Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาการสื่อสารประเภทวิทยุ

วิชาการสื่อสารประเภทวิทยุ

Published by qacavalry, 2021-01-15 05:49:33

Description: วิชาการสื่อสารประเภทวิทยุ
รหัสวิชา ๐๑๐๒๐๓๐๕๐๒
หลักสูตร ปฐมนิเทศนายทหารใหม่ ศึกษาผ่านสื่อฯ
แผนกวิชาสื่อสาร กศ.รร.ม.ศม.

Search

Read the Text Version

โรงเรยี นทหารมา้ วชิ า การสอ่ื สารประเภทวทิ ยุ รหสั วชิ า ๐๑๐๒๐๓๐๕๐๒ หลกั สูตร ปฐมนเิ ทศนายทหารใหม่ ศึกษาผา่ นสอื่ ฯ แผนกวชิ าสื่อสาร กศ.รร.ม.ศม. ปรัชญา รร.ม.ศม. “ฝึกอบรมวิชาการทหาร วิทยาการทนั สมัย ธารงไว้ซ่งึ คณุ ธรรม”

ปรชั ญา ทหารม้าเป็นทหารเหล่าหน่ึงในกองทัพบก ที่ใช้ม้าหรือส่ิงกาเนิดความเร็วอ่ืน ๆ เป็นพาหนะ เป็นเหล่าท่ีมีความสาคัญ และจาเป็นเหล่าหนึ่ง สาหรับกองทหารขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับเหล่าทหารอื่น ๆ โดยมีคุณลักษณะ ที่มีความคล่องแคล่ว รวดเร็วในการเคลื่อนที่ อานาจการยิงรุนแรง และอานาจในการทาลายและข่มขวัญ อันเปน็ คณุ ลักษณะทีส่ าคัญและจาเปน็ ของเหล่า โรงเรยี นทหารมา้ ศูนยก์ ารทหารม้า มปี รัชญาดงั น้ี “ฝึกอบรมวชิ าการทหาร วิทยาการทันสมยั ธารงไว้ซึ่งคุณธรรม” ปณิธาน “ โรงเรยี นทหารม้า ศูนย์การทหารม้า มุ่งพฒั นาการฝึกศึกษา วิชาการ และงานวิจัยเพื่อให้กาลังพลเป็นผู้มีความรู้ทาง วิชาการของเหล่า รวมทั้งเทคโนโลยีที่ทันสมัย ผลิตผู้นาทางทหารท่ีดีมีคุณธรรม มีความรับผิดชอบ และสามารถนา ความรไู้ ปใชใ้ นการปฏบิ ัตหิ น้าท่ีได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ” วิสยั ทศั น์ “ มีความเป็นเลศิ ในการจัดการเรียนการสอน การบริการการศึกษา และงานวิจัยผลิตกาลังพลของเหล่าทหารม้า เพื่อ เป็นกาลังหลกั ของกองทัพบก ” อตั ลักษณ์ “เข้มแขง็ มีวนิ ยั ใฝค่ วามรู้ เชดิ ชูคณุ ธรรม นอ้ มนาพระราชดารัส ปฏิบัติตามนโยบาย” เอกลักษณ์ “โรงเรียนทหารม้า มุ่งศึกษา องค์ความรู้ บูรณาการการรบทหารม้า ร่วมพัฒนาชาติ เพ่ิมอานาจกาลังรบของ กองทัพบก” พันธกจิ ๑. พัฒนาคณุ ภาพครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๒. จัดการฝึกศกึ ษาใหก้ ับกาลงั พลเหล่าทหารมา้ และเหล่าอ่นื ๆ ตามนโยบายของกองทัพบก ๓. ผลติ นายทหารช้นั ประทวนของเหล่าทหารมา้ ตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย ๔. วิจัยและพฒั นาระบบการศึกษา ๕. ปกครองบงั คับบัญชากาลังพลของหน่วย และผู้เข้ารบั การศกึ ษาหลักสตู รต่างๆ ๖. พฒั นาส่อื การเรยี นการสอน เอกสาร ตาราของโรงเรียนทหารม้า ๗. ทานุบารงุ ศิลปวัฒนธรรม วตั ถุประสงค์ ๑. เพ่ือพัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ให้กับ ผเู้ ข้ารบั การศึกษาได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ๒. เพือ่ พัฒนาระบบการศกึ ษา และจดั การเรยี นการสอนผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ให้มคี ุณภาพอยา่ งตอ่ เน่ือง ๓. เพ่ือดาเนินการฝึกศึกษา ให้กับนายทหารชั้นประทวน ที่โรงเรียนทหารม้าผลิต และกาลังพลที่เข้ารับการศึกษา ให้มี

ความรคู้ วามสามารถตามที่หนว่ ย และกองทพั บกตอ้ งการ ๔. เพื่อพฒั นาระบบการบริหาร และการจัดการทรัพยากรสนบั สนุนการเรยี นรู้ ใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสุด ๕. เพ่อื พัฒนาปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน เอกสาร ตารา ให้มคี วามทนั สมัยในการฝกึ ศึกษาอย่างตอ่ เนื่อง ๖. เพื่อพัฒนา วิจัย และให้บริการทางวิชาการ ประสานความร่วมมือ สร้างเครือข่ายทางวิชาการ กบั สถาบันการศึกษา หน่วยงานอ่นื ๆ รวมทง้ั การทานบุ ารุงศลิ ปวฒั ธรรม ..........................................................

คำนำ เอกสารตาราวิชาสื่อสารทหารมา้ เล่มน้ี ใชเ้ ป็ นคู่มือประกอบการเรียนสาหรับนายสิบ นักเรียนหลกั สูตร นายสิบอาวุโสเหล่าทหารมา้ ซ่ึงประกอบดว้ ยเน้ือหาสาระท้งั หมด 7 บทเรียน และจะมีขอบเขตครอบคลุมในเร่ืองการแนะนาเครื่องมือสื่อสารประเภทวิทยแุ ละทางสายที่มีใชใ้ น หน่วยทหารมา้ ซ่ึงประเภทวทิ ยนุ ้นั จะมีท้งั ระบบ FM และ AM แต่เน้ือหารายละเอียดของเคร่ือง ส่ือสาร จะกล่าวเฉพาะส่วนประกอบชุดและคุณลกั ษณะทางเทคนิคเท่าน้ัน ท้งั น้ีเพื่อให้นายสิบ นกั เรียนใชเ้ ป็ นแนวทางในการวางแผนการใชง้ านทางยทุ ธวิธี และใชก้ ากบั ดูแลการปฏิบตั ิงานของ เจา้ หนา้ ทที่ เ่ี ก่ียวขอ้ งกบั เครื่องมือส่ือสารของหน่วยอยา่ งมีประสิทธิภาพ เอกสารตาราเล่มน้ีไดร้ วบรวมจากหนงั สือของทางราชการ ไดแ้ ก่ คู่มือราชการสนาม(รส.) ทบ.ไทยที่เก่ียวข้อง รวมท้ังการแปลและเรียบเรียงจากคู่มือราชการสนาม (FM) ของ ทบ. สหรัฐอเมริกา และ คู่มือทางเทคนิค (TM) ของเคร่ืองส่ือสารแต่ละชนิด ซ่ึงในแต่ละทา้ ยบทจะระบุ หลกั ฐานอา้ งอิงไวเ้ พ่อื การศึกษาและ คน้ ควา้ เพม่ิ เติมต่อไป หากผรู้ ับการศึกษาและ/หรือท่านใดก็ ตามทพ่ี บขอ้ บกพร่อง หรือมีขอ้ เสนอแนะ กรุณาแจง้ โดยตรงที่ แผนกวชิ าสื่อสาร กศ.รร.ม.ศม. เพอ่ื จะไดด้ าเนินการแกไ้ ขและปรบั ปรุงตอ่ ไป แผนกวชิ าสื่อสาร กองการศกึ ษา โรงเรียนทหารมา้ ศูนยก์ ารทหารมา้ ค่ายอดิศร สระบุรี

สำรบัญ เร่ือง ชุดวทิ ยุ ANPRC-77, PRC-624 หนา้ บทที่ 1 กลุ่มชุดวทิ ยุ ANVRC-12 1 - 28 บทที่ 2 กลุ่มชุดวิทยุ CNR-900 29 – 54 บทท่ี 3 ระบบเคร่ืองติดต่อภายในรถ AN/VIC-1 55 - 105 บทที่ 4 ชุดวทิ ยุ VRC-950 / CNR-900T 106 – 119 บทที่ 5 120 - 135 ..............................

1 บทที่ 1 ชุดวทิ ยุ AN / PRC - 77 และ PRC - 624 ( RADIO SET AN/PRC-77 , PRC - 624 ) 1. กล่าวท่ัวไป ชุดวทิ ยุ AN/PRC–77 เป็ นชุดวทิ ยทุ ่ีใชก้ ารส่ือสารแบบสองทาง (Duplex Communication) ติดต่อ ในระยะใกล้ ใชร้ ะบบการปรุงคลื่นแบบ FM. รบั -ส่งดว้ ยสญั ญาณแบบคาพดู หรือวทิ ยโุ ทรศพั ท์ ชุดวทิ ยุที่ จดั อยใู่ นประเภทเดียวกนั กบั ชุดวทิ ยุ AN/PRC–77 ไดแ้ ก่ ชุดวทิ ยุ AN/VRC–64 และชุดวทิ ยุ AN/GRC-160 ซ่ึง แต่ละชุดจะมีความแตกต่างกนั ท่ีรายการส่วนประกอบชุดติดต้งั จึงทาให้การเรียกช่ือชุดวิทยุเปลี่ยนตามไป อยา่ งไรกต็ ามรายการส่วนประกอบหลกั คอื เคร่ืองรับ-ส่ง ก็ยงั คงใช้ RT-841 เหมือนกนั นอกจากน้ันชุดวทิ ยุ เหล่าน้ี ยงั สามารถใชง้ านร่วมกบั อุปกรณ์เพิ่มเติมเพ่ือวตั ถุประสงคอ์ ื่นๆ เช่น การใชง้ านชุดวิทยจุ ากท่ีไกล (Remote Control), การสนธิวทิ ยรุ ่วมทางสาย และการใชง้ านร่วมกบั เคร่ืองตดิ ต่อภายในรถ AN/VIC-1 เป็นตน้ 2. คาเตือนและข้อควรระวัง 2.1 ระวงั อยา่ ใหเ้ สาอากาศของชุดวทิ ยไุ ปสมั ผสั สายไฟแรงสูง หรือแหล่งจา่ ยกาลงั งานไฟฟ้าใดๆ เพราะอาจทาใหไ้ ดร้ บั บาดเจบ็ หรือเสียชีวติ ได้ 2.2 ถอดแบตเตอรี่ออกจากกล่องบรรจุ CY - 2562 เม่ือเครื่องรบั -ส่งติดต้งั ใชง้ านบนยานยนต์ 2.3 ชุดวทิ ยทุ ีอ่ ยหู่ ่างกนั ในรศั มีไม่เกิน 25 ฟตุ ไม่ควรใชค้ วามถ่ีใกลก้ นั ต้งั แต่ 3 MHz ลงมา เพราะ อาจเกิดการรบกวนกนั ได้ 2.4 เมื่อติดต้งั ใชง้ านบนยานยนต์ อยา่ ต่อสายไฟฟ้ากลบั ข้วั เพราะจะทาใหเ้ ครื่องขยาย AM - 2060 ชารุดได้ 2.5 อยา่ กดสวติ ชป์ ากพดู ในขณะเปล่ียนความถ่ี และ/หรือเปล่ียนยา่ นความถี่ (Band) เพราะอาจทาให้ ส่วนประกอบภายในเคร่ืองชารุด หรืออาจทาใหค้ วามถี่คลาดเคลื่อนได้ 2.6 ใหป้ ิ ดไฟเขา้ เคร่ืองขยาย AM-2060 และ AM-1780 (ถา้ มี) ก่อนทจี่ ะติดหรือดบั เครื่องยนต์ 3. คณุ ลักษณะทางเทคนิคของเคร่ืองรับ-ส่ง 3.1 ยา่ นความถ่ี ( Frequency Range ) 30.00 - 75.95 MHz ยา่ นความถี่ต่า (BAND A) 30.00 - 52.95 MHz ยา่ นความถี่สูง (BAND B) 53.00 - 75.95 MHz 3.2 สญั ญาณการรบั -ส่ง คาพดู /วทิ ยโุ ทรศพั ท์ 3.3 จานวนช่องความถี่ (Channel Number) 920 ช่อง 3.4 ระยะห่างระหวา่ งช่องความถ่ี (Channel Spacing) 50 KHz 3.5 ต้งั ความถ่ีใชง้ านล่วงหนา้ ( Preset ) ได้ 2 ความถี่ 3.6 ระบบการปรุงคล่ืน FM. 3.7 การตดั เสียงซู่ (Squelch ) ทางานโดยใชค้ วามถี่ TONE 150 Hz

2 3.8 กาลงั ส่งออกอากาศ 1.5 ถึง 4 วตั ต์ 3.9 ระยะการติดตอ่ ( ข้นึ อยกู่ บั ภูมิประเทศ ) 5 ไมล์ ( 8 กม.) 3.10 สญั ญานความถี่เสียงท่ีทาการส่งเม่ือกดสวติ ชป์ ากพดู ความถี่เสียง ( 15000-20000 Hz ) และ 150 Hz ของวงจร SQUELC 3.11 สญั ญานความถ่ีเสียงทร่ี บั ฟังเม่ือปล่อยสวติ ชป์ ากพดู ความถ่ีเสียง ( 15000-20000 Hz ) ท้งั มี และไม่มี 150 Hz ของวงจร SQUELCH 3.12 กาลงั งานไฟฟ้าทใ่ี ชภ้ ายในเครื่องรับ - ส่ง การส่งออกอากาศ 12.5 - 15 V.DC. ( ประมาณ 0.06 AMP.) 3.13 สายอากาศ ใช้ AS-1729 ตดิ ต้งั บนยานยนต์ ใช้ AT-271(10 ฟุต ) หรือ AT - 892 (3 ฟตุ ) ตดิ ต้งั ประจากายใช้ 3.14 แบตเตอร่ีทใ่ี ชก้ บั ชุดวทิ ยปุ ระจากาย แบตเตอรี่แหง้ BA - 386 , BA -4386 หรือ BA - 398 ( ใชใ้ นแถบข้วั โลก ) 3.15 อายกุ ารใชง้ านของแบตเตอรี่ BA - 386 30 ชม. ในอตั ราการรบั - ส่ง 9 ตอ่ 1 3.16 อายกุ ารใชง้ านของแบตเตอรี่ BA - 4386 60 ชม. ในอตั ราการรบั - ส่ง 9 ต่อ 1 4. คุณลักษณะทางเทคนิคของเคร่ืองขยาย-แหล่งจ่ายกาลงั งานไฟฟ้า OA - 3633 4.1 แรงไฟเขา้ ( Input Voltage ) 22 - 28 V.DC. 4.2 แรงไฟออก ( Output Voltage ) 13.3 และ 2.6 V.DC. 4.3 ยา่ นความถ่ีเสียงออกลาโพง (Frequency Response) 300 - 3000 Hz 5. ส่วนประกอบชุด 5.1 ชุดวทิ ยุ AN/PRC – 77 RT-841 CY-2562 H-189 BA-386 CW-503 ST-138 AB-591 AT-271 AT-892 รูปที่ 1 ส่วนประกอบชุด ชุดวิทยุ AN/PRC-77

3 1) เครื่องรบั - ส่ง RT - 841 รวมท้งั กล่องแบตเตอรี่ CY – 2562 2) เสาอากาศส้นั AT - 892 (3 ฟุต) 3) เสาอากาศยาว AT – 271 (10 ฟตุ ) 4) ฐานเสาอากาศยาว AB – 591 5) ปากพดู หูฟัง H - 189 หรือ H - 138 หรือ H – 250 6) เคร่ืองสะพายหลงั ST – 138 7) ถุงใส่อุปกรณ์ CW – 503 8) 5.2 ชุดวทิ ยุ AN/VRC – 64 OA-3633 AM-2060 RT-841 MX-6707 AS-1730 CX-4655 AT-1029 เชือกร้งั เสา ท่คี รอบปลายเสา รูปท่ี 2 ส่วนประกอบชุด ชุดวทิ ยุ AN/VRC – 64 1) เครื่องรับ - ส่ง RT - 841 รวมท้งั กล่องแบตเตอรี่ CY – 2562 2) เครื่องขยาย-แหล่งจา่ ยกาลงั งานไฟฟ้า OA–3633 ซ่ึงประกอบดว้ ย AM–2060 และ CX–4655 3) ชุดสายอากาศ AS - 1729 ซ่ึงประกอบดว้ ย - เสาอากาศท่อนบน AT – 1095 พร้อมครอบปลายเสา - เสาประกอบทอ่ นล่าง AS - 1730 - เคร่ืองปรับวงจรเสาอากาศ MX - 6707 - เชือกร้ังเสาอากาศ 5.3 ชุดวทิ ยุ AN/GRC - 160 1) ส่วนประกอบของชุดวทิ ยุ AN/PRC - 77 ( ดูขอ้ 5.1 ) 2) เคร่ืองขยาย-แหล่งจ่ายกาลงั งานไฟฟ้า OA - 3633 ( ดูขอ้ 5.2 2) )

4 3) ชุดสายอากาศ AS - 1729 ( ดูขอ้ 5.2 3) ) 6. การตดิ ต้งั ใช้งาน 6.1 การติดต้งั บนยานยนต์ จะมีท้งั การติดต้งั บนยานยนตล์ อ้ และการตดิ ต้งั บนยานยนตส์ ายพาน ซ่ึงเป็ นหน้าท่ีของช่างวิทยุประจาหน่วย เป็ นผูด้ าเนินการติดต้งั อุปกรณ์ต่างๆ ซ่ึงจะตอ้ งเบิกรายการ ส่วนประกอบชุดของชุดติดต้งั ชุดวทิ ยุ แยกต่างหากจากรายการส่วนประกอบชุดของชุดวทิ ยุ ตามชนิดของ ยานยนตท์ ี่ใชต้ ดิ ต้งั 6.2 การตดิ ต้งั แบบประจากาย (Man pack) เป็นหนา้ ท่ีของพนกั งานวทิ ยหุ รือผใู้ ชช้ ุดวทิ ยุ (Operator Or User ) โดยปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี.- 6.2.1 การตดิ ต้งั แบตเตอร่ี 1) วางเครื่องรับ - ส่ง โดยควา่ หนา้ เครื่องลงกบั พน้ื 2) ปลดขอยดึ 2 ตวั แลว้ ถอดกล่องแบตเตอรี่ออกจากเครื่องรบั -ส่ง 3) ตรวจดูเครื่องวา่ ไม่ชารุดหรือหลุดหลวม ขนั ควงช่องระบายล้ินลดแรงดนั ใหแ้ น่น 4) ใส่แบตเตอร่ีโดยใหข้ ้วั ต่อของแบตเตอรี่ตรงกบั ข้วั ตอ่ ของเคร่ืองรบั -ส่ง 5) ประกอบกล่องแบตเตอรี่ เขา้ กบั เครื่องรบั -ส่ง แลว้ ยดึ ขอยดึ 2 ตวั รูปท่ี 3 การประกอบแบตเตอรี่ 6.2.2 การประกอบเคร่ืองรบั -ส่ง เขา้ กบั เครื่องสะพายหลงั 1) วางเครื่องสะพายหลงั ST - 138 ลงกบั พ้นื ราบโดยใหด้ า้ นทม่ี ีแผน่ กรอบเหลก็ อยดู่ า้ นบน

5 2) วางเคร่ืองรับ-ส่ง ลงบนเคร่ืองสะพาย ST - 138 ใหด้ า้ นหนา้ เครื่องรบั -ส่ง อยดู่ า้ นบน และกล่องแบตเตอรี่วางพกั อยบู่ นกระบงั ของแผน่ เหล็กท้งั สองขา้ ง 3) ยดึ เคร่ืองรับ-ส่ง เขา้ กบั เครื่องสะพายหลงั ST-138 ดว้ ยเขม็ ขดั 2 เสน้ 4) เหน็บขอยดึ ของถุงใส่อุปกรณ์ CW-503 เขา้ กบั ทเ่ี ก่ียวขอยดึ ของเคร่ืองสะพายหลงั ST-138 วงแหวนสายรัดไหล่ หัวเขม็ ขดั รัดสายรัดไหล่ สายรัดไหล่ ถุง CW-503 RT-841 สายรัดเคร่ืองรับ-ส่ง กรอบโลหะ สสาายยรัดเข็มขดั รัดเขม็ ขดั สายรัดไหล่ช่วงล่าง รูปท่ี 4 การประกอบเคร่ืองสะพายหลงั 6.2.3 การประกอบเคร่ืองสะพายหลงั ST - 138 เขา้ กบั ลาตวั 1) ตอ่ ข้วั ต่อของปากพดู หูฟัง เขา้ กบั ข้วั ต่อ AUDIO ที่เคร่ืองรบั -ส่ง 2) ตดิ ต้งั เสาอากาศส้นั AT-892 หรือเสาอากาศยาว AT-271 ตามตอ้ งการ 3) ประกอบเครื่องสะพายหลงั ST-138 ท่มี ีเคร่ืองรบั -ส่งติดต้งั อยแู่ ลว้ เขา้ กบั แผน่ หลงั ของ พนกั งานวทิ ยุ และคลอ้ งสายรัดสะพายไหล่เขา้ กบั ไหล่ท้งั สองขา้ งของพนกั งานวทิ ยุ 4) สอดสายรดั เสน้ ล่างดา้ นขวาเขา้ ในห่วงเหล็ก แลว้ สอดเขา้ ในตวั เขม็ ขดั ท่ีสายคลอ้ งไหล่ขวา 5) สอดปลายสายรัดเสน้ ล่างดา้ นซา้ ยเขา้ ในห่วงเหลก็ แลว้ สอดเขา้ ในหวั เขม็ ขดั ท่สี าย คลอ้ งไหล่ซา้ ย 6) เกี่ยวขอเก่ียวเขม็ ขดั เขา้ กบั รูบนของเขม็ ขดั สนามดา้ นหนา้ ของพนกั งานวทิ ยุ

6 รูปที่ 5 การประกอบเครื่องสะพายหลงั เข้ากบั ลาตวั 7. หน้าท่ีของป่ มุ ควบคมุ , สวติ ช์และข้วั ต่อต่างๆ 7.1 เครื่องรับ - ส่ง RT – 841 ANT PRESET PRESET POWER 53-75 ANT ฐานติดต้งั เสาอากาศ ป่ มุ MC ช่องความถ่ี ป่ ุม KC สวติ ชเ์ ลือกใชง้ าน รูปท่ี 6 เครื่องรับ-ส่ง RT-841 1) สวติ ชเ์ ลือกการทางาน มี 5 ตาแหน่ง ดงั น้ี.-

7 ๏ OFF ปิ ดไฟเขา้ เครื่อง ๏ ON เปิ ดไฟเขา้ เคร่ือง ๏ SQUELCH เปิ ดไฟเขา้ เคร่ืองและตดั เสียงซู่เมื่อมีสญั ญาณเขา้ มา ๏ RETRANS ใชใ้ นการส่งต่อ ๏ LITE (มีสปริงดีดกลบั ) เม่ือบดิ คา้ งในตาแหน่งน้ี หลอดไฟส่องหนา้ ปัทมบ์ อกความถี่จะตดิ 2) สวติ ช์ BAND เป็ นสวติ ชเ์ ลือกยา่ นความถ่ีใชง้ าน มี 2 ตาแหน่ง ๏ A 30 - 52 เลือกใชย้ า่ นความถ่ีต่า ( 30.00 - 52.95 MHz ) ๏ B 53 - 75 เลือกใชย้ า่ นความถี่สูง ( 53.00 - 75.95 MHz ) 3) หนา้ ปัทมบ์ อกความถ่ี REC-TRANS Frequency เป็นหนา้ ปัทมแ์ สดงตวั เลขของความถี่ใชง้ าน 4) ป่ ุมปรับต้งั ความถ่ี MC (ป่ ุมซา้ ย) ใชป้ รับต้งั ความถ่ีโดยเปลี่ยนไดต้ าแหน่งละ 1 MHz แสดง ความถี่ดว้ ยตวั เลข 2 ตวั ทางซา้ ยมือของหนา้ ปัทมบ์ อกความถ่ี 5) ป่ ุมปรับต้งั ความถ่ี KC (ป่ ุมขวา) ใชป้ รับต้งั ความถ่ี โดยเปลี่ยนไดต้ าแหน่งละ 50 KHz แสดง ความถี่ดว้ ยตวั เลข 2 ตวั ทางขวามือของหนา้ ปัทมบ์ อกความถี่ 6) ป่ มุ PRESET ใชใ้ นการปรบั ต้งั ความถ่ีใชง้ านล่วงหนา้ 7) ป่ มุ VOLUME ใชป้ รบั ระดบั ความดงั ของเสียงในการรับฟัง 8) ข้วั ตอ่ AUDIO ใชส้ าหรับต่อปากพดู หูฟัง 9) ข้วั ตอ่ ANT ใชต้ ่อสายอากาศแบบติดต้งั ประจาที่ เช่น RC-292 และสายอากาศติดต้งั บนยานยนต์ 10) ฐานเสาอากาศ ANT ใชต้ ดิ ต้งั เสาอากาศส้นั AT-892 และเสาอากาศยาว AT-271 11) ข้วั ต่อ POWER ใชต้ อ่ สาย CX - 4655 เมื่อใชร้ ่วมกบั เคร่ืองขยาย-แหล่งจ่ายกาลงั งานไฟฟ้า OA – 3633 7.2เคร่ืองขยาย-แหล่งจ่ายกาลงั งานไฟฟ้า AM - 2060 (ส่วนประกอบของ OA-3633 ) ป่ มุ MC สวติ ชต์ ดั วงจร ฐานเสาอากาศ ช่องความถี่ ป่ มุ KC สวิตชเ์ ลือกใชง้ าน รูปท่ี 7 เครื่องขยาย-แหล่งจ่ายกาลงั งานไฟฟ้า AM - 2060

8 1) สวติ ช์ PWR เม่ือมีกระแสไฟไหลผา่ นเกิน 4 แอมป์ จะดีดกลบั เอง มี 2 ตาแหน่ง คือ ๏ OFF ปิ ดไฟเขา้ เคร่ือง ๏ ON เปิ ดไฟเขา้ เครื่อง 2) สวติ ช์ SPKR ใชต้ ดั และตอ่ วงจรลาโพง ๏ OFF ปิ ดเสียงออกลาโพง ๏ ON เปิ ดเสียงออกลาโพง 3) สวติ ช์ ANT FREQ Control ใชค้ วบคุมการปรับวงจรสายอากาศโดยอตั โนมตั ติ ามความถี่ท่ีใช้ งาน มี 10 ตาแหน่ง ๏ 30 - 33 เมื่อใชค้ วามถ่ี 30 - 33 MHz ๏ 33 - 37 เม่ือใชค้ วามถ่ี 30 - 37 MHz ๏ 37 - 42 เม่ือใชค้ วามถี่ 37 - 42 MHz ๏ 42 - 47 เม่ือใชค้ วามถี่ 42 - 47 MHz ๏ 47.5 - 53 เมื่อใชค้ วามถี่ 47.5 - 53 MHz ๏ 53 - 56 เมื่อใชค้ วามถี่ 53 - 56 MHz ๏ 57 - 60 เมื่อใชค้ วามถ่ี 57 - 60 MHz ๏ 60 - 65 เม่ือใชค้ วามถี่ 60 - 65 MHz ๏ 65 - 70.5 เมื่อใชค้ วามถี่ 65 - 70.5 MHz ๏ 70.5 - 76 เม่ือใชค้ วามถ่ี 70.5 - 76 MHz 4) ข้วั ตอ่ ANT Control (อยดู่ า้ นหลงั ของตวั เคร่ือง) ใชต้ ่อสาย CX-4722 5) ข้วั ตอ่ SET POWER ใชต้ อ่ สาย CX-4655 ไปเขา้ ข้วั ต่อ POWER ของเครื่องรับ-ส่ง RT-841 6) ข้วั ต่อ POWER INPUT (อยดู่ า้ นหลงั ของตวั เคร่ือง) ใชต้ ่อวงจรตา่ งๆ เขา้ กบั ฐาน MT-1029 7.3 เคร่ืองปรับวงจรสายอากาศ MX - 6707 (ส่วนประกอบของ AS-1729 ) 1) สวติ ช์ S1 ปรบั วงจรสายอากาศ ทางานดว้ ยตวั ตดั ต่อ (Relay) โดยอตั โนมตั ิ แต่อาจปรับต้งั ดว้ ย มือเม่ือมีขอ้ ขดั ขอ้ ง สวติ ชน์ ้ีมี 10 ตาแหน่งเช่นเดียวกบั สวติ ช์ ANT FREQ Control ที่ AM – 2060 2) ข้วั ตอ่ J1 ต่อสาย CG - 1773 ไปเขา้ ข้วั ตอ่ ANT ทหี่ นา้ เคร่ืองรบั -ส่ง 3) ข้วั ตอ่ J2 ต่อสาย CX-4722 ไปเขา้ ข้วั ต่อ ANT Control ทหี่ ลงั เคร่ือง AM - 2060 8. การใช้งานชุดวทิ ยุ 8.1 การใชง้ านชุดวทิ ยแุ บบประจากาย 1) ตดิ ต้งั เสาอากาศเขา้ กบั เคร่ืองรับ – ส่ง 2) ตอ่ ปากพดู หูฟังเขา้ ท่ีข้วั ต่อ AUDIO หนา้ เคร่ืองรับ – ส่ง 3) บดิ สวติ ชเ์ ลือกการใชง้ าน ไปตาแหน่ง ON 4) บิดสวติ ช์ BAND ไปทยี่ า่ นความถ่ีที่ตอ้ งการใชง้ าน

9 5) หมุนป่ ุมปรบั ต้งั ความถ่ี MC และ KC ใหต้ วั เลขความถ่ีใชง้ านปรากฏที่หนา้ ปัทมบ์ อกความถี่ 6) หมุนป่ ุม VOLUME ไปที่ตาแหน่ง 4 และ/หรือปรบั ใหไ้ ดร้ ะดบั เสียงตามตอ้ งการ 7) ถา้ ตอ้ งการตดั เสียงซู่ ใหบ้ ดิ สวติ ชเ์ ลือกการทางานไปตาแหน่ง Squelch 8) กดสวติ ชป์ ากพดู เมื่อทาการส่งขา่ ว และปล่อยสวติ ชป์ ากพดู เมื่อรบั ฟัง 9) การปิ ดเครื่อง ใหบ้ ิดสวติ ชเ์ ลือกการใชง้ านไปตาแหน่ง OFF 8.2 การใชง้ านชุดวทิ ยทุ ใ่ี ชร้ ่วมกบั OA - 3633 เมื่อตดิ ต้งั บนยานยนต์ 1) ตรวจสายต่อระบบสายอากาศวา่ ไดต้ อ่ ไวเ้ รียบรอ้ ย 2) ต่อข้วั ตอ่ ปากพดู -หูฟัง ท่ีข้วั ต่อ AUDIO หนา้ เครื่องรบั – ส่ง 3) บดิ สวติ ชเ์ ลือกการใชง้ านของเคร่ืองรบั - ส่ง ไปตาแหน่ง ON 4) ผลกั สวติ ช์ PWR ของ AM - 2060 ไปตาแหน่ง ON 5) หมุนป่ ุม VOLUME ท่เี ครื่องรบั -ส่ง ใหไ้ ดร้ ะดบั เสียงตามตอ้ งการ 6) ถา้ ตอ้ งการใชว้ งจรตดั เสียงซู่ ใหบ้ ดิ สวติ ชเ์ ลือกการใชง้ านของเครื่องรบั -ส่งไปตาแหน่ง Squelch 7) ถา้ ตอ้ งการใหเ้ สียงออกลาโพง ให้ผลกั สวติ ช์ SPKR ท่ี AM - 2060 ไปตาแหน่ง ON แลว้ ปรับ ป่ มุ VOLUME ท่เี คร่ืองรับ - ส่ง ใหไ้ ดร้ ะดบั เสียงตามตอ้ งการ 8) บิดสวติ ช์ BAND ของเครื่องรับ-ส่ง ไปยงั ยา่ นความถ่ีทต่ี อ้ งการใชง้ าน 9) หมุนป่ ุมปรับต้งั ความถี่ MC และ KC ของเครื่องรับ-ส่งใหต้ วั เลขความถี่ท่ีใชง้ าน ปรากฏท่ี หนา้ ปัทมบ์ อกความถ่ี 10)บิดสวติ ช์ ANT FREQ Control ของ AM - 2060 ไปตาแหน่งท่ีมียา่ นความถ่ีคลุมความถ่ีใชง้ าน 11)การรับ-ส่ง ให้กดสวิตช์ปากพูดและพูดท่ีปากพดู เม่ือทาการส่งข่าว และปล่อยสวิตช์ปากพูด ฟังที่หูฟังเม่ือรบั ขา่ ว 12)การปิ ดเครื่อง ผลกั สวิตช์ PWR ของ AM - 2060 ไปตาแหน่ง OFF และบิดสวติ ช์เลือกการ ทางานของเคร่ืองรับ-ส่ง ไปตาแหน่ง OFF 9. การปรับต้งั ความถ่ีล่วงหน้า สามารถปรับต้งั ความถี่ล่วงหนา้ ได้ 2 ความถี่ 1) ผลกั กระเด่ืองใหพ้ น้ จากป่ มุ ปรับต้งั ความถี่ KC 2) หมุนปรับต้งั ความถ่ี KC ใหค้ วามถี่ KC ที่ต่ากวา่ ปรากฏทห่ี นา้ ปัทมบ์ อกความถ่ี 3) ผลกั กระเดื่องใหพ้ ลิกเขา้ หาป่ ุมปรับต้งั ความถี่ KC และคลายควงผีเส้ือท่ีป่ ุมปรับต้งั ความถี่ KC ให้ หลวม 4) ดึงป่ ุมปรับต้งั ความถี่ KC ส่วนล่างข้ึน แลว้ หมุนทวนเขม็ นาฬิกาจนกว่าจะงอยชนกระเด่ืองแลว้ ขนั ควงผเี ส้ือใหแ้ น่น 5) ผลกั กระเด่ืองออกจากป่ ุมปรับต้งั ความถ่ี KC 6) หมุนป่ มุ ปรบั ต้งั ความถ่ี KC ใหค้ วามถี่ KC ท่ีสูงกวา่ ปรากฏที่หนา้ ปัทมบ์ อกความถ่ี 7) คลายควงผเี ส้ือใหห้ ลวมและผลกั กระเดื่องเขา้ หาป่ มุ ปรบั ต้งั ความถ่ี KC

10 8) ดึงป่ ุมปรบั ต้งั ความถี่ KC ส่วนบนข้นึ ใหท้ บั ส่วนล่าง แลว้ หมุนตามเขม็ นาฬกิ าจนจะงอยชนกระเด่ือง 9) ขนั ควงผเี ส้ือทปี่ ่ ุมปรบั ต้งั ความถี่ KC ใหแ้ น่น 10) เม่ือความถ่ีจานวนเตม็ MHz อยใู่ น BAND เดียวกนั ใหท้ าการปรบั ต้งั ความถ่ีล่วงหน้าที่ป่ ุมปรับต้งั ความถี่ MC เช่นเดียวกบั ป่ มุ ปรับต้งั ความถ่ี KC 11)ถา้ ความถี่จานวนเตม็ MHz อย่ตู ่าง BAND กนั ให้นาความถี่เป็ น MHz ไปลบกนั ถา้ ผลต่าง มากกว่า 23 ให้ถือวา่ ความถ่ีใน BAND ต่าน้นั ต่ากว่าความถี่ใน BAND สูง ( ให้ต้งั ความถ่ีต่าก่อน ) ถา้ ผลตา่ งนอ้ ยกวา่ 23 ใหถ้ ือวา่ ความถี่ใน BAND สูงน้นั ต่ากว่าความถี่ใน BAND ต่า (ใหต้ ้งั ความถี่สูงก่อน ) แลว้ ทาการปรบั ต้งั เช่นเดียวกบั ป่ มุ ปรับต้งั ความถี่ KC ************************************ หลักฐานอ้างองิ : 1. TM 11-5820-667-12 Radio Set AN/PRC-77, June 1967 2. TM 11-5820-498-12 Radio Set AN/VRC-53, AN/VRC-64, AN/GRC-125, AN/GRC-160, 31 May 1967

11 ชุดวทิ ยุ PRC – 624 ( RADIO SET PRC-624 ) 1. กล่าวท่ัวไป ชุดวิทยุ PRC-624 เป็ นชุดวิทยใุ ชง้ านระดบั หมู่มีขนาดเล็ก น้าหนกั เบา สะดวกในการพกพา จะใช้ แบบมือถือ (Handheld) หรือห้ิวสะพาย (Manpack) ก็ได้ มีความง่ายในการใชง้ านและสามารถทดสอบ ตวั เองได้ ชุดวทิ ยุ PRC-624 ใชง้ านในยา่ น VHF / FM ติดตอ่ สื่อสารในระยะใกล้ เป็ นชุดวิทยใุ นตระกูล เดียวกับกลุ่มชุดวิทยุ CNR-900 ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ท้ังหมด และควบคุมการทางานด้วย ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) สามารถปรับต้งั ความถี่ล่วงหน้าได้ 10 ความถี่ นอกจากน้ียงั สามารถใชอ้ ุปกรณ์ส่วนประกอบชุดบางอยา่ งร่วมกบั ชุดวทิ ยุ AN/PRC -77 ได้ 2. คณุ ลักษณะทางเทคนิค 2.1 คุณลกั ษณะทว่ั ไป 1) ยา่ นความถี่ 30.000 - 87.975 MHz 2) จานวนช่องความถี่ 2320 ช่อง 3) ระยะห่างระหวา่ งช่องความถี่ 25 KHz 4) ระบบการปรุงคล่ืน FM 5) จานวนช่องต้งั ความถี่ล่วงหนา้ 10 ช่อง 6) สญั ญาณการรับ – ส่ง คาพดู และขอ้ มูล 2.2 คุณลกั ษณะเครื่องส่ง  กาลงั ส่งสูง ( HI ) 2 วตั ต์ (สามารถปรับใหส้ ูงถึง 2.6 วตั ต์ )  กาลงั ส่งต่า ( LO ) 1 วตั ต์ (สามารถปรับไดต้ ่าถึง 0.25 วตั ต์ )  ระยะการติดตอ่ (จากการทดสอบในสนามโดยใชก้ าลงั ส่งสูงและสายอากาศ AT- 624) - พ้นื ทีร่ าบ 3 - 4 กม. - พน้ื ทีป่ ่ าโปร่ง 3 กม. - พน้ื ที่ป่ าโปร่งสลบั เนิน 3 กม. - พ้นื ทปี่ ่ าคอ่ นขา้ งทึบ 1.5 กม.  แบบของ SQUELCH TONE 150 Hz  ความส้ินเปลืองกระแสไฟฟ้า 550 มิลลิแอมป์ ท่กี าลงั ส่ง 2 วตั ต์ 2.6 คุณลกั ษณะเคร่ืองรับ  ความไวในการรบั 0.4 ไมโครโวลท์ ท่ี 10 เดซิเบล  ระดบั สญั ญาณเสียง - ลาโพงในตวั 350 มิลลิวตั ต์

12 - ลาโพงภายนอก 180 มิลลิวตั ต์ - Handset หรือ Headset 10 มิลลิวตั ต์  ความสิ้นเปลืองกระแสไฟฟ้า 50 มิลลิวตั ต์  แบบของ SQUELCH TONE 150 Hz 3.6 แหล่งจา่ ยกาลงั งานไฟฟ้า  ใชแ้ หล่งจา่ ยแรงไฟในยา่ น 10 - 17 VDC  อายกุ ารใชง้ านของแบตเตอรี่ เม่ือใชก้ าลงั ส่ง 2 วตั ต์ - แบตเตอรี่ NiCd ประมาณ 14 ชม.ทีอ่ ตั รา รับ-ส่ง-STANDBY = 2:1:7 - แบตเตอรี่ลิเธี่ยม ประมาณ 14 ชม.ทีอ่ ตั รา รับ-ส่ง-STANDBY = 2:1:7 - แบตเตอร่ีอลั คาลายน์ ประมาณ 18 ชม.ทีอ่ ตั รา รับ-ส่ง-STANDBY = 2:1:7 4. รายการส่วนประกอบชุด ชุดวทิ ยุ PRC - 624 มีอุปกรณ์หลกั และเพมิ่ เตมิ เพอื่ ใชใ้ นการตดิ ต้งั ใชง้ านตามรูปท่ี 1 และตารางที่ 1 CX-6240 RT-624 HS-624 CX-624 H-250 BP - 624 AT-64VS BT -6624 AT-624 ขอ้ ต่อเสา AT-624L AT-624S TNC - 624 รูปที่ 1 ส่วนประกอบชุด ชุดวิทยุ PRC - 624

13 ตารางท่ี 1 แสดงรายการส่วนประกอบชุด ชุดวทิ ยุ PRC - 624 ตอ่ ชุด ประเภท ลาดบั รายการ ช่ือ จานวน มาตรฐาน 1. เคร่ืองรบั - ส่ง RT-624 AT-624 รายการ 2. สายอากาศแบบท่อน (Whip) 70 ซม. CW-624 TNC-624 1 แจกจ่าย 3. ซองใส่เครื่องรับ - ส่ง BT-6624 BP-624 1 4. หมอ้ แบตเตอรี่แบบนิกเกิล-แคดเมียม (NiCd) หรือ 1 หมอ้ แบตเตอรี่แบบลิเธี่ยม (Lithium) หรือ - 1 รายการซ่ึง 5. หมอ้ แบตเตอรี่แบบอลั คาลายน์ 10 กอ้ น(Alkaline) H-250 ST-624 1 เลือกได้ 6. ฐานและเสาอากาศแบบอ่อนตวั ได้ AT-624 AT-624S 1 7. ปากพดู - หูฟัง (Handset) AT-624VS HS-624 รายการ 8. แผงสะพาย CX-6240 CX-624 1 สารอง 9. สายอากาศแบบทอ่ น (Whip) 50 ซม. 1 10. สายอากาศแบบท่อนชนิดอ่อนตวั ได้ 30ซม. BCT-624/5 1 11. สายอากาศแบบท่อน 18 ซม. 1 12. ปากพดู - หูฟัง แบบสวมศีรษะ (Headset) 1 13. สายเคเบลิ ต่อระหวา่ ง RT-624 1 สายเคเบลิ สาหรบั การส่งต่อ 1 14. 1 เคร่ืองประจุแบตเตอร่ีใชไ้ ฟ AC (ขนาด 5 หมอ้ ) 1 1 5. การสนธิวิทยุ PRC - 624 กบั อปุ กรณ์อ่ืนๆ ชุดวทิ ยุ PRC-624 เป็ นชุดวทิ ยรุ ุ่นใหม่ใชค้ วามถ่ียา่ น VHF ซ่ึงสามารถใชง้ านไดใ้ นลกั ษณะต่างๆ หลายๆภารกิจ โดยการสนธิกบั อุปกรณ์ประกอบชุดและ/หรืออุปกรณ์พเิ ศษ (ในคู่มือเล่มน้ีจะอธิบายเฉพาะ ส่วนประกอบชุดที่มีอยเู่ ท่าน้นั ) ไดแ้ ก่ 5.1 แหล่งจ่ายกาลงั งานไฟฟ้า 1) หมอ้ แบตเตอร่ีนิกเกิล แคดเมียม ( NiCd ) TNC – 624 2) หมอ้ แบตเตอรี่ลิเธ่ียม BT – 6624 3) หมอ้ แบตเตอร่ีอลั คาลายน์ ขนาด AAจานวน 10 กอ้ น, BP - 624 5.2 เครื่องขยายกาลงั ความถ่ี (เลือกได้ ) ใชส้ าหรบั เพม่ิ กาลงั ส่งไดถ้ ึง 20 วตั ต์ 5.3 การใชอ้ ุปกรณ์เพมิ่ เตมิ ของ ชุดวทิ ยุ AN/PRC - 77

14 1) เสาอากาศส้นั AT – 892 2) ปากพดู - หูฟัง H - 189 หรือ H - 250 5.4 การใชง้ านร่วมกบั ชุดวทิ ยรุ ุ่นเก่าและรุ่นใหม่ 5.4.1 ดา้ นความถ่ี : ชุดวทิ ยุ PRC-624 สามารถติดต่อส่ือสารกบั ชุดวทิ ยุ VHF/FM รุ่นเก่า ไดแ้ ก่ ชุดวิทยุ AN/PRC-77, AN/VRC-64, AN/GRC–160, กลุ่มชุดวิทยุ AN/VRC-12 และชุดวิทยุอื่นๆ ท่ีมี คุณลกั ษณะเหมือนกนั ยา่ นความถี่ใชง้ านชุดวทิ ยรุ ุ่นเก่าจะใชต้ ้งั แต่ 30.00 - 75.95 MHz และมีระยะห่าง ระหวา่ งช่องความถ่ี 50 MHz แตช่ ุดวทิ ยรุ ุ่นใหม่จะใชต้ ้งั แต่ 30-88 MHz และมีระยะห่างระหว่างช่องความถ่ี 25 MHz เช่น กลุ่มชุดวทิ ยุ CNR - 900 เป็นตน้ 5.4.2 ดา้ นวงจร Squelch : ชุดวิทยุ PRC - 624 ใชว้ งจร Squelch แบบใหม่ (TONE 150 Hz) เหมือนกบั กลุ่มชุดวทิ ยุ CNR - 900 และยงั ใชง้ านร่วมกบั ชุดวทิ ยรุ ุ่นเก่าที่มีวงจร Squelch แบบเดียวกนั ได้ อีกดว้ ย 5.4.3 ดา้ นวงจรสญั ญาณเสียง : ชุดวทิ ยุ PRC - 624 มีวงจรสญั ญาณเสียงเหมือนกบั ชุดวทิ ยรุ ุ่นเก่า ดงั น้นั เคร่ืองอุปกรณ์ทางเสียงของชุดวทิ ยรุ ุ่นเก่าจงึ สามารถตอ่ ใชง้ านกบั ข้วั ต่อของชุดวทิ ยุ PRC - 624 ได้ 6. ระบบการทดสอบตวั เอง 6.1 ชุดวทิ ยุ PRC-624 มีระบบทดสอบตวั เองซ่ึงควบคุมการทางานโดย Microprocessor ภายในเคร่ือง ระบบการทดสอบตวั เองน้ี แสดงการทางานเบ้อื งตน้ ได้ 2 ประการ คือ 1) ทาการตรวจอตั โนมตั แิ บบตอ่ เนื่องตอ่ แหล่งจ่ายกาลงั งานไฟฟ้า หมายถึง ถา้ กาลงั ไฟต่ากวา่ เกณฑท์ ี่กาหนด (น้อยกวา่ 10 VDC) เครื่องรับ-ส่ง RT-624 จะแสดงให้เห็นที่จอภาพ Display โดยมี สญั ลกั ษณ์รูปแบตเตอร่ีปรากฏให้เห็นก่อนแบตเตอรี่ไฟหมดประมาณ 2 ชม. และในขณะท่ีกดสวิตช์ PTT เพอ่ื ส่งออกอากาศแตล่ ะคร้งั จะไดย้ นิ เสียงบีบ (Beeps) ดงั ที่ลาโพงหรือหูฟัง เม่ือแบตเตอรี่ไฟหมดในขณะ กดสวทิ ช์ PTT เครื่องส่งจะไม่ทางาน สังเกตไดจ้ ากไม่มีเสียง Sidetone ท่ีลาโพงหรือหูฟัง หรือเม่ือกดป่ ุม Squelch จะไม่ไดย้ นิ เสียงซู่ ( Noise) 2) การตรวจสอบการทางานของชุดวทิ ยุ PRC - 624 : การตรวจสอบน้ีพนกั งานผใู้ ชเ้ ป็นผปู้ ฏิบตั ิ ในระหวา่ งการตรวจสอบทกุ ๆ ภาคจะแสดงให้เห็นท่ีจอภาพของเคร่ืองและจะไดย้ นิ เสียงบีบ (Beep) เพ่ือ พสิ ูจนท์ ราบการทางานของหูฟังหรือลาโพง 6.2 ผลของการทดสอบตวั เองจะแสดงใหเ้ ห็นดงั น้ี 1) ถา้ เคร่ืองรับ-ส่ง RT-624 มีการทางานที่ดี คาวา่ “GOOD” จะปรากฏใหเ้ ห็นท่จี อภาพ Display และไดย้ นิ เสียง Beep ดงั ตามมาเป็นเวลา 4 วนิ าที 2) ถา้ เครื่องรบั - ส่ง RT - 624 มีความบกพร่อง คาวา่ “BAD” จะปรากฏใหเ้ ห็นทจี่ อภาพ Display และไม่ไดย้ นิ เสียง Beep ดงั 3) ในระหวา่ งทดสอบกาลงั ไฟแบตเตอรี่จะแสดงใหเ้ ห็นเป็ นขดี เลก็ ๆ ตามแนวนอนดา้ นซา้ ยมือ ของผใู้ ชท้ จี่ อภาพ Display

15 6.3โครงสรา้ งระบบการทดสอบตวั เอง ระบบการทดสอบตวั เองชุดวทิ ยุ PRC-624 ประกอบดว้ ยวงจรควบคุมในกล่อง Module ต่างๆ ซ่ึงวงจรควบคุมตา่ งๆสามารถตรวจสอบสญั ญาณที่สาคญั ๆไดจ้ ากจุดตรวจวดั ท่ีกล่อง Module นอกจากน้ี ระบบทดสอบตวั เองชุดวทิ ยุ PRC-624 ยงั ประกอบไปดว้ ยตวั ผลิตสญั ญาณทดสอบ 2 ชนิด คอื 1) ตวั ผลิตสญั ญาณ 1 KHz : ใชส้ าหรับทดสอบวงจรของเครื่องรบั และเครื่องส่ง 2) ตวั ผลิตสญั ญาณทดสอบความถ่ีวิทยุ : ในระหวา่ งทดสอบตวั เองเก่ียวกบั ภาคเคร่ืองรับตวั ผล สญั ญาณทดสอบความถี่วทิ ยุ จะผลิตสญั ญาณความถ่ีวทิ ยุ (RF) ข้นึ มาความถ่ีหน่ึงเพอื่ ใชท้ ดสอบการทางาน ของวงจรความถ่ีวทิ ยุ 7. การประกอบชุดวิทยุ 7.1 การประกอบและถอดแบตเตอรี่ - การประกอบ - - การถอดประกอบ - ประกอบ BA โดย ถอด BA โดยการดึง ใส่สลกั ยดึ ใหต้ รงกบั ออกจาก RT-624 ช่องรับ RT-624 กดป่ มุ ยดึ ดา้ นขา้ ง กดป่ มุ ยดึ ดา้ นขา้ ง คา้ งไวใ้ นขณะหมนุ คา้ งไวใ้ นขณะหมุน BA ตามเข็มนาฬิกา BAทวนเขม็ นาฬิกา จนอยใู่ นตาแหน่งท่ี จนอยใู่ นตาแหน่งที่ ถูกตอ้ ง ถูกตอ้ ง ต้งั สวิตช์ Volume ไวท้ ี่ Off ต้งั สวิตช์ Volume ไวท้ ี่ Off 7.1.1 การประกอบแบตเตอรี่ ( ดูรูปประกอบ ) รูปท่ี 2 การประกอบและถอดแบตเตอร่ี

16 1) ปรับสวติ ช์ VOLUME/ON-OFF ไวต้ าแหน่ง OFF 2) ถือเคร่ืองรับ - ส่ง RT - 624 โดยใหฐ้ านต้งั ข้ึนและนาแบตเตอรี่ดา้ นท่ีมีข้วั ต่อ ประกบเขา้ กบั เคร่ืองรบั - ส่ง โดยสอดใส่สลกั ยดึ ใหต้ รงกบั ช่องรับ 3) กดป่ ุมยดึ ดา้ นขา้ งไวแ้ ลว้ หมุนแบตเตอร่ีตามเขม็ นาฬกิ า จนกระทงั่ แบตเตอรี่อยใู่ น ตาแหน่งเสมอกบั เครื่องรบั - ส่ง พอดีใหส้ งั เกตวา่ จะไดย้ นิ เสียงคลิกแสดงวา่ ประกอบไดถ้ ูกตอ้ ง 7.1.2 การถอดแบตเตอร่ี (ดูรูปประกอบ ) 1) ปรบั สวติ ช์ VOLUME/ON - OFF ไวต้ าแหน่ง OFF 2) กดป่ มุ ยดึ ดา้ นขา้ งเคร่ืองรับ-ส่ง RT-624 ไวแ้ ลว้ หมุนแบตเตอรี่ทวนเขม็ นาฬิกา จนสุด 3) ดึงแบตเตอรี่ออกจากเครื่องรบั - ส่ง RT - 624 ข้อควรระวัง ก่อนการประกอบและถอดแบตเตอรี่อยา่ ลืมปรบั สวติ ซ์ VOLUME/ ON - OFF ไวต้ าแหน่ง OFF ทุกคร้ัง เพอ่ื ป้องกนั เคร่ืองชารุด 7.2 การประกอบและถอดเสาอากาศ 7.2.1 การประกอบเสาอากาศ 1) ปรบั สวติ ช์ VOLUME/ON - OFF ไวท้ ่ี OFF 2) ติดต้งั เสาอากาศเขา้ กบั ข้วั ตอ่ เสาอากาศหนา้ เคร่ืองรบั - ส่ง RT - 624 โดยหมุนตาม เขม็ นาฬกิ าใหแ้ น่น 7.2.2 การถอดเสาอากาศ 1) ปรับสวติ ช์ VOLUME/ON - OFF ไวท้ ี่ OFF 2) ถอดเสาอากาศออกจากข้วั ต่อเสาอากาศหนา้ เคร่ืองรับ - ส่ง RT - 624 โดยหมุนทวน เขม็ นาฬกิ า

17 8. หน้าทขี่ องป่ ุมควบคมุ และข้ัวต่อต่างๆ . รูปที่ 3 ป่ ุมควบคุมและข้ัวต่อต่างๆของ RT - 624

18 ตารางท่ี 2 หนา้ ที่ของป่ มุ ควบคุมและข้วั ตอ่ ตา่ งๆ ลาดบั รายการ เคร่ืองหมาย หนา้ ท่ี 1. ข้วั ต่อสายอากาศ 2. ป่ ุมเลือกช่องความถี่ - ใชส้ าหรับตอ่ สายอากาศ 3. ข้วั ตอ่ AUDIO 4. สวทิ ช์ VOLUME/ON-OFF 1,2...,10 ใชเ้ ลือกช่องความถี่ใชง้ าน ต้งั แต่ 1 - 10 5. ลาโพง 6. ปากพดู - ใชส้ าหรับตอ่ อุปกรณ์ทางเสียง เช่น ปากพดู -หูฟัง,ลาโพง 7. จอภาพ DISPLAY ภายนอก เป็นตน้ 8. ป่ มุ LITE ใชส้ าหรับควบคุมความดงั ของเสียงออกลาโพง 9. ป่ มุ FREQUENCY หรือหูฟังและเป็นสวทิ ช์ เปิ ด-ปิ ดเครื่องรับ-ส่งดว้ ย 10. ป่ มุ TEST - เป็นลาโพงภายในเครื่องรบั – ส่ง 11. ป่ มุ ENTER - เป็นปากพดู ภายในเคร่ืองรบั - ส่ง 12. ป่ มุ SQUELCH 13. สวทิ ช์ PTT - ใชส้ าหรับแสดงช่องความถ่ีใชง้ าน ,ระดบั การรบั และส่ง 14. ข้วั ตอ่ แบตเตอรี่ ,สถานะแบตเตอรี่, ผลการทดสอบตวั เอง,การเปล่ียน ความหมายและลกั ษณะการทางาน - ใชเ้ ปิ ด-ปิ ดไฟส่องจอภาพ DISPLAY ป่ ุมน้ีเม่ือกดเปิ ดไฟ แลว้ ปล่อยไว้ ประมาณ 4 วนิ าที ไฟจะปิ ดเองโดย อตั โนมตั ิ FREQ ใชส้ าหรับกดเพอ่ื ต้งั ความถ่ี และใชก้ ดเลือกตวั เลขตวั  ถดั ไป เมื่อกดคร้งั แรกตวั เลขจะกระพริบและกดคร้ังที่ 2 ตวั เลขตวั ถดั ไปจะกระพริบ TEST ใชส้ าหรบั กดเปล่ียนตวั เลขความถี่ทตี่ อ้ งการต้งั ,ใชท้ ดสอบ  ตวั เอง และใชต้ ้งั รายการลกั ษณะการใชง้ านของแตล่ ะช่อง ใชส้ าหรับบรรจุความถี่ท่เี ลือกไว,้ ใชย้ นื ยนั รายการลกั ษณะ ENT การใชง้ านของแต่ละช่อง และใชส้ าหรบั การบรรจุถ่าย ขอ้ มูลระหวา่ ง ชุดวทิ ยุ 2 ชุด ใชส้ าหรบั เปิ ด-ปิ ดวงจร SQUELCH SQ ใชส้ าหรับกดเพอื่ ส่งออกอากาศ - ใชส้ าหรับตอ่ แบตเตอร่ีเขา้ กบั เครื่องรับ-ส่ง RT - 624 -

19 9. การใช้งาน ชุดวิทยุ PRC-624 มีลักษณะการใช้งานแบบมือถือเป็ นหลักและติดต่อส่ือสารแบบคาพูด ในระยะใกล้ เม่ือตอ้ งการเพม่ิ ระยะการติดต่อสื่อสารสามารถใชเ้ สาอากาศยาว (90 ซม.) หรือใชเ้ คร่ืองขยาย กาลงั ความถี่วทิ ยุ การใชง้ านแบบห้ิวสะพายมีข้นั ตอนดงั น้ี 9.1 ข้นั ตอนการใชง้ านชุดวทิ ยุ PRC - 624 ประกอบดว้ ย 1) การเตรียมการใชง้ าน 2) การเปิ ดเคร่ืองใชง้ าน 3) การปิ ดเคร่ืองใชง้ าน 9.2 การเตรียมการใชง้ าน ก่อนอ่ืนตอ้ งตรวจการประกอบแบตเตอร่ีเขา้ กบั ชุดวทิ ยใุ หถ้ ูกตอ้ ง, ตรวจ อุปกรณ์ทางเสียงท้งั หมดและเสาอากาศไดป้ ระกอบถูกตอ้ งเรียบร้อย 9.3 การเปิ ดเครื่องใชง้ าน 1) เปิ ดชุดวทิ ยุ PRC - 624 โดยการหมุนสวทิ ช์ VOLUME/ON - OFF ตามเขม็ นาฬิกา 2) ถา้ ตอ้ งการใชไ้ ฟส่องจอภาพ DISPLAY ใหก้ ดป่ มุ LITE 3) เลือกความถี่ใชง้ าน ดว้ ยวธิ ีใดวธิ ีหน่ึงดงั น้ี - ต้งั ความถ่ีดว้ ยมือตามขอ้ 7 - ใชป้ ่ มุ เลือกช่องความถ่ีตามที่ไดต้ ้งั ล่วงหนา้ ไว้ 4) กดป่ มุ SQ เพอ่ื ปรบั ระดบั เสียงของลาโพงใหด้ งั ตามตอ้ งการและกดป่ ุม SQ อีกคร้ังเพอื่ ให้เสียง ซู่เงียบ ( SQ. ON ) 5) ขณะทช่ี ุดวทิ ยุ PRC-624 พร้อมทีจ่ ะใชง้ าน (ถา้ ใชล้ าโพงภายในเครื่องรับ-ส่งในขณะกดสวติ ช์ PTT แลว้ พูดจะไม่ได้ยนิ เสียง Sidetone แต่ถ้าใชล้ าโพงหรือหูฟังภายนอกเคร่ืองรับ - ส่ง จะไดย้ นิ เสียง Sidetone ถา้ ไม่มีเสียง Sidetone แสดงวา่ เครื่องส่งไม่ทางาน ) 6) คาแนะนาก่อนการใชป้ ่ มุ กด ( Keypad ) กบั จอภาพ Display ป่ มุ กดของเครื่องรับ-ส่ง RT-624 สามารถใชเ้ ลือกรายการทางานของแต่ละช่อง, ใช้ปฏิบตั ิการทดสอบตวั เองและอ่ืนๆ เมื่อใช้ป่ ุมกดต้งั รายการใดๆ ก็ตามในแต่ละคร้ังทีก่ ดป่ ุมขอ้ ความบนจอภาพ Display จะปรากฏใหเ้ ห็นเป็ นเวลา 4 วินาที ถา้ ไม่มีการกดป่ มุ ใดๆโดยต่อเนื่องภายใน 4 วินาที ขอ้ ความในขณะน้ันจะหายไปและจะปรากฏขอ้ ความเดิม ข้ึนมาแทน ท้งั น้ีเพอ่ื หลีกเล่ียงไม่ใหข้ อ้ มูลเดิมถูกทาลายโดยง่าย เมื่อตอ้ งการต้งั รายการใหม่ตอ้ ง เริ่มตน้ ใหม่และกระทาโดยต่อเนื่องอยา่ ใหเ้ กิน 4 วินาที ในระหวา่ งการใชป้ ่ ุมกด ( Keypad ) กบั จอภาพ Display จนกวา่ ผใู้ ชไ้ ดก้ ดรายการยนื ยนั โดยกดทีป่ ่ ุม ENT รายการท่เี ลือกไวก้ จ็ ะหยดุ กระพริบ และถูกบรรจเุ ป็นการ ถาวร

20 7 ) การบรรจุความถี่ใชง้ าน ตารางที่ 3 วธิ ีการบรรจุความถี่ ลาดบั การปฏิบตั ิ รายการท่จี อภาพ DISPLAY 1. ก่อนเริ่มตน้ การบรรจุความถี่ แสดงหมายเลขช่องและความถี่ใชง้ านคร้งั สุดทา้ ย 2. บิดป่ มุ เลือกช่องความถี่เพอื่ ต้งั ช่องความถ่ีใช้ แสดงหมายเลขช่องของช่องใหม่และความถี่ใช้ งานตามตอ้ งการ งานคร้ังสุดทา้ ยของช่องน้นั 3. กดป่ มุ FERQ ตวั เลขความถ่ี MHz ตวั แรกจะกระพริบ 4. กดป่ มุ TEST ตวั เลขความถี่ทก่ี าลงั กระพริบจะเปล่ียนไปทกุ คร้ังเมื่อกดป่ ุม TEST แตล่ ะคร้ัง ( ตวั เลขความถี่ MHz ตวั แรก จะเริ่มต้งั แต่ 3 - 8 )เม่ือตวั เลขท่ีตอ้ งการต้งั ปรากฏข้ึนให้ หยดุ กดป่ มุ TEST 5. ปฏบิ ตั ลิ าดบั 3 และ 4 ซ้าจนกวา่ ตวั เลข ตวั เลขความถี่ MHzตวั ท่ี2 ( เร่ิมต้งั แต่0-9), ความถ่ีที่ตอ้ งการต้งั ปรากฏครบถว้ น ตวั เลขความถี่ KHz ตวั แรก(เริ่มต้งั แต่0-9) และตวั เลขความถี่ KHz ตวั ที่2 (มี 2 หลกั เร่ิม ต้งั แต่ 00-75) จะกระพริบตามลาดบั เมื่อปฏบิ ตั ิ ลาดบั ท่ี 5 แตล่ ะคร้งั 6. กดป่ มุ ENT ตวั เลขความถี่ทต่ี ้งั ใหม่จะหยดุ กระพริบ แสดง วา่ ความถ่ีใหม่ถูกบรรจุเกบ็ ไวแ้ ลว้ 7. เม่ือตอ้ งการต้งั ความถ่ีในช่องความถ่ี หมายเลขต่อไปใหป้ ฏบิ ตั ซิ ้าในลาดบั ท่ี 2 - 6 หมายเหตุ การปฏิบตั ิแต่ละลาดบั ตอ้ งกระทาโดยต่อเน่ืองภายใน 4 วินาที ถา้ เกินขอ้ ความบนจอภาพ Display จะกลบั คนื สถานะเดิมเมื่อตอ้ งการต้งั ใหม่ตอ้ งเริ่มตน้ ในลาดบั ที่ 2 ใหม่ 8) การควบคุมไฟส่องจอภาพ Display - กดป่ มุ LITE ไฟส่องจอภาพ Display จะติดและเมื่อมีการกดป่ ุมใชง้ านของป่ ุมกดใดๆ ก็ตาม ภายในเวลา 4 วนิ าที กจ็ ะทาใหไ้ ฟส่องจอภาพน้ีติดอยา่ งตอ่ เนื่อง - กดป่ มุ LITE อีกคร้งั ไฟส่องจอภาพ DISPLAY จะดบั แตถ่ า้ ไม่กดป่ มุ LITE ภายในเวลา 4 วนิ าที ไฟส่องจอภาพก็จะดบั เองโดยอตั โนมตั ิ

21 9) การเลือกกาลงั ส่งออกอากาศสูง/ต่า ( HI 2 วตั ต์ , LO 1 วตั ต์ ) พนักงานผใู้ ชส้ ามารถต้งั กาลงั ส่ง ของแต่ละช่องความถ่ีใชง้ านไดต้ ามตอ้ งการ โดยปฏิบตั ติ ามตารางท่ี 4 ตารางที่ 4 วธิ ีการเลือกกาลงั ส่งออกอากาศ การปฏบิ ตั ิ รายการท่จี อภาพ DISPLAY ลาดบั 1. ต้งั ป่ มุ เลือกช่องความถ่ีไวท้ ี่หมายเลขช่อง ท่ี แสดงช่องความถ่ีท่ี 10 และความถ่ีใชง้ าน ตอ้ งการ 10 73.850 ( ความถ่ีสมมุติ ) 2. (ใชช้ ่องความถ่ีท่ี 10 แสดงตวั อยา่ ง) ทางดา้ นซา้ ยมือจะ ปรากฏหมายเลข 1 3. กดป่ มุ TEST ชวั่ ขณะและปล่อย แสดงระดบั กาลงั ส่งในขณะน้นั ซ่ึงปรากฏกาลงั กดป่ มุ TEST และคา้ งไว้ 4 วนิ าที ส่งสูง (HI) ของช่องความถ่ีที่ 10 10 PO HI 4. กดป่ มุ TEST ชว่ั ขณะและปล่อยเพอ่ื เลือก แสดงการต้งั ระดบั กาลงั ส่งตอ่ ไป คอื กาลงั ส่ง กาลงั ส่ง ต่า (LO) คาวา่ LOจะกระพริบ 4 วนิ าที 10 PO LO 5. กดป่ มุ ENT เพอ่ื ยนื ยนั การเลือกกาลงั ส่ง คาวา่ LO จะหยดุ กระพริบ 10 PO LO 6. กดป่ มุ ENT อีกคร้ัง เพอ่ื ต้งั รายการทไี่ ดเ้ ลือก แสดงระดบั กาลงั ส่งทไ่ี ดเ้ ลือกใหม่ ใหม่ 10 PO LO ขณะน้ีกาลงั ส่งของช่องความถี่ ที่ 10 ต้งั ไวท้ ี่กาลงั ส่งต่า (LO) หมายเหตุ การปฏิบตั แิ ตล่ าดบั ตอ้ งกระทาโดยตอ่ เนื่องภายใน 4 วนิ าที ถา้ เกินขอ้ ความบนจอภาพ Display จะกลบั คนื สถานะเดิมเมื่อตอ้ งการต้งั ใหม่ตอ้ งเร่ิมในลาดบั ที่ 2 ใหม่ 10) การใชล้ าโพงภายในตวั เคร่ือง (ON) และปากพดู -หูฟังภายนอก (OFF) ในขณะท่ีติดต้งั ปากพดู -หูฟังภายนอกใชง้ านกบั RT-624 พนกั งานผใู้ ชส้ ามารถเปิ ดหรือปิ ดลาโพงภายในตวั เคร่ืองของ แต่ ละช่องความถี่ใช้งานได้ ตามต้องการ วิธีการเปลี่ยนการใช้งานลาโพงภายในตัวเครื่องแสดงไวใ้ น ตารางที่ 5

22 ตารางท่ี 5 วธิ ีการต้งั ลาโพงในตวั เคร่ืองใชง้ าน ON/OFF ลาดบั การปฏิบตั ิ รายการที่จอภาพ DISPLAY 1. ต้งั ป่ ุมเลือกช่องความถี่ไวท้ ี่หมายเลขช่องที่ แสดงช่องความถ่ีท่ี 10 และความถี่ใชง้ าน 10 ตอ้ งการ( ใชช้ ่องความถ่ีที่ 10 แสดง 73.850 ( ความถ่ีสมมุติ ) ตวั อยา่ ง ) 2. กดป่ มุ TEST ชวั่ ขณะและปล่อย ทางดา้ นซา้ ยมือจะ ปรากฏหมายเลข 1 3. กดป่ มุ TEST และคา้ งไว้ 4 วนิ าที แสดงระดบั กาลงั ส่งในขณะน้นั 10 PO HI 4. กดป่ มุ TEST 2 คร้งั กระทาโดยตอ่ เนื่อง แสดงสถานะการใชล้ าโพงในขณะน้นั ซ่ึงปรากฏ เพอื่ ใหแ้ สดงสถานะการใชล้ าโพง สถานะปิ ด (OFF) ของช่องความถี่ที่ 10 10 SP OFF 5. กดป่ มุ TEST ชวั่ ขณะและปล่อย เพอ่ื เลือก แสดงการต้งั สถานะของลาโพงต่อไป คือ เปิ ด สถานะของลาโพงตอ่ ไป (ON) คาวา่ ON จะกระพริบ 4 วนิ าที 10 SP ON 6. กดป่ มุ ENT เพอ่ื ยนื ยนั การเลือก คาวา่ ON จะหยดุ กระพริบ 10 SP ON 7. กดป่ มุ ENT อีกคร้ัง เพอื่ ต้งั รายการท่ี ได้ แสดงการใชล้ าโพงทไ่ี ดเ้ ลือกใหม่คอื เปิ ด (ON) 10 เลือกใหม่ SP ON ขณะน้ีช่องความถี่ท่ี 10 ใชล้ าโพงภายใน ตวั เคร่ือง หมายเหตุ การปฏบิ ตั แิ ตล่ ะลาดบั ตอ้ งกระทาโดยต่อเนื่องภายในเวลา 4 วนิ าที ถา้ เกินขอ้ ความบนจอภาพ Display จะกลบั คืนสถานะเดิม เมื่อตอ้ งการต้งั ใหม่ตอ้ งเริ่มตน้ ในลาดบั ท่ี 2 11) การเลือกระดบั เสียง NORMAL/LOW พนกั งานผใู้ ชส้ ามารถเลือกระดบั เสียงปกติ (Normal) และลาดบั เสียงเบา (LOW)ใช้งานในแต่ละช่องความถ่ีตามตอ้ งการ วิธีการเปลี่ยนการเลือกระดับเสียง ไดแ้ สดงไวใ้ นตารางท่ี 6

23 ตารางที่ 6 วธิ ีการเลือกระดบั เสียงใชง้ าน NORMAL/LOW ลาดบั การปฏิบตั ิ รายการท่จี อภาพ DISPLAY 1. ต้งั ป่ มุ เลือกช่องความถ่ีไวท้ ่ีหมายเลข แสดงช่องความถ่ีท่ี 10 และความถ่ีใชง้ าน ช่องท่ีตอ้ งการ( ใชช้ ่องความถี่ที่ 10 10 73.850 (ความถี่สมมุติ ) แสดงตวั อยา่ ง ) ทางดา้ นซา้ ยมือจะปรากฏหมายเลข 1 2. กดป่ มุ TEST ชวั่ ขณะแลว้ ปล่อย แสดงระดบั การส่งในขณะน้นั 3. กดป่ มุ TEST และคา้ งไว้ 4 วนิ าที 10 PO HI แสดงระดบั เสียงในขณะน้นั โดยปกติจะ 4. กดป่ มุ TEST 3 คร้ังตดิ ตอ่ กนั เพอ่ื ให้ อยตู่ าแหน่ง HI 10 AU HI แสดงสถานะระดบั เสียง แสดงการต้งั ระดบั เสียงตอ่ ไป คอื LO คาวา่ LO จะกระพริบ 4 วนิ าที 5. กดป่ มุ TEST ชวั่ ขณะแลว้ ปล่อย เพอ่ื 10 AU LO เลือกระดบั เสียงต่อไป คาวา่ LO จะหยดุ กระพริบ 10 AU LO แสดงการใชร้ ะดบั เสียงต่า 6. กดป่ มุ ENT เพอื่ ยนื ยนั การเลือก 10 AU LO ขณะน้ีช่องความถ่ีที่ 10 7. กดป่ มุ ENT อีกคร้ัง เพอ่ื ต้งั รายการที่ ใชร้ ะดบั เสียงต่า ไดเ้ ลือกใหม่ หมายเหตุ การปฏบิ ตั แิ ต่ละลาดบั ตอ้ งกระทาโดยต่อเน่ืองภายในเวลา 4 วนิ าที ถา้ เกินขอ้ ความบนจอภาพ Display จะกลบั คืนสถานะเดิมเม่ือตอ้ งการต้งั ใหม่ตอ้ งเร่ิมตน้ ในลาดบั ท่ี 2 12) เครื่องหมายแสดงระดบั สัญญาณการรับ ในระหว่างการรับฟัง จานวนขีด ( BAR ) แสดง ระดบั สญั ญาณการรับจะปรากฏข้นึ ทางดา้ นซา้ ยของจอภาพ Display ซ่ึงมีความหมายดงั น้ี - จานวน 1 ขีด แสดงวา่ สญั ญาณการรบั อยใู่ นเกณฑต์ ่า - จานวน 5 ขดี แสดงวา่ สญั ญาณการรบั อยใู่ นเกณฑส์ ูง 13) เครื่องหมายแสดงระดบั สัญญาณการส่ง ในระหว่างทาการส่งวิทยุ จานวนขีด ( BAR ) แสดง ระดบั สญั ญาณการส่งจะปรากฏข้ึนทางดา้ นซา้ ยของจอภาพ Display ซ่ึงมีความหมายดงั น้ี - จานวน 4 - 5 ขีดแสดงวา่ กาลงั ส่งปกติ ( ตอ้ งสมั พนั ธก์ บั ระดบั กาลงั ส่งท่ีเลือกไวใ้ นช่อง ความถ่ีใชง้ าน )

24 - จานวนนอ้ ยกวา่ 3 ขีดแสดงว่ากาลงั ส่งต่า ตามปกติมีสาเหตุมาจากแบตเตอรี่หรือระบบ สายอากาศไม่เหมาะสมกบั ความถ่ี 14) การทดสอบตวั เอง ( Self-Test ) ระบบการทดสอบตวั เองของชุดวทิ ยุ PRC-624 น้ีใชส้ าหรับ ตรวจสอบหน้าท่ีการทางานท่ีถูกตอ้ งของชุดวิทยุในขณะใชง้ านในแต่ละช่องความถี่ พนกั งานผูใ้ ช้ควร กระทาการทดสอบตวั เองในแตล่ ะช่องเป็ นประจาทกุ วนั และก่อนการใชง้ านทกุ คร้ัง - การทดสอบตวั เองในภาคเครื่องรบั ใหป้ ฏบิ ตั ิตามตารางที่ 7 - การทดสอบตวั เองในภาคเคร่ืองส่ง ภายหลงั การทดสอบตวั เองภาคเคร่ืองรับเสร็จสิ้นใหท้ าการ ทดสอบตวั เองภาคเคร่ืองส่งโดยการปฏิบตั ดิ งั น้ี  กดสวติ ช์ PTT ทด่ี า้ นขา้ ง RT-624 และคา้ งไว้  ปฏิบตั กิ ารทดสอบตวั เองตามตารางที่ 7 ตารางท่ี 7 วธิ ีการทดสอบตวั เอง การปฏบิ ตั ิ รายการท่จี อภาพ DISPLAY 1. กดป่ มุ TEST ชว่ั ขณะและปล่อย ทางดา้ นซา้ ยมือ จะปรากฏหมายเลข 1 2.กดป่ มุ ENT เพอ่ื เร่ิมทดสอบ - แสดงรายการดงั น้ี ตวั เอง 18 88.888 LOAD DATA RXMT - เคร่ืองหมายแบตเตอร่ีและขดี (BAR) ท้งั หมดจะ ปรากฏข้ึนทางดา้ นซา้ ยมือ - ภายหลงั จาก 1 วนิ าทแี ลว้ จอภาพ DISPLAY จะ แสดงผลการทดสอบ ถา้ คาวา่ GOOD ปรากฏบน จอภาพและไดย้ นิ เสียงบีบ (BEEP) ติดตามมาแสดงวา่ ภาคเครื่องรับใชไ้ ด้ แตถ่ า้ คาวา่ BAD ปรากฏบนจอภาพ แสดงวา่ ภาคเครื่องรบั เสีย - ในระหวา่ งการทดสอบ ถา้ อายกุ ารใชง้ านของ แบตเตอรี่เกิน 2 ชม. จานวนขดี จะปรากฏใตเ้ ครื่องหมาย รูปแบตเตอร่ี ซ่ึงอยทู่ างดา้ นซา้ ยมือเป็นจานวน 5 ขีด แต่ถา้ อายกุ ารใชง้ านนอ้ ยกวา่ 2 ชม. จานวนขีดจะ ปรากฏเพยี ง 1 ขดี เท่าน้นั และถา้ แบตเตอรี่ต่ากวา่ เกณฑ์ (นอ้ ยกวา่ 10 VDC ) จานวนขีดจะไม่ปรากฏข้นึ เลย - ภายหลงั 4 วนิ าที ขอ้ ความบนจอภาพ DISPLAY จะกลบั คนื สถานะปกติ

25 10. การปิ ดเครื่องใช้งาน 1) หมุนสวติ ช์ VOLUME/ON - OFF ตามเขม็ นาฬกิ าจนสุดจะไดย้ นิ เสียงคลิกแสดงวา่ ชุดวทิ ยอุ ยู่ ในตาแหน่ง OFF 2) การเก็บรกั ษา ถอดเสาอากาศและแบตเตอร่ีออก 11. คาแนะนาอื่นๆ เม่ือมีอุปกรณ์ต่อเพมิ่ เติม ชุดวทิ ยุ PRC-624 สามารถใชง้ านในลกั ษณะอื่นๆ ไดด้ งั น้ี 1) การบรรจุถ่ายขอ้ มูลจากชุดวทิ ยุ PRC-624 ไปเขา้ ชุดวทิ ยุ PRC-624 อีกชุดหน่ึงได้ โดยใชส้ ายเคเบิล CX - 624 ต่อระหวา่ งข้วั ตอ่ AUDIO ของชุดวทิ ยทุ ้งั สองชุด 2) การใชง้ านส่งตอ่ โดยใชส้ ายเคเบิล CX - 624 ต่อระหวา่ งชุดวทิ ยทุ ้งั 2 ชุด 3) การใชง้ านดว้ ยระบบขอ้ มูล ( DATA ) โดยต่ออุปกรณ์เขา้ และถอดรหสั 12. การปรนนิบัติบารุงและการแก้ปัญหาข้อขัดข้องของผู้ใช้ การปรนนิบตั ิบารุงและการแกป้ ัญหาขอ้ ขดั ขอ้ งในระดบั ผใู้ ช้ เป็ นการกระทาหลงั จากที่ไดต้ รวจ พบข้อบกพร่องในระหว่างการใช้ชุดวิทยุหรือในการทดสอบชุดวิทยุ ขอบเขตของการแก้ปัญหา ขอ้ ขดั ขอ้ งในระดบั ผใู้ ชจ้ ะเป็นการป้องกนั ไม่ใหช้ ุดวทิ ยหุ รืออุปกรณ์เพมิ่ เตมิ ท่ีทางานผิดปกติ เกิดการชารุด เสียหายมากข้นึ เมื่อพบขอ้ บกพร่องควรปฏิบตั ติ ามข้นั ตอนต่อไปน้ี 12.1 ทาการตรวจดว้ ยตา, ตรวจสอบสภาพของป่ ุมและสวติ ชค์ วบคุมท้งั หมดวา่ มีการชารุดเสียหาย หรือไม่ 12.2 ถา้ ใชป้ ากพดู - หูฟัง ( HANDSET ) ตรวจดูวา่ การต่อข้วั ต่อถูกตอ้ งหรือไม่ 12.3 ตรวจเสาอากาศวา่ ยดึ แน่นกบั ข้วั ต่อเสาอากาศดีหรือไม่ 12.4 ตรวจสอบสถานะของแบตเตอร่ี 12.5 ถา้ การตรวจดว้ ยตาไม่พบสาเหตุขอ้ บกพร่องใดๆใหป้ ฎิบตั ติ ามวธิ ีการแกป้ ัญหาขอ้ ขดั ขอ้ งใน ตารางท่ี 8 โดยการพสิ ูจน์ทราบอาการผิดปกติท่ีคลา้ ยคลึงมากท่ีสุดตามที่ไดอ้ ธิบายไวใ้ นช่อง “ อาการ ” และปฏิบตั ิการแกไ้ ขตามลาดบั รายการ ซ่ึงระบุไวใ้ นตารางช่อง “ การปฏิบตั ิแกไ้ ข ” จนกระทง่ั สามารถ แกป้ ัญหาขอ้ บกพร่องน้นั ไดถ้ ูกตอ้ ง

26 ตารางที่ 8 การแกป้ ัญหาขอ้ ขดั ขอ้ งระดบั ผใู้ ช้ รายการที่ อาการ ขอ้ สนั นิษฐานสาเหตุ การปฏิบตั แิ กไ้ ข 1.แบตเตอร่ี บกพร่อง -เปล่ียนแบตเตอร่ีใหม่ 1. เมื่อเปิ ดไฟจา่ ยให้ ชุดวทิ ยุ 2.RT-624 บกพร่อง -เปลี่ยน RT -624 จอภาพ DISPLAY ไม่ ทางาน 2. เม่ือกดสวติ ซ์ PTT ไดย้ นิ -แบตเตอร่ีมีแรงไฟ -เปลี่ยนแบตเตอร่ีใหม่ ต่า เสียงบบี (Beep) จากอุปกรณ์ทางเสียง 3. ในขณะเปิ ดใชง้ านชุดวทิ ยุ 1.สวติ ซ์ SQ -เปลี่ยน RT -624 เมื่อกดสวทิ ซ์ SQ ไม่ไดย้ นิ บกพร่อง -ตอ่ อุปกรณ์ทางเสียงใหม่ เสียงซู่ทล่ี าโพงในตวั เครื่อง 2.อุปกรณ์ทางเสียง -ถอดอุปกรณ์ทางเสียงออกและตรวจสอบ หรือที่หูฟังภายนอกเครื่อง บกพร่อง การทางานทถ่ี ูกตอ้ งกบั ลาโพงภายใน ตวั เครื่อง -เปลี่ยนอุปกรณ์ทางเสียง 3.ถูกรบกวน -ตรวจสอบระดบั สญั ญาณการรับ ถา้ สญั ญาณแรงอาจถูกรบกวนจากกลุ่ม วทิ ยอุ ่ืน พยายามลดการถูกรบกวนโดย การเปล่ียนไปใชช้ ่องความถ่ีอ่ืน -กระทาการทดสอบตวั เองในภาคเครื่องรับถา้ 4. RT - 624 บกพร่อง จอภาพ DISPLAY ปรากฏคาวา่ BAD ให้ เปลี่ยน RT-624 -จะไดย้ นิ เสียงซู่เมื่อรบั ระบบขอ้ มูล 4. ไดย้ นิ เสียงซู่ (Noise) 1.มีการใชร้ ะบบ ตวั เลขใหค้ อยจนกระทงั่ การส่งขอ้ มูล แต่รับสญั ญาณไม่ได้ ขอ้ มูล (Data)ในขา่ ย เสร็จส้ิน -ตรวจสอบวา่ ชุดวทิ ยปุ รับต้งั ความถ่ีใช้ 2.ความถ่ีใชง้ านไม่ถูกตอ้ ง งานถูกตอ้ งหรือไม่ -ถา้ มีเสาอากาศยาว 90 ซม. ใหใ้ ชเ้ สา 3.คูส่ ถานีอยไู่ กล อากาศ 90 ซม. ติดต้งั ใชง้ านและให้ เกินไป ตรวจสอบกบั สถานีท่อี ยใู่ กลโ้ ดยขอร้อง ใหส้ ถานีน้ีเป็ นสถานีกลาง

27 รายการท่ี อาการ ขอ้ สนั นิษฐานสาเหตุ การปฏบิ ตั ิแกไ้ ข 4.แบตเตอร่ีมีแรงไฟต่า 5. สญั ญาณรบั ฟังเสียง 5.การต่อเสาอากาศไม่ -กระทาการทดสอบตวั เองและ เพ้ยี นหรือไม่ชดั เจน ถูกตอ้ ง ตรวจสอบสถานะแบตเตอรี่ ถา้ แรงไฟ 6.เสาอากาศบกพร่อง ต่าใหเ้ ปล่ียนแบตเตอรี่ใหม่ 6. ไม่มีเสียง Sidetone เม่ือ 1.แบตเตอรี่แรงไฟต่า -ตรวจสอบวา่ เสาอากาศหมุนแน่น ใชง้ านปากพดู - หูฟัง 2. RT - 624 บกพร่อง หรือไม่ (Handset) ทาการส่ง -เปล่ียนเสาอากาศใหม่ 3.อุปกรณ์ทางเสียง -ตรวจสอบสถานะแบตเตอรี่ ถา้ แรงไฟ บกพร่อง ต่าใหเ้ ปล่ียนใหม่ 4.ถูกรบกวน -ทาการทดสอบตวั เองบนจอภาพ DISPLAY ถา้ ปรากฏคาวา่ BAD ให้ 1.อุปกรณ์ทางเสียง เปลี่ยน RT - 624 ใหม่ ต่อไม่ถูกตอ้ ง -เปล่ียนอุปกรณ์ทางเสียงใหม่ -ตรวจสอบโดยการตดิ ตอ่ กบั สถานี ทีอ่ ยใู่ กลๆ้ วา่ มีการรบกวนในขณะ ตดิ ตอ่ กนั อยหู่ รือไม่ -ตรวจสอบระดบั สญั ญาณการรบั ถา้ สญั ญาณ RF แรงมีความเป็ นไปไดว้ า่ ถูกรบกวนจากชุดวทิ ยอุ ื่นใหพ้ ยายามลด การ ถูกรบกวนโดยยา้ ยท่ตี ้งั ใหม่ -ถอดอุปกรณ์ทางเสียงออกจากข้วั ตอ่ AUDIO และตรวจสอบการทางานของ RT - 624 กบั ลาโพงในตวั เคร่ือง -เปลี่ยนอุปกรณ์ทางเสียงใหม่ 2.อุปกรณ์ทางเสียง -ทาการทดสอบตวั เองถา้ จอภาพ DISPLAY บกพร่อง ปรากฏคาวา่ 3.RT - 624 บกพร่อง BAD ใหเ้ ปล่ียน RT - 624 ใหม่

28 รายการท่ี อาการ ขอ้ สนั นิษฐานสาเหตุ การปฏบิ ตั แิ กไ้ ข -เปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม่ 4.แบตเตอร่ีบกพร่อง -เปลี่ยนแบตเตอร่ีใหม่ -ทาการทดสอบตวั เองถา้ จอภาพ DISPLAY 7. ไดย้ นิ เสียงบบี ( BEEP ) จาก 1.แบตเตอร่ีแรงไฟต่า ปรากฏคาวา่ BAD ใหเ้ ปล่ียน RT- 624 ใหม่ อุปกรณ์ทางเสียง 2.RT - 624บกพร่อง หมายเหตุ ถา้ การแกป้ ัญหาขอ้ ขดั ขอ้ งตามตารางท่ี 8 ไม่สามารถแกป้ ัญหาไดใ้ หส้ ่งซ่อมข้นั เหนือต่อไป *********** หลกั ฐานอ้างองิ : OM 2054 - 09270 - 00 REV A , DECEMBER 1994

29 บทท่ี 4 กล่มุ ชุดวทิ ยุ AN / VRC – 12 (RADIO SET AN/VRC-12 SERIES) 1. กล่าวทั่วไป กลุ่มชุดวิทยุ AN/VRC–12 เป็ นกลุ่มชุดวิทยุท่ีกองทพั บกไทยนาเขา้ มาประจาการเมื่อปี 2512 ประกอบดว้ ยชุดวทิ ยุ จานวน 8 ชุด ไดแ้ ก่ : ชุดวิทยุ AN/VRC–12, ชุดวิทยุ AN/VRC–43, ชุดวทิ ยุ AN/VRC- 44, ชุดวทิ ยุ AN/VRC-45, ชุดวทิ ยุ AN/VRC–46, ชุดวทิ ยุ AN/VRC–47, ชุดวทิ ยุ AN/VRC–48 และ ชุดวทิ ยุ AN/VRC–49 มีลกั ษณะการติดต้งั ใชง้ านบนยานยนตเ์ ป็ นหลกั แต่อาจใชง้ านเป็ นสถานีวทิ ยปุ ระจาท่ีก็ได้ หน่วยทหารมา้ ใชช้ ุดวทิ ยใุ นกลุ่มน้ีในหน่วยต้งั แต่ระดบั หมวด ( เฉพาะ มว.ถ. และ มว.ลว. ) ข้ึนไป จนถึง ระดบั กองพล กลุ่มชุดวทิ ยเุ หล่าน้ีอาจติดต้งั ใชง้ านตามลาพงั บนยานยนตล์ อ้ ทวั่ ไปหรือติดต้งั ใชง้ านร่วมกบั เครื่องติดต่อภายในรถ AN/VIC–1 บนยานยนตส์ ายพานหรือรถเกราะก็ได้ และเมื่อมีอุปกรณ์เพิ่มเติม สามารถติดต้ังใช้งานร่วมกัน เพ่ืออานวยความสะดวกในการควบคุมการใช้งานจากที่ไกล (Remote Control), การสนธิวทิ ยรุ ่วมทางสาย (Radio/Wire Integration) และการส่งต่อ (Retransmission) 2. คาเตือน ( Warning ) 2.1 เก่ียวกบั เครื่องรับ-ส่ง ๏ อยา่ ยกหรือหิ้วเคร่ืองรับ–ส่ง RT–246/VRC, RT–524/VRC เพียงลาพงั คนเดียวเพราะอาจทาให้ ไดร้ ับการบาดเจบ็ ได้ ๏ ไม่ควรใชง้ านเครื่องรบั – ส่งในขณะทีถ่ อดฝาปิ ดเคร่ืองดา้ นบน และ/หรือ ดา้ นล่างออกเพราะ เคร่ืองรบั –ส่งใชก้ ระแสไฟฟ้าแรงสูง อาจทาใหเ้ กิดอนั ตรายได้ ถา้ ไปสมั ผสั ถูก ๏ อยา่ เขา้ ใจผดิ กบั คาวา่ “ แรงไฟต่า ” (Low Voltage) เพราะแรงไฟต่าของเครื่องรับ–ส่ง จะมีค่า เทา่ กบั 50 โวลท์ ดงั น้นั สามารถเป็นอนั ตรายถึงแก่ชีวติ ไดถ้ า้ ไปสมั ผสั ถูก 2.2 เก่ียวกบั เสาอากาศ ๏ เมื่อใชเ้ สาอากาศประจายานยนตร์ ับ–ส่งวทิ ยุ อยา่ จอดยานยนตใ์ ตห้ รือใกลส้ ายไฟแรงสูง ๏ อยา่ สมั ผสั เสาอากาศขณะใชเ้ คร่ืองรับ – ส่งทาการส่งออกอากาศ ๏ อยา่ ยนื ใกลเ้ สาอากาศเคร่ืองรบั – ส่งในระยะใกลก้ ว่า 20 นิ้ว ในขณะทาการส่งวิทยุ เพราะจะ เกิดการแพร่กระจายคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้ากาลงั สูงในบริเวณน้ี ๏ ตอ้ งแน่ใจว่า ปลายสายอากาศท่อนบนท้งั ของเครื่องรับ-ส่งและเคร่ืองรับช่วยมีท่ีครอบเสา อากาศครบและพนั ยดึ แน่นในสภาพเรียบร้อย ๏ การติดต่อสื่อสารในขณะเคล่ือนท่ี ถ้าเป็ นไปได้ควรใช้เชือกร้ังเสาอากาศไว้ แต่ควร ระมดั ระวงั ในกรณีทเี่ สาอากาศไปปะทะกบั สิ่งกีดขวาง เพราะเสาอากาศอาจแตกหกั และเป็ นสาเหตุทาให้ กาลงั พลไดร้ ับบาดเจบ็ จากชิ้นส่วนทีป่ ลิวมาในอากาศ ๏ ในขณะยานยนตว์ ิง่ ปฏิบตั ิการในภูมิประเทศหรือบนถนนก็ตาม เมื่อตอ้ งผา่ นสายไฟแรงสูง ตอ้ งระมดั ระวงั เป็นพเิ ศษ

30 2.3 อยา่ ใชส้ ่วนประกอบชุดใดๆ ของท้งั เคร่ืองรับ–ส่ง, เคร่ืองรับ, เครื่องติดต่อภายในรถ เป็ นบนั ได ในการข้ึนหรือลงภายในรถและ/หรือภายในป้อมปื น และอยา่ ใชส้ ายเคเบิลท่ีวางเดินสายไวภ้ ายใน รถและ /หรือภายในป้อมปื น เป็นราวโหนเพอื่ ออกจากรถ 2.4 การทาความสะอาด การใช้น้ายา Trichlorotrifluoroethane ทาความสะอาดตอ้ งให้มีการระบายอากาศท่ีเพียงพอ หา้ มใชน้ ้ายาชนิดน้ีใกลก้ บั ความร้อนหรือเปลวไฟ แมว้ า่ น้ายาจะไม่มีการเผาไหมก้ ็ตาม แต่ความร้อนจะ เป็นตวั ทาปฏิกิริยาเปล่ียนแกส๊ ใหเ้ ป็ นควนั พษิ ดงั น้นั ตอ้ งระวงั อยา่ สูดหายใจเอาควนั หรือละอองแก๊สเขา้ ไป นอกจากน้ีน้ายาชนิดน้ียงั เป็นตวั ทาลายผวิ หนงั เวลาใชจ้ ึงควรสวมถุงมือป้องกนั ไม่ใหน้ ้ายาสมั ผสั กบั ผิวหนงั ถา้ ไดร้ บั อนั ตรายจากน้ายาตอ้ งรีบไปพบและปรึกษาแพทยท์ นั ที 3. รายละเอียดส่วนประกอบชุด ( Description Of Components ) 3.1 กลุ่มชุดวทิ ยุ AN/VRC–12 ประกอบดว้ ยส่วนประกอบที่สาคญั ไดแ้ ก่ : 1) เครื่องรับ – ส่ง RT – 246 / VRC 2) เคร่ืองรับ – ส่ง RT – 524 / VRC 3) เครื่องรบั R – 442 / VRC 4) ชุดเสาอากาศ AS – 1729 / VRC 5) ชุดเสาอากาศเคร่ืองรับ รูปท่ี 1 ส่วนประกอบกลุ่มชุดวทิ ยุ AN / VRC – 12

31 3.2 การประกอบชุดวทิ ยุ 2) ชุดวทิ ยุ AN / VRC – 46 1) ชุดวทิ ยุ AN / VRC – 43 รูปท่ี 2 ชุดวทิ ยุ AN / VRC – 43 รูปท่ี 3 ชุดวทิ ยุ AN / VRC – 46 3) ชุดวทิ ยุ AN / VRC - 12 4) ชุดวทิ ยุ AN / VRC – 47 รูปที่ 4 ชุดวทิ ยุ AN / VRC – 12 รูปที่ 5 ชุดวทิ ยุ AN / VRC – 47 5) ชุดวทิ ยุ AN / VRC – 44 6) ชุดวทิ ยุ AN / VRC – 48 รูปท่ี 6 ชุดวทิ ยุ AN / VRC – 44 รูปที่ 7 ชุดวทิ ยุ AN / VRC – 48 7) ชุดวทิ ยุ AN / VRC – 45 8) ชุดวทิ ยุ AN / VRC - 49 รูปที่ 8 ชุดวทิ ยุ AN / VRC – 45 รูปที่ 9 ชุดวทิ ยุ AN / VRC – 49 4. คณุ ลกั ษณะเฉพาะทางเทคนิค ( Technical Characteristics ) 4.1 เคร่ืองรบั –ส่ง RT–246/VRC และ RT-524/VRC 1) ระบบการปรุงคล่ืน………………………. FM. 2) สญั ญาณการรบั – ส่ง ………………..……คาพดู 3) ยา่ นความถี่………………………………..30.00 – 75.95 MHz

32 4) จานวนช่องความถี่………………………..920 ช่อง 5) ระยะห่างระหว่างช่องความถ่ี……………50 KHz ( เม่ือใชง้ านปกติ ) 25 KHz (เมื่อใชง้ าน ร่วมกบั เคร่ืองเขา้ และถอดรหสั ) 6) การต้งั ความถ่ีใชง้ าน……………………..ดว้ ยมือหรือ ถา้ เป็นเครื่องรบั – ส่ง RT – 246/VRC สามารถเลือกใชค้ วามถ่ีได้ โดยการกดป่ ุมความถี่ล่วงหนา้ ที่ต้งั ไวแ้ ลว้ ที่หนา้ เคร่ืองรับ–ส่ง และ/หรือจาก กล่องควบคุมการเลือกใชค้ วามถี่ C–2742 / VRC 7) การต้งั ความถ่ีใชง้ านล่วงหนา้ ……………10 ความถี่ ( เฉพาะ RT 246 / VRC ) 8) การทางานเครื่องปรบั วงจรสายอากาศ….. อตั โนมตั ิ 9) พลงั งานไฟฟ้าทใ่ี ช…้ ……………………22 – 30 VDC 10) ความสิ้นเปลืองพลงั งานไฟฟ้า………… ขณะรับฟัง 0.75 Amps. ( เมื่อแรงไฟ 25 VDC ) ขณะส่งทาง LOW 3 Amps. ขณะส่งทาง HIGH 10 Amps. 11) กาลงั ส่งออกอากาศ……………………. กาลงั ส่งต่า ( Low Power ) 0.5–10 วตั ต์ ( เมื่อ ใชส้ ายอากาศ 50 โอหม์ ) กาลงั ส่งสูง ( High Power ) ต่าสุด 30 วตั ต์ สูงสุด 65 วตั ต์ 12) ระยะติดตอ่ ของเครื่องส่ง………………. กาลงั ส่งต่า ประมาณ 5 ไมล์ ( 8 กม. ) กาลงั ส่งสูง ประมาณ 25 ไมล์ ( 40 กม. ) เมื่อใชส้ ายอากาศแบบแส้ ( Whip) 13) ระยะเวลาการส่งตอ่ เน่ือง……………….ส่งไดโ้ ดยตลอดเมื่อใชแ้ รงไฟ 22 VDC เมื่อใชก้ าลงั ส่งสูง ส่งได้ 1 ชว่ั โมง เมื่อใชแ้ รงไฟ 30 VDC 14) วงจรตดั เสียงซู่ ( Squelch )………………แบบเก่า ( OLD ) ใชเ้ สียงซู่ในเคร่ืองรับควบคุมการ ทางาน แบบใหม่ ( NEW ) ใช้ TONE 150 Hz จากเครื่องส่งควบคุมการทางาน 4.2 เครื่องรบั R–442/VRC 1) เป็นเคร่ืองรบั แบบ………………………..FM. 2) รับสญั ญาณแบบ ……..……………..……คาพดู 3) ยา่ นความถ่ี………………………………..30.00 – 75.95 MHz 4) จานวนช่องความถ่ี………………………..920 ช่อง 5) ระยะห่างระหวา่ งช่องความถี่…………….50 KHz ( เมื่อใชง้ านปกติ ) 25 KHz ( เม่ือใชง้ าน ร่วมกบั เคร่ืองเขา้ และถอดรหสั ) 6) การต้งั ความถ่ีใชง้ าน……………………..ดว้ ยมือ 7) พลงั งานไฟฟ้าทีใ่ ช…้ …………………… 22 – 30 VDC 8) ความส้ินเปลืองพลงั งานไฟฟ้า………….. 0.75 Amps. 9) วงจรตดั เสียงซู่ ( Squelch )……………….แบบเก่า ( OLD ) ใชเ้ สียงซู่ในเคร่ืองรบั ควบคุม การทางาน แบบใหม่ ( NEW ) ใช้ TONE 150 Hz จากเคร่ืองส่งควบคุมการทางาน

33 4.3 ชุดเสาอากาศ AS – 1729 / VRC 1) แบบของเสาอากาศ………………………แบบแสห้ รือทอ่ น ( WHIP ) 2 ส่วน ประกอบดว้ ย : ส่วนที่ 1 ฐานเสาอากาศ MX – 6707 / VRC และส่วนที่ 2 ส่วนประกอบเสาอากาศ AS – 1730 / VRC ( ท่อนล่าง ) และเสาอากาศ AT–1095/VRC ( ท่อนบน ) 2) ยา่ นความถ่ี……………………………… 30 – 76 MHz 3) ตวั นากาลงั ส่งออกอากาศ……………….. สูงสุด 70 วตั ต์ 4.4 ชุดเสาอากาศเครื่องรบั 1) แบบของเสาอากาศ………………………แบบแสห้ รือท่อน ( WHIP ) 2 ส่วน ประกอบดว้ ย : ส่วนที่ 1 ฐานเสาอากาศ AB – 15 ส่วนที่ 2 เสาอากาศ 3 ท่อน MS – 116 A ( ท่อนล่าง ), MS – 117 A ( ทอ่ นกลาง ), และ MS – 118 A ( ทอ่ นบน ) 2) ยา่ นความถ่ี……………………………… 30 – 76 MHz 4.5 กล่องควบคุมแรงไฟชวั่ ขณะ ( Transient Suppressor ) MX–7777/GR หรือ MX-7778/GR 1) แหล่งจ่ายพลงั งานไฟฟ้า………………… จากยานยนต์ 22 – 28 VDC 2) แรงไฟเขา้ สูงสุด………………………… ประมาณ 40 VDC 3) แรงไฟออก………………………………ประมาณ 36 – 40 VDC 3) กระแสไฟออก………………………….. ประมาณ 50 Amps. ที่แรงไฟ 28 VDC 4) การป้องกนั การลดั วงจรและกระแสไฟเกิน… มีตวั ตดั วงจรเม่ือกระแสไฟเกิน 50 Amps. 5) การป้องกนั ความรอ้ นสูง……………….. ใชส้ วติ ชค์ วบคุมอุณหภูมิและตวั ตดั วงจร 200F เม่ือตอ้ งการกดสวติ ชใ์ ชง้ านใหม่ตอ้ งรอ 2 นาที เพอื่ ใหค้ วามรอ้ นลดลงก่อน 5. หน้าทปี่ ่ มุ ควบคุมและข้ัวต่อต่างๆ ( Switches And Connectors Function ) 5.1 เครื่องรบั – ส่ง RT – 246 / VRC และ RT – 524 / VRC รูปท่ี 2 เคร่ืองรับ-ส่ง RT – 246 / VRC

34 รูปท่ี 3 เครื่องรับ-ส่ง RT – 524 / VRC 1) CALL : เป็นหลอดไฟเตือน เมื่อมีสญั ญาณส่งเขา้ มาหลอดไฟจะส่องสวา่ งโดยตอ้ ง ต้งั สวติ ช์ LIGHT ไวท้ ่ีตาแหน่ง ON และสวิตช์ Squelch ไวท้ ี่ตาแหน่ง OLD ON และ / หรือ NEW ON 2) LAMP : เป็ นหลอดไฟส่องช่องหนา้ ปัทมม์ ีฝาครอบปิ ด และยงั ใชใ้ นการตรวจสอบ วา่ เคร่ืองรับ – ส่ง มีพลงั งานไฟฟ้าหรือไม่ หลอดไฟจะส่องสว่างเม่ือต้งั สวติ ช์ LIGHT ไวท้ ีต่ าแหน่ง ON 3) LIGHT : เป็นสวติ ชค์ วบคุมการปิ ด – เปิ ด ( OFF – ON ) หลอดไฟ LAMP เเละ หลอดไฟ CALL 4) BAND : เป็ นสวทิ ชเ์ ลือกยา่ นความถี่ใชง้ านมีตาแหน่งดงั น้ี A : ควบคุมความถ่ี 30.00 – 52.95 MHz และ B : ควบคุมความถี่ 53.00 – 75.95 MHz 5) SPEAKER : เป็ นสวิตช์ควบคุมการปิ ด–เปิ ด (OFF–ON) เสียงออกลาโพงของเครื่อง รบั – ส่ง ( เฉพาะ RT - 524 / VRC ) 6) MC–TUNE – KC : ใชป้ รบั ต้งั ความถ่ีดว้ ยมือดงั น้ี MC : ต้งั ความถี่ MHz ดูตวั เลข 2 ตวั แรกที่ช่องหนา้ ปัทม์ และ KC : ต้งั ความถ่ี KHz ดูตวั เลข 2 ตวั หลงั ท่ชี ่องหนา้ ปัทม์ 7) POWER : เป็ นสวติ ชค์ วบคุมพลงั งานไฟฟ้าและเลือกกาลงั ส่งออกอากาศมีตาแหน่ง ดงั น้ี OFF BREAKER – RESET : ปิ ดวงจรไฟฟ้าเขา้ เครื่องรบั – ส่ง และใช้ เปิ ดวงจรไฟฟ้าใหม่ในกรณีทต่ี วั ตดั วงจรไฟฟ้า ( Breaker ) ตกโดย อตั โนมตั ิเม่ือกระแสไฟเกิน

35 LOW : เปิ ดวงจรไฟฟ้าเขา้ เครื่องรับ–ส่ง และใชก้ าลงั ส่งต่าออกอากาศ HIGH : เปิ ดวงจรไฟฟ้าเขา้ เครื่องรับ–ส่ง และใชก้ าลงั ส่งสูงออกอากาศ REMOTE : เปลี่ยนการควบคุมพลงั งานไฟฟ้า, กาลงั ส่งออกอากาศและ การเลือกใช้ความถ่ีไปท่ีกล่องควบคุมการเลือกความถ่ี C–2742/VRC ( เฉพาะ RT – 246 / VRC ) 8) SQUELCH : เป็ นสวติ ชเ์ ลือกใชง้ านวงจรตดั เสียงซู่ มีตาแหน่งดงั ต่อไปน้ี NEW ON : ตดั เสียงซู่เมื่อไม่มีสญั ญาณเขา้ มา เมื่อส่งจะมี TONE 150 Hz ออกไปดว้ ย NEW OFF : มีเสียงซู่เม่ือไม่มีสญั ญาณเขา้ มา เมื่อส่งจะมี TONE 150 Hz ออกไปดว้ ย OLD ON : ตดั เสียงซู่เมื่อไม่มีสญั ญาณเขา้ มา เม่ือส่งจะไม่มี TONE150 Hz ออกไปดว้ ย OLD OFF : มีเสียงซู่เมื่อไม่มีสัญญาณเขา้ มา เมื่อส่งจะมี TONE 150 Hz ออกไปดว้ ย 9) VOLUME : เป็นป่ มุ ควบคุมความดงั ของเสียงทอี่ อกลาโพงหรือหูฟัง ยกเว้น 1. เมื่อใชง้ านร่วมกบั กล่องควบคุม C–2298/VRC และ C–2297/VRC ของระบบตดิ ตอ่ ภายในรถ ในตาแหน่ง ALL ของสวติ ช์ MONITOR ตอ้ งควบคุมความดงั ที่ป่ มุ VOLUME ของกล่องควบคุมน้นั ๆ 2.เม่ือใชง้ านในการส่งต่อตอ้ งควบคุมความดงั ทปี่ ่ มุ VOLUME ของ กล่องควบคุม C – 2299 / VRC 10) RETRANSMIT R/W : เป็ นข้วั ตอ่ สาหรับต่อปากพูดและ / หรือปากพูด – หูฟัง,ต่ออุปกรณ์ เพม่ิ เตมิ เพอื่ ใชง้ านวทิ ยจุ ากที่ไกล,ใชง้ านวทิ ยรุ ่วมทางสาย และใชง้ าน แบบการส่งตอ่ 11) SPKR : เป็ นข้วั ต่อสาหรับต่อลาโพง และ/หรือ ปากพดู –หูฟัง 12) ANT CONT : เป็ นข้วั ต่อสาย CX–4722 ระหวา่ งเครื่องรับ–ส่ง และ ฐานเสาอากาศ MX – 6707 / VRC เพอื่ ควบคุมวงจรสายอากาศใหท้ างานโดยอตั โนมตั ิ 13) REMOTE : เป็ นข้วั ต่อสาย CX–7059 ระหวา่ งเครื่องรับ–ส่ง RT–246/VRC และ กล่องควบคุมการเลือกความถ่ี C–2742/VRC เพอื่ ใชค้ วบคุมพลงั งาน ไฟฟ้า, กาลงั ส่งออกอากาศ และการเลือกใชค้ วามถี่ 14) X – MODE : เป็ นข้วั ต่อไปเขา้ อุปกรณ์ใชง้ านพิเศษ เช่น เคร่ืองเขา้ และถอดรหัสและ/ หรือ อุปกรณ์รบั –ส่งขอ้ มูลตวั เลข เป็ นตน้

36 15) ANT : เป็นข้วั ต่อสายส่ง/สายนาสญั ญาณทีใ่ ชเ้ ป็นทางเดินของพลงั งานความถ่ี วทิ ยรุ ะหวา่ งเครื่องรบั –ส่ง และเสาอากาศ 16) ป่ มุ กด 1 – 10 : ( เฉพาะ RT–246/VRC ) ใชส้ าหรับกดเพ่ือเลือกความถ่ีใชง้ านตามที่ได้ ปรับต้งั ล่วงหนา้ ไว้ ป่ ุมกด 1 – 10 น้ีจะทางานต่อเม่ือสวติ ช์ BAND อยใู่ น ตาแหน่ง AUTO และสวติ ช์ POWER อยใู่ นตาแหน่ง LOWหรือ HIGH 17) P401 : เป็ นข้วั ต่อพลงั งานไฟฟ้า และสญั ญาณเสียงอยดู่ า้ นหลงั ของเคร่ืองรับ-ส่ง 5.2 เคร่ืองรับ R – 442 / VRC 1) CALL รูปที่ 4 เคร่ืองรับ R-442/VRC 2) LAMP 3) LIGHT : เป็ นหลอดไฟเตือน เมื่อมีสัญญาณส่งเขา้ มาหลอดไฟจะส่องสวา่ ง โดย 4) BAND ตอ้ งต้งั สวิตช์ LIGHT ไวท้ ่ีตาแหน่ง ON และสวิทช์ SQUELCHไวท้ ี่ ตาแหน่ง OLD ON และ / หรือ NEW ON : เป็ นหลอดไฟส่องช่องหนา้ ปัทมม์ ีฝาครอบปิ ด และยงั ใชใ้ นการตรวจสอบ วา่ เครื่องรบั มีพลงั งานไฟฟ้าหรือไม่ หลอดไฟจะส่องสวา่ ง เมื่อต้งั สวติ ช์ LIGHT ไวท้ ตี่ าแหน่ง ON : เป็ นสวิทช์ควบคุมการปิ ด – เปิ ด ( OFF – ON ) หลอดไฟ LAMP และ หลอดไฟ CALL : เป็ นสวทิ ชเ์ ลือกยา่ นความถี่ใชง้ านมีตาแหน่งดงั น้ี A : ควบคุมความถ่ี 30.00 – 52.95 MHz B : ควบคุมความถี่ 53.00 – 75.95 MHz

37 5) MC–TUNE–KC : ใชป้ รับต้งั ความถ่ีดว้ ยมือดงั น้ี MC : ต้งั ความถ่ี MHz ดูตวั เลข 2 ตวั แรกทีช่ ่องหนา้ ปัทม์ KC : ต้งั ความถี่ KHz ดูตวั เลข 2 ตวั หลงั ท่ีช่องหนา้ ปัทม์ 6) POWER : เป็ นสวติ ชค์ วบคุมพลงั งานไฟฟ้ามีตาแหน่งดงั น้ี ON – RESET : เปิ ดวงจรไฟฟ้าเขา้ เครื่องรบั และต้งั ตวั ตดั วงจรใหม่ OFF : ปิ ดวงจรไฟฟ้าเขา้ เคร่ืองรบั 7) SQUELCH : เป็ นสวทิ ชเ์ ลือกใชง้ านวงจรตดั เสียงซู่ มีตาแหน่งดงั ต่อไปน้ี NEW ON : ตดั เสียงซู่เม่ือไม่มีสญั ญาณเขา้ มา ทางานโดยใช้ TONE 150 Hz จากเคร่ือง NEW OFF: มีเสียงซู่เมื่อไม่มีสญั ญาณเขา้ มา OLD ON : ตดั เสียงซู่เม่ือไม่มีสญั ญาณเขา้ มา ทางานโดยใชส้ ัญญาณจาก เคร่ืองส่งมากดเสียงซู่ OLD OFF : มีเสียงซู่เม่ือไม่มีสญั ญาณเขา้ มา 8) VOLUME : เป็นป่ ุมควบคุมความดงั ของเสียงทอ่ี อกลาโพงหรือหูฟัง ยกเว้น เม่ือใชง้ านร่วมกบั กล่องควบคุม C–2298/VRC และ C–2297/VRC ของระบบติดต่อภายในรถ ในตาแหน่ง ALL ของสวติ ช์ MONITOR ตอ้ ง ควบคุมความดงั ที่ป่ มุ VOLUME ของกล่องควบคุมน้นั ๆ 9) AUDIO : เป็ นข้วั ต่อลาโพงและ / หรือหูฟัง 10) ANT : เป็ นข้วั ตอ่ สายส่ง/สายนาสญั ญาณท่ใี ชเ้ ป็นทางเดินของพลงั งานความถ่ี วทิ ยรุ ะหวา่ งเคร่ืองรบั และเสาอากาศ มีจานวน 2 ข้วั 11) P 201 : เป็ นข้วั ตอ่ พลงั งานไฟฟ้า และสญั ญาณเสียงอยดู่ า้ นหลงั ของเครื่องรบั 5.3 กล่องควบคุมแรงไฟฟ้าชวั่ ขณะ MX–7777/GRC หรือ MX–7778/GRC รูปท่ี 5 MX–7777/GRC หรือ MX–7778/GRC

38 1) ON – OFF: เป็นสวติ ชค์ วบคุมพลงั งานไฟฟ้า มี 2 ตาแหน่ง ดงั น้ี OFF : ปิ ดวงจรไฟฟ้า และมีตวั ตดั วงจร (Circuit Breaker) เป็นตวั ป้องกนั ไฟฟ้า ON : เปิ ดวงจรไฟฟ้า และจะจากดั พลงั งานไฟฟ้าท่ีจ่ายออกไดส้ ูงสุด 36 VDC ท่ี 50 Amps. ถา้ แรงไฟเกินตวั ตดั วงจรจะทางานโดยอตั โนมตั ิโดย กลบั ไปท่ี OFF ถา้ ตอ้ งการเปิ ดใหม่ตอ้ งรอ 2 นาที 2) BATTLE OVERIDE : เป็นสวติ ชค์ วบคุมวงจรไฟฟ้าฉุกเฉิน มีฝาครอบสีแดงปิ ดไว้ และมี 2 ตาแหน่งดงั น้ี OFF : เป็ นตาแหน่งท่ใี ชง้ านตามปกตจิ ะมีวงจรป้องกนั ไฟฟ้าผา่ น ON : เป็ นตาแหน่งใชง้ านฉุกเฉินไม่มีวงจรป้องกนั 3) J1 และ J2 : เป็ นข้วั ต่อสาหรับตอ่ สาย CX – 4720 ไปยงั ชุดวทิ ยุ 4) J3 : เป็ นข้วั ตอ่ สาหรบั ต่อสาย CX – 10613 ไปยงั แบตเตอร่ียานยนต์ หมายเหตุ : ยานยนต์บางชนิดติดต้งั กล่อง MX–7778/GRC หรือกล่อง ควบคุมแรงไฟชวั่ ขณะขนาดเล็ก ( Minisuppressor ) ไม่วา่ จะติดต้งั รุ่นใด จุดประสงคจ์ ะเหมือนกนั คือ เป็ นเคร่ืองป้องกนั วงจรไฟฟ้าของชุดวิทยุ และระบบการติดต่อภายในรถท่ีติดต้ังบนยานยนตน์ ้ันมิให้เกิดความ เสียหายจากการลดั วงจร ขณะมี การเปลี่ยนแปลงของแรงไฟ เช่น การหมุนป้อมปื น, การขบั มอเตอร์ เพ่ือวางตาแหน่งปื นใหญ่,การต่อ สายไฟกลบั ข้วั เป็นตน้ 5.4 กล่องควบคุมการส่งต่อ C – 2299/VRC รูปที่ 6 C–2299/VRC

39 1) RAD TRANS : เป็นสวติ ชค์ วบคุมการใชว้ ทิ ยุ ในกรณีที่ C–2299/VRC ต่อเขา้ กบั เคร่ืองรับ–ส่งและสวติ ช์ RETRAN อยตู่ าแหน่ง OFF สวิทช์ RAD TRANS สามารถควบคุมเคร่ืองรับ – ส่งได้ 2 เคร่ืองตามตาแหน่ง 1 หรือ 2 แต่ถา้ C–2299/VRC ต่อเขา้ กบั AM–1780/VRC สวิตช์ RAD TRANS จะควบคุม เคร่ืองรบั – ส่งไม่ได้ 2) RETRAN : เป็ นสวติ ชค์ วบคุมการส่งตอ่ มี 2 ตาแหน่งดงั น้ี OFF : ปิ ดวงจรการส่งต่อและทาใหส้ วติ ช์ RAD TRANS สามารถควบคุม การใชเ้ ครื่องรับ – ส่งได้ ท้งั จาก C – 2299/VRC และจากกล่องควบคุม ของพลประจารถแต่ละคน ON : เปิ ดวงจรการส่งตอ่ ใหท้ างานแบบอตั โนมตั ิ และสวิตช์ RAD TRANS จะควบคุมการใช้เครื่องรับ–ส่งไม่ได้ ท้งั จาก C–2299/VRC และจาก กล่องควบคุมของพลประจารถแต่ละคน แต่สามารถใชร้ ะบบการติดต่อ ภายในรถได้ 3) VOLUME : เป็ นป่ ุมควบคุมระดบั เสียงของอุปกรณ์ทางเสียงที่ต่อเขา้ กบั J 703,J 704 แต่ถา้ ต่อ C–2299/VRC ร่วมกบั AM–1780/VRC การควบคุมระดบั เสียง จะทาที่ VOLUME ของกล่องควบคุมแตล่ ะกล่อง 4) J 701 และ J 702 : เป็ นข้วั ต่อสาย CX–4723 ไปยงั AM–1780/VRC และ / หรือไปยงั ฐาน เครื่องรบั – ส่ง MT – 1029 5) J 703 และ J 704 : เป็ นข้วั ต่ออุปกรณ์ทางเสียง เช่น ปากพูด M–80 และ/หรือปากพดู –หูฟัง H–250 แต่ถ้าต่อใชง้ านร่วมกับ AM 1780/VRC ไม่ตอ้ งต่ออุปกรณ์ ทางเสียง 6. การใช้งาน ( Operations ) 6.1 คาแนะนาในการใชง้ านกลุ่มชุดวทิ ยุ AN / VRC - 12 1) ไม่ควรใชค้ วามถี่ต่อไปน้ี : 33.90 MHz,45.20 MHz,56.50 MHz และ 67.80 MHz เพราะจะทา ใหเ้ กิดการรบกวนกนั ภายในวงจร SQUELCH ของเคร่ืองรับ – ส่งและเคร่ืองรับ โดยเมื่อไม่มีสญั ญาณ รบั เขา้ มาความถ่ีเหล่าน้ีจะเป็นเหตุใหห้ ลอดไฟ CALL ส่องสวา่ งในตาแหน่ง OLD ON และไม่มีเสียงซู่ใน ตาแหน่ง OLD OFF หรือ NEW OFF 2) ยานยนตบ์ างชนิดจะมีไฟใหญ่ ( MASTER SWITCH ) ควบคุมกาลงั ไฟฟ้าของยานยนตน์ ้นั ๆ การเปิ ดชุดวทิ ยใุ ชง้ านจะตอ้ งเปิ ด MASTER SWITCH ก่อนจงึ จะมีไฟฟ้าจ่ายใหแ้ ก่ชุดวทิ ยุ 3) หา้ มติดเครื่องยนตใ์ นขณะใชง้ านชุดวทิ ยุ ถา้ ตอ้ งการติดเคร่ืองยนตค์ วรปิ ดไฟของชุดวทิ ยกุ ่อน

40 4) การใชง้ านชุดวิทยุในขณะรถจอดอยกู่ ับท่ีอาจดบั เครื่องยนต์ได้ แต่ควรติดเครื่องยนต์ เพื่อ บรรจุแบตเตอรี่เป็นคร้งั คราว 5) การใชเ้ ชือกร้ังเสาอากาศสามารถกระทาได้ เพอ่ื ป้องกนั การชารุดเสียหายและยงั คงสามารถ ตดิ ตอ่ กบั คู่สถานีได้ แตร่ ะยะการติดตอ่ จะลดลง เพราะทิศทางการแพร่กระจายคลื่นเปลี่ยนไป 6) เมื่อเครื่องปรบั วงจรสายอากาศทางานผดิ ปกติ สามารถแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ ได้ โดยการถอด สาย CX – 4722 ออกแลว้ ปรับต้งั ดว้ ยมือ 7) ควรเลือกใชก้ าลงั ส่งออกอากาศต่า ถา้ สามารถติดตอ่ กนั ได้ เพอ่ื รกั ษาความปลอดภยั ทางการ สื่อสาร 8) การเลือกใชแ้ บบของ SQUELCH จะตอ้ งเลือกใชใ้ หถ้ ูกตอ้ ง มิฉะน้นั จะทาใหต้ ดิ ต่อกนั ไม่ได้ 9) ในการติดต่อระยะไกลหรือเม่ือสญั ญาณเบามาก ถา้ ใช้ SQUELCH ในตาแหน่ง NEW ON หรือ OLD ON อาจรับสญั ญาณไม่ไดห้ รือขาดหาย ควรใช้ SQUELCH ในตาแหน่ง NEW OFF หรือ OLD OFF จะทาใหส้ ญั ญาณทรี่ ับไดด้ ีข้นึ 10)อยา่ นาวสั ดุใดๆ เช่น เศษผา้ วางไวด้ า้ นหลงั ทางขวาของตวั เคร่ืองรบั –ส่ง เพราะอาจปิ ดทาง เดินช่องลมระบายความรอ้ น 11)ก่อนทาการส่งออกอากาศจะตอ้ งเปิ ดและอุ่นเครื่องรับ–ส่ง อยา่ งนอ้ ย 1 นาที 6.2 การใชง้ านเครื่องรบั – ส่ง RT – 246 / VRC และ RT – 524 / VRC 1) การเปิ ดเคร่ืองรับ–ส่งใหต้ ้งั สวติ ช์ POWER ไวท้ ต่ี าแหน่ง LOW หรือ HIGH ตามทต่ี อ้ งการใชง้ าน 2) ต้งั สวติ ช์ LIGHT ไวท้ ต่ี าแหน่ง ON ถา้ ตอ้ งการพรางไฟใหไ้ วท้ ี่ตาแหน่ง OFF 3) ต้งั สวติ ช์ SQUELCH ไวท้ ต่ี าแหน่งทตี่ อ้ งการใชง้ าน โดยปกตใิ ช้ NEW ON 4) การต้งั ความถี่ใชง้ าน ๏ ต้งั ดว้ ยมือ : โดยต้งั สวิตช์ BAND ไวใ้ นยา่ นความถ่ีที่ครอบคลุมความถ่ีใชง้ านแลว้ หมุนป่ ุม MC และ KC ใหต้ วั เลขความถี่ทตี่ อ้ งการปรากฏท่ชี ่องหนา้ ปัทม์ ๏ ต้งั อตั โนมตั ิ : ( เฉพาะ RT–246/VRC ) โดยต้งั สวิตช์ BAND ไวท้ ี่ตาแหน่ง AUTO แลว้ กด ป่ มุ เลือกความถ่ีทจ่ี ะใชง้ านตามตอ้ งการ 5) ต้งั สวติ ช์ SPEAKER ( เฉพาะ RT–524/VRC ) ไวท้ ต่ี าแหน่ง ON ถา้ ตอ้ งการใหเ้ สียงออก ลาโพง ถา้ ไม่ตอ้ งการใหเ้ สียงออกลาโพงใหต้ ้งั ไวท้ ี่ตาแหน่ง OFF 6) ปรบั VOLUME ใหเ้ สียงดงั ตามตอ้ งการ 7) การส่งข่าวใหก้ ดสวติ ชป์ ากพดู และพดู ที่ปากพดู การรบั ฟังใหป้ ล่อยสวติ ชป์ ากพดู และรับฟัง เสียงที่หูฟังหรือลาโพง 8) การปิ ดเครื่องรบั – ส่งใหป้ ิ ดสวติ ช์ POWER ไวท้ ่ตี าแหน่ง OFF

41 6.3 การใชง้ านเคร่ืองรบั R – 442 / VRC 1) การเปิ ดเคร่ืองรับใหต้ ้งั สวติ ช์ POWER ไวท้ ่ีตาแหน่ง ON 2) ต้งั สวติ ช์ LIGHT ไวท้ ี่ตาแหน่ง ON ถา้ ตอ้ งการพรางไฟใหต้ ้งั ไวท้ ีต่ าแหน่ง OFF 3) ต้งั สวติ ช์ SQUELCH ไวท้ ่ตี าแหน่งตอ้ งการใชง้ าน โดยปกติใช้ NEW ON 4) การต้งั ความถี่ใชง้ าน กระทาดว้ ยมือเท่าน้นั โดยต้งั สวติ ช์ BAND ไวใ้ นยา่ นความถ่ีท่คี รอบคลุม ความถ่ีใชง้ านแลว้ หมุนป่ ุม MC และ KC ใหต้ วั เลขความถ่ีทีต่ อ้ งการใชง้ านปรากฏทชี่ ่องหนา้ ปัทม์ 5) ปรับ VOLUME ใหเ้ สียงดงั ตามตอ้ งการ 6) การปิ ดเคร่ืองรบั ใหบ้ ดิ สวติ ช์ POWER ไวท้ ี่ตาแหน่ง OFF 6.4 การใชง้ านเครื่องรับ–ส่ง RT–246/VRC ร่วมกบั กล่องควบคุมเลือกความถี่ C–2742/VRC รูปที่ 7 การตดิ ต้งั C–2742/VRC 1) ปฏบิ ตั เิ ช่นเดียวกบั การใชง้ าน RT–246/VRC ในขอ้ 6.2 ยกเวน้ สวติ ช์ POWER ใหต้ ้งั ไว้ ตาแหน่ง REMOTE 2) การเปิ ดเครื่องรับ – ส่งใหต้ ้งั สวติ ช์ POWER ท่ี C – 2742 / VRC ไวท้ ตี่ าแหน่ง LO หรือ HI แลว้ แตก่ าลงั ส่งที่ตอ้ งการ 3) การเปล่ียนความถี่ใหบ้ ิดสวติ ช์ CHAN SEL ที่ C–2742/VRC ไปยงั ช่องความถี่ทีต่ อ้ งการใชง้ าน ตาแหน่งทวนเขม็ นาฬิกาสุดจะตรงกบั ป่ ุมกดเลือกความถ่ีป่ ุมที่ 1 และเมื่อหมุนตามเข็มนาฬิกา จะตรงกบั ป่ มุ ท่ี 2,3,….ตามลาดบั 4) การปิ ดเครื่องรับ – ส่งใหบ้ ิดสวติ ช์ POWER ที่ C–2742/VRC ไวท้ ี่ตาแหน่ง OFF 5) ถา้ ใช้ C–2742/VRC จานวน 2 กล่อง ต่อใชง้ านร่วมกนั กล่องทตี่ ่อตรงเขา้ กบั เครื่องรบั –ส่ง เท่าน้นั ท่สี ามารถใชค้ วบคุมพลงั งานไฟฟ้าในการปิ ด–เปิ ดเครื่องรบั –ส่ง ส่วนการควบคุมกาลงั ส่งและการ เลือกเปล่ียนความถ่ีสามารถสบั เปล่ียนการควบคุมได้ โดยการโยกสวติ ช์ SW ที่ C–2742/VRC ของแต่ละ

42 กล่อง ซ่ึงจะทาให้หลอดไฟ CONTROL ส่องสว่าง แสดงว่า C–2742/VRC กล่องน้ันควบคุมได้และ หลอดไฟ CONTROL ของอีกกล่องหน่ึงจะดบั 6.5 การต้งั ความถี่ล่วงหนา้ (Preset) ทเี่ ครื่องรับ–ส่ง RT–246/VRC รูปท่ี 8 ป่ ุมกดเลือกความถี่ใช้งานอตั โนมตั ิ 1) ต้งั สวติ ช์ POWER ไวต้ าแหน่ง LOW 2) ต้งั สวติ ช์ BAND ไวต้ าแหน่ง AUTO 3) เปิ ดฝาครอบป่ มุ เลือกความถี่ โดยคลายสลกั เกลียว 2 ตวั ดา้ นขา้ งซา้ ย – ขวา 4) กดป่ ุมเลือกความถี่ที่ตอ้ งการจะต้งั ล่วงหนา้ 5) ใชไ้ ขควงบิด BAND SELECTOR ทีต่ รงกบั ป่ ุมเลือกความถ่ีน้นั ไปยงั A หรือ B แลว้ แต่ความถ่ี ท่ีจะต้งั น้นั อยใู่ น BAND ใด 6) ใชน้ ้ิวกดป่ มุ TUNE จะไดย้ นิ เสียงวงจร TUNE ทางาน แลว้ จงึ ใชไ้ ขควงปรับป่ มุ PRESET ที่ ตรงกบั ป่ มุ เลือกความถ่ีน้นั จนกระทง่ั ตวั เลขความถ่ีทตี่ อ้ งการปรากฏทีช่ ่องหนา้ ปัทม์ 7) ตรวจสอบ โดยการกดป่ ุมเลือกความถี่ป่ มุ อ่ืนรอจนเคร่ืองเปล่ียนความถี่ไปจนเสร็จเรียบรอ้ ย แลว้ จงึ กลบั มากดป่ มุ ที่ไดต้ ้งั ไวอ้ ีกคร้งั ถา้ ตวั เลขความถี่ไม่ตรงตามทต่ี ้งั ไวใ้ หป้ ฏบิ ตั ิซ้าในขอ้ 6) ใหม่ 8) ปฏิบตั ติ ามขอ้ 4) ถึง 7) จนครบจานวนป่ มุ เลือกความถ่ีทตี่ อ้ งการจะต้งั ความถ่ีล่วงหนา้ 9) ปิ ดฝาครอบป่ มุ เลือกความถ่ี โดยการขนั สลกั เกลียว 2 ตวั ดา้ นขา้ งซา้ ย – ขวา 10)บนั ทึกความถี่ทีไ่ ดต้ ้งั ไว้ แตล่ ะป่ ุมบนแผน่ สีขาวของฝาครอบป่ มุ เลือกความถ่ีและท่ีแผน่ สีขาว ของ C–2742/VRC ( ถา้ ใชง้ านร่วมกนั )

43 หมายเหตุ : ในกรณีท่ีแผน่ สีแดงปรากฏท่ีช่องหนา้ ปัทมบ์ อกความถ่ีในขณะต้งั ความถ่ีล่วงหนา้ ซ่ึงเกิดจากการปรับป่ ุม PRESET เร็วเกินไปจนทาใหต้ วั เลขความถ่ีเกินยา่ นความถ่ีท่ีครอบคลุมอยู่ จะตอ้ ง แกไ้ ขใหแ้ ผน่ สีแดงหายจากช่องหนา้ ปัทม์เสียก่อน มิฉะน้นั แลว้ วงจร TUNE จะไม่ทางานและต้งั ความถี่ ล่วงหนา้ ของป่ มุ เลือกความถี่น้นั ๆ ไม่ได้ วิธีแก้ไข : ใชไ้ ขควงลองหมุนป่ ุม PRESET ไปทางซา้ ยและขวา ถา้ ไม่สามารถหมุนไปดา้ นใดดา้ น หน่ึง เช่น หมุนไปทางซ้ายไดแ้ ต่หมุนไปทางขวาไม่ได้ ใหห้ มุนยอ้ นกลบั มาทางซ้ายประมาณ 1 หรือ 2 รอบ แลว้ บดิ ป่ มุ MC ดว้ ยมือใหแ้ ผ่นสีแดงเล่ือนไป แลว้ ทดลองกดป่ ุมเลือกความถี่ป่ ุมน้นั อีกคร้ัง แผน่ สี แดงกจ็ ะหายไป 6.6 การส่งตอ่ (Retransmission) โดยใชช้ ุดวทิ ยุ AN/VRC–45 และ AN/VRC–49 เป็ นสถานีส่งตอ่ AN/VRC-45 หรือ 49 ตดิ ต้งั บนยานยนตห์ รือประจาที่ FM. 30.00 เคร่ืองรับ–ส่งที่ 1 เคร่ืองรบั –ส่งที่ 2 FM. 30.00 75.95 MHz RT-524/VRC RT-524/VRC 75.95 MHz หรือ หรือ C-2299/VRC RT-246/VRC RT-246/VRC ชุดวทิ ยคุ ูส่ ถานี ชุดวิทยคุ ูส่ ถานี กลุ่มชุดวทิ ยุ อุปกรณ์ทางเสียง กลุ่มชุดวิทยุ AN/VRC-12 หรือ AN/VRC-12 M-80 หรือ H-250 รูปท่ี 9 การส่งต่อ 1) ปฏิบตั ติ ามขอ้ 6.2 การใชง้ านเคร่ืองรับ–ส่ง RT–246/VRC และ RT–524/VRC 2) ต้งั สวติ ช์ RETRANS ท่ี C–2299/VRC ไวท้ ีต่ าแหน่ง OFF 3) ต่อปากพดู หูฟัง และ/หรือปากพดู ที่ C–2299/VRC เพอ่ื ควบคุมการใชง้ านชุดวิทยทุ ี่สถานีส่งต่อ และต้งั สวติ ช์ RAD TRANS ไปทตี่ าแหน่ง 1 เมื่อตอ้ งการใชง้ านเครื่องรับ–ส่ง A หรือไปท่ีตาแหน่ง 2 เม่ือ ตอ้ งการใชเ้ คร่ืองรบั –ส่ง B 4) ต้งั ความถ่ีวทิ ยทุ ่ตี อ้ งการใชง้ านใหถ้ ูกตอ้ ง ความถ่ีท่ีใชใ้ นการส่งตอ่ ตอ้ งใหห้ ่างกนั ไม่นอ้ ยกวา่ 10 MHz และตอ้ งตรวจสอบความถี่ท้งั สองจากตารางความถ่ีในคู่มือทางเทคนิค และสวิทช์ SQUELCH ควรต้งั ใหต้ รงกนั ดว้ ย

44 5) เม่ือพรอ้ มใชง้ านการส่งตอ่ ใหแ้ จง้ คูส่ ถานีปลายทางท้งั สองทราบและต้งั สวทิ ช์ RETRANS ไวท้ ่ีตาแหน่ง ON คู่สถานีจะติดต่อสื่อสารกนั โดยอตั โนมตั ิผา่ นสถานีส่งต่อ พนักงานที่สถานีส่งต่อไม่ สามารถส่งขอ้ ความใดๆ สอดแทรกได้ 6) ป่ มุ VOLUME ท้งั ทเี่ ครื่องรบั – ส่ง และ C – 2299 / VRC ไม่สามารถควบคุมระดบั เสียงใน ขณะใชง้ านส่งตอ่ โดยอตั โนมตั แิ ตจ่ ะมีผลควบคุมไดเ้ ม่ือสวติ ช์ RETRANS อยใู่ นตาแหน่ง OFF 7) เม่ือตอ้ งการเลิกการใชง้ านส่งตอ่ อตั โนมตั ใิ หบ้ ดิ สวติ ช์ RETRANS มาไวท้ ่ีตาแหน่ง OFF 7. การปรนนิบัติบารุง,การตรวจและการบริการ (Preventive Maintenance Checks And Services=PMCS) วตั ถุประสงคห์ ลกั ของการปรนนิบตั บิ ารุง,การตรวจและการบริการ กระทาเพ่อื ยดื ระยะเวลาการ ใชง้ าน พร้อมกบั เป็นการเพมิ่ สมรรถนะความพร้อมใชง้ านของหน่วย และเพอื่ เป็นการ : 1) ช้ีจุดปัญหาเลก็ ๆ ของระบบการติดตอ่ ส่ือสาร และแกไ้ ขปัญหาน้นั ใหถ้ ูกตอ้ งก่อนท่ีจะกลายเป็ น สาเหตุใหเ้ กิดความเสียหายท้งั ระบบ 2) รกั ษาอุปกรณ์เคร่ืองมือสื่อสารใหอ้ ยใู่ นสภาพทด่ี ี และ 3) ประกันว่าส่วนประกอบชุดของแต่ละชุดวิทยุ และเครื่องติดต่อภายในรถทางานตามหน้าที่อยา่ ง ถูกตอ้ ง เมื่อแต่ละหน่วยมีการทา PMCS ตามตารางการปรนนิบตั ิบารุงอยา่ งสม่าเสมอ ยอ่ มทาใหเ้ กิด ความมน่ั ใจในเคร่ืองมือส่ือสารของหน่วยตนที่จะใชใ้ นภาระกิจต่างๆ หรือเรียกว่า อยใู่ นสภาพพร้อมรบ การปรนนิบตั บิ ารุง ( PMCS ) น้ี สามารถกระทาเป็ นลาดบั ข้นั ตอนและตามวงรอบไดด้ งั น้ี : ๏ ก่อนการใชง้ าน : เพอ่ื มน่ั ใจวา่ เครื่องมือส่ือสารพรอ้ มใชง้ าน ๏ ระหวา่ งการใชง้ าน : เพอื่ ช่วยป้องกนั ไม่ใหเ้ กิดปัญหาเล็กกลายเป็ นปัญหาใหญ่ ๏ หลงั การใชง้ าน : เพอ่ื ช่วยรกั ษาใหเ้ คร่ืองมือสื่อสารอยใู่ นสภาพดีทส่ี ุด ๏ ประจาสปั ดาห์ : เป็ นการตรวจทีส่ าคญั เพอื่ เก็บขอ้ มูลและปัญหาอาการผดิ ปกตทิ ี่เกิดข้ึนเฉพาะ รายการของเครื่องมือส่ือสาร ๏ ประจาเดือน : เช่นเดียวกบั ประจาสปั ดาห์ ๏ ประจาสามเดือน : เป็นการตรวจเฉพาะรายการของเคร่ืองมือส่ือสาร ซ่ึงจาเป็นตอ้ งกระทาในรอบ 3 เดือน เช่น แผน่ ระบายความรอ้ นและสายดิน เป็นตน้ สาหรับการตรวจประจา ( Routine Checks ) น้นั จะไม่มีอยใู่ นรายการตารางการปรนนิบตั ิบารุง แต่เป็นส่ิงทีผ่ ใู้ ชเ้ คร่ืองมือสื่อสารทุกคนไม่ควรปล่อยปละละเลย เม่ือตรวจพบเวลาใดก็ตามควรท่ีจะตอ้ ง กระทาในเวลาน้นั ไดแ้ ก่ การทาความสะอาดฝ่ นุ ละออง, การลา้ ง, การตรวจสายเคเบิลท่ีเปื่ อยชารุด, การ เก็บช้ินส่วนที่ไม่ไดใ้ ชง้ าน, ฝาครอบข้วั ตอ่ ทางไฟฟ้าและความหลวมคลอนของข้วั ตอ่ ต่างๆ หมายเหตุ : ในขณะท่กี ระทาการปรนนิบตั ิบารุง( PMCS ) หรือการตรวจประจาพงึ ระลึกเสมอเก่ียวกบั คาเตอื นและขอ้ ควรระวงั

45 8. การแก้ไขข้อขัดข้อง ( Trouble Shooting ) ในขณะการใชง้ านชุดวิทยรุ ่วมกบั ระบบติดต่อภายในรถ อาจประสบปัญหาบางประการในการ ใชง้ านได้ ผูใ้ ชส้ ามารถแกไ้ ขขอ้ ขดั ขอ้ งได้ โดยทาการตรวจและ ทดสอบการทางานตามตารางการแกไ้ ขขอ้ ขดั ขอ้ งและตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามลาดบั รายการ หมายเหตุ : ตารางการแกไ้ ขขอ้ ขดั ขอ้ งน้ีไม่สามารถครอบคลุมอาการขอ้ ขดั ขอ้ งท้งั หมด ถา้ อาการ ขอ้ ขดั ขอ้ งใดไม่มีอยใู่ นตารางใหแ้ จง้ ตอ่ ผบู้ งั คบั บญั ชาตามลาดบั ช้นั ต่อไป ตารางการแก้ไขข้อขัดข้อง ลาดบั ปัญหาขอ้ ขดั ขอ้ ง การแกไ้ ขขอ้ ขดั ขอ้ ง 1. ไม่สามารถติดต่อสื่อสารทางวิทยุ 1. ตรวจสายเคเบิลและจุดต่อทกุ จุด โดยการตรวจไล่ทางเดินการวางสาย หรื อระบบติดต่อภายในรถได้จาก ท้งั ระบบวา่ ต่อ ถูกตอ้ งมน่ั คงและขนั แน่นหรือไม่ แต่อยา่ ลืมตรวจสายไฟ กล่องควบคุมทุกกล่อง จากแหล่งจ่ายพลงั งานไฟฟา้ 2. ตรวจดูวา่ มีพลงั งานไฟฟา้ จ่ายให้กบั ชุดวทิ ยแุ ละเคร่ืองติดต่อภายในรถ โดยการจดั สวติ ชแ์ ละป่ ุมควบคุมดงั น้ี 2.1 ที่ SUPPRESSOR ,MX – 7777 ต้งั สวทิ ช์ : CIRCUIT BREAKER : ON BATTLE OVERIDE : OFF 2.2 ท่ี AM – 1780 / VRC ต้งั สวทิ ช์ : - INSTALLATION : OTHER - MAIN POWER : NORM - PWR CKT BKR : ON - หลอดไฟ POWER : หมุนทวนเข็มนาฬิกา 2.3 ที่เคร่ืองรับ – ส่งต้งั สวทิ ช์ POWER ไวท้ ่ี LOW หรือ HIGH 2. ไม่สามารถติดต่อส่ือสารทางวิทยุ 1. ตรวจการต่อสายภายในและสายเคเบิลของอุปกรณ์ทางเสียง โดยการ หรื อระบบติดต่อภายในรถได้จาก ทาความสะอาดหนา้ สัมผสั ของข้วั ต่ออุปกรณ์ทางเสียงดว้ ยยางลบดินสอ กล่องควบคุมกล่องใดกล่องหน่ึง ,ตรวจการเดินสายเคเบิลจากกล่องควบคุมไปยงั กล่องเคร่ืองขยายเสียง หมายเหตุ : กล่องควบคุมทุกกล่อง AM – 1780 / VRC ใหแ้ น่ใจวา่ ไดท้ าการต่ออยา่ งถูกตอ้ งและขนั ยดึ แน่น ภายในรถใชง้ านไดไ้ มช่ ารุด 2. ตรวจความบกพร่องของอุปกรณ์ทางเสียง โดยการทดลองเปลี่ยน อุปกรณท์ างเสียงที่ใชง้ านไดด้ ีแทน 3. ตรวจข้วั ต่อของ AM – 1780 / VRC โดยการถอดข้วั ต่อข้วั ใดข้วั หน่ึงที่ ใชง้ านไดด้ ีออกแลว้ ต่อข้วั ต่อของกล่องควบคุมท่ีตอ้ งการตรวจเขา้ แทนท่ี 3. พลขบั และพลประจารถทกุ คนไม่ 1. ตรวจการต้งั สวิทชแ์ ละป่ ุมความถี่ AM – 1780 / VRC ให้ถูกตอ้ งตาม สามารถรับฟังและส่งวิทยุได้จาก ตาแหน่งใชง้ าน กล่อง ควบคุมของแต่ละคน ปกติ บดิ สวิทช์ RADIO TRANS ไวท้ ตี่ าแหน่ง CDR + CREW 2. ตรวจการต้งั สวิทชแ์ ละป่ มุ ควบคุมทก่ี ล่องควบคุมทุกกล่อง บิดสวิทช์ MONITOR ของทกุ กล่องควบคุมไวท้ ีต่ าแหน่ง ALL


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook