Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เครื่องมือการมองอนาคต

เครื่องมือการมองอนาคต

Published by inno vation, 2021-04-14 04:09:40

Description: เครื่องมือการมองอนาคต

Search

Read the Text Version

อ น า ค ตเคร�่องมือ การมอง จัดทำโดย สถาบันการมองอนาคตนวัตกรรม (IFI) สำนักงานนวัตกรรมแห‹งชาติ (องคการมหาชน) ร‹วมกับ ว�ทยาลัยสหว�ทยาการ มหาว�ทยาลัยธรรมศาสตร

เคร่ืองมือการมองอนาคต FORESIGHT TOOLS

เคร่อื งมอื การมองอนาคต (FORESIGHT TOOLS) โดย สำ� นกั งำนนวัตกรรมแห่งชำต ิ (องค์กำรมหำชน) กระทรวงวทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี พมิ พ์ครง้ั ท ี่ 1 เมษำยน 2562 จ�ำนวนพมิ พ์ 500 เลม่ ISBN 978-616-12-0594-2 สงวนลขิ สิทธ์ิ พ.ศ. 2562 ตำมพระรำชบญั ญัตลิ ิขสิทธ์ ิ พ.ศ. 2537 สำ� นกั งำนนวัตกรรมแหง่ ชำต ิ (องค์กำรมหำชน) กระทรวงวทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี ไม่อนุญำตใหค้ ดั ลอก ทำ� ซ�้ำ และดดั แปลง ส่วนใดสว่ นหนึ่งของหนงั สอื ฉบบั น้ี นอกจำกจะไดร้ บั อนญุ ำตเปน็ ลำยลักษณอ์ กั ษรจำกเจำ้ ของลขิ สทิ ธิ์เทำ่ นน้ั จัดท�ำโดย สถำบันกำรมองอนำคตนวัตกรรม (IFI) สำ� นักงำนนวตั กรรมแห่งชำติ (องค์กำรมหำชน) กระทรวงวทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี 73/2 ถนนพระรำมท่ ี 6 เขตรำชเทวี กรุงเทพมหำนคร 10400 โทรศัพท ์ 02-017-5555 โทรสำร 02-017-5566 www.nia.or.th รว่ มกับ วทิ ยำลยั สหวทิ ยำกำร มหำวทิ ยำลยั ธรรมศำสตร์

คำานำา จำกค�ำกล่ำวที่ว่ำ “การคาดการณ์อนาคตท่ีดีที่สุด คือ การออกแบบและสร้างมันให้เป็นความจริง” ส่งผลให้ต้องหันกลับมำพิจำรณำสถำนกำรณ์ของ โลกในยุคปัจจุบันซึ่งก�ำลังเผชิญกับควำมท้ำทำยรูปแบบใหม่ท่ีมีพลวัตกำรเปล่ียนแปลงท่ีรุนแรงและรวดเร็ว ในขณะท่ีแนวควำมคิดระบบสังคมและเศรษฐกิจ รวมทง้ั ระบบกำรศึกษำยงั คงได้รับอิทธิพลจำกโลกในยคุ ศตวรรษท่ี 20 ดงั นั้นควำมสำมำรถในกำรวเิ ครำะห์ อธบิ ำย คำดกำรณ์ ออกแบบ และส่อื สำรอนำคต จงึ มคี วำมสำ� คัญอย่ำงยงิ่ ตอ่ กำรอยูร่ อดของปัจเจกบคุ คล องค์กร ชมุ ชน ประเทศ และมนษุ ยชำติ ประเทศไทยหลกี หนไี มพ่ น้ กระแสควำมปน่ั ปว่ นของโลกยคุ ศตวรรษท ่ี 21 และไดเ้ รมิ่ ตน้ กระบวนกำรมองอนำคตทส่ี ะทอ้ นออกมำในแนวคดิ กลยทุ ธ ์ และนโยบำย ระดับชำติต่ำง ๆ อำทิ นโยบำยประเทศไทย 4.0 และยุทธศำสตร์ชำติ (พ.ศ. 2561-2580) เป็นต้น เม่ือกำรมองอนำคตได้รับควำมสนใจจำกทุกภำคส่วน ส�ำนักงำนนวัตกรรมแห่งชำติ (องค์กำรมหำชน) จึงมอบหมำยให้ส�ำนักงำนศูนย์วิจัยและให้ค�ำปรึกษำแห่งมหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์ด�ำเนินโครงกำรจัดท�ำ ชุดเครื่องมือกำรมองอนำคต (Foresight Tools Box) เพื่อเป็นเครื่องมือเบื้องต้นในกำรมองอนำคตท่ีทุกภำคส่วนสำมำรถน�ำไปประยุกต์ใช้ให้เข้ำกับบริบท ควำมจำ� เปน็ ของตนเอง สำ� หรับเคร่ืองมอื น้เี ปน็ ร่ำงชุดเคร่ืองมือท่ีอยู่ในระหว่ำงกำรทดสอบและปรบั ปรุง โดยแบง่ ออกเป็น 4 บท คือ บทท่ี 1 ควำมร้เู บอ้ื งต้นเก่ยี วกับกำรมองอนำคต บทท่ี 2 กำรสรำ้ งกรอบให ้ “อนาคต” (Futures [RE] Framing) บทท่ี 3 แนวทำงกำรใชช้ ุดเครื่องมือกำรมองอนำคต บทที่ 4 ชุดเครื่องมือกำรมองอนำคต สำ� หรบั นกั อนำคตศำสตรม์ อื ใหม ่ (Novice Futurist) ควรเรม่ิ ตน้ ศกึ ษำบทท ี่ 1 และฝกึ ฝนกำรสรำ้ งกรอบใหอ้ นำคตทต่ี อ้ งกำรศกึ ษำในบทท ่ี 2 กอ่ นพจิ ำรณำ แนวทำงกำรใชช้ ุดเครอ่ื งมอื กำรมองอนำคตในบทที ่ 3 ส�ำหรับนักอนำคตศำสตร์รุ่นกลำง (Intermediate Futurist) ควรทบทวนแนวทำงกำรสร้ำงกรอบให้แก่อนำคตในบทท่ี 2 แล้วจึงพิจำรณำแนวทำง กำรใชช้ ุดเครอื่ งมอื กำรมองอนำคต โดยเฉพำะในส่วนที่เปน็ กำรผสมผสำนชุดเครื่องมือกำรมองอนำคต ส�ำหรับนักอนำคตศำสตร์ข้ันสูง (Advanced Futurist) ท่ำนสำมำรถพิจำรณำชุดเคร่ืองมือในบทที่ 4 และอำจผสมผสำนชุดเครื่องมือตำมบริบท สภำพปัญหำและโจทยเ์ ฉพำะของตนเอง โดยอำจพจิ ำรณำจำกตัวอยำ่ งและกรณศี ึกษำในภำคผนวกประกอบ

สารบัญ บทท่ี 1 บทท่ี 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการมองอนาคต แนวทางการใช้ชุดเครื่องมือการมองอนาคต • ส่ิงทคี่ วรรเู้ ก่ียวกบั กำรมองอนำคต............................................... 8 • แนวทำงกำรใช้ชดุ เคร่ืองมอื กำรมองอนำคต................................... 42 • สง่ิ ท่ไี มใ่ ช่กำรมองอนำคต........................................................ 12 • กำรผสมผสำนชุดเครอ่ื งมอื กำรมองอนำคตเพ่อื ตอบโจทยเ์ ฉพำะด้ำน..... 45 • องคป์ ระกอบของเครื่องมือกำรมองอนำคต.................................... 13 • โจทย์เฉพำะด้ำนท่ ี 1 • จะทรำบได้อย่ำงไรวำ่ “อนำคต” กำรแสวงหำและก�ำหนดขอบเขตประเด็นหรอื นโยบำย......................... 47 ทว่ี ิเครำะหแ์ ละออกแบบนั้นถกู ต้อง............................................... 14 • โจทย์เฉพำะด้ำนท ่ี 2 • ลักษณะของอนำคต.............................................................. 17 กำรสรำ้ งวสิ ัยทศั นแ์ ละทศิ ทำงกำรเปลยี่ นผ่ำน................................ 48 • กรอบกำรมองอนำคตในแตล่ ะชว่ งเวลำ......................................... 19 • โจทยเ์ ฉพำะดำ้ นท่ี 3 • กรอบกำรมองอนำคต........................................................... 20 กำรทดสอบนโยบำยหรอื กลยุทธ.์ .............................................. 49 • โจทยเ์ ฉพำะด้ำนที ่ 4 กำรบกุ เบกิ นวัตกรรมทำงดำ้ นวทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี .................. 50 • โจทยเ์ ฉพำะด้ำนท ี่ 5 กำรแสวงหำโจทย์วิจัยและประเด็นทส่ี ำ� คญั ในอนำคต......................... 51 บทที่ 2 บทที่ 4 การสร้างกรอบให้ “อนาคต” ชุดเครื่องมือการมองอนาคต (Futures [Re] Framing) 1การสร้างวิสัยทัศน์ • วัตถุประสงคก์ ำรมองอนำคต: (Visioning) “วเิ ครำะห ์ (Analyze)” หรือ “ออกแบบ (Design)”.............................. 26 • นิยำม.............................................................................. 55 • บริบทของอนำคตเปน็ อย่ำงไร................................................... 30 • ควำมเหมำะสมในกำรใชง้ ำน..................................................... 57 • กำรสำ� รวจสภำพแวดล้อมเชงิ ลึก • จดุ แขง็ .............................................................................. 57 (Deep Horizon Scanning)..................................................... 31 • ควำมทำ้ ทำย...................................................................... 58 • กำรวิเครำะห์ควำมสลบั ซับซอ้ นของอนำคต • สิง่ ท่จี �ำเป็นส�ำหรับกำรสรำ้ งวสิ ัยทศั น.์ ......................................... 59 (Futures Complexity Analysis)............................................... 34 • ขั้นตอนกำรสร้ำงวิสัยทศั น์...................................................... 60 • แนวทำงกำรมองอนำคต (Foresight Path way).............................. 39 • รปู แบบและลำ� ดบั ขน้ั ในกำรสรำ้ งวสิ ยั ทศั น์...................................... 62

2 เทคนิคเดลฟาย 5 การวิเคราะห์แนวโน้มและแนวโนม้ ระดับโลก 8 แผนทีน่ าำ ทางเทคโนโลยี (Delphi Technique) (Trend and Megatrend Analysis) (Technology Roadmap: TRM) • นิยำม.............................................. 65 • นยิ ำม............................................ 107 • นยิ ำม............................................ 145 • ควำมเหมำะสมในกำรใช้งำน.................... 66 • ควำมเหมำะสมในกำรใช้งำน................... 109 • ควำมเหมำะสมในกำรใช้งำน................... 147 • จุดแข็ง............................................. 67 • จุดแขง็ ............................................ 110 • จดุ แข็ง............................................ 148 • ควำมทำ้ ทำย..................................... 68 • ควำมทำ้ ทำย.................................... 111 • ควำมท้ำทำย.................................... 149 • สิ่งที่จำ� เปน็ ส�ำหรับเทคนคิ เดลฟำย.............. 69 • ส่ิงท่จี �ำเป็นสำ� หรบั กำรวเิ ครำะห์แนวโนม้ • สิง่ จ�ำเป็นสำ� หรบั กระบวนกำรจดั ท�ำ TRM.... 150 • ขน้ั ตอนกำรมองอนำคตดว้ ยเทคนิคเดลฟำย..7 0 และแนวโน้มระดบั โลก........................... 112 • ข้นั ตอนกำรจัดทำ� TRM........................ 151 • ขั้นตอนกำรวเิ ครำะหแ์ นวโน้ม 3 การสรา้ งและวเิ คราะห์ฉากทศั น์แห่งอนาคต และแนวโนม้ ระดบั โลก........................... 113 9 บรรณมติ ิ (Future Scenario Building and Analysis) (Bibliometrics) • นิยำม.............................................. 77 6 การสร้างแบบจาำ ลอง • นิยำม............................................ 159 • ควำมเหมำะสมในกำรใช้งำน..................... 80 (Modeling and Simulation) • ควำมเหมำะสมในกำรใชง้ ำน................... 162 • จดุ แขง็ ............................................. 81 • นยิ ำม............................................ 119 • จดุ แข็ง............................................ 163 • ควำมท้ำทำย..................................... 82 • ควำมเหมำะสมในกำรใชง้ ำน................... 120 • ควำมทำ้ ทำย.................................... 164 • ส่ิงที่จ�ำเปน็ ในกำรสรำ้ งและวิเครำะห์ฉำกทัศน์.. 83 • จุดแข็ง............................................ 121 • สิ่งท่ีจำ� เปน็ ในกำรวเิ ครำะห์..................... 165 • ข้นั ตอนกำรสรำ้ งและวเิ ครำะห์ฉำกทัศน.์ ....... 84 • ควำมทำ้ ทำย.................................... 122 • ขัน้ ตอนกำรวเิ ครำะห์........................... 166 • สิง่ จ�ำเป็นในกำรสร้ำงแบบจ�ำลอง.............. 123 • ขนั้ ตอนในกำรสรำ้ งและวเิ ครำะห์แบบจ�ำลอง..1 24 4 การสร้างตัวแบบจากนิยายวิทยาศาสตร์ 7 การพยากรณ์ย้อนหลัง ภาคผนวกและอ้างอิง (Science Fiction Prototyping: SFP) (Backcasting) • นยิ ำม.............................................. 95 • นิยำม............................................ 127 ภำคผนวก 1 ........................................ 170 • ควำมเหมำะสมในกำรใชง้ ำน..................... 97 • ควำมเหมำะสมในกำรใชง้ ำน................... 129 ภำคผนวก 2 ........................................ 171 • จุดแข็ง............................................. 98 • จุดแข็ง............................................ 130 ภำคผนวก 3 ........................................ 172 • ควำมท้ำทำย...................................... 98 • ควำมท้ำทำย.................................... 131 ภำคผนวก 4 ........................................ 174 • สง่ิ ทจ่ี �ำเปน็ ส�ำหรบั SFP.......................... 99 • สง่ิ จำ� เปน็ สำ� หรับกำรพยำกรณ์ย้อนหลงั ..... 132 ภำคผนวก 5 ........................................ 175 • ขั้นตอนของ SFP................................100 • ข้นั ตอนกำรพยำกรณ์ย้อนหลัง............... 133 ภำคผนวก 6 ........................................ 177 ภำคผนวก 7 ........................................ 178 อำ้ งอิง ............................................... 181

บทที่ 1 ความรู้เบ้ืองต้น เกี่ยวกบั การมองอนาคต การมองอนาคต (Foresight) คือ กำรวิเครำะห์ คำดกำรณ์ และอธิบำยกำรเปล่ียนแปลง ในอนำคต1 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียมควำมพร้อมรองรับกำรเปล่ียนแปลงในอนำคต หรือเพ่อื ออกแบบอนำคตท่ีพงึ ประสงค2์



สิ่งที่ควร “รู้” เก่ียวกับการมองอนาคต communication 1 การมองอนาคต (Foresight) เป็นศาสตร์ท่ีต้องใช้ความคิดเชิงวิพากษ์ (Critical Thinking) ประกอบกับความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) และจินตนาการ (Imagination) เน่ืองจำก กำรมองอนำคตในหลำยกรณเี ปน็ กำรวเิ ครำะหแ์ ละคำดกำรณอ์ นำคตในระยะยำวซงึ่ เปน็ แนวคดิ ที่ เป็นนำมธรรมและเป็นกระบวนกำรคิดในสิ่งท่ีสังคมโดยท่ัวไปมิได้คำดคิดมำก่อน ด้วยเหตุน ี้ กำรมองอนำคตที่มีประสิทธิภำพจึงต้อง “อาศัยเทคนิคการส่ือสารเพื่อให้ผู้อ่ืนรับรู้และเข้าใจ ในแนวคิดทีเ่ ปน็ นามธรรม”2 + + Critical Thinking Creativity Imagination บทท่ี 1 8 ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกยี่ วกับการมองอนาคต

2 เครื่องมือการมองอนาคตในปัจจุบันเป็น “กระบวนการตัดสินใจร่วมกัน (Participatory Deliberative Process)” ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งภำยในและภำยนอกองค์กร รวมถึงเครื่องมือที่เป็นกำรวิจัยเอกสำร (Document Research) ซึ่งในเครอื่ งมือน้ีเสนอแนะใหน้ ำ� ผลกำรวจิ ยั ไปผ่ำนกระบวนกำรประชำคมเพ่อื ระดมควำมคิดเห็นในเชิงลกึ มำกขน้ึ 3 “กระบวนการตัดสินใจร่วมกัน Participatory Deliberative Process” บทที่ 1 9 เครือ่ งมอื การมองอนาคต

3 เคร่ืองมือการมองอนาคตมุ่งเน้น “การเปล่ียนแปลงท่ีจริงจัง และมีความย่ังยืน (Transformation)” ทั้งในประเด็นทำงด้ำน วิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม รวมทั้งประเด็นทำงด้ำน สังคมศำสตร์ มำนุษยวิทยำ และนโยบำยสำธำรณะ กำรมอง อนำคตจงึ มคี วำมเปน็ พหวุ ทิ ยำกำร (Multidisciplinary Approach) มำกกว่ำจะเป็นวิทยำศำสตร์หรอื สังคมศำสตร์โดยเฉพำะ3 4 กำรมองอนำคตไมไ่ ดจ้ ำ� กดั เพยี งแคก่ ำรวเิ ครำะหแ์ ละกำรคำดกำรณ์ อนำคต แตย่ งั รวมถงึ การออกแบบอนาคต ซง่ึ “อนาคต (Futures)” ในที่นี้ มีควำมเป็น “พหูพจน์ (Plurality)” หรือเป็น “อนาคต ทางเลือกท่ีหลากหลาย (Alternative Futures)” 10 บทท่ี 1 ความรเู้ บ้อื งต้นเกยี่ วกับการมองอนาคต

5 การมองอนาคตเป็นกระบวนการท่ีมีหลายขั้นตอน (Multiple Steps) ใช้เวลายาวนานและอาจมี ลกั ษณะเปน็ การทวนซา้ำ (Iteration) เชน่ กำรมองอนำคตในประเดน็ ใดประเดน็ หนง่ึ อำจใชเ้ วลำ 1-2 ปี ประกอบดว้ ย กำรวจิ ยั เอกสำร กำรออกแบบตวั แบบเทคโนโลยแี หง่ อนำคต กำรสำ� รวจควำมคดิ เหน็ ของผู้เชี่ยวชำญ โดยใช้เทคนิคเดลฟำย และกำรจัดประชุมเชิงปฏิบัติกำรเพื่อระดมควำมเห็น จำกหลำยภำคสว่ น บทที่ 1 11 เครื่องมอื การมองอนาคต

สิ่งท่ี ไม่ใช่ การมองอนาคต 1 การมองอนาคตไมใ่ ชเ่ ครอ่ื งมอื การวางแผนเพอื่ พฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี พยี งอยา่ งเดยี ว แตเ่ ปน็ ศำสตรท์ ่ีบรู ณำกำรหลำกหลำยสำขำ และมีวตั ถปุ ระสงคท์ ี่แตกตำ่ งกนั ในแต่ละบรบิ ท 2 การมองอนาคตไม่ใช่การวางแผนยุทธศาสตร์ (Strategic Planning) หรือส่วนหนึ่งของการวางแผน ยุทธศาสตร์ แต่สำมำรถป้อนข้อมูลส�ำคัญให้แก่กระบวนกำรวำงแผนยุทธศำสตร์และก�ำหนดกลยุทธ์ให้มี ควำมละเอียดรอบคอบมำกขึ้น 3 การมองอนาคตไม่ใช่การคาดการณ์อนาคตเพียงอย่างเดียว ชุดเครื่องมือคำดกำรณ์อนำคตเป็น ส่วนหน่ึงของกำรมองอนำคต ซ่ึงกำรมองอนำคตเป็นกระบวนกำรคิดเชิงวิพำกษ์ท่ีมีควำมหลำกหลำย ต้ังแต่กำรสร้ำงจินตนำกำรและแนวควำมคิด (Ideation) จนถึงกำรวิเครำะห์เปรียบเทียบจินตนำกำร กับควำมเป็นจริง (Calibration) ซ่ึงจะน�ำเสนอตอ่ ไปในเคร่อื งมอื 12 บทท่ี 1 ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกีย่ วกบั การมองอนาคต

มุมมองต่ออนาคต (Perspectives about the Futures) มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื จัดทำ� ขอ้ เสนอแนะ (Implication) ส�ำหรบั กำรเปลี่ยนแปลงสถำนกำรณ์ในปัจจบุ นั ใหเ้ ป็นไปตำมอนำคตทค่ี ำดหวงั เครื่องมือการมองอนาคต (Foresight Tool) นยั ยะตอ่ การวางแผน กระบวนการตดั สินใจรว่ ม (Implications for Planning) (Participatory and ได้แก ่ กำรเรยี งลำ� ดบั ประเด็นส�ำคญั ก่อนหลงั (Prioritization) กำรระบุ Deliberative Process) ควำมเสี่ยงในอนำคต (Risk Identification) เน้นกำรมสี ่วนรว่ มและกำรตดั สินใจร่วม ของผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสยี ภำพที ่ 1 องค์ประกอบของเครือ่ งมอื กำรมองอนำคต บทที่ 1 เคร่อื งมอื การมองอนาคต 13

จะทราบได้อย่างไรว่า “อนาคต” ที่วิเคราะห์และออกแบบนั้นถูกต้อง 14 บทท่ี 1 ความรเู้ บอ้ื งต้นเกี่ยวกับการมองอนาคต

ในทำงอนำคตศำสตร์ ควำมเป็นไปได้ที่นอกเหนือจำกสถำนกำรณ์ ปัจจุบัน คือ “อนาคต” ซ่ึงมำจำกแนวคิดท่ีว่ำ อนำคตเป็นสิ่งที่ ไม่ตำยตัว ไม่แน่นอนและไม่คงท่ี ซึ่งสำมำรถกล่ำวได้อีกนัยหน่ึงว่ำ อนำคตสำมำรถมีได้หลำกหลำยรูปแบบและมีควำมเป็นพหูพจน ์ (Plurality)4, 5, 6 เนื่องจำกอนำคตตำมหลักอนำคตศำสตร์มีได้ หลำกหลำย จึงเกิดค�ำถำมว่ำ จะทรำบได้อย่ำงไรว่ำสิ่งท่ีวิเครำะห์ มีควำมถูกต้องและสอดคล้องกับส่ิงท่ีต้องกำรบรรลุ ค�ำตอบส�ำหรับ ค�ำถำมดังกล่ำว คือ ความถูกต้องของอนาคตท่ีวิเคราะห์ข้ึนอยู่กับ กรอบระยะเวลาของอนาคตนัน้ (Time Frame) ดงั ภำพท่ี 2 บทที่ 1 15 เคร่อื งมอื การมองอนาคต

อนาคตที่เป็นไป ไม่ ได้ (Preposterous Futures) อนาคตท่ีอาจเกิดข้ึนได้ (Possible Futures) อนาคตที่สามารถเกิดข้ึนได้ (Plausible Futures) อนาคตที่มีความเป็นไป ได้ (Probable Futures) อนาคตจากการคาดการณ์ (Projected Future) อนาคตที่พึงประสงค์ (Preferable Futures) ปัจจุบัน 3-5 ปี 6-10 ปี 11-20 ปี 20 ขึ้นไป ภำพท ่ี 2 รปู แบบอนำคตทห่ี ลำกหลำยและกรวยควำมเปน็ ไปได้ในอนำคต 16 บทที่ 1 ความร้เู บ้ืองต้นเก่ยี วกบั การมองอนาคต

ลักษณะของอนาคต ลักษณะของอนาคตในแต่ละช่วงเวลา มีรายละเอียดที่แตกต่างกันดังนี้7, 8 1 อนาคตจากการคาดการณ์ (Projected Future) คือ อนำคตท่ีมีสภำพเหมือนกับ สถำนกำรณ์ปัจจุบัน (Business as usual) หรือสำมำรถคำดกำรณ์ได้จำกข้อมูล ในอดีตและปัจจุบัน ข้อสังเกต คือ จะเป็นเอกพจน์ (Singularity) เน่ืองจำกเกิดจำก สมมุติฐำนท่ีว่ำ อนำคตจะไม่เปลี่ยนแปลงไปจำกปัจจุบัน เช่น กำรประมำณกำร รำยรบั -รำยจ่ำยของบริษัทในแต่ละไตรมำส เป็นตน้ 2 อนาคตที่มีความเป็นไปได้ (Probable Futures) คือ 3 อนาคตทสี่ ามารถเกดิ ขน้ึ ได้ (Plausible Futures) หมำยถงึ อนำคตท่ีมีควำมเป็นไปได้สูงท่ีจะเกิดขึ้นจำกกำรวิเครำะห์ อนำคตทคี่ ดิ วำ่ อำจเกดิ ขนึ้ ได ้ (Could Happen) จำกทฤษฎี เชิงปริมำณหรือเชิงสถิติ แต่ระดับควำมเป็นไปได้ ไม่สูง และองค์ควำมรู้ทมี่ ีอย่ใู นปัจจบุ นั เท่ำกับอนำคตจำกกำรคำดกำรณ์ จึงมักน�ำเสนอให้เป็น รูปพหูพจน์ โดยระบุช่วงค่ำควำมเชื่อมั่น (Confidence Interval) บทที่ 1 17 เครอื่ งมือการมองอนาคต

4 6อนาคตท่ีอาจเกิดข้ึนได้ (Possible Futures) หมำยถึง อนาคตที่พึงประสงค์ (Preferable Futures) หมายถึง อนำคตที่ “อาจ” เกิดข้ึนได้ (Might Happen) แต่ยัง อนาคตที่ควรจะเกิดข้นึ (Should or Ought to Happen) ไม่มีทฤษฎีหรือองค์ควำมรู้ท่ีได้รับกำรยอมรับอย่ำง เป็นแนวคิดเชิงปทัสถำน (Normative Idea) หรือ กว้ำงขวำงเพ่ือยืนยันโอกำสท่ีอนำคตนั้นอำจจะเกิดขึ้น กำรออกแบบ แตกตำ่ งจำกแนวคดิ อนำคตทกี่ ลำ่ วมำขำ้ งตน้ เชน่ กำรเดนิ ทำงขำ้ มกำลเวลำ เปน็ ตน้ สำมำรถนำ� เสนอใน ซ่ึงเป็นแนวคิดท่ีเกิดจำกกระบวนกำรคิด (Cognitive รปู แบบพหพู จน์ไดเ้ ชน่ เดยี วกบั อนำคตทสี่ ำมำรถเกดิ ขนึ้ ได้ Process) เช่น สภำพแวดล้อมควำมเป็นอยู่ที่พึ่งพำ เทคโนโลยีและองค์ควำมรู้ท่ีประหยัดพลังงำน เป็นมิตร ตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มทำงธรรมชำติ เปน็ ต้น 5 อนาคตทเี่ ปน็ ไปไม่ได้ (Preposterous Futures) หมำยถงึ อนำคตที่ไม่ตั้งอยู่บนพ้ืนฐำนควำมเป็นจริงและไม่มีโอกำส เกดิ ขนึ้ เชน่ เทคโนโลยที ที่ ำ� ใหม้ นษุ ยล์ อ่ งหนได ้ หรอื อำกำศ ที่หนำวเย็นจนหมิ ะตกท่ีกรุงเทพมหำนคร เป็นตน้ 18 บทที่ 1 ความรู้เบ้อื งตน้ เกย่ี วกับการมองอนาคต

กรอบการมองอนาคตในแต่ละช่วงเวลา รูปแบบอนาคตท่ีต้องเผชิญ ระยะส้นั ระยะปำนกลำง และระยะยำว มีดังนี้ 1. อนาคตจากการคาดการณ์ (Projected Future) 2. อนาคตท่ีมีความเปน็ ไปได้ (Probable Futures) 3. อนาคตทส่ี ามารถเกิดขน้ึ ได้ (Plausible Futures) 4. อนาคตที่อาจเกดิ ขึน้ ได้ (Possible Futures) ระยะยำวแบบมำกกวำ่ 20 ปี 5. อนาคตที่เปน็ ไปไม่ได้ (Preposterous Futures) 6. อนาคตทพ่ี งึ ประสงค์ (Preferable Futures) บทที่ 1 19 เครื่องมือการมองอนาคต

กรอบการมองอนาคต ระยะปานกลาง (Middle Term) ระยะส้ัน (Short Term) รูปแบบ คอื รปู แบบ คอื • สาำ หรบั ในระยะเวลา 3-5 ปี • สำาหรับในระยะเวลา 6-10 ปี 1. อนำคตจำกกำรคำดกำรณ์ (Projected Future) 1. อนำคตจำกกำรคำดกำรณ์ (Projected Future) 2. อนำคตท่ีมีควำมเปน็ ไปได ้ (Probable Futures) 2. อนำคตที่มีควำมเปน็ ไปได ้ (Probable Futures) เนื่องจำกในช่วงนี้ยังสำมำรถใช้ข้อมูลที่มีให้เกิดประโยชน์ได้ 3. อนำคตท่ีสำมำรถเกิดขน้ึ ได้ (Plausible Futures) และลำ� บำกในกำรเกบ็ ขอ้ มลู ซง่ึ สำมำรถตรวจสอบควำมถกู ตอ้ ง ได้โดยใชเ้ ทคนคิ กำรวิเครำะห์ขอ้ มูลเชงิ ปรมิ าณ เนื่องจำกช่วงระยะนี้สำมำรถใช้ทฤษฎีและองค์ควำมรู้ท่ีมีอยู่ ในปัจจุบันคำดกำรณ์หรือจินตนำกำรได้ ซ่ึงสำมำรถ ตรวจสอบควำมถูกต้องได้ โดยเทียบเคียงกับทฤษฎีหรือ องค์ความร้ทู ม่ี อี ยู่ในปจั จุบัน 20 บทท่ี 1 ความรู้เบอ้ื งตน้ เก่ียวกบั การมองอนาคต

ระยะยาว (Long Term) รูปแบบที ่ 1 มี 2 รปู แบบ คือ รูปแบบที่ 2 • สาำ หรับในช่วงระยะเวลา 11-20 ปี • การมองอนาคต “ระยะยาวมากกวา่ 20 ปี” 1. อนำคตทอ่ี ำจเกดิ ขนึ้ ได ้ (Possible Futures) 1. อนาคตจากการคาดการณ์ (Projected Future) 2. อนาคตทม่ี ีความเป็นไปได้ (Probable Futures) สำมำรถตรวจสอบได้โดยเทียบเคียงกับทฤษฎี หรือ 3. อนาคตทสี่ ามารถเกิดขึ้นได้ (Plausible Futures) องค์ควำมรู้ท่ีมีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งสำมำรถตรวจสอบ 4. อนาคตทอ่ี าจเกดิ ข้ึนได้ (Possible Futures) ควำมถูกต้องได้ โดยเทคนิควิธีกำรส�ำหรับระยะส้ันและระยะ ปำนกลำง เน่ืองจำกอนำคตทุกรูปแบบสำมำรถเกิดข้ึนได้ สำมำรถเกดิ ขึ้นได้ ในระยะยำว 5. อนำคตท่ีเป็นไปไมไ่ ด ้ (Preposterous Futures) 6. อนำคตทพี่ ึงประสงค ์ (Preferable Futures) บทที่ 1 21 เคร่อื งมอื การมองอนาคต

สำาหรับอนาคตท่ีเป็นไปไม่ได้ (Preposterous Futures) จะอยู่บริเวณนอกกรวย และอนาคตท่ีพึงประสงค์ (Preferable Futures) น้ันอาจเป็นไปได้ท้ังอนาคตที่อยู่ภายในและภายนอกกรวยแห่งความเป็นไปได้ เนื่องจำกอนำคตที่พึงประสงค์น้ัน อย่ำงน้อยต้องเป็นอนำคตที่สำมำรถใช้จินตนำกำรได้ และในขณะเดียวกันก็อำจเป็น “ส่ิงท่ีไม่พึงประสงค์” หรือ “เป็นไปไม่ได้” ส�ำหรับคนอ่ืน4, 9 กำรแบ่งประเภทของอนำคตรูปแบบต่ำง ๆ นอกจำกจะท�ำให้มั่นใจได้ว่ำกำรมองอนำคตถูกต้องหรือไม่แล้ว ยังช่วยให้ สำมำรถเริ่มต้นกระบวนกำรคิดวิเครำะห์อนำคตได้อย่ำงเข้มข้นและมีประสิทธิภำพ 6 โดยอำจเริ่มต้นพิจำรณำโจทย์ จำก “อนาคต” ที่อยู่ภำยในพื้นที่กรวยควำมเป็นไปได้ ไปจนถึงภำยนอกกรวย หรืออำจเริ่มพิจำรณำจำกรูปแบบ อนำคตในพ้ืนท่ีภำยนอกกรวย ในกรณีที่ต้องกำรออกแบบอนำคตเพื่อบุกเบิกหรือก�ำหนดกลยุทธ์เพื่อสร้ำงกำรเปล่ียนผ่ำน อำจใช้คำ� ถำมวำ่ “มอี นาคตใดบา้ งทเ่ี ปน็ ไปไม่ได้ แตอ่ าจจะเกดิ ขนึ้ ภายในปี พ.ศ. 2580” แทนคำาถามวา่ “อนาคตใดท่ีสามารถ คาดการณ์ได้ว่าจะเกดิ ขึ้นภายในปี พ.ศ. 2580” 22 บทท่ี 1 ความรเู้ บื้องต้นเกี่ยวกับการมองอนาคต

อนาคตที่เป็นไปไม่ได้ อนาคตที่คาดการณ์ว่าจะเกิดขึ้น บทที่ 1 23 เครือ่ งมอื การมองอนาคต

บทท่ี 2 การสร้างกรอบให้ “อนาคต” (Futures [Re] Framing) กำรสร้ำงกรอบท่ีชัดเจนให้แก่ “อนาคต” เป็นขั้นตอนแรกของกำรมองอนำคตที่ ต้องกำรวิเครำะห์ คำดกำรณ์ และส่ือสำรไปยังสังคมภำยนอก คล้ำยกับกำรกำาหนดคำาถาม การวิจัยในแวดวงการศึกษา หรือ “การสร้างกรอบสภาพปัญหา (Problem Frame หรือ Problem Definition)” ในสาขานโยบายสาธารณะ ท้ังกรอบสภาพปัญหาในปัจจุบัน และ กรอบอนำคต เป็นปรัชญำพื้นฐำนของกำรกระท�ำในปัจจุบัน ตั้งแต่วิถีกำรด�ำเนินชีวิต ประจำ� วนั ไปจนถงึ คำ่ นยิ มสงั คมและนโยบำยสำธำรณะ เหลำ่ นค้ี อื กระจกสะทอ้ นแนวคดิ เกยี่ วกบั อนาคตของมนุษย์ ในปัจจุบัน10 เช่น หำกองค์กรใดองค์กรหน่ึงปฏิเสธกำรมองอนำคต ก็เสมือนกับกำรสื่อสำรไปยังสำธำรณชนว่ำ ปัจจุบันเป็นเช่นไร อนำคตก็ยังเป็นเช่นน้ัน สะท้อนให้เห็นวำ่ องค์กรปฏิเสธกำรเปล่ียนแปลงโดยส้ินเชงิ



วัตถุประสงค์การมองอนาคต: “หรวือิเค“อรอาะกหแ์ บ(Aบn(aDlyezseig)”n)” กำรมองอนำคต คือ “การวิเคราะห์ คาดการณ์ และอธิบาย การเปล่ียนแปลงในอนาคต โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือคาดการณ์ และเตรียมความพร้อมรองรับการเปล่ียนแปลงในอนาคต หรือเพ่อื ออกแบบอนาคตทพ่ี งึ ประสงค์” จำกค�ำนยิ ำมดังกล่ำว ส่งผลให้จ�ำเป็นต้องระบุกรอบระยะเวลำส�ำหรับกระบวนกำร มองอนำคต เพื่อก�ำหนดวัตถุประสงค์กำรมองอนำคตว่ำเป็น “การวิเคราะห”์ หรือ “การออกแบบ” 26 บทท่ี 2 การสรา้ งกรอบให้ “อนาคต” (Futures [Re] Framing)

1 การวิเคราะห์ (Analyze) จะต้องอำศัยระเบียบวิธีกำรศึกษำ (Methodology) และข้อมูลท่ีชัดเจน ซึ่งมักจะคู่กับกำรคำดกำรณ์ และควำมพยำยำมในกำรอธิบำยแนวโน้มกำรเปล่ียนแปลง เพื่อก�ำหนดแนวทำงกำรรองรับอนำคต เหมำะส�ำหรับการมอง อนาคตใน “ระยะสน้ั (3-5 ป)ี ” และ “ระยะปานกลาง (6-10 ป)ี ” ทจ่ี ะมี ขอ้ มูลและองค์ควำมรเู้ พยี งพอต่อกำรวิเครำะห์ 2 การออกแบบ (Design) จะต้องอำศัยควำมคิดสร้ำงสรรค์และ จินตนำกำร ซ่ึงอำจไม่มีระเบียบวิธีกำรศึกษำที่ชัดเจน แต่เป็น ควำมพยำยำมท่ีจะสร้ำงกำรเปล่ียนแปลง จึงเหมำะส�ำหรับ การมองอนาคตในระยะยาว (11-20 ปี และมากกวา่ 20 ปี) บทที่ 2 27 เคร่อื งมือการมองอนาคต

อนาคตท่ีเป็นไป ไม่ ได้ (Preposterous Futures) อนาคตท่ีอาจเกิดข้ึนได้ (Possible Futures) อนาคตที่สามารถเกิดข้ึนได้ (Plausible Futures) อนาคตท่ีมีความเป็นไป ได้ (Probable Futures) อนาคตจากการคาดการณ์ (Projected Future) อนาคตที่พึงประสงค์ (Preferable Futures) Past Future ภำพท ่ี 3 วตั ถปุ ระสงค์ในกำรมองอนำคต 28 บทท่ี 2 การสรา้ งกรอบให้ “อนาคต” (Futures [Re] Framing)

ส่ิงส�ำคัญในกำรก�ำหนดวัตถุประสงค์กำรมองอนำคต คือ สามารถระบุได้ว่าต้องการ กรอบระยะเวลาใด (ระยะส้ัน ระยะปานกลาง หรือระยะยาว) ให้แก่อนาคตที่สนใจ วัตถุประสงค์อำจมีลักษณะผสมผสำนระหว่ำง “การออกแบบ” และ “การวิเคราะห์” ข้ึนอยู่กับควำมสลับซับซ้อนของสภำพควำมเป็นจริงซ่ึงเป็นบริบทของกำรมองอนำคต เช่น กำรจัดท�ำแผนยุทธศำสตร์ชำติระยะ 20 ปี ท่ีจ�ำเป็นต้องมีเป้ำหมำยตำมช่วง ระยะเวลำ (Milestone) และแผนปฏิบัติกำรตำมแต่ละช่วงระยะเวลำ (Action Plan) ซึ่งจ�ำเป็นต้องอำศัย “การออกแบบ” ในกำรจัดท�ำแผนยุทธศำสตร์ชำติ หลังจำกนั้น ต้องใช้ “การวิเคราะห์” เพ่ือก�ำหนดเป้ำหมำยและแผนปฏิบัติกำรในแต่ละช่วงระยะเวลำ โดยในที่นอี้ ำจหมำยถึงแผนปฏิบตั กิ ำร 5 ปี บทท่ี 2 29 เครือ่ งมือการมองอนาคต

บริบทของอนาคตเป็นอย่างไร ควำมสลับซับซ้อนของบริบทเป็นตัวบ่งช้ีเบ้ืองต้นว่ำควรใช้เครื่องมือใดในกำรมองอนำคต ส�ำหรับเคร่ืองมือน้ีเสนอวิธีกำรวิเครำะห์บริบท ของอนำคตไว้ 2 วิธ ี คอื 1 กำรสำ� รวจสภำพแวดลอ้ มเชิงลึก (Deep Horizon Scanning) 2 กำรวิเครำะหค์ วำมสลับซบั ซ้อนของอนำคต (Futures Complexity Analysis) โดยอำจเลือกวธิ ใี ดวิธหี น่ึงในกำรวิเครำะห์บริบท ของประเด็นทต่ี ้องกำรมองอนำคต 30 บทท่ี 2 การสรา้ งกรอบให้ “อนาคต” (Futures [Re] Framing)

การสำารวจสภาพแวดล้อมเชิงลึก (Deep Horizon Scanning) กำรส�ำรวจสภำพแวดล้อมเชิงลึก เป็นเทคนิคกำรมองอนำคตที่นิยมใช้โดยท่ัวไป อย่ำงไรก็ตำมส�ำหรับเคร่ืองมือน้ีแนะน�ำให้ส�ำรวจ สภำพแวดล้อมก่อนกำรมองอนำคต เนื่องจำกผู้ที่ต้องกำรมองอนำคตจ�ำเป็นต้องมีข้อมูลทุกมิติที่จ�ำเป็นต่อกำรวิเครำะห์และวำงแผน เพอื่ รองรบั อนำคต โดยกำรสำ� รวจสภำพแวดล้อมมีหลำกหลำยเทคนคิ ได้แก่ 1 เทคนิค STEEP สิ่งส�ำคัญในกำรส�ำรวจสภำพแวดล้อมเชิงลึก คือ (Social, Technological, Environmental, กำรวิเครำะห์ว่ำ “ปัจจัยขับเคลื่อน (Driver)” หรือ Economic, Political) “แรงขับเคลื่อน (Driving Force)” ใดมีพลวัตควำม เป็นไปได้ในกำรเปล่ียนแปลงสูง และมีผลกระทบต่อ 2 เทคนคิ PEST อนำคตทตี่ อ้ งกำรวเิ ครำะหม์ ำกทสี่ ดุ โดยสำมำรถใชก้ รอบ (Political, Economic, Social, Technological) กำรวเิ ครำะห์ต่อไปน้ี 3 เทคนิค PESTEL (Political, Economic, Social, Technological, Environmental, Legal) 4 เทคนิค PESTELO (Political, Economic, Social, Technological, Environmental, Legal, Organization) บทท่ี 2 31 เครื่องมือการมองอนาคต

ผลกระทบสูง ปัจจัยส�ำคัญ (Important Force) ปัจจัยส�ำคัญซ่อนเร้น (Latent Force) ไม่ส�ำคัญ ปัยจัยที่ต้องเฝ้ำระวัง (Unimportant Force) (Monitor) ต่ำา สูง พลวัต (ความเป็นไปได้ในการเปลี่ยนแปลง) ภำพท่ ี 4 กรอบกำรวเิ ครำะหส์ ภำพแวดล้อมเชิงลึก 1 ปัจจัยที่ไม่สำาคัญ หมำยถึง ปัจจัยที่มีพลวัตกำรเปล่ียนแปลงต่�ำ 3 ปัจจัยสำาคัญซ่อนเร้น หมำยถึง ปัจจัยท่ีมีโอกำสเปล่ียนแปลงต�่ำ และมีผลกระทบต่อส่ิงท่ตี อ้ งกำรวเิ ครำะห์ต่�ำ แต่มีผลกระทบสูง ดังน้ันจึงต้องให้ควำมส�ำคัญในเชิงนโยบำยและ กลยุทธร์ องรบั 2 ปัจจัยท่ีต้องเฝ้าระวัง หมำยถึง ปัจจัยท่ีมีโอกำสเปล่ียนแปลงสูง แต่มีผลกระทบต่�ำ เป็นปัจจัยท่ีอำจส่งผลกระทบได้ในอนำคต 4 ปัจจัยสำาคัญ หมำยถึง ปัจจัยที่มีพลวัตและผลกระทบสูง ถือเป็น จงึ ตอ้ งเฝ้ำระวังอยำ่ งใกลช้ ดิ ปัจจัยท่ีต้องวิเครำะห์ฉำกทัศน์ เพ่ือน�ำไปสู่กำรก�ำหนดกลยุทธ์ มำรองรับในอนำคต 32 บทท่ี 2 การสรา้ งกรอบให้ “อนาคต” (Futures [Re] Framing)

จำกกรอบกำรส�ำรวจสภำพแวดล้อมเชิงลึกข้ำงต้น หำกประเด็นที่ต้องกำรมองอนำคตมี “ปัจจัยสำาคัญ” มำกกว่ำ “ปัจจัยที่ต้องเฝ้าระวัง” และ “ปัจจัยสำาคัญซ่อนเร้น” จะถือว่ำเป็น “อนาคตที่มีโครงสร้างชัดเจน (Structured Futures)” แตใ่ นทำงกลบั กนั หำกประเดน็ ม ี “ปจั จยั ทตี่ อ้ งเฝา้ ระวงั ” และ “ปจั จยั สาำ คญั ซอ่ นเรน้ ” ร่วมกันมำกทส่ี ดุ จะถือเป็น “อนาคตที่มโี ครงสร้างสลบั ซบั ซอ้ น (Ill-structured Futures)” ปัจจัยสำาคัญ เฝ้าระวัง ปัจจัยสำาคัญ เฝ้าระวัง + + ซ่อนเร้น ซ่อนเร้น อนาคต อนาคต โครงสร้างชัดเจน โครงสร้างสลับซับซ้อน บทที่ 2 33 เครอ่ื งมอื การมองอนาคต

การวิเคราะห์ความสลับซับซ้อนของอนาคต (Futures Complexity Analysis) บริบทการมองอนาคต การปรับปรุงเกณฑ์ การมองอนาคต ชัดเจน ซับซ้อน ไม่ซับซ้อน ซับซ้อน กำรวิเครำะห์ควำมสลับซับซ้อนของอนำคตในเครื่องมือนี้เป็นกำรปรับปรุงมำจำกเกณฑ์กำรจ�ำแนก “ปัญหาท่ีไม่สลับซับซ้อน (Tame Problem)” กับ “ปัญหาท่ีสลับซับซ้อน (Ill-structured Problem)”11 ซ่ึงในบริบทกำรมองอนำคต สำมำรถจ�ำแนกอนำคตได้ 2 รูปแบบ คือ “อนาคตท่ีมีโครงสร้างชัดเจน (Structured Futures)” และ “อนาคตท่ีมีโครงสร้างสลับซับซ้อน (Ill-structured Futures)” ซึ่งหลกั เกณฑ์กำรจ�ำแนกอนำคตทง้ั 2 รปู แบบมี 5 ค�ำถำมตอ่ ไปนี้ 34 บทที่ 2 การสร้างกรอบให้ “อนาคต” (Futures [Re] Framing)

1 ท่านสามารถวางโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเหตุปัจจัยและผลกระทบของ อนาคตได้หรือไม่? Can you formulate the cause-and-effect relations of your futures? หมำยถึง สำมำรถระบุตัวแปรต้น (Independent Variable) และตัวแปรตำม (Dependent Variable) ของปรำกฏกำรณ์ท่ีต้องกำรวิเครำะห์ได้อย่ำงชัดเจน หรือไม่ เพ่ือน�ำไปสู่กำรมองอนำคต เน่ืองจำกบำงปรำกฏกำรณ์ ไม่สำมำรถ แยกแยะตัวแปรต้นและตัวแปรตำมได้อย่ำงชัดเจน หรืออำจมีตัวแปรแทรกซ้อน (Intervening Variable) ตวั แปรส่งผ่ำน (Mediating Variable) หรือตวั แปรกำ� กบั (Moderating Variable) 2 ท่านสามารถระบุและอธิบายช่องว่างขององค์ความรู้ในปัจจุบันกับสถานการณ์ ในอนาคตได้หรอื ไม?่ Can you identify and explain every gap between the current body of knowledge and your futures? หมำยถึง มีทฤษฎีและองค์ควำมรู้ที่เพียงพอต่อกำรวิเครำะห์หรือออกแบบ อนำคตในประเด็นที่สนใจหรือไม่ หำกไม่เพียงพอ สำมำรถระบุได้หรือไม่ว่ำ จะต้องแสวงหำองค์ควำมรู้เพมิ่ เตมิ อะไรบ้ำง บทที่ 2 35 เคร่อื งมือการมองอนาคต

3 อนาคตท่ีท่านตอ้ งการวเิ คราะหห์ รอื ออกแบบสามารถใชเ้ ทคโนโลยีและองค์ความรู้ จากอนาคตอนื่ ได้หรอื ไม?่ Can your futures be reached by using the technology and knowledge from other futures? หมำยถึง สำมำรถใช้ทฤษฎี องค์ควำมรู้ และเทคโนโลยีจำกสถำนกำรณ์หรือบริบทอ่ืน มำวิเครำะห์หรือออกแบบอนำคตที่สนใจได้หรือไม่ ส�ำหรับค�ำถำมน้ีต้องกำรทรำบว่ำ ส่ิงที่สนใจออกแบบหรือวิเครำะห์อนำคตนั้นมีควำมพิเศษจนส่งผลให้ต้องแสวงหำ องค์ควำมร้แู ละทฤษฎีเฉพำะทำงหรอื ไม่ 4 ทา่ นสามารถแบ่งแยกมิตคิ ่านยิ มทางสังคมออกจากอนาคตของทา่ นไดห้ รือไม?่ Can you separate the influence of social values from your futures? หมำยถงึ ประเด็นทส่ี นใจมองอนำคตเปน็ ประเดน็ ท่ีหมิ่นเหมท่ ำงด้ำนศีลธรรม จรยิ ธรรม และค่ำนิยมทำงสังคมหรือไม่ 5 ทา่ นสามารถระบุระดบั การวเิ คราะห์ (Level of Analysis) และหน่วยวิเคราะห์ (Unit of Analysis) ของอนาคตได้หรือไม่? Can you specify the level of analysis and unit of analysis for your futures? หมำยถงึ สำมำรถระบไุ ดห้ รอื ไมว่ ำ่ ประเดน็ ทสี่ นใจมองอนำคตนน้ั เปน็ ประเดน็ ระดบั ปจั เจก (Individual Level) ระดบั องคก์ ร (Organizational Level) ระดบั ชมุ ชน (Community Level) หรอื ระดบั มหภำค (Macro Level) 36 บทท่ี 2 การสรา้ งกรอบให้ “อนาคต” (Futures [Re] Framing)

เมื่อวิเครำะห์อนำคตในเบ้ืองต้นแล้ว พบว่ำ ท่ำนมีค�ำตอบ “ใช่ (Yes)” ต้ังแต่ 3 ข้อข้ึนไป แสดงว่ำ อนำคต ท่ีท่ำนต้องกำรศึกษำเป็น “อนาคตที่มีโครงสร้างชัดเจน (Structured Futures)” แต่หำกมีค�ำตอบ “ใช่” น้อยกว่ำ 3 ข้อ แสดงว่ำเป็น “อนาคตท่ีมีโครงสร้างสลับซับซ้อน (Ill-structured Futures)” เมื่อน�ำ วัตถุประสงค์กำรมองอนำคตท่ีคัดเลือกแล้ว (“ออกแบบ” หรือ “วิเคราะห์”) มำวำงเป็นแกน X และน�ำ ผลกำรวิเครำะห์ควำมสลับซับซ้อนของอนำคตมำวำงเป็นแกน Y จะส่งผลให้ได้ แนวทางการมองอนาคต (Foresight Pathway) จำ� นวน 4 แนวทำง คอื แนวทางการมองอนาคต ชัดเจน สลับซับซ้อน X ออกแบบ+วเิ ครำะห์ สลบั ซับซอ้ น Y บทท่ี 2 37 เคร่ืองมอื การมองอนาคต

อนาคตท่ีมีโครงสร้างสลับซับซ้อน (lll-structured Futures) การออกแบบ การสร้างความคิด การสอบเทียบข้อมูล การวิเคราะห์ (Design) และจินตนาการ กับมโนทัศน์ (Analysis) แห่งอนาคต (Ideation) (Calibration) การกำาหนดทิศทาง การคาดการณ์ อนาคต อนาคต (Formulation) (Projection) อนาคตที่มีโครงสร้างชัดเจน (Structured Futures) ภำพท่ี 5 แนวทำงกำรสร้ำงกรอบ “อนาคต” (Futures Frame) 38 บทท่ี 2 การสรา้ งกรอบให้ “อนาคต” (Futures [Re] Framing)

แนวทางการมองอนาคต (Foresight Path Way) แนวทางการมองอนาคต สามารถจำาแนกเป็น 4 แนวทาง ดังนี้ 1 หำกตอ้ งกำร “ออกแบบ” และ “อนาคตที่มโี ครงสร้างไม่ชัดเจน” แนวทำงกำรมองอนำคตควรเร่มิ ตน้ ดว้ ย การสรา้ งความคิดและ จนิ ตนาการ (Ideation) เพอ่ื ให้ไดภ้ ำพหรอื มโนทศั นแ์ หง่ อนำคตทชี่ ดั เจน สำ� หรบั กำรมองอนำคตดว้ ยเครอื่ งมอื หรอื กระบวนกำร วำงแผนเชิงกลยุทธต์ ่อไป 2 หำกตอ้ งกำร “ออกแบบ” แต ่ “อนาคตทม่ี โี ครงสรา้ งชดั เจน” แนวทำงกำรมองอนำคตควรเรม่ิ ตน้ ดว้ ย การกาำ หนดทศิ ทางอนาคต (Formulation) เพ่ือใหแ้ นวคิดเกีย่ วกับอนำคตมคี วำมชดั เจนมำกข้ึน พร้อมทจ่ี ะใช้ประกอบกำรตดั สนิ ใจของผู้บริหำรเพื่อก�ำหนด แผนกลยทุ ธ์ 3 หำกต้องกำร “วิเคราะห์” แต่ “อนาคตที่มีโครงสร้างไม่ชัดเจน” ควรเร่ิมต้นด้วย การสอบเทียบข้อมูลกับมโนทัศน์แห่งอนาคต (Calibration) ส�ำหรับแนวทำงนี้ ต้องมีฐำนข้อมูลหรือหลักฐำนเชิงประจักษ์ในระดับหน่ึงเพ่ือน�ำมำวิเครำะห์เปรียบเทียบกับ มโนทัศน์แห่งอนำคตที่ก�ำลังศึกษำ ผลลัพธ์จำกกำรมองอนำคตด้วยแนวทำงนี้จะเป็นประโยชน์แก่กำรวิเครำะห์และคำดกำรณ์ อนำคตในข้ันตอนต่อไป 4 หำกต้องกำร “วิเคราะห์” และ “อนาคตท่ีมีโครงสร้างชัดเจน” สำมำรถ วิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือคาดการณ์อนาคต (Projection) และจดั ท�ำข้อเสนอแนะเชิงนโยบำยแก่ผู้บรหิ ำรได้ บทท่ี 2 39 เคร่ืองมือการมองอนาคต

บทที่ 3 แนวทางการใชช้ ุดเครอ่ื งมือ การมองอนาคต จำกทไ่ี ด้กล่ำวถึง “แนวทางการมองอนาคต (Foresight Pathway)” ไว ้ 4 แนวทำง คือ 1. กำรสร้ำงควำมคดิ และจินตนำกำร (Ideation) 2. กำรกำ� หนดทิศทำงอนำคต (Formulation) 3. กำรสอบเทยี บขอ้ มลู กับมโนทัศน์แห่งอนำคต (Calibration) 4. กำรคำดกำรณ์อนำคต (Projection) ในเคร่ืองมือน้ี แต่ละแนวทำงจะมีชุดเครอ่ื งมอื ท่แี ตกต่ำงกนั ดงั นี้



ตารางที่ 1 แนวทางการใช้ชุดเคร่ืองมือการมองอนาคต แนวทางและชุดเครือ่ งมือ นยิ ามและความหมายโดยสงั เขป ภาพ (Icon) ในเครอ่ื งมอื แนวทางที่ 1 การสรา้ งความคดิ และจนิ ตนาการ (Ideation) 1. กำรสรำ้ งวิสยั ทัศน ์ กำรสร้ำงมโนทัศน์ที่สะท้อนให้เห็นอนำคตที่พึงประสงค์ หรือ (Visioning) ผลลพั ธเ์ ชิงบวกที่ต้องกำรเปลีย่ นแปลง 2. เทคนคิ เดลฟำย วิธีกำรเก็บรวบรวมข้อมูลและควำมคิดเห็นจำกผู้เชี่ยวชำญ (Delphi Technique) เฉพำะด้ำนเพื่อให้ทรำบแนวคิดกระแสหลักเกี่ยวกับประเด็น ท่ีสนใจ แนวทางท่ี 2 การกาำ หนดทิศทางอนาคต (Formulation) 3. กำรสร้ำงและวิเครำะห์ฉำกทัศน์ กำรสร้ำงมโนภำพเก่ียวกับสถำนกำรณ์ ในอนำคตที่มี “ความ แหง่ อนำคต เปน็ ไปได”้ และพจิ ำรณำ “ความไมแ่ นน่ อน” ของปจั จยั ตำ่ ง ๆ รว่ มดว้ ย (Future Scenario Building and Analysis) 4. กำรสรำ้ งตวั แบบจำก กำรเขียน “เรื่องเล่า” หรือ “กรณีศึกษา” เก่ียวกับเทคโนโลยีแห่ง นยิ ำยวิทยำศำสตร ์ อนำคต โดยผสมผสำนระหวำ่ ง “การสรา้ งความคดิ และจนิ ตนาการ” (Science Fiction กับ “การกาำ หนดทศิ ทางอนาคต” ในสำขำวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี Prototyping: SFP) และนวตั กรรม 42 บทที่ 3 แนวทางการใชช้ ดุ เคร่อื งมือการมองอนาคต

แนวทางและชุดเครื่องมือ นยิ ามและความหมายโดยสงั เขป ภาพ (Icon) ในเครอ่ื งมอื แนวทางท่ี 3 การสอบเทยี บขอ้ มลู กับมโนทัศนแ์ ห่งอนาคต (Calibration) 5. กำรวิเครำะห์แนวโนม้ กำรวเิ ครำะหท์ ศิ ทำงกำรเปลย่ี นแปลงดำ้ นตำ่ ง ๆ ในอนำคต ทง้ั ระยะสน้ั และแนวโน้มระดบั โลก ระยะปำนกลำง และระยะยำว (Trend and Megatrend Analysis) 6. กำรสรำ้ งแบบจำ� ลอง กำรสรำ้ งและทดลองแบบจำ� ลองทำงคณติ ศำสตรด์ ว้ ยคอมพวิ เตอร์ (Modelling and Simulation) โดยแปรสภำพรปู แบบพฤตกิ รรมหรอื สถำนกำรณ์ในชวี ติ จรงิ ใหเ้ ปน็ สถำนกำรณ์เสมอื นจริง แนวทางที่ 4 การคาดการณอ์ นาคต (Projection) 7. กำรพยำกรณ์ย้อนหลัง วธิ กี ำรสรำ้ งควำมเชอื่ มโยงระหวำ่ งผลลพั ธท์ ตี่ อ้ งกำรในอนำคตกบั (Backcasting) แนวทำงและควำมเปน็ ไปได้ในกำรบรรลอุ นำคตนัน้ 8. แผนทน่ี �ำทำงเทคโนโลยี แผนระดมทรัพยำกร ควำมรู้ ควำมเชี่ยวชำญ และปัจจัยส�ำคัญ (Technology Roadmap: TRM) ในกำรพัฒนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมให้มีรูปแบบ คุณสมบัต ิ รวมถึงประโยชน์กำรใช้งำนตำมที่ได้ออกแบบไว้โดยผู้เชี่ยวชำญ 9. บรรณมิติ และนักวจิ ัย (Bibliometrics) กำรใชเ้ ทคนคิ เชงิ สถติ วิ เิ ครำะหแ์ ละจดั กลมุ่ ขอ้ มลู และขอ้ ควำมจำ� นวนมำก จำกเอกสำรงำนวจิ ัย บทท่ี 3 43 เคร่ืองมือการมองอนาคต

อนาคตที่มีโครงสร้างสลับซับซ้อน lll-structured Futures การสร้างความคิด กำรสรำ้ งวสิ ยั ทศั น์ กำรวเิ ครำะห์แนวโน้ม การสอบเทียบข้อมูล และจินตนาการ (Visioning) และแนวโนม้ ระดบั โลก กับมโนทัศน์ (Trend and Megatrend แห่งอนาคต (Ideation) เทคนคิ เดลฟำย Analysis) (Calibration) (Delphi Technique) กำรสร้ำงแบบจ�ำลอง (Modelling and Simulation) การออกแบบ กำรสรำ้ งและวเิ ครำะห์ กำรพยำกรณย์ ้อนหลัง การวิเคราะห์ (Design) ฉำกทศั น์แหง่ อนำคต (Backcasting) (Analysis) (Future Scenario การกำาหนดทิศทาง Building and Analysis) แผนท่นี ำ� ทำงเทคโนโลย ี การคาดการณ์ อนาคต (Technology Roadmap: อนาคต กำรสร้ำงตัวแบบจำก TRM) (Formulation) นยิ ำยวทิ ยำศำสตร์ บรรณมติ ิ (Projection) (Science Fiction (Bibliometrics) Prototyping: SFP) อนาคตท่ีมีโครงสร้างชัดเจน Structured Futures ภำพท ี่ 6 แผนที่แนวทำงและชุดเคร่อื งมอื กำรมองอนำคต (4 แนวทำง 9 เคร่อื งมือ) บทที่ 3 44 แนวทางการใชช้ ุดเคร่ืองมือการมองอนาคต

การผสมผสานชุดเครื่องมือการมองอนาคต เพ่ือตอบโจทย์เฉพาะด้าน เครอ่ื งมือกำรมองอนำคตมคี วำมยืดหยนุ่ ในกำรใช้ประโยชน์ ซง่ึ แต่ละเคร่อื งมือสำมำรถนำ� ไปผสมผสำนกับเคร่อื งมืออน่ื เพ่ือตอบโจทยเ์ ฉพำะด้ำน โดยในเคร่ืองมือน้ีน�ำเสนอวธิ กี ำรผสมผสำนชุดเครอื่ งมือไว ้ 5 วิธี ดงั น้ี 1 การแสวงหาและกำาหนดขอบเขตประเด็นหรือนโยบาย (Exploring and Defining Issue/Policy Boundary) 2 การสร้างวสิ ัยทัศน์และทิศทางการเปลีย่ นผา่ น IsTsouRpeesiscesa&rch Future (Visioning and Transforming) 3 การทดสอบนโยบายหรอื แผนกลยุทธ์ (Policy and Strategy Sandbox) 4 การบกุ เบิกนวัตกรรมทางด้านวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (Setting Trends for Science, Technology, and Innovation) 5 การแสวงหาโจทย์วิจัยและประเด็นที่สำาคญั ในอนาคต (Exploring Research Topics and Issues of the Future) บทท่ี 3 45 เครอ่ื งมือการมองอนาคต

ตารางที่ 2 วิธีการผสมผสานชุดเคร่ืองมือการมองอนาคตเพ่ือตอบโจทย์เฉพาะด้าน โจทยเ์ ฉพาะดา้ น วัตถปุ ระสงค์ ชุดเครอื่ งมือ กำรแสวงหำและกำ� หนดขอบเขตประเด็นหรอื นโยบำย เพอื่ สรำ้ งควำมรคู้ วำมเขำ้ ใจในปจั จยั ทจ่ี ะสง่ ผลกระทบ (Exploring and Defining Issue/Policy Boundary) ในระยะสนั้ ระยะปำนกลำง และระยะยำว อนั จะนำ� ไปสู่ กำรก�ำหนดนโยบำย กำรสร้ำงวิสยั ทัศนแ์ ละทศิ ทำงกำรเปลย่ี นผำ่ น เพอื่ สรำ้ งวสิ ยั ทศั นร์ ว่ มและแนวคดิ กำรพฒั นำองคก์ ร (Visioning and Transforming) หรอื หมคู่ ณะใหเ้ กิดกำรเปลยี่ นผ่ำนอยำ่ งยงั่ ยนื กำรทดสอบนโยบำยหรือแผนกลยทุ ธ์ เพ่ือวิเครำะห์ผลกระทบของนโยบำยหรือกลยุทธ ์ (Policy and Strategy Sandbox) ดว้ ยกำรทดสอบในสถำนกำรณจ์ ำ� ลอง กำรบุกเบิกนวตั กรรมทำงด้ำนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี เพ่ือวำงแผนพัฒนำงำนวิจัยด้ำนวิทยำศำสตร์ (Setting Trends for Science, Technology, and เทคโนโลยี และนวัตกรรมให้เกิดผลิตภัณฑ์หรือ Innovation) ตวั แบบเทคโนโลยใี หม่ท่เี ป็นกำรบุกเบกิ ตลำด กำรแสวงหำโจทย์วิจยั และประเด็นทส่ี ำ� คัญในอนำคต เพ่ือแสวงหำช่องว่ำงขององค์ควำมรู้ในปัจจุบันและ (Exploring Research Topics and Issues of the Future) สง่ิ ทีจ่ �ำเป็นต้องพฒั นำเพอื่ รองรับอนำคต 46 บทที่ 3 แนวทางการใช้ชุดเครอ่ื งมือการมองอนาคต

โจทย์เฉพาะด้านที่ 1 การแสวงหาและกำาหนดขอบเขตประเด็นหรือนโยบาย วัตถุประสงค์ กิจกรรม เพื่อสร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจในปัจจัยท่ีจะส่งผลกระทบในระยะสั้น กำรวิจยั เอกสำร กำรประชมุ เชงิ ปฏบิ ัตกิ ำร กำรสนทนำกลมุ่ ระยะปำนกลำง และระยะยำว อนั จะนำ� ไปส่กู ำรกำ� หนดนโยบำย ชุดเคร่ืองมือ ผลลัพธ์ บรรณมิติ + เทคนิคเดลฟำย + กำรวิเครำะห์แนวโน้มและแนวโน้ม ผลกำรวเิ ครำะห์บรรณมติ แิ ละกำรวิเครำะหแ์ นวโน้ม ระดับโลก รำยงำนกำรประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ำร หรอื รำยงำนสรปุ กำรสนทนำกลมุ่ พร้อมข้อเสนอแนะเชงิ กลยทุ ธห์ รือนโยบำย ผู้เข้าร่วม ผเู้ ช่ยี วชำญ ผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสยี ทง้ั ภำยในและภำยนอกองค์กร บทที่ 3 47 เครื่องมือการมองอนาคต

โจทย์เฉพาะด้านท่ี 2 การสร้างวิสัยทัศน์และทิศทางการเปลี่ยนผ่าน วัตถุประสงค์ กิจกรรม เพื่อสร้ำงวิสัยทัศน์ร่วมและแนวคิดกำรพัฒนำองค์กรหรือหมู่คณะ กำรประชุมเชงิ ปฏบิ ัติกำร กำรสนทนำกลุ่ม ใหเ้ กิดกำรเปลีย่ นผ่ำนอย่ำงยัง่ ยืน ชุดเครื่องมือ ผลลัพธ์ กำรสรำ้ งวสิ ยั ทศั น ์ + กำรสรำ้ งฉำกทศั น ์ + กำรพยำกรณย์ อ้ นหลงั รำยงำนกำรประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ำรหรอื รำยงำนสรปุ กำรสนทนำกลมุ่ โดยเฉพำะอย่ำงย่ิงรำยงำนสรุปวิสัยทัศน์ เป้ำหมำย และค่ำนิยม ทจี่ ะสง่ ผลใหบ้ รรลุเป้ำหมำย ผู้เข้าร่วม ผู้บรหิ ำรองคก์ ร ผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสียทั้งภำยในและภำยนอกองค์กร 48 บทที่ 3 แนวทางการใชช้ ุดเคร่อื งมอื การมองอนาคต

โจทย์เฉพาะด้านท่ี 3 การทดสอบนโยบายหรือกลยุทธ์ วัตถุประสงค์ กิจกรรม เพ่ือวิเครำะห์ผลกระทบของนโยบำยหรือกลยุทธ์ ด้วยกำรทดสอบ • ส�ำหรับกำรสร้ำงแบบจ�ำลอง - กำรวิจัยเอกสำรและวิเครำะห์ ในสถำนกำรณจ์ �ำลอง ขอ้ มลู โดยใช้คอมพิวเตอร์ • ส�ำหรบั กำรสรำ้ งฉำกทศั น์ - กำรประชมุ เชิงปฏิบตั ิกำร ชุดเครื่องมือ ผลลัพธ์ กำรสร้ำงแบบจำ� ลอง (Mathematical Simulation) หรอื รำยงำนสรุปผลกำรวิเครำะห์พรอ้ มดว้ ยขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบำย กำรสรำ้ งฉำกทัศน์ (Scenario หรอื Narrative Simulation) ผู้เข้าร่วม ผู้เช่ียวชำญ ผู้บริหำร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท้ังภำยในและภำยนอก องคก์ ร บทท่ี 3 49 เครื่องมอื การมองอนาคต


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook