Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการเรียนการสอนวรรณคดีไทย หน่อเนื้อเชื้อไข ในวรรณคดีไทย

คู่มือการเรียนการสอนวรรณคดีไทย หน่อเนื้อเชื้อไข ในวรรณคดีไทย

Description: คู่มือการเรียนการสอนวรรณคดีไทย หน่อเนื้อเชื้อไข ในวรรณคดีไทย

Search

Read the Text Version

เร่ือง สังขท์ อง ๖.๑ ประวัติวรรณคดีไทย วรรณคดีไทย เร่ือง สังข์ทอง พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้านภาลยั (รัชกาลที่ ๒) ทรงพระราชนิพนธ์เป็นกลอนบทละคร เป็นเร่ืองราวของ “พระสังข์” หรือ “สังข์ทอง” ที่มีก�ำเนิดแตกต่างจากคนทั่วไป แรกก�ำเนิดต้องซ่อนก�ำบังตัวอยู่ในหอยสังข์ ท�ำให้ในวัยเด็ก ตอ้ งประสบเคราะหก์ รรมและพลัดพรากจากพระบิดาพระมารดา เมอ่ื เจริญวยั เติบโตข้ึนกต็ ้อง ซ่อนก�ำบังตัวอยู่ในรูปเงาะ ท�ำให้ต้องเดินทางไปในท่ีต่าง ๆ แต่เพราะเป็นคนดี คิดดี ท�ำดี มคี วามกตัญญกู ตเวที มีความกลา้ หาญ จึงไดก้ ลับมาพบพระบดิ า พระมารดา และมคี วามสขุ ความอบอุ่นในชวี ิต “สังข์ทอง” เป็นบทละครประเภทละครนอก ผู้แสดงเป็นชายจริงหญิงแท้ จึงเป็น บทละครที่สนุกสนาน ใหค้ ติ ขอ้ คดิ สอดแทรกวิถีการด�ำรงชีวิตอันเปน็ ลักษณะนสิ ยั ของมนษุ ย์ ทั้งหลายท่วั ไป 144 คู่มอื การเรยี นการสอนวรรณคดไี ทย หน่อเนอ้ื เชื้อไข ในวรรณคดีไทย

วรรณคดีเร่ืองนม้ี ีเร่อื งราวหลายตอน เชน่ ก�ำเนดิ พระสงั ข์ ถว่ งน้ำ� พระสังข์ พระสงั ข ์ หนีนางพันธุรัต พระสังข์ตีคลี ท้าวสามนต์ให้ลูกเขยหาเนื้อหาปลา มีตัวละครหลากหลาย ประเภท มีท้ังเป็นมนุษย์ นาค ยักษ์ เทวดา มีความเป็นอยู่แบบพระราชา การด�ำรงชีวิต แบบสามัญชน เช่น การหาเน้ือหาปลา มีการเล่นกีฬาข่ีม้าตีคลี การแสดงอิทธิฤทธ์ิของนาค ยกั ษ์ พระอินทร์ ซึ่งเปน็ เทวดา และรูปเงาะวเิ ศษ วรรณคดีเรอื่ งนไ้ี ดส้ ะท้อนถงึ แนวคดิ ทหี่ ลากหลาย ดังนี้ ๑. “ท�ำดีได้ดี ท�ำชว่ั ไดช้ ว่ั ” พระสงั ข์เป็นผ้กู ระท�ำความดี ยอ่ มได้รับผลแห่งความดี ๒. คนดีย่อม “ตกน�้ำไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้” หมายความว่า คงอยู่ได้เสมอไม่เป็น อนั ตราย ดังเชน่ พระสังข์เป็นคนดี มีบญุ ญาธกิ าร แม้มศี ตั รคู ิดรา้ ยกย็ ่อมแคล้วคลาดปลอดภัย ๓. ผู้ท่ีมีรูปลักษณะภายนอกน่าเกลียดน่าชังดั่งเจ้าเงาะ อาจมีรูปลักษณ์ภายใน อันสวยงามซ่อนอยู่ เปรยี บเสมือนผ้มู รี ูปร่างภายนอกไม่งดงาม แตม่ จี ติ ใจดี มีน�้ำใจอนั ประเสริฐ ดงั นั้น จึงไม่ควรตัดสินคุณคา่ ของคนโดยพิจารณาเพียงรปู ลกั ษณภ์ ายนอกเทา่ นนั้ แนวคิดท่ีดีและหลากหลายแนวทางของวรรณคดีเร่ืองนี้ ส�ำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ได้น�ำวรรณคดีตอน ก�ำเนิดพระสังข์ มาก�ำหนด ใหเ้ ปน็ สอื่ การอา่ นเพอื่ การเรยี นรใู้ นหนงั สอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพอ่ื ชวี ติ วรรณคดีล�ำน�ำ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๕ บทเรียนบทท่ี ๑ ตั้งชื่อบทอ่านว่า ก�ำเนิดผิดพ้น คนท้ังหลาย การถือก�ำเนิดเป็นมนุษย์ถือวา่ เป็นการเกิดท่ีเป็นปกติธรรมดา แต่การถือก�ำเนิด ท่ีผิดจากมนุษย์จึงชวนให้น่าติดตามว่า ก�ำเนิดท่ีว่าผิดพ้นคนทั้งหลายน้ัน ก�ำเนิดอย่างไร และการถือก�ำเนิดแบบนนั้ เป็นผลดีอยา่ งไร เปน็ ผลไมด่ ีอย่างไร คู่มอื การเรียนการสอนวรรณคดไี ทย หน่อเนือ้ เช้ือไข ในวรรณคดไี ทย 145

๖.๒ สังข์ทอง ๖.๒.๑ ล�ำ ดบั วงศ์พระสงั ข์ เมืองยศวิมล เมอื งสามนต์ ท้าวสามนต ์ นางมณฑา ทา้ วยศวิมล นางจนั ท์เทว ี พระธดิ าทัง้ ๖ พระสังข์ นางรจนา ๖.๒.๒ ความเดมิ ท้าวยศวิมลเป็นผู้ครองเมืองยศวิมล มีมเหสีช่ือ นางจันท์เทวี มีนางสนมเอกช่ือ นางจันทา ต่อมานางจันท์เทวีต้ังครรภ์ และประสูติลูกน้อยออกมาเป็นหอยสังข์ ท�ำให ้ ท้าวยศวิมลอับอาย และนางจันทาได้ติดสินบนโหรให้ท�ำนายว่า ลูกน้อยหอยสังข์จะท�ำให ้ บา้ นเมอื งยากเขญ็ จะเกดิ ขา้ วยากหมากแพง ทา้ วยศวมิ ลจงึ ขบั ไลน่ างจนั ทเ์ ทวอี อกไปจากเมอื ง พร้อมกับลกู น้อยหอยสังข์ 146 ค่มู อื การเรียนการสอนวรรณคดีไทย หน่อเนอื้ เชอื้ ไข ในวรรณคดไี ทย

นางจันท์เทวีอุ้มลูกน้อยหอยสังข์ออกจากเมืองไปอาศัยอยู่กับตายายท่ีชายป่า ทกุ วนั กอ่ นออกไปหาของปา่ นางกอ็ มุ้ ชชู น่ื ชมลกู นอ้ ยหอยสงั ข์ และหลงั จากท�ำงานเหนด็ เหนอื่ ย กลับมานางก็อุ้มชูชื่นชมพูดกับลูกน้อยหอยสังข์ในยามค�่ำคืนไม่เป็นอันหลับอันนอนด้วย ความรักเต็มหัวใจ ค่มู อื การเรียนการสอนวรรณคดไี ทย หน่อเนอ้ื เชือ้ ไข ในวรรณคดีไทย 147

พระสังข์ที่อยู่ในหอยสังข์ได้รับรู้ถึงความรักและความเหนื่อยยากของพระมารดา จึงคิดช่วยเหลือพระมารดา วันหนึ่งเม่ือพระมารดาไปป่า จึงออกจากหอยสังข์มาไล่ไก่ ไล่นก จัดเก็บข้าวปลาทต่ี ากเอาไว้ พรอ้ มกบั หุงขา้ ว เผาปลา ท�ำความสะอาด สาละวนดูแลบา้ นช่อง จนถึงเวลาทพี่ ระมารดากลบั มาจงึ เขา้ ไปอยู่ในหอยสงั ขด์ ังเดมิ นางจันท์เทวีสงสัยว่าใครมาท�ำงานบ้าน ถามตายายก็บอกว่าไม่ได้ท�ำ นางจึงเก็บ ความสงสัยไว้ วนั หนง่ึ นางท�ำทีว่าออกไปปา่ แตน่ างกลับมาแอบดจู ึงเหน็ เดก็ ผ้ชู ายออกมาจาก หอยสงั ข์ นางแน่ใจวา่ เป็นโอรสของนาง จงึ ทบุ หอยสังขแ์ ตกเพือ่ ไมใ่ หโ้ อรสกลบั เขา้ ไปอยไู่ ด้อกี และตั้งชอื่ โอรสวา่ “พระสงั ข”์ พระสังข์ได้ใช้ชีวิตเช่นเดียวกันกับเด็กปกติ มีความสุขกับพระมารดาได้ระยะหน่ึง กอ่ นถูกกลา่ วร้าย ถกู ท�ำรา้ ย จนต้องพลดั พรากจากพระมารดาอกี ยาวนาน 148 คู่มอื การเรียนการสอนวรรณคดีไทย หน่อเน้อื เชอ้ื ไข ในวรรณคดไี ทย

๖.๒.๓ ประวตั ติ วั ละคร พระสงั ข์ พระสังข์เป็นโอรสของท้าวยศวิมลและนางจันท์เทวี พระสังข์ถือก�ำเนิดมาเป็น หอยสังข์ ท�ำให้พระมารดาถูกใส่ร้ายว่าเป็นกาลกิณี จึงถูกเนรเทศออกจากเมือง นางอุ้ม ลูกนอ้ ยหอยสงั ข์ไปอาศยั อยู่กบั ตายายท่ีกระทอ่ มกลางป่า ต่อมาพระสังข์ได้ออกจากหอยสังข์แอบมาท�ำงานให้พระมารดาเม่ือนางเขา้ ไปในปา่ นางจนั ทเ์ ทวสี งสยั จงึ แอบดเู หน็ โอรสเปน็ มนษุ ยก์ ท็ บุ หอยสงั ขแ์ ตก พระสงั ขไ์ ดอ้ ยกู่ บั พระมารดา แต่น้นั มา คร้ันเร่ืองที่พระสังข์เป็นมนุษย์ แพร่ถึงหูนางจันทา นางจึงทูลยุยงท้าวยศวิมล ใหเ้ ขา้ ใจผดิ จงึ สง่ั ใหจ้ บั พระสังขไ์ ปท�ำร้ายแต่พระสังขก์ ไ็ ม่เป็นอันตราย ในทส่ี ุดพระสงั ข์ถูกจับ ถ่วงน�ำ้ แต่พญานาคได้ช่วยเหลอื พระสงั ขไ์ ว้ และสง่ พระสงั ข์ไปอย่กู บั นางยกั ษพ์ ันธุรัต ซง่ึ เป็น ยกั ษม์ า่ ยรบั พระสงั ขไ์ ปเลยี้ งเปน็ บตุ รบญุ ธรรม โดยนางและบรวิ ารทงั้ หมดแปลงรา่ งเปน็ มนษุ ย์ พระสงั ข์จงึ อยู่ท่ีเมอื งยกั ษจ์ นเตบิ โต พอพระสังข์อายุได้ ๑๕ ปี ได้ล่วงรู้ความลับว่า นางพันธุรัตเป็นยักษ์ จึงคิดหน ี ก่อนหนีได้ชุบตัวลงในบ่อเงินและบ่อทอง ท�ำให้มีผิวพรรณดุจทองทา แล้วจึงสวมรูปเงาะ เกอื กแกว้ ถอื ไมเ้ ท้าทอง ท�ำให้เหาะหนีไปได้ คู่มอื การเรียนการสอนวรรณคดไี ทย หน่อเนอ้ื เชอื้ ไข ในวรรณคดไี ทย 149

นางยักษ์พันธุรัตได้ออกติดตามและอ้อนวอนขอให้พระสังข์กลับไปอยู่กับนาง แต ่ พระสงั ขไ์ ม่ยอมกลบั บอกวา่ จะไปตามหาพระมารดา ท�ำใหน้ างยักษเ์ สยี ใจมากจนตรอมใจตาย กอ่ นตายนางไดเ้ ขยี นมหาจนิ ดามนตรส์ �ำหรบั เรยี กเนอื้ เรยี กปลาใหแ้ กพ่ ระสงั ข์ พระสงั ขไ์ ดจ้ ดจ�ำ มนตรน์ ้นั จนขึน้ ใจ แลว้ มุ่งหน้าไปเมอื งสามนตแ์ ละไปอยู่กบั พวกเด็กเลี้ยงววั ท่นี น่ั ท้าวสามนต์ เจ้าเมือง จัดพิธีเลือกคู่ให้ธิดาทั้ง ๗ นาง นางรจนาธิดาคนที่เจ็ด เลอื กไมไ่ ด้ ไมพ่ งึ พอใจผู้ใด ท้าวสามนต์จงึ ประชดใหน้ �ำตัวเงาะไปใหน้ างรจนาเลือก นางรจนา เห็นรูปทองซ่อนอยู่ภายในรูปเงาะ จึงเลือกเจ้าเงาะเป็นคู่ครอง ท�ำให้ท้าวสามนต์กร้ิวโกรธ และขบั ไลใ่ หไ้ ปอยทู่ กี่ ระทอ่ มปลายนา พระสงั ขไ์ ดเ้ ผยรปู ทองและสถานะทแ่ี ทจ้ รงิ แกน่ างรจนา ซ่งึ ตอ่ มานางได้แอบน�ำรปู เงาะไปท�ำลายแตไ่ ม่ส�ำเรจ็ ท�ำใหพ้ ระสังข์ไม่ยอมถอดรูปเงาะอีกเลย พระสงั ขต์ อ้ งไปหาเนอื้ หาปลาแขง่ กบั หกเขยตามค�ำสงั่ ของทา้ วสามนต์ ถา้ ใครหาไมไ่ ด ้ จะถูกฆ่า พระสังข์ได้ถอดรูปเงาะและใช้มหาจินดามนตร์เรียกฝูงปลาท้ังหมดมาชุมนุมกัน หกเขยหาปลาไม่ไดเ้ ลย จงึ มาขอปลาจากพระสังข์ซึง่ หกเขยเข้าใจวา่ เป็นเทวดา พระสังข์ไดข้ อ ตัดปลายจมูกหกเขยแลกกบั ปลาและใหไ้ ปคนละ ๒ ตวั ส่วนพระสังขส์ วมรูปเงาะแล้วน�ำปลา ๒๐๐ ตัว ไปถวายท้าวสามนต์ วันต่อมา ท้าวสามนต์ก็ให้เขยทั้งเจ็ดหาเนื้อมาให้ พระสังข์ก็ใช้มหาจินดามนตร ์ เรียกเนื้อท้ังหมดในป่ามารวมกันอีก เม่ือหกเขยมาขอเน้ือ พระสังข์ก็ขอแลกเปล่ียนกับใบหู และให้เน้อื ไปคนละตวั สว่ นพระสงั ขส์ วมรูปเงาะและน�ำเนอ้ื มา ๒๐ ตัว ไปถวายท้าวสามนต์ พระสังข์ไม่ยอมถอดรูปเงาะ ท�ำให้พระอินทร์สงสารนางรจนาจึงแปลงเป็นมนุษย์ ยกทัพมาท้าท้าวสามนต์ให้ตีคลีพนันเอาบ้านเมือง ท้าวสามนต์ให้หกเขยออกไปต่อสู้ก็แพ ้ จึงให้นางมณฑาไปอ้อนวอนเจ้าเงาะมาช่วยตีคลี เจ้าเงาะยอมถอดรูปเป็นพระสังข์และ ชว่ ยตคี ลจี นมชี ยั ชนะ ทา้ วสามนต์จึงยกเมืองให้พระสังข์ปกครอง วันหนึ่งขณะพระสังข์ก�ำลังเสวยแกงฟักก็ได้สังเกตเห็นว่าช้ินฟักมีลวดลายสลักเป็น เหตุการณ์ต่าง ๆ ในแต่ละช้ิน จึงน�ำมาล้างน้�ำและเรียงล�ำดับได้ ๗ ชิ้น พบว่าเป็นเรื่องราว ของตนตั้งแต่ก�ำเนิดจนถึงตอนที่ถูกจับถ่วงน้�ำ จึงรู้ว่าพระมารดาได้ติดตามมา ในท่ีสุด พระสังข์ได้พบกับนางจันท์เทวีและท้าวยศวิมล หลังจากนั้นพระสังข์กับนางรจนาก็กลับไป ครองเมืองยศวมิ ล 150 คมู่ ือการเรยี นการสอนวรรณคดไี ทย หน่อเนื้อเช้ือไข ในวรรณคดไี ทย

๖.๒.๔ ชวนทำ�กิจกรรม โฉมจันท์กัลยามารศรี ๑) ชวนอ่านเป็นท�ำนอง ยากแคน้ แสนทวีทุกเวลา ครน้ั รงุ่ เช้าเจ้าเขา้ ป่า เมือ่ น้นั กัลยาค้าขายได้เลีย้ งตัว อยดู่ ้วยยายตาไดห้ า้ ปี สดุ ก�ำลังแม่แล้วพ่อทูนหัว ครั้นค่�ำตักน�้ำตำ� ขา้ ว ทูนหวั ไม่ช่วยแมด่ ว้ ยเลย เก็บผกั เทย่ี วหักฟนื มา ห้าหกขวบแล้วนะลูกเอย๋ อุ้มเอาลูกนอ้ ยหอยสงั ข์ ลกู เอ๋ยจะเบาทเุ ลาแรง เลยี้ งไว้วา่ จะได้เปน็ เพ่อื นตวั สรุ ยิ ารุ่งรางสว่างแสง เน้อื เยน็ เป็นคนนะลูกแกว้ ลากแผงออกวางท่ีกลางดนิ ก�ำดดั จะภิรมย์ชมเชย จับหาบผันผายเข้าไพรสิณฑ์ นางมิได้เอนองค์ลงนทิ รา โฉมฉนิ ซอนซมดน้ มา วางลกู ลงไวไ้ ปจดั แจง เอาขา้ วออกตากแล้วฝากยาย เท่ียวเกบ็ ผักหญา้ เป็นอาจิณ ๒) ชวนรเู้ รือ่ ง ตำ�นานหอยสังข์ สงั ข์ เปน็ หอยชนดิ หน่งึ มีขนาดใหญ่ มคี วามเกี่ยวข้องกับขนบธรรมเนยี มประเพณี วัฒนธรรมต่าง ๆ ท่ีเป็นงานมงคลของไทย ได้แก่ การหล่ังน�้ำสังข์ในงานแต่งงาน และสังข์ จัดเป็นเครื่องใช้สว่ นพระองค์ของพระมหากษัตรยิ ์ คมู่ ือการเรียนการสอนวรรณคดีไทย หนอ่ เน้ือเชอื้ ไข ในวรรณคดไี ทย 151

สังข์เป็นเทพศาสตราวุธ เป็นสัญลักษณ์แห่งอ�ำนาจ ใช้เป่าเป็นอาณัติสัญญาณ ให้เกดิ ความฮกึ เหิมใหก้ ับไพรพ่ ลในการท�ำศึกสงคราม ความส�ำคญั ของ “สงั ข”์ ในงานมงคลใชส้ งั ขร์ ดนำ้� เรยี กว่า หลง่ั น้ำ� สงั ข์ มที ่มี าดงั นี้ เมอื่ พระอศิ วรสรา้ งเขาพระสเุ มรแุ ลว้ ไดแ้ ตง่ ตง้ั ใหพ้ ระพรหมธาดาเปน็ ใหญก่ วา่ พรหม ท้ังหลาย ท�ำให้พรหมท้ังหลายไม่พอใจ และได้จุติมาเป็นอสูรอยู่ใต้เขาพระสุเมรุ พระพรหมธาดา น�ำคัมภีร์พระเวทย์มาเพอื่ เขา้ เฝ้าพระอิศวร แตเ่ กดิ อาการรอ้ นรุ่ม จึงลงสรงน�้ำโดยวางคมั ภีรไ์ ว้ รมิ ฝง่ั นำ�้ สงั ขอ์ สรู ใชน้ างผเี สอ้ื นำ�้ ไปลกั เอาคมั ภรี น์ น้ั มา แลว้ สงั ขอ์ สรู กลนื คมั ภรี ไ์ วใ้ นทอ้ งทงั้ หมด พระอิศวรได้เชิญพระนารายณ์ให้ไปน�ำพระคัมภีร์กลับมา พระนารายณ์ได้แปลงกายเป็นปลากราย นามว่า “มจั ฉาวตาร” สงั หารผีเส้ือน�ำ้ และเอาชนะสังข์อสูรได้ คืนร่างเป็นพระนารายณ์ยืน่ น้วิ พระหัตถ์ไปในปากสังข์อสูรเพื่อหยิบเอาคัมภีร์คืนมา เป็นเหตุท�ำให้ปากหอยสังข์ในปัจจุบันมี รอยน้วิ พระหตั ถข์ องพระนารายณป์ รากฏอยู่จนทุกวันน้ี สังข์จึงนับว่าเป็นส่ิงมงคล คือ ๑) พรหมจุติเป็นสังข์อสูร ๒) มีคัมภีร์ในท้องสังข ์ ๓) มีนิ้วพระหัตถ์พระนารายณ์ปรากฏอยู่ หากผู้ใดรดน�้ำจากอุทรสังข์จะเป็นมงคลป้องกัน อนั ตรายและสงิ่ รา้ ยทงั้ ปวง ชวนคิด ๑) หอยสังข์มีความวิเศษอย่างไร พระสังข์จึงเติบโตในหอยสังข์ได้ ใหบ้ อกลกั ษณะของความวิเศษนน้ั ๒) พฤติกรรมเดน่ ท่เี ปน็ ลกั ษณะเฉพาะของพระสงั ขค์ ืออยา่ งไร 152 คู่มือการเรยี นการสอนวรรณคดีไทย หนอ่ เนือ้ เชอื้ ไข ในวรรณคดไี ทย

๓) ชวนกนั เลน่ โปง้ แปะ (ซอ่ นหา) จ�ำนวนผูเ้ ลน่ ไม่เกนิ ๑๐ คน แบ่งผ้เู ล่นเป็น ๒ ฝา่ ย คอื ฝา่ ยผูซ้ ่อน และ ฝ่ายผหู้ า วธิ กี ารเลน่ ๑. ผู้เล่นซ่อนหาทุกคน เปายิงฉุบ หรือจับไม้ส้ันไม้ยาว เพอ่ื เลอื กผหู้ า ๒. ผหู้ าใชม้ อื ปิดตาตวั เอง แลว้ ส่งสัญญาณให้เพื่อนไปซอ่ นตวั ตามที่ต่าง ๆ โดย นับ ๑-๑๐ หรือตามแต่ตกลงกนั หรือร้องเล่นว่า “ปดิ ตา ปิดตามิดชิด ไม่ผดิ กฎกตกิ า วง่ิ เลน่ กลางทงุ่ กลางนา โปง้ แปะซ่อนหา ปดิ ตามดิ ชดิ ” จะร้องกีเ่ ทีย่ วก็ได้ จนกว่าเพือ่ นซ่อนตัวกันหมดทกุ คน ๓. ผหู้ าจะเปดิ ตาและเรม่ิ ออกหา เมอื่ หาเจอจะพดู วา่ “โปง้ ” และตามด้วยช่ือของผู้ซ่อนท่ีพบ พร้อมกับยกน้ิวโป้ง ไปทางผู้ซ่อนตัวด้วย เมื่อหาเจอทุกคนแล้วผู้ซ่อน ที่ถกู พบคนแรกจะเปลี่ยนมาเป็นผหู้ าแทน ๔. หากหาเจอแลว้ พดู วา่ “โปง้ ” แต่จ�ำช่ือไม่ได้ ผู้ซอ่ น มาแตะตวั ผู้หา แลว้ พูดวา่ “แปะ” ผหู้ าต้องเป็นผหู้ า ตอ่ ไป ๕. หากผู้ซอ่ นทย่ี งั ไม่ถูกพบมาแตะตัวผ้หู าและพดู ว่า “แปะ” ผหู้ าคนนน้ั จะตอ้ งเป็นผ้หู าต่อไป ๔) ชวนร้องเลน่ เพลง ปดิ ตามดิ ชิด คำ� ร้อง ละเอยี ด สดคมขำ� ปิดตาปดิ ตามิดชิด ไมผ่ ิดกฎกติกา ว่งิ เลน่ กลางทงุ่ กลางนา โป้งแปะซอ่ นหา ปิดตามิดชดิ ค่มู ือการเรยี นการสอนวรรณคดไี ทย หนอ่ เน้ือเช้ือไข ในวรรณคดไี ทย 153

๕) ชวนเขยี นประวตั ิ ประวัติพระสงั ข์ ชื่อ วงศ์สกลุ ชื่อบิดา ชอ่ื มารดา ท่ีอยู่ปัจจบุ นั ลกั ษณะเด่น ประวตั กิ ารศึกษา พน่ี อ้ งรว่ มบดิ ามารดา สถานภาพ ชอ่ื ภรรยาหรือสามี ชื่อบุตรหรอื ธิดา อาชพี /สถานทท่ี ำ� งาน ตำ� แหน่ง ความสามารถพเิ ศษ ผลงานดเี ด่น หลักในการทำ� งาน คณุ ธรรมความดีงาม 154 คู่มือการเรียนการสอนวรรณคดีไทย หน่อเนือ้ เช้อื ไข ในวรรณคดีไทย

๖) ชวนประดิษฐ์ งานแกะสลักชิ้นฟัก จ�ำนวนคน แบ่งนกั เรยี นเปน็ กลุ่ม กลุ่มละ ๗ - ๘ คน อปุ กรณ์ ๑. ฟกั หนั่ เปน็ ชน้ิ สี่เหล่ยี มจตรุ ัส ขนาด ๓ × ๓ นิ้ว ๒. อปุ กรณ์ส�ำหรบั แกะ เช่น พลาสตกิ แข็ง/มีดบางเลก็ การประดษิ ฐ ์ ๑. วาดภาพลายเสน้ ขนาด ๓ × ๓ นวิ้ จ�ำนวน ๗ ภาพ ๗ ช้นิ บนกระดาษลาย ดงั นี้ ช้ินหนึ่ง ทรงครรภ์กัลยา คลอดลูกออกมาเป็นหอยสงั ข์ ช้ินสอง ต้องเทีย่ วเซซงั อุ้มลูกไปยังพนาลัย ชิ้นสาม อยดู่ ้วยยายตา ลกู ยาออกช่วยขบั ไก่ ชิ้นส ่ี กลั ยามาแตไ่ พร ทุบสังขป์ น่ ไปกบั นอกชาน ชิ้นหา้ บติ ุรงคท์ รงศักด์ิ รับตวั ลูกรกั ไปจากบ้าน ชนิ้ หก จองจ�ำท�ำประจาน จะประหารฆา่ ฟัน ใหบ้ รรลยั ชนิ้ เจด็ เพชรฆาตเอาตัวลูกยา ไปถว่ งลงคงคาน�ำ้ ไหล ๒. ทาบภาพบนกระดาษ วาดลายลงบนชนิ้ ฟกั ทจ่ี ะแกะสลกั ๓. แกะสลกั บนช้ินฟักตามเส้นลาย ๔. ยอ้ มชน้ิ ฟักทแี่ กะสลกั แล้วด้วยสสี �ำหรบั ท�ำขนม ๕. แต่ละกล่มุ น�ำชนิ้ ฟกั มาเรียงตามล�ำดับเรอ่ื ง ๖. ประเมนิ การแกะสลกั ดว้ ยตนเอง จากเพ่อื นในกล่มุ เพ่ือนกลุม่ อืน่ และจากครูผูส้ อน ๗. แสดงความคิดเห็น ประโยชน์ของงานแกะสลกั ๘. น�ำชน้ิ ฟักที่แกะสลักแล้วไปท�ำเป็นอาหารคาวหวาน โดยให้นกั เรียนชว่ ยกันคิดชอ่ื อาหารท่ปี รุงจากฟัก หมายเหตุ ๑. ใชว้ สั ดอุ ืน่ แกะสลกั ได้ เชน่ มันเทศ ดินเหนียว ดินน�้ำมัน สบู่ ไม้ ฯลฯ ๒. เชิญวทิ ยากรที่มคี วามช�ำนาญดา้ นแกะสลักมาให้ความรู้แก่นกั เรียน คู่มือการเรยี นการสอนวรรณคดไี ทย หน่อเนื้อเช้ือไข ในวรรณคดีไทย 155

๗) ชวนคิดสรา้ งสรรค์ กิจกรรมท่ี ๑ เขียนสลบั อักษรเปน็ คำ�ใหม่ ตัวอย่าง รปู เงาะ = เราะ เปาะ ปู งู รู ปร ู เรา เปา ประ หกเขย = ............................................................................................. รจนาเทว ี = ............................................................................................. ไมเ้ ท้า = ............................................................................................. กจิ กรรมท่ี ๒ เขยี นเติมตวั การนั ต์ สัง__ทอง พระอิน__ __ นางยกั __ นางจัน__เทวี จินดามน__ __ มนุษ__ พระหัต__ พระมหากษัตริ__ พระนาราย__ คมั ภ_ี _ พระเวท__ กิจกรรมที่ ๓ โยงจับคยู่ กั ษก์ บั วรรณคดไี ทยใหถ้ กู ตอ้ ง ทศกัณฐ ์ สังขท์ อง รามเกยี รต์ิ ผเี ส้อื สมทุ ร พระอภัยมณี ไชยเชษฐ์ พนั ธรุ ตั น ์ ทา้ วสงิ หล 156 คมู่ อื การเรียนการสอนวรรณคดีไทย หน่อเนือ้ เช้ือไข ในวรรณคดีไทย

แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรภู้ าษาไทย เร่ือง พระสังข์ ๑. วเิ คราะหส์ าระการเรยี นรใู้ นกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย มนตร์วเิ ศษเรยี กเน้อื เรียกปลา เขยี นจากจนิ ตนาการความวิเศษของหอยสงั ขท์ เ่ี ดก็ อาศัยอยูไ่ ด้ บทร้อยกรอง กลอนบทละคร มารยาทในการเขยี น เขยี นบรรยายการตีคลรี ะหว่างพระอนิ ทรก์ ับพระสังข์ ตดั ตอนจาก เร่ือง สงั ขท์ อง การเขียน เขียนจติ นาการเมืองบาดาล การอ่าน บทร้อยแกว้ ประวตั ิตัวละคร เขียนแสดงความรสู้ ึกเมอ่ื พระสังข์เห็นชนิ้ ฟัก มารยาทในการอ่าน วเิ คราะหก์ ารฟงั อยา่ งมเี หตผุ ล คดั ลายมอื พระสังข์ การฟงั เรยี งความเรอื่ งพระคุณแม่/ หลักการใช้ภาษา การพูด มารยาทในการฟงั ความรักของแม่ การอ่านบทร้อยแกว้ /บทรอ้ ยกรอง ความกตัญญกู ตเวที แลว้ ตง้ั ค�ำ ถาม คุณธรรม การให้อภัย ส�ำ นวนภาษา ท�ำ ดีไดด้ ี ท�ำ ช่ัวได้ชวั่ มารยาทในการพดู ความอดทน คนดีตกน�้ำไมไ่ หล ตกไฟไม่ไหม้ อปุ นิสยั ของพระสงั ขแ์ ละตวั ละครอน่ื ๆ ความมีสติ คำ�ราชาศัพท์ ความกล้าหาญ ค�ำ ทมี่ ตี ัวการนั ต์ โน้มน้าวใหเ้ จา้ เงาะถอดรปู ๒. วิเคราะห์การบูรณาการการสอนต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศึกษา - ความรเู้ กี่ยวกับ ศาสนาและวัฒนธรรม สัตว์ประเภทหอย/ - การท�ำ นา - วิถีชวี ิตชาวนา หอยสังข์ - ประเพณีจรดพระนังคัล การงานอาชีพ แรกนาขวัญ และเทคโนโลยี - คุณธรรมของพระสงั ข์ - การแกะสลักผลไม้ พระสังข์ คณติ ศาสตร์ - ผลติ ภัณฑจ์ ากหอย - ผลติ ภัณฑ์จากฝกั - ค�ำนวณน�้ำหนักปลา ๒๐๐ ตัว เป็นกิโลกรมั ค�ำนวณน�้ำหนกั ศลิ ปศกึ ษา/ดนตรี เนอื้ ๒๐ ตัว เปน็ กโิ ลกรัม - ชมฉยุ ฉายเจ้าเงาะ แลว้ คดิ เปน็ ราคา จากส่อื IT ซื้อ - ขาย - วาดภาพเจา้ เงาะ/กระท่อม ปลายนา แลว้ ระบายสี - ดอกชบาสีแดง คมู่ อื การเรียนการสอนวรรณคดไี ทย หน่อเน้อื เชอื้ ไข ในวรรณคดีไทย 157

๓. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ๓.๑ น�ำสาระเนื้อหาจากวรรณคดีไทย/ประวัติตัวละคร มาน�ำอ่าน น�ำพูด ฝกึ จบั ใจความส�ำคัญ ๓.๒ น�ำสาระเน้ือหาต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้มาบูรณาการการสอนโดยใช้การ แบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้าโดยใช้การอ่าน การเขียน การบันทึก การจบั ใจความ การสรปุ ใจความ การวิเคราะห์ความ การเขยี นรายงาน การพดู น�ำเสนอจากการศกึ ษาค้นคว้า ฯลฯ ๓.๓ ครสู รุปความรู้ท่ถี ูกต้องแก่นกั เรยี น ๓.๔ ใหน้ กั เรยี นสร้างชน้ิ งานดว้ ยตนเองตามใจชอบ แลว้ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์เชิงบวกด้วยค�ำว่า “ถ้า... ถ้าจะเพม่ิ ... ปรบั ...” ๓.๕ การวัดผลประเมินผลตามตัวช้ีวัด จุดประสงค์ หรือสมรรถนะทางภาษาไทย จากผลงานของนักเรียน ผลงานกลุ่ม ใช้การทดสอบ การตรวจ การสังเกต การฟัง การพูด การเขียน เปน็ ตน้ 158 คมู่ ือการเรียนการสอนวรรณคดไี ทย หน่อเน้ือเชือ้ ไข ในวรรณคดไี ทย

บรรณานกุ รม กรมวชิ าการ, กระทรวงศกึ ษาธิการ. โคลงภาพรามเกยี รติ์ เลม่ ๑. กรงุ เทพฯ : การศาสนา, ๒๕๔๒. . บทละครนอก เรื่อง สังข์ทอง พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย. กรงุ เทพฯ : คุรุสภาลาดพรา้ ว, ๒๕๔๐. กรมศิลปากร. ขุนช้างขุนแผน เลม่ ๑. พมิ พ์ครัง้ ที่ ๑๗. กรงุ เทพฯ : องคก์ ารค้าของคุรุสภา, ๒๕๓๘. . ขนุ ช้างขนุ แผน เลม่ ๒. พมิ พ์คร้ังที่ ๑๗. กรงุ เทพฯ : องคก์ ารค้าของคุรสุ ภา, ๒๕๓๘. . ขนุ ช้างขุนแผน เล่ม ๓. พิมพค์ รัง้ ที่ ๑๖. กรงุ เทพฯ : องคก์ ารค้าของครุ ุสภา, ๒๕๓๓. . เงาะปา่ พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : คลังวิทยา, ๒๕๑๑. . บทละครเรื่องรามเกียรต์ิในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและบ่อเกิด รามเกียรต์ิ พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : ศลิ ปาบรรณาคาร, ๒๕๔๔. นิดดา หงษ์วิวัฒน์. รามเกียรตก์ิ ับจิตรกรรมฝาผนงั รอบพระระเบียงวดั พระศรรี ัตนศาสดาราม. กรงุ เทพฯ : เพื่อนเดก็ , ๒๕๔๗. มาซารุ อิบกุ ะ. รอให้ถึงอนุบาลกส็ ายเสียแล้ว. พิมพ์ครง้ั ที่ ๓๒. กรงุ เทพฯ : หมอชาวบ้าน, ๒๕๕๙. มาลัย. กุลสตรีนางในวรรณคด.ี กรงุ เทพฯ : บวรสารการพิมพ์ จ�ำกดั , ๒๕๓๖. มลู นิธสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา. นามานุกรมวรรณคดไี ทย ชดุ ท่ี ๑ ช่อื วรรณคดี. พมิ พ์คร้งั ท่ี ๕. กรุงเทพฯ : มลู นธิ ิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา, ๒๕๕๖. . นามานุกรมวรรณคดีไทย ชุดท่ี ๓ ช่ือตัวละคร ชื่อสถานที่ และช่ือปกิณกะ เล่มท่ี ๑ อักษร ก - ธ. กรงุ เทพฯ : มลู นิธสิ มเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า, ๒๕๕๖. . นามานุกรมวรรณคดีไทย ชุดที่ ๓ ช่ือตัวละคร ช่ือสถานที่ และช่ือปกิณกะ เล่มท่ี ๒ อกั ษร น - ฤา. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า, ๒๕๕๖. . นามานุกรมวรรณคดีไทย ชุดที่ ๓ ชื่อตัวละคร ชื่อสถานที่ และช่ือปกิณกะ เล่มที่ ๓ อักษร ล - ฮ. กรุงเทพฯ : มูลนิธสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า, ๒๕๕๖. ราชบณั ฑติ ยสถาน. พจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔. กรงุ เทพฯ : ราชบณั ฑติ ยสถาน, ๒๕๕๖. ละเอียด สดคมข�ำ. หนงั สอื ส่งเสริมการอา่ น ระดบั ประถมศกึ ษา เลม่ ๓ บทรอ้ ยกรอง ชดุ รักษ์ไทย บทละคร กลอนเสภา เร่อื ง ขุนช้างขนุ แผน ตอน การละเลน่ เป็นเทพบนั ดาล. สพุ รรณบุรี : สโมสรโรตาร่ี สพุ รรณบรุ ี, ๒๕๔๒. สอ่ื เวบ็ ไซต์ วกิ ิพีเดยี , สารานุกรมเสร,ี www.http://th.wikipedia.org คมู่ อื การเรียนการสอนวรรณคดไี ทย หนอ่ เนอ้ื เชอ้ื ไข ในวรรณคดีไทย 159

ประกาศสำ�นักงานคณะกรรมการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน เรอ่ื ง อนุญาตใหใ้ ชส้ ่อื การเรยี นรู้ในสถานศึกษา ด้วยสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้ดำ�เนินการจัดทำ�หนังสือ คู่มือการเรียนการสอนวรรณคดีไทย ระดับประถมศึกษา หน่อเนื้อเช้ือไข ในวรรณคดีไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สำ�หรับให้ครูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาใช้ศึกษาเป็นแนวทางในการจัดการเรียน การสอนวรรณคดีไทย ระดับประถมศึกษา สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พิจารณาแล้วอนุญาตใหใ้ ชใ้ นสถานศึกษาได้ ประกาศ ณ วันท่ี ๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ (นายอำ�นาจ วิชยานวุ ตั )ิ เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 160 คู่มอื การเรยี นการสอนวรรณคดไี ทย หน่อเน้อื เชื้อไข ในวรรณคดีไทย

คณะผู้จดั ท�ำ คณะทีป่ รกึ ษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน นายอ�ำนาจ วชิ ยานวุ ตั ิ ผู้อ�ำนวยการส�ำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา นางวฒั นาพร ระงับทกุ ข์ ผอู้ �ำนวยการสถาบันภาษาไทย นางสาวรัตนา แสงบัวเผื่อน นางสาวดวงใจ บญุ ยะภาส เรียบเรยี ง ขา้ ราชการบ�ำนาญ ครูระดบั เชีย่ วชาญ ผู้สอนวิชาภาษาไทย โรงเรียนสพุ รรณภมู ิ นางสาวละเอยี ด สดคมข�ำ ส�ำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษา สุพรรณบรุ ี เขต ๑ บรรณาธิการ นางสาวพัชรา ตระกลู สริ พิ นั ธ ์ุ นกั วชิ าการศกึ ษาช�ำนาญการพิเศษ นางลตั ติยา อมรสมานกุล นักวิชาการศึกษาช�ำนาญการพิเศษ ภาพประกอบ นายโอม รัชเวทย์ นายอ�ำนาจ ชูสุวรรณ ออกแบบและจดั ทำ�รปู เล่ม นางสาวพชั รา ตระกูลสิรพิ ันธ ุ์ นักวิชาการศกึ ษาช�ำนาญการพเิ ศษ คู่มือการเรียนการสอนวรรณคดไี ทย หนอ่ เนอื้ เชือ้ ไข ในวรรณคดีไทย 161

162 ค่มู ือการเรียนการสอนวรรณคดีไทย หนอ่ เน้อื เชื้อไข ในวรรณคดไี ทย