Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3. เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 64

3. เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 64

Published by Nor Nan, 2021-12-02 18:36:41

Description: 3. เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 64

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศึกษา โรงเรียนชุมชนประชานิกรอาํ นวยเวทย พทุ ธศักราช 2564 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) กลมุ สาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี สํานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 2 สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

คาํ นาํ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดจัดทําหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ฉบับนี้ ซึ่งเปนเอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนชุมชนประชานิกรอํานวยเวทย พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพ่ือเปนเปาหมายในการ พัฒนาคุณภาพผูเรียน และกระบวนการจัดการเรียนรู เพื่อเปนกรอบและทิศทางในการจัดการเรียนการสอน ใหตรงตามมาตรฐานตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดย พิจารณาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนชุมชนประชานิกรอํานวยเวทย ซ่งึ มอี งคประกอบ ดังน้ี - วสิ ัยทัศน หลกั การ จุดมุงหมาย - สมรรถนะสําคัญของผูเ รยี น - สาระและมาตรฐานการเรียนรู - คุณภาพผูเรียน - สาระและมาตรฐานการเรยี นรู - ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรูแกนกลาง - รายวชิ าที่เปด - คําอธบิ ายรายวชิ าและโครงสรางรายวชิ าพน้ื ฐานและเพ่ิมเติม - สอ่ื /แหลงเรยี นรู - การวดั และประเมินผลการเรียนรู คณะผูจ ัดทําขอขอบคุณผมู ีสว นรว มในการพัฒนาและจดั ทาํ หลักสตู รกลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีฉบับนี้ จนสาํ เร็จลลุ วงเปนอยางดี และหวังเปนอยา งยิ่งวา จะเกดิ ประโยชนต อการจดั การเรียนรู ใหแ กผูเรียนตอ ไป กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ผจู ัดทํา

สารบัญ หนา คํานํา 1 สารบญั 1 วสิ ัยทศั น 2 หลกั การ 3 จดุ มุงหมาย 4 สมรรถนะสาํ คัญของผเู รียน 4 คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค 5 ทาํ ไมตองเรียนวทิ ยาศาสตร 6 เรยี นรอู ะไรในวทิ ยาศาสตร 7 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู 15 ทกั ษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร 19 คณุ ภาพผเู รยี น 21 โครงสรา งรายวชิ าท่ีเปด สอน 91 ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรียนรแู กนกลาง 130 คําอธิบายรายวิชาและโครงสรางรายวิชาพื้นฐาน 131 สือ่ /แหลง การเรียนรู การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู 142 ภาคผนวก 146 อภธิ านศพั ท คณะผูจดั ทํา

เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนชุมชนประชานิกรอาํ นวยเวทย พุทธศักราช 2564 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) กลมุ สาระการเรียนรู วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี วิสยั ทศั น กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี สง เสรมิ ผูเรียนใหม ีการพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ ขนั้ สงู เพือ่ นําไปสคู วามเปน เลิศทางวิชาการ มเี จตคตทิ ่เี หมาะสมตอ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รูคุณคา ของ ภมู ิปญญาไทย หลกั การ 1. พฒั นาความรู ความสามารถทางวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ตามศักยภาพของผเู รียน และสามารถ นําไปเปนเครื่องมอื ในการเรียนรสู ง่ิ ตางๆ และเปนพื้นฐานสําหรับการศึกษาตอ 2. จดั กจิ กรรมกระบวนการเรียนรอู ยา งหลากหลายตอเนอื่ ง ผูเรียนมีสวนรว มในการจดั กระบวนการ เรยี นรอู ยางมคี วามสขุ 3. จัดแผนการเรยี นการสอนใหแกผ เู รยี น เพือ่ ใหผเู รยี นไดม โี อกาสเรียนรูวชิ าวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีตามความถนัดความสนใจ 4. พัฒนาบคุ ลากรของกลุมสาระการเรยี นรูว ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ใหมคี วามรูและทักษะ ตลอดจนนาํ ประสบการณมาใชใ นการเรยี นการสอนโดยมีผเู รยี นเปน สาํ คญั 5. มกี ารนิเทศและตดิ ตามอยางเปนระบบในดานการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 6. จัดการเรียนการสอนโดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ในทกุ รายวชิ าอยางเปน รูปธรรม จัดกิจกรรมวชิ าการดา นวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ใหน ักเรียนกลา แสดงออก และไดป ฏิบัติ กจิ กรรมตางๆ ตามความถนดั และความสนใจ 7. จัดกิจกรรมนําเสนอผลงานนกั เรียน – ครู ในงานนิทรรศการทางวชิ าการภายในโรงเรียน 8. สนับสนุน สงเสริมใหครู ผลติ สอื่ และนวตั กรรมประกอบการเรียนการสอนตามเน้ือหาการเรียนรู 9. จัดกจิ กรรมสง เสริม พฒั นาผเู รยี นที่มีความสามารถ และชวยเหลือผูเ รียนที่มีปญหาดา นการเรียน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 10. วดั และประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ดวยวิธีการท่ีหลากหลายใหครอบคลมุ ทั้งดานความรู ทักษะ/ กระบวนการ สมรรถนะสําคัญของผูเ รียน และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค -1-

จดุ มุงหมาย กลุมสาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี มุง พฒั นาผูเรยี นใหเ ปน คนดี มปี ญ ญา มคี วามสุข มีศักยภาพในการศึกษาตอ และประกอบอาชีพ และผูเรียนมีคุณภาพตามเกณฑของคุณภาพผูเรียนกลุมสาระ การเรียนรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี เมอื่ จบการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ดังน้ี 1. มีคณุ ภาพตามเกณฑของคุณภาพผูเรียนกลมุ สาระการเรียนรูว ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคานิยมอันพงึ ประสงค เห็นคุณคาของตนเอง มวี นิ ยั และปฏิบัตติ นตาม หลกั ของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทต่ี นนับถือ ยดึ หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. มีความรู ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยี และมีทักษะชวี ิต 4. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจิตทีด่ ี มีสขุ นสิ ัย และรักการออกกาํ ลงั กาย 5. มีความรักชาติ มจี ิตสํานึกในความเปนพลเมอื งไทยและพลโลก ยึดม่ันในวถิ ชี วี ิต และการปกครอง ตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ทรงเปน ประมุข 6. มีจิตสาํ นึกในการอนรุ กั ษว ัฒนธรรมและภูมิปญ ญาไทย การอนรุ ักษและพฒั นาส่ิงแวดลอ ม มจี ิตสาธารณะท่ีมงุ ทําประโยชนและสรางสงิ่ ทีด่ ีงามในสงั คม และอยูรว มกนั ในสังคมอยางมีความสขุ -2-

สมรรถนะสําคัญของผเู รียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับและสง สาร มวี ัฒนธรรมในการใชภ าษา ถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร และประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาตอรองเพ่ือ ขจัดและลดปญหาความขดั แยง ตาง ๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและความ ถกู ตอ ง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการสื่อสาร ท่ีมีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีตอตนเองและ สงั คม 2. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิดอยาง สรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนําไปสูการสรางองคความรูหรือ สารสนเทศเพ่อื การตัดสินใจเกี่ยวกบั ตนเองและสงั คมไดอ ยางเหมาะสม 3. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ท่ีเผชิญได อยา งถูกตองเหมาะสมบนพนื้ ฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธ และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการ ปองกันและแกไ ขปญ หา และมีการตัดสนิ ใจท่มี ีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดข้ึนตอตนเอง สังคมและส่งิ แวดลอม 4. ความสามารถในการใชทักษะชวี ติ เปนความสามารถในการนาํ กระบวนการตา งๆ ไปใชใ น การดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทํางาน และการอยู รวมกันในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความ ขัดแยงตาง ๆ อยางเหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจ กั หลีกเลี่ยงพฤตกิ รรมไมพึงประสงคทส่ี ง ผลกระทบตอ ตนเองและผอู ่ืน 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปน ความสามารถในการเลอื ก และใชเทคโนโลยีดานตา ง ๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอื่ การพฒั นาตนเองและสงั คม ในดานการเรียนรู การส่ือสาร การ ทํางาน การแกป ญหาอยา งสรางสรรค ถกู ตอ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม -3-

คุณลักษณะอนั พึงประสงค 1. รักชาติ ศาสน กษัตริย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการเปนพลเมืองดีของชาติ ธํารงไวซ่ึง ความเปน ชาตไิ ทย ศรทั ธา ยึดม่ันในศาสนา และเคารพเทดิ ทูนสถาบนั พระมหากษัตรยิ  2. ซ่ือสัตยสุจริต หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดม่ันในความถูกตอง ประพฤติตรงตามความ เปนจริงตอ ตนเองและผอู ่นื ทงั้ ทางกาย วาจา ใจ 3. มีวินัย หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงการยึดมั่นในขอตกลง กฎเกณฑ และระเบียบ ขอบังคับ ของครอบครัว โรงเรยี น และสงั คม 4. อยูอยางพอเพียง หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการดําเนินชีวิตอยางพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม มภี ูมิคมุ กนั ในตัวทด่ี ี และปรบั ตัวเพ่อื อยูในสงั คมไดอยางมีความสุข 5. มุง มนั่ ในการทํางาน หมายถงึ คณุ ลกั ษณะทีแ่ สดงออกถงึ ความต้ังใจ และรับผิดชอบในการทําหนาที่ การงานดว ยความเพียรพยายาม อดทน เพอ่ื ใหงานสาํ เรจ็ ตามเปา หมาย 6. รักความเปนไทย หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงความภาคภูมิใจ เห็นคุณคา รวมอนุรักษสืบ ทอดภมู ปิ ญญาไทย ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ใชภาษาไทยในการส่ือสารไดอยาง ถกู ตอ งและเหมาะสม 7. มีจิตสาธารณะ หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงการมีสวนรวมในกิจกรรมหรือสถานการณท่ี กอ ใหเกดิ ประโยชนแ กผ ูอนื่ ชมุ ชน และสงั คม ดวยความเตม็ ใจ กระตอื รือรน โดยไมหวังผลตอบแทน ทาํ ไมตองเรยี นวิทยาศาสตร การเรียนการสอนวิทยาศาสตรมุงเนนใหผูเรียนไดคนพบความรูดวยตนเองมากที่สุด เพ่ือใหได ท้งั กระบวนการและความรู จากวธิ กี ารสงั เกต การสาํ รวจตรวจสอบ การทดลอง แลว นําผลที่ไดมาจัดระบบเปน หลักการ แนวคดิ และองคค วามรู การจัดการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรจงึ มีเปาหมายที่สาํ คัญ ดงั นี้ 1. เพือ่ ใหเ ขา ใจหลักการ ทฤษฎี และกฎทเี่ ปนพ้นื ฐานในวชิ าวิทยาศาสตร 2. เพ่ือใหเขาใจขอบเขตของธรรมชาติของวิชาวิทยาศาสตรและขอจํากัดในการศึกษาวิชา วิทยาศาสตร 3. เพือ่ ใหมีทักษะทสี่ ําคัญในการศกึ ษาคนควาและคดิ คนทางเทคโนโลยี 4. เพื่อใหตระหนักถึงความสัมพันธระหวางวิชาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี มวลมนุษยและ สภาพแวดลอ ม ในเชงิ ทม่ี อี ิทธพิ ลและผลกระทบซ่งึ กันและกนั 5. เพอ่ื นําความรู ความเขา ใจ ในวิชาวทิ ยาศาสตร และเทคโนโลยไี ปใชใหเกิดประโยชนตอสังคมและ การดาํ รงชวี ติ 6. เพอ่ื พัฒนากระบวนการคดิ และจินตนาการ ความสามารถในการแกปญหา และการจัดการ ทักษะ ในการส่อื สาร และความสามารถในการตดั สนิ ใจ 7. เพื่อใหเปนผูท่ีมีจิตวิทยาศาสตร มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมในการใชวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีอยางสรางสรรค -4-

เรยี นรูอ ะไรในวิทยาศาสตร กลุมสาระการเรียนรูว ิทยาศาสตรมงุ หวังใหผ เู รียนไดเ รียนรูวทิ ยาศาสตร ท่เี นน การเชอื่ มโยงความรู กับ กระบวนการ มีทักษะสําคัญในการคนควาและสรางองคความรู โดยใชกระบวนการในการสืบเสาะหาความรู และแกปญ หาที่หลากหลาย ใหผเู รียนมีสวนรว มในการเรยี นรทู กุ ขนั้ ตอน มีการทํากิจกรรมดวยการลงมือปฏิบัติ จริงอยา งหลากหลาย เหมาะสมกับระดบั ช้นั โดยกําหนดสาระสําคัญ ดงั น้ี ✧ วิทยาศาสตรชีวภาพ เรียนรูเก่ียวกับ ชีวิตในส่ิงแวดลอม องคประกอบของส่ิงมีชีวิต การดํารงชีวิตของมนุษยและสัตว การดํารงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพและ วิวัฒนาการของสิง่ มชี ีวิต ✧ วิทยาศาสตรกายภาพ เรียนรเู กีย่ วกบั ธรรมชาตขิ องสาร การเปล่ียนแปลงของสาร การเคลื่อนที่ พลังงาน และคล่ืน ✧ วิทยาศาสตรโลก และอวกาศ เรียนรูเก่ียวกับ องคประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธ ภายใน ระบบสุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปล่ียนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการ เปลี่ยนแปลงลมฟา อากาศ และผลตอ ส่ิงมชี ีวิตและสิ่งแวดลอ ม ✧ เทคโนโลยี ● การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรูเก่ียวกับ เทคโนโลยีเพื่อการดํารงชีวิตในสังคมที่มีการ เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ใชความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและศาสตรอ่ืน ๆ เพ่ือแกปญหาหรือพัฒนางานอยางมีความคิดสรางสรรคดวยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช เทคโนโลยี อยางเหมาะสมโดยคาํ นงึ ถึงผลกระทบตอชวี ติ สงั คม และสิ่งแวดลอ ม ● วทิ ยาการคํานวณ เรยี นรเู กี่ยวกับ การคิดเชิงคํานวณ การคิดวิเคราะห แกปญหาเปนข้ันตอนและ เปนระบบ ประยุกตใชความรูดานวิทยาการคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการ แกป ญหาท่ีพบในชีวติ จริงไดอยา งมปี ระสิทธิภาพ -5-

สาระและมาตรฐานการเรียนรู สาระที่ 1 วิทยาศาสตรช วี ภาพ มาตรฐาน ว 1.1 เขาใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธระหวางสิ่งไมมีชีวิตกับ สิ่งมีชีวิต และความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศการถายทอดพลังงาน การเปล่ียนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญหาและผลกระทบท่ีมีตอ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แนวทางในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและการแกไขปญหา สง่ิ แวดลอ ม รวมทั้งนาํ ความรไู ปใชป ระโยชน มาตรฐาน ว 1.2 เขาใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หนวยพื้นฐานของส่ิงมีชีวิต การลําเลียงสารเขาและออก จากเซลล ความสัมพันธของโครงสรางและหนาท่ีของระบบตางๆของสัตวและมนุษยท่ีทํางานสัมพันธกัน ความสัมพันธของโครงสรางและหนาที่ของอวัยวะตาง ๆ ของพืชที่ทํางานสัมพันธกัน รวมทั้งนําความรูไปใช ประโยชน มาตรฐาน ว 1.3 เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพนั ธุกรรม การเปลยี่ นแปลงทางพนั ธกุ รรมทีม่ ผี ลตอ ส่งิ มีชีวติ ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการ ของสง่ิ มชี วี ิต รวมทั้งนําความรูไปใชประโยชน สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตรก ายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เขาใจสมบัติของสสาร องคประกอบของสสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของ สสาร กับโครงสรางและแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของ สสาร การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี มาตรฐาน ว 2.2 เขาใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจําวัน ผลของแรงท่ีกระทําตอวัตถุ ลักษณะการ เคล่ือนท่ีแบบตา ง ๆ ของวตั ถุ รวมทงั้ นาํ ความรูไ ปใชป ระโยชน มาตรฐาน ว 2.3 เขาใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจําวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณท่ีเกี่ยวของ กับเสยี ง แสง และคล่ืนแมเหลก็ ไฟฟา รวมทั้งนาํ ความรไู ปใชป ระโยชน สาระที่ 3 วิทยาศาสตรโ ลก และอวกาศ มาตรฐาน ว 3.1 เขาใจองคประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ และระบบสุริยะ รวมท้ังปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะที่สงผลตอสิ่งมีชีวิต และการประยุกตใช เทคโนโลยีอวกาศ มาตรฐาน ว 3.2 เขาใจองคประกอบและความสัมพันธของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง ภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟาอากาศและภูมิอากาศโลก รวมท้ังผล ตอ สง่ิ มีชวี ิตและสง่ิ แวดลอม -6-

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 เขาใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดํารงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลง อยางรวดเร็ว ใชความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และศาสตรอื่น ๆ เพื่อแกปญหาหรือ พัฒนางานอยางมีความคิดสรางสรรคดวยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใชเทคโนโลยีอยาง เหมาะสมโดยคํานงึ ถึงผลกระทบตอชีวติ สังคม และส่ิงแวดลอ ม มาตรฐาน ว 4.2 เขาใจและใชแนวคิดเชิงคํานวณในการแกปญหาที่พบในชีวิตจริงอยางเปน ขั้นตอน และเปนระบบ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรูการทํางาน และการแกปญหาได อยางมี ประสิทธภิ าพ รูเทาทนั และมีจริยธรรม ทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร การศึกษาทางวิทยาศาสตร คือ การศึกษาเก่ียวกับทุก ๆ สิ่งที่อยูรอบตัวอยางมีระเบียบแบบแผน เพ่ือใหไดข อ สรปุ และสามารถนําความรูที่ไดมาอธิบายปญหาตาง ๆ ซ่ึงการจะตอบหรืออธิบายปญหาที่สงสัยได นัน้ จาํ เปน ตอ งมีทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร (Science process skill) หมายถึง ความสามารถ และความ ชํานาญในการคิด เพ่ือคนหาความรูและการแกไขปญหา โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรอาทิการสังเกต การวัด การคํานวณ การจําแนก การหาความสัมพันธระหวางสเปสกับเวลา การจัดกระทํา และส่ือความหมาย ขอ มูล การลงความคิดเห็น การพยากรณ การต้ังสมมติฐาน การกําหนดนิยาม การกําหนดตัวแปร การทดลอง การวิเคราะหและแปรผลขอมลู การสรปุ ผลขอมูลไดอยางรวดเร็ว ถูกตอง และแมนยํา ทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร 13 ทักษะ แบงเปน 2 ระดับ คือ 1. ระดับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน 8 ทักษะ เปนทักษะเพ่ือการแสวงหา ความรูท่วั ไป ประกอบดวย ทักษะท่ี 1 การสังเกต (Observing) หมายถึง การใชประสาทสัมผัสของรางกายอยางใดอยางหน่ึง หรือ หลายอยา ง ไดแก หู ตา จมกู ลิ้น กายสมั ผสั เขาสมั ผัสกบั วตั ถหุ รอื เหตุการณเพื่อใหทราบ และรับรูขอมูล รายละเอียดของส่ิงเหลาน้ัน โดยปราศจากความคิดเห็นสวนตน ขอมูลเหลาน้ีจะประกอบดวย ขอมูลเชิง คุณภาพ เชิงปริมาณ และรายละเอียดการเปลยี่ นแปลงทเ่ี กิดขึ้นจากการสงั เกต ทักษะท่ี 2 การวัด (Measuring) หมายถึง การใชเคร่ืองมือสําหรับการวัดขอมูลในเชิงปริมาณของสิ่ง ตาง ๆ เพ่ือใหไดข อมูลเปนตัวเลขในหนวยการวัดที่ถูกตอง แมนยําได ทั้งน้ี การใชเครื่องมือจําเปนตองเลือกใช ใหเ หมาะสมกับสง่ิ ที่ตอ งการวดั รวมถึงเขา ใจวิธีการวัด และแสดงขน้ั ตอนการวดั ไดอ ยางถกู ตอ ง ทักษะที่ 3 การคํานวณ (Using numbers) หมายถึง การนับจํานวนของวัตถุ และการนําตัวเลขที่ได การจากนับ และตัวเลขจากการวัดมาคํานวณดวยสูตรคณิตศาสตร เชน การบวก การลบ การคูณ การหาร เปนตน โดยการเกดิ ทกั ษะการคาํ นวณจะแสดงออกจากการนบั ที่ถูกตอง สวนการคํานวณจะแสดงออกจากการ เลือก สูตรคณิตศาสตร การแสดงวธิ คี าํ นวณ และการคํานวณที่ถูกตอ ง แมน ยาํ -7-

ทักษะท่ี 4 การจําแนกประเภท (Classifying) หมายถึง การเรียงลําดับ และการแบงกลุมวัตถุหรือ รายละเอยี ดขอมูลดว ยเกณฑค วามแตกตา งหรือความสัมพันธใ ด ๆอยางใดอยา งหนง่ึ ทักษะท่ี 5 การหาความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา (Using space/Time relationships) สเปสของวตั ถุ หมายถึง ท่ีวางท่วี ัตถุนน้ั ครองอยู ซงึ่ อาจมรี ปู รา งเหมือนกนั หรอื แตกตางกับวัตถุ นั้น โดยทั่วไปแบงเปน 3 มิติ คือ ความกวาง ความยาว และความสูง ความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปสของ วตั ถุ ไดแก ความสมั พันธร ะหวา ง 3 มิติ กับ 2 มิติ ความสัมพันธระหวางตาํ แหนงท่ีอยูของวัตถุหน่ึงกับวัตถุหน่ึง ความสัมพันธระหวางสเปสของวัตถุกับเวลา ไดแก ความสัมพันธของการเปล่ียนแปลงตําแหนงของวัตถุกับ ชว งเวลา หรือความสมั พนั ธของสเปสของวัตถทุ เ่ี ปลย่ี นไปกบั ชวงเวลา ทกั ษะท่ี 6 การจัดกระทํา และสื่อความหมายขอมูล (Communication) หมายถึง การนําขอมูลท่ีได จากการสังเกต และการวัด มาจัดกระทําใหมีความหมาย โดยการหาความถ่ี การเรียงลําดับ การจัดกลุม การคํานวณคา เพื่อใหผูอ่ืนเขาใจความหมายไดดีข้ึน ผานการเสนอในรูปแบบของตาราง แผนภูมิ วงจร เขียน หรอื บรรยาย เปน ตน ทักษะท่ี 7 การลงความเห็นจากขอมูล (Inferring) หมายถึง การเพ่ิมความคิดเห็นของตนตอขอมูลท่ี ไดจากการสังเกตอยางมีเหตุผลจากพืน้ ฐานความรหู รือประสบการณท ่มี ี ทักษะที่ 8 การพยากรณ (Predicting) หมายถึง การทํานายหรือการคาดคะเนคําตอบ โดยอาศัย ขอมูลท่ไี ดจากการสังเกตหรือการทําซ้ํา ผานกระบวนการแปรความหมายของขอมูลจากสัมพันธภายใตความรู ทางวิทยาศาสตร 2. ระดับทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข้นั บูรณาการ 5 ทกั ษะ เปนทกั ษะกระบวนการข้ันสูงท่ี มีความซบั ซอ นมากขนึ้ เพือ่ แสวงหาความรู โดยใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพ้ืนฐาน เปนพื้นฐาน ในการพฒั นา ประกอบดว ย ทักษะที่ 9 การตั้งสมมติฐาน (Formulating hypotheses) หมายถึง การต้ังคําถามหรือคิดคําตอบ ลวงหนากอนการทดลองเพ่ืออธิบายหาความสัมพันธระหวางตัวแปรตาง ๆ วามีความสัมพันธอยางไร โดยสมมติฐานสรางขึ้นจะอาศยั การสังเกต ความรู และประสบการณภายใตหลักการ กฎ หรือทฤษฎีที่สามารถ อธบิ ายคาํ ตอบได ทักษะท่ี 10 การกาํ หนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining operationally) หมายถึง การกําหนด และ อธิบายความหมาย และขอบเขตของคําตาง ๆ ที่เก่ียวของกับการศึกษาหรือการทดลองเพื่อใหเกิดความเขาใจ ตรงกันระหวา งบคุ คล ทักษะที่ 11 การกําหนด และควบคุมตัวแปร (Identifying and controlling variables) หมายถึง การบงชี้ และกําหนดลักษณะตัวแปรใดๆ ใหเปนตัวแปรอิสระหรือตัวแปรตน และตัวแปรใดๆใหเปนตัวแปร ตาม และตัวแปรใดๆ ใหเ ปน ตัวแปรควบคมุ ทกั ษะท่ี 12 การทดลอง (Experimenting) หมายถึง กระบวนการปฏิบตั ิ และทําซ้ําในข้ันตอนเพื่อหา คาํ ตอบจากสมมตฐิ าน แบงเปน 3 ข้นั ตอน คอื -8-

1. การออกแบบการทดลอง หมายถึง การวางแผนการทดลองกอนการทดลองจริงๆ เพื่อกําหนด วิธีการ และขั้นตอนการทดลองที่สามารถดําเนินการไดจริง รวมถึงวิธีการแกไขปญหาอุปสรรคท่ีอาจเกิดข้ึน ขณะทาํ การทดลอง เพ่ือใหก ารทดลองสามารถดาํ เนนิ การใหสาํ เรจ็ ลุลวงดว ยดี 2. การปฏิบตั ิการทดลอง หมายถึง การปฏบิ ตั ิการทดลองจริง 3. การบันทึกผลการทดลอง หมายถึง การจดบันทึกขอมูลที่ไดจากการทดลอง ซ่ึงอาจเปนผลจากการ สงั เกต การวัดและอ่นื ๆ ทักษะที่ 13 การตีความหมายขอมูล และการลงขอมูล (Interpreting data and conclusion) หมายถึง การแปรความหมายหรือการบรรยายลักษณะและสมบัติของขอมูลที่มีอยู การตีความหมายขอมูลใน บางคร้ังอาจตองใชทกั ษะอ่ืน ๆ เชน ทกั ษะการสังเกต ทกั ษะการคํานวณ ทกั ษะกระบวนการสาํ หรับการออกแบบและเทคโนโลยี (Process Skills of Design and Technology) การจัดการเรียนรูวิชาการออกแบบและเทคโนโลยีเพ่ือพัฒนาความสามารถของผูเรียนในการแกปญหา หรือพฒั นางานอยางสรา งสรรค ผเู รยี นจะไดรับการพัฒนาทักษะและกระบวนการท่ีจําเปนตอการดํารงชีวิตผานการ จัดการ เรยี นรูท เี่ นน การลงมือปฏิบัติ ซ่ึงทักษะและกระบวนการสําคญั ของวชิ าการ ออกแบบและเทคโนโลยี ไดแก ทักษะสําคัญของการออกแบบและเทคโนโลยี (Essential Skills of Design and Technology) เปน ความสามารถในการคิดเชิงระบบ การคิดสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ การคิดวิเคราะห การทํางาน รวมกนั และการ สื่อสาร กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม (Engineering Design Process) เปนการหาวิธีการในการแกปญหา ซง่ึ อาจเปนวธิ กี ารหรือการพฒั นาสงิ่ ประดิษฐผ า นกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม ตามรายละเอยี ดดังนี้ -9-

กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม (Engineering Design Process) จากภาพแสดงใหเห็นวา การแกปญ หาตามกระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรม ไมมีลําดับข้ันตอนท่ี แนน อน ลูกศรแบบ 2 หัวที่เช่ือมระหวาง แตละข้ันของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม แสดงใหเห็นวาแต ละขั้น สามารถเกิดข้นึ ยอ นกลบั ไปมาได สวนลูกศรตรงกลางแสดงใหเหน็ วา กระบวนการแกปญหาสามารถเกิด ซํ้า (Iterate) ในบางข้ันตอนหากจําเปน เชน เมื่อดําเนินการแกปญหาพบวายังตองกลับไปรวบรวมขอมูลหรือ แนวคดิ เพิ่มเติม หรือบางครงั้ เมอื่ พบวา วิธกี ารท่ีเลือกไมสามารถแกปญหาไดก็ตอง กลับไปเลือกวิธีการอ่ืนท่ีเคย สรรหาไวกอ นหนานหี้ รอื รวบรวมแนวคดิ และ สรรหาวิธกี ารเพิ่มเตมิ ทักษะการคิดเชงิ คํานวณ (Computational Thinking) ทักษะการคิดเชิงคํานวณ เปนกระบวนการในการแกปญหา การคิด วิเคราะหอยางมีเหตุผลเปน ขั้นตอน เพ่ือหาวิธีการแกปญหาในรูปแบบท่ี สามารถนําไปประมวลผลไดอยางมีประสิทธิภาพ ทักษะน้ีมี ความสําคัญใน การพัฒนาซอฟตแวร นอกจากนี้ยังสามารถนําไปใชแกปญหาในศาสตรอ่ืนๆ และปญหาใน ชวี ิตประจําวนั ไดดวย ทักษะการคิดเชิงคาํ นวณมอี งคป ระกอบ ดังตอ ไปน้ี การแบงปญหาใหญออกเปนปญหายอย (Decomposition) เปนการพิจารณา และแบงปญหา/ งาน/สวนประกอบ ออกเปนสวนยอ ย เพอื่ ใหจัดการกับปญหาไดง ายขึ้น การพิจารณารูปแบบของปญหาหรือวิธีการแกปญหา (Pattern Recognition) เปนการพิจารณา รูปแบบ แนวโนม และลักษณะทั่วไปของขอมูล โดยพิจารณาวาเคยพบปญหาลักษณะนี้มากอนหรือไม หากมี รูปแบบของปญหาทีค่ ลายกันสามารถนาํ วิธกี ารแกป ญ หาน้ันมาประยุกตใช และพิจารณารูปแบบปญหายอยซึ่ง อยภู ายในปญหาเดียวกันวามีสวนใดท่ีเหมือนกัน เพื่อใช วิธีการแกปญหาเดียวกันได ทําใหจัดการกับปญหาได งา ยขน้ึ และการ ทาํ งานมีประสทิ ธภิ าพเพิ่มขึน้ การพิจารณาสาระสําคัญของปญหา (Abstraction) เปนการพิจารณารายละเอียดที่สําคัญของ ปญ หา แยกแยะสาระสําคัญออก จากสวนท่ไี มส าํ คัญ การออกแบบอัลกอริทมึ (Algorithms) เปนขั้นตอนในการแกปญหาหรือการทํางาน โดยมีลําดับของ คาํ ส่งั หรือวิธี การทีช่ ัดเจนท่ีคอมพิวเตอรสามารถปฏิบตั ิตามได - 10 -

ทักษะแหงศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) ทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 หมายถึงกลุมความรู ทักษะ และนิสัยการทํางานท่ี เช่ือวามีความสําคัญ อยางยิ่งตอความสําเร็จในการเรียนรูตลอดชีวิต ทักษะนี้ เปนผลจากการพัฒนากรอบความคิดการเรียนรูใน ศตวรรษท่ี 21 โดยภาคี เพ่ือทักษะแหงศตวรรษที่ 21 (Parnership for 21st Century Learning, 2009) โดย กรอบความคิดน้นี ําเสนอท้งั สว นของผลลพั ธของผเู รียนและระบบ สนับสนุนตางๆ ดังอธบิ ายไดต ามภาพ การท่ีจะประสบความสําเร็จในการประกอบอาชีพและดํารงชีวิตในศตวรรษที่ 21ผูเรียนจําเปนตอง ไดรับการพัฒนาและฝกฝนวิทยาการความรูและ ทักษะตางๆ ไดแก ทักษะการใชชีวิตและอาชีพ ทักษะการ เรียนรูและ นวัตกรรม ทักษะดานสารสนเทศ ส่ือตางๆ และเทคโนโลยี ซึ่งลวนเปนทักษะ สําคัญสําหรับ พลเมืองโลกทุกวันน้ี นอกจากน้ียังตองมีรูปแบบและวิธีการ ประเมินการเรียนรูและทักษะเหลานี้อยาง สอดคลอง เหมาะสม และมี ประสิทธิภาพ สําหรับการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาทักษะเหลาน้ี สามารถทําไดโดยผสมผสานบูรณาการควบคูไปกับการเรียนรูดานเนื้อหาและ ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร โดยสถานศึกษาจําเปนตองมีการจัดระบบตางๆ เชน หลักสูตรสถานศึกษา สื่อการจัดการเรียนรู การประเมินการ เรียนรู ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนสภาพแวดลอมตางๆ ใหสงเสริม สนับสนุนการ เรยี นรดู า นวิชาการตา ง ๆ ใหผูเรียนมีเจตคติที่ดีตอการเรียนรู วิทยาศาสตรผานการเรียนรูอยางมีความสุขและ เห็นประโยชนของการหม่ัน เพียรเรียนรูและฝกฝนเพื่อพัฒนาสมรรถนะท่ีจําเปนเหลาน้ีและประสบความ สาํ เร็จในอนาคต กรอบความคิดนี้ยังอธิบายวา ผูเรียนแหงศตวรรษท่ี 21 จะประสบความ สําเร็จในชีวิตและอาชีพได จําเปนตองรูหนังสือ น่ันคือมีความสามารถในการ อานออกเขียนไดควบคูไปกับความรอบรูที่บูรณาการกัน ระหวางความรูใน วิชาการและทกั ษะกระบวนการตางๆ ท่ีกลาวมา ดังน้ันบุคคลแหงศตวรรษที่ 21 จะตองเปน ผูรูหนังสือ มีทักษะในการเสาะแสวงหาความรูไดดวยตัวเอง อันนําไปสูการเปนผูมีดานความรูทางวิชาการที่ เขมแข็งจึงจะสามารถคิดอยาง มีวิจารณญาณ สรางสรรค ส่ือสารและทํางานรวมมือกับผูอื่นไดอยางมี ประสทิ ธิภาพ - 11 -

ผลลัพธท ี่ควรเกิดกบั ผเู รียนแหงศตวรรษที่ 21 (21ST CENTURY STUDENT OUTCOMES) องคประกอบสําคัญท่ีเปนผลลัพธของผูเรียนแหงศตวรรษที่ 21 ประกอบดวย ความรูและเร่ืองราวที่ เก่ียวของกับศตวรรษ 21 ทักษะการ เรียนรูและนวัตกรรม ทักษะชีวิตและอาชีพ และทักษะสารสนเทศ สื่อ มีเดียและเทคโนโลยี ผลลัพธที่ควรเกิดกับผูเรียนดานความรูและเรื่องราวที่เกี่ยวของกับ ศตวรรษท่ี21 ผูเรียน แหงศตวรรษน้ีจําเปนตองมีความรอบรูเรื่องราว เหตุการณ สถานการณที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21 ผูสอนจึง ตอ งออกแบบและจดั การเรียนรูท ีม่ กี ารผนวกหรอื บรู ณาการเรือ่ งราวหรอื เหตุการณตางๆ ท่ีเกิดขึ้นกับศตวรรษ ท่ี 21 ไวในแผนการจัดการเรียนรู หรือหลักสูตรสถานศึกษา เชน การตระหนักตอโลก ความรอบรูในเร่ือง การเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจและการประกอบการ ความรอบรูในเร่ืองหนาที่ พลเมือง สุขภาพ และส่ิงแวดลอม ความรูดานศาสตรว ทิ ยาการตา งๆ ท่ี มคี วามสาํ คญั ตอผูเ รยี นในศตวรรษน้ี ไดแ ก  ภาษาอังกฤษ ท้งั ดา นการอา น และ ความงดงามของภาษา  วทิ ยาศาสตร  ภาษาตา งๆ ในโลก  คณิตศาสตร  ศลิ ปะ  เศรษฐศาสตร  ภูมศิ าสตร  การปกครองและหนาที่พลเมอื ง  ประวตั ศิ าสตร ดงั ทกี่ ลาวแลว ขางตน นอกจากผลลพั ธด านความรู พลเมืองในศตวรรษท่ี 21 ควรมีสมรรถนะท่ีจําเปน อกี 3 ดาน ไดแก  ทกั ษะการเรยี นรูและนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills)  ความรอบรูแ ละสมรรถนะดานทักษะชวี ติ และอาชีพ  ทักษะสารสนเทศ สื่อมเี ดยี และเทคโนโลยี ราชบัณฑิตยสถานไดระบุทักษะท่ีจําเปนแหงศตวรรษที่ 21 ที่สอดคลอง กับสมรรถนะท่ีควรมีในพลเมืองยุค ใหมรวม 7 ดาน (สํานักงานพัฒนา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ, 2558; ราชบัณฑิตยสถาน, 2557) ดังนี้ 1. ดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและการแกปญหา เปนความสามารถในการใชเหตุผลอยางมี ประสิทธิภาพ การคิดอยางเปนระบบ การประเมินและการตัดสินใจ และการแกปญหา การคิด อยางมีวจิ ารณญาณ (Critical Thinking) การแกปญ หา (Problem Solving) 2. ดา นการสอื่ สารสารสนเทศและการรูเทาทันสือ่ ประกอบดว ย (1) สามารถเลอื กใชเคร่อื งมือที่ถูกตอง เหมาะสมเพ่ือสรางสื่อไดตรงตาม วัตถุประสงครวมถึง สามารถส่อื สารความคิดผา นสอื่ ขอ ความหรอื สื่อรูปแบบอื่น - 12 -

(2) เขา ใจวัตถุประสงคข องการสรางส่ือขอความรวมถึงวิธกี ารสรา งสื่อนน้ั ๆ (3) เขาใจอิทธิพลของความเชื่อและวัฒนธรรมตอส่ือรูปแบบตางๆ และผลกระทบ ของ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารตอ การดาํ เนินชวี ติ อาชีพ สังคม และ วัฒนธรรม (4) เขาใจขอตกลง ขอกําหนด และกฎหมายในการใชส่ือหรือแหลงขอมูลตางๆ การใช ลิขสิทธ์ิดานสารสนเทศและส่อื ของผอู ่นื โดยชอบธรรม 3. ดานความรวมมอื การทาํ งานเปนทีมและภาวะผนู ํา เปน การแสดงความสามารถในการทํางานรวมกับ คนกลุมตางๆ ท่ีหลากหลายอยาง มีประสิทธิภาพและใหเกียรติ มีความยืดหยุนและยินดีท่ีจะ ประนีประนอม เพ่ือให บรรลุเปาหมายการทํางาน พรอมท้ังยอมรับและแสดงความรับผิดชอบตอ งานทท่ี าํ รว มกัน และเห็นคณุ คา ของผลงานทีพ่ ฒั นาข้ึนจากสมาชิกแตล ะคนในทีม 4. ดานการสรางสรรคและนวัตกรรม เปนความสามารถในการคิดอยางสรางสรรค การทํางานกับผูอื่น อยางสรางสรรค และการนําไปปฏิบัติเพ่ือสรางนวัตกรรม การสรางสรรค (Creativity) การทํางาน กับผูอ่ืนอยางสรา งสรรค (Work Creatively with Others) นอกจากนี้ยังรวมถึงการเปนผูมีมุมมอง และความเขาใจวา ความลมเหลวเปนโอกาส แหงการเรียนรู การสรางสรรคผลงานและการสราง นวัตกรรมเปนเร่ืองที่ตองใช เวลา และระหวางกระบวนการสรางผลงาน จะพบความผิดพลาด มากกวาความ สาํ เร็จ สิ่งเหลา น้ีเกดิ ขน้ึ เปนวัฏจักร 5. ดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หมายถึง ทักษะและความชํานาญใน การนําเครื่องมือ อุปกรณ หรือวิธีการท่ีเกี่ยวกับ ดิจิทัล ไมวาจะเปนฮารดแวรหรือซอฟแวร เชน คอมพิวเตอร โทรศัพท หรือ โปรแกรมคอมพิวเตอร สื่อจนกระทั่งฐานขอมูลออนไลนมาใชในการ ทํางานเพ่ือการ สืบคน การรวบรวม การจัดการ การประมวลผล การประเมินความถูกตอง การ สื่อสารและนําเสนอสารสนเทศ เพ่ือพัฒนากระบวนการทํางานใหทันสมัยและมี ประสิทธิภาพ นอกจากน้ี ทักษะในดานนี้ยังรวมถึงความเขาใจเกี่ยวกับหลักการ ทํางานของคอมพิวเตอรและ เทคโนโลยีการส่ือสาร สามารถใชงานระบบ คอมพิวเตอรต้ังแตข้ันพื้นฐานจนถึงการเขียนโปรแกรม เพ่อื สง่ั งานคอมพิวเตอร การ ใชแ นวคดิ เชิงคาํ นวณในการแกป ญหาอยา งเปน ขัน้ ตอน 6. ดา นการทํางาน การเรียนรู และการพ่ึงตนเอง ทักษะทจ่ี าํ เปน สําหรับการดํารงชวี ติ และทํางานในยุค ปจจุบันอยางมีคุณภาพ ทักษะ ท่ีสําคัญในกลุมนี้ประกอบดวย ความยืดหยุนและการปรับตัว (Flexibility and Adaptability) การริเริ่มและการกํากับดูแลตัวเอง (Initiative and Self- Direction) 7. ดานความเขาใจตางวัฒนธรรม ตางกระบวนทัศน ทักษะในดานนี้หมายถึง ความสามารถในการ ทํางานและดํารงชีวิตในสภาพแวดลอม ที่คนมีความคิดเห็นและความเช่ือหลากหลายโดยไมรูสึก แปลกแยก เคารพความแตก ตางทางวัฒนธรรม สามารถยอมรับและตอบสนองความคิดเห็นท่ี แตกตางในเชิง บวกนาํ ไปสกู ารสรางแนวคิดหรือวธิ กี ารทาํ งานใหมไ ด - 13 -