๒) ชวนรู้เร่อื ง ถำ้� ถ้�ำ คือ โพรงท่ีลึกเข้าไปในภูเขา หรือเป็นช่องท่ีเป็นโพรงลึกเข้าไปในพื้นดิน หรือภูเขา มีขนาดใหญ่เล็กไม่เท่ากัน ถ้�ำขนาดใหญ่พอที่มนุษย์จะเข้าไปและเป็นที่อยู่อาศัย ของมนษุ ยแ์ ละสัตว์ ถ�้ำ เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เกิดจากการกัดเซาะของน้�ำท่ีไหลผ่าน ซึ่งจะเป็นถ�้ำ ตามภเู ขาหนิ ปูนหรอื ภูเขาชายฝัง่ ทะเล และยงั มบี างถำ้� ที่มนษุ ย์สร้างขน้ึ ลกั ษณะของถำ้� จะมลี กั ษณะเปน็ แนวนอน เปน็ ชน้ั ๆ เปน็ แนวตงั้ และแนวลาด ชนิดของถ้�ำ จะแบ่งเป็นถ้�ำหินปูน ถ้�ำน้�ำแข็ง ถ้�ำที่เป็นโพรงหินชายฝั่ง และ ถ้ำ� ภเู ขาไฟ ส่ิงท่ีน่าสนใจในถ�ำ้ เกดิ จากตะกอนหิน (สารคารบ์ อเนต) จบั ตัวเป็นรูปลกั ษณะ ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ หนิ งอก หินย้อย เสาหิน หนิ ปูนฉาบ และม่านถ�ำ้ สัตวใ์ นถ�ำ้ มีหลายชนิด ดังนี้ บางชนิดอาศัยอยใู่ นถ้�ำตง้ั แตเ่ กดิ จนตาย เช่น จิ้งโกรง่ แมลงสองง่าม บางชนิดอาศัยอยทู่ ง้ั ในถ้ำ� และนอกถ�้ำ เช่น แมงมมุ บางชนิดอย่นู อกถ้ำ� แต่มักเขา้ ๆ ออก ๆ จากถำ�้ บ่อย ๆ เชน่ ค้างคาว ผเี สื้อ หมี งู ฯลฯ ชวนคิด ๑. ถ้�ำท่นี างยักษพ์ าพระอภัยมณไี ปอยู่เป็นถ�้ำชนดิ ใด ๒. หากสนิ สมุทรไมผ่ ลกั หินปิดปากถ�ำ้ ออก พระอภยั มณจี ะเป็นอยา่ งไร 94 คู่มือการเรียนการสอนวรรณคดีไทย หน่อเนื้อเชือ้ ไข ในวรรณคดไี ทย
๓) ชวนกนั เล่น ลอดถ�ำ้ จ�ำนวนผเู้ ลน่ ไม่จ�ำกดั จ�ำนวน อปุ กรณ์การเลน่ เส้นกลับตัว (เชือก) วิธีการเลน่ ๑. แบ่งผู้เลน่ ออกเป็นแถว ๆ แถวละเทา่ ๆ กัน ๒. แตล่ ะแถว เข้าแถวตอนลึกทเี่ ส้นเร่มิ ต้น ๓. เมอื่ เรม่ิ สัญญาณ คนแรกของแถวว่งิ ไปที่เส้นกลับตัว วิง่ กลบั มาคลานลอดแถว ก่อนคลานกล่าววา่ “เขา้ ถ้�ำ” ซึง่ คนในแถวจะใชม้ ือสองขา้ งยันพนื้ ท�ำตวั โค้งต่อ ๆ กนั เปน็ รปู ถำ�้ ๔. เมื่อคลานพ้นแถวถ้�ำถึงคนท้ายแลว้ ให้ยกมือขึ้น สง่ เสยี ง วา่ “ออกถ�้ำ” คนเลน่ คนตอ่ ไปก็จะว่งิ จากเส้นเริม่ ตน้ ไปทเ่ี สน้ กลบั ตวั มาคลานลอดถำ้� เหมือนคนแรก ๕. หากไมพ่ ูดวา่ “เข้าถ้�ำ” “ออกถ้ำ� ” ก็ตอ้ งกลบั ไปพูดใหม่ แล้วจึงท�ำกจิ กรรมตอ่ ไป ๖. แถวใดท�ำไดค้ รบทุกคนก่อนและถูกตอ้ งจะเปน็ ฝ่ายชนะ ๗. นักเรียนบอกประโยชน์ของการเลน่ ลอดถ้ำ� คูม่ ือการเรยี นการสอนวรรณคดไี ทย หน่อเน้อื เชอ้ื ไข ในวรรณคดไี ทย 95
๔) ชวนร้องเลน่ บ้านในโพรงหิน บ้านเปน็ โพรงหนิ พื้นเปน็ ดินทราย ก�ำเนิดเกดิ กาย ในโพรงหินนัน้ ฉันมีพอ่ แม ่ พอแลเหน็ กัน สามคนผูกพนั สุขสนั ต์ยนิ ดี ฉันผลักหนิ ออก ขา้ งนอกแปลกที่ โลกกวา้ งยังมี สง่ิ นา่ ชน่ื ชม ชวนคดิ ๑. ชวนกันอภิปรายความรู้สึกแรกของสินสมุทรท่ีได้เห็นโลกภายนอกถ้�ำ เมอ่ื ผลกั หนิ ปดิ ปากถำ�้ ออก ๒. “ฉัน” ในบทรอ้ งเล่น ตอนอยใู่ นถ�ำ้ ตรงกบั ส�ำนวนใด กบในกะลาครอบ โลกแคบ ๓. “ฉัน” ในบทรอ้ งเล่น ตอนออกจากถ�้ำ ตรงกับส�ำนวนใด ฟา้ เปลย่ี นสี เหมอื นเกิดใหม่ 96 คูม่ ือการเรียนการสอนวรรณคดไี ทย หนอ่ เนื้อเชื้อไข ในวรรณคดีไทย
๕) ชวนเขียนประวตั ิ ประวตั สิ ินสมุทร ช่ือ วงศส์ กุล ชื่อบิดา ชอ่ื มารดา ท่อี ย่ปู ัจจุบัน ลกั ษณะเด่น ประวตั กิ ารศึกษา พ่ีนอ้ งร่วมบดิ ามารดา สถานภาพ ชอ่ื ภรรยาหรือสามี ชอ่ื บุตรหรอื ธดิ า อาชีพ/สถานทีท่ �ำงาน ตำ� แหนง่ ความสามารถพิเศษ ผลงานดีเด่น หลักในการทำ� งาน คณุ ธรรมความดีงาม คมู่ ือการเรียนการสอนวรรณคดีไทย หน่อเน้อื เช้อื ไข ในวรรณคดไี ทย 97
๖) ชวนประดษิ ฐ์ สวนถาด ประเภท งานกลุ่ม อปุ กรณ ์ ๑. กระบะทราย/ สนามทราย/ ชายหาด ขนาดเลก็ / ใหญ่ ตามสภาพท่มี ีอยูแ่ ละพอหาได้ ๒. อปุ กรณต์ กแตง่ ลวดลาย เน้นวัสดธุ รรมชาติ ๓. มีถ�้ำ หาดทราย ป่าไม้ หนิ อย่ใู นงาน (สวนถาด) การประดิษฐ ์ ๑. คน้ ควา้ หาตัวอย่าง รปู แบบสวนถาดจากหนังสือ รูปภาพ และอนิ เทอร์เน็ต ๒. ออกแบบสวนถาดของตนเองตามความชอบ ๓. ลงมอื ปฏบิ ัตโิ ดยเน้นความคดิ สร้างสรรค์และ ความร่วมมือภายในกลุ่ม ๔. ตวั แทนกลุ่มอธิบายผลงาน น�ำเสนอความคิดต่าง ๆ จนครบทกุ กลมุ่ ๕. ประเมนิ ราคา “สวนถาด” ท่ปี ระดษิ ฐ์ ชวนคดิ ชว่ ยกนั คดิ อภปิ รายและบนั ทกึ การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ มทางทะเล ให้แกส่ นิ สมุทรด้วย 98 คมู่ ือการเรยี นการสอนวรรณคดไี ทย หนอ่ เน้ือเชอื้ ไข ในวรรณคดไี ทย
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ภาษาไทย เรอื่ ง สินสมทุ ร ๑. วเิ คราะห์สาระการเรียนรูใ้ นกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย มารยาทในการเขยี น บทรอ้ ยกรองตดั ตอนจากเรอ่ื งพระอภัยมณี เขยี นจากจนิ ตนาการ “ถ้าสนิ สมุทรแปลงร่างเป็นยกั ษ”์ เรียงความ “ครอบครัวทอ่ี บอนุ่ ” บทรอ้ ยแก้วประวตั ติ วั ละคร การเขียน คดั ลายมอื การอา่ น มารยาทในการอ่าน ฟังการอ่าน/การพูด เขยี นจากจนิ ตนาการ “ถา้ สนิ สมุทร การฟัง มารยาทในการฟงั ไมผ่ ลักหนิ ทป่ี ดิ ปากถ้�ำออก” ฟังการนำ�เสนอรายงาน สินสมทุ ร พูดในหัวขอ้ “มดื เหมอื นเขา้ ถ้�ำ” คุณธรรม หลักการใชภ้ าษา รปู ร่างลักษณะของสินสมุทร ความกลา้ หาญ ส�ำ นวนภาษา การพดู มารยาทในการพูด ความเปน็ ผ้นู �ำ ค�ำ อกั ษรนำ� ความเมตตา คำ�มาตราตวั สะกด ยักษใ์ นความคิดของฉนั ความรกั แม่ (สวุ รรณมาล)ี ไม่ตรงมาตรา (แมก่ ด) พูดโน้มนา้ วให้นางยักษ์กลบั เขา้ ถ้�ำ ๒. วเิ คราะห์การบรู ณาการการสอนต่างกล่มุ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา - ความรเู้ รอ่ื งถ้ำ� / ศาสนาและวัฒนธรรม น้�ำ ส�ำคญั ท่ีควรรู้ - การชว่ ยเหลือเก้ือกูลกนั - น�้ำขึน้ -น้�ำลง - คณุ ธรรมของสินสมุทร - ลมบก-ลมทะเล - คณุ ธรรมของครอบครัวเงือก - ป่าชายเลน - ความรเู้ รอ่ื งปลาทะเล สินสมุทร ศิลปศึกษา/ดนตรี การงานอาชพี และเทคโนโลยี - การจดั สวนถาดประกอบดว้ ย - อาชีพทพ่ี ึง่ พาทะเล ถำ้� นำ�้ หาดทราย และป่า - ประดิษฐห์ นา้ กากยักษ์ - วาดภาพปลาแล้วระบายสี คู่มอื การเรยี นการสอนวรรณคดไี ทย หน่อเนอื้ เชื้อไข ในวรรณคดไี ทย 99
๓. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ๓.๑ น�ำสาระเนื้อหาจากวรรณคดีไทย/ประวัติตัวละคร มาน�ำอ่าน น�ำพูด ฝกึ จบั ใจความส�ำคญั ๓.๒ น�ำสาระเนื้อหาต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้มาบูรณาการการสอนโดยใช้การ แบ่งกลมุ่ ศึกษาค้นควา้ โดยใช้การอ่าน การเขียน การบันทกึ การจบั ใจความ การสรปุ ใจความ การวิเคราะหค์ วาม การเขียนรายงาน การพดู น�ำเสนอจากการศึกษาคน้ คว้า ฯลฯ ๓.๓ ครสู รปุ ความรทู้ ถี่ ูกตอ้ งแก่นกั เรยี น ๓.๔ ให้นักเรียนสร้างชิ้นงานด้วยตนเองตามใจชอบ แล้วแลกเปล่ียนเรียนรู ้ วพิ ากษว์ จิ ารณ์เชงิ บวกด้วยค�ำวา่ “ถ้า... ถ้าจะเพ่มิ ... ปรับ...” ๓.๕ การวัดผลประเมินผลตามตัวชี้วัด จุดประสงค์หรือสมรรถนะทางภาษาไทย จากผลงานของนักเรียน ผลงานกลุ่ม ใช้การทดสอบ การตรวจ การสังเกต การฟัง การพูด การเขียน เป็นต้น 100 คู่มอื การเรยี นการสอนวรรณคดีไทย หน่อเนอ้ื เช้อื ไข ในวรรณคดีไทย
๔.๓ สดุ สาคร นางเงอื ก (พระนางจันทวดพี นั ปหี ลวง) ๕.๓.๑ ลำ�ดบั วงศส์ ุดสาคร พระอภยั มณ ี เสาวคนธ ์ สุดสาคร สลุ าลีวนั นรินทร์รัตน์ หสั กัน ๔.๓.๒ ความเดิม ท้าวสุทัศน์แห่งกรุงรัตนาส่งพระโอรสคือ พระอภัยมณี และศรีสุวรรณ ไปศึกษา วิชาปกครองเมืองส�ำหรับกษัตริย์ แต่พระอภัยมณีเลือกเรียนวิชาเป่าปี่ ศรีสุวรรณเลือกเรียน วชิ ากระบ่ีกระบอง ท้าวสุทัศนจ์ ึงโกรธและไล่พระโอรสทงั้ สองออกจากเมอื ง พระอภัยมณกี ับศรสี ุวรรณได้พบกับสามพราหมณ์ ชอ่ื วิเชยี ร โมรา สานน พราหมณ์ สงสัยว่าวชิ าเป่าป่ีดอี ยา่ งไร พระอภยั มณีจึงเป่าป่ใี ห้ฟัง เสยี งป่สี ะกดใหท้ ุกคนหลบั หมด นางผเี สอ้ื สมทุ รซงึ่ อยไู่ มไ่ กลจากบรเิ วณนน้ั ไดย้ นิ เสยี งป่ี และเกดิ ความหลงรกั ในเสยี งป ่ี และผเู้ ปา่ ปี่ จงึ จโู่ จมลกั พาตัวพระอภัยมณหี นลี งไปอยู่ในถ้ำ� ทองใตบ้ าดาลทีน่ างเนรมติ ไว้ และ นางไดแ้ ปลงกายเป็นมนุษยอ์ ยกู่ บั พระอภัยมณี จนมโี อรสด้วยกัน ๑ คน ชอื่ “สนิ สมุทร” เมือ่ สินสมทุ รอายุ ๘ ปี ได้ผลักหินปดิ ปากถ�้ำออกและลงเล่นนำ้� ทะเล จนไดพ้ บเงือก จงึ ลากตวั มาใหพ้ ระอภยั มณเี พอื่ ถามวา่ ตวั อะไร พระอภยั มณจี งึ คดิ วางแผนหนนี างผเี สอ้ื สมทุ ร พรอ้ มทงั้ สินสมทุ ร โดยอาศยั พ่อเงือก แม่เงือก และลกู สาวเงอื กพาหนี เงือกพาพระอภัยมณีมุ่งหน้ามาที่เกาะแก้วพิสดาร ระหว่างทางนางผีเสื้อสมุทร ตามมาทนั ไดฆ้ า่ พอ่ เงอื กและแมเ่ งอื ก สว่ นลกู สาวเงอื กพาพระอภยั มณหี นมี าถงึ เกาะแกว้ พสิ ดาร ได้อย่างปลอดภัย โดยมีพระฤ ษีมาคอยรับและขับไล่นางผีเส้ือสมุทรไม่ให้ท�ำอันตราย พระอภยั มณ ี สนิ สมทุ ร และนางเงอื กได้ คมู่ ือการเรียนการสอนวรรณคดไี ทย หนอ่ เนอื้ เชือ้ ไข ในวรรณคดไี ทย 101
พระอภยั มณสี งสารนางเงอื กทส่ี ญู เสยี พอ่ และแมจ่ งึ มาคอยปลอบใจ และไดน้ างเงอื ก เป็นชายา ต่อมานางเงือกต้ังครรภ์ ในขณะที่พระอภัยมณีและสินสมุทรได้โดยสารเรือ ของเจ้าเมืองผลึก คือ ท้าวสิลราช และพระธิดาคือ นางสุวรรณมาลีเดินทางออกไปจาก เกาะแก้วพสิ ดารแลว้ ฤาษมี าชว่ ยนางเงือกซ่ึงกำ�ลังทุกข์ทรมานจากอาการปวดท้องใกลค้ ลอด พระฤ ษีมีเมตตากรุณาย่ิงนัก ได้คอยช่วยดูแลการคลอดของนางเงือก รับเลี้ยงดู ลกู ชายนางเงือก และต้ังชอื่ ใหว้ ่า “สดุ สาคร” นางเงอื ก 102 ค่มู ือการเรียนการสอนวรรณคดีไทย หน่อเนอ้ื เช้อื ไข ในวรรณคดไี ทย
๔.๓.๓ ประวตั ิตวั ละคร สดุ สาคร สดุ สาครเป็นโอรสของพระอภัยมณกี ับนางเงือก มรี ูปร่างมาทางมนุษยห์ นา้ ตาคล้าย พระอภยั มณถี อื ก�ำเนดิ ทเี่ กาะแกว้ พสิ ดาร มพี ระฤ ษเี ปน็ ผเู้ ลยี้ งดแู ละสงั่ สอนวชิ าตา่ ง ๆ เหมอื น กบั ที่สอนสนิ สมทุ ร (พระเชษฐา) และมอบไม้เท้าวิเศษใหไ้ ปจับม้านิลมังกรมาเป็นพาหนะใหไ้ ด้ เมอื่ สดุ สาครอายุ ๓ ขวบ ไดอ้ อกเดนิ ทางตดิ ตามหาพระบดิ า ระหวา่ งทางสดุ สาครได้ ผจญกับปีศาจแห่งท้องทะเลจนพระฤ ษีต้องมาช่วย ได้พบชีเปลือยและถูกชีเปลือยหลอก ผลกั ตกเหวพระฤ ษไี ดม้ าชว่ ยอกี และแนะน�ำใหไ้ ปเอาไมเ้ ทา้ คนื มาจากชเี ปลอื ยทเี่ มอื งการะเวก ท้าวสุริโยทัยเจ้าเมืองการะเวกรับเล้ียงสุดสาครเป็นบุตรบุญธรรมเลี้ยงดูพร้อมกับพระธิดา และพระโอรสคอื เสาวคนธ์ และหัสไชย สดุ สาครอยทู่ เี่ มืองการะเวกได้ ๑๐ ปี จงึ ออกตดิ ตามหาพระอภัยมณีอีกครั้ง โดยมี เสาวคนธ์ หสั ไชย และกองทพั เดก็ ทม่ี คี วามสามารถรว่ มเดนิ ทางดว้ ย เรอื ของสดุ สาครพลดั หลง ไปถึงเกาะกาวิน ซึ่งเป็นถ่ินที่อยู่ของเหล่าผีเสื้อกระหายเลือด สุดสาครฆ่าหัวหน้าผีเสื้อตาย และได้มอบแก้วตาผีเสื้อให้เสาวคนธ์และหัสไชยไว้เป็นเครื่องรางส�ำหรับป้องกันอันตราย เมื่อเรือของสุดสาครเดินทางถึงเมืองผลึกและขอเข้าเฝ้าพระอภัยมณี ซึ่งขณะน้ันพระอภัยมณี ก�ำลงั หลงใหลมนตรเ์ สนห่ ห์ ลงรปู นางละเวงวณั ฬา แตน่ างสวุ รรณมาลไี มใ่ หเ้ ขา้ เมอื ง ดว้ ยไมร่ จู้ กั สุดสาครและยังมศี กึ สงครามติดพนั อยู่ คมู่ อื การเรยี นการสอนวรรณคดไี ทย หน่อเนอ้ื เช้ือไข ในวรรณคดไี ทย 103
ระหว่างท่ีรอจะเข้าเมืองผลึก สุดสาครและกองทัพเด็กได้ช่วยกันต่อสู้กับบรรดา กองเรือของเจา้ เมืองท่ีอาสานางละเวงวณั ฬามาท�ำสงครามกับเมืองผลึก เม่อื สดุ สาครเข้าเมอื งผลกึ ไดก้ ป็ ราบปีศาจท่ีสงิ อยใู่ นรูป ชว่ ยให้พระอภัยมณพี น้ จาก มนตร์เสน่ห์ และเม่ือสงครามเมอื งผลึกสงบจึงเดินทางกลบั เมืองการะเวก ตอ่ มาพระอภยั มณี ศรีสวุ รรณ และสนิ สมทุ ร ได้ถกู มนตร์เสน่ห์ของนางละเวงวณั ฬา นางร�ำภาสะหรี และนางยุพาผกา อีกครั้ง สุดสาครจึงมาช่วยปราบปีศาจแต่พลอยถูกเสน่ห ์ ของนางสุลาลีวันไปดว้ ย จนพระฤ ษีมาเทศนาโปรด ท้ังหมดจึงกลบั มาคนื ดีกนั และสามคั คีกัน โดยนางละเวงวัณฬาได้ต้อนรับกษัตริย์ทุกพระองค์พาชมเมืองและโคตรเพชร นางเสาวคนธ ์ ได้ขอโคตรเพชรและน�ำไปไว้ท่เี มืองการะเวกพรอ้ มสดุ สาคร พระอภัยมณีคิดจะจัดงานอภิเษกให้สุดสาครกับนางเสาวคนธ์ แต่นางเสาวคนธ์หน ี พิธีอภิเษกและปลอมตัวเป็นพราหมณ์ไปรบพุ่งท่ีเมืองต่าง ๆ ด้วยไม่พอใจท่ีสุดสาครไปได ้ นางสุลาลีวันกอ่ น สุดสาครได้ออกติดตามและได้พบนางเสาวคนธท์ ่ีเมืองวาหุโลม และได้นาง เสาวคนธเ์ ปน็ ชายา มโี อรสชอ่ื ว่า “นรนิ ทรร์ ัตน”์ เม่ือวายุพัฒน์ (โอรสสินสมุทรที่เกิดจาก นางยุพาผกา) และหัสกัน (โอรสของสุดสาคร ท่ีเกิดจาก นางสุลาลีวัน) ไปบุกเผาเมืองการะเวกเพื่อชิงโคตรเพชรคืน สุดสาครจึงเดินทางไปเมืองลังกาเพ่ือปราบมังคลา วลายุดา (โอรสศรีสุวรรณ) วายุพัฒน์ และหัสกัน เม่ือปราบท้ัง ๔ คนได้แล้ว พระอภัยมณี นางสุวรรณมาลี นางละเวงวัณฬา จึงออกบวชท่ีเขาสิงคุตร์ พร้อมนางเงือก (พระนางจันทวดี พันปีหลวง) ซึ่งถือศีลรักษาพรหมจรรย์อย่างเคร่งครัด จนพระอินทร์ได้เมตตาตัดหางของนางออกไป ท�ำให้นางมี ชีวิตเป็นมนุษย์ ส่วนสุดสาครและนางเสาวคนธ์ได้ไปครอง เมืองลงั กา พระอภยั มณี 104 คู่มอื การเรยี นการสอนวรรณคดไี ทย หน่อเน้ือเชอ้ื ไข ในวรรณคดไี ทย
๔.๓.๔ ชวนท�ำ กิจกรรม ๑) ชวนอ่านเป็นท�ำนอง คร้ันรุ่งอุม้ ดมุ่ เดนิ ไปเนนิ เขา ให้ด่ืมเต้ากษริ าสีห่ า้ หน เป็นแถวเงอื กบรุ ษุ มนษุ ย์ปน แรงกว่าคนเมอื งเราชาวบุรี ไดส้ ิบเดอื นเหมือนได้สกั สิบขวบ ดูขาวอวบอว้ นทว้ นเป็นนวลฉวี ออกว่งิ เตน้ เล่นได้ไกลกุฎ ี เทีย่ วไล่ขว่ี วั ควายสบายใจ แล้วลงน�ำ้ ปล้ำ� ปลาโกลาหล ดาบสบน่ ปากเปียกเรียกไมไ่ หว สอนให้หลานอา่ นเขยี นรำ�่ เรยี นไป แล้วกใ็ หว้ ทิ ยาวิชาการ รลู้ ่องหนทนคงเข้ายงยทุ ธ์ เหมอื นสินสมทุ รพยี่ าทง้ั กล้าหาญ .................................................... ................................................... คมู่ ือการเรียนการสอนวรรณคดีไทย หนอ่ เนอื้ เชื้อไข ในวรรณคดีไทย 105
นางเงือกนำ้� ก�ำสรดสลดจิต สุดจะคดิ คับทรวงดวงสมร จะทานทดั ขดั ไว้มิให้จร สดุ สาครของแมจ่ ะแดดาล นางดูหน้าอาลยั ใจจะขาด ดังฟ้าฟาดทรวงแยกให้แตกฉาน สะอ้นื อั้นตันใจอาลัยลาน แสนสงสารโศกาแล้วว่าพลาง โอท้ ูนหัวตัวแมน่ ้ีไมห่ า้ ม สุดแตต่ ามใจปองอย่าหมองหมาง แต่ปรานีทไ่ี ม่แจง้ รแู้ ห่งทาง จะอ้างว้างวญิ ญาณใ์ นวารี เคยกินนมชมช่นื ระร่นื รส พอ่ จะอดนมหมองละอองศรี ท้ังย่อมเยาวเ์ บาความได้สามป ี เลก็ เท่าน้นี ่จี ะไปกระไรเลย 106 คู่มอื การเรยี นการสอนวรรณคดไี ทย หน่อเนือ้ เชอ้ื ไข ในวรรณคดไี ทย
๒) ชวนรู้เรอ่ื ง เกาะ เกาะ หมายถึง ส่วนของแผ่นดินที่มีน้�ำล้อมรอบ อาจอยู่ในมหาสมุทร ทะเล ทะเลสาบ หรอื แม่น้ำ� เกาะที่อยูร่ วมกนั เปน็ กลมุ่ เรยี กว่า กลุ่มเกาะ เกาะ แบ่งเป็น ๓ ประเภท คือ ๑) เกาะรมิ ทวปี ๒) เกาะแม่น�้ำ ๓) เกาะภเู ขาไฟ นอกจากนี้ยังมีเกาะเทียมท่ีมนุษย์สร้างข้ึน เกาะท่ีส�ำคัญในประเทศไทยมีทั้งเกาะใหญ่และ เกาะเลก็ ทค่ี วรรูจ้ กั มดี ังนี้ ๑. เกาะรัตนโกสินทร์ เปน็ ทีต่ ง้ั ของกรงุ เทพมหานครเมืองหลวงของประเทศ ในปัจจบุ ัน ๒. เกาะภูเก็ต เป็นท่ีต้ังของจังหวัดภูเก็ต จังหวัดส�ำคัญทางภาคใต้ของ ประเทศไทย ๓. เกาะอยุธยา เป็นท่ีต้ังของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซ่ึงเป็นเมืองมรดกโลก และเคยเป็นราชธานีของไทยยาวนานกว่า ๔๑๗ ปี ๔. เกาะท่ีเป็นแหล่งท่องเท่ียว ได้แก่ เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง เกาะช้าง จังหวัดตราด เกาะสมุย จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี เกาะพีพี จงั หวัดกระบี่ เกาะตะรเุ ตา จงั หวัดสตลู ฯลฯ คมู่ ือการเรยี นการสอนวรรณคดีไทย หน่อเนื้อเชื้อไข ในวรรณคดีไทย 107
ชวนคดิ ๑. สนุ ทรภู่ผแู้ ตง่ เรือ่ ง พระอภยั มณี เป็นคนจงั หวัดใด ๒. เกาะแกว้ พิสดารที่สดุ สาครเกิด กวสี ุนทรภู่นา่ จะจนิ ตนาการมาจากเกาะใด ๓) ชวนกันเลน่ โพงพาง จ�ำนวนผ้เู ลน่ ไมจ่ �ำกดั จ�ำนวน อุปกรณก์ ารเล่น ผา้ ส�ำหรับปดิ ตา วิธีการเลน่ ๑. จับไม้ส้ัน - ไมย้ าว ไดผ้ ู้เล่นเป็นเสือปลา ๒. ผูเ้ ลน่ คนอนื่ ๆ จบั มอื เปน็ วงกลม ๓. ผู้เล่นเป็นเสอื ปลา ใช้ผา้ ผูกปิดตาเป็นเสอื ปลาตาบอด ยนื อย่กู ลางวง ๔. ผูเ้ ล่นทีจ่ บั มอื เป็นวงรอ้ งเพลงโพงพาง และเดนิ เปน็ วง จะร้องกี่จบก็ตกลงกนั ๕. เมอ่ื ร้องเพลงจบให้หยุดยนื กับทปี่ ล่อยมือแล้วถาม คนเป็นเสอื ปลาว่า ปลาเป็นหรือปลาตาย ๖. หากคนเปน็ เสอื ปลาบอกว่า “ปลาตาย” ทุกคนจะอย่ ู ในท่าเดิมไมเ่ คล่ือนไหว เปน็ ใบ้ไม่มเี สยี ง คนเปน็ เสือปลา กจ็ ะมาคล�ำตัวและทายว่าเป็นใคร หากทายถกู คนทีถ่ กู ทาย จะต้องมาเปน็ เสือปลาแทน หากทายผิดก็เปน็ เสือปลา ตอ่ ไป ๗. หากคนเปน็ เสือปลาบอกวา่ “ปลาเป็น” ทุกคนจะหยดุ ยืนอยู่กับท่ีแต่สามารถเคล่ือนไหวร่างกายได้ คนเป็น เสือปลาจะมาคล�ำตัวและท�ำให้ออกเสียงได้ และ ทายว่าเป็นใคร หากทายถูกคนถูกทายต้องมาเป็น เสอื ปลาแทน หากทายผดิ คนทายตอ้ งเปน็ เสอื ปลาตอ่ ไป 108 คู่มือการเรยี นการสอนวรรณคดีไทย หนอ่ เน้ือเชือ้ ไข ในวรรณคดไี ทย
๔) ชวนรอ้ งเล่น เพลง โพงพาง โพงเอ๋ยโพงพาง นกกระยางเขา้ ลอด เสือปลาตาบอด เขา้ ลอดโพงพาง หมายเหตุ ๑. โพงพางเป็นชื่อเครื่องมือดักสัตว์น�้ำชนิดหน่ึง มีลักษณะเป็นถุงตาข่ายรูปยาวรี ใชผ้ กู กับเสาใหญ่ ๒ ตน้ ทปี่ ักขวางล�ำนำ�้ ส�ำหรบั จับ (ดัก) ปลา ก้งุ ๒. นกกระยาง เสอื ปลา เป็นสัตว์ชอบกินปลา จงึ เข้ามาในโพงพางหวงั จะเข้ามากิน ปลาที่ติดอยู่ในโพงพาง อา้ งอิงขอ้ มลู : วกิ พิ ีเดยี อุปกรณด์ กั จับสตั ว์น�้ำ ภูมปิ ญั ญาพนื้ บ้าน http://oknation.nationtv.tv/blog/nukpan/2010/09/17/entry-1 คูม่ ือการเรียนการสอนวรรณคดไี ทย หนอ่ เนือ้ เชื้อไข ในวรรณคดีไทย 109
๕) ชวนเขยี นประวตั ิ ประวัตสิ ุดสาคร ชื่อ วงศส์ กุล ชื่อบิดา ช่อื มารดา ท่อี ยปู่ ัจจุบนั ลักษณะเด่น ประวัตกิ ารศึกษา พี่น้องร่วมบิดามารดา สถานภาพ ช่อื ภรรยาหรือสามี ชื่อบุตรหรอื ธิดา อาชีพ/สถานที่ท�ำงาน ตำ� แหน่ง ความสามารถพิเศษ ผลงานดเี ด่น หลักในการท�ำงาน คณุ ธรรมความดีงาม 110 คูม่ อื การเรียนการสอนวรรณคดไี ทย หน่อเน้อื เชื้อไข ในวรรณคดีไทย
๖) ชวนประดิษฐ์ มัจฉาพาเพลนิ ประเภท งานเดยี่ ว/งานกลุ่ม อปุ กรณ์ ๑. ใบตาล/ใบลาน/ใบมะพรา้ ว/ใบตอง/ริบบิ้น/กระดาษ หลอดกาแฟ/ลูกปงิ ปอง ฯลฯ ๒. ดา้ ย เข็มเย็บผ้า ลกู ปดั ๓. กระดาษสีขาว ปากกาสีด�ำ ๔. ลวดเสน้ เล็ก ลวดดอกไมไ้ หว กาว ๕. สีโปสเตอร์ตา่ ง ๆ พกู่ นั การประดิษฐ์ ๑. ค้นคว้าหาความรเู้ กย่ี วกบั ปลาต่าง ๆ จากรูปภาพ หนงั สอื และจากอนิ เทอร์เน็ต ๒. รจู้ กั ชื่อและลักษณะของปลาน�้ำจดื ปลาน้ำ� เค็ม และ ปลาสวยงามกันก่อน ๓. เลือกภาพปลาและออกแบบปลาตามใจชอบ ๔. ใชอ้ ุปกรณป์ ระดิษฐเ์ ป็นปลาอะไรกไ็ ด้อยา่ งน้อย คนละ ๓ ตัว ตกแตง่ ให้สวยงาม ๕. รวมกลุ่ม ๖ - ๘ คน น�ำปลาของแตล่ ะคนมารวมกนั แล้วออกแบบเป็นเครอื่ งห้อย เคร่อื งแขวนท่ปี ระดิษฐ์ จากปลาท่สี �ำเร็จแล้ว ๖. ค�ำนวณราคา เครือ่ งหอ้ ย เครื่องแขวนท่ปี ระดษิ ฐ ์ จากปลาประดิษฐ์ ๗. ตวั แทนกลมุ่ อธบิ ายผลงาน น�ำเสนอแนวคดิ การออกแบบจนครบทกุ กลุ่ม คมู่ ือการเรียนการสอนวรรณคดไี ทย หนอ่ เน้ือเชื้อไข ในวรรณคดีไทย 111
๗) ชวนคิดสรา้ งสรรค์ กจิ กรรมที่ ๑ เขยี นสลบั อักษรเปน็ คำ�ใหม่ ตัวอยา่ ง นิลมงั กร = กัน กงั กิน กมิ นัง นกั ลิง ลกิ ลนิ ลิม มกั มัน มนิ มกิ มงิ รนิ ริก รมิ รน้ รัม รัง รัก ๑. สนิ สมทุ ร = ............................................................................................. ๒. สุดสาคร = ............................................................................................. ๓. สรอ้ ยสุวรรณ = ............................................................................................. ๔. จนั ทรส์ ดุ า = ............................................................................................. ๕. มงั คลา = ............................................................................................. กิจกรรมท่ี ๒ เขยี นวรรคท่กี ำ�หนดให้เป็นบทร้อยกรอง รสู้ งิ่ ใดไม่สรู้ ู้วิชา แม้นใครรกั รกั ม่ังชังชังตอบ ใหร้ อบคอบคิดอ่านนะหลานหนา รูร้ กั ษาตัวรอดเปน็ ยอดดี ............................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... กิจกรรมที่ ๓ อ่านแล้วตอบค�ำ ถาม ใครเอย่ .................................... เขยี นเครอื่ งหมาย ✓ ใน ในเพลงป่วี า่ สามพ่ีพราหมณเ์ อ๋ย ยงั ไม่เคยชมชดิ พสิ มยั อัศจรรยแ์ ห่งเสยี งปพ่ี ระอภยั มณี ถงึ ร้อยรสบุปผาสมุ าลยั จะชื่นใจเหมอื นสตรีไมม่ เี ลย เกิดความรกั เกิดความเผลอสต ิ เกิดการหลบั ใหล เกิดการตาย 112 คู่มือการเรยี นการสอนวรรณคดไี ทย หนอ่ เน้อื เชอื้ ไข ในวรรณคดีไทย
แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรูภ้ าษาไทย เรอื่ ง สุดสาคร ๑. วิเคราะหส์ าระการเรยี นรใู้ นกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย มารยาทในการเขียน บทรอ้ ยแกว้ ประวตั ติ ัวละคร เขียนบรรยายเกาะแกว้ พสิ ดาร อา่ นบทรอ้ ยกรอง กลอนสภุ าพตัดตอนจากเร่ืองพระอภัยมณี เขยี นเชิงสรา้ งสรรค์ “ท่องไปในทะเล” คัดลายมอื การอา่ น มารยาทในการอ่าน การนำ�เสนอการค้นคว้าและวิพากษ์ วิจารณอ์ ยา่ งมีเหตุผล การเขยี น การฟัง มารยาทในการฟงั เขยี นบันทึกขณะเดนิ ทาง สดุ สาคร ฟังการอ่านบทร้อยแก้ว/บทรอ้ ยกรอง เขียนจดหมายถึงแมเ่ งอื ก/พระฤาษี หลกั การใชภ้ าษา บรรยายบอกลกั ษณะตวั ละครทมี่ รี ปู ร่าง ข้ามสายพนั ธุแ์ ละในเรือ่ งอน่ื ๆ คุณธรรม การพดู การใฝ่รู้ ใฝ่เรยี น ฉันทลกั ษณ์กลอนสภุ าพ มารยาทในการพูด คำ�นามช้ีเฉพาะ ความเป็นอยบู่ นเกาะหลงั เรือแตก/ ความกล้าหาญ มาตราตัวสะกดไมต่ รงมาตรา แมก่ น ความรสู้ กึ ความกตัญญูกตเวที สร้างค�ำ ใหมโ่ ดยสลบั อกั ษรจากชื่อเฉพาะ ๒. วิเคราะห์การบูรณาการการสอนต่างกลมุ่ สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สงั คมศึกษา ศาสนา - ประดษิ ฐ์หนุ่ ชักชาวเกาะ และวัฒนธรรม (จนี แขก ฝรง่ั ไทย เงอื ก ฤาษ)ี - ชุมชนชาวเกาะ/ความเปน็ อยู่ - คณุ ธรรมของพระฤาษี - คณุ ธรรมของสุดสาคร สุดสาคร ศลิ ปศึกษา/ดนตรี วทิ ยาศาสตร์ - เพลงโอ้สุดสาคร - ความรู้เรอื่ งเกาะ/ทะเล - วาดภาพเกาะ/ทะเล/เงอื ก - ภยั ทางทะเล - การเดินทางในทะเล แลว้ ระบายสี - ประโยชนข์ องทะเล ค่มู อื การเรียนการสอนวรรณคดีไทย หน่อเนื้อเชือ้ ไข ในวรรณคดไี ทย 113
๓. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ๓.๑ น�ำสาระเนื้อหาจากวรรณคดีไทย/ประวัติตัวละคร มาน�ำอ่าน น�ำพูด ฝกึ จบั ใจความส�ำคญั ๓.๒ น�ำสาระเนื้อหาต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้มาบูรณาการการสอนโดยใช้การ แบ่งกลมุ่ ศึกษาค้นควา้ โดยใช้การอ่าน การเขยี น การบนั ทึก การจบั ใจความ การสรปุ ใจความ การวิเคราะหค์ วาม การเขียนรายงาน การพดู น�ำเสนอจากการศกึ ษาค้นควา้ ฯลฯ ๓.๓ ครูสรปุ ความรทู้ ถี่ ูกตอ้ งแก่นักเรยี น ๓.๔ ให้นักเรียนสร้างชิ้นงานด้วยตนเองตามใจชอบ แล้วแลกเปล่ียนเรียนรู ้ วิพากษว์ จิ ารณ์เชงิ บวกด้วยค�ำวา่ “ถ้า... ถ้าจะเพิม่ ... ปรับ...” ๓.๕ การวัดผลประเมินผลตามตัวชี้วัด จุดประสงค์ หรือสมรรถนะทางภาษาไทย จากผลงานของนักเรียน ผลงานกลุ่ม ใช้การทดสอบ การตรวจ การสังเกต การฟัง การพูด การเขียน เปน็ ต้น 114 คูม่ อื การเรียนการสอนวรรณคดีไทย หน่อเนอ้ื เช้อื ไข ในวรรณคดไี ทย
๕ หนอ่ เน้อื เชื้อไข ในวรรณคดไี ทย เร่ือง รามเกียรต์ิ
เร่อื ง รามเกียรต์ิ ๕.๑ ประวตั วิ รรณคดไี ทย วรรณคดีไทย เร่ือง รามเกียรต์ิ นี้ มปี รากฏต้งั แตส่ มยั กรุงศรอี ยุธยา สมัยกรงุ ธนบรุ ี จนถึงสมยั กรงุ รตั นโกสินทร์ วรรณคดไี ทย เรอ่ื ง รามเกยี รต์ิ แตง่ เปน็ ค�ำประพนั ธห์ ลายรปู แบบ เชน่ บทโคลงสส่ี ภุ าพ (จิตรกรรมฝาผนงั วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม) แตง่ เป็นกาพย์ยานี ๑๑ เป็นบทกาพย์ฉบงั ๑๖ เป็นกลอนบทละคร และแตง่ เป็นบทร้อยแก้ว (อธิบายภาพในศิลาจารึก) การแบ่งเนื้อหาสาระ การแบ่งบทตอนของเรื่องมีความแตกต่างกันไปตาม บทประพนั ธข์ องกวใี นแต่ละยุคแตล่ ะสมยั พระราชนิพนธ์บทละครเรื่อง รามเกียรต์ิ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช เป็นรามเกียรติ์ฉบับท่ีสมบูรณ์ที่สุด เร่ิมตั้งแต่ต้นเร่ือง แต่งเป็นร่ายสดุดี พระมหากษัตริย์ เน้ือเรื่องแต่งเป็นกลอนบทละคร เริ่มต้ังแต่หิรันตยักษ์ม้วนแผ่นดิน จนถึง พระรามเสด็จกลับเมืองอยุธยา และข้อความท้ายเร่ืองแต่งเป็นโคลงสี่สุภาพ กล่าวถึง เวลาท่ี ทรงพระราชนิพนธ์ พุทธศักราช ๒๓๔๐ มีความยาวถึง ๑๑๗ เลม่ สมดุ ไทย บทพระราชนพิ นธร์ ามเกยี รต์ิ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้านภาลยั มุ่งจะใช ้ เป็นบทละครร�ำ ได้รับการยกย่องว่าเป็นบทละครที่มีความไพเราะ และถือเป็นแบบแผนของ บทละครตอ่ มา รามเกียรต์ิมีที่มาจากเร่ืองรามายณะของอินเดีย เป็นเรื่องราวของการต่อสู้ระหว่าง ฝ่าย “ธรรม” คอื ฝา่ ยพระราม กบั ฝา่ ย “อธรรม” คอื ฝา่ ยทศกัณฐ์ ในชาติปางก่อนทศกัณฐ์ เป็นยักษ์ ชื่อ “นนทุก” พระอิศวรพระราชทานให้มีนิ้วเพชรเป็นอาวุธ นนทุกใช้นิ้วเพชร ช้ีประหารเทวดา นางฟ้า ล้มตายด้วยความโกรธที่ต้องมาล้างเท้าให้ และยังถูกถอนผมจน ศีรษะล้าน พระนารายณ์จึงแปลงกายเป็น “นางสุวรรณอัปสร” หลอกให้นนทุกร่ายร�ำตาม จนเผลอใชน้ วิ้ เพชรชตี้ วั เองจนถงึ แกค่ วามตาย กอ่ นตายนนทกุ ไดก้ ลา่ วสบประมาทพระนารายณ์ ว่าเอาเปรียบเป็นเทวดามีถึงสี่กร แล้วยังใช้เล่ห์เพทุบายแปลงกายเป็นอิสตรีมาลวงล่ออีก ส่วนตนนน้ั มีเพียงสองมอื สู้ไมไ่ ด้ หากมีส่ีมอื เท่าพระนารายณ์แล้ว พระนารายณค์ งเอาชนะตน 116 คู่มอื การเรียนการสอนวรรณคดไี ทย หนอ่ เนอ้ื เชือ้ ไข ในวรรณคดไี ทย
ไมไ่ ด้ พระนารายณจ์ ึงสาปใหน้ นทกุ ไปเกดิ ใหม่ ให้มีสบิ เศยี ร ยี่สิบมอื มีฤทธ์สิ ารพดั เหาะเหิน เดินอากาศได้ ส่วนพระนารายณ์จะตามไปเกิดเป็นมนุษย์มีเพียงสองมือ คือ พระราม และ จะตามไปปราบนนทกุ อกี จงึ กลายเปน็ เรอ่ื งราวใหญโ่ ตกอ่ ใหเ้ กดิ มหาสงครามยดื เยอ้ื กนั เนน่ิ นาน ถงึ ๑๔ ปี พระรามจงึ ชนะศึกทศกัณฐแ์ ละยกทพั คืนเขา้ กรงุ อโยธยา (อยธุ ยา) วรรณคดีไทย เรื่อง รามเกียรติ์ เน้ือหาสาระจะเป็นการสรรเสริญ ยกย่อง เชิดชู เกียรติยศ คุณธรรมของพระราม ซ่ึงเปน็ ตัวละครส�ำคญั ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ไดส้ รรหาตวั ละคร จากวรรณคดี เรื่อง รามเกียรติ์ ท่ีมีวัยเดียวกับผู้เรียนระดับประถมศึกษา พบตัวละครช่ือ มจั ฉานุ บตุ รของหนุมานทหารเอกของพระราม ในตอนศึกไมยราพ จึงน�ำมาเปน็ สื่อการอา่ น เพ่ือการเรียนร้ใู นหนังสอื เรยี น รายวชิ าพ้ืนฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพือ่ ชีวิต วรรณคดลี �ำน�ำ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๖ บทเรยี นบทที่ ๕ ตัง้ ชอื่ บทอา่ นวา่ ศกึ สายเลอื ด ศึกสายเลือด เป็นการปะทะกันของผู้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ซึ่งเป็นเลิศ ทง้ั ๒ ฝา่ ย ฝา่ ยหนง่ึ เปน็ หนมุ านมาตามชว่ ยเหลอื พระรามถงึ กรงุ บาดาล อกี ฝา่ ยหนงึ่ เปน็ มจั ฉานุ ผู้ดูแลอาณาเขตกรุงบาดาล เมื่อมีผู้ล่วงล้�ำข้ามเขตมาจึงเกิดการต่อสู้ปะทะกัน การปะทะกัน จงึ ท�ำใหห้ นุมานและมจั ฉานุไดร้ วู้ า่ เปน็ บดิ าเป็นบุตร (พ่อลูก) กนั อกี ตวั ละครทสี่ �ำคญั และเปน็ หนอ่ เนอื้ เชอื้ ไขของพระราม คอื พระมงกฎุ ไดถ้ อื ก�ำเนดิ มา ในระยะเวลาท่ีเกดิ ความขัดแย้ง เนื่องจากความเขา้ ใจผดิ ทพ่ี ระรามมีตอ่ นางสดี า แม้พระมงกฎุ จะเป็นโอรสของพระรามซ่ึงเป็นพระนารายณ์อวตาร ก็ประสบกับปัญหาความพลัดพราก ก�ำพรา้ พ่อ ต้องอาศยั อยใู่ นป่าแทนเวยี งวัง เร่อื งราวของพระมงกุฎจึงน่าติดตามวา่ จะคล่ีคลาย ไปอยา่ งไร ภาพจากจิตรกรรมฝาผนงั เรอ่ื ง รามเกยี รต์ิ รอบพระระเบียงวัดพระศรรี ัตนศาสดาราม คมู่ ือการเรียนการสอนวรรณคดไี ทย หน่อเนอ้ื เชอ้ื ไข ในวรรณคดีไทย 117
๕.๒ พระมงกฎุ ๕.๒.๑ ล�ำ ดบั วงศ์พระราม (พระนารายณ์อวตาร) พระนารายณ์ ทา้ วอโนมาตนั นางมณีเกสร ท้าวอชั บาล นางเทพอปั สร ทา้ วทศรถ นางเกาสุรยิ า นางสมทุ รเทวี นางไกยเกษี พระราม นางสีดา พระลกั ษมณ ์ พระสัตรุด พระพรต พระมงกุฎ พระลบ (โอรสเกิดจากเวทมนตรพ์ ระฤ ษี) หมายเหตุ ทา้ วอโนมาตนั เกดิ ในดอกบวั ทผ่ี ดุ เกดิ ขนึ้ จากพระอทุ รของพระนารายณ์ พระนารายณ์ น�ำกมุ ารนไี้ ปถวายพระอศิ วร พระอศิ วรจงึ ใหพ้ ระวษิ ณกุ รรมไปสรา้ งกรงุ ศรอี ยธุ ยา พรอ้ มทง้ั ประทานนามกุมารวา่ อโนมาตนั ใหป้ กครองกรงุ ศรอี ยธุ ยาโดยธรรม 118 คู่มือการเรียนการสอนวรรณคดไี ทย หนอ่ เนอื้ เชือ้ ไข ในวรรณคดีไทย
๕.๒.๒ ความเดิม เมื่อพระรามชนะศึกทศกัณฐ์และคืนกลับกรุงศรีอยุธยาแล้ว มีนางปีศาจช่ือ อดุล แปลงกายเปน็ นางก�ำนลั หลอกใหน้ างสดี าวาดรปู ทศกณั ฐ์ และเขา้ สงิ รปู นนั้ ท�ำใหภ้ าพลบไมอ่ อก เมื่อพระรามมาเห็นรูปทศกัณฐ์จึงเข้าใจผิดคิดว่านางสีดามีใจรักคิดถึงทศกัณฐ์ ถึงกับวาดรูป เอาไวด้ ู จึงส่ังใหพ้ ระลกั ษณน์ �ำนางสดี าไปประหารชีวิต โดยท่ีพระรามไม่ทรงทราบว่านางสีดา ก�ำลงั ตัง้ ครรภ์ พระลกั ษณไ์ มอ่ าจประหารนางสดี าไดจ้ งึ ปลอ่ ยนางไวใ้ นปา่ แลว้ น�ำเอาหวั ใจเนอื้ ทราย ไปใหพ้ ระรามดแู ทน สว่ นกระบอื ป่าไดน้ �ำทางใหน้ างสดี าไปถงึ กฎุ พิ ระฤ ษวี ชั มฤค และอาศยั อย่ ู ทน่ี นั่ จนนางประสตู ิโอรส พระฤ ษตี ้ังชื่อใหว้ ่า “พระมงกุฎ” นางสดี าไดล้ งไปช�ำระรา่ งกายท่ที า่ น้�ำ โดยฝากพระโอรสไว้กับพระฤ ษี เมอ่ื นางสดี า มาถึงท่านำ�้ เห็นลกู ลงิ เกาะตวั แมล่ งิ นางสดี ากว็ ่าแก่แมล่ ิงวา่ “เหวยลิงพาลา ลกู พึง่ ลมื ตาเอามาไย เกาะกอดกายาทง้ั หนา้ หลัง จะระวังระไวกระไรได้ ท�ำวิปรติ ผดิ ทาง จะเอาลกู มาขวา้ งเสยี ดงั นี”้ แม่ลิงก็โต้ตอบวา่ จะมที ุกขร์ ้อนก็ยังช่ัว “ลูกเราน้ีอยู่พันพวั เพราะใกล้ตัวได้เห็นกับตาเรา เจ้าสปิ ระมาทใจเบา เอาลูกทง้ิ ไวใ้ นกฎุ ี ดาบสหลบั ตาภาวนาอยู่ แมน้ หมเู่ สือสิงห์กดั กินก็จะสน้ิ ชีวิต เสยี ทีท่ีอ้มุ ทอ้ งมา” นางสีดาไดค้ ิดกต็ กใจ รีบกลบั ไปยงั คนั ธกุฎีอุ้มลูกน้อยมาอยู่ด้วยกันที่ฝง่ั แม่น�ำ้ เม่ือพระฤ ษีออกจากสมาธิแล้วไม่เห็นพระกุมารก็ตกใจ จึงคิดชุบพระโอรสใหม่ข้ึน มาแทน แลว้ หยบิ กระดานวาดรปู กมุ ารใหเ้ หมอื นพระมงกฎุ ทกุ อยา่ ง ตง้ั พธิ บี ชู าไฟ ใชพ้ ระเวทย์ คาถาชบุ พระกมุ ารทีว่ าดไว้ นางสีดาอุ้มพระโอรสกลับมา พระฤ ษีเห็นดังนั้นก็จะลบรูปกุมารในกระดานนั้นท้ิง แต่นางสีดาต้องการมีพระโอรสอีกองค์ จึงขอให้พระฤ ษีท�ำพิธีต่อไป จนได้พระกุมารอีกองค์ พระฤ ษใี หน้ ามว่า “พระลบ” พระมงกุฎกับพระลบจงึ มหี น้าตาเหมอื นกันราวกับฝาแฝด คู่มือการเรียนการสอนวรรณคดีไทย หนอ่ เนือ้ เช้ือไข ในวรรณคดีไทย 119
๕.๒.๓ ประวตั ิตวั ละคร พระมงกฎุ พระมงกฎุ เป็นโอรสของพระรามกับนางสดี า ประสตู กิ ลางป่า อาศัยอยูก่ ับพระฤ ษี วัชมฤคจนอายุ ๑๔ ปี พระฤ ษีวัชมฤคได้สอนวิชาศิลปศาสตร์ให้แก่พระกุมารทั้งสอง คือ พระมงกุฎและพระลบ จนช�ำนาญวิชาการต่าง ๆ แลว้ พระฤ ษจี งึ ชุบศรให้เป็นอาวุธ พระมงกุฎประลองศรท�ำลายต้นพญารัง เสียงดังสน่ันหว่ันไหวไปถึงกรุงอโยธยา (อยุธยา) พระรามได้ยินจึงให้ท�ำพธิ ีปล่อยมา้ อปุ การ และใหห้ นมุ านติดตามก�ำกับม้าไป เมื่อพระมงกุฎและพระลบเห็นม้าก็จับขี่เล่น คร้ันหนุมานเข้าต่อสู้กับพระมงกุฎ กพ็ ่ายแพถ้ กู พระมงกฎุ มัดด้วยเถาวัลย์ เอายางไมส้ กั ท่ีหน้าแลว้ อธษิ ฐานวา่ ผู้ที่จะแก้เถาวัลยไ์ ด้ ตอ้ งเปน็ เจ้านายของหนมุ านเทา่ นัน้ พระรามให้พระพรตและพระสัตรุดยกทัพมาจับตัวพระมงกุฎและพระลบไปขังไว ้ ต่อมาพระลบสามารถหนอี อกไปได้ และกลับไปช่วยพระมงกุฎหนีออกจากกรุงอโยธยามาได้ พระรามให้ยกพลตามไปถึงกลางป่าและได้ต่อสู้กับพระมงกุฎ ผลปรากฏว่าไม่แพ้ ไมช่ นะกนั พระรามโกรธจงึ แผลงศรเพอื่ สงั หาร แตศ่ รไมอ่ าจเขา้ ใกลพ้ ระมงกฎุ พระมงกฎุ แผลงศร ไปท�ำลาย แต่ศรกลับกลายเป็นข้าวตอกดอกไม้บูชาพระราม พระรามสงสัยจึงอธิษฐานศร หากวา่ เปน็ ศตั รใู หท้ �ำลาย หากเปน็ เชอ้ื สายใหเ้ ปน็ อาหารทพิ ย์ เมอื่ แผลงศรไป ศรกลายเปน็ อาหาร ตกลงตรงหนา้ พระมงกุฎ และเปน็ ฉัตรแกว้ ก้ันพระมงกุฎไว้ พระรามจึงรู้ว่าพระมงกุฎเป็นโอรส และพระมงกุฎได้รู้ว่าพระรามเป็นพระบิดา เมอ่ื นางสดี าคนื ดกี บั พระราม พระมงกฎุ ไดต้ ดิ ตามนางสดี าและพระรามกลบั กรงุ ศรอี ยธุ ยา และ ต่อมายังได้ใช้ความสามารถสังหารท้าวคนธรรพ์ที่มาท�ำศึกกับเมืองไกยเกษ (เมืองพระอัยกา ของพระพรต) ได้ส�ำเร็จ 120 คมู่ อื การเรยี นการสอนวรรณคดีไทย หนอ่ เน้ือเชือ้ ไข ในวรรณคดีไทย
๕.๒.๔ ชวนท�ำ กจิ กรรม ๑) ชวนอ่านเปน็ ท�ำนอง (กลอนบทละคร) ตัวขา้ นีช้ อ่ื มงกุฎ อันนอ้ งรกั แสนสุดเสน่หา ชื่อวา่ เจ้าลบกุมารา นางสีดาเปน็ พระชนนี ฝา่ ยองคพ์ ระราชบิดร นามกรช่ือไรไม่รทู้ ี่ ผา่ นกรงุ อยธุ ยาพระบุรี ฤทธีล�ำ้ เลศิ แดนไตร ......................................... เจ้านอนเสยี เถดิ ทงั้ พี่น้อง จะรำ�่ ร้องไปไยหนักหนา พ่ออยา่ กันแสงโศกา จงนิ่งนิทรานะสายใย อยา่ เฝา้ เรา้ รบมารดา ต่ืนนอนพอ่ อยา่ รู้ร้องไห้ ขวญั ข้าวเจา้ แม่ผูเ้ พอื่ นไร ้ ต้องนอนในปา่ ดงพงพี แม่จะเก็บผลไมใ้ หเ้ สวย ทรามเชยของแม่ท้งั สองศรี โพยภัยไข้เจ็บอยา่ รมู้ ี เทวโี ลมลบู พระลูกยา (นางสีดากลอ่ มลูก รามเกยี รต)์ิ ๒) ชวนรู้เรอ่ื ง โขน โขน เป็นศิลปะการแสดงชั้นสูงของไทย เป็นมรดกไทยที่มีความสง่างาม อลังการ และอ่อนช้อยรวมไว้ด้วยกัน เป็นจุดศูนย์รวมของศาสตร์และศิลป์หลากหลายแขนง เช่น วรรณกรรม วรรณศลิ ป์ นาฏศลิ ป์ คีตศิลป์ และหตั ถศลิ ป์ โขน เป็นการแสดงประเภทหนึ่งที่ใช้ท่าร�ำตามแบบละครใน แตกต่างท่ีท่าร�ำ มีการเพิ่มตัวแสดง เปล่ียนท�ำนองเพลงท่ีใช้ด�ำเนินเร่ืองไม่ให้เหมือนกับละครอื่น ๆ เช่น เป็นท�ำนองพากย์ ท�ำนองเจรจา เปน็ กลอนละครบา้ ง เปน็ กาพย์ยานีบ้าง เป็นกาพย์ฉบงั บา้ ง มีวงพิณพาทยป์ ระกอบท�ำนอง คู่มือการเรยี นการสอนวรรณคดไี ทย หน่อเนื้อเชอ้ื ไข ในวรรณคดีไทย 121
การแสดงโขนเร่ือง รามเกยี รติ์ ณ โรงละครแหง่ ชาติ การแสดงโขนมปี ระวตั มิ ายาวนานมาแต่ ครง้ั กรงุ ศรอี ยธุ ยา ผแู้ สดงจะสวมหวั โขน ตงั้ แต่ศรี ษะถงึ คอ เจาะรูบรเิ วณดวงตาให้สามารถมองเห็น หากแสดงเปน็ ตัวมนุษยไ์ มต่ ้องสวม หวั โขน เอกลกั ษณ์ของการแสดงหัวโขน คอื การแสดงอารมณ์ผ่านทา่ ทางการร่ายร�ำ ตามลักษณะของตัวละคร เช่น ยักษ์ ลิง เทวดา เรื่องที่นิยมน�ำมาแสดงโขน ได้แก ่ เรื่อง รามเกยี รต์ิ อณุ รุท เปน็ ตน้ การแสดงโขน นอกจากจะให้ความบันเทิง ความเพลิดเพลินสนุกสนานแล้ว ตัวละครของโขนท้ังฝ่ายพระ ฝ่ายนาง ฝ่ายยักษ์ ฝ่ายลิง และฝ่ายอ่ืน ๆ เช่น ฤ ษี อมนุษย์ สตั ว์ เทพ เทวา ยังมพี ฤตกิ รรมที่ควรศึกษาไวเ้ ป็นความรูค้ วามเขา้ ใจท่ีมีคุณคา่ ยิ่งในดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ การใฝร่ ใู้ ฝเ่ รยี น ความกระตอื รอื รน้ ความรบั ผดิ ชอบ ความอดทนอดกลนั้ การคดิ สรา้ งสรรค์ การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ ความรอบคอบ ความซอื่ สัตย์ การเหน็ คุณคา่ ของตนเองและผูอ้ ่ืน ความกตัญญูกตเวที ความยุติธรรม การเป็นผู้น�ำและผู้ตามที่ดี การใช้วาจา และความ ชัดเจนในการกระท�ำของตัวละครท่ี “ท�ำดีได้ดี ท�ำชั่วได้ชั่ว” ฉะน้ัน โขนจึงเป็นทั้งการแสดง การเชิดชูวัฒนธรรม คุณธรรมจริยธรรม การส่งเสริมความคิดจินตนาการและจรรโลง ความดีงามแห่งจติ ใจ 122 คมู่ อื การเรยี นการสอนวรรณคดไี ทย หนอ่ เน้ือเชอื้ ไข ในวรรณคดีไทย
๓) ชวนกนั เลน่ ม้าพยศ จ�ำนวนผเู้ ล่น ๑๐ - ๓๐ คน อุปกรณ์การเลน่ หวั มา้ ส�ำหรับสวมศรี ษะ (ผ้าขาวม้าโพกศีรษะ) วธิ กี ารเล่น ๑. ผู้เล่นจัดเป็นกลมุ่ กลุ่มละ ๓ คน ๒. ผู้เล่นแตล่ ะกลุ่มจับเอวตอ่ กันไว้ (๓ คน) ๓. หัวหนา้ กลมุ่ มาเปา่ ยิงฉบุ เลือกว่ากลมุ่ ใดจะเปน็ ฝ่ายวงิ่ ไล่จบั หรอื เป็นฝา่ ยทีต่ อ้ งคอยวิง่ หนกี ารถูกจบั ๔. หวั หนา้ ฝ่ายวงิ่ ไลจ่ ับ จะตอ้ งว่งิ ไลไ่ ปจบั ตอ่ เอวคนท่สี าม ของทีมมา้ ให้ได้ ๕. ขณะวง่ิ ไลจ่ บั แตล่ ะกลุ่มจะตอ้ งจับเอวต่อกัน ครบสามคน หากขาดตอนตอ้ งออกจากการเลน่ ๖. กลุ่มมา้ ทถี่ กู จับตอ่ เอวคนทสี่ ามได้ กลมุ่ นั้นจะตอ้ งออกจาก การเลน่ ๗. หากเล่นไปเหลอื แตก่ ลมุ่ ฝ่ายวิ่งไลจ่ บั ก็ใหเ้ ปา่ ยิงฉุบ เลอื กฝา่ ยใหม่ แลว้ ว่ิงไล่จบั กนั ตอ่ ไป ๘. กล่มุ ที่เหลอื สุดทา้ ยเป็นผชู้ นะ ๙. ช่วยกนั บอกประโยชน์ของการเลน่ มา้ พยศ ๔) ชวนรอ้ งเลน่ เพลง ม้าอาชาไนย ท�ำนอง อัศวลลี า ค�ำรอ้ ง ละเอยี ด สดคมข�ำ กบุ กับ กบุ กับ กบุ กบั มา้ ว่ิงสลบั ขาไป ซ้ายขวา ซ้ายขวา ซา้ ยขวา กา้ วขาซา้ ยขวาเร็วไว ฮ้ฮี ่อ ฮ้ีฮ่อ ฮฮ้ี ่อ เสียงร้องจากคอมา้ ไง ควบข่หี ลงั อาชาไนย ว่ิงไป กุบกบั กบุ กับ คู่มือการเรียนการสอนวรรณคดีไทย หน่อเนอื้ เชอ้ื ไข ในวรรณคดไี ทย 123
๕) ชวนเขยี นประวตั ิ ประวัตพิ ระมงกฎุ ชื่อ วงศ์สกลุ ชื่อบิดา ชอ่ื มารดา ท่ีอยู่ปัจจบุ นั ลกั ษณะเด่น ประวตั กิ ารศึกษา พน่ี อ้ งรว่ มบดิ ามารดา สถานภาพ ชอ่ื ภรรยาหรือสามี ชื่อบุตรหรอื ธิดา อาชพี /สถานทท่ี ำ� งาน ตำ� แหน่ง ความสามารถพเิ ศษ ผลงานดเี ด่น หลักในการทำ� งาน คณุ ธรรมความดีงาม 124 คู่มือการเรียนการสอนวรรณคดีไทย หน่อเนือ้ เชื้อไข ในวรรณคดีไทย
๖) ชวนประดิษฐ์ พวงมาลยั ดอกไม้ อุปกรณ ์ ๑. ดอกไมส้ ดหรือแห้ง มากพอเท่าจ�ำนวนนักเรยี นในกล่มุ ๒. เขม็ รอ้ ยดอกไม้ ดา้ ยสขี าว ๓. กรรไกร จ�ำนวนผูเ้ ล่น แบ่งนกั เรยี นเป็นกลมุ่ กลุม่ ละ ๖ - ๘ คน การประดษิ ฐ์ ๑. คน้ ควา้ หาความรู้เร่ืองวิธีการรอ้ ยพวงมาลยั จากเอกสารต�ำรา หรอื อนิ เทอร์เน็ต ๒. ออกแบบพวงมาลัยส�ำหรับท�ำคนเดยี วและลงมือ รอ้ ยมาลยั ตามท่ีออกแบบ ๓. ออกแบบพวงมาลัยท่ีสามารถรวมพวงมาลัยเด่ยี ว ของทุกคนในกลมุ่ มารวมอยดู่ ว้ ยกันได้ครบหมด ๔. ค�ำนวณราคาพวงมาลัย ๕. น�ำเสนอผลงานกลุ่ม ๖. แลกเปลี่ยนพวงมาลัย โดยเลือกท่จี ะสวมพวงมาลยั ทข่ี ้อมอื เพ่อื นคนใดกไ็ ด้ คมู่ อื การเรยี นการสอนวรรณคดีไทย หน่อเนื้อเชื้อไข ในวรรณคดไี ทย 125
แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เรอ่ื ง พระมงกฎุ พระลบ ๑. วเิ คราะหส์ าระการเรียนรูใ้ นกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย วิเคราะหก์ ารยงิ ศรของพระรามกับพระมงกุฎอย่างมีเหตผุ ล อ่านบทรอ้ ยกรองตัดตอนจากเรื่องรามเกียรติ์ เขียนบรรยายพระมงกุฎจับหนมุ าน อา่ นบทรอ้ ยแก้วประวตั ิตัวละคร การเขียน คัดลายมือ การอา่ น มารยาทในการอ่าน การพดู ตา่ ง ๆ มารยาทในการเขียน การฟงั มารยาทในการฟัง ความเมตตาของพระฤาษวี ชั มฤค พระมงกฎุ พระลบ มารยาทในการพดู คณุ ธรรม หลักการใชภ้ าษา ค�ำ ราชาศพั ท์ การพูด ความตงั้ ใจศึกษาเล่าเรียน ค�ำ ซอ้ น เล่าการเกิดของฝาแฝด “พระลบ” ความเปน็ ผนู้ �ำ /ผูต้ ามที่ดี ค�ำ ฟ้องรูป ขอ้ คดิ ทนี่ างสดี าไดจ้ ากแม่ลงิ ความกล้าหาญ ความรกั ของพน่ี อ้ งฝาแฝด คำ�พ้องเสียง แตง่ ประโยค ค�ำ ทีม่ คี วามหมายเดยี วกนั (ไวพจน์) ๒. วิเคราะห์การบรู ณาการการสอนตา่ งกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ศาสนา - การเกดิ ของฝาแฝดกับ และวัฒนธรรม วิทยาการแพทย์ในปจั จุบนั - ความขัดแยง้ ในครอบครวั - ความรเู้ รอ่ื งฝาแฝด - คุณธรรมของพระมงกฎุ - พระลบ พระมงกฎุ พระลบ ศลิ ปศึกษา/ดนตรี การงานอาชพี และเทคโนโลยี - ความรูเ้ ร่ืองมงกุฎ, ชฎา - ประดิษฐ์หุ่นชักตัวละคร - ออกแบบมงกุฎ - ประดิษฐ์มงกฎุ 126 คมู่ ือการเรียนการสอนวรรณคดีไทย หน่อเนอ้ื เชอื้ ไข ในวรรณคดไี ทย
๓. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ๓.๑ น�ำสาระเน้ือหาจากวรรณคดีไทย/ประวัติตัวละคร มาน�ำอ่าน น�ำพูด ฝึกจบั ใจความส�ำคญั ๓.๒ น�ำสาระเนื้อหาต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้มาบูรณาการการสอนโดยใช้การ แบง่ กลุ่มศกึ ษาคน้ คว้าโดยใชก้ ารอ่าน การเขยี น การบนั ทึก การจบั ใจความ การสรปุ ใจความ การวเิ คราะห์ความ การเขยี นรายงาน การพดู น�ำเสนอจากการศกึ ษาค้นควา้ ฯลฯ ๓.๓ ครสู รปุ ความรู้ทถ่ี กู ตอ้ งแกน่ กั เรียน ๓.๔ ใหน้ กั เรยี นสร้างชนิ้ งานดว้ ยตนเองตามใจชอบ แลว้ แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ วพิ ากษ์ วิจารณเ์ ชงิ บวกดว้ ยค�ำวา่ “ถ้า... ถา้ จะเพ่มิ ... ปรบั ...” ๓.๕ การวัดผลประเมินผลตามตัวช้ีวัด จุดประสงค์หรือสมรรถนะทางภาษาไทย จากผลงานของนักเรียน ผลงานกลุ่ม ใช้การทดสอบ การตรวจ การสังเกต การฟัง การพูด การเขยี น เปน็ ต้น ภาพจากจิตรกรรมฝาผนัง เรื่อง รามเกยี รติ์ รอบพระระเบียงวัดพระศรรี ตั นศาสดาราม ค่มู ือการเรยี นการสอนวรรณคดไี ทย หน่อเนอ้ื เชื้อไข ในวรรณคดไี ทย 127
๕.๓ มัจฉานุ ๕.๓.๑ ลำ�ดับวงศ์หนุมาน (พญาอนุชิตจักรกฤษณ์พิพัฒน์พงศา) และ ล�ำ ดบั วงศ์หนุมานจนถึงมัจฉานุ ๑) ล�ำ ดับวงศห์ นมุ าน (พญาอนชุ ิตจกั รกฤษณพ์ พิ ฒั น์พงศา) พระพาย นางสวาหะ ทศกณั ฐ ์ นางปลา พิเภก นางตรชี ฎา นางสุพรรณมัจฉา นางเบญกาย หนุมาน (พญาอนุชติ จักรกฤษณ์พพิ ฒั นพ์ งศา) มัจฉาน ุ อสรุ ผดั (พญาหนรุ าชฤทธิรอน) (พญามารนุราช) นางบุษมาลี นางวาริน นางสุวรรณกันยุมา (ชายาอนิ ทรชติ ) 128 คูม่ อื การเรียนการสอนวรรณคดไี ทย หน่อเนอ้ื เชื้อไข ในวรรณคดไี ทย
๒) ล�ำ ดับวงศ์หนมุ านจนถึงมจั ฉานุ พระพาย นางสวาหะ ทศกัณฐ์ นางปลา นางสพุ รรณมัจฉา หนุมาน (พญาอนชุ ติ จกั รกฤษณพ์ พิ ัฒนพ์ งศา) มจั ฉานุ นางรตั นามาลี (พญาหนุราชฤทธริ อน) ๕.๓.๒ ความเดมิ เมื่อพระรามให้พลวานรขนหินไปถมทะเลเพื่อสร้างถนนเป็นทางข้ามยกทัพไป เกาะลงกา ทศกัณฐ์จึงให้นางสุพรรณมัจฉา ธิดาซึ่งเกิดจากนางปลา ให้น�ำฝูงปลาบริวาร ไปท�ำลายถนนน้ัน หนุมานได้รับค�ำสั่งจากพระรามให้ไปหาต้นเหตุว่าหินถมทะเลเป็นถนน หายไปได้อย่างไร เม่ือได้พบนางสุพรรณมัจฉา หนุมานได้จับนางสุพรรณมัจฉาเป็นชายา ต่อมา นางตั้งครรภ์จึงเกรงว่าจะเป็นความผิดหากทศกัณฐ์รู้เรื่อง นางจึงแอบไปส�ำรอกลูกไว้ที่ ชายฝง่ั ทะเล และบอกเลา่ ถงึ ลกั ษณะของผเู้ ปน็ บิดากอ่ นนางจะจากไป คู่มอื การเรยี นการสอนวรรณคดไี ทย หนอ่ เนือ้ เช้อื ไข ในวรรณคดไี ทย 129
ไมยราพ สุพรรณมจั ฉา ไมยราพเจ้าเมืองบาดาลมาพบ จึงน�ำไปเล้ียงเป็นบุตรบุญธรรม ต้ังช่ือให้ว่า “มจั ฉานุ” และมอบหมายหน้าท่ีใหด้ ูแลสระบวั ใหญ่ซึง่ เป็นดา่ นสดุ ท้ายกอ่ นเขา้ สู่เมอื งบาดาล เมื่อไมยราพไปลักตัวพระรามมาไว้ท่ีดงตาลเมืองบาดาล หนุมานได้ติดตามหาทาง ชว่ ยเหลอื จนมาถงึ สระบัวใหญ่ และไดต้ อ่ สู้กบั มัจฉานโุ ดยไม่รวู้ า่ เป็นพ่อลกู กัน หนุมานอาสาเนรมติ กายให้ใหญ่เทา่ เขาจกั รวาล แลว้ อมพลับพลาทีป่ ระทับของพระรามไว้ (ภาพจากจิตรกรรมฝาผนังเร่ือง รามเกียรติ์ รอบพระระเบียง วัดพระศรีรัตนศาสดาราม) 130 คู่มือการเรยี นการสอนวรรณคดีไทย หนอ่ เนอื้ เชือ้ ไข ในวรรณคดไี ทย
๕.๓.๓ ประวตั ิตัวละคร มัจฉานุ มัจฉานุเป็นบุตรของหนุมานกับนางสุพรรณมัจฉา ไมยราพรับเป็นบุตรบุญธรรม มหี นา้ ทด่ี แู ลด่านสดุ ท้ายกอ่ นเข้าส่เู มอื งบาดาล เมื่อไมยราพลกั ตวั พระรามไปขงั ไว้เมอื งบาดาล หนุมานตามลงไปจนถงึ ดา่ นสุดทา้ ย ไดร้ บกับมัจฉานุผดู้ แู ลด่าน แต่ก็ไม่สามารถเอาชนะมัจฉานไุ ด้ ด้วยความสงสัยท่ีมีรูปร่างคล้ายกันจึงถามถึงช่ือและมารดา หนุมานจึงรู้ว่าเป็นบุตร ของตน แต่มัจฉานุไม่เช่ือจึงให้หนุมาน แผลงฤทธห์ิ าวเปน็ ดาวเดอื น เมอื่ หนมุ านท�ำใน สิ่งท่ีมัจฉานุต้องการเห็นแล้ว มัจฉานุจึง ยอมรับและดใี จทไี่ ดพ้ บบดิ า หนุมานขอให้มัจฉานุบอกทางที่จะ ลงไปบาดาลเพ่ือช่วยเหลือพระราม มัจฉานุ นึกถึงบุญคุณของไมยราพที่เลี้ยงดูมา และ เหน็ แก่หนมุ านผูเ้ ปน็ บิดาใหก้ �ำเนดิ จึงไม่บอก หนทางแกห่ นมุ านโดยตรง แตไ่ ดแ้ นะอบุ ายให้ หนมุ านคดิ หาทางลงไปเมืองบาดาลเอง คู่มือการเรียนการสอนวรรณคดไี ทย หน่อเน้อื เช้อื ไข ในวรรณคดีไทย 131
ภายหลังศกึ ไมยราพ มจั ฉานุได้เปน็ อุปราชเมอื งบาดาล ตอ่ มาหนมุ านไดน้ �ำมัจฉานุ เข้าเฝา้ ฯ พระราม พระรามเหน็ มัจฉานมุ ีหางเปน็ ปลาจงึ ใช้พระขรรค์ตัดหางปลาออกไป โดยท่ี มจั ฉานไุ มร่ ้สู กึ เจบ็ ปวดแตอ่ ยา่ งใด แลว้ แตง่ ต้งั ใหเ้ ป็นพญาหนรุ าชฤทธริ อน เมื่อเกิดศึกท้าวคนธรรพ์มาล้อมเมืองไกยเกษ พระรามให้พระพรตและพระสัตรุด ยกทพั ไปปราบ มัจฉานุได้ไปรว่ มรบครง้ั น้ดี ้วย หลังเสร็จศึกท้าวคนธรรพ์แล้ว พระรามได้ให้มัจฉานุอภิเษกกับนางรัตนามาลี และ ให้ครองเมืองมลิวัน ซงึ่ เปน็ เมืองของทา้ วคนธรรพ์ ๕.๓.๔ ชวนทำ�กิจกรรม ๑) ชวนอา่ นเปน็ ท�ำนอง ท�ำนองโคลงส่สี ภุ าพ หลานลมหลานราพณท์ ั้ง หลานปลา หลานมนุษยบ์ ตุ รมัจฉา นเรศพอ้ ง ยลหางอย่างมัตสยา กายเศวต สวาแฮ นามมัจฉานปุ อ้ ง ก่ึงหล้าบาดาล ท�ำนองกลอนบทละคร นางสพุ รรณมจั ฉาโฉมศรี เม่อื น้นั เทวีพิศพักตร์แล้วถอนใจ อ้มุ ลกู รกั แนบอนิ ทรยี ์ แมจ่ ะเลีย้ งสักวันก็ไม่ได้ โอว้ า่ เจ้าเกิดมาในครรภ ์ ดว้ ยกลัวราชภัยอัยกา จำ� เปน็ แลว้ จำ� จะจากไป เสยี ดายไม่ไดอ้ ยู่เหน็ หนา้ เสยี แรงพอ่ เกิดมาเป็นชาย สืบไปแก้วตาอยา่ ลมื ความ เจา้ จงจำ� คำ� มารดา ของเจา้ นัน้ เชีย่ วชาญสนาม อนั บติ ุเรศบงั เกิดเกล้า นามกรชอ่ื ศรหี นมุ าน เป็นยอดทหารพระราม เข้ียวเพชรพรายแพรวฉายฉาน มมี าลัยกณุ ฑลขนแก้ว เหาะทะยานไปได้ในอมั พร หาวเปน็ ดาวเดอื นชชั วาล กราบบาทดว้ ยใจสโมสร แม้นพบจงเข้าอภวิ าทน์ บังอรเพยี งส้ินสมประดี สัง่ พลางโศกาอาวรณ์ 132 คู่มอื การเรียนการสอนวรรณคดไี ทย หนอ่ เนอ้ื เชอ้ื ไข ในวรรณคดีไทย
มจั ฉานุเกร้ยี วกราดใส่หนมุ านที่ลกั ลอบเข้าเมอื งบาดาล บดั น้นั มัจฉานุผ้ใู จแกล้วกล้า ซึง่ อยู่ในสระคงคา เปน็ ดา่ นรักษาชน้ั ใน ราตรเี ทย่ี งคืนเคยเที่ยว ลดเลี้ยวกระเวนทางใหญ่ ก็สำ� แดงแผลงฤทธเ์ิ กรยี งไกร ข้ึนไปจากทอ้ งชลธาร ถึงที่ขอบสระก็หยุดอยู ่ แลดูไปทั่วทกุ สถาน เหน็ วานรเผอื กผอู้ หงั การ ล่วงดา่ นผา่ นทางเข้ามา โกรธาขบฟนั กระทบื บาท ทำ� อ�ำนาจออกยืนขวางหนา้ แล้วรอ้ งประกาศด้วยวาจา เหวยไอ้พาลาใจฉกรรจ์ ตวั เอง็ มาน้จี ะไปไหน ไมก่ ลวั ชีวาจะอาสัญ องอาจล่วงดา่ นกุมภัณฑ ์ กูจะหัน่ ใหย้ ับลงกับกร คู่มือการเรยี นการสอนวรรณคดีไทย หนอ่ เนื้อเช้ือไข ในวรรณคดไี ทย 133
๒) ชวนรูเ้ รอื่ ง บัว “บัว” เป็นไม้น�้ำที่มีดอกสวยงามท้ังสีสันและรูปทรง ถ้ากล่าวถึง “บัว” คนโบราณมักจะนึกถึงบัวหลวงและบัวสาย แต่ความจริงแล้วบัวมีหลายชนิด ได้แก่ บัวหลวง บัวผัน บัวสาย บัวฝรัง่ บวั จงกลนี และบวั กระด้ง เป็นตน้ “บวั ” แบง่ เปน็ ๓ สกลุ ไดแ้ ก่ ๑. บวั หลวงหรือบวั ปทมุ ชาติ (Lotus) มีลกั ษณะใบชูเหนือนำ้� ๒. บวั อุบลชาติ ได้แก่ บัวผัน บวั เผ่อื น บวั ฝรั่ง บัวสาย บวั จงกลนี มลี ักษณะ ใบลอยแตะผวิ น�้ำ ไมม่ ีหนาม ๓. บัวกระด้งหรือบัววิกตอเรีย มีลักษณะใบลอยแตะผิวน�้ำ ใบมีขนาดใหญ่ ขอบใบตง้ั ข้นึ เปน็ ขอบคล้ายกระดง้ ไม่มหี นาม “บัว” เกี่ยวขอ้ งกบั วรรณกรรมและวรรณคดไี ทยในหลายด้านด้วยกนั ดังเช่น ด้านพทุ ธประวัติ “เม่อื เจ้าชายสิทธตั ถะ ทรงเจริญขนึ้ มีพระชนมายไุ ด้ ๗ พรรษา พระราชบดิ า ตรสั ใหข้ ดุ สระโบกขรณขี นึ้ ในพระราชนเิ วศน์ ๓ สระ ปลกู บวั ขาวสระ ๑ ปลกู ปทมุ ชาตบิ วั หลวง สระ ๑ ปลูกบุณฑริกบัวขาวสระ ๑ ตกแต่งเป็นที่เล่นส�ำราญพระหฤทัยพระราชโอรส” (สมเดจ็ กรมพระยาวชริ ญาณ จากหนังสือเรอื่ งบวั ) ดา้ นศลิ ปกรรมแขนงตา่ ง ๆ ทง้ั จิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปตั ยกรรม มีการน�ำรูปลักษณะของ “บัว” เข้ามาใช้ในงาน เช่น พระเจดีย์รูปดอกบัวตูมในวัดมหาธาตุ จังหวดั สุโขทยั น�ำรปู บัวหลวงมาประดบั เปน็ ลวดลาย เชน่ บวั คว�่ำ บัวหงาย บัวเชงิ บัวหวั เสา และบวั คอเสื้อ เป็นต้น ด้านวรรณคดี กวไี ด้กลา่ วถงึ “บวั ” ไว้ดังน้ี วรรณคดีเร่ือง ลิลิตพระลอ กวีได้เปรียบเทียบ “ดอกบัว” กับอกของสตร ี และคุณค่าในการเลยี้ งดูบุตร ตลอดจนเทา้ (บาท) ไว้ด้วย ดงั เช่น 134 คมู่ ือการเรียนการสอนวรรณคดีไทย หน่อเนื้อเชอ้ื ไข ในวรรณคดีไทย
บัวนมบัวเนตร บวั บาท บัวกลิน่ ขจรหอมหวาน รสเร้า บวั สมรละลุงลาญ ใจบ่า น้ีนา บวั บาทงามจวบเทา้ เกศแกว้ งามจรงิ วรรณคดเี รอื่ ง รามเกยี รติ์ ตอน ก�ำเนดิ นางสดี า เมอื่ นางสดี าประสตู นิ างไดร้ อ้ ง ขึ้นว่า “ผลาญราพณ์” ถึง ๓ ครั้ง ซึ่งโหรได้ถูกท�ำนายว่านางจะผลาญญาติ จึงถูกใส่ผอบ มาทิ้งในทะเลก็บังเกิดดอกบัวผุดมารองรับผอบนั้น ผอบลอยไปถึงท่าน้�ำ พระชนกฤ ษีมาพบ และเก็บเด็กน้อยนั้นมาเลี้ยงไว้จนไม่มีเวลาบ�ำเพ็ญตบะ จึงน�ำเด็กใส่ผอบและไปฝากฝังไว้ กับแม่พระธรณีเป็นเวลาเน่ินนานจนลืมท่ีฝังผอบน้ัน พระชนกฤ ษีได้ลาเพศกลับเข้าเมือง กรุงมิถิลา น�ำโคเทียมไถมาไถดินจนไปถูกผอบท่ีมีดอกบัวห่อหุ้ม และเมื่อฝาผอบเปิดข้ึน เห็นเปน็ สาวโสภาแน่งน้อยอรชร จงึ ตัง้ ชอื่ วา่ “สีดา” โคน�ำจ�ำเพาะพ้อง พานประสบ ดอกประทมุ ห่อผอบ กลดั กลมุ้ บานกลีบกลิ่นตรลบ เลวงรน่ื รสนา พระจงึ่ เผยผอบอุม้ บุตรแล้วรบั ขวัญ รามเกยี รติ์ ตอน ศกึ ไมยราพ เมอ่ื ไมยราพลกั พาตวั พระรามมาไวท้ เ่ี มอื งบาดาล หนุมานติดตามโดยแทรกแผ่นดินลงมา พบดอกบัวมีขนาดเท่ากับกงล้อรถก็หักกา้ นบัวใช้เป็น เสน้ ทางทะลถุ ึงเมอื งบาดาล และฝ่าด่านต่าง ๆ มาถงึ สระน�ำ้ ขนาดใหญ่ ซ่งึ มจั ฉานุไดท้ �ำหน้าที ่ ดูแลอยู่ ต่อมาเกิดการต่อสู้กันระหว่างหนุมานกับมัจฉานุ ผลปรากฏว่าไม่แพ้ชนะกัน จึงถามชื่อเสียงเรียงนามจนเข้าใจว่าเป็นบุตรเป็นบิดากัน มัจฉานุได้ขอโทษที่ต่อสู้กับหนุมาน และเม่อื หนมุ านถามทางไปเมืองบาดาล มัจฉานไุ มส่ ามารถจะบอกบดิ าได้ตามตรง ได้แตบ่ อก เปน็ ปริศนาวา่ ดว้ ยพญาไมยราพอสุร ี ไดเ้ ลย้ี งลูกนม้ี าจนเตบิ ใหญ่ พระคณุ ดั่งคุณบิตเุ รศ ซง่ึ บงั เกิดเกศเกศา อันซ่งึ จะบอกมรคา ดงั่ ข้าไมม่ กี ตญั ญู บิดาลงมาทางไหน ทางนั้นจะไปยังมอี ยู่ จงเรง่ พนิ ิจพิศดู กจ็ ะรู้ด้วยปรีชาชาญ คู่มือการเรยี นการสอนวรรณคดไี ทย หน่อเนือ้ เชื้อไข ในวรรณคดไี ทย 135
ประโยชน์ของ “บัว” ตั้งแต่ในสมัยโบราณจนถึงปัจจุบันคนยังนิยมปลูกบัวเป็นไม้ดอกไม้ประดับ น�ำมาปรงุ เป็นโอสถหรือยาก็ได้ แต่วัตถปุ ระสงคส์ �ำคญั คอื ปลูกเพอ่ื ตัดดอกบัว เพือ่ น�ำมาบชู า ประดับแจกนั และจัดพานพุ่มบชู า ๓) ชวนกันเลน่ ลงิ ชิงหลกั จ�ำนวนผเู้ ล่น น้อยกว่าหลัก จ�ำนวน ๑ คน อปุ กรณ์การเลน่ หลัก/ เสา/ ต้นไม้/ ทสี่ มมตวิ า่ เปน็ หลัก วธิ กี ารเลน่ ๑. เปา่ ยงิ ฉบุ เพอ่ื หาคนแพเ้ ปน็ ลิงไม่มหี ลกั (ลงิ หลกั ลอย) อยู่กลางวง ๒. คนอ่ืน ๆ เป็นลิงประจ�ำหลกั / เสา/ ตน้ ไม้/ ทสี่ มมตวิ ่า เป็นหลัก ๓. เร่มิ เลน่ นิสยั ลงิ จะอย่นู ง่ิ ไม่ได้ ลงิ ประจ�ำหลักตอ้ งหา ชอ่ งทางเปลีย่ นหลกั จะไปทางซ้าย ทางขวา หรอื ไปข้างหนา้ ข้างหลงั ก็ได้ รอบตัว โดยท�ำทา่ หลอกลอ่ จะเปลี่ยนหลกั หรือไมเ่ ปล่ียน จะไปทางโนน้ บา้ ง ทางนั้นบ้าง ฯลฯ ๔. ลิงหลักลอยทีไ่ มม่ หี ลัก จะต้องคอยวิ่งชิงหลักให้ถงึ กอ่ น ท่ลี ิงประจ�ำหลกั จะเปล่ียนหลักกันและวงิ่ ถึงหลัก ๕. ลิงหลักลอยหากไปชิงจบั หลกั ไดก้ ่อน ลงิ ประจ�ำหลัก ทไ่ี ปช้า กไ็ มม่ ีหลกั กต็ ้องเปน็ ลิงหลักลอย คอยชงิ หลกั ตอ่ ไป ๖. ระหวา่ งว่ิงชงิ หลกั เปลยี่ นหลกั ให้ออกเสียงร้องเพลง ลงิ ชงิ หลกั ไปดว้ ย ๗. บอกประโยชน์ของการเลน่ ลงิ ชิงหลัก 136 คมู่ ือการเรียนการสอนวรรณคดีไทย หน่อเนื้อเชื้อไข ในวรรณคดไี ทย
๔) ชวนร้องเล่น เพลง ลิงชงิ หลกั ค�ำรอ้ ง ละเอยี ด สดคมขำ� ลงิ ..มะ ลงิ ชิงหลัก ชงิ หลัก ชงิ หลกั ช่วงชงิ ว่องไวเหมอื นลงิ ว่องไวเหมือนลิง ช่างรวดเรว็ จริง วง่ิ ลงิ ชิงหลกั (ซำ้� ) เจีย๊ ก มะ เจีย๊ ก คร็อก คร็อก เจ๊ยี กคร็อก เจย๊ี กครอ็ ก เจย๊ี ก เจ๊ยี ก เจ๊ยี ก คร็อก เจย๊ี ก คร็อก เจย๊ี ก คร็อก เจย๊ี ก ครอ็ ก เจ๊ยี ก เจี๊ยก ครอ็ ก ครอ็ ก เจี๊ยก เจี๊ยก ครอ็ ก ครอ็ ก (ซ้ำ� ) คู่มอื การเรียนการสอนวรรณคดีไทย หนอ่ เนือ้ เชือ้ ไข ในวรรณคดไี ทย 137
๕) ชวนเขยี นประวัติ ประวัตมิ จั ฉานุ ชื่อ วงศส์ กุล ชื่อบิดา ช่อื มารดา ท่อี ยปู่ ัจจุบนั ลักษณะเด่น ประวัตกิ ารศึกษา พี่น้องร่วมบิดามารดา สถานภาพ ช่อื ภรรยาหรือสามี ชื่อบุตรหรอื ธิดา อาชีพ/สถานที่ท�ำงาน ตำ� แหน่ง ความสามารถพิเศษ ผลงานดเี ด่น หลักในการท�ำงาน คณุ ธรรมความดีงาม 138 คูม่ อื การเรียนการสอนวรรณคดไี ทย หน่อเน้อื เชื้อไข ในวรรณคดีไทย
๖) ชวนประดิษฐ์ จับจีบกลบี บวั งาม อุปกรณ์ ดอกบัวตูม แจกนั /ขวดนำ้� /พาน (อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ) การประดษิ ฐ์ ๑. คน้ คว้าหารูปแบบตัวอย่าง การจับกลบี บัว การจดั แจกัน การจัดพานดอกไม้ จากเอกสาร รปู ภาพ และอินเทอร์เนต็ ๒. น�ำดอกบวั ตมู มาจบั จีบกลีบบัว โดยออกแบบ การจบั จบี กลีบบัวดว้ ยตนเอง ๓. จบั จบี กลบี บัวใหม้ ากตามท่ตี ้องการ ๔. น�ำบวั ที่จับจีบกลีบแล้ว มาจดั รวมลงในแจกัน/ ขวดน�้ำ/พาน ๕. น�ำผลงานมาตัง้ แสดงและประเมนิ ผลร่วมกัน ๖. ค�ำนวณราคาดอกบวั ก่อนจับจีบกลีบบัวงาม กับดอกบวั ท่ีจัดเปน็ พานพมุ่ ๗. น�ำไปต้งั ไวบ้ ชู าในสถานทีท่ เี่ คารพ ค่มู ือการเรียนการสอนวรรณคดีไทย หน่อเน้อื เช้อื ไข ในวรรณคดีไทย 139
๗) ชวนคดิ สร้างสรรค์ กจิ กรรมท่ี ๑ เขียนสลับอักษรเปน็ คำ�ใหม่ ตวั อย่าง พระราม = พราม พาม พร มะ มาร ราพ ๑. นางสดี า = ............................................................................................. ๒. มจั ฉาน ุ = ............................................................................................. ๓. ไมยราพ = ............................................................................................. ๔. พระมงกฎุ = ............................................................................................. ๕. หนมุ าน = ............................................................................................. กิจกรรมท่ี ๒ ทศกัณฐม์ ชี ่อื เรยี กอีกช่ือหนึง่ ว่า ท้าวยส่ี บิ กร อยากทราบว่า ๑. จะใชเ้ ครอ่ื งประดบั ขอ้ มอื (ทองกร) กชี่ ิน้ ถา้ ประดบั ทุกขอ้ มือ ตอบ ................................................................................................................ ๒. จะใชเ้ คร่อื งประดับนว้ิ (ธ�ำ มรงค์) กชี่ ้นิ ถ้าประดับทกุ นิว้ เวน้ น้วิ หวั แมม่ อื ตอบ ................................................................................................................ ๓. ถ้าเคร่ืองประดับข้อมือใช้ทองคำ�หนัง ๑๐ บาท ราคาบาทละ ๒๐,๐๐๐ บาท เคร่อื งประดับนว้ิ วงละ ๒๐๐,๐๐๐ บาท เครอื่ งแต่งตวั เฉพาะข้อมือและนวิ้ คิดเป็นเงนิ เทา่ ไร เคร่ืองประดบั ข้อมอื เปน็ เงนิ = .......................................................... บาท เครื่องประดบั น้วิ เป็นเงิน = .......................................................... บาท รวมเปน็ เงิน = .......................................................... บาท ๔. ทศกัณฐ์แต่งตวั เรว็ หรือช้า ใหเ้ หตุผลว่าท�ำ ไมจงึ เปน็ เชน่ น้ัน ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... 140 ค่มู อื การเรียนการสอนวรรณคดีไทย หน่อเนือ้ เช้ือไข ในวรรณคดไี ทย
แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เรือ่ ง มจั ฉานุ ๑. วเิ คราะหส์ าระการเรยี นรูใ้ นกล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย มารยาทในการอา่ น จับใจความเรอื่ งทอ่ี า่ น วเิ คราะห์อยา่ งมีเหตุผลหน้าทขี่ อง บทรอ้ ยกรอง กลอนบทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศกึ ไมยราพ เรอ่ื งผูม้ ีพระคุณ มจั ฉานุและหน้าท่ขี องหนมุ าน การอ่านท�ำ นองพากยโ์ ขน การเขยี น มารยาทในการเขยี น การอา่ น เร่ืองย่อ คดั ลายมอื ค�ำ ศพั ทย์ ากและความหมาย บทรอ้ ยแกว้ ประวตั ิมจั ฉานุ การอา่ นบทรอ้ ยกรอง บรรยายลกั ษณะมจั ฉานุ การอ่านเรอื่ งย่อ บรรยายเมอื งบาดาลจากจนิ ตนาการ มัจฉานุ การฟงั มารยาทในการฟงั ความรบั ผิดชอบในหนา้ ที่ หลกั การใช้ภาษา การพูด การอา่ นค�ำ วลี ประโยค การพดู เล่าเรอ่ื งต่าง ๆ คณุ ธรรม มารยาทในการพูด ความกล้าหาญ ฉันทลกั ษณ์กลอนบทละคร วิเคราะห์ลกั ษณะมัจฉานุ การไม่เชื่อคนงา่ ย คำ�ศัพท์ยาก ความหมาย วลี ประโยค วิเคราะห์สัตวร์ ูปร่างผสมอื่นๆ ส�ำ นวนภาษา แสดงความคดิ เหน็ ความกตัญญกู ตเวที คำ�นาม ถาม - ตอบคำ�ถาม การแตง่ ประโยค เลา่ เร่ืองเกีย่ วกับลิง ๒. วเิ คราะห์การบูรณาการการสอนตา่ งกลุม่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ การงานอาชีพ - การเลย้ี ง (ปลกู ) บวั และเทคโนโลยี /สถานท่ที อ่ งเทยี่ ว - การจับจบี กลบี บวั งาม เกีย่ วกบั บวั และการจดั พาน/แจกันด้วย ดอกบัว - วงจรชวี ิตของลงิ - ประดิษฐ์หุ่นชักรปู มจั ฉานุ คณิตศาสตร์ - อาหารจากบัว - แสดงแผนผงั การเดนิ ทางติดตามชว่ ย พระรามของหนมุ าน มัจฉานุ ศิลปศกึ ษา จนพบมัจฉานแุ ละไปต่อ - การวาดภาพระบายสี จนถึงดงตาล สังคมศึกษา ดอกบวั /ภาพมจั ฉานุ ศาสนาและ (จากสื่อ IT) วัฒนธรรม - การชมการเต้นโขน - หนา้ ทข่ี องเด็ก (ตวั ลิง) (จากสือ่ IT) - คณุ ธรรมของมัจฉานุ คมู่ ือการเรยี นการสอนวรรณคดไี ทย หน่อเนือ้ เชอื้ ไข ในวรรณคดีไทย 141
๓. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ๓.๑ น�ำสาระเนื้อหาจากวรรณคดีไทย/ประวัติตัวละคร มาน�ำอ่าน น�ำพูด ฝึกจับใจความส�ำคญั ๓.๒ น�ำสาระเน้ือหาต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้มาบูรณาการการสอนโดยใช้การ แบง่ กลุ่มศกึ ษาคน้ ควา้ โดยใชก้ ารอา่ น การเขียน การบนั ทกึ การจบั ใจความ การสรปุ ใจความ การวิเคราะหค์ วาม การเขยี นรายงาน การพดู น�ำเสนอจากการศึกษาค้นคว้า ฯลฯ ๓.๓ ครสู รปุ ความร้ทู ่ถี ูกตอ้ งแก่นักเรียน ๓.๔ ให้นักเรียนสร้างช้ินงานด้วยตนเองตามใจชอบ แล้วแลกเปล่ียนเรียนรู ้ วิพากษว์ ิจารณเ์ ชิงบวกด้วยค�ำว่า “ถ้า... ถา้ จะเพิ่ม... ปรับ...” ๓.๕ การวัดผลประเมินผลตามตัวชี้วัด จุดประสงค์ หรือสมรรถนะทางภาษาไทย จากผลงานของนักเรยี น ผลงานกลมุ่ ใช้การทดสอบ การตรวจ การสังเกต การฟงั การพูด การเขยี น เปน็ ตน้ 142 ค่มู อื การเรยี นการสอนวรรณคดไี ทย หน่อเนอื้ เชือ้ ไข ในวรรณคดไี ทย
๖ หนอ่ เน้อื เชื้อไข ในวรรณคดไี ทย เรอื่ ง สังข์ทอง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169