Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอน รายวิชา วิทยาการคำนวณ ม.4

แผนการสอน รายวิชา วิทยาการคำนวณ ม.4

Published by langtechcom, 2021-05-08 16:28:22

Description: แผนการสอน รายวิชา วิทยาการคำนวณ ม.4

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู หนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 เรอื่ ง แนวคิดเชิงคำนวณ แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 1 เรอื่ ง แนวคิดเชิงคำนวณ รายวิชา วทิ ยาการคำนวณ ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1 กลมุ สาระการเรียนรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี น้ำหนกั เวลาเรียน 0.5 หนวยกติ เวลาเรียน 1 ชวั่ โมง / สปั ดาห .......................................................................................................................................................... 1. สาระสำคญั (ความเขา ใจท่ีคงทน) 1.1. อธิบายหลกั การของแนวคดิ เชงิ คำนวณ 1.2. ปฏิบตั ติ ามขั้นตอนวธิ ี เปรียบเทียบ และวิเคราะหข ั้นตอนวธิ เี พื่อแกป ญ หาจากโจทยท ีก่ ำหนด 1.3. ตระหนกั ถงึ ความสำคัญและประโยชนข องขนั้ ตอนวิธที ่เี กีย่ วของกบั การแกปญหาในชวี ิตประจำวัน 2. มาตรฐานการเรียนร/ู ตัวช้ีวัดชน้ั ป ประยกุ ตใชแ นวคดิ เชงิ คำนวณในการพัฒนาโครงงานท่มี ีการบูรณาการกับวิชาอืน่ อยางสรา งสรรคแ ละเช่ือมโยง กับชีวิตจรงิ 3. สาระการเรียนรู 3.1 เนือ้ หาสาระหลัก : Knowledge แนวคิดเชิงคำนวณ ไดแก การคิดแบบแยกสว นประกอบและการยอ ยปญ หา การหารปู แบบของปญ หา การคดิ เชงิ นามธรรม และการออกแบบข้ันตอนวธิ ีในการแกปญหา 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process 3.2.1. ทักษะการคดิ เชงิ คำนวณ 3.2.2. ทกั ษะการแกปญหา 3.3 คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค : Attitude 3.3.1. ใฝเ รยี นรู 3.3.2. มุงมั่นในการทำงาน 4. สมรรถนะสำคญั ของนักเรยี น 4.1. ความสามารถในการส่ือสาร 4.2. ความสามารถในการคิด 4.3. ความสามารถในการแกป ญ หา 4.4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต 5. ความรเู ดิมทนี่ กั เรียนตอ งมี - คูอันดับและกราฟ

6. สาระสำคญั แนวคิดเชิงคำนวณ ( Computational Thinking ) เปนพื้นฐานของการคิดแกป ญหาที่สามารถนำไปประยุกตใน การแกปญหาในชีวิตประจำวัน แนวคิดเชิงคำนวณ เปนการคิดแบบแยกสวนประกอบและการยอยปญหา ( Decomposition ) การหารูปแบบของปญหา ( Pattern Recognition ) การคิดเชิงนามธรรม ( Abstraction ) ซึ่ง ขั้นตอนวธิ ี คอื ลำดบั ขนั้ ตอนในการแกปญ หาหรือการทำงานที่ชัดเจน ชวยใหค ดิ อยางเปน ระบบและเปนขัน้ ตอน 7. ชนิ้ งาน/ภาระงาน : 7.1 ใบกิจกรรมท่ี 1.1 บา นเธอ บานฉนั 7.2 ใบกิจกรรมที่ 1.2 หา ห.ร.ม. งายกวา ท่ีคดิ 8. กจิ กรรมการเรยี นรู 8.1. การจัดเตรียม 1. ใบกจิ กรรมที่ 1.1 และ 1.2 ตามจำนวนผูเรยี น 2. คลิปวดี ีทศั น เร่อื งการคิดเชิงคำนวณ จาก http://www.youtube.com/watch?v=mUXo-S7gzds 8.2. ขนั้ ตอนดำเนินการ ( 45 นาที ) 1. ผสู อนนำเขาสบู ทเรยี น เร่ืองแนวคดิ การคำนวณ โดยเลาสถานการณและตง้ั คำถามถามผเู รียน 2. ผสู อนใชวิธีสุมผูเรียนหรือหาอาสาสมัคร จำนวน 3 คน บอกหรือเขียนวิธกี ารการแกปญหาจากสถานการณที่ ผสู อนสมมุติขึ้นมา โดยอธิบายเปน ขั้นตอน ( อาจใหผูเรียนทั้งสามคน เขยี นวธิ ีการบนกระดานแลว ใหเ พ่ือนโหวตวธิ ีการที่ ชอบท่สี ุด ) 3. ผูสอนอธิบายและสรุปเพ่ือเชื่อมโยงไปถึงเร่ืองแนวคิดเชิงคำนวณ ซ่ึงในสถานการณขางตนเปนตัวอยางของ การแกป ญหาที่มขี ้ันตอนวิธี และมีการคิดแกปญหาแบบอ่ืนๆ ที่เปนแนวคิดเชิงคำนวณดวย ( อาจอธิบายโดยยกตวั อยาง เพิม่ เตมิ ใหผูเ รยี นเขา ใจหลักการคิดทั้ง 4 แบบ หรือเปดคลปิ วีดีทัศน เพื่ออธิบายเพ่ิมเติม ) 8.3. ขัน้ ประยุกตใช ( 45 นาที ) 1. ผูสอนใหผูเรียนจับคูกับเพ่ือนศึกษาตัวอยางที่ 1.1 วิธีแนะนำหนังสือ ในหนังสือเรียน เพ่ือใหนักเรียนเขาใจ หลกั การของขั้นตอนวธิ ีมากข้นึ 2. ผูสอนใหผ เู รียนจับคกู นั ทำ ใบกิจกรรมที่ 1.1 เรอื่ ง บานเธอ บานฉนั 3. ผสู อนอธบิ ายตัวอยางท่ี 1.2 ไปใหครบทกุ ที่ ในหนังสอื เรียน และรวมกันอภิปรายกับผเู รยี นเพื่อใหเห็นตัวอยาง เพิ่มเตมิ 4. ผูสอนใหผูเรียนจับคูกันทำ ใบกิจกรรมที่ 1.2 การหา ห.ร.ม. งายกวาที่คิด เม่ือทำเสร็จแลวใหแลกกนั ตรวจกับ เพ่อื นคอู ื่น 8.4. ขนั้ สรปุ และประเมนิ ผล ( 10 นาที ) ผูสอนและผเู รยี นรว มกันอภิปราย และสรุปประโยชนของขนั้ ตอนวธิ ีการกับการแกปญหาในชวี ิตประจำวัน

9. ส่ือการเรียนการสอน / แหลง เรยี นรู จำนวน สภาพการใชสือ่ รายการสอ่ื ข้นั การจัดเตรยี ม / 1 ชดุ ขัน้ การดำเนนิ การ 1. คลปิ วดี ีทัศน จาก http://www.youtube.com/watch?v=mUXo-S7gzds ตาม ขั้นประยุกตใช 2. ใบกิจกรรม จำนวน นร. - ใบกิจกรรมท่ี 1.1 บานเธอ บานฉัน - ใบกจิ กรรมที่ 1.2 หา ห.ร.ม. งา ยกวาท่ีคิด 10. การวัดและการประเมนิ ผล ส่งิ ที่ตองวดั วิธีการวดั ผลประเมนิ ผล เคร่ืองมอื วดั ผลประเมนิ ผล เกณฑก ารผาน ไดค ะแนนไมน อ ยกวา 2 ดา นความรู (K) การบอกหรือเขยี นวธิ ีการการ การมีอาสาสมัครออกแบบ คะแนน ผานเกณฑ ตาม แกป ญหาจากสถานการณที่ เขยี นวิธกี ารจากสถานการณ การประเมนิ เชงิ ปรมิ าณ - เพ่ือใหม ีความรูเก่ยี วกับ ผสู อนสมมตุ ิขน้ึ มา โดย ทีส่ มมตุ ิข้นึ และนักเรยี น หลกั การของแนวคดิ เชงิ อธบิ ายเปน ขั้นตอน รวมกนั โหวตวิธีท่ชี ืน่ ชอบ ไดค ะแนน 7 คะแนนขึน้ ไป คำนวณ ผา นเกณฑ ระดับคุณภาพ แบบบันทึกการประเมนิ พอใช ตามการประเมนิ เชงิ ดา นทักษะ(P) สงั เกตพฤติกรรมจากการ สังเกตการนำเสนอผลงานใบ คุณภาพ กจิ กรรม บา นเธอ บา นฉัน - อธิบายหลักการของ ทำงานกลุม การทำใบ และ การหา ห.ร.ม. งายกวา ไดคะแนน 4 คะแนนขึน้ ไป แนวคิดเชิงคำนวณ กิจกรรมที่ 1.1 และ 1.2 ที่คดิ ผา นเกณฑ ระดบั คุณภาพ พอใช ตามการประเมินเชิง ดานจติ พิสยั (A) สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี น แบบสังเกตพฤติกรรมความ คุณภาพ มุง มั่นในการทำงาน (3 -มคี วามมงุ ม่ันในการทำงาน รายบุคคลในดา นมคี วาม ระดบั คณุ ภาพ) คะแนนเตม็ มุงมัน่ ในการทำงาน 9 คะแนน

11. จดุ เนน ของโรงเรียน การบรู ณาการปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตรโรงเรยี น (ตวั อยาง) ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ครู ผเู รยี น 1. ความพอประมาณ พอดีดา นเทคโนโลยี พอดีดา นจติ ใจ 2. ความมเี หตผุ ล รจู กั ใชเ ทคโนโลยีมาผลิตส่ือที่เหมาะสม มจี ิตสำนึกทดี่ ี เออ้ื อาทร ประนีประนอม นกึ ถงึ ประโยชนสว นรวม/กลมุ 3. มภี ูมิคุมกนั ในตวั ท่ดี ี และสอดคลองเนือ้ หาเปนประโยชนต อ 4. เงือ่ นไขความรู ผเู รียนและพฒั นาจากภมู ปิ ญ ญาของผเู รยี น ไมหยดุ นง่ิ ทห่ี าหนทางในชีวิต หลุดพนจาก 5. เงือ่ นไขคณุ ธรรม ความทกุ ขย าก (การคน หาคำตอบเพ่อื ให - ยึดถอื การประกอบอาชีพดวยความถูกตอง หลดุ พนจากความไมร)ู สจุ ริต แมจะตกอยูในภาวะขาดแคลน ใน การดำรงชีวติ ภูมิปญญา : มคี วามรู รอบคอบ และ - ปฏบิ ัติตนในแนวทางท่ีดี ลด เลกิ สิง่ ยั่ว ระมัดระวัง สรา งสรรค กเิ ลสใหห มดส้ินไป ไมก อ ความช่วั ให เปน เคร่อื งทำลายตวั เอง ทำลายผอู ่นื พยายาม ภมู ิธรรม : ซอื่ สตั ย สจุ รติ ขยันอดทน เพม่ิ พูนรกั ษาความดี ทีม่ ีอยใู หงอกงาม ตรงตอ เวลา เสียสละและ สมบูรณย ิ่งข้ึน แบง ปน ภูมิปญ ญา : มีความรู รอบคอบ และ ความรอบรู เรื่อง แนวคิดเชงิ คำนวณ ระมัดระวงั กรณที ่ีเกดิ ปญ หา สามารถนำความรูเหลา นัน้ ภมู ธิ รรม : ซ่ือสตั ย สจุ รติ ขยันอดทน มาพิจารณาใหเ ชอ่ื มโยงกนั สามารถประยกุ ต ใชในชีวติ ประจำวัน ตรงตอ เวลาและแบง ปน ความรอบรู เร่อื ง แนวคดิ เชงิ คำนวณ ท่เี กย่ี วของรอบดาน ความรอบคอบทีจ่ ะนำ ความรเู หลา น้ันมาพิจารณาใหเ ชื่อมโยงกนั เพือ่ ประกอบการวางแผน การดำเนินการจัด กิจกรรมการเรียนรูใหกับผเู รียน มคี วามตระหนักใน คุณธรรม มีความ มคี วามตระหนกั ใน คณุ ธรรม มคี วาม ซื่อสัตยสุจรติ และมคี วามอดทน มคี วามเพียร ซ่อื สัตยส จุ รติ และมีความอดทน มคี วามเพียร ใชสติปญญาในการดำเนินชีวติ ใชสติปญ ญาในการดำเนินชีวติ กิจกรรม ครู ผเู รียน สวนพฤกษศาสตรโรงเรียน แนวคิดเชิงคำนวณ แนวคดิ เชิงคำนวณ แนวคิดเชิงคำนวณ - การแกป ญหาที่มีข้ันตอนวธิ ี - สามารถนำหลกั การทไี่ ดร ับไปประยุกตใช - การแกป ญ หาท่มี ขี ั้นตอนวิธี แกป ญ หาในชวี ิตประวันได ลงชือ่ ..................................................ผูสอน ( นางสาวฐิตารตั น คัมภรี ะ )

สถานการณตวั อยา ง







แผนการจัดการเรียนรู หนว ยการเรียนรทู ่ี 1 เรือ่ ง แนวคิดเชิงคำนวณ แผนการเรยี นรูที่ 2 เร่ือง การแยกสว นประกอบและการยอ ยปญ หา รายวิชา วทิ ยาการคำนวณ ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1 กลุมสาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี นำ้ หนกั เวลาเรียน 0.5 หนว ยกติ เวลาเรียน 1 ชวั่ โมง / สัปดาห .......................................................................................................................................................... 1. สาระสำคัญ (ความเขา ใจท่คี งทน) 1.1.1. วเิ คราะหอ งคป ระกอบของส่ิงของตา งๆ ในการพัฒนาผลงานใหม 1.1.2. ใชท ักษะการคิดแบบแยกสวนประกอบและการยอ ยปญ หา แกป ญ หาชวี ิตในประจำวัน 2. มาตรฐานการเรยี นรู/ ตัวช้วี ัดชน้ั ป ประยกุ ตใ ชแนวคดิ เชิงคำนวณในการพัฒนาโครงงานท่มี กี ารบรู ณาการกับวชิ าอนื่ อยา งสรางสรรคและเชือ่ มโยง กบั ชวี ิตจริง 3. สาระการเรียนรู 3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge แนวคดิ เชิงคำนวณ ไดแ ก การคดิ แบบแยกสว นประกอบและการยอยปญ หา การหารูปแบบของปญหา การคิดเชงิ นามธรรม และการออกแบบข้นั ตอนวธิ ใี นการแกปญหา 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process 3.2.1. ทักษะการคดิ เชิงคำนวณ 3.2.2. ทกั ษะการแกปญ หา 3.2.3. ทกั ษะการคิดวิเคราะห และสังเคราะห 3.2.4. ทักษะการคดิ สรา งสรรค 3.3 คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค : Attitude 3.3.1. ใฝเรยี นรู 3.3.2. มงุ มนั่ ในการทำงาน 4. สมรรถนะสำคญั ของนักเรยี น 4.1. ความสามารถในการสอื่ สาร 4.2. ความสามารถในการคิด 4.3. ความสามารถในการแกปญ หา 4.4. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ติ

5. ความรูเ ดิมทน่ี กั เรยี นตองมี - 6. สาระสำคญั การแยกสวนประกอบและการยอยปญหา ( Decomposition ) เปนขั้นตอนของกระบวนการแกปญหาดวย แนวคิดเชิงคำนวณ ( Computational Thinking ) ซึ่งแบงปญหาหรืองานออกเปนสวนยอย ทำใหสามารถจัดการกับ ปญหาหรอื งานไดง า ยขน้ึ 7. ชิน้ งาน/ภาระงาน : 7.1 ใบกิจกรรมที่ 2.1 แยกสวนและสรา งใหม 7.2 ใบกิจกรรมที่ 2.2 ชีวิตประจำวนั กับการแยกสว น 8. กิจกรรมการเรยี นรู 8.1 การจัดเตรยี ม 1. ใบกจิ กรรมที่ 2.1 แยกสว นและสรางใหม ตามจำนวนผเู รยี น 2. ใบกิจกรรมท่ี 2.2 ชีวติ ประจำวันกบั การแยกสว น ตามจำนวนผเู รียน 8.2 ขัน้ ตอนดำเนนิ การ ( 45 นาที ) 1. ผูสอนนำเขาสูบทเรียน โดยเลาสถานการณใดสถานการณหนึ่งจากสองสถานการณ และใหผูเรียนวิเคราะห และหาคำตอบจากสถานการณที่เลือก 2. ผูส อนเชื่อมโยงสถานการณขางตนกบั วิธีคดิ แบบแยกสว นประกอบและยอ ยปญ หา 8.3 ขัน้ ประยกุ ตใช ( 45 นาที ) 1. ผสู อนใหผ ูเรียนศึกษาหวั ขอ ท่ี 1.2 การแยกสวนประกอบและการยอยปญ หา (Decomposition) ใน หนงั สือเรยี น 2. ผสู อนใหผเู รยี นทำ ใบกิจกรรมที่ 2.1 เรอื่ ง แยกสว นและสรางใหม 3. ผสู อนสุม หรอื หาอาสาสมคั รนำเสนอคำตอบจากใบกจิ กรรมที่ 2.1 4. ผูสอนแบงผูเ รยี นออกเปน กลุม กลมุ ละ 4 คน ทำใบกิจกรรมที่ 2.2 ชวี ิตประจำวันกับการแยกสวนประกอบ โดย ผูสอนชี้แจงเกณฑการประเมินกอนใหผ เู รียนลงมอื ทำกจิ กรรม 5. ผูสอนสุมกลุมนำเสนอคำตอบใหครบทุกกิจกรรม และรวมอภิปรายกับผูเรียนในประเด็นเร่ืองของเวลา โดย เช่ือมโยงใหเห็นประโยชนของการแยกสวนประกอบและการยอยปญหา สอบถามวาตองใชวิธีอยางไร จึงจะทำงานได สำเรจ็ หากมีงานมากและมีเวลาจำกดั 8.4 ขั้นสรปุ และประเมนิ ผล ( 10 นาที ) ผูสอนและผูเรียนรวมกันสรุปแนวคิดการแยกสวนประกอบและการยอยปญหา ในดานประโยชนของการใช แกป ญ หาในชวี ติ ประจำวัน

9. สือ่ การเรียนการสอน / แหลงเรียนรู จำนวน สภาพการใชส ่ือ รายการส่อื ข้ันประยุกตใช ตามจำนวน ขน้ั ประยุกตใ ช 1. ใบกจิ กรรม นร. - ใบกิจกรรมท่ี 2.1 แยกสวนและสรางใหม - ใบกิจกรรมที่ 2.2 ชวี ิตประจำวันกบั การแยกสวนประกอบ - 2. หนังสือเรียน วิชา วทิ ยาการคำนวณ ชน้ั ม.4 10. การวัดและการประเมนิ ผล สิ่งที่ตอ งวัด วิธกี ารวดั ผลประเมินผล เครื่องมอื วดั ผลประเมนิ ผล เกณฑก ารผา น การนำเสนอ ใบกิจกรรมท่ี ไดคะแนนไมน อ ยกวา 2 ดา นความรู (K) การบอกหรอื เขยี นวิธีการการ 2.1 การแยกสวนและ คะแนน ผา นเกณฑ ตาม สรา งใหม การประเมนิ เชิงปริมาณ - เพื่อใหม คี วามรเู ก่ียวกบั วิธี แกป ญหาจากสถานการณท ่ี คิดการแยกสว นและการ ผูสอนสมมุติขน้ึ มา โดย แบบบนั ทกึ การประเมิน ไดค ะแนน 7 คะแนนข้ึนไป อธบิ ายเปน ขัน้ ตอน สังเกตการนำเสนอผลงานใบ ผานเกณฑ ระดับคุณภาพ แยกยอ ยปญ หา กิจกรรม ชีวติ ประจำวันกับ พอใช ตามการประเมินเชิง การแยกสวน คุณภาพ ดา นทักษะ(P) สังเกตพฤติกรรมจากการ ทำงานกลมุ การทำใบ แบบสงั เกตพฤติกรรมความ ไดค ะแนน 4 คะแนนข้ึนไป - อธบิ ายหลักวิธคี ดิ การ กจิ กรรมที่ 2.2 มุงม่นั ในการทำงาน (3 ผานเกณฑ ระดับคุณภาพ แยกสวนและการแยกยอ ย ระดบั คณุ ภาพ) คะแนนเต็ม พอใช ตามการประเมินเชิง ปญ หา 9 คะแนน คณุ ภาพ ดา นจิตพสิ ยั (A) สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี น -มีความมงุ ม่ันในการทำงาน รายบุคคลในดา นมีความ มุงมนั่ ในการทำงาน

11. จดุ เนนของโรงเรยี น การบูรณาการปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงและกจิ กรรมสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ครู ผูเรียน 1. ความพอประมาณ พอดดี า นเทคโนโลยี พอดดี านจิตใจ 2. ความมเี หตผุ ล รูจักใชเ ทคโนโลยมี าผลิตสอ่ื ท่เี หมาะสมและ มจี ติ สำนกึ ทดี่ ี เอ้ืออาทร ประนีประนอม 3. มีภูมิคุมกนั ในตวั ทีด่ ี สอดคลองเนื้อหาเปน ประโยชนตอผเู รยี นและ นกึ ถงึ ประโยชนส ว นรวม/กลมุ 4. เงือ่ นไขความรู พัฒนาจากภูมปิ ญ ญาของผเู รียน 5. เงอ่ื นไขคุณธรรม ไมหยดุ น่ิงท่ีหาหนทางในชวี ิต หลุดพนจาก - ยึดถือการประกอบอาชพี ดวยความถูกตอง สุจริต ความทุกขย าก (การคนหาคำตอบเพ่อื ให แมจ ะตกอยูในภาวะขาดแคลน ในการดำรงชวี ติ หลุดพนจากความไมร)ู - ปฏบิ ัตติ นในแนวทางที่ดี ลด เลิก สง่ิ ยว่ั กเิ ลสให หมดสิน้ ไป ไมกอความช่ัวให เปนเครอ่ื งทำลาย ภมู ปิ ญ ญา : มีความรู รอบคอบ และ ตัวเอง ทำลายผอู ่ืน พยายามเพม่ิ พูนรกั ษาความดี ระมัดระวัง สรางสรรค ทีม่ ีอยูใ หงอกงาม สมบูรณย ่ิงขน้ึ ภมู ิธรรม : ซือ่ สตั ย สุจรติ ขยนั อดทน ภมู ิปญ ญา : มีความรู รอบคอบ และ ตรงตอเวลา เสยี สละและ แบงปน ระมัดระวัง ภูมิธรรม : ซอ่ื สัตย สจุ ริต ขยันอดทน ความรอบรู เร่ือง การแยกสว นประกอบ และการยอยปญหา กรณีที่เกดิ ปญหา ตรงตอ เวลาและแบง ปน สามารถนำความรูเ หลา น้นั มาพิจารณาให เชอ่ื มโยงกัน สามารถประยกุ ต ความรอบรู เรอื่ ง การแยกสว นประกอบและการ ใชใ นชีวิตประจำวนั ยอ ยปญหา มีความตระหนักใน คุณธรรม มคี วาม ท่ีเก่ยี วขอ งรอบดา น ความรอบคอบทีจ่ ะนำความรู ซื่อสัตยสจุ ริตและมีความอดทน มคี วามเพียร เหลา นนั้ มาพิจารณาใหเ ช่อื มโยงกนั เพื่อ ใชส ติปญ ญาในการดำเนินชีวิต ประกอบการวางแผน การดำเนนิ การจดั กจิ กรรม การเรยี นรใู หกับผูเ รียน มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มีความซือ่ สัตย สุจริตและมีความอดทน มคี วามเพียร ใชสติปญ ญา ในการดำเนินชวี ิต กจิ กรรม ครู ผูเรยี น สวนพฤกษศาสตรโ รงเรียน การแยกสว นประกอบและการยอ ยปญ หา การแยกสว นประกอบและการยอ ยปญ หา การแยกสว นประกอบและการยอย - - การแกป ญ หาโดยใชก ารวเิ คราะห - สามารถนำหลกั การที่ไดรับไปประยกุ ตใช ปญหา และมขี ั้นตอนในการแกป ญหา แกป ญ หาในชีวติ ประวันได - การแกป ญ หาโดยใชการวิเคราะห และมขี ั้นตอนในการแกป ญหา ลงชื่อ..................................................ผสู อน ( นางสาวฐิตารัตน คมั ภีระ )

สถานการณตวั อยา ง











หนว ยการเรียนรู ท่ี 1 เรอื่ ง แนวคิดเชงิ คำนวณ แผนการเรยี นรูที่ 3 เร่ือง การหารูปแบบและการคดิ เชิงนามธรรม รายวิชา วทิ ยาการคำนวณ ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 กลุม สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี นำ้ หนกั เวลาเรียน 0.5 หนว ยกติ เวลาเรยี น 1 ชั่วโมง / สปั ดาห .......................................................................................................................................................... 1. สาระสำคัญ (ความเขา ใจที่คงทน) 1.1. อธิบายรปู แบบ และระบอุ งคป ระกอบสำคญั ทส่ี ัมพันธก ันของสง่ิ ของหรือปญ หา 1.2. แยกคณุ ลักษณะทีส่ ำคญั ออกจากรายละเอยี ดในโจทยป ญหาหรืองานทีก่ ำลังพจิ ารณา 1.3. อธิบายสถานการณห รือปญ หาดว ยแบบจำลอง 2. มาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวชว้ี ดั ชัน้ ป ประยกุ ตใชแ นวคิดเชงิ คำนวณในการพัฒนาโครงงานทีม่ กี ารบรู ณาการกับวชิ าอนื่ อยางสรา งสรรคแ ละเช่อื มโยง กบั ชวี ิตจรงิ 3. สาระการเรียนรู 3.1 เน้ือหาสาระหลกั : Knowledge แนวคิดเชงิ คำนวณ ไดแ ก การคิดแบบแยกสวนประกอบและการยอยปญ หา การหารปู แบบของปญหา การคดิ เชงิ นามธรรม และการออกแบบข้นั ตอนวธิ ใี นการแกป ญ หา 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process 3.2.1. ทกั ษะการคดิ เชงิ คำนวณ 3.2.2. ทักษะการแกปญ หา 3.2.3. ทกั ษะการคิดวิเคราะห และสังเคราะห 3.3 คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค : Attitude 3.3.1. ใฝเรียนรู 3.3.2. มงุ มั่นในการทำงาน 4. สมรรถนะสำคญั ของนกั เรยี น 4.1. ความสามารถในการส่อื สาร 4.2. ความสามารถในการคดิ 4.3. ความสามารถในการแกป ญ หา 4.4. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต

5. ความรเู ดิมทีน่ ักเรยี นตอ งมี - 6. สาระสำคญั การพิจารณารูปแบบของปญหาหรือวิธีการแกปญหา ( Pattern recognition ) เปนการพิจารณารูปแบบ แนวโนม และลักษณะทั่วไปของขอมูล โดยพจิ ารณาวา เคยพบปญ หาลกั ษณะนี้มากอนหรือไม หากมีรปู แบบของปญหาที่ คลายกันสามารถนำวิธกี ารแกปญหานั้นมาประยุกตใช และพิจารณารูปแบบปญหายอยซ่ึงอยภู ายในปญหาเดียวกันวามี สวนใดท่ีเหมือนกัน เพ่ือใชวิธีการแกปญหาเดียวกันได ทำใหจัดการกับปญหาไดงายข้ึน และการทำงานมีประสิทธิภาพ เพมิ่ ข้นึ การคิดเชิงนามธรรม ( abstraction ) คอื กระบวนการคัดแยกคุณลักษณะที่สำคัญออกจากรายละเอียดในโจทย ปญหาหรืองานท่ีกำลังพิจารณา เพื่อใหไดองคประกอบที่จำเปน เพียงพอ และกระชับที่สุดในการพิจารณาภายใต สถานการณท่ีสนใจ โดยจะไดผ ลลัพธเปน แบบจำลอง ( Model ) ซ่ึงสามารถแสดงเปนแผนภาพท่มี ีการตัดรายละเอยี ดที่ไม จำเปน ในการพจิ ารณาออกท้งั หมด 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : 7.1 ใบกิจกรรมท่ี 3.1 เหมอื นหรอื ตา ง 7.2 ใบกิจกรรมท่ี 3.2 สรางแบบจำลอง 8. กจิ กรรมการเรยี นรู 8.1 การจัดเตรยี ม 1. ใบกจิ กรรมที่ 3.1 เหมอื นหรอื ตาง 2. ใบกิจกรรมที่ 3.2 สรางแบบจำลอง 8.2 ข้ันตอนดำเนินการ ( 45 นาที ) 1. ผูสอนนำเขาสูบทเรยี น โดยอธิบายกติกาวิธเี ลนเกมการดดอกไม ท่ีทำใหผูเรยี นสามารถบอกชนิดของพืชดอก แลว ใหผเู รยี นเลนเกมเปน กลุม 2. ผูสอนและผูเรียนรวมกันอภิปรายถึงการเช่ือมโยงรูปแบบที่เหมือนๆ กัน ของดอกไมและทำใหสามารถบอก ชนดิ ของพืชดอกได 8.3 ขนั้ ประยกุ ตใ ช ( 45 นาที ) 1. ผูสอนใหผ ูเรียนศกึ ษาหัวขอที่ 1.3 การหารูปแบบ ( Pattern recognition ) ในหนงั สอื เรียนจนถึงกอนกิจกรรม ท่ี 1.5 2. ผสู อนใหผ ูเรียนทำ ใบกจิ กรรมที่ 3.1 เรื่อง เหมือนหรอื ตาง 3. ผูส อนสุม หรือ หาอาสาสมัครนำเสนอคำตอบจากใบกิจกรรมที่ 3.1 4. ผูสอนใหผูเรียนศึกษาเนื้อหาหัวขอที่ 1.3 ในหนังสอื เรียนสวนท่ีเหลอื แลวสุมผูเรียนยกตัวอยางปญหาอนื่ ที่เกิด ซำ้ ๆ ในชีวติ ประจำวนั และรว มกนั สรปุ แนวคิดเรื่อง การหารูปแบบ

5. ผูสอนสุมกลุมนำเสนอคำตอบใหครบทุกกิจกรรม และรวมอภิปรายกับผูเรียนในประเด็นเรื่องของเวลา โดย เชื่อมโยงใหเห็นประโยชนของการแยกสวนประกอบและการยอยปญหา สอบถามวาตองใชวิธีอยางไร จึงจะทำงานได สำเร็จ หากมงี านมากและมีเวลาจำกดั 8.4 ข้ันสรปุ และประเมินผล ( 10 นาที ) ผูสอนและผูเรียนรวมกันสรุปแนวคิด การคิดเชิงนามธรรม ในดานประโยชนของการใชแกปญหาใน ชีวิตประจำวัน 9. สอื่ การเรียนการสอน / แหลง เรยี นรู จำนวน สภาพการใชสอ่ื รายการส่อื ขน้ั ประยกุ ตใ ช ตามจำนวน ขัน้ ประยกุ ตใช 1. ใบกจิ กรรม นร. - ใบกิจกรรมท่ี 3.1 เหมอื นหรอื ตา ง - ใบกิจกรรมที่ 3.2 สรางแบบจำลอง - 2. หนงั สือเรียน วชิ า วิทยาการคำนวณ ช้นั ม.4 10. การวัดและการประเมนิ ผล สงิ่ ท่ตี องวดั วธิ ีการวดั ผลประเมนิ ผล เครอ่ื งมือวัดผลประเมนิ ผล เกณฑก ารผา น การนำเสนอ ใบกจิ กรรมที่ ไดคะแนนไมน อ ยกวา 2 ดา นความรู (K) การบอกหรอื เขยี นวิธีการการ 3.1 เหมือนหรือตาง คะแนน ผานเกณฑ ตาม การประเมนิ เชงิ ปริมาณ - เพ่ือใหม คี วามรเู ก่ยี วกบั วิธี แกป ญหาจากสถานการณท ่ี แบบบนั ทึกการประเมิน ผสู อนสมมุติขึ้นมา โดย สงั เกตการนำเสนอผลงานใบ ไดคะแนน 7 คะแนนข้นึ ไป คิดเชงิ นามธรรม กิจกรรม ชวี ิตประจำวันกบั ผา นเกณฑ ระดับคุณภาพ อธบิ ายเปนขัน้ ตอน การแยกสว น พอใช ตามการประเมนิ เชิง แบบสังเกตพฤตกิ รรมความ คุณภาพ ดานทักษะ(P) สังเกตพฤติกรรมจากการ มงุ มัน่ ในการทำงาน (3 ไดคะแนน 4 คะแนนขึ้นไป ทำงานกลมุ การทำใบ ระดับคณุ ภาพ) คะแนนเต็ม ผานเกณฑ ระดบั คุณภาพ - อธบิ ายหลกั วิธีคิดเชงิ กจิ กรรมที่ 3.2 9 คะแนน พอใช ตามการประเมนิ เชงิ นามธรรม คุณภาพ ดานจติ พสิ ัย(A) สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียน -มคี วามมงุ มั่นในการทำงาน รายบุคคลในดา นมคี วาม มงุ มั่นในการทำงาน

11. จุดเนน ของโรงเรียน การบรู ณาการปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงและกจิ กรรมสวนพฤกษศาสตรโรงเรยี น ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ครู ผูเรียน 1. ความพอประมาณ พอดีดานเทคโนโลยี พอดดี านจิตใจ 2. ความมีเหตผุ ล รูจักใชเทคโนโลยีมาผลติ สอ่ื ท่ีเหมาะสม มีจิตสำนกึ ที่ดี เอื้ออาทร ประนปี ระนอม 3. มีภมู คิ มุ กนั ในตวั ทีด่ ี และสอดคลอ งเนือ้ หาเปน ประโยชนตอ นกึ ถึงประโยชนส ว นรวม/กลุม 4. เง่ือนไขความรู ผเู รียนและพฒั นาจากภมู ปิ ญญาของผเู รยี น 5. เงือ่ นไขคุณธรรม - ยดึ ถือการประกอบอาชีพดว ยความถกู ตอ ง ไมห ยดุ นงิ่ ท่หี าหนทางในชีวิต หลดุ พนจาก สุจรติ แมจ ะตกอยใู นภาวะขาดแคลน ใน ความทกุ ขย าก (การคน หาคำตอบเพื่อให การดำรงชวี ิต หลดุ พนจากความไมรู) - ปฏิบตั ติ นในแนวทางที่ดี ลด เลกิ สง่ิ ยว่ั กิเลสใหห มดสิ้นไป ไมก อ ความช่ัวให เปน เครือ่ งทำลายตวั เอง ทำลายผูอ น่ื พยายาม เพ่ิมพูนรกั ษาความดี ท่มี อี ยใู หงอกงาม สมบูรณย่ิงขึน้ ภูมปิ ญญา : มคี วามรู รอบคอบ และ ภูมปิ ญญา : มคี วามรู รอบคอบ และ ระมัดระวัง ระมัดระวัง สรางสรรค ภมู ธิ รรม : ซ่ือสตั ย สุจริต ขยันอดทน ภูมธิ รรม : ซ่ือสัตย สจุ รติ ขยนั อดทน ตรงตอ เวลาและแบงปน ตรงตอเวลา เสยี สละและ แบง ปน ความรอบรู เรอื่ ง การคดิ เชิงนามธรรม ความรอบรู เรื่อง การคดิ เชงิ นามธรรม ทเี่ ก่ยี วขอ งรอบดาน ความรอบคอบทีจ่ ะนำ กรณที ่เี กดิ ปญ หา สามารถนำความรูเ หลา นนั้ ความรเู หลา นนั้ มาพจิ ารณาใหเ ชื่อมโยงกัน มาพิจารณาใหเ ช่ือมโยงกนั สามารถประยกุ ต เพ่ือประกอบการวางแผน การดำเนินการจดั ใชในชีวติ ประจำวัน กจิ กรรมการเรียนรูใหก ับผเู รียน มีความตระหนักใน คณุ ธรรม มคี วาม มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มคี วาม ซื่อสัตยส ุจรติ และมีความอดทน มคี วามเพียร ซอื่ สตั ยส จุ รติ และมคี วามอดทน มคี วามเพียร ใชสติปญญาในการดำเนินชีวิต ใชสตปิ ญญาในการดำเนินชีวติ กจิ กรรม ครู ผูเรยี น สวนพฤกษศาสตรโรงเรียน การคดิ เชงิ นามธรรม การคิดเชิงนามธรรม การคดิ เชิงนามธรรม - - การแกป ญ หาโดยใชการวเิ คราะห - สามารถนำหลกั การทีไ่ ดร ับไปประยุกตใ ช - การแกป ญหาโดยใชการ แกปญ หาในชีวติ ประวันได และมีขนั้ ตอนในการแกป ญหา วเิ คราะห และมขี น้ั ตอนในการ แกปญหา ลงชือ่ ..................................................ผสู อน ( นางสาวฐิตารัตน คัมภีระ )

เกมการด ดอกไม









หนวยการเรยี นรทู ี่ 2 เรื่อง การแกป ญ หาและขั้นตอนวิธี แผนการเรียนรทู ี่ 1 เรือ่ ง การแกป ญหาดวยคอมพวิ เตอร รายวิชา วทิ ยาการคำนวณ ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 กลมุ สาระการเรียนรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นำ้ หนกั เวลาเรียน 0.5 หนว ยกิต เวลาเรียน 1 ชั่วโมง / สัปดาห .......................................................................................................................................................... 1. สาระสำคญั (ความเขา ใจทีค่ งทน) 1.1. ขอ มลู เขา เขา มูลออก และเงอื่ นไขของปญหา 1.2. การแกป ญ หาดว ยคอมพวิ เตอร 2. มาตรฐานการเรยี นร/ู ตวั ช้ีวดั ชน้ั ป ประยุกตใชแนวคดิ เชิงคำนวณในการพฒั นาโครงงานทีม่ กี ารบรู ณาการกับวชิ าอืน่ อยางสรางสรรคและเชอ่ื มโยง กับชีวิตจริง 3. สาระการเรียนรู 3.1 เน้ือหาสาระหลกั : Knowledge 3.1.1. วิเคราะหป ญหา โดยระบขุ อมูลเขา ขอมูลออก และเง่ือนไขของปญหา 3.1.2. ออกแบบการแกปญ หาดวยคอมพวิ เตอรโดยใชแ นวคดิ เชงิ คำนวณ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process 3.2.1. ทกั ษะการคดิ เชงิ คำนวณ 3.2.2. ทกั ษะการแกป ญหา 3.2.3. ทักษะการคิดวิเคราะห และสังเคราะห 3.3 คณุ ลักษณะที่พึงประสงค : Attitude 3.3.1. ใฝเ รยี นรู 3.3.2. มงุ ม่นั ในการทำงาน 4. สมรรถนะสำคญั ของนักเรียน 4.1. ความสามารถในการส่อื สาร 4.2. ความสามารถในการคิด 4.3. ความสามารถในการแกป ญหา 4.4. ความสามารถในการใชทักษะชวี ติ

5. ความรูเดิมทนี่ กั เรียนตองมี - 6. สาระสำคญั การคิดเชิงคำนวณเปนพื้นฐานของการแกปญหาดวยคอมพิวเตอร สำหรับการออกแบบขั้นตอนวิธีในการ แกปญหาดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร จำเปนตองระบุข้ันตอนการทำงานรวมถึงเง่ือนไขตางๆ ที่ชัดเจน เชน ขอมูลเขา ขอมูลออก ขอบเขตของขอมลู ท่ตี องการ มนษุ ยจ ึงจะสามารถเขยี นโปรแกรมใหคอมพิวเตอรท ำงานตามคำสง่ั ได 7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน : 7.1 ใบกจิ กรรมท่ี 4.1 คณะท่ีใช 7.2 ใบกจิ กรรมที่ 4.2 ขอ มูลเขาและขอมูลออก 8. กจิ กรรมการเรยี นรู 8.1 การจัดเตรยี ม 1. ใบกิจกรรมท่ี 4.1 คณะท่ใี ช 2. ใบกจิ กรรมที่ 4.2 ขอ มลู เขาและขอ มูลออก 8.2 ขน้ั ตอนดำเนินการ ( 45 นาที ) 1. ผสู อนยกตวั อยา งสถานการณในหวั ขอ ท่ี 2.1 การแกป ญหาดว ยคอมพิวเตอร ในหนังสอื เรยี น 8.3 ขน้ั ประยุกตใ ช ( 45 นาที ) 1. ผูเรยี นศึกษาหัวขอที่ 2.1.1 ขอ มูล และ 2.1.2 เงื่อนไขท่ีชัดเจน ในหนังสอื เรียน จากนน้ั อภิปรายรว มกับผูเรียน เกี่ยวกบั ขอ มูล และเงอื่ นไขทช่ี ัดเจน แบบไหนท่ีทำใหค อมพิวเตอรทำตามคำส่งั ได 2. ผูเรียนจับคูกันทำกิจกรรมที่ 2.1 แชทบอทในหนังสอื เรียน และคอยสังเกตวาผเู รยี นสรางเง่อื นไข เพ่ือใหเพ่ือน ตอบคำถามไดถูกตองหรอื ไม 3. ผเู รียนศึกษาหนังสือเรียน หัวขอที่ 2.1.3 ข้ันตอนวิธใี นการแกปญหา และอธิบายตัวอยางขอ มูลรายการอาหาร กลางวันจากตารางที่ 2.2 จากนั้นสุมผูเรยี นออกมาอธิบายขั้นตอนวิธใี นการเลือกอาหารกลางวนั ในตวั อยา ง 4. ผเู รยี นทำใบกจิ กรรม ท่ี 4.1 คณะท่ีใช 5. ผูสอนแบงผูเรียนออกเปนกลมุ กลุมละ 4 คน แลวศึกษาหนังสือเรียน หัวขอที่ 2.1.4 ตัวแปร และหัวขอ ที่ 2.2 การระบุขอมูลเขา ขอ มูลออก และเง่ือนไขของปญ หา โดยในหัวขอท่ี 2.2 ใหส มาชิกเลือกศกึ ษาคนละ 1 ตวั อยางโดยไมซ ้ำ กัน จากนัน้ อภิปรายรวมกนั เพ่ือใหสมาชกิ คนอืน่ เขา ใจในตวั อยา งที่ศกึ ษา 6. ผูสอนแจกใบกิจกรรมท่ี 4.2 ขอมูลเขา และขอมูลออก ใหผูเรียนแตละกลุมเลือกหัวขอ ระบบรถยนตอัตโนมัติ หรือ ระบบแปลภาษาอัตโนมัติ เพียงหัวขอ เดียว โดยสามารถสืบคนขอ มูลเพ่ิมเตมิ จากอนิ เตอรเนต็ ได ผูสอนช้ีแจงการใช แบบประเมนิ ใบกจิ กรรมท่ี 4.2

8.4 ข้ันสรุปและประเมนิ ผล ( 10 นาที ) ผูเรียนแตละกลุมแลกกันพิจารณาคำตอบในใบกิจกรรมที่ 4.2 ทำการประเมิน ใบกิจกรรมที่ 4.2 แลวสงคืน เจา ของเพื่อพิจารณาขอ เสนอแนะ และใหขอมลู ยอ นกลบั ผูส อนและผเู รยี นรวมกันสรปุ ประโยชนท ่ไี ดจากกจิ กรรมนี้ 9. ส่ือการเรยี นการสอน / แหลงเรียนรู จำนวน สภาพการใชสือ่ รายการส่อื ขนั้ ประยุกตใช ตามจำนวน ข้นั ประยุกตใช 1. ใบกิจกรรม นร. - ใบกิจกรรมที่ 4.1 คณะที่ใช - ใบกจิ กรรมท่ี 4.2 ขอมูลเขา และขอ มลู ออก - 2. หนงั สือเรียน วิชา วิทยาการคำนวณ ช้นั ม.4 10. การวัดและการประเมนิ ผล สิ่งทต่ี อ งวดั วิธีการวัดผลประเมนิ ผล เคร่อื งมอื วดั ผลประเมนิ ผล เกณฑก ารผา น การนำเสนอ ใบกิจกรรมท่ี ไดค ะแนนไมน อยกวา 2 ดานความรู (K) การบอกหรือเขยี นวิธีการการ 4.1 คณะที่ใช คะแนน ผานเกณฑ ตาม การประเมนิ เชงิ ปรมิ าณ - เพอ่ื ใหมีความรูเ ก่ยี วกับวธิ ี แกป ญหาจากสถานการณท ี่ แบบบนั ทกึ การประเมิน ผสู อนสมมตุ ิข้นึ มา โดย สงั เกตการนำเสนอผลงานใบ ไดค ะแนน 7 คะแนนขน้ึ ไป คดิ เชิงนามธรรม กิจกรรม ชวี ิตประจำวันกับ ผานเกณฑ ระดบั คุณภาพ อธิบายเปน ขนั้ ตอน การแยกสว น พอใช ตามการประเมนิ เชิง แบบสังเกตพฤติกรรมความ คณุ ภาพ ดานทักษะ(P) สงั เกตพฤติกรรมจากการ มุงม่ันในการทำงาน (3 ไดคะแนน 4 คะแนนข้ึนไป ทำงานกลุม การทำใบ ระดับคุณภาพ) คะแนนเต็ม ผา นเกณฑ ระดบั คุณภาพ - อธิบายหลักวิธคี ดิ เชิง กิจกรรมที่ 4.2 9 คะแนน พอใช ตามการประเมนิ เชงิ นามธรรม คณุ ภาพ ดานจติ พสิ ัย(A) สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน -มีความมงุ มั่นในการทำงาน รายบุคคลในดานมคี วาม มุงมั่นในการทำงาน

11. จุดเนน ของโรงเรียน การบรู ณาการปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตรโรงเรยี น ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ครู ผเู รียน 1. ความพอประมาณ พอดดี านเทคโนโลยี พอดีดานจิตใจ 2. ความมีเหตุผล รูจกั ใชเทคโนโลยีมาผลิตสอื่ ทีเ่ หมาะสม มีจติ สำนกึ ทดี่ ี เอื้ออาทร ประนีประนอม 3. มีภูมคิ มุ กันในตวั ที่ดี และสอดคลองเนื้อหาเปนประโยชนต อ นกึ ถงึ ประโยชนส ว นรวม/กลมุ 4. เงื่อนไขความรู ผูเรยี นและพัฒนาจากภมู ปิ ญญาของผูเรยี น 5. เงื่อนไขคณุ ธรรม - ยึดถอื การประกอบอาชีพดว ยความถกู ตอง ไมห ยดุ นง่ิ ทห่ี าหนทางในชีวิต หลุดพนจาก สุจรติ แมจ ะตกอยใู นภาวะขาดแคลน ใน ความทกุ ขยาก (การคน หาคำตอบเพ่ือให การดำรงชวี ติ หลดุ พนจากความไมรู) - ปฏบิ ตั ิตนในแนวทางท่ีดี ลด เลกิ สิ่งยว่ั กเิ ลสใหหมดสิ้นไป ไมกอความช่ัวให เปน เครือ่ งทำลายตัวเอง ทำลายผอู นื่ พยายาม เพม่ิ พนู รักษาความดี ทีม่ ีอยูใหง อกงาม สมบูรณย ิ่งข้นึ ภูมิปญ ญา : มคี วามรู รอบคอบ และ ภมู ิปญญา : มีความรู รอบคอบ และ ระมดั ระวัง ระมัดระวงั สรา งสรรค ภมู ิธรรม : ซอ่ื สัตย สจุ รติ ขยันอดทน ภูมธิ รรม : ซอื่ สัตย สุจริต ขยนั อดทน ตรงตอ เวลาและแบงปน ตรงตอ เวลา เสยี สละและ แบงปน ความรอบรู เรอ่ื ง การแกป ญหาฯ ความรอบรู เรื่อง การแกป ญ หาฯ ท่ีเกย่ี วของรอบดาน ความรอบคอบที่จะนำ กรณที ีเ่ กิดปญหา สามารถนำความรเู หลาน้ัน ความรูเหลา นน้ั มาพิจารณาใหเ ชอื่ มโยงกนั มาพิจารณาใหเ ช่ือมโยงกนั สามารถประยกุ ต เพื่อประกอบการวางแผน การดำเนินการจดั ใชในชวี ิตประจำวนั กิจกรรมการเรยี นรใู หกับผูเรียน มีความตระหนักใน คณุ ธรรม มีความ มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มีความ ซือ่ สัตยส จุ รติ และมีความอดทน มีความเพียร ซอื่ สตั ยส ุจรติ และมคี วามอดทน มีความเพียร ใชส ติปญ ญาในการดำเนินชวี ติ ใชสตปิ ญญาในการดำเนินชีวิต กจิ กรรม ครู ผูเรียน สวนพฤกษศาสตรโ รงเรียน การแกปญ หาดว ยคอมพิวเตอร การแกปญหาดว ยคอมพิวเตอร การแกปญหาดว ยคอมพวิ เตอร - - การแกปญหาโดยใชการวเิ คราะห - สามารถนำหลกั การทีไ่ ดร บั ไปประยุกตใช - การแกปญหาโดยใชการ แกป ญ หาในชวี ิตประวันได และมขี ัน้ ตอนในการแกป ญหา วิเคราะห และมีข้นั ตอนในการ แกปญ หา ลงชื่อ..................................................ผูสอน ( นางสาวฐติ ารัตน คัมภีระ )









หนว ยการเรยี นรูที่ 2 เรือ่ ง การแกป ญ หาและขัน้ ตอนวธิ ี แผนการจัดการเรยี นรู ท่ี 2 เร่อื ง การออกแบบขน้ั ตอนวิธี รายวิชา วิทยาการคำนวณ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 กลุม สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี น้ำหนักเวลาเรียน 0.5 หนวยกติ เวลาเรยี น 1 ชว่ั โมง / สัปดาห .......................................................................................................................................................... 1. สาระสำคญั (ความเขา ใจท่ีคงทน) การออกแบบข้นั ตอนวธิ ใี นการแกปญ หา โดยใชรปู แบบการกำหนดเงื่อนไข และการทำซ้ำ 2. มาตรฐานการเรียนร/ู ตัวชว้ี ัดชัน้ ป ประยกุ ตใ ชแนวคดิ เชงิ คำนวณในการพัฒนาโครงงานทีม่ ีการบูรณาการกับวิชาอื่นอยา งสรางสรรคแ ละเช่อื มโยง กบั ชวี ิตจรงิ 3. สาระการเรยี นรู 3.1 เน้อื หาสาระหลกั : Knowledge 3.1.1. ระบุขอ มูลเขา ขอมูลออก และเงอื่ นไขของปญหา 3.1.2. ออกแบบขั้นตอนวิธีในการแกปญหา โดยใชรูปแบบ การกำหนดเง่อื นไข และการทำซ้ำ 3.3.3. เขียนขัน้ ตอนวิธตี ามที่ไดอ อกแบบไว 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process 3.2.1. ทักษะการคดิ เชงิ คำนวณ 3.2.2. ทักษะการแกป ญ หา 3.2.3. ทกั ษะการโปรแกรม 3.3. คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค : Attitude 3.3.1. ใฝเรียนรู 3.3.2. มุงมน่ั ในการทำงาน 4. สมรรถนะสำคัญของนักเรยี น 4.1. ความสามารถในการส่ือสาร 4.2. ความสามารถในการคดิ 4.3. ความสามารถในการแกปญ หา 4.4. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวติ 5. ความรเู ดิมทีน่ ักเรยี นตอ งมี -

6. สาระสำคญั ทักษะการคดิ เชิงคำนวณ เปน ทกั ษะพน้ื ฐานของการคิดแกป ญ หาทีส่ ามารถนำไปประยกุ ตใ นชีวติ ประจำวนั ไดแก การแยกสว นประกอบและการยอยปญหา การหารปู แบบ และการคดิ เชิงนามธรรม สามารถ นำมาใชใ นการออกแบบขัน้ ตอนวธิ เี พอื่ แกปญ หาตา ง ๆ การออกแบบขัน้ ตอนวิธนี มี้ ปี จ จยั ทส่ี ำคัญ คือ การ ออกแบบเงื่อนไขทีถ่ กู ตองและชัดเจน แตไมมขี ั้นตอนทตี่ ายตวั เงอ่ื นไขที่กำหนดในขน้ั ตอนวิธอี าจเปน เงื่อนไข อยา งงา ยหรือเงอ่ื นไขทซ่ี บั ซอน โดยเง่อื นไขอยา งงาย จะเปน การเปรยี บเทยี บ มากกวา นอยกวา หรือ ไมเทา กนั สำหรับเงื่อนไขทีซ่ บั ซอนประกอบดวยเง่ือนไขตง้ั แตสองเงอ่ื นไขขึน้ ไป และเช่อื มดว ยตัวดำเนนิ การตรรกะ “และ” (AND) “หรอื ” (OR) และ “นเิ สธ” (NOT) การแกปญ หาอาจตองมกี ารทำงานลักษณะเดยี วกนั ซำ้ หลายรอบ โดยในแตล ะรอบจะตองกระทำการ อยา งใดอยางหนึง่ กบั ขอมลู ในรายการและตรวจสอบเงือ่ นไข ซ่ึงอาจระบเุ ง่ือนไขในสว นเร่มิ ตนของการทำซำ้ หรอื เง่อื นไขเพือ่ จบการทำงาน ในการเขียนขัน้ ตอนวิธีเพ่ือแกปญ หาลกั ษณะน้สี ามารถเขียนไดโดยใชร ปู แบบ ขั้นตอนวิธกี ารทำซำ้ 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : 7.1 ใบกิจกรรมที่ 5.1 ฝกเขยี นขั้นตอนวิธี 7.2 ใบกิจกรรมที่ 5.2 การออกแบบเงื่อนไข 7.3 ใบกิจกรรมท่ี 5.3 การทำซำ้ 8. กจิ กรรมการเรยี นรู 8.1 การจัดเตรยี ม 1. ใบกิจกรรมที่ 5.1 ฝกเขียนขน้ั ตอนวิธี 2. ใบกิจกรรมที่ 5.2 การออกแบบเง่ือนไข 3. ใบกิจกรรมที่ 5.3 การทำซำ้ 8.2 ข้นั ตอนดำเนนิ การ ( 45 นาที ) 1. ผูสอนทบทวนวิธกี ารแกปญหาดวยคอมพิวเตอรควรมีการระบุขอมูลเขา ขอมูลออกและเงือ่ นไขของปญหาที่ ชดั เจน และทบทวนความรูเรื่องตัวแปรเมอ่ื ใชในการแทนขอมลู สำหรับการเขยี นข้นั ตอนวธิ ี 2. ผสู อนยกตัวอยา งจากหนงั สือเรยี น ตัวอยางท่ี 2.5 การตัดสินใจรดน้ำตน ไมข องระบบรดน้ำตนไมอ ตั โนมัติ เพื่อ อธิบายใหนกั เรยี นเหน็ ตัวอยา งของการเขียนขั้นตอนวธิ แี บบรหสั ลำลอง และผงั งาน รวมทงั้ ตัวอยางของการใชง านตัวแปร เพอื่ แทนขอ มลู 8.3 ข้ันประยกุ ตใ ช ( 45 นาที ) 1. ผูเรียนศึกษาหนังสือเรียน หัวขอท่ี 2.3 การออกแบบขั้นตอนวิธี จนถึงกอนข้ึนหัวขอท่ี 2.3.2 พรอมกับทำใบ กจิ กรรมที่ 5.1 ฝกเขียนขั้นตอนวธิ ี 2. ผูเรียนศึกษาหนังสือเรยี น หัวขอที่ 2.3.2 การออกแบบและพิจารณาเงื่อนไข และใหนักเรียนผูเรียนจับคูก ันทำ ใบกิจกรรที่ 5.2 การออกแบบเงือ่ นไข 3. ผสู อนและผเู รยี นรว มกนั เฉลยคำตอบใบกิจกรรที่ 5.2 4. ผเู รยี นศึกษาหนังสือเรยี น หัวขอท่ี 2.4 การทำซำ้ และใหผ ูเรียนจบั คูกนั ทำใบกจิ กรรท่ี 5.3 การทำซ้ำ 5. ผูสอนและผูเรียนรว มกนั เฉลยคำตอบใบกิจกรรท่ี 5.3

8.4 ขั้นสรุปและประเมินผล ( 10 นาที ) จำนวน สภาพการใชส ่อื ผสู อนและผเู รียนรวมกันสรปุ ประโยชนทีไ่ ดจ ากกิจกรรมนี้ ข้นั ประยกุ ตใ ช ตามจำนวน ขัน้ ประยกุ ตใ ช 9. ส่อื การเรยี นการสอน / แหลงเรียนรู นร. รายการสื่อ - 1. ใบกจิ กรรม - ใบกจิ กรรมท่ี 5.1 ฝก เขียนขนั้ ตอนวธิ ี - ใบกจิ กรรมท่ี 5.2 การออกแบบเงอื่ นไข - ใบกจิ กรรมที่ 5.3 การทำซำ้ 2. หนงั สอื เรียน วิชา วิทยาการคำนวณ ช้นั ม.4 10. การวัดและการประเมนิ ผล สิง่ ที่ตอ งวดั วธิ ีการวัดผลประเมนิ ผล เครือ่ งมอื วัดผลประเมนิ ผล เกณฑการผาน การนำเสนอ ใบกจิ กรรมท่ี ไดค ะแนนไมน อ ยกวา 2 ดา นความรู (K) การบอกหรือเขยี นวธิ ีการการ 5.1 คะแนน ผานเกณฑ ตาม แกปญ หาจากสถานการณท่ี การประเมนิ เชิงปริมาณ - เพ่ือใหมคี วามรเู กยี่ วกับ ผูสอนสมมตุ ิขน้ึ มา โดย แบบบันทกึ การประเมนิ วิธกี ารเขยี นโปรแกรม อธิบายเปน ขั้นตอน สังเกตการนำเสนอผลงานใบ ไดคะแนน 7 คะแนนขนึ้ ไป กิจกรรม ชีวิตประจำวนั กับ ผา นเกณฑ ระดบั คุณภาพ ดานทกั ษะ(P) สงั เกตพฤติกรรมจากการ การแยกสวน พอใช ตามการประเมนิ เชิง ทำงานกลมุ การทำใบ แบบสังเกตพฤติกรรมความ คุณภาพ - อธบิ ายหลักวธิ คี ดิ เชงิ กิจกรรมที่ 5.2 , 5.3 มงุ ม่นั ในการทำงาน (3 ไดคะแนน 4 คะแนนขึน้ ไป นามธรรม ระดบั คณุ ภาพ) คะแนนเต็ม ผานเกณฑ ระดับคุณภาพ 9 คะแนน พอใช ตามการประเมินเชงิ ดานจิตพิสยั (A) สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียน คุณภาพ -มีความมุงม่นั ในการทำงาน รายบคุ คลในดา นมคี วาม มุงมน่ั ในการทำงาน

11. จดุ เนนของโรงเรยี น การบูรณาการปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ครู ผเู รยี น 1. ความพอประมาณ พอดีดานเทคโนโลยี พอดีดา นจติ ใจ 2. ความมเี หตผุ ล รจู ักใชเทคโนโลยีมาผลติ สื่อทเี่ หมาะสม มจี ติ สำนึกท่ีดี เอือ้ อาทร ประนปี ระนอม 3. มภี ูมคิ ุมกันในตัวทีด่ ี และสอดคลองเน้อื หาเปนประโยชนต อ นกึ ถงึ ประโยชนสวนรวม/กลมุ 4. เงอ่ื นไขความรู ผเู รียนและพัฒนาจากภูมิปญญาของผูเรยี น 5. เง่ือนไขคุณธรรม - ยดึ ถือการประกอบอาชีพดว ยความถกู ตอ ง ไมหยดุ นงิ่ ทห่ี าหนทางในชีวิต หลุดพนจาก สจุ ริต แมจะตกอยใู นภาวะขาดแคลน ใน ความทุกขย าก (การคน หาคำตอบเพ่ือให การดำรงชีวิต หลดุ พน จากความไมร)ู - ปฏบิ ตั ิตนในแนวทางท่ีดี ลด เลกิ สิ่งย่ัว กิเลสใหห มดสิน้ ไป ไมก อ ความชวั่ ให เปน เครอ่ื งทำลายตวั เอง ทำลายผูอื่น พยายาม เพม่ิ พนู รกั ษาความดี ที่มีอยใู หง อกงาม สมบรู ณย ่งิ ขนึ้ ภมู ิปญญา : มคี วามรู รอบคอบ และ ภมู ปิ ญญา : มีความรู รอบคอบ และ ระมดั ระวงั ระมัดระวัง สรางสรรค ภูมิธรรม : ซ่ือสตั ย สุจรติ ขยนั อดทน ภูมธิ รรม : ซื่อสตั ย สุจริต ขยันอดทน ตรงตอ เวลาและแบง ปน ตรงตอ เวลา เสยี สละและ แบงปน ความรอบรู เรอื่ ง การออกแบบขนั้ ตอนวิธี ความรอบรู เรื่อง การออกแบบขั้นตอนวิธี ทเ่ี กยี่ วของรอบดาน ความรอบคอบท่ีจะนำ กรณีทีเ่ กดิ ปญ หา สามารถนำความรเู หลาน้ัน ความรูเหลาน้ันมาพิจารณาใหเช่ือมโยงกัน มาพิจารณาใหเ ช่อื มโยงกัน สามารถประยกุ ต เพือ่ ประกอบการวางแผน การดำเนินการจัด ใชในชวี ิตประจำวัน กิจกรรมการเรียนรใู หก บั ผเู รียน มีความตระหนักใน คุณธรรม มคี วาม มีความตระหนกั ใน คุณธรรม มีความ ซือ่ สตั ยส จุ รติ และมคี วามอดทน มคี วามเพียร ซื่อสตั ยสจุ รติ และมีความอดทน มีความเพียร ใชส ติปญ ญาในการดำเนินชีวติ ใชส ตปิ ญ ญาในการดำเนินชวี ติ กจิ กรรม ครู ผูเรียน สวนพฤกษศาสตรโ รงเรยี น การออกแบบขั้นตอนวิธี การออกแบบขัน้ ตอนวธิ ี การออกแบบขน้ั ตอนวธิ ี - - การแกปญหาโดยใชการวเิ คราะห - สามารถนำหลักการที่ไดร บั ไปประยุกตใช - การแกปญ หาโดยใชก าร แกป ญ หาในชวี ิตประวันได และมขี น้ั ตอนในการแกป ญ หา วิเคราะห และมีขั้นตอนในการ แกป ญหา ลงชอ่ื ..................................................ผูสอน ( นางสาวฐิตารตั น คมั ภีระ )



















หนว ยการเรยี นรูท่ี 2 การแกปญ หาและขัน้ ตอนวธิ ี แผนการเรยี นรู ที่ 3 เรอ่ื ง การจัดเรียงขอ มลู รายวิชา วทิ ยาการคำนวณ ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 กลมุ สาระการเรยี นรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี น้ำหนกั เวลาเรยี น 0.5 หนวยกติ เวลาเรยี น 1 ช่วั โมง / สัปดาห .......................................................................................................................................................... 1. สาระสำคัญ (ความเขา ใจท่ีคงทน) ขนั้ ตอนวธิ ีในการจดั เรียงขอ มลู มหี ลายวิธี เชน การจัดเรยี งขอ มลู แบบเลอื ก และการจดั เรยี งขอมูลแบบแทรก 2. มาตรฐานการเรยี นรู/ตวั ชวี้ ัดชน้ั ป ประยุกตใ ชแนวคิดเชิงคำนวณในการพฒั นาโครงงานที่มกี ารบรู ณาการกับวิชาอ่ืนอยางสรา งสรรคแ ละเชื่อมโยง กับชวี ิตจริง 3. สาระการเรียนรู 3.1 เน้อื หาสาระหลัก : Knowledge 3.1.1. อธบิ ายวิธีการจดั เรยี งขอมลู 3.1.2. ออกแบบขัน้ ตอนวิธกี ารจดั เรยี งขอ มลู เพือ่ ใชแ กป ญหาในชีวิตประจำวนั 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process 3.2.1. ทักษะการแกป ญหา 3.2.2. ทกั ษะการส่ือสารและการรวมมอื 3.3 คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค : Attitude 3.3.1. ใฝเรยี นรู 3.3.2. มงุ มน่ั ในการทำงาน 4. สมรรถนะสำคญั ของนักเรียน 4.1. ความสามารถในการสื่อสาร 4.2. ความสามารถในการคิด 4.3. ความสามารถในการแกป ญ หา 4.4. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต 5. ความรูเดิมทนี่ ักเรียนตอ งมี - 6. สาระสำคญั การจัดเรียงขอมูลเปนส่ิงที่พบอยูเสมอ โดยเฉพาะเม่ือตองประมวลผลขอมูลจำนวนมาก การเรียงลำดับขอมูล ดว ยเงอ่ื นไขท่ีเหมาะสมจะทำใหก ารคน หาขอมลู ทำไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook