั แสดงผลการควบคมุ ในชอ่ งอุปกรณ์ไฟฟา้ ตดิ เคร่ืองยนต์ ( EE ) ของฝาครอบแสดงสถานภาพ บนแผงเครอ่ื งวัด PIU ,จัดปรบั สวทิ ช์ “ MAN ENGINE – START AUTO ” บนชดุ BK712M1-3-1T ( รปู 3.5 )ให้อยู่ ใน ตำแหนง่ “ START AUTO ” ,จดั ปรับสวิทช์คันโยกเลือกตำแหน่ง FFE-DFE ( รูป 16.6 ) ที่ตดิ ต้งั บนการสง่ สญั ญาณและ แผงเครอ่ื งวัดควบคุมในตำแหนง่ FFE 4) กดปุ่ม START และกดแชไ่ ว้ ปมุ่ START ตดิ ตงั้ อย่ทู ี่บนแผงเครอื่ งวัด PIU ( รูป 11.5 ) ใน การกระทำนี,้ อุปกรณไ์ ฟฟ้าติดเครือ่ งยนต์ ( EE ) จะสตารท์ ติดเครอ่ื งยนตแ์ ละป้ัมป้อนน้ำมนั หลอ่ ลน่ื MZN-S จะอยู่ ภายใต้การ ทำงานและแผงเครอื่ งวดั PIU จะกระพริบแสดงผลทดี่ ิจติ อลบอร์ดในรปู ผลการทำงานท่ีเห็นคือ “ BBB ”เม่ือมี การหมุนติดเคร่อื งยนตเ์ สร็จสมบรูณ์แล้ว “ BBB ”แบบไฟแสดงจะตดิ ต่อเนอ่ื ง น่ันคอื จะแสดงผลการทำงานของ สวทิ ช์ เลือกตำแหนง่ ที่ดจิ ติ อลบอร์ดแผงเคร่ืองวดั PIU หมายเหตุ : สำหรบั การตรวจสอบในวงจรสายไฟและมาตรวดั ต่าง ๆของแรงดันนำ้ มันหล่อลน่ื ตำ่ สดุ ใน MZN-S ให้อยู่ในใช้งานได้สำหรบั การทำงานทถ่ี ูกต้องและเม่อื ระบบนำ้ มันหลอ่ ลืน่ ในอปุ กรณไ์ ฟฟา้ ไม่มีแรงดนั ไฟแจง้ เตอื น จะเรม่ิ ตดิ ขน้ึ น่ันคอื เครื่องยนตจ์ ะดบั เม่ือแรงดนั ต่ำลง ความต้องการกับในชว่ งเวลาของการสตาร์ทหมนุ ตดิ เครอ่ื งยนต์เปน็ คณุ ลกั ษณะท่สี ำคญั อันพงึ ประสงค์ ของ OM สำหรบั ชุดหน่วยกำลังอตั โนมัติในชุด EPU-10-1 , ถ้าส่งิ เหลา่ นไี้ ม่มคี วามตอ้ งการในการสตารท์ หมนุ ตดิ เครือ่ งยนต์ของชดุ EPU ,มนั ตอ้ งการกดและปลอ่ ยปุ่ม START ในช่วงเวลาส้นั ๆ 5) ในดำเนนิ การกดปุ่ม START เพื่อใช้ในสตาร์ทติดเครื่องยนต์ในเคร่อื งยนต์ชว่ ย ( APU )ให้ ทำงานน้นั , การสตารท์ ติดเคร่อื งยนต์ในเครอื่ งยนต์ช่วย ( APU ) กระทำโดยปราศจากการกดปมุ่ START แช่ไวใ้ นแบบ การควบคุมการทำงานอัตโนมัติ ตำแหนง่ การหมุนปดิ -ตัดวงจรการใชส้ ตารท์ ตดิ เครอ่ื งยนต์ของเครอ่ื งยนตช์ ่วย ( APU ) จะเกิดในขณะที่ การ หมนุ ของเพลาขอ้ เหว่ียงเครือ่ งยนตม์ คี วามเร็วรอบเกินกว่า 2,400 รอบตอ่ นาที ภาระกรรมในเคร่ืองยนตช์ ่วย ( APU ) จะทำงานแบบอัตโนมัตภิ ายหลังจาก 30 วินาทตี อ่ มาทีม่ ันถูก สตาร์ท ติดเคร่ืองยนต์ทอ่ี ุณหภูมริ ะบบระบายความร้อน ( APU CL ) มากกว่า (15±3) С 6) สำหรบั การหยดุ ดับเครือ่ งยนตช์ ว่ ย ( APU ) ,มันจะต้องกดปมุ่ “ STOP ” ในขณะทีไ่ ฟแจง้ เตือนแสดง ตดิ ต้งั ไวบ้ นแผงเครอื่ งวัด PIU ไฟตดิ ขน้ึ และแสดงผลขนึ้ ท่ี ดจิ ิตอลบอรด์ ( digital board ) จะแสดงหมายเลข “ 000 ” นคี้ ือขอ้ มลู ทัง้ หมดเหล่าน้ันของ อณุ หภูมิระบบระบายความ รอ้ น ( CL ) มมี ากเกินคา่ ทีย่ อมให้สูงสุดในระดับ (115±3)°С (นำ้ ) หรอื (105±3)°С (สารกันแข็ง). เมอื่ อุณหภมู ิระบบ ระบายความร้อน ( CL ) มมี ากเกิน (118±3)°С และไฟแสดงของ จะติดขึ้นอยา่ งช้าไมม่ ากกวา่ 40 วินาที, เครื่องยนต์ช่วยจะหยดุ ดบั ลง
การเลอื กสวิทชแ์ สดงผลของ บนแผง PIU , แสดงการทำงาน “ 888 ” ทค่ี ุณคา่ บน ดิจิตอลบอร์ด ( digital board ) และความเรว็ ในการหมนุ เพลาขอ้ เหวย่ี งเครอ่ื งยนตช์ ่วย ( APU ) ตำ่ กว่าความเรว็ รอบ 1,000 รอบต่อนาท,ี แม้วา่ รูช่องตรวจสภาพหน่ึงจะถูกปดิ ไว้ หรือมกี ารใชง้ านในแบบ DFE ลำดบั การทำงานทตี่ ามมาโดย ตวั หยุดกรณีฉกุ เฉินของเครื่องยนต์ช่วย ( APU ) และจะวิเคราะหผ์ ลในเหตทุ จ่ี ะหยดุ ฉกุ เฉิน,มันมีความตอ้ งการท่จี ะไปกด ป่มุ STOP ตัวหยุดเคร่อื งยนตช์ ่วย ( APU ) จะถูกควบคมุ แบบอัตโนมตั ทิ ่ีความเรว็ ในการหมนุ เครอื่ งยนต์หลกั ( ME ) ที่ความเร็วรอบ 800 รอบตอ่ นาที เมื่อการสตาร์ทตดิ เครอ่ื งยนต์หลักดว้ ยการใชเ้ ครือ่ งยนต์ชว่ ย ( APU ) ,ในการทำงาน แผงเคร่ืองวดั PIU จะใช้แสดงการทำงานท่ี “ 888 ” ในการแสดงผลการไมป่ ลอดภยั ในหอ้ งเครอื่ งกำเนิดกำลงั หรอื การตรวจพบสารรังสรี อบ ๆ บริเวณรถไฟ จะ ติดขึน้ ,ในขณะท่สี ญั ญาณจะถูกสง่ จากการตอบสนองของตวั สง่ สญั ญาณของระบบการปอ้ งกันภยั ในตวั รถ 3.3.6 สถานะภาพการใชง้ าน1BUD – T ทีแ่ ผงเครื่องวัด(Movementconditionpanel1BUD–T) แผงเครอื่ งวัด ( 1 BUD – T) ( รปู 3.18 ) จะใช้ในการควบคุมปมั้ ด้านหน้าและดา้ นหลัง,เครือ่ งยงิ ลกู ระเบดิ มา่ นควันความร้อน ( SSS ) ,ท่ออากาศไหลเข้า ( AIP ) , ตวั กำหนดทศิ ทางโดยตรง ( DG ) , ใชใ้ นการหมุนเดนิ ทาง ฉุกเฉินของปอ้ มปนื รปู 3.18 แผงเครื่องวัด 1BUD- T บนดา้ นหน้าแผงเคร่อื งวดั ของ 1BUD จะติดต้ังไว้ดงั นี.้ 1) ปุม่ ต่าง ๆ - (SSS ) ในการกดปมุ่ ลอ็ คและปมุ่ ไฟสวา่ งสแี ดงจะติดขน้ึ ,การกดปุ่มซำ้ จะเป็นเหตใุ หก้ ารสวิทชเ์ ลอื ก ตำแหนง่ ของ SSS ปดิ และไฟสวา่ งสแี ดงจะดบั ลง ( DG ) ) ในการกดปมุ่ ลอ็ คและปุม่ ไฟสวา่ งสีเขียวจะติดขึ้น,การกดปุ่มซำ้ จะเปน็ เหตุใหก้ ารสวิทชเ์ ลือก ตำแหน่งของ SSS ปิดและไฟสว่างสีเขียวจะดบั ลง ( FRONT PUMP ) และ ( REAR PUMP ) ด้วยการกดปุม่ ของแตล่ ะป่มุ และปุ่มไฟสวา่ งสขี าว จะติดขึ้น, การกดปุม่ หนงึ่ ปุม่ ใดซำ้ จะเปน็ เหตุให้ปั้มหน่ึงป้มั ใดเกดิ การไมท่ ำงานและสวิทชจ์ ะตดั วงจรไฟส่องสว่างดับลง
( AIP UP ) ปราศจากการลอ็ ค,จะเป็นสแี ดง,นค้ี อื สญั ลักษณแ์ สดงการกดและแชป่ ุ่มไว้จะเปน็ เหตุใหท้ ่อ อากาศดีไหลเข้าเคล่ือนทีข่ ึน้ ด้านบนโดยตรง, ในการดำเนินการนี้ ควรเห็นไฟสว่างสแี ดงแสดงผล ( AIP UP ) และ ( AC COVER CLOSED ) เมื่อไฟสว่งสแี ดงแสดงน้อี ยูใ่ นแบบติด,ปมุ่ ควรถกู ปลดออก, ไฟส่อง สวา่ งแสดงผล และ ควรดำรงคงอยู่และเป็นสเี ขยี วแสดง ( AIR DOWN ) และ ( EJECTOR OPENED ) ควรเปิดไลพ่ น่ อากาศออกไป ( AIR DOWN ) ปราศจากการล็อค,สเี ขยี วจะตดิ ขน้ึ ,นีค้ ือสญั ลักษณแ์ สดงผลการกดป่มุ และแช่ปุม่ ไว้ จะ เปน็ เหตุใหท้ ่ออากาศดีไหลเข้าเลือ่ นต่ำลง,ในการดำเนินการนี้,ไฟสวา่ งแสดงผล ( AIR DOWN ) และ ( EJECTOR OPENED ) ไฟแสดงผลควรอยูใ่ นตำแหนง่ สเี ขียว เมอ่ื เหลา่ น้ีเป็นการแสดงผลการกระทำในแบบการ ปลดปล่อยปมุ่ ไฟส่องสว่าง ในเหตนุ ,้ี และ จะดำรงคงอย่แู ละไฟแสดงผล และ จะดับลง ( TET ตำแหนง่ การเดนิ ทางฉุกเฉินของปอ้ มปนื ) ปราศจากการล็อคจะใช้สำหรับในการเดินทางฉุกเฉนิ ของปอ้ มปนื 2) ฟิวสจ์ ะใชส้ ำหรบั ปุ่ม วงจรป้องกนั ของป้อมปืนในการเดินทางฉกุ เฉนิ 3.3.7 แผงเครอื่ งวดั ควบคมุ ชุดหนว่ ยกำลงั ทำความรอ้ นอตั โนมัตแิ ละการฉดี น้ำมันหล่อลื่น ( Autonomous power unit control panel ) แผงเครอ่ื งวดั ควบคมุ ชดุ หนว่ ยกำลงั ทำความรอ้ นอตั โนมตั ิ ถูกออกแบบสำหรับการทำงานแบบควบคุม ชดุ หน่วยกำลงั ทำความร้อนอตั โนมัติ รปู 3.19 แผงเครอ่ื งวัดควบคมุ ชุดหน่วยกำลังทำความรอ้ นอัตโนมัติ บนด้านขา้ งหน้าของแผงเครือ่ งวัดสำหรบั ชดุ หนว่ ยกำลงั อัตโนมตั ติ ดิ ตั้งไว้ดงั น้.ี 1) สวทิ ชโ์ ยกเลือกตำแหนง่ : -สวทิ ช์โยกเลือกตำแหน่ง ความร้อนของนำ้ มนั หล่อลื่น จะใชส้ ำหรบั เปิดสวทิ ช์ตอ่ วงจร ทำความรอ้ นนำ้ มนั หล่อลน่ื ในกรณที ีอ่ ณุ หภมู นิ ำ้ มันหล่อลน่ื ในถงั น้ำมนั หล่อลนื่ + 5 องศาเซลเซียสและตำ่ กวา่ -สวิทชโ์ ยกเลอื กตำแหน่ง 3000 จะใชส้ ำหบั การเปิดสวิทชต์ อ่ วงจรแบบการทำงานใน พน้ื ที่สูงของเครอ่ื งยนตช์ ่วย ( จาก 1000 เมตร ถึง 3000 เมตรเหนือระดบั นำ้ ทะเล ) ในการใช้น้ำมนั เชอ้ื เพลิงหลายแบบ 2) ฟิวสข์ นาด 10 แอมแปรจ์ ะใชส้ ำหรับการป้องกนั วงจรกำลงั ไฟฟ้า
3) ไฟแสดงสญั ญาณ : -ไฟกระพรบิ เกยี่ วกับการหมนุ เปิดต่อวงจรบนฝาครอบเครือ่ งทำความ ร้อน -ไฟกระพริบเกี่ยวกับการหมนุ เปิดตอ่ วงจรบนถังนำ้ มันหล่อล่นื เครอ่ื งทำ ความร้อน -ไฟกระพริบเกย่ี วกับการหมุนเปิดต่อวงจรบนพน้ื ทีส่ งู -ไฟกระพริบเกยี่ วกบั การมคี วามร้อนมากเกนิ ในระบบแกส๊ ไอเสยี 3.3.8 แผงเครอ่ื งวัดเครอ่ื งปรับอากาศ ( Air conditioner panel ) แผงเคร่ืองวัดเครื่องปรับอากาศมีไวใ้ ช้สำหรับการควบคมุ การทำงานของเครอื่ งปรับอากาศ,ไฟแสดงแบบ การทำงานของเครอ่ื งปรับอากาศในทำนองเดียวกนั กับการสง่ สญั ญาณการอุดตัน ( การปดิ ) หรอื กรณีฉกุ เฉนิ รูป 14 แผงเครื่องวัดเคร่ืองปรบั อากาศ ในแผงเครอ่ื งวัดหน้าเครอื่ งปรบั อากาศติดตัง้ องค์ประกอบต่าง ๆดงั น้.ี -สวทิ ชเ์ ลอื กตำแหน่งสำหรบั การหมนุ เปิดเครือ่ งปรบั อากาศ -สวิทชห์ มุนเปดิ ของแบบการทำงาน -ไฟแสดงผลการส่งสัญญาณ -ไฟแสดงสเี ขยี วตดิ ขึน้ ที่ “ VENTILATION ” ใชส้ ำหรบั การแสดงผลแบบการทำงานของการ ไหลเวียนดดู อากาศเข้า -ไฟแสดงสีนำ้ เงินตดิ ข้นึ ที่ “ COOLING ” ใชส้ ำหรบั การแสดงผลแบบการทำงานของการ ระบายความ ร้อน -ไฟแสดงสีเหลอื งติดข้นึ ท่ี “ BLOCK ” ใชส้ ำหรบั การแสดงผลแบบการทำงานของการจับส่ง สญั ญาณ ( ล็อคภายใน ) โดยแสดงผลทีเ่ ป็นไปได้ในการทำงานของระบบเครือ่ งปรบั อากาศในแบบการให้ความเย็น -ไฟแสดงสีแดงติดขน้ึ ท่ี “ EMERGENCY ” ใช้สำหรับการแสดงผลแบบการทำงานของการส่ง สัญญาณใน สถานการณฉ์ ุกเฉิน, เมือ่ ระบบเครื่องปรบั อากาศทำงานในแบบการทำความเยน็ ไฟแสดงผลจะติดขน้ึ ใน ขณะทตี่ ัวสง่ สัญญาณแรงดัน ( สงู กว่า/ต่ำ ) ทแ่ี รงดนั เพมิ่ ขึ้นหรอื ลดลงของสารระบายความรอ้ นในชอ่ ง เครื่องปรบั อากาศ
ทำงานในทำนองเดยี วกนั เม่ือ BOA ในเทอรโ์ มสตัสมกี ารแจง้ สง่ สัญญาณให้ทราบในระหวา่ งท่ีอวี าเปอรเ์ รเตอร์แข็งตวั เย็น ลงมากข้นึ 3.3.9 ชุดหน่วยกำลัง ( Power unit ) ชุดหนว่ ยกำลงั ถกู ออกแบบมาไว้ใช้สำหรบั การเปิด/ปิดสวิทช์ BOA และอุปกรณไ์ ฟฟา้ ให้กำลงั งาน KKA โดยการสง่ สัญญาณควบคุมจากแผงเคร่ืองวัดเครือ่ งปรบั อากาศ บนหนา้ แผงเครือ่ งวัด PU ติดตั้งตัวตัด-ตอ่ วงจรไฟอัตโนมัติ 3 ตวั “ F1”, “ F2 ” , “ F3 ” , ท่ใี ช้ในการ ปอ้ งกันกระแสไฟไหลมากเกนิ ภาระกรรมและผลติ จ่ายกำลังไฟฟา้ ตามการใชง้ านของเครื่องปรับอากาศ ACB “ F1” ใช้ในการปอ้ งกันมอเตอร์ไฟฟ้าอวี าเปอร์เรเตอร์ของ BOA ACB “ F2” ใชใ้ นการป้องกันการจา่ ยกำลงั ไฟฟ้าของแผงเคร่อื งวัดเครอ่ื งปรบั อากาศ ACB “ F3” ใชใ้ นการป้องกันมอเตอร์ไฟฟ้าของคอมเพรสเซอร์ เคร่อื งมือป้องกันของตวั ตัด-ต่อวงจรไฟฟา้ คือฝาครอบท่ใี ชป้ อ้ งกนั การเกิดอบุ ัติเหตใุ นการเปดิ /ปดิ สวทิ ช์ โดยไมต่ ้งั ใจ ในชุดหนว่ ยกำลงั อตั โนมตั ิและการดบั เครือ่ งยนต์หลักอตั โนมัติ หรือการเลอื กตำแหนง่ เปดิ สวทิ ชแ์ บบ DFE, ชุดหนว่ ยกำลงั ตัวเรือนเคร่ืองปรบั อากาศจะเปิดสวิทชจ์ ากแบบ “COOLING ” ในกรณีน้ี เคร่ืองปรับอากาศสามารถ ทำงานในแบบการดูดอากาศไหลวนเท่านั้น ( VENTILATION ) รปู 14 ชดุ หนว่ ยกำลัง 3.3.10 บอรด์ การจ่ายกำลงั ไฟ ( Distributing board ) บอร์ดการจ่ายกำลงั ไฟ ของผบู้ งั คับรถและพลยงิ ถูกออกแบบมาสำหรับใส่ตัวตัด –ตอ่ วงจรไฟอตั โนมตั ิ ของแบบ ACB ( รปู 3.20 และ3.21 ) บอรด์ นถ้ี ูกโรงงานสร้างมาในลกั ษณะกล่องโลหะทีต่ ดิ ตง้ั ตวั ตัด-ตอ่ วงจร ACB ไว้ จำนวน 10 ตวั ACB จะติดตงั้ ไวใ้ นบอรด์ น้ี ฝาครอบป้องกนั ใชใ้ นการปอ้ งกนั ก้านคนั โยกของ ACB เกดิ การชำรุดเสยี หาย จากการใช้มือจับโยกหรอื เกดิ เหตุอบุ ัติเหตขุ ้นึ ในขณะการเปิดสวิทช์เลอื กตำแหน่ง ตวั ตัด –ต่อวงจร ( ACB ) ทุกตวั จะถูก ปดิ ไว้ดว้ ย แผน่ บานพบั และสปริงดันกลับ ซ่ึงควรจะอย่ใู นตำแหนง่ เปดิ ในระหว่างใช้รถถัง
รปู 3.20 บอร์ดการจา่ ยไฟของผบู้ ังคับรถ รปู 3.21 บอรด์ การจา่ ยไฟของพลยงิ บอร์ดเพมิ่ เตมิ ในการจ่ายไฟพร้อมกบั ตดั ตดั -ต่อวงจร ACB ( รปู 3.22 )ตดิ ตง้ั อยู่บนภายในป้อมปนื พน้ื ด้านข้างกบั ดา้ นขวาของผู้บงั คบั รถและตำ่ ลงจากบอรด์ การจา่ ยไฟของผบู้ งั คบั รถ ซง่ึ ถกู ออกแบบมาสำหรบั การสวทิ ช์เลอื ก ตำแหนง่ และปอ้ งกนั วงจรไฟฟา้ ของอุปกรณ์ TKN-6 บอร์ดเพิม่ เติมในการจา่ ยไฟพร้อมกบั ตัดตดั -ต่อวงจร ACB ( รูป 3.23 )ติดต้ังอยู่ในหอ้ งพลยิงถูกออกแบบ มาสำหรับการสวทิ ช์เลือกตำแหน่งและปอ้ งกันวงจรไฟฟ้าสำหรบั ไฟสอ่ งสว่างดา้ นขวาและซ้ายของระบบการวดั ไฟฟ้า – กลอ้ งเลง็ ตรวจการณ์ ขั้วตอ่ สายไฟต่อจะใช้ในการตอ่ ไฟเข้ากบั บอร์ดนี้โดยการใช้ปล๊ักต่อสายไฟ รูป 3.22 บอรด์ การจ่ายไฟ PNK-6 รูป 3.23 บอร์ดการจา่ ยไฟ KOEP 3.3.11สายไฟรับกำลงั ไฟ,ขวั้ ไฟต่างๆและปลกั๊ ต่อไฟ(Receptacles,terminalsandconnectors) สายไฟรบั กำลังไฟ ,ขว้ั ไฟตา่ ง ๆ และปลัก๊ ตอ่ ไฟ มีไวใ้ ชส้ ำหรับการต่อสายไฟฟา้ ต่าง ๆแลแยกส่วน วงจรไฟฟา้ ในแต่ละสว่ นทีจ่ ่ายกำลงั ไฟเข้ามาและนำไปใชง้ าน ท่ีจะกล่าวต่อไปนี้คอื สายไฟรับสญั ญาณ ,ขั้วไฟตา่ ง ๆ และปลก๊ั ต่อไฟต่าง ๆท่ใี ชใ้ นรถถัง
สายไฟรับกำลงั ไฟสำหรับการสตารท์ ตดิ เครือ่ งยนต์จากภายนอกตวั รถ ( ESR ) มไี ว้ใชใ้ นการตอ่ กำลงั ไฟ ของรถถงั ( ยานยนต์ ) จากภายนอก ท่ีมีกำลงั ไฟฟ้าเหมือนกันและนำกำลงั ไฟฟ้าที่ได้รบั จากการต่อวงจรไฟของปลั๊กตอ่ ไฟ มาใช้ในการสตาร์ทติดเครือ่ งยนต์ สายไฟรบั กำลังไฟ ( รปู 3.10 ) ประกอบด้วย ตัวเรือนกับ 3 เตา้ เสยี บสายไฟ “+48V”, “SG”, และ “ – ” เต้าเสียบสายไฟรบั กำลังไฟสำหรบั ต่อวงจรไฟสอ่ งสว่างจากภายนอก เตา้ เสยี บสายไฟรับกำลังไฟตัวท่ีหนงึ่ จะตดิ ตง้ั อยดู่ ้านนอกรถถังในฐานรองรบั ของไฟส่องสวา่ งบอก ตำแหน่งดา้ นหลงั ขวา,และเตา้ เสยี บสายไฟรบั กำลังไฟตวั ท่ีสองอย่ใู นรถถงั ในห้องพลขบั ใกล้กบั พดั ลม เตา้ เสียบสายไฟรับ กำลังไฟจะถกู ต่อกบั ตัวตดั -ต่อวงจรไฟ ( SB ) โดยการใชส้ ายไฟคู่ มนั จะส่งกำลงั ไฟฟ้าที่จา่ ยมาท้งั หมดใหก้ ับสายไฟรับ กำลงั ไฟใหไ้ หลผ่านตวั ตัด-ตอ่ วงจรไฟ ( SB )ของสวทิ ช์ไฟหลกั ,นนั่ คือจะติดตัง้ อยทู่ ่ีดา้ นซ้ายจากพลขบั ที่ดา้ นหลังเหนอื อปุ กรณท์ ใ่ี ช้ควบคมุ การสตารท์ ติดเคร่อื งยนต์ เตา้ เสียบสายไฟรบั กำลงั ไฟตัวท่สี ามจะติดตง้ั อยทู่ ด่ี า้ นซ้ายเหนอื แผง เครือ่ งวัดของพลยิงและใชใ้ นการตอ่ วงจรไฟโดยการใช้สายไฟเดย่ี ว ปล๊ักเสียบ “ ตอ่ วงจรการจา่ ยประจไุ ฟฟา้ ” จะใช้ในการส่งจ่ายกำลงั ไฟฟ้าในขณะทกี่ ารจา่ ย กระแสไฟฟ้าจะมีตัวตดั – ตอ่ วงจรควบคมุ การจา่ ยกระแสไฟขนาดเล็ก SBs ( สงู ไม่เกิน 15 แอมแปร์ ) ถูกใชต้ ดิ ต้ังสำหรับ การเปิดสวิทช์ตัดวงจรไฟและปอ้ งกนั ชุด BK712M1-3-1T ไว้ ปลั๊กเสยี บไฟสำหรบั ใชใ้ นการผกู ตดิ กบั สายพานกวาดทนุ่ -วตั ถรุ ะเบิด ( TWMP ) ตดิ ตัง้ อย่ทู บ่ี น ฐานรองรับของไฟส่องสวา่ งบอกตำแหน่งดา้ นซา้ ย ปลัก๊ เสยี บไฟสำหรบั การควบคมุ แผงเคร่อื งวัดของสายพานกวาดทุ่น-วัตถุระเบิด ( TWMP ) ตดิ ตัง้ อยทู่ ี่ ในห้องพลขบั ระหวา่ งแผงเคร่ืองวดั ของพลขบั กับเครือ่ งนำร่อง ( directional gyro ) ปลก๊ั เสียบไฟสำหรับใชใ้ นการตอ่ สายไฟของอุปกรณล์ ุยขา้ มนำ้ ลึก ( DFE ) ตดิ ต้ังอยบู่ นเสาสง่ สญั ญาณ การหมุนของปอ้ มปนื บนลาดดา้ นหน้าแผ่นเกราะจะตดิ ต้งั ฐานรองรับกับขัว้ ไฟตา่ ง ๆไว้สำหรบั การติดต้งั เข้ากับแผงเคร่ืองวัด PIU, PAS,1KV1 และ 1BOD-T 3.4 หลักการทำงานของระบบจา่ ยพลงั งาน ( Supply system operation ) 3.4.1 หลักการทำงานของระบบจา่ ยพลงั งานด้วยเครอื่ งยนต์หลกั ( Supply system operation with main engine running) ในขณะทีใ่ ช้เคร่ืองยนตห์ ลกั ทำงาน,กระแสไฟจะจา่ กำลังไฟโดยเครื่องกำเนดิ ไฟ – มอเตอรส์ ตาร์ทตดิ เครือ่ งยนตข์ องเครื่องยนต์หลกั ไหลผ่านเข้าสู่เครอ่ื งควบคมุ เคร่อื งกำเนดิ ไฟพรอ้ มกบั การผลติ สรา้ งกำลงั ไฟภายในสำหรบั ลดคลนื่ รบกวนในการใช้ส่งสญั ญาณวทิ ยุ HF เพิ่มขึ้นโดยเคร่ืองกำเนิดไฟ – มอเตอรส์ ตารท์ ตดิ เครือ่ งยนต์ และชดุ หนว่ ย BK712M1-3-1T จะถกู ปอ้ นไฟใหใ้ ชง้ านไดเ้ พม่ิ ขึน้ และแบตเตอรี่จะเก็บประจุไฟไวเ้ พิม่ เตมิ กำลงั ไฟฟ้าท่ีผลติ ออกมาได้ สำเรจ็ เกดิ จากความเร็วในการหมุนของเพลาข้อเหวยี่ งเครื่องยนต์ท่ีความเรว็ รอบไมน่ อ้ ยกวา่ 2,100 รอบต่อนาที ในการ กระทำเช่นน,้ี มนั จะยอมให้มกี ารตอ่ วงจรใช้กำลังงานไฟได้สงู การตอ่ วงจรไฟสำหรับการประจไุ ฟให้กบั แบตเตอร่ีจะ กระทำไดท้ ่ีความเร็วในการหมุนของเพลาขอ้ เหวยี่ งเครื่องยนต์ ที่ 1,500 รอบต่อนาที 3.4.2 หลักการทำงานของระบบจ่ายพลงั งานดว้ ยเครือ่ งยนต์ชว่ ย ( Supply system operation with autonomous power unit running) ในแบบการทำงาน,การจ่ายกำลังไฟโดยเคร่ืองกำเนิดไฟ – มอเตอร์สตารท์ ตดิ เคร่ืองยนต์ของเครอ่ื งยนต์ ช่วย ( APU )ไหลผา่ นเข้าสู่เคร่ืองควบคุมเคร่อื งกำเนดิ ไฟพรอ้ มกับการผลิตสรา้ งกำลงั ไฟภายในสำหรบั ลดคลื่นรบกวนใน การใชส้ ่งสัญญาณวิทยุ HF เพิม่ ขนึ้ โดยเครื่องกำเนดิ ไฟ – มอเตอร์สตาร์ทติดเครื่องยนต์ และชุดหน่วย BK712M1-3-1T จะถูกป้อนไฟให้ใชง้ านได้เพม่ิ ข้ึนและแบตเตอรี่จะเก็บประจไุ ฟไวเ้ พิม่ เตมิ
กำลังไฟฟา้ ที่ผลิตออกมาไดส้ ำเร็จเกดิ จากความเร็วในการหมนุ ปกติของชุดส่งกำลงั อัตโนมัติ ในการกระทำเชน่ นี้, มันจะ ยอมใหม้ กี ารตอ่ วงจรใชก้ ำลงั งานไฟไดส้ ูง เคร่อื งกำเนดิ ไฟ – มอเตอร์สตาร์ทตดิ เครื่องยนต์จะสนับสนุนกำลงั ไฟหลักใหก้ ับรถถังในย่าน แรงเคลือ่ นไฟฟ้าจาก 26.5 โวลต์ ถึง 28.5 โวลต์,ใช้งานในเครอื่ งกำเนดิ ไฟ – มอเตอรส์ ตาร์ทตดิ เครือ่ งยนต์ของ เครอื่ งยนตช์ ว่ ย ( APU ) ,ในขณะท่ีการผลติ แรงเคล่ือนไฟฟ้าโดยเครื่องกำเนดิ ไฟ – มอเตอร์สตารท์ ตดิ เครือ่ งยนตข์ อง เครื่องยนต์ช่วย ( APU ) มากเกนิ กวา่ กำหนดไว้ ตัวตัด – ตอ่ วงจรไฟ SB s และสวทิ ชเ์ ลอื กตำแหนง่ จะปิดตัดวงจรไฟของ มันจากการจ่ายกำลังไฟรถถงั หลักในขณะท่ีเครื่องควบคมุ เครอื่ งกำเนดิ – มอเตอรส์ ตารท์ ติดเครื่องยนต์มแี รงเคลือ่ นไฟฟา้ น้อยกวา่ แรงเคลอ่ื นในตัวตัด –ตอ่ วงจร SB s บทท่ี 4 ระบบป้องกนั นชค. ( NBC PROTECTION SYSTEM ) ระบบป้องกัน นชค. ถกู ออกแบบเพื่อป้องกันพลประจำรถและอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ภายในตวั รถจากอันตรายของระเบิด นวิ เคลียร์, กมั มนั ตภาพรังสี, อาวธุ เคมแี ละสารชีวภาพ พรอ้ มดว้ ยระบบดับเพลิงอตั โนมัติในรถถัง ด้วยวตั ถปุ ระสงค์ของตามหน้าท่ี ระบบประกอบดว้ ยอุปกรณป์ ้องกนั อันตรายจากอาวธุ นชค. และอปุ กรณด์ บั เพลงิ ภายในรถ นอกเหนอื จากตวั รถและป้อมปนื ทสี่ ามารถป้องกันอนั ตรายจากคลืน่ กระแทกและฉายรงั สี ระบบปอ้ งกัน นชค. ประกอบไดด้ ว้ ย (รปู ท่ี 4.1) : - อุปกรณต์ รวจจับรงั สีและสารเคมี PRHR-M1 (RCAD-M1) ПРХР-М1 - อุปกรณด์ บั เพลิงอัตโนมัติ (Б709) - อปุ กรณค์ วบคมุ และส่งสัญญาณ (П708) - กลอ่ งควบคมุ การทำงานของพัดลมกรองอากาศ (КУВ401) - หน่วยกรองและระบายอากาศ (ФВУ) - มาตรวัดแรงดันเกิน - 10 เซนเซอรต์ รวจจับด้วยแสงและความร้อนten - 4 เซนเซอร์ตรวจจับด้วยความร้อน - 4 ถงั ดับเพลิง - กลไกกระตุน้ การทำงาน - สายไฟและทอ่
1 – อปุ กรณต์ รวจจับรังสแี ละสารเคมี RCAD-M1; 2 – จดุ ทางเข้าของอากาศภายนอก; 3 – ถงั ดบั เพลิง; 4 – แผงควบคุม PK43-2M; 5 – หน่วยกรองอากาศ; 6 – มาตรวัดแรงดนั เกนิ ; 7 – เซนเซอร์วัดความร้อน; 8 – กลไกดับเคร่ืองยนต์ ESM; 9 – วาล์วเปา่ ลม SG; 10 – ถังดับเพลงิ เคลือ่ นที่; 11 – แผงควบคุมระบบดับเพลิงและสญั ญาณเตือน; 12 – หน่วย ดับเพลงิ อตั โนมัติ; 13 – กล่องควบคุมพัดลมกรองอากาศ; 14 – เซนเซอร์ตรวจจับด้วยความรอ้ นและแสง รปู ท่ี 4.1 ระบบป้องกัน นชค. 4.1 อุปกรณต์ รวจจับรังสีและสารเคมี PRHR-M1 (RCAD) อปุ กรณ์ตรวจจบั รงั สแี ละสารเคมี PRHR-M1 มหี น้าท่ี : - ตรวจจบั ความเข้มของรังสีแกมมาและสง่ คำสง่ั เพื่อให้ตัวกระตุน้ ส่งสญั ญาณเตอื นด้วยเสียงและแสง (คำสั่ง “●NUC”) - ตรวจจับความปนเปื้อนของรังสีแกมมาในภูมปิ ระเทศ ส่งคำสัง่ เพอ่ื ให้ตวั กระตนุ้ ส่งสญั ญาณเตือนดว้ ยเสยี งและ แสง (คำสั่ง “●RAD”) และวดั ระดบั รังสีภายในรถถัง - ตรวจจบั (จากการวเิ คราะห์อากาศแวดลอ้ มอยา่ งตอ่ เนอื่ ง) ของสารพิษเช่น สารทำลายระบบประสาทซารีน (Sarin), โซมนั (Soman) และส่งคำสงั่ เพ่ือใหต้ วั กระตุ้นส่งสัญญาณเตือนดว้ ยเสียงและแสง (คำส่ัง “●TOX”) อปุ กรณ์ตรวจจบั รงั สีและสารเคมี PRHR-M1 ประกอบดว้ ย : - แผงมาตรวัด B-1 - เซนเซอร์ B-2 - เคร่ืองให้กำลังไฟฟ้า B-3 - ปากท่ออากาศ
- สายไฟและทอ่ ส่ง - สวติ ชแ์ บบผลัก ใช้งานตวั ทำความรอ้ น – ควบคมุ ตวั ทำความรอ้ น - สวิตชแ์ บบกด ควบคมุ ตวั ทำความร้อนและระบบ นชค. ถูกปิดดว้ ยฝา สำหรบั ทดสอบการทำงานของระบบ แจ้งเตอื นดว้ ยสัญญาณ เคมี, รังสี และนิวเคลยี ร์ และตัวทำความร้อน - ป่มุ ปรบั แบบหมุนต้ังค่าศนู ย์ เพ่ือปรบั แก้คา่ เคร่ืองตรวจจบั สำหรับสญั ญาณ “TOX” - ไฟเตือน TOX, RAD, NUC แสดงสญั ญาณเตอื น - ไฟเตอื น COMMAND-OFF ตดิ สวา่ งเม่ือเคร่ืองตรวจจับเปิดใช้งานและจะหรี่ไฟเมื่อมีสญั ญาณผา่ น - ไฟเตือน HEATING - กระบอกฟิวส์สำหรับขนาด 4 แอมแปรแ์ ละ 5 แอมแปร์ - ช่องสำหรบั ไฟสอ่ งสว่างมาตราส่วน ไมโคร-แอมมเิ ตอร์ - ป้ายคำแนะนำสำหรบั การจดั ปรับและตรวจสอบเครอ่ื งตรวจจับ 4.1.1 แผงมาตรวดั B-1 แผงมาตรวดั B-1 (รปู ท่ี 15.2) ใชส้ ำหรบั ตรวจจับการผา่ นเข้ามาของรงั สแี กมมา, วดั ค่าความเขม้ ของการ แผ่รงั สี, ทำใหไ้ ฟเตือนติดสว่างและสัญญาณเตือนดงั ตลอด (ผ่านชุดตดิ ต่อสือ่ สารภายใน AVSK-1T) และสง่ สัญญาณเข้า อปุ กรณอ์ ัตโนมัติของระบบดับเพลงิ เพือ่ ส่งั การให้ตัวกระตนุ้ ดา้ นหน้าแผงมาตรวดั มรี ายละเอยี ดต่าง ๆ ดงั นี้ : - ไมโคร-แอมมเิ ตอร์ แสดงระดับของการแผ่รงั สี - สวิตช์ “MODE” สำหรับเลอื กรปู แบบการทำงานของเคร่ืองตรวจจบั - สวติ ช์ “COMMANDS” สำหรบั ปรบั สญั ญาณในสถานะ เปิด/ปิด เพ่ือส่งให้หน่วยควบคุมระบบดับเพลิงอตั โนมัติ - สวิตชแ์ บบผลกั HEATING ON-HEATING CONTROL - ปุ่มกด HEATING CONTROL, TOX, RAD, NUC ถกู ปิดดว้ ยฝาปดิ สำหรับทดสอบการทำงานระบบเตือนโดย สญั ญาณ TOX, RAD, NUC และ heating - ปุ่มหมุนปรบั คา่ ศนู ย์ เพ่อื แกไ้ ขค่าของการตรวจจบั โดยสัญญาณ “TOX” - ไฟเตือน TOX, RAD, NUC แสดงการตอบรบั ของสัญญาณโดยทันที - ไฟเตือน COMMAND OFF สว่างตดิ เตม็ ที่เม่อื เครือ่ งตรวจจบั เปดิ ใชง้ านและสวา่ งเพยี งครง่ึ เดียวเมอ่ื สวติ ช์ COMMANDS ถกู ตั้งค่าในตำแหน่งสำหรบั สรา้ งสญั ญาณโดยตรงเขา้ ยงั หน่วยควบคุมระบบดับเพลงิ อตั โนมัติ - ไฟเตอื น HEATING - กระบอกฟิวส์ มอี ักษรกำกบั 4A และ 5A - ชอ่ งไฟส่องสวา่ งสำหรับขีดมาตรวัด ไมโคร-แอมมิเตอร์ - แผน่ ปา้ ยคำแนะนำสำหรับการจดั ปรบั และตรวจสอบเคร่อื งตรวจจับ
1 – ชอ่ งไฟส่องสวา่ ง; 2,4,6 – ไฟเตอื น TOX, RAD, NUC; 3 – ไฟเตือน HEATING; 5 – ไฟเตือน COMMAND-OFF; 7 – ฝาปดิ ป่มุ กดตรวจสอบ TOX, RAD, NUC HEATING; 8 – สวติ ช์ COMMAND; 9 กระบอกฟิวส์; 10 – สวิตช์ MODE; 11 – ปุม่ หมุนปรับแกค้ ้าไปทีศ่ ูนย;์ 12 – สวติ ชแ์ บบผลัก HEATING ON-HEATING CONTROL; 13 – ปา้ ย คำแนะนำ; 14 – ไมโคร-แอมมเิ ตอร์ รูปท่ี 4.2 – B–1 แผงมาตรวัด 4.1.2 B-2 เซนเซอร์ เซนเซอร์ B-2 (รปู ท่ี 4.3) ตรวจจับสสารทเี่ ปน็ สารพิษในอากาศแวดลอ้ มภายนอกรถถังและทำใหไ้ ฟเตือน ตดิ สว่างและสัญญาณเตือนดังตลอด (ผา่ นชดุ ติดต่อสอื่ สารภายใน AVSK-1T) และส่งสญั ญาณเขา้ อปุ กรณอ์ ตั โนมตั ขิ อง ระบบดบั เพลงิ เพอ่ื ส่ังการใหต้ ัวกระตุน้ สำหรับสว่ นประกอบหลักของอุปกรณ์เซนเซอร์ประกอบดว้ ย: - สว่ นกรองดักควัน - สว่ นมาตรวัดไฟฟ้า - สว่ นปลอ่ ยสารอัลฟา - ส่วนพดั ลมยอ่ ย
1-ฝาครอบ; 2-หลอดบรรจเุ จลซิลกิ า; 3-ส่วนกรองดักควัน; 4-กา้ นปรบั ตง้ั ค่า ZERO SETTING-OPERATION; 5-โครง มาตรวัดสว่ นกรองดักควัน; 6-มาตรวัดการไหลเข้า; 7-ดา้ มหมนุ นำสารของเฟรมกรอกดกั ควนั ; 8-ขอ้ ตอ่ เขา้ ; 9-ตวั ควบคมุ การไหลของอากาศ; 10-ฝาปดิ กรอง; 11-ขอ้ ตอ่ ออก; 12-ท่อยางท่ดี า้ นปลายมหี วั เชอ่ื มทอ่ ; 13-ส่วนพดั ลมยอ่ ย; 14-ส่วน มาตรวัดไฟฟา้ รปู ท่ี 4.3 – B-2 เซนเซอร์ ส่วนกรองดักควันประกอบด้วยกลไกขับเทปผ้ากรอง, ตวั ทำความร้อน, มาตรวัดการไหลเขา้ , ก้านปรบั ตัง้ คา่ ZERO SET - OPERATION และหลอดบรรจเุ จลซิลิกา กรองดักควนั ทำความสะอาดอากาศภายนอกก่อนที่เขา้ สสู่ ว่ นมาตรวัดไฟฟา้ ของเซนเซอร์ กลไกขบั เทปจะใหค้ ่าการเปล่ยี นแปลงเปน็ ช่วงของสว่ นกรองดกั ควันจนกระทัง่ ด้ามหมนุ นำสารของโครงกรอกดกั ควนั เคลอ่ื นทมี่ าด้านลา่ งจนหยดุ ในขณะเดยี วกันมาตรวดั จะแสดงจำนวนของเฟรมกรองดกั ควนั ท่อี ย่ภู ายในหลอดบรรจุ เจลซิลกิ า ความยาวของตวั กรองจัดให้สามารถเปลีย่ นได้ 40 เฟรม สำหรบั มาตรวดั การไหล ไว้ใช้ตรวจจับการไหลของอากาศที่ถกู ปั๊มผา่ นเซนเซอร์ เมอ่ื การไหลของอากาศเพ่ิมขนึ้ มาตรวัดการไหลจะสูงข้นึ และเม่ือการไหลของอากาศลดลง มาตรวัดการไหลกจ็ ะตกลง กอ๊ ก ZERO SET — OPERATION เพื่อปอ้ นอากาศภายนอกในระหว่างท่อี ปุ กรณ์เซนเซอร์ทำงาน หรืออากาศจาก ภายในหอ้ งพลประจำรถในระหว่างทอ่ี ุปกรณเ์ ซนเซอร์วัดคา่ หลอดบรรจเุ จลซลิ กิ าทำให้อากาศแหง้ ในขณะท่ีอุปกรณ์เซนเซอร์วัดค่า สว่ นมาตรวดั ไฟฟา้ ประกอบดว้ ยห้องอิออนไนเซชนั่ และแผงวงจรไฟฟ้า, ตวั กรอง และตวั ควบคุมการไหลของ อากาศ
หอ้ งอิออนไนเซชั่นและแผงวงจรไฟฟา้ ตรวจจับสารประกอบท่เี ปน็ สารพษิ และสรา้ งสญั ญาณเพ่ือส่งคำสง่ั ไปยงั ตัวกระตนุ้ ตวั กรอง ทำความสะอาดฝุน่ จากอากาศท่ีเขา้ มาโดยพดั ลมย่อยจากหอ้ งพลประจำรถ ตวั ควบคุมการไหล ทำหน้าทเ่ี พม่ิ การไหลของอากาศทถ่ี ูกป๊ัมผา่ น เมือ่ ด้ามหมนุ ก๊อก หมนุ ไปตามทศิ ทาง MORE หรือลดการไหลเมอื่ ด้ามหมนุ กอ๊ ก หมุนไปตามทิศทาง LESS ในส่วนของ α-source อยูใ่ นแหลง่ กำหนดรังสอี ัลฟา่ ทำหนา้ ท่ีทำปฏิกริ ิยาออิ อนไนเซชัน่ กับอากาศในหอ้ งออิ อน ไนเซชัน่ ในสว่ นของพดั ลมยอ่ ยน้ันมีพดั ลมยอ่ ยอยเู่ พื่อดูดอากาศให้ผ่านเซนเซอร์ 4.1.3 แหลง่ พลงั งาน หน่วย B-3 แหล่งพลงั งาน หนว่ ย B-3 ทำหน้าทแี่ ปลงไฟจากวงจากหลักของรถถังจากคา่ แรงเคลอ่ื นหน่งึ ไปเปน็ อกี คา่ หนึ่งทีจ่ ำเป็นต้องใช้สำหรบั ปอ้ นพลังงานให้กับอุปกรณ์ตรวจจบั PRHR-M1 4.1.4 อปุ กรณ์นำอากาศเข้า อปุ กรณน์ ำอากาศเขา้ อปุ กรณน์ ำอากาศเขา้ (รปู ท่ี 4.4) ทำหน้าท:ี่ - ป้องกันเซนเซอร์จากการผา่ นเขา้ มาของน้ำ ท่ีระดับน้ำ 350 มม. สูงเหนืออุปกรณน์ ำอากาศเขา้ เม่ือ อปุ กรณ์ตรวจจับ นชค. ทำงาน - กำจดั ฝนุ่ ออกจากอากาศและเปา่ ฝุ่นออก - ทำความร้อนให้อากาศกอ่ นทจ่ี ะถูกสง่ ไปยงั อปุ กรณเ์ ซนเซอร์ - พน่ อากาศออกสบู่ รรยากาศหลังจากผ่านการวเิ คราะห์แล้ว เมือ่ อุปกรณต์ รวจจบั นชค. ไมท่ ำงาน, ทางเข้า-ออกอากาศของอุปกรณน์ ำอากาศเข้าจะถกู ปิดด้วยฝาปิด ยาง หมายเลข 5 (รปู ที่ 4.4 พน้ื ท่ีรอบ ๆ ทอ่ อากาศถกู ทำความสะอาดโดยแรงดนั ลมจากระบบทำความสะอาดด้วยลมของ พลขับ การถ่ายน้ำที่สะสมในอ่างระหว่างการทำงานของอุปกรณ์ตรวจจับ นชค. อุปกรณน์ ำอากาศเข้ามชี อ่ งถา่ ย ทก่ี ้นถ้วย ซ่งึ มจี กุ ปดิ ไว้ (หมายเลข 4)
1-ไซโคลน; 2-ถ้วย; 3-ฝาปดิ ; 4-จุกปิด; 5-ฝาครอบทอ่ เขา้ ; 6-เกราะปอ้ งกัน; a-ชอ่ งทางไหลของอากาศ รูปท่ี 4.4 – อปุ กรณ์นำอากาศเขา้ 4.2 อปุ กรณด์ บั เพลงิ อัตโนมตั ิ B709 อุปกรณด์ ับเพลงิ อตั โนมัติ ส่งคำสง่ั ไปยังตัวกระตุ้น โดยสัญญาณมาจากอปุ กรณต์ รวจจบั นชค., เซนเซอรต์ รวจจบั ดว้ ยแสง, เซนเซอรต์ รวจจับดว้ ยความร้อน และปมุ่ กดการทำงานดว้ ยมือ การเชอื่ มตอ่ อุปกรณท์ ดสอบ, ท่ีกล่องของอปุ กรณ์มจี ุดเช่ือมต่อ X5, ถูกปิดดว้ ยฝาปิด (ตวั ทดสอบ, รปู ท่ี 4.5)
1-ฟิวส์ขนาด 10 แอมแปร์; 2-สวิตชเ์ ปดิ -ปิด; 3-ไฟเตือนการใช้งาน; 4,5-จดุ เช่อื มต่อ X1, X2; 6-ไฟเตือนสถานะปกติของ เซนเซอร์ตรวจจับดว้ ยแสง; 7-ไฟเตือนแสดงสถานะเซนเซอรส์ ะอาด; 8-ไฟเตือนการทำงานของเซนเซอรต์ รวจจับด้วยแสง; 9-ปมุ่ ควบคุมการทำงานเซนเซอร์ตรวจจับดว้ ยแสง; 10-สวติ ชเ์ ลอื กเซนเซอร์ตรวจจบั ดว้ ยแสง; 11-ป่มุ รเี ซต็ เซนเซอร์ ตรวจจับดว้ ยแสง; 12-สวิตชเ์ ลือกสง่ั ทำงานถังดับเพลงิ ที่ 2, 3; 13-สวติ ช์เลือกส่งั ทำงานถงั ดับเพลงิ ท่ี 1; 14-หลอดไฟแสดง การทำงาน 1B, 2B, 3B; 15-สวิตช์เลอื กสถานะพรอ้ มใชง้ านของถังดบั เพลิงท่ี 1; 16-สวิตชเ์ ลือกเซนเซอรต์ รวจจบั ดว้ ย ความร้อน; 17-ปุ่มรีเซ็ตเซนเซอร์ตรวจจบั ดว้ ยความร้อน; 18-ไฟเตอื นแสดงสถานะปกติของเซนเซอร์ตรวจจับด้วยความ ร้อน; 19-ปุ่มควบคมุ การทำงานเซนเซอร์ตรวจจับด้วยความร้อน; 20-ไฟเตอื นแสดงความพร้อมใช้งาน; 21-ไฟเตอื นการำ งานของเซนเซอรต์ รวจจับด้วยความรอ้ น; 22-สวติ ช์เลอื กกลมุ่ เซนเซอร์ที่ 1-10 หรอื 11-20 รปู ท่ี 4.6 – อปุ กรณ์ทดสอบ 4.3 แผงควบคุมและสง่ สญั ญาณอปุ กรณด์ บั เพลิง P708 แผงควบคมุ และสง่ สญั ญาณอปุ กรณ์ดบั เพลิงติดตั้งอยู่ในหอ้ งพลขบั และมหี นา้ ที่ทดสอบระบบการทำงานด้วยตัวเอง , สง่ สญั ญาณ และส่งคำสั่งด้วยมือ ทีด่ า้ นหน้าแผงควบคมุ ประกอบด้วย (รูปที่ 15.6): - ปุ่มกด “CR.C”, “EC” และ “NBC” ถูกปดิ โดยฝาปิดปอ้ งกนั สำหรบั สง่ คำสั่งด้วยมือไปยังตวั กระตุ้น - ปุ่มกด “CHECK” สำหรบั ตรวจสอบอุปกรณด์ ับเพลิง - ปุ่มกด “RESET” สำหรับรเี ซต็ ระบบดว้ ยมือ สวติ ช์ FFE-DFE เพ่ือปรับการใชง้ านในลักษณะการทำงานดงั น:้ี - ในโหมด FFE สำหรบั ทกุ คำสง่ั ถกู สง่ ไปยังตัวกระตนุ้ - ในโหมด DFE เมอื่ อปุ กรณท์ ำงานในโหมด DFE จะปอ้ งกันสัญญาณทจี่ ะไปสัง่ ทำงานพดั ลม, กลไกดบั เคร่อื งยนต์อตั โนมตั ิ, การดบั เพลงิ อตั โนมัตขิ องถงั ดับเพลงิ และปอ้ งกันตัวกระต้นุ - แผงฉลุ 1B, 2B, 3B, 4B บนแผงไฟเตอื น ทำการแสดงสถานะลำดบั การทำงานของวงจรไฟฟา้ , การใช้งานของ ถังดบั เพลิง และสถานะของสารภายในถงั ดบั เพลงิ - แผงฉลุ CR.C และ EC บนแผงไฟเตอื น ทำการแสดงไฟไหมใ้ นห้องพลประจำรถและห้องเครอ่ื งยนต์ - แผงฉลุ F บนแผงไฟเตือน ทำการแสดงการทำงานของอุปกรณน์ ำอากาศเข้าในรูปแบบกรองสาร นชค. - แผงฉลุ “DFE” บนแผงไฟเตือน ทำการแสดงสถานการณ์ทำงานของระบบในลักษณะ “DFE” - ชอ่ งบรรจุฟวิ ส์ขนาด 10 แอมแปร์ และ 2 แอมแปร์
รูปท่ี 4.6 – แผงควบคุมและสง่ สัญญาณ P708 4.4 กล่องควบคุมพดั ลมระบายอากาศหนว่ ยกรองอากาศ KUV401 กล่องควบคุมพดั ลมระบายอากาศหน่วยกรองอากาศ KUV401 อยภู่ ายในห้องพลประจำรถบนถงั น้ำมันหน้า ด้านขวาและทำหนา้ ที่ควบคุมการทำงานท้ังแบบอัตโนมัตแิ ละทำงานดว้ ยมือของพัดลมระบายอากาศของหนว่ ยกรอง อากาศ ใบกล่องควบคมุ ประกอบด้วยปมุ่ “START” และ “STOP” สำหรบั การควบคมุ ดว้ ยมือของพดั ลมระบายอากาศ หนว่ ยกรองอากาศ 4.5 หน่วยกรองอากาศ หน่วยกรองอากาศ มีไว้สำหรบั ทำความสะอาดอากาศภายนอกจากสารปนเปอ้ื นพิษ, ฝุ่นกมั มันตรงั ส,ี ละออง ชีวภาพ เพ่ือป้อนอากาศบรสิ ุทธ์เิ ขา้ สภู่ ายในห้องพลประจำรถและสรา้ งแรงดันอากาศภายในห้องใหส้ งู กว่าภายนอก ท้ังยงั ระบายอากาศภายในหอ้ งพลประจำรถในขณะทำการยงิ และหลังจากสารดับเพลิงถกู ใช้งานด้วย หน่วยกรองอากาศ (รูปท่ี 4.7) ประกอบดว้ ย: - พัดลมระบายอากาศ - กรองดดู สาร - ระบบของวาลว์
1-วาลว์ อากาศเข้า; 2-วาล์วเปา่ ฝ่นุ ออก; 3-พัดลมระบายอากาศ; 4- lobe valve; 5-คลิปลอ็ ก; 6-กรองดูดสาร; 7-ทอ่ ; 8- วาล์ว; 9-กลอ่ งวาล์ว รปู ท่ี 4.7 – หนว่ ยกรองอากาศ
ในระหว่างการทำงานของหน่วยกรองอากาศ อากาศจากภายนอกถกู นำเขา้ มาและเป่าฝ่นุ ออกผา่ นทางวาลว์ ซึ่งวาลว์ จะ เปดิ โดยอัตโนมัตโิ ดยแม่เหลก็ ไฟฟ้าเมอื่ หน่วยกรองอากาศทำงาน ขน้ึ อยูก่ บั ตำแหน่งวาลว์ (หมายเลข 8) การทำงานของหน่วยกรองอากาศจะทำงานใน 2 ลักษณะ: - การกรองอากาศและกรองสารปนเป้ือน (เมื่อวาลว์ ถกู ปิด), อากาศถกู ทำความสะอาดจากสารปนเปื้อนต่าง ๆ ทั้งสารพษิ , กมั มันตรงั สี, สารชวี ภาพ, ฝุ่น เมื่ออากาศเข้ามาภายในหอ้ งพลประจำรถผา่ นกรองดูดสาร ในกรณนี ้ี แผงฉลุ F จะสว่างติดข้นึ ท่ีแผงควบคุมและสง่ สญั ญาณของระบบดับเพลิง - การกรองอากาศ (เม่อื วาลว์ ถกู เปิด) อากาศถกู ทำความสะอาดจากฝุน่ เม่ืออากาศเข้ามาในหอ้ งพลประจำรถ โดยไม่ผ่านกรองดดู สาร วาล์วจะถกู ปรับใหอ้ ยูใ่ นลักษณะการทำงานทัง้ กรองอากาศและกรองสารปนเป้อื นอัตโนมัติ โดยคำส่ังจากหน่วย ดับเพลิงอตั โนมตั ิหรือด้วยมอื โดยการกดปมุ่ NBC บนแผงควบคมุ และส่งสัญญาณอปุ กรณ์ดบั เพลิงและถูกปรบั ให้อยู่ใน ลักษณะการทำงานแบบกรองอากาศดว้ ยมือโดยดงึ คันโยกของอุปกรณล์ ็อกมายงั ตำแหน่งดึงออกสุด 4.6 มาตรวดั ความดนั เกนิ มาตรวดั ความดนั เกิน (รปู ท่ี 4.8) มีไวส้ ำหรบั ตรวจสอบแรงดนั เกนิ ในขณะปจั จบุ ันภายในห้องพลประจำรถในรถถงั การตรวจสอบระดับความดันเกิน, คลายเกลยี วของจกุ ปดิ ขณะท่ีหนว่ ยกรองอากาศทำงานและกดตัวเรอื นมาตรวัด ความดนั เกนิ , ซึง่ เป็นการเช่อื มต่อปรมิ าตรภายในรถถงั กบั บรรยากาศ ถา้ มีแรงดนั อากาศภายในรถถังมากกว่า 35 มม.ของ แรงดันน้ำ ลกู บอลจะถกู ดนั ขน้ึ ไปในทอ่ สตู่ ำแหน่งดา้ นบน นั่นหมายถึงหนว่ ยกรองอากาศกำลังทำงานและคุณสมบัตกิ าร ป้องกนั ของห้องพลประจำรถอยใู่ นสภาพดี 1-ฝาจุกปดิ ; 2-ลกู บอล; 3-ตัวเรอื น; 4-หลอดแก้ว รปู ท่ี 4.8 – มาตรวดั ความดันเกิน 4.7 เซนเซอรต์ รวจจบั ดว้ ยแสง เซนเซอร์ตรวจจบั ดว้ ยแสงแปลงแสงและรงั สคี วามรอ้ นของเปลวไฟไปสูส่ ญั ญาณไฟฟา้ และส่งไปยังอปุ กรณอ์ ัตโนมัติ ของระบบดับเพลิง
เซนเซอรต์ รวจจบั ด้วยแสดงถูกติดตง้ั อยู่ภายในห้องพลประจำรถ: - 1 ตัว ทีด่ า้ นหนา้ ห้องพลขับ - 2 ตวั ขา้ งกลมุ่ ถงั ดบั เพลงิ 3 ถัง - 1 ตัว ท่ีด้านขวาใตร้ างบรรทกุ กระสนุ ของระบบบรรจกุ ระสนุ อัตโนมัติ - 1 ตัว ด้านลา่ งใกล้กบั เครื่องทำความร้อน - 2 ตวั ขา้ งทเ่ี ก็บกระสุนดา้ นหลังใตก้ ลไกบรรจุกระสุนอตั โนมตั ิ - 2 ตัว อยดู่ า้ นซา้ ยใต้กลไกบรรจกุ ระสนุ อตั โนมัติ - 1 ตวั ขา้ งถังดบั เพลิงท่ี 4 4.8 เซนเซอรต์ รวจจบั ด้วยความร้อน เซนเซอรต์ รวจจบั ด้วยความร้อนถูกตดิ ตั้งอยใู่ นห้องเครอื่ งยนต:์ - 1 ตัว อยู่ทางด้านซ้ายใกลป้ ัม๊ น้ำด้านหลงั - 1 ตัว บนถงั น้ำมนั เครือ่ งยนต์ - 1 ตวั อยบู่ รเิ วณฝาครอบเกียร์บ็อกด้านซา้ ย - 1 ตวั อยบู่ รเิ วณฝาครอบเกยี รบ์ อ็ กดา้ นขวา 4.9 ถังดบั เพลิง ถังดับเพลงิ (รปู ที่ 4.9) ภายในบรรจสุ ารดบั เพลงิ ซ่งึ เปน็ สารประกอบ Halon 13B1 (114B2) ตวั ถังถูกทาสีเครอื่ งหมายแสดงใหร้ ูถ้ ึงน้ำหนกั และวนั ท่ีชง่ั ตัวถังอัดสารภายใต้แรงดนั ซง่ึ ปอ้ งกันการไหลด้วย วงจรไฟฟ้าบรเิ วณทางออกของถังดับเพลิง หลังจากท่ไี ฟสวา่ งติด สัญญาณจะถกู กำหนดให้ทำงานตามลำดับของถงั ดบั เพลงิ สัญญาณออกจากแผงควบคุมอุปกรณ์ดบั เพลงิ เพอื่ ช่วยตรวจสอบนำ้ หนักของสารท่ีอยูภ่ ายในถัง
รปู ที่ 4.9 – ถังดับเพลิง 4.10 ตวั กระตนุ้ ตวั กระตุ้นระบบป้องกัน นชค. ประกอบดว้ ย (รปู ท่ี 4.1): - กลไกดับเครอื่ งยนต์ - วาลว์ เปา่ ลมของ starter generator - วาล์วหน่วยกรองอากาศ - หวั ปล่อยสารของถงั ดับเพลิง กลไกดบั เครอ่ื งยนต์อตั โนมัติ จะหยุดการทำงานของเคร่ืองยนต์โดยตดั การจา่ ยน้ำมันเมือ่ ได้รับคำส่งั จากระบบ ป้องกัน หรอื เม่อื กดปุม่ หยดุ การทำงานเครื่องยนตบ์ นแผงควบคุมของ ผบ.รถ สำหรับการตดิ เคร่ืองยนตห์ ลงั จากกลไกดบั เคร่อื งยนตท์ ำงานแล้ว ใหต้ ง้ั คนั ตัง้ รอบเครื่องยนต์ (คันตัง้ การจา่ ยนำ้ มนั ดว้ ยมอื ) และคนั เรง่ กลับมายังตำแหนง่ เริม่ ต้น วาล์ว starter generator นำอากาศมาเปา่ starter generator ท่มี าจากหอ้ งพลประจำรถ ในสภาวะปกติ หรอื จากภายในห้องเครอ่ื งยนต์ โดยสญั ญาณจากอปุ กรณต์ รวจจับ นชค. หวั ปล่อยสารของถงั ดับเพลิง จะปล่อยสารดบั เพลงิ สู่ห้องพลประจำรถหรอื หอ้ งเคร่อื งยนต์ โดยสัญญาณไฟไหมจ้ าก เซนเซอรต์ รวจจบั ด้วยแสงและความรอ้ น
4.11 ถังดับเพลิงเคลื่อนที่ สำหรบั การดบั เพลงิ ทขี่ นาดไม่ใหญ่มาก มถี งั ดบั เพลงิ ภายในบรรจุสารคาร์บอนไดออกไซด์ (หมาเลข 10 รปู ที่ 4.1) เกบ็ ไวใ้ กล้กับทนี่ ่งั ของ ผบ.รถ 4.12 การทำงานของระบบปอ้ งกนั นชค. 4.12.1 ระบบทำงานโดยคำสั่งสญั ญาณ “NUC” ในขณะท่เี กิดระเบิดนวิ เคลยี ร์ รงั สีแกมมา่ จะถูกปลอ่ ยออกมาจนถึงระดับ 150 เรนิ เกน/ชม. ซง่ึ ถกู ตรวจจบั โดยอุปกรณ์ตรวจจบั นชค. และอปุ กรณอ์ ัตโนมตั ขิ องระบบดับเพลิงจะสร้างสัญญาณ เพือ่ ใหเ้ กดิ การทำงานดังน้ี: - สั่งใหก้ ลไกดบั เครื่องยนตท์ ำงาน - พดั ลมระบายอากาศหยุดทำงาน ถา้ อยู่ในระหว่างถูกใช้งาน - หลอดไฟ “NUC” สว่างตดิ เตม็ ทบี่ นแผงมาตรวดั B-1 - สร้างสญั ญาณเตอื นด้วยเสียงโดยส่งไปยงั ชดุ ติดตอ่ ภายใน AVSK-1T สำหรบั พลประจำรถทุกตำแหนง่ - หนว่ ยกรองอากาศถกู สับให้ทำงานในลกั ษณะกรองอากาศและกรองสารปนเปอ้ื น ซ่ึงแผงฉลุ “F” จะ สว่างตดิ บนแผงควบคมุ และสง่ สัญญาณของระบบดบั เพลิง - วาล์ว starter-generator ถูกเปลยี่ นมาใช้ลักษณะการทำงานแบบใชอ้ ากาศจากภายในห้องเครื่องยนต์ รถถงั หยุดและรกั ษาแรงดันบรรยากาศภายในตัวรถถงั ภายในระยะเวลา 0.5 – 3 วนิ าที คำสัง่ จะถกู สง่ ไปยังกลไกดับเครอื่ งยนต์ และพัดลมระบายอากาศจะ ทำงานอตั โนมัตใิ นห้วงระยะเวลา 30 – 50 วินาที 4.12.2 ระบบทำงานโดยไดร้ บั คำสง่ั สัญญาณ “RAD” อุปกรณต์ รวจจบั นชค. สง่ สญั ญาณไปป้อนเขา้ ใหก้ บั อุปกรณอ์ ัตโนมัตขิ องระบบดับเพลงิ ภายใตผ้ ลกระทบ ของรงั สีแกมมา่ ของพื้นท่ีปฏิบตั กิ าร ซ่ึงมกี ระบวนการตา่ ง ๆ ดงั น้ี: - หน่วยกรองอากาศทำงานในลกั ษณะกรองอากาศและกรองสารปนเปือ้ น - แผน่ ฉลุ “F” สวา่ งตดิ บนแผงควบคมุ และสง่ สญั ญาณระบบดับเพลิง - วาลว์ starter-generator สบั เปล่ยี นไปใชก้ ารนำอากาศจากภายในห้องเคร่อื งยนต;์ - พดั ลมระบายอากาศ ทำงาน - หลอดไฟ “RAD” สว่างตดิ เต็มที่บนแผงมาตรวัด B-1 - สัญญาณเตอื นดว้ ยเสียงถกู สง่ ผ่านชดุ ตดิ ต่อภายในไปยังพลประจำรถทกุ ตำแหน่ง สำหรบั ปรับมาตรวดั ระดับกัมมนั ตรงั สี ให้ปรบั สวติ ช์ “MODE” บนแผงมาตรวดั B-1 ในตำแหนง่ 5 R/h หรือ 150 R/h ตามท่ตี ้องการ 4.12.3 ระบบทำงานโดยไดร้ ับคำส่งั สัญญาณ “TOX” เม่อื สารพษิ มีอยูใ่ นอากาศภายนอกรถ อปุ กรณต์ รวจจับ นชค. สง่ สญั ญาณยงั อปุ กรณอ์ ตั โนมัตขิ องระบบ ดับเพลิง ซ่ึงลักษณะการทำงานจะเหมอื นกบั เมือ่ สง่ สัญญาณไปยงั ตัวกระตุน้ ด้วยคำส่ังสญั ญาณ “RAD” แตห่ ลอดไฟ “TOX” บนแผงมาตรวัด B-1 จะสว่างตดิ เตม็ ทแ่ี ทน ถ้าอุปกรณต์ รวจจับไมท่ ำงาน, ระบบถูกกระตนุ้ ดว้ ยมอื โดยปุ่ม NBC ทอี่ ยบู่ นแผงควบคมุ และส่งสญั ญาณระบบ ดับเพลิง สง่ คำส่งั สญั ญาณ “RAD” และ “TOX” 4.12.4 ระบบทำงานเมื่อไดร้ ับคำสงั่ สัญญาณ “FIRE” เมือ่ มเี พลงิ ไหม้เกิดข้ึนในห้องพลประจำรถ เซนเซอรต์ รวจจบั ดว้ ยแสง จะสร้างสัญญาณไปปอ้ นเขา้ ยงั อปุ กรณอ์ ัตโนมัตขิ องระบบดับเพลงิ ซ่งึ จะมกี ารปฏบิ ตั ิตา่ ง ๆ ตามลำดบั ดังน:้ี
- หวั ฉดี สารของถงั ดบั เพลงิ ที่ 1 ทำงาน และสารดบั เพลิงจะถูกฉีดออกมาสู่ห้องพลประจำรถ - แผงฉลุ 1B บนแผงควบคมุ และสง่ สญั ญาณระบบดบั เพลงิ จะดบั ลง - พดั ลมระบายอากาศจะหยุดการทำงาน ถ้าถกู ใชง้ านอยู่ - แผงฉลุ CR.C บนแผงควบคมุ และสง่ สญั ญาณระบบดับเพลงิ จะตดิ กระพรบิ - สญั ญาณไฟ บนแผงไฟเตือน PIU (รูปที่ 11.5) ตดิ กระพรบิ เพ่อื เตือนว่ามเี หตเุ พลงิ ไหม้ในหอ้ งพล ประจำรถ - แผงฉลุ FIRE บนแผงควบคมุ ของ ผบ.รถ ติดสวา่ งขึ้น - แผงฉลุ FIRE สวา่ งติดเต็มที่ในลักษณะกระพริบ บนแผงสญั ญาณ - สญั ญาณเตือนดว้ ยเสียงจะสง่ สญั ญาณดังไปยงั พลประจำรถทุกตำแหนง่ ผา่ นชดุ ติดต่อภายใน AVSK-1T - แผงฉลุ CR.C และ FIRE บนแผงควบคมุ ของ ผบ.รถ จะดับลง สัญญาณไฟ เตือนเกย่ี วกับเพลงิ ไหมใ้ นหอ้ งพลประจำรถบนแผงไฟเตือน PIU จะดับลง, เสยี งสญั ญาณเตือนจะหยุดเตอื น เมื่อไม่มีการส่งสญั ญาณจาก เซนเซอร์ตรวจจบั ด้วยแสง และพดั ลมระบายอากาศของหน่วยกรองอากาศจะเรมิ่ ทำงานโดยอตั โนมตั ิ เมอ่ื สัญญาณจากเซนเซอรต์ รวจจบั ด้วยแสงยังคงถกู สง่ มาอยู่ หัวฉีดสารของถงั ดับเพลงิ ท่ี 2 จะทำงาน, แผงฉลุ 2B บนแผงควบคมุ และส่งสญั ญาณระบบดบั เพลงิ จะดับลง และไฟเตือนว่าเกดิ เพลงิ ไหม้จะตดิ สวา่ งข้ึนอกี ครัง้ เมือ่ เกิดไฟไหม้ข้ึนในหอ้ งเคร่ืองยนต์ เซนเซอรต์ รวจจบั ด้วยความร้อนจะสร้างและสง่ สัญญาณไปยงั หนว่ ย อตั โนมตั ิของระบบดบั เพลงิ ซึ่งจะมีการปฏบิ ัติตา่ ง ๆ ตามลำดบั ดงั นี้: - แผงฉลุ EC สวา่ งติดข้นึ ทห่ี นา้ จอกล่องควบคมุ และส่งสญั ญาณระบบดับเพลงิ - กลไกดับเครอื่ งยนต์ทำงาน - หวั ฉดี สารของถังดบั เพลิงท่ี 3 ทำงาน และฉดี สารดับเพลิงไปยังหอ้ งเคร่ืองยนต์ - แผงฉลุ 3B หายไปจากหน้าจอกล่องควบคมุ และส่งสญั ญาณระบบดบั เพลงิ - แผงฉลุ EC จะหายไปใน 30 – 50 วินาทีหลังจากที่ไฟแผงฉลุ 3B ดบั ลง ถ้าสัญญาณจากเซนเซอรต์ รวจจบั ความร้อนยังคงส่งมาอยู่ ระบบดับเพลิงจะทำการฉีดสารดบั เพลงิ อีกครง้ั โดยในถังดับเพลงิ ท่ี 4 ทำงาน สำหรับการสง่ สญั ญาณ “FIRE” ดว้ ยมอื ดว้ ยการกดปุ่ม CR.C, EC ทอ่ี ย่บู นแผงควบคมุ และสง่ สัญญาณ ระบบดบั เพลิง และปมุ่ FFE ของแผงควบคมุ ผบ.รถ สำหรับดับเพลิงในหอ้ งพลประจำรถ เม่อื ฟิวส์ขนาด 10 แอมแปร์ และ 2 แอมแปรบ์ นแผงควบคุมและสง่ สญั ญาณระบบดบั เพลงิ ชำรุด (กรณีท่ี แผงฉลุ 1B, 2B, 3B และ 4B ไม่ติดสวา่ งโดยที่เปิดสวติ ช์แบตเตอรี)่ เราสามารถจะฉีดสารดบั เพลิงโดยกดปุ่ม CR.C, EC ซ่งึ ในกรณีน้จี ะเปน็ การทำงานของถงั ดบั เพลิงท่ี 2 และที่ 4 เท่าน้ัน 4.12.5 การทำงานของระบบเม่อื ได้รบั สญั ญาณคำสงั่ “FIRE” ในขณะทีข่ ับรถถงั ลยุ ขา้ มนำ้ ลกึ การทำงานของระบบเม่อื ไดร้ ับสญั ญาณคำสง่ั “FIRE” ในขณะทขี่ ับรถถังลยุ ขา้ มนำ้ ลกึ จะมไี ฟเตอื นตดิ สวา่ งขึน้ เทา่ นั้น โหมดการทำงานนีถ้ ูกควบคมุ โดยการใชส้ วติ ช์แบบผลกั DFE-FFE บนแผงควบคมุ และสง่ สัญญาณระบบ ดับเพลงิ ไปยงั ตำแหน่ง DFE ซง่ึ จะไม่มกี ารสง่ สญั ญาณไปยงั กลไกดับเคร่อื งยนตแ์ ละการทำงานของถงั ดับเพลิงอัตโนมัติ พลประจำรถจะตอ้ งส่งสญั ญาณดว้ ยมอื เทา่ นั้นโดยการกดปุ่ม CR.C และ EC บนแผงควบคมุ และสง่ สญั ญาณระบบ ดบั เพลิง และปุม่ FFE บนแผงควบคุมของ ผบ.รถ ในกรณขี องท่ไี ฟเตือนทำงานในโหมด DFE: เม่ือเกิดเพลงิ ไหม้ในห้องพลประจำรถจะมีไฟเตอื น CR.C ตดิ สวา่ งเตม็ ทบ่ี นแผลควบคมุ และสง่ สญั ญาณระบบดับเพลงิ และไฟเตือน “FIRE” บนแผงควบคมุ ของ ผบ.รถ จะตดิ สว่าง เต็มทใ่ี นลักษณะของการกระพริบ คำเตอื น! การทำงานของถังดบั เพลงิ สำหรับการดบั เพลงิ ในกรณที ผ่ี ลักสวติ ช์ DFE-FFE มาทตี่ ำแหน่ง FFE หลงั จากทผ่ี า่ นการขา้ เครือ่ งกีดขวางทางน้ำแล้วเท่านัน้
4.12.6 การทำงานของระบบในกรณสี ญั ญาณทับซอ้ นกัน เมื่อสัญญาณ “Fire”, “NUC”, “RAD” และ “TOX” เกดิ ขึ้นพร้อมกนั หรอื ทับซอ้ นกบั สญั ญาณอืน่ การ ส่ังการทำงานของตวั กระตนุ้ จะสง่ั ให้ทำงานในกรณีเกิดสญั ญาณ “Fire” อปุ กรณ์ระบายอากาศทำงานในระหว่างได้รบั สญั ญาณไฟไหม้ หรอื สญั ญาณ “NUC”, “RAD” และ “TOX” ทีไ่ ด้รบั มาก่อนหน้านี้ บทท่ี 5 เคร่อื งปรบั อากาศ 5.1 วตั ถุประสงคใ์ นการใชเ้ คร่ืองปรับอากาศ (Air conditioner purpose) ระบบปรบั อากาศไดถ้ ูกออกแบบมาเพ่ือใช้สำหรบั ระบายอากาศและทำความเยน็ ใหก้ บั หอ้ งหอรบของพล ประจำรถ เมื่อใช้งานระบบปรบั อากาศในโหมด “ระบายอากาศ (Ventilation)'' ระบบจะทำงานโดยอาศัยกำลงั ไฟจาก แบตเตอรีเ่ มอ่ื เปิดสวิตชไ์ ฟหลกั ไปทต่ี ำแหน่ง ''ON'' สำหรบั การใชง้ านในโหมด ''ทำความเยน็ (Cooling)'' จำเป็นตอ้ งตดิ เครือ่ งยนต์หลักหรือใชแ้ หลง่ จ่ายไฟจากภายนอก มรี ะบบเคร่อื งปรับอากาศอยู่ 2 ตวั ในรถถัง เครือ่ งปรับอากาศเครือ่ งแรกตดิ ตง้ั อยูก่ บั ตัวรถและถกู ออกแบบไว้สำหรบั ใช้งานในห้องพลขับ เครอ่ื งที่ 2 ติดตัง้ อยใู่ นปอ้ มปืนและออกแบบไวส้ ำหรบั ปรับอากาศในหอ้ งหอรบ อุปกรณเ์ ครือ่ งปรบั อากาศแต่ละเครื่องได้จดั เตรียมการใชง้ านไว้อยา่ งเพยี งพอในสภาวะทหี่ อ้ งหอรบอยูใ่ นระบบปดิ ป้อม และสามารถปฏิบตั งิ านไดพ้ ร้อมกนั ทัง้ สองเครื่องหรือใช้งานเพียงเคร่ืองเดยี ว การควบคมุ การใชง้ านเคร่ืองปรบั อากาศทีต่ ิด ตง้ั อยู่กบั ตัวรถจะควบคมุ จากท่นี ั่งของพลขับ และเครือ่ งปรบั อากาศท่ีตดิ ตั้งในป้อมปืนจะควบคุมจากทนี่ ั่งของผบ.รถ 5.2 สว่ นประกอบและการจดั เตรียมเคร่อื งปรับอากาศ (Components and arrangement of air conditioners) เคร่ืองปรับอากาศคอื เคร่ืองจกั รทท่ี ำการควบแนน่ ไอนำ้ ให้กลายเป็นน้ำแข็งโดยจะแยกส่วนท่ีว่างออกจาก กนั ดว้ ยคอมเพรสเซอรท์ ขี่ ับเคลือ่ นจากมอเตอรไ์ ฟฟ้าซึ่งประกอบดว้ ยอปุ กรณ์หลกั ดังต่อไปน:ี้ - คอยล์รอ้ นคอมเพรสเซอร์ (CCU) จะตดิ ตง้ั อย:ู่ ผนงั ดา้ นขวาของห้องหอรบในป้อมปืน บนแคร่ รถในห้องพลขบั ตดิ ตงั้ อยู่ดา้ นหนา้ ขวาของตัวรถของแหลง่ จ่ายกำลัง ในตวั คอยล์รอ้ นทส่ี ร้างจากโรงงานจะทำเปน็ รพู รอ้ ม กับตะแกรงปอ้ งกันสำหรับใหอ้ ากาศหมนุ วนผ่านอปุ กรณค์ อนเดนเซอร์ของคอยลร์ ้อน ในการลยุ ขา้ มเครอ่ื งกดี ขวางที่เป็น น้ำชดุ คอยลร์ ้อนจะทำใหน้ ำ้ ทว่ มไหลผ่านได้ - หีบควบคุมอากาศ (AHU) จะตดิ ตัง้ อยู่: บนเพดานปอ้ มปนื ใตแ้ ผน่ เกราะปอ้ งกนั , ในหอ้ งพล ขบั จะตดิ ตง้ั อย่กู ับตัวรถทางด้านขวาของช่องเกบ็ ถงั นำ้ มันเชอ้ื เพลงิ - หีบควบคมุ เครอื่ งปรับอากาศ - หบี เครอ่ื งจ่ายกำลงั ไฟเครือ่ งปรบั อากาศ - ท่อทางเดนิ และขัว้ ต่อสายไฟจะวางอย่รู ะหว่างตัวเครือ่ งปรบั อากาศ
1. ตวั กระจายความเย็น (diffuser), 2. ทอ่ ทางเดนิ (pipelines), 3. หีบควบคุมการกระจายอากาศ (air diffusion panel), 4. เครือ่ งระบายอากาศ (ventilator), 5. เครอื่ งจา่ ยอากาศ (air handling unit), 6. เครอื่ งตรวจจบั แรงดนั (pressure sensor), 7. ห้องคอยล์รอ้ น (CCU compartment), 8. compressor-condenser unit. รูปท่ี 5.1 การจัดเตรยี มเครอื่ งปรบั อากาศติดตงั้ กบั แครร่ ถ (Arrangement of air conditioner into chassis) 1. ตวั กระจายความเย็น (diffuser), 2. ช่องอากาศ (air channel), 3. หอ้ งส่วนควบคุมอากาศ (AHU compartment), 4. หีบควบคุมอากาศ (air handling unit), 5. ห้องคอยลร์ อ้ น (CCU compartment), 6. compressor-condenser unit, 7. ท่อทางเดิน (pipelines), 8. เคร่ืองตรวจวัดแรงดัน (pressure sensor), 9. ตวั ระบายอากาศ (ventilator) รปู ที่ 5.2 การจดั เตรยี มเคร่อื งปรบั อากาศในปอ้ มปนื (Arrangement of air conditioner in turret) 5.2.1 คอมเพรสเซอร์ – คอนเดนเซอร์ (Compressor-condenser unit (CCU)) คอมเพรสเซอร-์ คอนเดนเซอร์ของเคร่ืองปรับอากาศ (CCU) (รปู ท่ี 5.3) ไดถ้ ูกออกแบบไวส้ ำหรับจัดทำการ
หมนุ เวียนของอากาศ, การควบแนน่ , การทำความเย็น, และเปลี่ยนสถานะจากแก๊สไปเปน็ ของเหลวในวงรอบการทำ ความเย็น ก่อนที่จะเขา้ มาสหู่ บี ควบคุมอากาศ (AHU) คอยล์ร้อนไดถ้ ูกออกแบบใหเ้ ปน็ แบบอปุ กรณท์ ีส่ ามารถปอ้ งกัน น้ำได้ วัตถปุ ระสงคใ์ นการทำงานของส่วนประกอบหลักของคอยลร์ ้อนคอมเพรสเซอร์ แสดงไวใ้ นรปู ที่ 5.3 - คอมเพรสเซอรห์ มายเลข 3 ออกแบบมาเพอ่ื ทำหนา้ ท่ดี ูดสาร, เพ่ิมแรงดนั และสง่ สารทำความเย็น เขา้ ไปในวงรอบของการทำความเย็นของอุปกรณ์ - คอยลร์ ้อนหมายเลข 1 (condenser) ระบายความร้อน จัดทำความเย็นและควบแนน่ สารทำความ เยน็ - เคร่อื งระบายความรอ้ นหมายเลข 2 ทำหน้าที่ส่งสารทำความเย็น (ทำหน้าทีแ่ พร่กระจายความเย็น ของอากาศ) - เครื่องกรองสิ่งสกปรกและความชนื้ (receiver-dryer) หมายเลข 8 ทำหน้าทกี่ รองสิ่งสกปรกและ ความชืน้ ของอากาศและก๊าซ ดา้ นบนของฐานติดตั้งเครื่องกรองจะเป็นเคร่อื งตรวจวดั แรงดัน, ทำให้สามารถปิดสวิตชก์ าร ทำงานของมอเตอรค์ อมเพรสเซอร์ เม่อื เกิดความดันตำ่ หรอื สงู ในระบบการหมนุ เวยี นทำความเยน็ - มอเตอรข์ บั เคลอ่ื นหมายเลข 5 ทำหนา้ ทหี่ มนุ เพลาของคอมเพรสเซอร์ - เครอื่ งมอื ปรบั สายพานหมายเลข 7 ไดอ้ อกแบบไว้ให้จัดทำการจัดปรบั ความตงึ ของสายพาน คอมเพรสเซอร์ อุปกรณป์ ระกอบของคอมเพรสเซอร์-คอนเดนเซอรท์ กุ สว่ น ได้ถูกออกแบบมาใหส้ ามารถกันนำ้ ได้ โดย สามารถทำการขา้ มเครอ่ื งกดี ขวางทีเ่ ป็นน้ำโดยไม่ต้องทำความสะอาดเคร่ืองปรบั อากาศ คอมเพรสเซอร-์ คอนเดนเซอร์ในรถถังทง้ั สองตวั จะติดตัง้ อยูใ่ นหอ้ งเกบ็ โดยจดั ทำเครื่องป้องกัน คอมเพรสเซอร-์ คอนเดนเซอร์ จากการชำรดุ ทางกายภาพได้ 1. คอยลร์ อ้ น (condenser), 2. เครอื่ งระบายอากาศ (ventilator), 3. คอมเพรสเซอร์ (compressor), 4. สายพาน (belt), 5. มอเตอรไ์ ฟฟา้ (electric motor), 6. กรอบติดตั้งคอมเพรสเซอร-์ คอนเดนเซอร์ (CCU frame), 7. เครอ่ื งมือจดั ปรบั สายพาน (tightening device), 8. เครื่องกรองส่ิงสกปรกและความชืน้ (receiver-drier) รปู ท่ี 5.3 คอมเพรสเซอร-์ คอนเดนเซอร์ (Compressor-condenser unit) 5.2.2 หีบควบคุมอากาศ (Air handling unit (AHU))
หีบควบคมุ อากาศของเครือ่ งปรบั อากาศได้ถูกออกแบบมาให้จัดทำการระบายอากาศ และทำความเยน็ ใน หอ้ งของพลประจำรถ. ภาพของหบี ควบคุมอากาศได้แสดงไวใ้ น รูปที่ 5.4 วตั ถุประสงคใ์ นการทำงานของส่วนประกอบหลักของหบี ควบคมุ อากาศ: - เคร่อื งระบายอากาศหมายเลข 5 พร้อมดว้ ยมอเตอรไ์ ฟฟ้าที่ขบั เคลอ่ื นด้วยตวั เองสำหรบั การควบคุมการ เปลี่ยนสถานะของอากาศ - คอยลเ์ ยน็ (evaporator) หมายเลข 4 ได้ถูกออกแบบมาสำหรับทำความเย็นใหอ้ ากาศ โดยจะเปล่ียน สถานะสารทำความเยน็ ให้เปน็ แก๊สเพ่อื ดดู ความร้อนอากาศรอบๆ เม่ือเปิดเครื่องปรับอากาศใช้งานในโหมดทำความเย็น ''Cooling'' - ลิน้ ควบคุมการไหลของสารทำความเย็น (Thermostatic throttling valve) เป็นตวั เรือนที่ เช่อื มต่อกับทอ่ ทางเดินหมายเลข 2 (discharge) เพอ่ื จดั ทำอตั ราการไหลของสารทำความเย็นมากหรือน้อยส่งไปยงั คอยล์ เยน็ และดูดซบั ความรอ้ นผ่านผนงั ของท่อทางเดนิ ในคอยล์เยน็ - ลน้ิ ควบคมุ อุณหภมู ิ (ติดตง้ั อยู่ภายในหีบควบคุมอากาศอยู่ดา้ นหนา้ ของคอยลเ์ ยน็ ) วัดอุณหภมู ิ ในช่องวา่ งระหว่างขอบของคอยลเ์ ย็น และจดั เตรยี มปิดการทำงานของคอมเพรสเซอร์เครอื่ งปรับอากาศในกรณที มี่ นี ำ้ แข็ง เกาะมากทำใหเ้ กิดอนั ตรายได้ - ขั้วตอ่ ไฟฟ้าหมายเลข 1 จดั ทำไวส้ ำหรบั เช่ือมตอ่ ไฟฟ้าไปยงั หบี ควบคุมอากาศ ดา้ นหน้าของคอยล์เยน็ จะตดิ ตงั้ ตัวดักน้ำพร้อมกับท่อระบายหมายเลข 3 ใชส้ ำหรบั กกั และถ่ายน้ำออกจาก คอนเดนเซอร์ เมื่อใชเ้ ครอื่ งปรบั อากาศในโหมดทำความเยน็ ''Cooling'' ในรูปท่ี 5.4 แสดงให้เหน็ ถึงรูปของหบี ควบคมุ อากาศท่ีตวั รถ, และท่ปี อ้ มปืนท่แี ตกตา่ งกันจากท่กี ลา่ ว มาแล้วข้างตน้ โดยจะตดิ ตง้ั เครื่องระบายอากาศรว่ มแกนกนั แทนทแี่ กนเดียวหมายเลข 5 ในขณะเดยี วกันก็ขาดเครื่อง กระจายความเย็นหมายเลข 6 (เครื่องกระจายความเยน็ จะตดิ ตง้ั อยู่บนทอ่ อากาศ อา้ งถึง รปู ที่ 5.2) 1. ขว้ั ต่อไฟฟา้ (connector), 2. ข้อต่อท่อ (connecting pipes), 3. ท่อระบายนำ้ คอนเดนเซอร์ (condensate drain pipe), 4. คอยลเ์ ย็น (evaporator), 5เคร่ืองระบายอากาศ (ventilator),6. เครอ่ื งกระจายความเย็น (diffuser) รปู ที่ 5.4 หบี ควบคุมอากาศ (Air handling unit (AHU)) 5.2.3 ท่อนำความเยน็ (Hoses for cold carrier) ท่อจดั ทำไวส้ ำหรับเป็นทางเดินของสาร Khladon เป็นวงรอบในวงจรทำความเย็นระหวา่ ง คอมเพรสเซอร-์ คอนเดนเซอร์ และหีบควบคมุ อากาศ ในวงรอบแรงดันสงู จะใชท้ ่อขนาด 8 มม. วงรอบแรงดันตำ่ ใช้ท่อ ขนาด 12 มม. ข้อตอ่ ของท่อทางเดนิ นีจ้ ะทำไว้อย่างเหมาะสมพอดกี บี ฝาครอบทอ่
5.3 การใชง้ านเครื่องปรับอากาศ (Air conditioner operation) เมื่อเปิดสวิตช์ใชง้ านเคร่อื งปรบั อากาศในโหมดทำความเยน็ ''Cooling'' เครื่องระบายอากาศของหีบควบคุม หมายเลข 12 และเคร่ืองระบายอากาศของคอนเดนเซอร์หมายเลข 13 (อา้ งถึง (รูปที่ 5.5) จะเรม่ิ ทำงาน มอเตอรไ์ ฟฟา้ ของ คอมเพรสเซอรจ์ ะเรมิ่ ทำงานภายในเวลา 30-50 วินาที คอมเพรสเซอรห์ มายเลข 9 จะเรมิ่ ทำงานขับสายพานของมอเตอร์ คอมเพรสเซอรห์ มายเลข 9 จะอดั สารทำความเยน็ และสง่ ไปยงั คอนเดนเซอรห์ มายเลข 7 ซ่งึ จะเปล่ยี น สถานะของแก๊สใหเ้ ป็นของเหลวโดยจะส่งผา่ นลมร้อนออกไปยังอากาศดา้ นนอกทไ่ี หลผา่ นมา แก๊สที่กลายเป็นของเหลวจะ ไหลผา่ นเครอื่ งกรองสิ่งสกปรกและความชื้นหมายเลข 5 ไปยงั ล้นิ ควบคุมอุณหภมู ิหมายเลข 1 ในหีบควบคุมอากาศ และ สร้างแรงดนั ท่ีลดลงโดยการขยายตวั เนือ่ งจากความรอ้ นทีเ่ พิ่มมากขึ้นในคอยล์เยน็ หมายเลข 2 ซ่ึงเปน็ สาเหตุท่ที ำให้ ของเหลวเปลย่ี นสถานะกลายเป็นก๊าซอีกครัง้ หนง่ึ ลมร้อนจะถูกดดู ออกมาจากหอ้ งพลประจำรถโดยเครอ่ื งระบายอากาศ ของหบี ควบคมุ อากาศหมายเลข 12 และเขา้ ไปยง้ คอยลเ์ ยน็ หมายเลข 2 ซง่ึ จะทำใหเ้ กิดความเย็นและแห้ง หลงั จากนั้นจะ ส่งกลบั ไปยังห้องพลประจำรถ จากผลลัพธ์ที่เกิดขน้ึ การควบแนน่ ทีล่ ดลงและระบายออกผา่ นทางทอ่ ระบายของหบี ควบคุมอากาศ ดังน้นั เครือ่ งปรบั อากาศภายในหอ้ งจะทำใหเ้ กิดเขตแรงดันสงู (แสดงให้เห็นในรปู ที่ 5.5) และเขตแรงดนั ตำ่ (แสดงใหเ้ หน็ ในรปู ที่ 5.5) เม่อื เคร่อื งปรับอากาศทำงานในโหมดระบายอากาศ ''Ventilation'' เครื่องระบายอากาศของ AGU หมายเลข 12 จะทำงานเพยี งแคเ่ ปดิ สวิตช์เท่าน้นั และจะจัดทำการระบายอากาศเข้าไฟในหอ้ งตามทีต่ อ้ งการ 1. ลิ้นควบคมุ อณุ หภมู ิ (thermostatic valve), 2. คอยล์เยน็ (evaporator), 3, 6, 8. ทอ่ แรงดันสงู (high- pressure pipelines), 4. ช่องกระจก (port glass), 5. เครือ่ งกรองส่ิงสกปรกและความชนื้ (receiver- dryer), 7. คอยล์รอ้ น (condenser), 9. คอมเพรสเซอร์ (compressor), 10. ทอ่ แรงดนั ตำ่ (low- pressure pipeline), 11. เคร่อื งมอื ประจุ (charging devices), 12. หบี ควบคุมอากาศเครือ่ งระบาย อากาศ (AHU ventilator), 13. คอนเดนเซอร์เครือ่ งระบายอากาศ (condenser ventilator) รูปท่ี 5.5 วงจรไฮโดรลกิ แรงลมเคร่อื งปรบั อากาศ (Air conditioner pneumatic hydraulic circuit)
บทที่ 6 ตัวรถและปอ้ มปนื (HULL AND TURRET) 6.1 แผ่นเกราะปฏกิ ริ ยิ า (Explosive reactive armor) 6.1.1 กฎในการจับถือแผน่ เกราะปฏิกิริยา (Reactive armor handling rules) องคป์ ระกอบของแผ่นเกราะปฏิกริ ิยา (ERAE) จะถูกแจกจ่ายให้กับหน่วยในรูปแบบของการเก็บรักษา กระสนุ ตามมาตรฐานของการบรรจภุ ณั ฑ์วสั ดุ กอ่ นทำการติดตง้ั แผน่ เกราะ ERAE บนรถถงั จะต้องมีการตรวจสอบดา้ นเทคนคิ 100 % โดยจะต้อง ดำเนินการตรวจสอบดังน้ี: − สภาพของเครื่องหมายตา่ งๆ บนแผ่นเกราะ ERAE − สภาพของสี และ แลคเกอร์ทเี่ คลอื บบนพนื้ ผวิ − สภาพของการผนกึ วสั ดุในรอยตอ่ ระหว่างช้ินสว่ นของแผ่นเกราะ ERAE − สภาพการชำรุดของแผ่นเกราะ ERAE ในระหว่างที่ทำการตรวจสอบแผน่ เกราะ ERAE จะต้องปฏิเสธส่ิงท่ีแสดงให้เห็นว่าไม่ได้มาตรฐาน: − สว่ นใดสว่ นหนง่ึ หรอื ท้ังหมดของแผน่ เกราะเสยี รูป − รอยรา้ ว มรี ทู ะลุ และรอยบบุ กวา้ ง 3 มม. ขนึ้ ไป แผน่ เกราะ ERAE ทไ่ี มไ่ ดม้ าตรฐานจะตอ้ งนำสง่ คนื คลังตามกฎของการนำส่งคนื กระสนุ ทใ่ี ชอ้ ยู่ในปัจจบุ นั การถอดแผ่นเกราะ ERAE ออกจากกลอ่ ง เพ่อื ป้องกันทราย ฝนุ่ แสงอาทติ ย์ และสภาพแวดลอ้ มที่มฝี น หมิ ะหรอื ลกู เหบ็ ตกลงมา จะตอ้ งนำผา้ ใบหรอื วัสดอุ ืน่ ๆ มาคลมุ โดยตอ้ งเป็นวัสดุที่ไมต่ ิดไฟ จากประสบการณ์ทผ่ี ่านมาปรากฏวา่ แผ่นเกราะ ERAE ควรติดตั้งแผ่นเกราะทีผ่ ลิตจากโรงงานและทผ่ี ลิต ในปีเดียวกนั ในรถถงั แตล่ ะคนั กอ่ นติดตั้ง (ถอดออก) แผ่นเกราะ ERAE จะต้องมเี จ้าหนา้ ทบ่ี รรยายสรปุ และแสดงวิธีการปฏิบัตงิ านให้ ดกู อ่ น ในระหว่างการตดิ ตงั้ (ถอดออก) ควรระมัดระวงั ในการจับถอื แผ่นเกราะ ERAE เพ่อื ป้องกนั แผน่ เกราะจาก การเสยี ดสแี ละการทำใหส้ ีและแลคเกอรท์ ี่เคลอื บอยู่หลดุ ออก ห้ามตดิ ตงั้ หรือถอดแผ่นเกราะ ERAE โดยใชก้ ำลังซง่ึ อาจทำ ให้เกิดการชำรุดได้ ข้อหา้ ม ในขณะที่จับถอื แผน่ เกราะ ERAE: − จับเอียง, หย่อนห่อพัสดลุ งไปพร้อมกับแผ่นเกราะ ERAE และกระแทกหีบห่อพสั ดดุ ว้ ยแผ่น เกราะ ERAE หรอื ใชแ้ ผ่นเกราะกระแทกกนั เอง − บรรทกุ หรือขนย้ายแผน่ เกราะ ERAE ลงในหบี ห่อที่ไม่ถกู ต้อง − ในขณะทท่ี ำงานใดๆ ก็ตามกบั แผน่ เกราะ ERAE และยกแผ่นเกราะขึ้นสงู กวา่ 3 ม.เหนอื พนื้ ระดบั − วางสง่ิ อปุ กรณ์ไวใ้ กลก้ บั แหลง่ ท่มี อี ุณหภมู สิ ูง − ปฏิบตั งิ านใดๆ ในระหวา่ งท่มี พี ายุ หรือในเขตรักษาความปลอดภยั ของสายไฟฟา้ แรงสูง − ถอดประกอบแผน่ เกราะ ERAE ในกรณที หี่ ย่อนแผ่นเกราะ ERAE ลงไปในหบี หอ่ จากความสูง 6.5 ม.ลงบนพื้นที่เปน็ คอนกรตี หรือแผน่ เหล็ก ถา้ ไกลออกไปจากนีอ้ นุญาตได้ แผ่นเกราะ ERAE ยงั คงใชง้ านได้อย่างปลอดภยั หลังจากท่ตี กลงในหีบห่อ ทค่ี วามสูงไมเ่ กิน 3 ม. ในกรณที ่ี ยงั ไม่ถึงเกณฑ์ข้อกำหนดหา้ มใช้งาน ยังคงสามารถนำไปใชง้ านได้ ในระหว่างปรนนิบัติบำรุงรถถังท่ีติดต้งั แผน่ เกราะ ERAE ให้ทำการตรวจโดยการส่มุ ตรวจแผ่นเกราะ ERAE
บนปอ้ มปนื จำนวน 8 ชนิ้ โดยตรวจแผ่นเกราะทอี่ ยทู่ างด้านหน้า และทางด้านข้างของตวั รถแต่ละข้าง ถ้าตรวจพบว่ามี ส่วนประกอบของแผ่นเกราะเข้าขา่ ยตามข้อกำหนดหา้ มใช้งาน จะต้องตรวจสอบแผน่ เกราะ ERAE ทุกแผน่ ถ้ามีการปฏบิ ตั งิ านกับโครงสร้างโดยใชก้ ารและเชื่อมตอ่ กนั บนรถถัง ที่มีการติดตง้ั สว่ นประกอบของแผ่น เกราะทีม่ ดี นิ ระเบดิ จะต้องปฏบิ ัตติ ามกฎของความปลอดภัยดงั นี้: − ไม่อนุญาตใหท้ ำโดยเดด็ ขาด (IT IS STRICTLY FORBIDDEN) เช่อื มโครงสร้างและนำแผ่น โลหะทห่ี ลอมละลายไปสัมผัสกบั แผ่นเกราะ ERAE − ระยะปลอดภัยจากการทำงานดว้ ยการใชเ้ ปลวไฟตดั และการเช่ือมไฟฟา้ ใกล้กับจุดตดิ ตง้ั แผน่ เกราะ ERAE อย่างน้อย 1 ม. สามารถทำงานได้โดยไมจ่ ำกัดระยะเวลาในการทำงาน − หา้ ม (NEVER) ทำงานด้วยการใช้เครื่องตดั ด้วยเปลวไฟและการเชอื่ มดว้ ยไฟฟา้ บนรถถังทยี่ งั ไมไ่ ด้ถอดแผน่ เกราะ ERAE ออกจากตวั รถ − อนญุ าตให้ทำงานตัดด้วยเปลวไฟและเช่ือมดว้ ยไฟฟ้าภายหลังจากทีถ่ อดแผ่นเกราะ ERAE ออก จากกรอบใสแ่ ผ่นเกราะบนเครื่องประกอบชดุ แผน่ เกราะเป็นเวลานานกว่า 7 นาที โดยไม่ถอดแผน่ เกราะ ERAE จากกรอบ ใสแผ่นเกราะทอี่ ย่ใู กล้เคียง – ช้นิ งานบนส่วนทป่ี ฏบิ ัติงานเสร็จแล้วอาจจะเยน็ ลงไปเท่ากบั อณุ หภูมิของสภาพแวดลอ้ ม 6.6.2 การติดตง้ั แผ่นเกราะบนปอ้ มปนื (Placing of ERAE in turret) กอ่ นติดตง้ั (รูปท่ี 6.1) แผน่ เกราะ ERAE พน้ื ทต่ี ิดตั้งจะอยทู่ างด้านยวาและดา้ นซ้ายของแนว ตะเขบ็ โดยจะปฏบิ ัตกิ ารตดิ ต้ังดังน:ี้ − ถอดแผ่นเกราะป้องกันตำแหน่งหมายเลข 13 และแผน่ ปดิ หมายเลข 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12, 34, 42 โดยไมต่ อ้ งถอดสลกั ยดึ หมายเลข 14 และแหวนยดึ หมายเลข 15, 16 และสลักหมายเลข 37 ของ ส่วนประกอบแผน่ เกราะหมายเลข 35 − ในแต่ละสว่ นของใสก่ รอบแผน่ เกราะของแต่ละชอ่ งของส่วนประกอบด้านบนหมายเลข 1, 33, 35, 36 ติดตง้ั แผน่ เกราะ ERAE หมายเลข17 จำนวน 1 แผ่น โดยการหนั เคร่อื งหมายออกนอกตวั รถ − ในแต่ละสว่ นของกรอบใสแ่ ผ่นเกราะของแต่ละชอ่ งของสว่ นประกอบที่สองและสาม สว่ นบนหมายเลข 1 และ 33 ให้ตดิ ตั้งแผ่นเกราะ ERAEs หมายเลข 17 จำนวน 2 แผน่ โดยหนั ดา้ นทมี่ ีเคร่ืองหมายออก นอกตัวรถ − ในแต่ละสว่ นของกรอบใส่แผน่ เกราะส่วนลา่ งของสว่ นประกอบแผ่นเกราะหมายเลข 1, 33, 35 ติดตงั้ แผ่นเกราะ ERAE หมายเลข 17 จำนวน 1 แผน่ โดยหนั ดา้ นที่มีเครือ่ งหมายออกดา้ นนอกตัวรถ − ในแตล่ ะส่วนของกรอบใสแ่ ผน่ เกราะของชอ่ งใสส่ ่วนประกอบดา้ นบนหมายเลข 2 ติดตง้ั แผ่นเกราะ ERAEs หมายเลข17 จำนวน 2 แผ่น โดยหันดา้ นท่ีมีเครื่องหมายออกนอกตวั รถถัง − ในกรอบใสแ่ ผน่ เกราะจากช่องใสส่ ว่ นประกอบด้านบนสว่ นทีส่ องและสามหมายเลข 2 ติดตั้งแผ่นเกราะ ERAEs หมายเลข17 จำนวน 4 แผน่ โดยหนั ด้านท่ีมเี คร่ืองหมายออกนอกตัวรถ − ในกรอบใส่แผน่ เกราะของชอ่ งใสส่ ว่ นประกอบด้านล่างหมายเลข 18 ตดิ ตัง้ แผ่นเกราะ ERAEs หมายเลข 17 จำนวน 2 แผ่น โดยหนั ดา้ นทีม่ ีเครอื่ งหมายออกนอกตัวรถ − ในกรอบใส่แผน่ เกราะของชอ่ งใส่สว่ นประกอบดา้ นบนหมายเลข 3 ตดิ ต้ังแผน่ เกราะ ERAEs หมายเลข 17 จำนวน 2 แผน่ โดยหันด้านทม่ี เี ครอื่ งหมายออกนอกตัวรถ − ในกรอบใสแ่ ผน่ เกราะของชอ่ งใส่ส่วนประกอบดา้ นลา่ งหมายเลข 3 ตดิ ต้งั แผ่นเกราะ ERAEs หมายเลข 17 จำนวน 2 แผ่น โดยหันด้านทม่ี เี ครอื่ งหมายออกนอกตวั รถ − ในกรอบใส่แผน่ เกราะดา้ นนอกของโมดูลดา้ นข้างหมายเลข 4 และ 5 ตดิ ต้งั แผ่นเกราะ ERAE หมายเลข 17 จำนวน 8 แผน่ โดยหันดา้ นมีเคร่ืองหมายออกนอกตัวรถ − ในกรอบใส่แผน่ เกราะดา้ นในของโมดลู ด้านข้างหมายเลข 4 และ 5 ตดิ ตงั้ แผน่ เกราะ ERAE หมายเลข 17 จำนวน 6 แผ่น โดยหันดา้ นทมี่ ีเครื่องหมายออกนอกรถ
หลงั จากทีต่ ดิ ตั้งแผ่นเกราะ ERAE ลงในกรอบใสแ่ ผน่ เกราะแลว้ ให้ใช้แผน่ ปิดหมายเลข 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12, 34, 42 ปดิ และขันแน่นด้วยสลักหมายเลข 14 พรอ้ มด้วยแหวนลอ็ คหมายเลข 15 และ 16, สลกั หมายเลข 37 พร้อมด้วยแหวนลอ็ คหมายเลข 38 และ 39 สำหรับการตดิ ต้ังแผน่ เกราะ ERAE บนปอ้ มปืนด้านบนน้นั จำเปน็ จะตอ้ งปฏบิ ตั ดิ ังน้ี: - ถอดสลกั หมายเลข 19 พร้อมด้วยแหวนล็อคหมายเลข 20 และ 21 - ถอดแผน่ ปดิ หมายเลข 22 - ติดต้ังตัวเรือนช่องใส่แผ่นเกราะ ERAE หมายเลข 23 พรอ้ มกบั หนั ดา้ นท่มี ี เครอื่ งหมายออกด้านนอกตวั รถ - ใส่แผ่นปดิ หมายเลข 22 และขนั ให้แนด่ ว้ ยสลกั หมายเลข 19 พรอ้ มกบั แหวนลอ็ ค หมายเลข 20 และ 21 ใช้เวลาในการตดิ ตัง้ แผ่นเกราะ ERAE บนปอ้ มปืนโดยพลประจำรถประมาณ 120 นาที ตาราที่ 6.1 จำนวนของแผ่นเกราะ ERAE บนปอ้ มปนื พื้นท่ีติดตง้ั จำนวนแผน่ จำนวน จำนวน เกราะ ERAE กรอบใส่ แผ่นเกราะ ในกรอบใส่ แผ่นเกราะ แผน่ เกราะ ERAE ท้ังหมด กรอบดา้ นบนของช่องใส่สว่ นบนหมายเลข 1, 33, 35 และ 36 1 11 11 กรอบของส่วนท่สี องจากชอ่ งใสส่ ่วนบนหมายเลข 1 และ 33 2 9 18 กรอบของส่วนที่สามจากช่องใส่สว่ นบนหมายเลข 1 และ 33 2 9 18 กรอบของชอ่ งใสส่ ่วนลา่ งหมายเลข 1, 33, 35 1 10 10 กรอบของชอ่ งใสส่ ว่ นบนหมายเลข 2 2 12 กรอบทสี่ องของชอ่ งใส่ส่วนบนหมายเลข 2 4 14 กรอบท่สี ามของช่องใส่สว่ นบนหมายเลข 2 4 14 กรอบของช่องใส่ส่วนล่างหมายเลข 2 2 12 กรอบของช่องใส่ส่วนบนหมายเลข 3 2 24 กรอบของชอ่ งใส่ส่วนล่างหมายเลข 3 2 12 กรอบดา้ นในของโมดลู หมายเลข 4 6 16 กรอบดา้ นนอกของโมดูลหมายเลข 4 8 18 กรอบด้านในของโมดลู หมายเลข 5 6 16 กรอบด้านนอกของโมดูลหมายเลข 5 8 18 จำนวนแผ่นเกราะ ERAE HSCHKV-34P ทง้ั หมด 103 ช่องใส่บนดาดฟ้าของปอ้ มปืน 1 16 16 จำนวนแผ่นเกราะ ERAE HSCHKV-19 ทง้ั หมด 16 1. สว่ นของแผ่นเกราะ 8 แผ่น (armored sections), 2. ส่วนของแผน่ เกราะ 1 แผน่ (armored section), 3. สว่ น ของแผ่นเกราะ 1 แผน่ (armored section), สลัก M16, 4. สว่ นด้านขา้ งข้างขวา 1 แผ่น (side right section), 5. สว่ นดา้ นข้างข้างซา้ ย 1 แผน่ (side left section), 6, 7, 8 , 9, 10, 11, 12. แผน่ ปดิ (cover), 13. แผ่นปอ้ งกัน ( shield), 14. สลัก M10, 15. แหวนลอ็ ค (washer), 16. แหวนลอ็ ค (washer), 17. แผ่นเกราะ ERAE HSCHKV- 34P, 18. ส่วนของแผ่นเกราะทถี่ อดได้ (removable armored section), 19. สลัก M12, 20. แหวนล็อค
(washer), 21. แหวนล็อค (washer), 22. แผ่นปิด (cover), 23. แผน่ เกราะ ERAE HSCHKV-19, 24. ปลกสลกั M12, 25. ชอ่ งใส่แผน่ เกราะ (container), 26, 27. แผน่ ปดิ (cover), 28. สลกั M8, 29. แหวนล็อค (washer), 30. แหวนล็อค (washer), 31. ปลอกสลัก, 32. ปลก๊ั M10, 33. ส่วนของแผ่นเกราะ 1 แผ่น (armored section), 34. แผน่ ปดิ (cover), 35. สว่ นของแผน่ เกราะ 1 แผ่น (armored section), 36. สว่ นของแผ่นเกราะ 1 แผ่น (armored section), 37. สลัก M16; 38, 39. แหวนลอ็ ค (washer), 40. แกนเพลา, 41. ลวดสลกั , 42. แผ่นปดิ รปู ท่ี 6.1 โครงสรา้ งการติดตัง้ แผ่นเกราะ ERA บนปอ้ มปนื (Turret inbuilt explosive reaction armor) 6.6.3 การติดต้ังแผน่ เกราะ ERAE บนตวั รถ (Installation of ERAE on hull) 6.6.3.1 การตดิ ตั้งแผน่ เกราะ ERAE บนโมดลู หน้ารถ (Installation of ERAE in the hull front module) แผ่นเกราะ ERAE จะต้องติดต้งั บนโมดลู หนา้ รถ ดงั ตอ่ ไปน้ี: - ถอดฐานติดต้ังหมายเลข 25 พรอ้ มกับแผ่นยางรองหมายเลข 23 และ 24 จากแผน่ ตดิ ต้งั เคร่อื ง กวาดทุน่ ระเบดิ ด้านใตแ้ ผน่ เกราะดา้ นหน้าหมายเลข 27 (รปู ท่ี 6.2) โดยคลายสลักยึดหมายเลข 22 พรอ้ มแหวนลอ็ ค หมายเลข 26 - ถอดแผ่นปิดดา้ นหน้าหมายเลข 13, 14, 16, 17, 18, 19, 20, 21 โดยคลายสลักยดึ หมายเลข 15 พรอ้ มกบั แหวนล็อคหมายเลข 12 - ถอดแผ่นปิดหมายเลข 10 โดยคลายสลกั ยดึ หมายเลข 11 พรอ้ มแหวนลอ็ คหมายเลข 12 - ถอดชอ่ งใส่แผ่นเกราะหมายเลข 2, 8, 9 ออกจากแผง E, Ж, И และใสแ่ ผน่ เกราะ ERAE HSCHKV-34P ตามรปู ที่ 6.3, 6.4, 6.5 - ติดตง้ั ช่องใสแ่ ผน่ เกราะโดยหันดา้ นทีม่ เี คร่ืองหมายของแผ่นเกราะ ERAE ข้นึ ดา้ นบนของแผงใส่ บนตัวรถ - ตดิ ตงั้ แผ่นติดต้งั เครื่องกวาดทุ่นระเบดิ กลับเชา้ ทบี่ นแผ่นหมายเลข 27 ฐานติดตงั้ หมายเลข 25 พรอ้ มกบั แผน่ ยางรองหมายเลข 23 และ 25 และขันสลักยดึ พร้อมด้วยแหวนลอ็ คหมายเลข 26 ให้แน่น เวลาในการติดตง้ั แผ่นเกราะ ERAE บนโมดลู ของตวั รถด้านหน้าประมาณ 120 นาที
1, 3, 4, 5, 6, 7. แผ่นปดิ (covers), 2, 8, 9. ซองใส่แผ่นเกราะ (cassettes), 10, 13, 14, 16, 17, 18, 19, 20, 21. แผ่นปิด (covers), 11, 15, 22. สลกั , 12, 23, 26. แหวนลอ็ ค, 23, 24. แผ่นเกราะยาง (rubber shields), 25. ฐาน ตดิ ตงั้ (bracket), 26. แหวนล็อค, 27. แผน่ ติดต้งั เคร่ืองกวาดทนุ่ ระเบิดบนพน้ื ด้านหน้า (mine sweeper plates on the bottom front plate) รูปที่ 6.2 การตดิ ตงั้ แผ่นเกราะ ERAE บนตวั รถด้านหน้า (Installation of ERAE on the hull front รปู ที่ 6.3 ซองใสแผน่ เกราะสำหรบั แผงติดตัง้ K (Cassette with ERAE for cells K) รูปที่ 6.4 ซองใสแ่ ผน่ เกราะ ERSAE สำหรบั แผงตดิ ตงั้ M (Cassette with ERAE for cells M) รปู ที่ 6.5 ซองใส่แผน่ เกราะ ERAE สำหรับแผงติดต้งั P (Cassette with ERAE for cells P)
ตารางที่ 6.2 จำนวนของแผ่นเกราะ ERAE บนโมดูลดา้ นหน้า (Number of ERAEs of the front module) แผง จำนวน จำนวน จำนวนช่องใน จำนวนแผน่ เกราะ จำนวนแผน่ เกราะ ตดิ ตง้ั แผง ซองใน แตล่ ะซองใส่ HSCHKV-34P ในแผงติดต้งั HSCHKV-34P ตดิ ตง้ั แผง แผ่นเกราะ ตดิ ตง้ั K61 2 2 12 M 10 1 3 3 30 P81 4 4 32 6.6.3.2 การตดิ ต้งั แผ่นเกราะ ERAE ในแผน่ กำบังดา้ นขา้ ง (Installation of ERAE in the side screens of hull) การตดิ ตั้งแผน่ เกราะ ERAE ในแผน่ กำบังดา้ นขา้ งของตัวรถ ใหป้ ฏิบตั ิดังนี้: - ถอดสลักหมายเลข 30 (รูปที่ 6.6) พรอ้ มแหวนลอ็ คหมายเลข 16 ถอดแผน่ ปิดหมายเลข 31 - นำซองใสแ่ ผน่ เกราะหมายเลข 28, 33 ออก - ถอดลวดสลักหมายเลข12 แกนเพลาหมายเลข 13 โดยปลดลอ็ คออกจากแผน่ เกราะ หมายเลข 11 - ยกแผ่นเกราะหมายเลข 11 ข้นึ โดยลอ็ คตำแหนง่ ดา้ นบนไวก้ บั บานพับหมายเลข 17 ดว้ ย แกนเพลาหมายเลข 13 - ถอดลวดสลักหมายเลข 12 แกนเพลาหมายเลข 13 โดยปลดล็อคออกจากแผน่ เกราะ หมายเลข 53 ปลดข้อตอ่ ออกจากแทง่ เหลก็ หมายเลข 54 - ถอดสลักหมายเลข 42 จากฐานตดิ ตงั้ หมายเลข 40 ปลดช่องใสแ่ ผน่ เกราะหมายเลข 49 ลง - ลดช่องใสแ่ ผ่นเกราะหมายเลข 49 ดว้ ยคนั จบั หมายเลข 48 ขณะเดียวกนั กป็ ลดลอ็ คแผ่น เกราะหมายเลข 11 โดยถอดแกนเพลาหมายเลข 13; - ล็อคชอ่ งใส่แผ่นเกราะสว่ นล่างด้วยคนั จับหมายเลข 48 โดยการยกขน้ึ ในตำแหน่งด้านบน ดว้ ยลวดสลิงหมายเลข 37 ขอเกย่ี วแบบแหนสปริง - คลายสลักยดึ หมายเลข 18 และถอดแผ่นปดิ หมายเลข 22 - ถอดซองใส่แผ่นเกราะหมายเลข 20, 44, 47 - บรรจุแผ่นเกราะลงในชอ่ งใส่แผ่นเกราะหมายเลข 50 ดว้ ยแผ่นเกราะ ERAE HSCHKV-19 A และบรรจุ แผ่นเกราะลงในช่องใส่แผ่นเกราะหมายเลข 52 ดว้ ยแผน่ เกราะ ERAE HSCHKV-34P ตามรูปท่ี 6.7 – 6.10 - ตดิ ต้งั ชอ่ งใสแ่ ผ่นเกราะลงในแผงติดต้ัง A บรรจแุ ผ่นเกราะ ERAE HSCHKV-19 A และ HSCHKV- 34P ดว้ ยการหนั ด้านที่มีเครอื่ งหมายออกนอกตัวรถทางด้านขา้ งของแผน่ กำบงั ใสแ่ ละติดตั้งหมาย 19, 45 (รูปที่ 6.6) - ตดิ ตงั้ ฝาปิดหมายเลข 22 ขนั สลกั หมายเลข 18 พรอ้ มด้วยแหวนลอ็ คหมายเลข 16 - ปลดล็อคช่องใส่แผน่ เกราะสว่ นล่างโดยคลายลวดสลงิ หมายเลข 37 clevis - ใช้คนั จับหมายเลข 48 นำชอ่ งบรรจุแผน่ เกราะสว่ นลา่ งหมายเลข 49 ลง และในขณะเดียวกนั ให้ล็อค แผน่ เกราะหมายเลข 11 ทอ่ี ยู่ด้านบนโดยใส่แกนเพลาหมายเลข 13 เข้ากับบานพบั หมายเลข 17 - ขันสลกั หมายเลข 42 เขา้ กบั ฐานหมายเลข 40 โดยล็อคเข้ากบั ส่วนล่างของช่องใสแ่ ผ่นเกราะ หมายเลข 49 - ตอ่ แผ่นกำบังหมายเลข 53 ระหวา่ งช่องรบั สลกั หมายเลข 54 ดว้ ยเพลาหมายเลข 13 และลวดสลัก หมายเลข 12 - ปลดล็อคแผน่ เกราะหมายเลข 11 โดยการถอดแกนเพลาหมายเลข 13 จากบานพับหมายเลข 17 แลว้ นำออกมา
- ใช้แกนเพลาหมายเลข 13 เชอ่ื ตอ่ แผน่ เกราะหมายเลข 11 ระหวา่ งช่องรับแกนเพลาโดยใสแกนเพลา หมายเลข 13 และลวดสลกั หมายเลข 12 - ตดิ ตั้งช่องใสแผ่นเกราะลงไปในแผงตดิ ตง้ั C, B, H, โดยบรรจุแผน่ เกราะ ERAE HSCHKV-19 A และ HSCHKV-34P โดยการหยั เครือ่ งหมายเบนแผน่ เกราะออกนอกตวั รถ สอดใส่หมายเลข 29, 32 - ตดิ ต้ังแผป่ ดิ หมายเลข 31 ขยั สลักหมายเลข 30 พรอ้ มกบั แหวนลอ็ คหมายเลข 16 ระยะเวลาที่ใช้ในการตดิ ต้งั แผ่นเกราะ ERAE ลงในแผน่ กำบงั ตัวรถโดยพลประจำรถประมาณ 480 นาที ตัวรถดา้ นซา้ ย (Hull left side) ตวั รถดา้ นขวา (Hull right side) ช่องใสแ่ ผน่ เกราะด้านซ้าย (Left side) ชอ่ งใส่แผน่ เกราะด้านขวา (Right side)
1. แผ่นเกราะดา้ นหน้า (front shield), 2, 3, 4, 5, 6, 53. แผ่นกำบัง (screens), 7. แผน่ เกราะกำบงั (armored screen), 8, 9, 10. แผน่ กำบงั อลมู เิ นยี ม (aluminum screen), 11. แผ่นเกราะยาง (rubber shield), 12. ลวด สลัก (cotter pin), 13. แกนเพลา (axle), 14. สายรัด (strip), 15. สลัก (bolt), 16. แหวนลอ็ ค (washer), 17. บานพับ (hinge), 18. สลัก (bolt), 19, 21, 27, 29, 32, 45, 46. แผน่ ก้ัน (insert), 20, 28, 33, 44, 47. ช่องใส่ แผน่ เกราะ (cassette), 22. แผน่ ปดิ (cover), 23. บานพบั (hinge), 24. แกนเพลา (axle), 25. บานพบั (hinge), 26, 49. ช่องใส่แผน่ เกราะ (container), 30. สลัก (bolt), 31. แผน่ ปิด (cover), 34. แทน่ พัก (rest), 35. สลกั ( bolt), 36. แหวนลอ็ ค (washer), 37. สลงิ พรอ้ มสลกั รูปตวั ยู (rope with clevis), 38. แผน่ หักมุม (angle piece), 39. สลัก (bolt0, 40. ฐานตดิ ตัง้ (bracket), 41. ฐานตดิ ตั้ง (bracket), 42. สลกั (bolt), 43. แหวนล็อค (washer), 48. คนั จับ (handle), 50 แผ่นเกราะ HSCHKV–19A, 52. แผน่ เกราะ HSCHKV-34P, 54. กา้ นเหลก็ (rod), 55. บันได (ladder); 56. ชอ่ งใหบ้ รกิ ารเคร่อื งกำเนิดกำลงั (access hole for APU servicing) รูปที่ 6.7 ชอ่ งใส่แผน่ เกราะ ERAE สำหรบั แผงติดตง้ั A (Cassette with ERAE for cells A) รปู ที่ 6.8 ชอ่ งใส่แผ่นเกราะ ERAE สำหรบั แผงติดตงั้ (Cassettes ERAE for cells C)
รูปที่ 6.9 ชอ่ งใส่แผน่ เกราะ ERAE ของแผงติดต้ัง B (Cassettes with ERAE for cells B) รปู ท่ี 6.10 ช่องใส่แผน่ เกราะ ERAE สำหรบั แผงตดิ ตั้ง H (Cassettes with ERAE for cells H) ตารางที่ 6.3 จำนวนของแผ่นเกราะ ERAE ในแผ่นกำบังด้านขา้ งของตัวรถ (Quantity of ERAE in the hull side screens) จำนวน จำนวนชอ่ ง จำนวนแผ่นเกราะ จำนวนแผ่นเกราะใน จำนวนแผ่นเกราะ แผง แผง ตดิ ตั้ง ใสแ่ ผน่ ในช่องใสแ่ ผน่ เกราะ แผงตดิ ต้ัง ทงั้ หมด ตดิ ตงั้ เกราะใน HSCHKV- HSCHKV- HSCHKV- HSCHKV- HSCHKV- HSCHKV- แผงติดตั้ง 34P 19 A 34P 19 A 34P 19 A A 10 2 2 4 40 4 8 80 2 C2 1 2 2 4 2 2 4 8 B6 1 4 4 24 2 8 48 4 H2 1 6 6 12 2 12 24 6 6.6.4 การถอดแผน่ เกราะ ERAE จากตวั รถและปอ้ มปืน (Removal of ERAE in hull and turret)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217